Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore HandBook63

HandBook63

Published by kanjanaqa, 2021-03-31 02:33:21

Description: book63

Search

Read the Text Version

คณะกรรมกำรบรหิ ำรคณะวทิ ยำกำรจัดกำร รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา หลอ่ ตระกูล ดร.เมธารัตน์ จันตะนี คณบดีคณะวทิ ยาการจดั การ ผู้ชว่ ยศาสตราจารยน์ นั ทนิธิ์ เอบิ อ่มิ รองคณบดฝี ่ายวิชาการและวิจยั นายพวสั ส์ อคั รพัฒนก์ าชัย รองคณบดฝี า่ ยวางแผนและประกันคุณภาพ วา่ ทีร่ ้อยตรหี ญงิ รตั ติยา พาวนิ ัย รองคณบดฝี า่ ยกิจการนกั ศึกษา หัวหน้าสานักงานคณบดี ผศ.ดร.ภทั รนันท สรุ ชาตรี ประธานกรรมการบริหารหลักสตู ร ผศ.พรรษวรรณ สขุ สมวัฒน์ ผศ.ดร.พทั ธพ์ สตุ ม์ สาธุนุวฒั น์  บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต (MBA) นายณฏั ฐ์พล จงพทิ กั ษ์สกลุ  การจดั การ นางสาววรปภา มหาสาราญ  การตลาด ผศ.สิรพิ ร อนิ ทสนธ์ิ  การบญั ชี นายมรตุ กลัดเจริญ  การบริหารทรพั ยากรมนุษย์ ผศ.นาตยา เกตุสมบรู ณ์  คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ ดร.ศภุ ลักษณ์ ศรวี ไิ ลย  เศรษฐศาสตรก์ ารเงนิ การธนาคาร นางสาวณัฐรดา ไหมมาลา  การท่องเทยี่ ว นายประพันธ์ แสงทองดี  การจดั การโลจิสตกิ ส์ นางชเนตตี พมุ่ พฤกษ์  การจดั การธุรกิจโรงแรม  การจดั การธรุ กิจการค้าสมยั ใหม่  การจดั การธุรกจิ ชมุ ชน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 42 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ลำดบั ท่ี ชอื่ - สกลุ อำจำรยป์ ระจำคณะวทิ ยำกำรจดั กำร สังกัดสำขำวิชำ การจัดการ 1 นางสาวกันทิมา ม่ังประเสรฐิ วุฒิกำรศกึ ษำสูงสุด การจัดการ การจดั การ 2 นายชาญชัย เมธาวริ ุฬห์ บธ.ม.(บริหารธรุ กจิ ) การจดั การ การจดั การ 3 ผศ.พรรษวรรณ สขุ สมวัฒน์ บธ.ม.(การบรหิ ารธุรกิจ) การจดั การธุรกิจการค้าสมยั ใหม่ 4 นายสมเกยี รติ แดงเจรญิ บธ.ม.(การจดั การท่ัวไป) การจัดการธรุ กจิ การคา้ สมยั ใหม่ การจดั การธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ 5 นางสาวสุดารตั น์ เกล้ยี งสอาด บธ.ม.(บริหารธรุ กจิ ) การจัดการธุรกิจการคา้ สมยั ใหม่ การจดั การธรุ กิจโรงแรม 6 นายประพนั ธ์ แสงทองดี MSc.(Management and 7 ดร.กิตมิ า ทามาลี Marketing) การจดั การธรุ กจิ โรงแรม 8 ดร.เมธารตั น์ จนั ตะนี บธ.ม. (การจัดการทว่ั ไป) 9 นางสาวนฤมล ญาณสมบตั ิ การจดั การธุรกิจโรงแรม 10 นายกวินภพ สายเพ็ชร์ บธ.ม. (การเงินและการธนาคาร) การจดั การธุรกจิ โรงแรม 11 นางสาวณัฐรดา ไหมมาลา บร.ด. (บรหิ ารธุรกจิ ) การจดั การธุรกิจโรงแรม 12 นางสาวมนภทั ร บษุ ปฤกษ์ ก.ม.(การจัดการทวั่ ไป) การจัดการโลจิสตกิ ส์ 13 นายสรพล ขัตตยิ าสุวรรณ M.Sc. (International Business Management) การจัดการโลจิสตกิ ส์ 14 นางสาวสุวรรณา สิทธนาวิวัฒน์ ศศ.ม. (การจดั การโรงแรมและการ ทอ่ งเทย่ี ว) การจดั การโลจิสตกิ ส์ 15 นางสาวทรรศิกา ธานนี พวงศ์ กจ.ม. (การจดั การท่องเที่ยวและการ บริการ) การจัดการโลจิสตกิ ส์ 16 นายพเิ ชษฐ เนตรสวา่ ง M.Sc. (International Hospitality การจัดการโลจิสติกส์ and Tourism) 17 ดร.ศภุ ลักษณ์ ศรีวไิ ลย M.Sc. (International Hospitality and Tourism) 18 นางสฑุ ามาศ ยิ้มวัฒนา บธ.ม.(การจดั การโลจิสตกิ ส์และโซ่ 19 นางสาวอมรา ดอกไม้ อปุ ทาน) บธ.ม.(การบริหารลอจสิ ตกิ ส์และโซ่ อปุ ทาน) ปร.ด.(การจดั การโลจิสตกิ ส์และโซ่ อุปทาน) วท.ม.(เทคโนโลยโี ลจิสตกิ ส)์ วท.ม.(การจดั การโลจิสตกิ ส)์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 43 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะวิทยำกำรจัดกำร ลำดับท่ี ชอ่ื - สกุล วฒุ ิกำรศกึ ษำสูงสุด สังกัดสำขำวิชำ 20 นางสาวรงุ่ เรือง ทองศรี บธ.ม.(การตลาด) การตลาด 21 นางเสาวลกั ษณ์ ชาตศิ รีสัมพันธ์ บธ.ม.(การตลาด) การตลาด 22 ผศ.ดร.พัทธ์พสตุ ม์ สาธนุ ุวัฒน์ DProf (Maketing Communications) การตลาด 23 นางสาวฤดี เสริมชยุต บธ.ม.(การตลาด) การตลาด 24 นายกาธร แจ่มจารัส บธ.ม.(การประกอบการ) การตลาด 25 นางสาวญาณศิ า เผื่อนเพาะ บธ.ม. (การประกอบการ) การตลาด 26 นางกันยารตั น์ คงพร ศศ.ม.(การจดั การโรงแรมและการ การทอ่ งเทย่ี ว ท่องเทีย่ ว) การท่องเท่ียว 27 ผศ.นาตยา เกตสุ มบูรณ์ 28 นายพวัสส์ อคั รพฒั นก์ าชัย กจ.ม.(การจัดการทว่ั ไป) 29 นางสาวนภสั นนั ท์ ทองอินทร์ บธ.ม.(การจดั การโรงแรมและ การทอ่ งเทย่ี ว ภตั ตาคาร) การทอ่ งเทีย่ ว 30 นายวรี พล น้อยคลา้ ย ศศ.ม.(การจัดการโรงแรมและการ การท่องเทีย่ ว ทอ่ งเทย่ี ว) การท่องเทยี่ ว 31 นายเอกพล วิงวอน ศศ.ม.(การจดั การโรงแรมและการ 32 นางมณฑริ า ชุมวรานนท์ ทอ่ งเทีย่ ว) 33 รศ.จิตตมิ า อัครธติ พิ งศ์ ศศ.ม.(ภาษาและการสื่อสาร) 34 รศ.ดร.วนั ทนา เนาวว์ นั 35 นางสาววรปภา มหาสาราญ วท.ม.(การพฒั นาทรัพยากรมนุษย)์ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 36 นางสุรารักษ์ สุพฒั นมงคล 37 นายณัฏฐ์พล จงพิทักษส์ กุล บธ.ม.(การบริหารงานบคุ คล) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 38 ดร.ภาวินีย์ ธนาอนวชั 39 ผศ.ดวงรตั น์ โพธิ์เงิน พธ.ด. (รัฐประศาสนศาสตร)์ การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ 40 ผศ.เพญ็ นภา หวังทชี่ อบ 41 นางสาวสุภลคั ณ์ จงรกั ษ์ วท.ม.(เทคโนโลยกี ารบริหาร) การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ บธ.ม.(บรหิ ารธรุ กจิ ) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ บช.ม.(บัญชีการบริหาร) การบญั ชี บธ.ด. (การบญั ชเี พ่ือการจดั การ) การบญั ชี บธ.ม.(การบัญชี) การบญั ชี บช.ม.(บญั ชีการบรหิ าร) การบัญชี บธ.ม.(บรหิ ารธรุ กจิ ) การบญั ชี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 44 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ลำดบั ที่ ชื่อ - สกุล อำจำรยป์ ระจำคณะวิทยำกำรจัดกำร สงั กดั สำขำวชิ ำ คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ 42 ผศ.นันทนธิ ิ์ เอิบอ่ิม วุฒกิ ำรศกึ ษำสงู สุด คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 43 นางจนั จริ า ดเี ลศิ คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 44 นางสาวชตุ มิ า นมิ่ นวล การจดั การธรุ กิจชมุ ชน วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) 45 นางสาวสวติ า อยู่สขุ ขี การจัดการธรุ กจิ ชมุ ชน วท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) 46 ผศ.สริ พิ ร อินทสนธ์ิ การจัดการธรุ กิจชุมชน คอ.ม.(เทคโนโลยคี อมพิวเตอร)์ 47 ผศ.สมุ นา พูลผล การจัดการธรุ กจิ ชุมชน วท.ม. (เทคโนโลยีการวางแผน การจดั การธรุ กิจชุมชน 48 นางชเนตตี พมุ่ พฤกษ์ ส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื พัฒนา) บรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑิต (MBA) กจ.ม. (การจดั การวิสาหกิจขนาด บริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑิต (MBA) 49 นายชาลีวฒั น์ จติ ต์โสภา กลางและขนาดย่อม) บรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑติ (MBA) บธ.ม. (การจดั การสาหรับ 50 นางสาวพัฒน์กมล อ่อนสาลี ผู้ประกอบการ) บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต (MBA) 51 นางวรรณิภา ใจดี บธ.ม. (บรหิ ารธรุ กิจ) 52 รศ.ดร.อจั ฉรา หล่อตระกลู เศรษฐศาสตร์การเงนิ การธนาคาร 53 ดร.อารมณ์ เอ่ยี มประเสริฐ บธ.ม. (ธุรกจิ ระหวา่ งประเทศ) เศรษฐศาสตร์การเงนิ การธนาคาร 54 ผศ.ดร.ภัทรนันท สรุ ชาตรี พธ.ด. (รฐั ประศาสนศาสตร์) เศรษฐศาสตร์การเงินการธนาคาร 55 ดร.แสงจติ ต์ ไต่แสง เศรษฐศาสตร์การเงินการธนาคาร ปร.ด.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) เศรษฐศาสตร์การเงนิ การธนาคาร 56 นายฉัตรชัย นยิ ะบุญ 57 นายพิเนต ตันศิริ ปร.ด. (การบริหารการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์) 58 ผศ.ภัทราพร จนั ตะนี ปร.ด. (การบรหิ ารการพฒั นา 59 นายมรตุ กลัดเจริญ ทรัพยากรมนุษย)์ 60 ผศ.อรกช เกจ็ พริ ุฬห์ ศ.ม. (เศรษฐศาสตร)์ ศศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ธรุ กิจและการ จัดการ) ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์) ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์) ศ.ม.(เศรษฐศาสตรป์ รมิ าณวิเคราะห)์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 45 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

2ตอนที่ ระเบียบ และประกำศตำ่ งๆ ท่ีเกยี่ วข้อง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 46 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ข้อบงั คับมหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรอี ยุธยำ ว่ำดว้ ย กำรจัดกำรศกึ ษำระดับอนปุ ริญญำและปรญิ ญำตรี พ.ศ. 2560 ------------------------------- โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา และปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2549 ใหส้ อดคล้องกบั กฎ ระเบยี บและบรบิ ทท่เี ปลีย่ นแปลงไป ให้มีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ประกอบกับ มติสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในการประชุมครั้งท่ี 1/2560 เมื่อวันท่ี 18 มกราคม พ.ศ. 2560 จึงออก ข้อบงั คับไว้ดงั ต่อไปน้ี ข้อ 1 ข้อบังคับน้ี เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา และปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560” ข้อ 2 ขอ้ บังคับนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคับกบั นักศกึ ษาทเี่ ขา้ ศึกษาตงั้ แตป่ ีการศึกษา 2560 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 ให้ยกเลิกข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วา่ ด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2549 บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคาส่ังอื่นใดท่ีขัดหรือแย้งกับข้อบังคับน้ีให้ใช้ข้อบังคับนี้แทน ขอ้ 4 ในข้อบงั คบั นี้ “มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา “สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ สภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา “สภาวชิ าการ” หมายความว่า สภาวชิ าการมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “อธกิ ารบดี” หมายความวา่ อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “นกั ศึกษา” หมายความวา่ นกั ศกึ ษาของมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “นักศึกษาภาคปกติ” หมายความว่า นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ที่จัดการเรียน การสอนในเวลาราชการ “นักศึกษาภาคพิเศษ” หมายความว่า นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาที่จัดการเรียน การสอนนอกเวลาราชการ “อาจารย์ท่ีปรึกษา” หมายความว่า บุคคลที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาแต่งต้ังให้ทาหน้าท่ีอาจารย์ท่ี ปรึกษา “คณะ” หมายความว่า คณะต่างๆ ในสงั กัดมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 47 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

“คณะกรรมการประจาคณะ” หมายความว่า คณะกรรมการประจาคณะต่าง ๆ ในสังกัดมหาวิทยาลัย ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “สาขาวิชา” หมายความว่า สาขาวชิ าในสงั กัดของคณะตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “กองบรกิ ารการศึกษา” หมายความวา่ กองบรกิ ารการศึกษาในสงั กัดมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “คณะกรรมการอนุมัติการประเมินผลการศึกษา” หมายความวา่ คณะกรรมการอนุมัติการประเมินผลการศึกษา ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา “สถาบันการศึกษา” หมายความว่า มหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศกึ ษา ข้อ 5 ให้อธิการบดีรักษาการตามขอ้ บงั คบั น้ี และใหม้ ีอานาจออกประกาศ คาส่ังเพอื่ ปฏิบัตกิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ บังคบั น้ี การใดที่มิได้กาหนดไว้ในข้อบังคับนี้ หรือไม่เป็นไปตามข้อบังคับน้ี ให้อธิการบดีโดยความเห็นชอบของสภาวิชาการมี อานาจวินจิ ฉยั ชข้ี าดและรายงานใหส้ ภามหาวิทยาลัยทราบคาวนิ ิจฉัยใหถ้ อื เปน็ ที่สุด หมวด 1 ระบบกำรศึกษำ ขอ้ 6 มหาวทิ ยาลัยจดั ระบบการศกึ ษาดงั ต่อไปนี้ 6.1 การจดั การศกึ ษาภาคปกติ (1) มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาภาคปกติในระบบทวิภาค โดยแบ่งปีการศึกษาหน่ึง ๆ ออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ คือ ภาคการศึกษาท่ี 1 และภาคการศึกษาที่ 2 และอาจเปิดภาคฤดรู ้อนกไ็ ด้ (2) ภาคการศึกษาปกติแต่ละภาคมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า15 สัปดาห์ ภาคฤดูร้อนมีระยะเวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ 8 สปั ดาห์ โดยจดั ชวั่ โมงเรยี นของแตล่ ะรายวชิ าให้เท่ากบั ภาคการศกึ ษาปกติ (3) ในกรณีที่หลักสูตรสาขาวิชาใดประกอบด้วยรายวิชาท่ีจาเป็นจะต้องเปิดสอนในภาคฤดูร้อนให้ถือ เสมือนวา่ ภาคฤดรู ้อนน้ันเป็นสว่ นหนึ่งของการศึกษาภาคปกติ (4) หลักสูตรสาขาวิชาใดจะเปิดทาการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนให้ผ่านการกล่ันกรองจากคณะกรรมการ ประจาคณะและสภาวิชาการ 6.2 การจดั การศกึ ษาภาคพเิ ศษ (1) มหาวิทยาลัยสามารถจัดการศึกษาภาคพิเศษให้กับบุคลากรภายในและบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย ไดโ้ ดยความเหน็ ชอบของสภามหาวิทยาลยั (2) มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาให้กับนักศึกษาภาคพิเศษ ในระบบไตรภาค โดยแต่ละภาคการศึกษา จัดการเรียนการสอนในวันเสาร์-อาทิตย์ หรือนอกเวลาราชการเพ่ือสนองความต้องการของมวลชนในท้องถ่ินและไม่จากัดอายุของ ผ้เู รยี น (3) ในแต่ละภาคการศึกษาของนักศึกษาภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยอาจใช้สื่อการเรียนการสอน และ เทคโนโลยีตา่ ง ๆ เพอื่ ให้การจดั การศกึ ษาประสบผลสาเร็จสูงสุด มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 48 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

6.3 มหาวทิ ยาลยั ใช้ระบบหนว่ ยกิตในการจัดการศกึ ษา จานวนหน่วยกิตใชแ้ สดงถึงปรมิ าณการศกึ ษาของแตล่ ะวชิ า 6.4 การเทียบความรูจ้ ากประสบการณ์เดิมของนักศกึ ษาภาคพเิ ศษ ในรายวชิ าเตรียมฝึกประสบการณ์วชิ าชีพและ รายวชิ าการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพและสหกจิ ศึกษา ให้เปน็ ไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั 6.5 การเทียบความรู้จากประสบการณ์เดิม นอกเหนือจากข้อ 6.4 ในรายวิชาอื่น ๆ ให้เป็นไปตามประกาศของ มหาวทิ ยาลัย หมวด 2 หลักสตู รกำรศึกษำ ข้อ 7 หลกั สูตรระดับอนปุ ริญญาและปริญญาตรีของแตล่ ะสาขาวชิ า ประกอบด้วย 7.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เป็นหมวดวิชาที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ให้มีความรอบรู้อย่าง กว้างขวาง เข้าใจ และเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวฒั นธรรมและธรรมชาติ ใส่ใจต่อความเปล่ียนแปลงของสรรพส่ิง สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ดาเนินชวี ิตอย่างมีคุณธรรม พร้อมให้ความชว่ ยเหลือเพ่ือนมนุษยแ์ ละเป็น พลเมืองท่มี คี ณุ คา่ ของสังคมไทยและสังคมโลก โดยมจี านวนหนว่ ยกิตไมน่ ้อยกวา่ 30 หนว่ ยกิต 7.2 หมวดวิชาเฉพาะ เป็นกลุ่มวิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชาพื้นฐาน และวิชาชีพที่มุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติงานได้ โดยมีหน่วยกิตระดับอนุปริญญาไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต ระดับปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 72 หนว่ ยกติ 7.3 หมวดวชิ าเลือกเสรี เป็นรายวิชาท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามท่ีตนเองถนัดหรือสนใจ โดยเปิด โอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยโดยระดับอนุปริญญามีจานวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 3 หนว่ ยกติ ระดบั ปริญญาตรี ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ ข้อ 8 หลักสูตรระดับอนุปริญญา (3 ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 6 ปกี ารศึกษาสาหรบั การลงทะเบยี นเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน 9 ปกี ารศกึ ษาสาหรับการลงทะเบยี นเรยี นไม่เต็มเวลา ข้อ 9 หลักสูตรระดับปริญญาตรี (4 ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 8 ปกี ารศึกษาสาหรับการลงทะเบียนเรยี นเต็มเวลา และไมเ่ กิน 12 ปีการศึกษาสาหรับการลงทะเบียนเรยี นไมเ่ ต็มเวลา ขอ้ 10 หลักสูตรระดับปริญญาตรี (5 ปี) ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 10 ปีการศึกษาสาหรบั การลงทะเบียนเรียนเตม็ เวลา และไมเ่ กิน 15 ปีการศกึ ษาสาหรบั การลงทะเบียนเรียนไม่เตม็ เวลา ข้อ 11 หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี (ต่อเน่อื ง) ให้มีจานวนหน่วยกติ รวมไม่นอ้ ยกว่า 72 หนว่ ยกติ ใช้เวลาศกึ ษาไม่เกิน 4 ปีการศึกษาสาหรบั การลงทะเบยี นเรยี นเตม็ เวลา และไมเ่ กิน 6 ปีการศึกษา สาหรับการลงทะเบยี นเรยี นไมเ่ ตม็ เวลา ทั้งน้ีให้ นับเวลาศึกษาจากวนั ทีเ่ ปดิ ภาคการศึกษาแรกทีร่ ับเข้าศึกษาในหลกั สตู รนนั้ มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 49 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

หมวด 3 กำรรับเข้ำเป็นนกั ศกึ ษำและสภำพนักศึกษำ ข้อ 12 คุณสมบัติของนักศึกษา 12.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาท่ี กระทรวงศึกษาธิการรับรองสาหรับผู้เข้าศกึ ษาในหลักสตู รอนปุ รญิ ญา (3 ปี) ปรญิ ญาตร(ี 4 ป)ี หรือปรญิ ญาตรี (5 ป)ี 12.2 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบเท่า หรือระดับอนุปริญญา (3 ป)ี หรือเทียบเท่าในสาขาวิชาทตี่ รงกบั สาขาวชิ าทีจ่ ะเข้าศึกษาจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธกิ ารรบั รอง 12.3 ไม่เป็นโรคตดิ ต่อร้ายแรงที่สงั คมรังเกียจ โรคทางจิตอันเป็นอปุ สรรคตอ่ การศกึ ษา 12.4 มีความประพฤตดิ ี ไม่เคยถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาใด เน่อื งจากประพฤติผดิ วินัยนักศกึ ษา ขอ้ 13 การเข้าเปน็ นกั ศึกษา มหาวิทยาลัยจะสอบคัดเลือก หรือคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 12 เข้าเป็นนักศึกษาแต่ละคร้ัง ตามประกาศของ มหาวทิ ยาลัยหรือสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ขอ้ 14 การรับยา้ ยนักศึกษาจากสถาบนั การศึกษาอืน่ 14.1 มหาวิทยาลัยอาจจะรับย้ายนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน ซ่ึงสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา รับทราบหลกั สตู รแล้ว 14.2 คุณสมบตั ิของผขู้ อย้ายมาเปน็ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย (1) มีคณุ สมบัตติ ามขอ้ 12 (2) ได้ศกึ ษาในสถาบนั การศึกษามาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 1 ปกี ารศึกษา (3) มีผลการเรียนจากสถาบนั การศึกษาเดิมโดยมีคะแนนเฉลี่ยไมน่ อ้ ยกว่า 2.00 14.3 ผ้ปู ระสงค์จะขอย้ายมาเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยจะตอ้ งปฏบิ ัติ ดงั น้ี (1) ยนื่ คารอ้ งต่อมหาวทิ ยาลัยไม่น้อยกวา่ 15 วัน ก่อนวันเปิดภาคการศึกษาท่ีประสงค์จะเขา้ ศกึ ษา (2) มรี ะเบียนแสดงผลการเรยี น และรายละเอยี ดเนอ้ื หารายวิชาทไี่ ดเ้ รียนไปแลว้ ต่อมหาวิทยาลยั 14.4 การเทียบโอนหน่วยกิตและผลการเรียนจะพิจารณาเทียบโอนรายวิชาที่เรียนมาโดยรายวิชาเทียบโอน จะต้องมีเน้อื หาวชิ าอยู่ในระดบั เดียวกันกับรายวชิ าของมหาวทิ ยาลยั และผลการเรียนเทยี บไดไ้ ม่ต่ากว่า C เง่ือนไขอื่น ๆ ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่มี หาวิทยาลัยกาหนด ขอ้ 15 การเข้าศกึ ษาเพือ่ ปรญิ ญาท่ีสอง 15.1 ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาอ่ืน สามารถเข้ารับการสอบหรือการคัดเลือก เพอื่ เข้าศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปริญญาตรีสาขาอน่ื ไดต้ ามประกาศของมหาวิทยาลัย 15.2 การเทยี บโอนหน่วยกิต ให้เป็นไปตามระเบยี บวา่ ด้วยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ าเรยี น มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 50 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 16 การขน้ึ ทะเบียนเปน็ นักศึกษา 16.1 ผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษาต้องขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาโดยต้องรายงานตัวตามที่มหาวิทยาลัย กาหนด และลงทะเบียนเรียน ชาระเงินค่าหน่วยกิต ค่าบารุงการศึกษา ค่าประกันของเสียหาย ค่าธรรมเนียมหรอื ค่าใชจ้ ่ายอืน่ ๆ จึงจะมีสถานภาพเป็นนกั ศึกษา 16.2 ผู้ที่ได้รับคัดเลือกเป็นนักศึกษา แต่ไม่อาจขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาได้ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด จะต้อง แจ้งเหตขุ ัดขอ้ งตอ่ มหาวทิ ยาลัยเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ภายใน 3 วนั มิฉะน้ันจะถือวา่ ผนู้ น้ั สละสิทธ์ 16.3 ผู้ท่ีได้รับคัดเลือกเป็นนักศึกษาต้องมีสถานภาพหรือรหัสนักศึกษาไม่เกินหนึ่งรหัสในขณะท่ียังมีสภาพเป็น นักศกึ ษาอยู่ หากมีสถานภาพซ้าซ้อนมากกว่าหน่ึงรหัสจะต้องลาออกจากการเป็นนักศึกษาเพ่ือให้เหลือเพียงรหัสเดียว ยกเว้นกรณีที่ เปน็ นักศกึ ษาหลกั สูตรควบระดับปริญญาตรี 2 ปรญิ ญา 16.4 ในทุกภาคการศึกษาท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน หรือไม่มีการลงทะเบียนแต่อยู่ระหว่างการแก้ไขผล การศึกษา การค้นคว้า การทารายงาน ฯลฯ เพิ่มเติมในภาคเรียนใด นักศึกษาจะต้องชาระค่าบารุงศึกษาเพื่อให้มีสภาพการเป็น นักศึกษา ข้อ 17 การลาพักการศกึ ษา นักศึกษาที่ไม่สามารถศึกษาในภาคเรียนปกติใดได้สามารถย่ืนคาร้องขอลาพักการศึกษา โดยยื่นคาร้องพร้อม แนบหลักฐานความจาเป็นและชาระค่าธรรมเนียม ภายในวันสุดท้ายของภาคเรียนหรือตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด ทั้งน้ีการลาพัก การศกึ ษาให้กระทาไดต้ ดิ ต่อกันไมเ่ กนิ 2 ปีการศกึ ษา ขอ้ 18 สภาพนกั ศกึ ษาและการพ้นสภาพการเปน็ นักศกึ ษา 18.1 สภาพนักศึกษาแบง่ ออกได้ ดงั นี้ (1) นักศกึ ษาเกณฑ์ปกติ ได้แก่ นกั ศกึ ษาทีม่ ผี ลการเรยี นไดค้ ่าระดับคะแนนเฉล่ียตั้งแต่ 2.00 ขน้ึ ไป (2) นักศึกษารอพินิจ ได้แก่ นักศึกษาท่มี ีผลการเรียนได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 1.80 ขนึ้ ไปแต่ไม่ ถงึ 2.00 เมื่อเรยี นครบโครงสรา้ งของหลักสูตร 18.2 การพน้ สภาพการเป็นนกั ศกึ ษาด้วยเหตุ ดงั น้ี กรณีนักศกึ ษำภำคปกติ (1) นกั ศกึ ษาไดค้ ะแนนเฉล่ยี ตา่ กว่า 1.60 เมือ่ ส้ินภาคเรียนปกติภาคเรยี นท่ี 2 นบั ต้ังแตเ่ ขา้ เรียน (2) นักศึกษาได้คะแนนเฉล่ียต่ากว่า 1.80 เมื่อส้ินภาคเรียนปกติภาคเรียนท่ี 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20 นับตัง้ แตเ่ ข้าเรียน (3) ลงทะเบยี นเรียนครบหลักสูตรแต่ยังไดค้ า่ ระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสมต่ากว่า 1.80 (4) มีสภาพการเป็นนักศึกษาครบ 6 ปีการศึกษาปกติติดต่อกันในกรณีหลักสูตรระดับอนุปริญญา (3 ปี) ครบ 8 ปีการศึกษาปกติติดต่อกันในกรณีหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ครบ 10 ปีการศึกษาปกติติดต่อกั นในกรณีท่ีเรียน หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี 5 ปี และครบ 4 ปีการศึกษาปกตติ ิดต่อกนั ในกรณหี ลักสตู รระดับปริญญาตรี (ตอ่ เนือ่ ง) (5) ลาออกหรอื เสียชวี ติ (6) ไม่มคี ณุ สมบัตติ ามขอ้ 12 (7) ลาพกั การศึกษาเกิน 2 ปกี ารศกึ ษาติดตอ่ กนั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 51 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

(8) กระทาผดิ วนิ ยั นักศกึ ษาตามทม่ี หาวิทยาลัยกาหนดให้พน้ สภาพนักศึกษา (9) ไม่ชาระเงินค่าบารุงหรือค่าธรรมเนียมการศึกษาและมหาวิทยาลัยพิจารณาแล้วไม่เป็นผู้ขาดแคลน อยา่ งแทจ้ รงิ กรณีท่นี ักศึกษาพ้นสภาพตาม (1) (2) แล้วแต่หากรายใดมีผลการเรียนไม่สมบูรณ์ (ได้รับระดับคะแนน I) ใหน้ ักศึกษาและอาจารยผ์ ้สู อนดาเนนิ การแก้ไขให้แล้วเสร็จไม่เกนิ 30 วันนับจากวันทีพ่ น้ สภาพการเป็นนักศกึ ษา กรณนี กั ศกึ ษำภำคพิเศษ (1) นกั ศึกษาได้คะแนนเฉลี่ยต่ากว่า 1.60 เมอ่ื สน้ิ ภาคเรียนปกตภิ าคเรียนที่ 3 นับตัง้ แต่เข้าเรยี น (2) นักศึกษาไดค้ ะแนนเฉลี่ยต่ากวา่ 1.80 เม่ือสิ้นภาคเรียนปกติภาคเรียนท่ี 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24 นับตั้งแตเ่ ขา้ เรยี น (3) ลงทะเบียนครบหลักสูตร แต่ยงั ไดค้ ่าระดับคะแนนเฉล่ียต่ากว่า 1.80 (4) มีสภาพการเป็นนักศึกษาครบ 6 ปีการศึกษาปกติติดต่อกันในกรณีหลักสูตรระดับอนุปริญญา (3 ปี) ครบ 8 ปีการศึกษาปกติติดต่อกันในกรณีหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ครบ 10 ปีการศึกษาปกติติดต่อกันในกรณีท่ีเรียน หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี 5 ปี และครบ 4 ปกี ารศกึ ษาปกติตดิ ตอ่ กนั ในกรณหี ลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอ่ เนือ่ ง) (5) ลาออกหรอื เสยี ชวี ติ (6) ไม่มคี ณุ สมบตั ติ ามขอ้ 12 (7) ลาพกั การศึกษาเกิน 2 ปกี ารศึกษาตดิ ตอ่ กนั (8) กระทาผิดวนิ ยั นกั ศึกษาตามทมี่ หาวิทยาลัยกาหนดให้พ้นสภาพนักศึกษา (9) ไม่ชาระเงินค่าบารุงการศึกษาหรือค่าธรรมเนียมการศึกษา และมหาวิทยาลัยพิจารณาแล้วไม่เป็นผู้ ขาดแคลนอย่างแทจ้ ริง กรณีทน่ี ักศึกษาพ้นสภาพตาม (1) (2) แล้วแต่หากรายใดมีผลการเรียนไม่สมบูรณ์ (ได้รับระดับคะแนน I) ใหน้ กั ศกึ ษาและอาจารยผ์ สู้ อนดาเนินการแกไ้ ขให้แล้วเสร็จไมเ่ กนิ 30 วัน นับจากวนั ทีพ่ น้ สภาพการเป็นนกั ศึกษา หมวด 4 กำรลงทะเบียนและคำ่ ธรรมเนียม ข้อ 19 การลงทะเบียนเรียน 19.1 การลงทะเบียนเรยี นของนักศกึ ษาจะต้องได้รบั ความเหน็ ชอบจากอาจารย์ที่ปรกึ ษา 19.2 จานวนหนว่ ยกติ ทน่ี ักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนได้ มดี งั นี้ (1) นักศึกษาภาคปกติสามารถลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิตและไม่เกิน 22 หน่วยกิตใน แตล่ ะภาคการศึกษาปกตสิ าหรับการลงทะเบยี นเรียนเต็มเวลา ส่วนภาคฤดูรอ้ นใหล้ งทะเบยี นเรยี นได้ไม่เกิน 9 หนว่ ยกิต (2) นักศึกษาภาคพเิ ศษสามารถลงทะเบียนเรยี นได้ ภาคการศกึ ษาละไม่เกนิ 12 หน่วยกติ 19.3 การลงทะเบียนเรียน ให้ดาเนินการตามประกาศของมหาวิทยาลัย หากนักศึกษาลงทะเบียนหลังจากวันที่ มหาวทิ ยาลัยกาหนด จะต้องชาระคา่ ปรบั ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 52 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

19.4 การลงทะเบียนเรียน นักศึกษาสามารถลงทะเบียนผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือลงทะเบียนด้วย ตนเอง ตามวัน เวลา และสถานทท่ี ่ีมหาวิทยาลัยกาหนด 19.5 การลงทะเบียนเรียนจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อนักศึกษาได้ชาระค่าธรรมเนียมต่างๆ พร้อมยื่นหลักฐานการ ลงทะเบียนนัน้ ต่อมหาวทิ ยาลัยแล้ว 19.6 การลงทะเบียนรายวิชาหลังกาหนด ให้กระทาได้ภายในระยะเวลาของการเพิ่มถอนรายวิชา หากพ้น กาหนดมหาวิทยาลัยอาจยกเลิกสิทธกิ ารลงทะเบียนรายวิชาในภาคการศกึ ษานัน้ ๆ 19.7 มหาวิทยาลยั อาจกาหนดเงือ่ นไขให้นกั ศึกษาลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าผา่ นก่อน (Prerequisite) สาหรับการ ลงทะเบียนบางรายวิชา โดยนักศึกษาต้องมีผลการเรียนเป็น S หรือระดับคะแนน D ข้ึนไป และการลงทะเบียนที่ผิดเงื่อนไขของ รายวชิ าใด ๆ ใหถ้ อื วา่ การลงทะเบียนนัน้ เป็นโมฆะ และรายวชิ าที่ลงทะเบยี นผิดเงื่อนไขนนั้ ใหไ้ ด้รบั อักษร W 19.8 อธิการบดีอาจอนุมัติให้นักศึกษาท่ีพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาจากการลาพักการศึกษาเกิน 2 ปีการศึกษา ติดต่อกันกลับเข้าเป็นนักศึกษาใหม่ได้ถ้ามีเหตุผลอันสมควรโดยให้ถือระยะเวลาท่ีพ้นสภาพน้ัน เป็นระยะเวลาพักการศึกษาในกรณี เช่นนีน้ ักศึกษาจะต้องชาระค่ารักษาสถานภาพนักศึกษาตามระเบยี บของมหาวทิ ยาลัย การอนุมัติให้กลับเข้าเปน็ นักศึกษาตามวรรคแรกหากพน้ กาหนดเวลา 2 ปกี ารศึกษา นับจากวันทนี่ ักศึกษาผู้นั้น พ้นสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษาไม่อาจกระทาได้ 19.9 กรณีที่มโี ครงการแลกเปล่ยี นนักศกึ ษาระหว่างสถาบันการศึกษา อธกิ ารบดอี าจพจิ ารณาอนุมัติใหน้ ักศึกษา ลงทะเบียนรายวิชาที่เปิดสอนในสถาบันการศึกษาอื่นแทนการลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยทั้งหมด หรือบางส่วนก็ได้ หรืออาจ พจิ ารณาอนุมัติให้นกั ศึกษาสถาบันการศึกษาอืน่ ลงทะเบียนรายวชิ าท่ีเปดิ สอนในมหาวิทยาลัยโดยชาระคา่ ธรรมเนียมตามระเบียบว่า ด้วยการรบั และจ่ายเงนิ ค่าธรรมเนยี มการศึกษาของมหาวิทยาลัยก็ได้ 19.10 การลงทะเบียนรายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือสหกิจศึกษาในภาคเรียนใดไม่อนุญาตให้นักศึกษา ลงทะเบียนรายวชิ าอ่นื เพม่ิ เตมิ ยกเว้นกรณีทหี่ ลักสตู รกาหนดไว้ ขอ้ 20 การคดิ หนว่ ยกิตถอื เกณฑ์ ดังนี้ 20.1 การเรียนการสอนภาคทฤษฎีให้กาหนด 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติ มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกติ 20.2 การเรียนการสอนภาคปฏิบัติให้กาหนดไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมง ตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติ มคี า่ เทา่ กับ 1 หน่วยกติ 20.3 การฝึกงาน หรือการฝึกภาคสนามให้กาหนดไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือไม่น้อยกว่า 45 ชัว่ โมง ตลอดหน่งึ ภาคการศกึ ษาปกติ มคี ่าเทา่ กบั 1 หนว่ ยกิต 20.4 การทาโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายที่ใช้เวลาทาโครงงานหรือกิจกรรม นน้ั ๆ ไม่น้อยกวา่ 45 ชว่ั โมง ต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มคี ่าเทา่ กับ 1 หน่วยกิต ข้อ 21 การเพมิ่ -ถอนรายวชิ า 21.1 การเพ่มิ -ถอนรายวิชา จะกระทาได้ภายใน 3 สัปดาห์แรกนับจากวนั เปิดภาคการศึกษา หรือภายในสัปดาห์ แรกนบั จากวนั เปิดภาคฤดูร้อน 21.2 ขนั้ ตอนในการเพ่ิม-ถอนรายวิชาให้เปน็ ไปตามที่มหาวทิ ยาลัยกาหนด มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 53 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

21.3 นักศึกษาท่ีลงทะเบียนและศึกษาครบตามหลักสูตรอนุปริญญาหรือปริญญาตรีและได้ค่าระดับคะแนนสะสม ถึงเกณฑ์ที่สาเร็จการศึกษาแล้ว อาจลงทะเบียนเรียนเพ่ิมเติมได้ในวิชาท่ีเปิดสอนอยู่ในมหาวิทยาลัย โดยถือเป็นผู้เข้าร่วมศึกษาแต่ จะลงทะเบียนเรียนไดไ้ ม่เกิน 1 ภาคการศกึ ษา ข้อ 22 การชาระค่าธรรมเนียมการศึกษา การยกเว้น หรอื การลดหย่อนค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการที่มหาวทิ ยาลัยกาหนดโดยความเห็นชอบของสภาวชิ าการ หมวด 5 กำรวัดและประเมินผล ข้อ 23 การวดั และประเมินผลการศึกษา 23.1 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินผลทกุ รายวิชาทมี่ ีการเรียนการสอน การวดั ผลต้องทาตลอดภาคการศึกษาโดยวธิ ี ต่าง ๆ เช่น การสอบย่อย การทารายงาน การสอบกลางภาค ฯลฯ และให้มีการสอบปลายภาคโดยให้คิดคะแนนสอบปลายภาค ต้งั แต่รอ้ ยละ 30-50 ของคะแนนทัง้ หมด เวน้ แตร่ ายวิชาท่ีกาหนดใหป้ ระเมินผลในลกั ษณะอน่ื โดยความเห็นชอบของสภาวิชาการ 23.2 นักศึกษาต้องมีเวลาเรียนแต่ละรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมด จึงจะมีสิทธิเข้าสอบ และไดร้ บั การวัดและประเมินผล 23.3 กรณีที่นักศึกษามีเวลาเรียนรายวิชาใดน้อยกว่าร้อยละ 80 แต่ไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ให้อยู่ในดุลยพินิจของ อาจารยผ์ ูส้ อน 23.4 มหาวิทยาลัยใชร้ ะบบสัญลกั ษณ์ ระดบั คะแนน และคา่ ระดบั คะแนน ในการวัดและประเมนิ ผล ดังนี้ ระดับคะแนน ควำมหมำย ค่ำระดบั คะแนน A ดีเยี่ยม (Excellent) 4.00 B+ ดมี าก (Very Good) 3.50 B ดี (Good) 3.00 C+ ดพี อใช้ (Fairly Good) 2.50 C พอใช้ (Fair) 2.00 D+ อ่อน (Poor) 1.50 D ออ่ นมาก (Very Poor) 1.00 F ไมผ่ า่ น (Fail) 0.00 Fe ขาดสอบปลายภาค (Failure : absent from examination) S เป็นที่พอใจ (Satisfactory) U ไมเ่ ปน็ ท่ีพอใจ (Unsatisfactory) I การวดั ผลยังไมส่ มบรู ณ์ (Incomplete) P ผา่ น (Pass) V ผูเ้ ขา้ รว่ มศกึ ษา (Visitor) W การถอนรายวิชา (Withdrawn) มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 54 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

23.5 ระดบั คะแนน A, B+,B,C+,C,D+,D และ F ใชส้ าหรับกรณี (1) รายวชิ าท่ีนักศึกษาเขา้ สอบหรือมีผลงานที่ประเมินผลได้เป็นค่าระดับคะแนนหรือรายวิชาที่นักศึกษา เข้าสอบและมผี ลงานท่ีประเมนิ ผลได้เปน็ ค่าระดบั คะแนน (2) เปล่ียนจากสัญลักษณ์ I เป็นระดับคะแนน 23.6 นักศึกษาท่ีมีผลการศึกษาตั้งแต่ระดับคะแนน D ข้ึนไปถือว่าสอบผ่านในรายวิชานั้น ยกเว้นรายวิชาที่ หลกั สตู รกาหนดให้เป็นอย่างอนื่ 23.7 ระดับคะแนนใชก้ บั กรณีดังตอ่ ไปนี้ (1) นักศึกษาขาดสอบปลายภาค ในกรณีท่นี ักศึกษามีสิทธิสอบปลายภาคเรียนแต่ขาดสอบเน่ืองจากเหตุ จาเป็นและสุดวิสัยอย่างย่ิง นักศึกษาสามารถยื่นคาร้องขอสอบในรายวิชาที่ขาดสอบท่ีกองบริการการศึกษา โดยต้องดาเนินการ ภายใน 15 วนั นบั แตว่ นั เปดิ ภาคเรยี นของภาคเรียนถัดไป (2) หากนักศึกษาไม่ดาเนินการขอสอบในรายวิชาทีข่ าดสอบปลายภาคตามเวลาที่กาหนด มหาวิทยาลัย จะเปลยี่ นจากสัญลักษณ์ Fe เปน็ คา่ ระดับคะแนน F หรอื U แล้วแต่กรณี 23.8 ระดบั คะแนน “I” ใชก้ ับกรณี ดังตอ่ ไปน้ี (1) นักศึกษาไม่สามารถเข้ารับการวัดผลในรายวิชานั้นให้สาเร็จสมบูรณ์ได้โดยมีหลักฐานแสดงว่ามีเหตุ จาเป็นอย่างยง่ิ (2) นักศึกษาทางานที่เป็นส่วนประกอบการศึกษาของรายวิชาน้ันๆ ยังไม่สมบูรณ์และอาจารย์ผู้สอน เหน็ สมควรให้รอผลการศึกษา (3) นักศึกษาจะต้องดาเนินการขอรับการประเมินผลเพ่ือแก้ระดับคะแนน I ให้สมบูรณ์ ภายใน 2 สัปดาห์แรกของภาคเรียนถัดไป หากพ้นกาหนดดังกล่าวมหาวิทยาลัยจะเปลี่ยนสัญลักษณ์ I เป็นค่าระดับคะแนน F หรือ U แลว้ แตก่ รณี 23.9 ระดับคะแนน S หรือ U ใช้สาหรับรายวิชาท่ีไม่นับหน่วยกิตแต่หลักสูตรกาหนดให้มีการประเมินผล การศึกษาโดยไม่คดิ ค่าระดับคะแนน 23.10 ระดับคะแนน V ใช้สาหรับรายวิชาท่ีนักศึกษาเข้าร่วมศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิตและมีเวลาเรียน ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 หากเวลาเรยี นไม่ครบตามกาหนดให้เปลีย่ นระดบั คะแนน V เปน็ W 23.11 ระดับคะแนน P ใช้สาหรับรายวิชาที่ได้รับการยกเว้นวิชาเรียนในกรณีที่นักศึกษาเรียนมาจาก สถาบันอดุ มศึกษาอื่นๆ ในระดับเดยี วกนั หรอื จากมหาวทิ ยาลยั แต่ย้ายสาขาวชิ าภายในมหาวทิ ยาลัย 23.12 ระดับคะแนน W ใช้สาหรับรายวิชาที่นักศึกษาขอยกเลิกรายวิชาท่ีได้ลงทะเบียนเรียนไว้แล้ว และได้ กระทาขอยกเลกิ กอ่ นการสอบปลายภาค 3 สปั ดาห์ 23.13 การนับหนว่ ยกติ สะสม และการคานวณค่าระดับคะแนนเฉลย่ี (1) มหาวทิ ยาลัยจะคานวณค่าระดับคะแนนเฉลีย่ จากหน่วยกิต และคา่ ระดบั คะแนนของรายวิชาทั้งหมด ท่ีนกั ศึกษาไดล้ งทะเบยี นเรียนในแตล่ ะภาคการศึกษา (2) การคานวณค่าระดับคะแนนเฉล่ีย ให้นาผลคูณของจานวนหน่วยกิตกับค่าระดับคะแนนของทุกๆ รายวิชาท่ีเรยี นมารวมกนั แลว้ หารด้วยจานวนหน่วยกติ ของรายวชิ าท้ังหมด มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 55 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

(3) ในกรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้าในรายวิชาที่ได้ระดับคะแนนต่ากว่า C มหาวิทยาลัยจะ อนุญาตให้เรียนซ้าได้อีกหน่ึงครั้ง ส่วนการบันทึกผลการเรียนมหาวิทยาลัยจะเลือกบันทึกรายวิชาเรียนท่ีได้ระดับคะแนนดีที่สุดให้ และผลการเรียนทไ่ี ม่เลือกบนั ทึกจะเปลีย่ นเปน็ W 23.14 การประเมินผลรายวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพหรือสหกิจศึกษา ถ้าได้ระดับคะแนนต่ากว่า C หรือ คะแนนรวมต่ากว่าร้อยละ 60 ถือว่าสอบตก นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนใหม่และผลการเรียนท่ีต่ากว่า C หรือสอบตกจะ เปลี่ยนเปน็ W 23.15 นกั ศกึ ษาท่ที ุจรติ หรอื ร่วมทุจริตในการสอบให้นักศึกษาผู้นนั้ ได้รับระดบั คะแนนเปน็ F หรอื U แล้วแตก่ รณี ข้อ 24 การสอบตก และการเรียนซา้ 24.1 รายวิชาใดท่ีนักศึกษามีระดับคะแนนต่ากว่า C อาจขอเรียนซ้ารายวิชานั้นได้โดยไปเรียนวิชาอ่ืนที่อยู่ใน หมวดหรือกลุ่มหรือแขนงเดยี วกนั 24.2 รายวิชาบังคับใดตามโครงสร้างหลักสูตร ถ้านักศึกษาสอบได้ระดับคะแนน F หรือ U นักศึกษาต้อง ลงทะเบยี นเรียนซ้า 24.3 รายวิชาเลือกตามโครงสร้างหลักสูตร ถ้านักศึกษาสอบได้ระดับคะแนน F หรือ U นักศึกษาสามารถ เปลี่ยนไปลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือกอนื่ ตามโครงสร้างหลักสตู รที่เรียนได้ 24.4 รายวิชาที่ไดร้ ะดบั คะแนน F หรือ U เม่ือทาการลงทะเบียนแล้วให้เปล่ยี นระดบั คะแนนF หรอื U เปน็ W 24.5 กรณีทส่ี อบตกและต้องเรียนซ้า หรือกรณีสอบตกรายวชิ าเลือกและเปล่ียนไปเรียนรายวชิ าเลือกอ่ืนแทนจะไม่ นบั หน่วยกิต ทสี่ อบตกเป็นตัวหาร หมวด 6 กำรขอสำเร็จกำรศึกษำและกำรอนมุ ัติอนุปริญญำและปริญญำ ข้อ 25 นักศึกษาที่จะสาเรจ็ การศึกษาในภาคการศึกษาใด จะต้องย่ืนคารอ้ งขอสาเร็จการศึกษาในภาคการศึกษานั้น หาก นักศึกษาไม่ยื่นคาร้องขอสาเร็จการศึกษาตามท่ีกาหนด หรือมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วน มหาวิทยาลัยอาจยังไม่พิจารณาการสาเร็จ การศกึ ษา 25.1 ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษามสี ทิ ธิขอรบั อนุปริญญาหรอื ปรญิ ญาจะตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดังนี้ นักศึกษำภำคปกติ (1) เรียนรายวชิ าต่าง ๆ ครบตามโครงสร้างของหลักสูตรรวมท้งั รายวิชาท่ีสภามหาวิทยาลัยกาหนดให้ เรยี นเพ่ิม และไม่มรี ายวชิ าใดได้รบั ค่าระดบั คะแนนเปน็ F, I หรอื U (2) ได้รับคา่ ระดับคะแนนเฉล่ยี ไม่ตา่ กว่า 2.00 (3) มเี วลาเรียน (3.1) หลักสูตรระดับอนุปริญญา (3 ปี) ไม่ต่ากว่า 5 ภาคการศึกษาและมีสภาพเป็นนักศึกษาไม่ เกิน 6 ปี (3.2) หลักสูตรระดับปริญญาตรี (4 ปี) ไม่ต่ากว่า 7 ภาคการศึกษา และมีสภาพเป็นนักศึกษาไม่ เกนิ 8 ปี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 56 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

(3.3) หลักสูตรระดับปริญญาตรี (5 ปี) ไม่ต่ากว่า 8 ภาคการศึกษา และมีสภาพเป็นนักศึกษาไม่ เกิน 10 ปี (3.4) หลักสูตรระดับปรญิ ญาตรี (ตอ่ เนื่อง) ไม่ต่ากวา่ 4 ภาคการศึกษา และมีสภาพเป็นนักศึกษาไม่ เกนิ 4 ปี (4) มีเวลาเรยี นไม่ต่ากว่า 3 ภาคการศึกษาปกติในกรณีการเรียนเพอ่ื ปรญิ ญาท่ีสอง (5) ผ่านการทดสอบหรืออบรมมาตรฐานภาษาองั กฤษตามทีม่ หาวิทยาลยั กาหนด (6) ผ่านการเขา้ ร่วมกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตทพี่ ึงประสงค์ตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด นักศกึ ษำภำคพิเศษ (1) เรียนรายวิชาต่าง ๆ ครบตามโครงสร้างของหลักสูตรรวมทั้งรายวิชาท่ีสภามหาวิทยาลัย กาหนดใหเ้ รยี นเพ่ิม และไม่มรี ายวชิ าใดไดร้ บั ค่าระดับคะแนนเปน็ F, I หรอื U (2) ไดร้ บั ค่าระดบั คะแนนเฉลยี่ ไม่ตา่ กว่า 2.00 (3) มีเวลาเรียน (3.1) หลักสตู รระดับอนุปรญิ ญา (3 ป)ี ไม่ต่ากว่า 5 ภาคการศกึ ษาและมสี ภาพเป็นนักศึกษาไมเ่ กนิ 6 ปี (3.2) หลักสูตรระดับปริญญาตรี (4 ปี) ไม่ต่ากวา่ 10 ภาคการศึกษา และมีสภาพเป็นนักศึกษาไม่ เกนิ 8 ปี (3.3) หลักสูตรระดับปริญญาตรี (5 ปี) ไม่ต่ากว่า 12 ภาคการศึกษา และมีสภาพเปน็ นักศึกษาไม่ เกิน 10 ปี (3.4) หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ต่อเน่ือง) ไม่ต่ากว่า 6 ภาคการศึกษา และมีสภาพเป็นนักศึกษา ไม่เกนิ 4 ปี (4) มเี วลาเรียนไม่ต่ากว่า 3 ภาคการศกึ ษาปกติในกรณกี ารเรยี นเพอ่ื ปรญิ ญาทส่ี อง (5) ผา่ นการทดสอบหรืออบรมมาตรฐานภาษาอังกฤษตามทมี่ หาวทิ ยาลัยกาหนด (6) ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมคณุ ลักษณะบณั ฑติ ทพ่ี ึงประสงค์ตามทมี่ หาวิทยาลัยกาหนด เมือ่ นักศกึ ษาเรียนครบโครงสร้างตามที่กาหนดไว้ในหลักสตู รแล้ว ถ้าได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยตง้ั แต่ 1.80 แต่ไม่ถึง 2.00 ใหเ้ ลอื กรายวชิ าเพม่ิ เตมิ เพอื่ ทาคา่ ระดบั คะแนนเฉลี่ยใหถ้ งึ 2.00 ท้ังนีต้ อ้ งอยู่ในระยะเวลาตามข้อ 18 นักศึกษาท่ีมีคุณสมบัติเป็นผู้สาเร็จการศึกษา ต้องผ่านคณะกรรมการอนุมัติการประเมินผลการศึกษา อนุมัติให้สาเร็จ การศึกษา กอ่ นเสนอคณะกรรมการสภาวชิ าการ สภามหาวทิ ยาลัยตามลาดับ ข้อ 26 ผสู้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทีจ่ ะได้รบั การเสนอช่อื ให้ได้รับปริญญาเกยี รตนิ ิยม จะต้องมคี ุณสมบตั ดิ ังน้ี 26.1 เรียนครบหลักสูตรแล้วได้ค่าระดับคะแนนเฉล่ียไม่น้อยกว่า 3.60 ได้เกียรตินิยมอันดับ 1 และได้ ค่า ระดบั คะแนนเฉลย่ี ไม่น้อยกว่า 3.25 จะไดร้ ับเกียรตนิ ิยมอนั ดบั 2 สาหรับปริญญาตรหี ลักสตู ร 4 ปี และ 5 ปี 26.2 ระดับปริญญาตรี(ต่อเนื่อง) จะต้องได้รับค่าระดับคะแนนเฉล่ียท้ังระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าและ ปริญญาตรี ค่าระดับคะแนนเฉล่ียไม่น้อยกว่า 3.60 ได้เกียรตินิยมอันดับหน่ึง และถ้าได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 3.25 -3.59 ท้งั ระดับอนปุ ริญญาหรอื เทยี บเท่าและปริญญาตรใี นสาขาเดียวกัน จะไดเ้ กียรตนิ ยิ มอันดับทส่ี อง มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 57 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

26.3 ทกุ รายวชิ าจะต้องได้ระดับคะแนนไมต่ ่ากว่า C 26.4 ทกุ รายวิชาไมเ่ คยไดร้ ับคะแนนเปน็ F,U และไมม่ ีการลงทะเบยี นเรียนซา้ ซ้อนในรายวิชาใดๆ 2 6 .5 ต้ อ งไม่ เป็ น นั ก ศึ กษ าท่ี โอ น ม าจาก ส ถ าบั น ก ารศึ ก ษ าอื่ น ห รือ มี ก ารเที ย บ โอ น วิชาเรีย น 26.6 นักศึกษาภาคปกติมีเวลาเรียนไม่เกิน 4 ภาคการศึกษาปกติสาหรับหลักสูตร 2 ปี ไม่เกิน 8 ภาคการศึกษาปกติสาหรับหลักสูตร 4 ปี และ 10 ภาคการศึกษาปกติสาหรับหลักสูตร 5 ปีทั้งนี้ให้นับภาคฤดูร้อนเป็น 1 ภาคการศึกษาปกตดิ ว้ ย 26.7 นักศึกษาภาคพิเศษ มีเวลาเรียนไม่เกิน 6 ภาคการศึกษาสาหรับห ลักสูตร 2 ปี ไม่เกิน 12 ภาคการศกึ ษาสาหรับหลกั สูตร 4 ปี และไม่เกนิ 15 ภาคการศกึ ษาสาหรบั หลักสตู ร 5 ปี ข้อ 27 การอนมุ ตั ิอนุปรญิ ญาหรอื ปริญญา สภามหาวิทยาลยั เป็นผู้อนุมัติ หมวด 7 บทเฉพำะกำล ขอ้ 28 ในกรณที ่ียงั ไม่ไดอ้ อกระเบียบ ประกาศ หรือ คาส่ัง เพื่อปฏบิ ัติตามข้อบังคบั น้ี ให้ใชร้ ะเบียบ ประกาศ หรอื คาสง่ั ตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดบั อนปุ รญิ ญาและปริญญาตรี พ.ศ.2549 ไปพลางกอ่ นจนกว่าจะได้ออกระเบยี บ ประกาศ หรอื คาสง่ั ตามขอ้ บังคับน้ี ประกาศ ณ วนั ที 28 เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (นายอภิชาติ จีระวฒุ ิ) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 58 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ บงั คบั มหำวิทยำลยั รำชภัฏพระนครศรอี ยุธยำ ว่ำดว้ ย กำรให้ผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำชนั ปรญิ ญำตรี ไดร้ บั ปริญญำตรีเกยี รตินยิ มอันดบั หนึ่ง และปริญญำตรเี กยี รตินิยมอันดับสอง พ.ศ. 2550 --------------------------------------------- เพื่อเป็นการยกย่อง และเชิดชูเกียรติบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาผู้ท่ีมีผลการศึกษาดีเด่น และมี ความรู้คู่คุณธรรม จึงเห็นสมควรออกข้อบังคับเพ่ือรองรับการให้ปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และปริญญาตรี เกยี รตนิ ิยมอนั ดับสอง อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18(2) และมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 สภา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา จงึ ตราขอ้ บงั คับไวด้ งั ตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ข้อบังคับน้ีเรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การให้ผู้สาเร็จการศึกษา ช้นั ปริญญาตรี ไดร้ บั ปรญิ ญาตรีเกียรตินยิ มอันดับหน่งึ และได้รับปริญญาตรเี กียรตินยิ มอนั ดับสอง พ.ศ. 2550” ข้อ 2 ขอ้ บงั คับนใ้ี ห้ใชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วนั ประกาศเป็นตน้ ไป ขอ้ 3 ในข้อบังคบั นี้ “สภามหาวทิ ยาลัย” หมายถงึ สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา “อธิการบดี” หมายถงึ อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา “นกั ศกึ ษา” หมายถึง นักศึกษาทศี่ กึ ษาในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา ขอ้ 4 ผู้สาเรจ็ การศึกษาในระดับปริญญาตรีจะไดร้ บั ปรญิ ญาตรเี กียรตินยิ ม ตอ้ งมคี ุณสมบัตดิ ังน้ี (1) สาหรับหลักสูตร 4 ปี และหลักสูตร 5 ปี เรียนครบหลักสูตรแล้ว ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.60 ไดเ้ กียรตนิ ิยมอันดับหน่งึ และไดค้ ่าระดับคะแนนเฉลย่ี ไมน่ ้อยกว่า 3.25 ได้เกียรตนิ ิยมอันดับสอง (2) ระดับปริญญาตรีต่อเน่ือง 2 ปี (หลังอนุปริญญา) จะต้องได้รับค่าระดับคะแนนเฉล่ียท้ังระดับอนุปริญญา และปริญญาตรีในสาขาเดียวกัน ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.60 ได้ปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และถ้าได้ระดับ คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกวา่ 3.25 ทัง้ ระดับอนุปริญญาและปรญิ ญาตรีในสาขาเดยี วกัน จะได้เกยี รตนิ ยิ มอันดับสอง (3) ทุกรายวชิ าจะต้องไดร้ บั ระดบั คะแนนไมต่ ่ากว่า C (4) ทุกรายวิชาไม่เคยไดร้ ับคะแนนเป็น F หรือ U และไม่มีการลงทะเบียนเรยี นซา้ ในรายวิชาใดๆ (5) ต้องไม่เปน็ นกั ศึกษาทโ่ี อนมาจากสถาบันการศึกษาอืน่ หรอื มกี ารเทยี บโอนวิชาเรียน (6) นักศึกษาภาคปกติมีเวลาเรียนไม่เกิน 4 ภาคเรียนปกติ สาหรับหลักสูตร 2 ปี ไม่เกิน 8 ภาคเรียนปกติ สาหรับหลกั สตู ร 4 ปี และไม่เกนิ 10 ภาคเรยี นปกติ สาหรับหลักสตู ร 5 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 59 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

(7) นักศึกษาภาคพิเศษมีเวลาเรียนไม่เกิน 6 ภาคเรียน สาหรับหลักสูตร 2 ปี ไม่เกิน 12 ภาคเรียน สาหรับ หลกั สูตร 4 ปี และไม่เกิน 15 ภาคเรยี น สาหรบั หลกั สตู ร 5 ปี (8) ไม่เป็นผู้ถูกลงโทษทางวินัยนักศึกษา ตั้งแต่ระดับตัดคะแนนความประพฤติขนึ้ ไป ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา วา่ ดว้ ย วินยั นักศกึ ษา พ.ศ. 2550 ตลอดระยะเวลาทีศ่ ึกษาอยู่ ข้อ 5 ให้สภามหาวิทยาลัยโดยคาแนะนาของอธิการบดี อนุมัติปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และปริญญาตรีเกียรติ นยิ มอันดบั สอง โดยเสนอไปพร้อมกบั การขออนมุ ัติปริญญา ข้อ 6 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอานาจออกระเบียบประกาศ หรือคาส่ังเพ่ือประโยชน์ในการ ปฏบิ ตั ติ ามข้อบงั คบั น้ี ในกรณที ่ีมปี ญั หาเกยี่ วกบั การปฏิบัตติ ามขอ้ บงั คบั น้ี ใหอ้ ธกิ ารบดมี ีอานาจวนิ ิจฉัย ประกาศ ณ วนั ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2550 (นายอารีย์ วงศ์อารยะ) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 60 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ระเบยี บมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา ว่าด้วยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรยี น และการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรยี น การยกเว้นรายวชิ าเรียน พ.ศ. 2552 ---------------------------- โดยทเ่ี ป็นการสมควรให้มีระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ า เรียน และการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอน ผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ าเรียน พ.ศ. 2552 เพ่ือให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรของสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราช ภัฏพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2547 และมติสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในคราวประชุมคร้ังท่ี 8/2552 เม่ือวนั ท่ี 22 สงิ หาคม พ.ศ. 2552 สภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา จึงออกระเบยี บไว้ดังต่อไปน้ี ข้อ 1 ระเบียบน้ี เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วยการโอน ผลการเรียน การยกเว้น รายวชิ าเรยี น และการจา่ ยค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรยี น การยกเว้นรายวชิ าเรยี น พ.ศ. 2552” ข้อ 2 ระเบียบน้ใี ชบ้ ังคบั ตงั้ แตว่ นั ถดั จากประกาศเปน็ ต้นไป ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ประกาศ คาสง่ั หรอื มตอิ นื่ ใด ซึง่ ขดั แย้งกบั ระเบียบใหใ้ ชร้ ะเบียบน้ีแทน ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี “มหาวทิ ยาลัย” หมายความว่า มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “สภามหาวิทยาลยั ” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา “อธกิ ารบดี” หมายความวา่ อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “นกั ศึกษา” หมายความวา่ นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “สถาบันอุดมศึกษา” หมายความว่า สถาบันการศึกษาท่ีมีการจัดการเรียนการสอน ในระดับหลังมัธยมศึกษา ตอนปลาย หลักสูตรไมต่ า่ กว่าระดับอนุปรญิ ญาหรือเทยี บเทา่ ทส่ี ภามหาวิทยาลยั หรอื สานกั งานคณะกรรมการอดุ มศึกษารับรอง “การโอนผลการเรียน” หมายความว่า การนาหน่วยกติ และค่าระดบั คะแนนของรายวชิ าทีเ่ คยศึกษาจากหลกั สตู รของ มหาวิทยาลัย เพอ่ื ใช้นับเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาในมหาวิทยาลยั โดยไม่ตอ้ งศึกษารายวชิ าน้นั อีก ซงึ่ รายวิชาท่ีโอนตอ้ งเป็นรายวชิ า ในหลักสูตรที่กาลงั ศึกษาอยใู่ นปจั จุบนั ตอ้ งโอนผลการเรยี นทกุ รายวิชาท่ีเรียนมาท้งั หมดจากหลกั สตู รเดิม “การยกเวน้ รายวิชาเรียน” หมายความว่า การนาหน่วยกิตและค่าระดับคะแนนรายวิชาที่เคยศึกษาจากหลักสูตร ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา หรือสถาบันอดุ มศึกษาอ่นื ท่ีสภามหาวิทยาลัย หรอื สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา รับรอง เพ่ือใชน้ บั เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาในมหาวิทยาลยั โดยไมต่ อ้ งศึกษารายวิชานน้ั อีก “ค่าธรรมเนียม” หมายความว่า จานวนเงินท่ีนักศึกษาจะต้องชาระเป็นค่าโอนผลการเรียนหรือค่ายกเวน้ รายวชิ า เรียน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 61 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 5 การโอนผลการเรียน ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ดังตอ่ ไปน้ี 5.1 ผทู้ ่มี สี ทิ ธโิ์ อนผลการเรียน ต้องมีคณุ สมบัติดังตอ่ ไปนี้ 5.1.1 เป็นผู้ทเ่ี คยศกึ ษาในมหาวิทยาลัย แต่ยังไมส่ าเรจ็ การศึกษาและพน้ สภาพ การเปน็ นักศกึ ษาแล้วกลับเขา้ มาศึกษา ในระดับเดมิ อกี 5.1.2 เปน็ นกั ศึกษาภาคปกติที่เปล่ียนสถานภาพเป็นนักศึกษา ภาค กศ.บป. โดยใช้หลักสตู รของมหาวิทยาลัย 5.2 การขอโอนผลการเรียน ใหเ้ ป็นไปตามเงอื่ นไข ดงั ตอ่ ไปน้ี 5.2.1 นักศึกษาทีโ่ อนผลการเรียน ต้องมีผลการเรยี น คะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 ในระดับปริญญาตรี มาแล้วไม่เกนิ 5 ปี โดยเริ่มนับจากภาคเรียนสดุ ท้ายท่ีมีผลการเรยี น 5.2.2 นักศึกษาต้องโอนผลการเรียนท้ังหมดทุกรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว โดยไม่จากัดจานวนหน่วยกิตที่โอน ท้ังนี้ จานวนรายวิชาและผลการเรียนที่โอนได้ ให้นับเป็นหน่วยกิตรวมตามหลักสูตรที่เคยศึกษาในปัจจุบัน และนาไปคิดเป็น คะแนนเฉลี่ยสะสม 5.2.3 ผู้ขอโอนผลการเรียนต้องไม่เคยถูกลงโทษให้ออกจากมหาวิทยาลัยตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา ว่าด้วยวินยั นกั ศกึ ษา พ.ศ. 2550 5.2.4 นักศึกษาจะตอ้ งใช้เวลาศกึ ษาอยู่ในมหาวิทยาลยั อย่างน้อยหนึง่ ปีการศึกษา ข้อ 6 การยกเวน้ รายวชิ าเรียน ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑต์ ่อไปน้ี 6.1 นักศึกษาที่มสี ทิ ธข์ิ อยกเวน้ รายวิชาเรียน ต้องมีคุณสมบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี 6.1.1 เปน็ ผูท้ ี่สาเรจ็ การศึกษา หรอื ยงั ไมส่ าเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตรมหาวทิ ยาลัยหรือสถาบนั อดุ มศกึ ษาอน่ื ท่ี สภามหาวทิ ยาลัยหรอื สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษารับรอง แล้วไมเ่ กิน 10 ปี นบั ถงึ วันทเ่ี ขา้ ศึกษาโดยเร่มิ นบั จากวันสาเร็จ การศึกษาหรอื ภาคเรยี นสุดท้ายที่มผี ลการเรียน หรอื 6.1.2 เปน็ ผู้ท่กี าลงั ศกึ ษาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และลาออกจากหลักสูตรเดิมเพอื่ เข้าศกึ ษาในหลักสตู รใหม่ 6.2 การยกเวน้ ผลการเรยี นรายวิชา ใหเ้ ปน็ ไปตามเงื่อนไข ดงั ต่อไปนี้ 6.2.1 รายวิชาที่นามายกเว้นรายวิชาเรียน ต้องมีเน้ือหาสาระครอบคลุมไม่น้อยกว่าสามในส่ีของรายวิชาท่ีขอ ยกเวน้ และจานวนหน่วยกติ รวมที่ขอยกเวน้ จะต้องไม่เกินสองในสามของจานวนหน่วยกติ รวม ของหลักสูตรที่เข้าศึกษา และต้องมี เวลาเรียนในมหาวทิ ยาลัยอยา่ งน้อย 1 ปีการศึกษา 6.2.2 การยกเว้นรายวิชาเรียนให้ยกเว้นได้เฉพาะรายวชิ าที่มีผลการเรยี น ไม่ต่ากวา่ ระดับ C หรือระดบั คะแนน 2.00 หรอื P หรือเทียบเท่า 6.2.3 รายวิชาท่ีได้การยกเว้นให้บันทึกไว้ในระเบียบการเรียนของนักศึกษาโดยใช้อักษร “P” ในช่องระดับ คะแนนและไมน่ าไปคิดเป็นคะแนนสะสม 6.2.4 สาหรับผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วและเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี หรือปริญญาตรี (ต่อเนอ่ื ง) ใหย้ กเว้นหมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 62 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 7 การนบั จานวนภาคเรียนของผทู้ ่ีได้รับการโอนผลการเรยี นและยกเวน้ รายวิชาเรยี นให้ถือเกณฑ์ดังนี้ 7.1 นักศึกษาภาคปกติ ใหน้ บั จานวนหนว่ ยกิตไมเ่ กิน 22 หน่วยกติ เป็น 1 ภาคการศึกษา 7.2 นักศึกษาภาคกศ.บป. ใหน้ บั หนว่ ยกิตได้ไมเ่ กนิ 15 หน่วยกิต เปน็ 1 ภาคการศกึ ษา ข้อ 8 ผู้ท่ีได้รับการโอนผลการเรียน มีสิทธ์ิท่ีจะได้รับปริญญาเกียรตินิยม แต่ผู้ที่ได้รับการยกเว้นรายวิชาไม่มีสิทธ์ิได้รับ ปรญิ ญาเกียรตนิ ยิ ม ข้อ 9 นักศึกษาต้องทาเรื่องการโอนผลการเรียนหรือการยกเว้นรายวิชาเรียนให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนแรกที่เข้าศึกษา ในมหาวิทยาลัย โดยยื่นคาร้องขอโอนผลการเรียนหรือยกเว้นรายวิชาเรียน ตามที่กองบริการการศึกษากาหนด หากพ้นจากนี้ให้ ทาบันทกึ ขออนุมตั ิตอ่ มหาวทิ ยาลยั เพ่ือพิจารณาตามความจาเปน็ เป็นกรณีไป ข้อ 10 การจา่ ยค่าธรรมเนยี มการโอนผลการเรยี นหรือการยกเวน้ รายวิชาเรียนใหค้ ดิ อตั ราท่มี หาวิทยาลยั กาหนด ขอ้ 11 ใหค้ ณะกรรมการที่อธิการบดแี ต่งตั้งเป็นผู้มอี านาจพจิ ารณาอนมุ ัติผลการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชา เรยี น ข้อ 12 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และมีอานาจออกประกาศหรือคาสั่งเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตาม ระเบียบน้ี ในกรณที ีม่ ีปญั หาเก่ียวกับการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บนี้ใหอ้ ธิการบดีมอี านาจตคี วามและวินัย ประกาศ ณ วันท่ี 22 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2552 (คณุ หญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา) นายกสภาประจาสถาบันราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 63 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ระเบยี บมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา วา่ ด้วย การโอนผลการเรียน การยกเวน้ รายวชิ าเรียนและการจา่ ยค่าธรรมเนยี มการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ าเรียน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2557 ----------------------------- โดยทเ่ี ปน็ การสมควรปรับปรุงระเบียบว่าด้วยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียนและการจ่ายค่าธรรมเนียม การโอนผล การเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียน พ.ศ. 2552 ในส่วนของหลักเกณฑ์การนับระยะเวลาการศึกษาของผู้ประสงค์จะขอยกเว้นรายวิชาเรียน เพื่อให้สอดคล้องกับบริบททางการศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18(2) แห่ง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2557 และมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา คร้ังที่ 9/2557 เมื่อวันท่ี 15 ตุลาคม 2557 สภามหาวทิ ยาลยั จงึ ออกระเบยี บไวด้ งั น้ี ข้อ 1 ระเบียบนีเ้ รียกว่า “ระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาวา่ ดว้ ยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชา เรยี นและการจา่ ยค่าธรรมเนยี มการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2557” ข้อ 2 ระเบยี บน้ีให้ใช้บงั คบั ต้ังแตป่ ีการศึกษา 2557 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 บรรดาขอ้ บงั คบั ระเบียบ ประกาศ มติ หรอื คาสง่ั อน่ื ใดซึ่งขดั หรอื แย้งกบั ระเบียบน้ีให้ใชร้ ะเบียบนี้แทน ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในข้อ 6.1.1 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การโอนผลการเรียน การยกเว้น รายวิชาเรยี นและการจา่ ยค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ าเรยี น พ.ศ. 2552 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “ข้อ 6.1.1 เป็นผู้ที่สาเร็จการศึกษา หรือยังไม่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษา อนื่ ท่สี ภามหาวทิ ยาลยั หรือสานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษารับรอง” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความในข้อ 6.2.4 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาว่าด้วย การโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียนและการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียนการยกเว้นรายวิชาเรียน พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความ ต่อไปนแี้ ทน “ข้อ 6.2.4 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วและเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี หรือปริญญาตรี (ตอ่ เนอ่ื ง) ใหย้ กเว้นหมวดวชิ าศึกษาทั่วไป เวน้ แตจ่ บการศกึ ษาเกิน 5 ปใี หอ้ ยใู่ นดุลยพินจิ ของมหาวทิ ยาลัยท่ีจะพจิ ารณา” ประกาศ ณ วันที่ 15 ตลุ าคม พ.ศ. 2557 (ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ มาศ พนชิ ศกั ดิ์พัฒนา) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 64 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ว่าด้วย การโอนผลการเรยี น การยกเวน้ รายวชิ าเรียนและการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเวน้ รายวิชาเรียน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 ----------------------------- โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบ ว่าด้วย การโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียนและการจ่ายค่าธรรมเนียมการ โอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียน ในส่วนของหลักเกณฑ์การนับระยะเวลาการศึกษาของผู้ประสงค์จะขอยกเว้นรายวิชา เพื่อให้ สอดคล้องกบั บรบิ ททางการศกึ ษา อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ประกอบกับมติสภา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา ในการประชุมคร้งั ท่ี 12/2558 วันที่ 16 ธนั วาคม พ.ศ. 2558 จงึ วางระเบียบไวด้ ังน้ี ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การโอนผลการเรียน การยกเว้น รายวิชาเรยี นและการจา่ ยค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ าเรยี น (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2558” ขอ้ 2 ระเบียบนใ้ี ห้ใชบ้ งั คบั ตั้งแตภ่ าคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 เปน็ ต้นไป ขอ้ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 6.1.1 และข้อ 6.2.4 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การโอน ผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียนและการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียน พ.ศ. 2552 ซึง่ แก้ไขเพิม่ เติมโดยระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียนและการ จ่ายคา่ ธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเวน้ รายวชิ าเรียน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความตอ่ ไปน้ีแทน “ข้อ 6.1.1 เป็นผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาหรือยังไม่สาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย หรือ สถาบนั อุดมศกึ ษาอน่ื ท่ีสภามหาวิทยาลัย หรอื สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษารับรอง ขอ้ 6.2.4 สาหรับผู้ท่สี าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้ว และเขา้ ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี หรือปริญญาตรี (ต่อเน่ือง) ให้ยกเว้นรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ท้ังนี้ นักศึกษาต้องเข้ารับการพัฒนาเพิ่มพูนความรู้เพิ่มเติมตามประกาศท่ี มหาวทิ ยาลัยกาหนด” ประกาศ ณ วนั ที่ 17 ธนั วาคม พ.ศ. 2558 (ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ มาศ พนิชศกั ดิ์พฒั นา) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 65 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วา่ ด้วย การยกเว้นรายวชิ าเรียนและการศึกษารายวิชาเรียนเพิม่ เติม พ.ศ. 2558 ----------------------------- เพื่อให้ผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้ว เข้าศึกษาต่อในระดั บปริญญาตรีหรือปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย เหมาะสมและมีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ประกอบ กับระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียนและการจ่าย ค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียน พ.ศ. 2552 และระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียนและการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 จึงออกประกาศไวด้ งั นี้ ขอ้ 1 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลยั ” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา “นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือปริญญาตรี(ต่อเนื่อง)มาแล้ว และมีสภาพเป็น นกั ศึกษาของมหาวิทยาลัย ขอ้ 2 ให้นักศึกษาย่ืนคาร้องขอยกเว้นรายวชิ าหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป จานวน 30 หน่วยกิต ในภาคเรียนแรกเข้าภายในระยะเวลาที่ มหาวทิ ยาลัยกาหนด หากพ้นกาหนดนักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจนครบตามหลักสูตรหรือปฏิบัติให้เป็นไป ตามเงอ่ื นไขท่มี หาวิทยาลัยกาหนด ข้อ 3 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเพ่ิมเติมในรายวิชาอยุธยาศึกษา ยกเว้นนักศึกษาได้ลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านวิชา อยุธยาศึกษาแลว้ ไมต่ อ้ งลงทะเบยี นเรียนอีก ขอ้ 4 ใหน้ ายทะเบียนบนั ทึกผลการเรียนโดยใช้สญั ลกั ษณ์ “S” ขอ้ 5 การลงทะเบยี นเรยี น การชาระเงนิ ระยะเวลาการศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามระบบการจดั การศึกษาของมหาวิทยาลัย ประกาศ ณ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2559 (นายเกษม บารงุ เวช) อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 66 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประกำศมหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรอี ยุธยำ เรอ่ื ง กำรเก็บค่ำธรรมเนียมกำรโอนผลกำรเรียน กำรยกเวน้ รำยวิชำ พ.ศ. 2552 ------------------------ เพ่ือให้สอดคล้องเป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชาเรียน และการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวิชา พ.ศ. 2552 อาศัยอานาจตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. 2547 อธิการบดีจงึ ออกประกาศการเก็บคา่ ธรรมเนยี มไวด้ ังนี้ ข้อ 1 ให้มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว้น รายวิชาเรียน ตามข้อ 5 การโอนผลการเรียน ข้อ 6 การยกเว้นรายวิชาเรียน และข้อ 10 การจ่ายค่าธรรมเนียมแห่งระเบียบ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาวา่ ด้วยการโอนผลการเรียนการยกเว้นรายวิชาเรียน และการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผล การเรียน การยกเวน้ รายวชิ าเรียน พ.ศ. 2552 ข้อ 2 ให้มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน หนว่ ยกติ ละ 50 บาท ขอ้ 3 ให้มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมการยกเว้นรายวิชาเรียน หน่วยกิต ละ 50 บาท ท้งั นี้ ต้งั แตภ่ าคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2552 ประกาศ ณ วนั ท่ี 10 กนั ยายน พ.ศ. 2552 (นายบรู พาทศิ พลอยสุวรรณ)์ อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 67 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

152 ประกำศมหำวิทยำลยั รำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ เรือ่ ง กำรเทยี บโอนควำมรู้ ทกั ษะและประสบกำรณ์ จำกกำรศกึ ษำนอกระบบและ/หรือ กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั เข้ำสู่กำรศกึ ษำในระบบ ตำมหลกั สูตรระดับปริญญำตรี พ.ศ. 2553 ------------------------ โดยท่ีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้มี การเทียบโอนผลการเรยี นจากการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย เพ่ือตอบสนองปรัชญาการศกึ ษา ตลอดชีวิตและการขยายโอกาสทางการศึกษา ประกอบกับข้อบังคับสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วยการจัด การศึกษาระดบั อนปุ รญิ ญา ปริญญาตรี พ.ศ. 2549 หมวด 1 ระบบการศึกษา ขอ้ 5.2 การจัดการศึกษาภาคพเิ ศษกาหนดให้มี การเทียบความรู้จากประสบการณ์เดิมของนักศึกษา ภาคพิเศษในรายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และรายวิชาการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ และในรายวิชาอ่ืนๆ ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย จึงอาศัยอานาจตามมาตรา 27 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ออกประกาศเร่ือง การเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์จาก การศึกษานอกระบบและ/หรือการศึกษาตามอัธยาศัยเข้าสู่การศึกษาในระบบ ตามหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา ไว้ดังน้ี ข้อ 1. ประกาศน้ใี หบ้ ังคับใชต้ ้ังแตป่ กี ารศึกษา 2553 เป็นต้นไป ข้อ 2. ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับนักศึกษาภาคพิเศษท่ีเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากการศึกษา นอกระบบและ/หรือการศึกษาตามอัธยาศัยเข้าสู่การศึกษาในระบบ เพื่อนับเป็นหน่วยกิตเทียบเท่ารายวิชาตามหลักสูตรการศึกษา ในระดับปริญญาตรีโดยไม่รวมถึงนกั ศึกษาหลักสตู รโครงการความร่วมมือของหน่วยงานภาครฐั ข้อ 3. ในประกาศนี้ “การเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์” หมายถึง การเทียบโอนความรู้ทักษะและประสบการณ์จาก การศึกษานอกระบบและ/หรือการศึกษาตามอัธยาศัยของนักศึกษา โดยคานึงถึงความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์เป็นหลัก เพอื่ นบั เป็นหน่วยกติ เทยี บเทา่ รายวิชาตามหลกั สูตรการศึกษาในมหาวทิ ยาลัย “การศึกษานอกระบบ” หมายถึง การศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการ ศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาโดยเนื้อหาแ ละหลักสูตรจะต้อง เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกล่มุ “การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายถึง การศึกษาที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความ พรอ้ ม และโอกาส โดยศกึ ษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหลง่ ความรอู้ ่ืนๆ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 68 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 4. คณุ สมบตั ิของผมู้ ีสทิ ธ์ิขอเทียบโอนความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ ดงั นี้ 4.1 ต้องมีความรู้พื้นฐานตามท่ีกาหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา หรือตามทมี่ หาวิทยาลยั กาหนด 4.2 ต้องเปน็ ผู้สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าขึ้นไปและต้องมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์จากการทางานมาก่อน ข้อ 5. หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารเทยี บโอนความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ ดังน้ี 5.1 ผู้มีสิทธ์ิขอเทียบโอนความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ต้องย่ืนคาร้องที่กองบริการการศึกษา ภายใน ระยะเวลา 60 วนั นับตง้ั แตภ่ าคการศกึ ษาแรกของการศกึ ษา 5.2 การเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์จะเทียบเป็นรายวิชาตามหลักสูตรที่เปิดสอน การเทียบประสบการณ์จากการทางาน ต้องคานึงถึงความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์เป็นหลัก ท้ังนี้ต้องมีความรู้ ทักษะและ ประสบการณ์จากการทางานมาก่อนเข้าเปน็ นักศึกษาไม่น้อยกวา่ 5 ปี หรือเปน็ ไปตามเง่ือนไขทีก่ าหนดตามวชิ าชีพน้นั ๆ 5.3 ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรท่ีเก่ียวข้องพิจารณาดาเนินการเทียบโอนระดับความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของนักศึกษาท่ียื่นคาร้องด้วยวิธีการประเมินซ่ึงกระทาได้โดยการทดสอบมาตร ฐานหรือการ ทดสอบที่ไม่ใช่มาตรฐาน หรือการประเมินแฟ้มสะสมงาน ผลงานและเอกสารหลักฐานต่างๆ ให้ครอบคลุมลักษณะของนักศึกษา ตามมาตรฐานของรายวิชาที่เทียบโอนและเสนอให้คณะกรรมการประจาคณะพิจารณาให้ความเห็นชอบตามกระบวนการขั้นตอน กอ่ นนาเสนอขอความเหน็ ชอบจากทีป่ ระชุมสภาวิชาการต่อไป 5.4 ผลการประเมินจะต้องเทียบได้ไม่ต่ากว่าค่าระดับคะแนน C หรือแต้มระดับคะแนน 2.00 จึงจะ นับเป็น หน่วยกติ เทียบเทา่ ของรายวิชานัน้ แตจ่ ะไมน่ ามาคิดค่าระดับคะแนนผลการเรียนหรือคานวณค่าระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสม 5.5 การขอเทยี บโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ จะไมไ่ ด้รบั การเสนอสทิ ธิใ์ ห้ได้รับปรญิ ญาเกียรตินิยม 5.6 กระบวนการพิจารณาการขอเทยี บโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน ภาคเรียนแรกท่ีเข้าศึกษา ก่อนส่งผลการพิจารณาให้กองบริการการศึกษาเพ่ือบันทึกผลการเรียนให้นักศึกษาอันเป็น ขนั้ ตอนสดุ ท้าย ขอ้ 6. การบนั ทกึ ผลการเรียนทไ่ี ดจ้ ากการเทยี บโอนความรู้ ทกั ษะและประสบการณใ์ ห้ตามวธิ กี ารประเมนิ ผลดังนี้ 6.1 หน่วยกติ จากการทดสอบมาตรฐานใหบ้ นั ทึกเป็น “CS” (Credit from Standard Tests) 6.2 หนว่ ยกติ จากการทดสอบอื่นๆ ทไ่ี ม่ใช่การทดสอบมาตรฐานให้บนั ทึกเปน็ “CE” (Credit from Exam) 6.3 หน่วยกิตจากการประเมินแฟ้มสะสมผลงาน/แฟ้มสะสมผลการเรียนรู้ท่ีมีมาก่อนและผลงานหรือ เอกสารหลักฐานต่างๆ ให้บันทึกเป็น “CP” (Credit from Portfolio) ข้อ 7. การเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ให้นับจานวนหน่วยกิตที่ขอเทียบรวมกันจะต้องไม่เกินสอง ในสามของจานวนหน่วยกิตรวมของหลักสูตรที่เข้าศึกษา และนักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยไม่น้อยกว่าหน่ึงปี การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 69 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 8. นักศกึ ษาต้องชาระค่าธรรมเนียมการเทียบโอนความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ ดังน้ี 8.1 ค่าธรรมเนียมการขอเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 1,500 บาท 8.2 ค่าธรรมเนียมการขอเทียบโอนผลการเรียนรายวิชาในระบบ นอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศยั เข้าสใู่ นระบบ หน่วยกติ ละ 300 บาท ประกาศ ณ วนั ท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 (นายบูรพาทิศ พลอยสุวรรณ์) อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 70 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา เร่ือง แนวปฏบิ ัติและมาตรการการลงทะเบยี น การเพ่ิม-ถอนวชิ า การลงทะเบียนล่าชา้ ของนักศึกษาภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ พ.ศ. 2558 ---------------------------------- เพ่ือใหก้ ารลงทะเบยี นเรียนของนักศึกษาภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ เปน็ ไปอยา่ งถูกตอ้ ง เรยี บรอ้ ย สอดคลอ้ งกบั ข้อบงั คบั วา่ ดว้ ย การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2549 และระบบงานทะเบียน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 และ มาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และมติคณะกรรมการวิชาการ คร้ังท่ี 2/2558 วันท่ี 7 กันยายน 2558 ให้ยกเลิกประกาศเรื่องแนวปฏิบัติและมาตราการการลงทะเบียน การเพิ่ม-ถอนวิชา การลงทะเบียนล่าช้า สาหรับ นักศึกษาภาคปกติและภาคพิเศษ พ.ศ. 2556 และให้ใช้ประกาศเรื่องแนวปฏิบัติและมาตรการการลงทะเบียนล่าช้าของนักศึกษาภาค ปกตแิ ละภาคพิเศษ พ.ศ. 2558 นีแ้ ทน ดังตอ่ ไปน้ี 1. การลงทะเบียน หมายถึง การเลือกวิชาเรียนตามตารางสอน ตามแผนการเรียน หรือเลือกเสรี โดยผ่านระบบ ออนไลนห์ รือช่องทางอืน่ ท่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด และผ่านการตรวจสอบและเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา 2. การเพ่ิมวิชาเรียน หมายถึง การเลือกวิชาเรียนท่ีเพิ่มข้ึนนอกเหนือจากท่ีตารางสอนของนักศึกษาหรือแผนการเรียน กาหนดในแต่ละภาคเรียน โดยผา่ นระบบออนไลน์หรือช่องทางอื่นทม่ี หาวทิ ยาลัยกาหนด ภายใต้เงื่อนไขข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละ รายวิชา จานวนหน่วยกิตรวม วันเวลาเรียน เวลาสอบไม่ซ้าซ้อนกนั จานวนคนท่ีกาหนดในแต่ละหมู่เรยี น และต้องดาเนินการตาม ปฏิทินการศึกษาในแต่ละภาคเรียน 3. การถอนวิชาเรียน หมายถึง การตัดหรือยกเลิกวิชาตามตารางสอนของนักศึกษาออก โดยผ่านระบบออนไลน์หรือ ช่องทางอืน่ ทีม่ หาวทิ ยาลยั กาหนด และต้องดาเนินการตามปฏทิ ินการศกึ ษาในแต่ละภาคเรยี น 4. การลงทะเบียนล่าช้า หมายถึง การเลือกวิชาเรียนตามตารางสอน ตามแผนการเรียนหรือวิชาเลือกเสรี ที่เกิน กาหนดเวลาการลงทะเบียนปกติแล้ว โดยผ่านระบบออนไลน์หรือช่องทางอ่ืนที่มหาวิทยาลัยกาหนด และผ่านการตรวจสอบและ เห็นชอบจากอาจารย์ทปี่ รกึ ษา 5. จานวนหน่วยกติ หมายถงึ จานวนหน่วยกิตที่นกั ศกึ ษาจะลงทะเบียนเรยี นได้ ดงั นี้ 5.1 นักศึกษาภาคปกติ สามารถลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละไม่ต่ากว่า 3 หนว่ ยกติ และไมเ่ กิน 22 หนว่ ยกิต สว่ นภาคฤดูรอ้ นไมเ่ กิน 9 หน่วยกิต 5.2 นักศกึ ษาภาคพิเศษ สามารถลงทะเบียนเรียนได้ ภาคการศกึ ษาละไม่เกิน 15 หน่วยกิต 6. ระยะเวลาการลงทะเบียน 6.1 การลงทะเบียนปกติให้กระทาภายใน 15 วนั นับจากวันแรกของการเปิดภาคเรยี น กรณีลงทะเบียนช่วง ปิดภาคเรียนหรอื ภายใน 10 วัน นับจากวนั สดุ ทา้ ยของการสอบปลายภาคเรียน หรอื ตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย 6.2 การเพิ่ม-ถอนวิชาเรียน ใหก้ ระทาภายใน 20 วนั นับจากวนั แรกของการเปดิ ภาคเรียน กรณีลงทะเบยี น ชว่ งปดิ ภาคเรยี นหรือภายใน 15 วัน นบั จากวนั สุดทา้ ยของการสอบปลายภาคเรียน หรอื ตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 71 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

6.3 การลงทะเบียนเรียนล่าช้า ให้กระทาภายใน 7 วัน นับจากวันสุดท้ายของการเพิ่ม -ถอนวิชาและ นกั ศกึ ษาจะตอ้ งปฏิบัตดิ ังนี้ 1) ให้นักศึกษาเขียนคาร้องเพื่อขออนุญาตจากอธิการบดี โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอนรับรอง เวลาเรียน (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) อาจารย์ท่ีปรึกษาและคณบดีให้ความเห็น ผ่านกองบริการการศึกษาและเสนออธิการบดีหรือผู้ท่ี อธกิ ารบดมี อบหมายพิจารณา 2) นักศึกษาจะต้องเขียนคาร้องตามแบบและยื่นคาร้องภายในเวลาที่กาหนด จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ ติดตามผลการพิจารณาด้วยตนเอง หลังจากยื่นคาร้อง ภายในไม่เกิน 5 วันทาการ หรือตามท่ีกองบริการการศึกษ านัดหมาย หากนกั ศึกษาไม่ติดตามผลหรอื ไมด่ าเนนิ การใดๆ จะถอื ว่านักศกึ ษาไม่ประสงคจ์ ะลงทะเบียนเรยี นรายวิชาท่รี ะบุในคาร้องน้นั 3) กรณีได้รับอนุญาตให้ลงทะเบียนล่าช้า ให้นักศึกษาติดต่อขอลงทะเบียนและชาระค่าธรรมเนียมตาม สภาพของนักศึกษา ส่วนกรณีท่ีไม่ได้รับอนุญาตให้ลงทะเบียนล่าช้าทุกรายวิชาหรือพบว่าไม่มีการลงทะเบียนในระบบ นักศึกษา จะตอ้ งทาการลาพกั การศึกษาในภาคเรียนนัน้ ๆ 7. หากไม่สามารถปฏิบัตติ ามหรอื นอกเหนอื จากประกาศนี้ ให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของอธิการบดี ทั้งน้ตี ้งั แต่ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2558 เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี 5 ตลุ าคม พ.ศ. 2558 (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อดิศร ภูส่ าระ) รองอธกิ ารบดี ปฏบิ ตั ริ าชการแทน อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 72 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประกำศมหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ เร่ือง กำรจดั กำรศกึ ษำภำคฤดูรอ้ น ---------------------------------- เพ่ืออนุวัติให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและ ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2559 จงึ สมควรกาหนดหลกั เกณฑ์การจัดการศกึ ษาภาคฤดูรอ้ นสาหรับนักศกึ ษาภาคปกติ ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในข้อ 27 แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วยการจัดการศึกษา ระดบั อนุปริญญาและปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2549 อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยาจึงออกประกาศไว้ดังนี้ ขอ้ 1 ใหย้ กเลิก (1) ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรื่อง แนวปฏิบัติการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน สาหรับ นกั ศกึ ษา ภาคปกติ พ.ศ. 2558 (2) ให้ยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรื่อง แนวปฏิบัติการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน สาหรบั นกั ศกึ ษาภาคปกติ พ.ศ. 2558 ขอ้ 2 ในประกาศน้ี “มหาวิทยาลยั ” หมายความวา่ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา “อธิการบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา “รองอธิการบดี” หมายความว่า รองอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “ภาคฤดรู ้อน” หมายความว่า ช่วยเวลาในการจัดการเรียนการสอนในระหว่างเวลาปิดภาคปลายของปีการศึกษา เกา่ จนถึงเวลาการเปิดภาคตน้ ของปีการศึกษาใหม่ “นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาภาคปกติ และนักศึกษาภาคพิเศษ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยุธยา “นักศึกษาภาคปกติ” หมายความว่า นักศึกษาท่มี ีโปรแกรมการเรียนในวนั ราชการตามปกติตั้งแต่วนั จันทร์ถงึ วัน ศุกร์ในภาคเรยี นท่ี 1 และภาคเรียนที่ 2 ของแตล่ ะปี “อาจารย์ทปี่ รึกษา” หมายความว่า บุคคลท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาแต่งต้ังให้ทาหน้าที่อาจารย์ที่ ปรกึ ษา ดแู ลสนับสนนุ ทางดา้ นวิชาการ มกี ารเรยี น และควบคมุ โปรแกรมการเรยี นของนกั ศึกษาภาคปกติ “ทวคี าบ” หมายความวา่ เวลาในการเรียนในหน่ึงสัปดาห์เปน็ สองเท่าของเวลาท่ีหลกั สตู รกาหนด ขอ้ 3 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนสาหรับนักศึกษาภาคปกติให้เป็นไปตามประกาศฉบับนี้ โดยนักศึกษาเลือกลงทะเบียน เรยี นไดไ้ ม่เกิน 9 หน่วยกิต ข้อ 4 การลงทะเบียนภาคฤดูร้อนของนักศึกษาภาคปกติให้นับเป็นส่วนหนึ่งของภาคการศึกษาปกติตา มข้อบังคับ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา ว่าดว้ ยการจัดการศกึ ษาระดบั อนุปริญญาและปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 73 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ข้อ 5 วิชาทส่ี ามารถลงทะเบยี นในภาคฤดรู อ้ น มีดังนี้ (1) ทุกรายวิชาในหมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป (2) วิชาฝกึ ประสบการณ์ หรอื สหกิจศกึ ษา (3) วชิ าเลอื กเสรีทไ่ี มอ่ ยู่ในหมวดวิชาเฉพาะ (4) วิชาบงั คบั ที่มีเง่อื นไขตอ้ งสอบผา่ นหรือเรียนผา่ นมาก่อน (5) วิชาอื่นนอกเหนอื จาก (1) ถึง (4) มหาวทิ ยาลยั จะพจิ ารณาเหตุผลความจาเป็นเปน็ รายกรณีไป ขอ้ 6 นักศึกษาภาคปกติจะลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูร้อนตามรายวิชาทมี่ หาวิทยาลัยกาหนดหรือลงทะเบียนเรยี นร่วมกับ นักศกึ ษาภาคอื่นก็ได้ การลงทะเบยี นเรียนตามวรรคหนง่ึ ต้องไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษากอ่ น ข้อ 7 นักศกึ ษาท่ีถูกลงโทษทางวนิ ัยนกั ศกึ ษาในระดบั โทษการพกั การศึกษา ไม่มสี ิทธกิ ารลงทะเบียนเรียนภาคฤดูร้อนใน ปีการศึกษานั้น ข้อ 8 เวลาการจดั การศึกษาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ โดยให้จดั การเรียนการสอนเป็นทวีคาบ ในกรณีท่ีมคี วามจาเปน็ ตอ้ ง จดั การเรียนการสอนน้อยกวา่ 8 สัปดาห์ แต่ไมต่ า่ กวา่ 6 สปั ดาหจ์ ะต้องจัดใหม้ ชี ว่ั โมงเรยี นไมต่ ่ากว่า 16 ชว่ั โมงต่อหน่ึงหน่วย กิต ข้อ 9 หลักสูตร สาขาวิชาใดจะเปดิ ทาการเรยี นการสอนในภาคฤดูรอ้ นให้ผา่ นการกลั่นกรองจากคณะเจา้ ของวชิ าและสภา วชิ าการ และนักศึกษาภาคปกติจะลงทะเบียนเรยี นวชิ าใดตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากอาจารย์ที่ปรกึ ษาก่อน ขอ้ 10 การวดั ผลและการประเมนิ ผลการศึกษา ให้เปน็ ไปตามขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา วา่ ด้วย การจดั การศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี ท้ังน้ี ตั้งแต่ภาคฤดรู ้อนปกี ารศกึ ษา 2557 เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ 8 มถิ ุนายน 2558 (นายเกษม บารงุ เวช) รักษาราชการแทน อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 74 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา เรือ่ ง หลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ัติการจัดสอบนอกตาราง พ.ศ. 2556 ------------------------ โดยที่สมควรให้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการจัดสอบนอกตารางให้เป็นระบบที่ชัดเจน ส่งผลให้การจัดการ เรียนการสอนเป็นไปด้วยความเรยี บร้อย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 และ 31 แห่งพระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. 2547 และโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวิชาการในการประชุม ครั้งท่ี 1/2556 เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2556 กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัตกิ ารจัดสอบนอกตาราง ดงั น้ี 1. การจดั สอบนอกตารางสอบ คอื การจัดสอบรายวชิ าตา่ ง ๆ ทีไ่ ม่เปน็ ไปตามวัน เวลาทมี่ หาวทิ ยาลัยกาหนด 2. หลกั เกณฑ์และแนวปฏิบตั ิในการพิจารณารายวชิ าที่ให้จัดสอบนอกตาราง มดี งั นี้ 2.1 เป็นรายวิชาที่หน่วยกิตเป็นภาคปฏิบัติไม่มีทฤษฎี เช่น 3(0-3-6), 2(90) หรือวิชาปัญหาพิเศษ โครงงาน/ สมั มนา/การเตรียม/ฝึกประสบการณ์ อาจจัดสอบนอกตารางกลางภาคและปลายภาคได้ กรณีทีเ่ ปน็ รายวิชาที่เปน็ ทฤษฎีและปฏิบัติ เช่น 3(2-2-5) อาจจัดสอบนอกตารางกลางภาคได้ แตป่ ลายภาคต้องสอบตามตารางปกติ 2.2 เปน็ วิชาทข่ี อเปดิ นอกเหนอื จากประกาศตารางเรยี นตารางสอนในภาคเรยี นนนั้ 2.3 ตอ้ งมีเหตุผลและความจาเป็นพิเศษและเอื้อประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมมใิ ช่เฉพาะบุคคล 2.4 การเปลี่ยนแปลงการสอบหรือไม่มีการจัดสอบรายวิชาใด นอกเหนือจากข้อ 2.1-2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนวิชาน้ัน บันทึกเสนอต่อคณบดี (กรณีมีหัวหน้าภาควิชาให้ผ่านหัวหน้าภาควิชาก่อนเสนอคณบดี) ผ่านกองบริการการศึกษาและอธิการบดี หรอื ผทู้ ่ีอธกิ ารบดีมอบหมาย กอ่ นท่จี ะมกี ารสอบกลางภาคหรอื ปลายภาคอย่างนอ้ ย 15 วนั ทาการ กรณีที่นักศึกษาบางคนลงทะเบียนไม่ได้ (ตารางสอบซ้าซ้อน) และอาจารย์ผู้สอนบันทึกขออนุญาต และได้รับการ อนุญาตสอบนอกตารางแล้วน้ัน ผู้สอนจะต้องจัดสอบนอกตารางให้กับนักศึกษาผู้น้ันเป็นการเฉพาะบุคคล โดยไม่กระทบหรือ เปล่ยี นแปลงตารางสอบเดิมที่กาหนดไว้ 2.5 กรณีสอบนอกตารางปลายภาค อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาต้องจัดสอบให้เสร็จส้ินภายใน 7 วัน นับจากวัน สุดท้ายของวันสอบที่มหาวิทยาลัยกาหนด และส่งผลการเรียนผ่านระบบออนไลน์ตามวันเวลาที่กาหนดตามปกติ ทั้งนี้ให้อาจารย์ ผู้สอนรับผิดชอบในการควบคมุ การสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย จงึ ประกาศมาใหท้ ราบและถือปฏบิ ัติ ตง้ั แตภ่ าคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2556 เป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี 14 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2556 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วมิ ลพรรณ รุง่ พรหม) รองอธิการบดี ปฏิบัตริ าชการแทน อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 75 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประกำศมหำวิทยำลยั รำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ เรอ่ื ง กำรย้ำยสำขำวชิ ำเรยี นสำหรบั นกั ศึกษำระดับปริญญำตรี พ.ศ. 2559 ……………………………........ เพื่อใหก้ ารจัดการศึกษาสาหรับนักศึกษาท่เี ข้าศึกษาในระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ได้มี โอกาสทบทวนและตดั สนิ ใจกาหนดทางเลือกในการศกึ ษา โดยประสงค์ขอย้ายสาขาวิชาเรียนใหต้ รงกับความถนดั และความต้องการ สาหรบั โอกาสทางการศึกษา ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้นึ ตอ่ ไป อาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 และมาตรา 31 แห่งพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 ประกอบกับ ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ว่าด้วย การจดั การศึกษาระดบั อนปุ รญิ ญาและปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2549 จึงออก ประกาศไว้ ดงั นี้ ขอ้ 1 ในประกาศนี้ “มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “คณะ” หมายความว่า คณะวิชาทจ่ี ัดให้มกี ารเรียนการสอนในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา “คณบดี” หมายความว่า คณบดีประจาคณะของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “ประธานกรรมการบริหารหลักสตู ร” หมายความว่า ผ้ทู ม่ี หาวิทยาลัยแต่งตง้ั ใหท้ าหน้าท่ปี ระธาน กรรมการบริหารหลักสูตรตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “คณะกรรมการวชิ าการ” หมายความวา่ คณะกรรมการวิชาการที่มหาวทิ ยาลัยแต่งตั้งใหป้ ฏบิ ัตหิ น้าที่ตามท่ี มหาวิทยาลัยกาหนด “อาจารย์ที่ปรึกษา” หมายความวา่ อาจารยท์ ี่ปรึกษาของนักศึกษาทีข่ อยา้ ยสาขาวิชาเรียนของมหาวทิ ยาลยั ราช ภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา “นายทะเบียน” หมายความวา่ ผู้อานวยการกองบริการการศกึ ษาซง่ึ ทาหน้าท่นี ายทะเบียนของมหาวทิ ยาลัยราช ภฏั พระนครศรีอยุธยา “นักศึกษา” หมายความวา่ นกั ศึกษา ระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา ท่ีประสงค์จะ ขอยา้ ยสาขาวชิ าเรียน “การย้ายสาขาวชิ าเรียน” หมายความว่า การย้ายสาขาวิชาเรยี นจากสาขาวชิ าเรียนเดิมไปสังกัดสาขาวชิ าเรยี น อืน่ ท่ีเปิดสอนในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา โดยมีคุณสมบัติครบถว้ นตรงตามท่ีกาหนดไว้ในหลกั สตู รของสาขาวิชา เรยี นที่ขอยา้ ยเขา้ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 76 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ข้อ 2 คุณสมบัตขิ องนักศึกษาทีป่ ระสงคข์ อยา้ ยสาขาวิชาเรียน มดี งั นี้ 2.1 จะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นมาแล้วไม่เกนิ 1 ปกี ารศึกษา ท้งั นไ้ี ม่นับภาคการศึกษาท่ลี าพกั หรอื ถูกส่งั พักการเรียน 2.2 มีระดับผลการเรยี นเฉลี่ยจนถงึ ภาคเรยี นสุดทา้ ยกอ่ นย้ายสาขาวิชาเรียนไม่ตา่ กวา่ 2.00 2.3 มคี ุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์ของการเขา้ ศึกษาในสาขาวิชาเรียนทข่ี อย้ายไปศึกษา ข้อ 3 เงอ่ื นไขการขอย้ายสาขาวชิ าเรียน 3.1 นกั ศึกษาจะต้องมคี ุณสมบัตติ ามทก่ี าหนด โดยย่ืนคาร้องขอย้ายสาขาวชิ าเรียนไม่น้อยกว่า 4 สัปดาห์กอ่ น เปดิ ภาคเรียนท่ี 1 ของปีการศกึ ษานนั้ ๆ และจะทราบผลการพิจารณาไม่เกิน 3 สัปดาห์ภายหลังจากย่ืนคารอ้ ง 3.2 การย้ายสาขาวิชาเรยี นทงั้ ภายในคณะและตา่ งคณะ จะกระทาไดเ้ พียงคร้งั เดียว 3.3 นกั ศึกษาจะตอ้ งมรี ะยะเวลาศึกษาอยูใ่ นสาขาวิชาเรียนทป่ี ระสงคข์ อย้ายเข้าศึกษา ไมน่ ้อยกว่า 2 ปี การศึกษาสาหรบั หลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี 4 ปี หรือ 5 ปี หรอื ไมน่ อ้ ยกว่า 1 ปีการศกึ ษา สาหรับหลักสูตร 4 ปีเทยี บโอน หรอื หลักสตู รตอ่ เนอ่ื ง 2 ปีก่อนสาเร็จการศึกษา 3.4 การขอย้ายสาขาวิชาเรียนจะสมบรู ณ์ตอ่ เมอ่ื ได้ชาระค่าธรรมเนยี มการยา้ ยสาขาวิชาเรยี นโดยได้รบั รหสั ประจาตวั นักศึกษาใหม่ และนายทะเบยี นบันทกึ ขอ้ มูลรายวชิ าเดมิ เรียบร้อยแล้ว ขอ้ 4 ข้ันตอนและวิธกี ารขอย้ายสาขาวิชาเรียน ให้ดาเนินการดงั นี้ 4.1 กรณีย้ายสาขาวิชาเรยี นภายในคณะ 4.1.1 นักศึกษารบั คารอ้ งขอย้ายสาขาวิชาเรียนทกี่ องบรกิ ารการศึกษา 4.1.2 นักศึกษาขอความเหน็ ชอบจากอาจารย์ทีป่ รึกษาผ่านประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รเดมิ และ นาเสนอตอ่ คณบดเี พ่อื ดาเนินการต่อไป 4.1.3 คณบดีแจ้งและขอความเห็นชอบจากประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรท่นี ักศึกษาประสงคข์ อ ยา้ ยสาขาวิชาเรียนเข้าศกึ ษา และนาผลการพจิ ารณาเสนอตอ่ อธกิ ารบดเี พ่ือพิจารณาสง่ั การต่อไป 4.1.4 นายทะเบยี นบนั ทึกขอ้ มูลการย้ายสาขาวชิ าเรียน 4.2 กรณกี ารย้ายสาขาวิชาเรยี นตา่ งคณะ 4.2.1 นกั ศึกษารับคาร้องขอยา้ ยสาขาวิชาเรียนทก่ี องบรกิ ารการศึกษา 4.2.2 นักศึกษาขอความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านประธานกรรมการบริหารหลักสตู รเดมิ และ นาเสนอตอ่ คณบดเี พอ่ื ดาเนินการต่อไป 4.2.3 คณบดีตน้ สังกดั เสนอคารอ้ งไปยังคณบดีในคณะที่นักศกึ ษามคี วามประสงค์ขอย้ายสาขาวชิ าเรียน เพื่อดาเนนิ การในส่วนที่เก่ยี วขอ้ งตามขอ้ 4.2.4 ต่อไป 4.2.4 ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตรทีน่ ักศึกษาประสงคข์ อย้ายสาขาวิชาเรียนเข้าศึกษาให้ ความเห็น และคณบดนี าผลการพจิ ารณาเสนอตอ่ อธกิ ารบดเี พือ่ พิจารณาส่งั การต่อไป 4.2.5 นายทะเบียนบันทึกข้อมูลการยา้ ยสาขาวิชาเรียน มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 77 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 5 นักศึกษาตอ้ งชาระค่าธรรมเนียมการย้ายสาขาวชิ าเรียนจานวน 500 บาท ขอ้ 6 การบันทกึ ผลการเรยี น การวดั และประเมินผล การสาเร็จการศึกษา 6.1 รายวิชาและผลการเรียนทเี่ คยศึกษามาท้ังหมดในสาขาวิชาเรียนเดมิ ให้นามาบนั ทึกและคานวณแตม้ ระดบั คะแนนเฉล่ยี สะสมในสาขาวิชาเรียนใหม่ดว้ ย 6.2 สาหรบั รายวิชาเรยี นเดิม กรณรี หัสวชิ า ช่ือวิชา หน่วยกิต หรอื เนื้อหาสาระวิชาแตกตา่ งจากหลกั สูตรหรอื สาขาวชิ าเรียนทีจ่ ะย้ายเขา้ ศึกษา ให้นายทะเบยี นเสนอขออนมุ ตั ิการปรับข้อมูลดังกล่าวต่อคณะกรรมการวชิ าการเพ่ือพจิ ารณาตาม หลักเกณฑ์การเทยี บโอนวิชาเรียนทม่ี หาวทิ ยาลัยกาหนด 6.3 การลงทะเบยี น การวัดและประเมนิ ผล การสาเรจ็ การศึกษาของนักศกึ ษา ให้เปน็ ไปตามระเบยี บ ข้อบงั คบั ทมี่ หาวทิ ยาลยั กาหนด ทงั้ น้ีใหม้ ผี ลใช้บังคับต้ังแตป่ ีการศึกษา 2559 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (นายเกษม บารุงเวช) อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 78 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ข้อบังคับมหำวิทยำลยั รำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ ว่ำดว้ ย กำรดำเนนิ งำนสหกิจศกึ ษำ พ.ศ. 2558 -------------------------------------- โดยที่เป็นการสมควรกาหนดให้มีข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาเก่ียวกับสหกิจศึกษา เพ่ือใช้ในการ บรหิ ารจดั การศึกษาระบบสหกจิ ศึกษาใหด้ าเนนิ ไปด้วยความเรียบร้อย มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล อาศัยอานาจตามมาตรา 18 (2) แห่งพระราชบัญ ญั ติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 ประกอบกับ มติสภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในการประชุมครั้งท่ี 1/2558 เมื่อวันท่ี 20-22 มกราคม พ.ศ. 2558 จึงออก ขอ้ บงั คบั ไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ข้อบงั คับน้ีเรียกว่า “ขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วา่ ด้วย การดาเนนิ งานสหกจิ ศึกษา พ.ศ. 2558” ข้อ 2 ขอ้ บังคับน้ใี ห้ใชบ้ ังคบั ตง้ั แตป่ กี ารศึกษา 2557 เปน็ ต้นไป ข้อ 3 บรรดากฎ ระเบียบ ข้อกาหนด ข้อบังคับ ประกาศ มติ หรือคาส่ังอื่นใดซึ่งขัดหรือแย้งกับข้อบังคับน้ี ให้ใช้ ขอ้ บังคบั นี้แทน ขอ้ 4 ในขอ้ บังคับน้ี “มหาวิทยาลยั ” หมายความว่า มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “สภามหาวทิ ยาลยั ” หมายความว่า สภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา “อธกิ ารบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา “ศนู ย”์ หมายความว่า ศนู ย์สหกจิ ศกึ ษาสงั กดั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “คณะกรรมการประจาศูนย์” หมายความว่า คณะกรรมการอานวยการ และคณะกรรมการดาเนินงานของศูนย์ สหกจิ ศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา “คณะกรรมการอานวยการ” หมายความว่า คณะกรรมการอานวยการสหกิจศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา “คณะกรรมการดาเนินงาน” หมายความว่า คณะกรรมการดาเนินงานศูนย์สหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยธุ ยา “คณะ” หมายความวา่ คณะทมี่ กี ารจดั การศกึ ษาระบบสหกิจศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา “คณบดี” หมายความว่า คณบดีของคณะท่ีมีการจัดการศึกษาระบบสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 79 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

“สาขาวิชา” หมายความว่า สาขาวิชาท่ีมีการจัดการศึกษาระบบสหกิจศึกษาในสังกัดคณะของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา “กองบริการการศึกษา” หมายความวา่ กองบริการการศกึ ษาของมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา “กองพฒั นานกั ศึกษา” หมายความว่า กองพฒั นานักศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “กองนโยบายและแผน” หมายความว่า กองนโยบายและแผนของมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “งานการเงินและบัญช”ี หมายความวา่ งานการเงนิ และบญั ชีของมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “สหกจิ ศึกษา” หมายความว่า การศกึ ษาที่เน้นการปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการอย่างมีระบบ โดยจัดใหม้ ีการ เรยี นในสถานศกึ ษาร่วมกับการสง่ นกั ศึกษาออกไปปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการท่เี ข้าร่วมสหกิจศึกษากบั มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา “สถานประกอบการ” หมายความว่า หน่วยงานหรือองค์กรทเ่ี ข้าร่วมระบบสหกิจศกึ ษากับมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา โดยรับนักศกึ ษาไปปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศกึ ษาในสถานประกอบการดังกลา่ ว “นกั ศึกษาสหกจิ ศึกษา” หมายความว่า นักศกึ ษามหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยาท่ีลงทะเบยี นเรียน รายวิชาสหกจิ ศกึ ษา และหรือรายวชิ าเตรียมสหกิจศกึ ษา “คณาจารยน์ เิ ทศก์” หมายความว่า คณาจารย์ประจาในสถานศกึ ษาทที่ าหน้าทีใ่ ห้คาปรกึ ษาและนิเทศการ ปฏิบัตงิ านสหกิจศึกษาของนักศกึ ษา “เจา้ หนา้ ท่ี” หมายความว่า เจา้ หนา้ ท่ีท่ที าหน้าท่ีปฏิบัติงานสหกจิ ศกึ ษา “ภาคการศึกษาสหกจิ ศกึ ษา” หมายความวา่ ภาคการศึกษาท่นี ักศึกษาไปปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาเป็นเวลาไมน่ ้อย กวา่ 16 สัปดาห์ “หน่วยกิต” หมายความวา่ หน่วยท่ใี ชแ้ สดงปรมิ าณการศึกษารายวชิ าสหกจิ ศึกษา และหรือรายวิชาเตรยี มสหกิจ ศกึ ษา “รายวชิ าเตรยี มสหกจิ ศกึ ษา” หมายความวา่ รายวชิ าท่ีกาหนดไวใ้ นหลักสตู รเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ ม ให้กับนักศึกษาทจ่ี ะไปปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษาในสถานประกอบการ “รายวชิ าสหกจิ ศกึ ษา” หมายความว่า รายวิชาท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรสาหรับนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษาในการไป ปฏิบตั ิงาน ณ สถานประกอบการ ข้อ 5 ใหห้ นว่ ยงานตอ่ ไปนี้มีหน้าท่ดี าเนนิ การดา้ นสหกิจศึกษา ดงั น้ี 5.1 คณะ เป็นหนว่ ยงานทีท่ าหน้าที่ในการดาเนนิ การระบบสหกิจศึกษาของนกั ศึกษาท่ีสงั กัด 5.2 กองบริการการศึกษา และกองพัฒนานักศึกษา เป็นหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีสนับสนุนการดาเนินงานจัด การศึกษาระบบสหกิจศกึ ษา 5.3 กองนโยบายและแผน และงานการเงินและบัญชี ทาหน้าที่วางแผนงบประมาณและดูแลการรับ-จ่ายเงิน เพ่อื การจดั การศึกษาระบบสหกิจศึกษา ข้อ 6 ใหอ้ ธกิ ารบดีแตง่ ตงั้ คณะกรรมการอานวยการ และคณะกรรมการดาเนนิ งาน โดยใหม้ ีอานาจและหน้าท่ดี ังน้ี 6.1 คณะกรรมการอานวยการ ทาหน้าท่ีกาหนดนโยบายให้คาปรึกษา ช้ีแนะ ให้ความเห็นชอบการพัฒนา และปรับปรุงรูปแบบ ระเบยี บหรอื ประกาศเกยี่ วกับระบบสหกจิ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 80 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

6.2 คณะกรรมการดาเนินงาน ทาหน้าที่ให้ความเห็นชอบ ประสานงานและดาเนินการเกี่ยวกับการจัด การศึกษาระบบสหกจิ ศึกษาของมหาวิทยาลยั การพ้นจากตาแหนง่ ของคณะกรรมการตามข้อ 6.1 และ 6.2 ใหเ้ ปน็ อานาจของอธิการบดี ข้อ 7 ให้ศูนย์มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบดาเนินการและประสานงานสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยให้รวมถึงหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้ 7.1 เตรียมความพร้อมนักศึกษา จัดหางาน จัดส่งนักศึกษาไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ประสานงาน ระหว่างนกั ศึกษา คณาจารยน์ เิ ทศก์ และสถานประกอบการที่เข้ารว่ มสหกิจศึกษา 7.2 จัดกระบวนการเตรยี มความพร้อมนกั ศกึ ษาก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 7.3 ให้คาปรึกษาแก่นักศึกษาเกี่ยวกับการสมัครงาน การเลือกสถานประกอบการและอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับ สหกิจศึกษา 7.4 รวบรวมข้อมลู เก่ยี วกับการดาเนนิ งานสหกจิ ศกึ ษา 7.5 หน้าท่ีอื่นๆ ทเี่ กี่ยวข้องหรือได้รบั มอบหมายจากมหาวิทยาลัย ข้อ 8 คณุ สมบตั ขิ องนกั ศึกษา 8.1 ผา่ นกระบวนการเตรียมความพรอ้ ม 8.2 มรี ะดับคะแนนเฉลีย่ สะสมไม่ต่ากวา่ 2.00 นับถงึ ภาคการศกึ ษาสุดท้ายกอ่ นทาการสมคั รงานสหกจิ ศึกษา 8.3 ผ่านเงื่อนไขทางวิชาการทีส่ าขาวชิ ากาหนด 8.4 ไม่อยรู่ ะหวา่ งถูกพักการศึกษาในภาคการศึกษาสหกจิ ศึกษา 8.5 ไมเ่ ป็นโรคทเ่ี ป็นอุปสรรคต่อการปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ 8.6 ไม่เคยต้องโทษวินัยนักศึกษาตั้งแต่ระดับพักการศึกษาขึ้นไป เว้นแต่จะได้รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา เป็นลายลักษณอ์ ักษรกอ่ น ข้อ 9 ใหอ้ ธิการบดีแตง่ ตงั้ บคุ คลซง่ึ มคี ุณสมบตั ิดังต่อไปนี้เปน็ คณาจารยน์ เิ ทศก์ 9.1 มปี ระสบการณก์ ารสอนไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศกึ ษา 9.2 เปน็ คณาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าท่ีนักศกึ ษาสังกดั 9.3 เปน็ คณาจารยท์ ผี่ า่ นการอบรมหลักสตู รอาจารยน์ เิ ทศกส์ หกจิ ศกึ ษา ข้อ 10 หนา้ ที่ของคณาจารย์นิเทศก์ คณาจารย์นิเทศก์ทาหน้าที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับรายวิชาสหกิจศึกษา ติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติงาน นเิ ทศงานสหกจิ ศึกษา ณ สถานประกอบการขณะนักศึกษาปฏิบัติงานสหกจิ ศึกษาอย่างน้อย 1 คร้ัง ร่วมกิจกรรมตามทศี่ ูนย์กาหนด และรว่ มในการประเมนิ ผลรายวิชาสหกจิ ศึกษา และหรือ วชิ าเตรียมสหกิจศกึ ษา ขอ้ 11 จานวนหน่วยกิตและระยะเวลาของการศึกษาสหกิจศึกษา 11.1 การคิดจานวนหน่วยกิตการศึกษาของสหกิจศึกษาไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ประกอบด้วยรายวิชาเตรียม สหกจิ ศกึ ษา และหรือรายวิชาสหกิจศึกษา 11.2 นักศึกษาต้องปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ตามเวลาการปฏิบัติงานของสถานประกอบการตลอด ระยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 16 สปั ดาห์ อย่างตอ่ เนื่อง เว้นแต่ได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการดาเนินงาน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 81 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 12 การวดั และการประเมนิ ผลรายวชิ าเตรียมสหกิจศึกษาและรายวิชาสหกจิ ศกึ ษา 12.1 การวัดและประเมินผลการศึกษาของรายวิชาเตรียมสหกิจศึกษาและหรือรายวิชาสหกิจศึกษาให้เป็นไป ตามข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา วา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาระดับอนุปรญิ ญา และปริญญาตรี 12.2 นกั ศึกษาทีไ่ มผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ผล ต้องลงทะเบยี นเรยี นซ้ารายวชิ าสหกิจศึกษาอกี จนกว่าจะผา่ น 12.3 กรณีนักศึกษากลับจากสถานประกอบการก่อนสิ้นสุดการปฏิบัติงาน ให้คณาจารย์นิเทศก์พิจารณาให้ นักศึกษามีสิทธิได้รับการประเมินผลรายวิชา โดยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการดาเนินงาน เพื่อเสนอให้คณะกรรมการ อานวยการพิจารณาให้ความเห็นชอบ 12.4 นักศึกษาที่กระทาผิดต่อระเบียบการปฏิบัติงานของสถานประกอบการและข้อบังคับฉบับน้ีจะไม่ผ่านการ ประเมนิ ผล และใหค้ ณะกรรมการอานวยการพิจารณาลงโทษตามระเบียบมหาวิทยาลัย ข้อ 13 ให้สถานประกอบการแต่งตั้งบุคลากรของสถานประกอบการเป็นพนักงานท่ีปรึกษาเพ่ือทาหน้าท่ีดูแลและให้ คาปรกึ ษาในการปฏบิ ตั งิ านแกน่ กั ศกึ ษา ข้อ 14 การให้นักศกึ ษากลบั จากสถานประกอบการกอ่ นส้นิ สดุ การปฏิบตั งิ าน ให้ศูนย์ดาเนินการประสานกับสาขาวชิ าและสถานประกอบการรับนักศึกษากลับจากสถานประกอบการกอ่ นท่จี ะ สน้ิ สุดการปฏบิ ตั ิงานตามทก่ี าหนดไวไ้ ดใ้ นกรณีต่อไปนี้ 14.1 นักศึกษากระทาความผิดหรือร่วมกระทาผิดท่ีสามารถพิสูจน์ได้และก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อ สถานประกอบการหรือชื่อเสยี งของมหาวทิ ยาลยั 14.2 สถานประกอบการแจ้งความประสงค์ขอให้นักศึกษายุติการปฏิบัติงาน โดยช้ีแจงเหตุผลความจาเป็นให้ มหาวทิ ยาลัยทราบเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร 14.3 นกั ศึกษาไดร้ ับการปฏิบัตจิ ากสถานประกอบการไมเ่ หมาะสมทอ่ี าจจะกอ่ ใหเ้ กดิ การบาดเจ็บหรอื สญู เสียทั้ง ทางดา้ นร่างกายและจติ ใจ 14.4 มีเหตุจาเป็นท่ีคณะกรรมการดาเนินงานพิจารณาเห็นชอบให้นักศึกษากลับจากสถานประกอบการได้กอ่ น ระยะเวลาทกี่ าหนด ขอ้ 15 การพน้ สภาพการเปน็ นกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา ในกรณีดังต่อไปนี้ 15.1 เมื่อปฏบิ ัตงิ านครบตามระยะเวลาทีก่ าหนดและมผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา สหกิจศึกษาแล้ว 15.2 เมื่อมหาวทิ ยาลยั มีประกาศใหพ้ ้นสภาพการเปน็ นักศึกษา 15.3 เมือ่ ไดร้ ับอนุมตั จิ ากคณบดีให้ลาออกจากการเป็นนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา ขอ้ 16 ผู้มีสทิ ธขิ อรบั สมั ฤทธิบตั รสหกิจศึกษา นักศกึ ษาผมู้ สี ิทธิขอรบั สมั ฤทธิบัตรสหกิจศกึ ษาจะต้องมคี ุณสมบัติครบถ้วนดงั น้ี 16.1 ได้รับการประเมินผลระดบั คะแนนในรายวิชาสหกจิ ศึกษา ตามหลกั สตู รและสาขาวิชาทก่ี าหนด 16.2 ไม่มีความประพฤติเส่ือมเสียในระหว่างการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ โดยผ่านการพิจารณาจาก คณะกรรมการดาเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 82 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ข้อ 17 การกาหนดวนั ทสี่ าเร็จการศึกษาของนกั ศึกษา การกาหนดวนั ที่สาเร็จการศึกษาของนักศึกษาให้เป็นไปตามข้อบังคับว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา และปรญิ ญาตรี ข้อ 18 ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับน้ี และให้มีอานาจออกประกาศเพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อบังคับน้ี ในกรณที ม่ี ปี ัญหาเกยี่ วกับการปฏิบตั ิงานตามขอ้ บังคบั นี้ ใหอ้ ธิการบดมี อี านาจวนิ ิจฉยั ช้ีขาด คาวนิ ิจฉยั ของอธิการบดีให้เป็นทสี่ ุด บทเฉพำะกำล ข้อ 19 การดาเนินการเก่ียวกับสหกิจศึกษาที่ได้ดาเนินการแล้วก่อนที่ข้อบังคับนี้ประกาศใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นการ ดาเนนิ การตามข้อบงั คับน้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2558 (ศาสตราจารย์ ดร.ศภุ มาศ พนชิ ศกั ดิ์พฒั นา) นายกสภามหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 83 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประกำศมหำวิทยำลยั รำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ เร่อื ง แนวปฏิบัติในกำรดำเนนิ งำนสหกจิ ศกึ ษำ ……………………………........ โดยที่เป็นการสมควรกาหนดหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติในการดาเนินงานสหกิจศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทปัจจุบัน จึงอาศัยอานาจตามความในมาตรา 27 และมาตรา 31 แห่งพระราชบัญ ญั ติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การดาเนินงานสหกิจศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ประกอบกับมติ คณะกรรมการวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในการประชุม ครั้งท่ี 4/2563 เมื่อวันท่ี 10 กรกฎาคม 2563 จึงยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เร่ือง แนวปฏิบัติในการดาเนินงานสหกิจศึกษา ฉบับลงวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ประกาศฉบบั นแี้ ทน ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรื่อง แนวปฏิบัติในการดาเนินงาน สหกิจศกึ ษา” ข้อ 2 ในประกาศนี้ “มหาวิทยาลยั ” หมายถงึ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา “สภามหาวิทยาลยั ” หมายถงึ สภามหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “สภาวิชาการ” หมายถึง สภาวิชาการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “อธิการบดี” หมายถึง อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “คณบดี” หมายถึง คณบดีของคณะที่มีการจัดการศกึ ษาระบบ สหกจิ ศึกษาของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา “ศูนย”์ หมายถงึ ศนู ยส์ หกิจศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา “คณะกรรมการประจาศนู ย์” หมายถงึ คณะกรรมการอานวยการ และคณะกรรมการ ดาเนินงานของศนู ย์สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “สาขาวชิ า” หมายถึง สาขาวิชาที่มกี ารจัดการศึกษาระบบ สหกิจศึกษาในสงั กัดคณะของมหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา / “คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร”... มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 84 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

“คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร” หมายถงึ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รของ สาขาวิชาท่ีมีการจดั การศึกษาระบบ “สถานศึกษา” หมายถงึ สหกิจศึกษาในสงั กัดคณะของมหาวิทยาลยั “สหกจิ ศกึ ษา” หมายถึง ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา “นักศึกษาสหกิจศึกษา” หมายถึง การศึกษาทเ่ี น้นการปฏบิ ตั ิงานใน “คณาจารย์นิเทศก์” หมายถึง สถานประกอบการอย่างมีระบบโดยจัดให้มี “พนักงานท่ีปรึกษา” หมายถงึ การเรยี นในสถานศึกษาร่วมกบั การสง่ นักศึกษา ออกไปปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการท่เี ข้า “สถานประกอบการ” หมายถงึ รว่ มสหกิจศึกษากับมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา “รายวชิ าเตรียมสหกิจศึกษา” หมายถึง นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา ที่ลงทะเบยี นเรียนรายวิชาสหกิจศกึ ษาและหรอื “รายวิชาสหกิจศึกษา” หมายถงึ รายวิชาเตรียมสหกจิ ศึกษา คณาจารยป์ ระจาในสถานศึกษาท่ีทาหนา้ ที่ให้ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 85 คาปรึกษา และนิเทศการปฏิบตั งิ าน สหกจิ ศึกษาของนักศึกษา พนกั งานตามที่สถานประกอบการมอบหมาย ใหท้ าหนา้ ที่เปน็ ที่ปรึกษาดูแล และประเมนิ ผล การปฏบิ ัติงานของนักศึกษาสหกิจศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา หน่วยงานหรือองค์กรที่เข้าร่วมระบบ สหกจิ ศกึ ษากบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยาโดยรบั นักศึกษาไปปฏิบัติงาน สหกจิ ศึกษาในสถานประกอบการดังกลา่ ว รายวชิ าที่กาหนดไวใ้ นหลักสตู รเพ่ือเตรยี ม ความพร้อมให้กบั นักศกึ ษาท่จี ะไปปฏิบตั งิ าน สหกิจศึกษาในสถานประกอบการ รายวชิ าท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรสาหรับนักศกึ ษา สหกจิ ศกึ ษาในการไปปฏิบตั ิงานใน สถานประกอบการ / “ภาคการศึกษาสหกจิ ศึกษา”... Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

“ภาคการศกึ ษาสหกิจศกึ ษา” หมายถึง ภาคการศึกษาทนี่ กั ศกึ ษาไปปฏบิ ตั งิ าน สหกจิ ศึกษาเป็นเวลาไมน่ ้อยกว่า 16 สัปดาห์ ขอ้ 3 แนวปฏิบัตใิ นการดาเนินงานสหกจิ ศึกษา 3.1 สาขาวิชาดาเนินการประชุมชี้แจงนักศึกษาที่เลือกเรียนในระบบสหกิจศึกษา ก่อนภาคการศึกษาที่จะ ลงทะเบียนรายวิชาเตรยี มสหกิจศึกษา พร้อมยนื่ ใบสมคั รในการแจง้ ความจานงเข้าเรยี น ในระบบสหกจิ ศกึ ษา 3.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ในสาขาวิชาที่มีการจัดการเรียนในระบบสหกิจศึกษา พิจารณาคุณสมบัติ นักศึกษา ตามขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วา่ ด้วย การดาเนินงานสหกิจศึกษา 2558 และประกาศรายชอื่ ผู้ ท่ีผา่ นการพจิ ารณา ก่อนภาคการศกึ ษาทลี่ งทะเบยี นรายวิชาเตรยี มสหกิจศึกษา 3.3 การลงทะเบยี นรายวิชาเตรยี มสหกิจศกึ ษา จานวน 1(45) หน่วยกิต นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาเตรียมสหกิจศึกษา ก่อนรายวิชาสหกิจศึกษา ทั้งนี้ต้องได้รับอนุมัติจาก อาจารย์ที่ปรึกษา ทั้งน้ีนักศึกษาจะต้องมีเวลาเรียนในรายวิชาเตรียมสหกิจศึกษา ไม่น้อยกว่า ๓๐ ช่ัวโมง จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์ หากนกั ศกึ ษาขาดเรยี นหรอื ขาดกิจกรรมใด นักศึกษาต้องเรียนเพม่ิ เตมิ ให้เรียบรอ้ ยภายใน วนั สุดท้ายของภาคการศึกษาน้นั 3.4 การวัดและประเมินผลการศึกษาของรายวิชาเตรียมสหกิจศึกษา จะใช้ผลการประเมินเป็นระบบสัญลักษณ์ ระดับคะแนน และค่าระดับคะแนน ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับ อนปุ รญิ ญาและปริญญาตรี ซง่ึ มคี วามหมาย ดงั น้ี สัญลักษณ์ ความหมาย ค่าระดับคะแนน A ดเี ยยี่ ม (Excellent) 4.00 B+ ดมี าก (Very Good) 3.50 B ดี (Good) 3.00 C+ ดพี อใช้ (Fairly Good) 2.50 C พอใช้ (Fair) 2.00 D+ ออ่ น (Poor) 1.50 D อ่อนมาก (Very Poor) 1.00 F ไม่ผ่าน (Failed) 0.00 ทั้งนก้ี ารประเมินผลรายวิชาเตรยี มสหกจิ ศึกษา หากได้ค่าระดับคะแนนตา่ กวา่ “C” หรอื คะแนนรวมต่ากว่ารอ้ ย ละ 60 ถือว่าไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล นกั ศึกษาต้องลงทะเบียนเรยี นใหมใ่ นรายวิชาน้ี / 3.5 การลงทะเบยี น... มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 86 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

3.5 การลงทะเบยี นรายวชิ าสหกิจศกึ ษา จานวน 6(640) หน่วยกติ นักศึกษาต้องมีผลการประเมินตามข้อ 3.4 ก่อนจึงจะลงทะเบียนเรียนรายวิชาสหกิจศึกษาได้ และ นักศึกษาจะต้องไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการเต็มเวลาในหน่ึงภาคการศึกษาน้ัน ทั้งน้ีต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหารหลักสตู รและได้รบั อนมุ ัตจิ ากอาจารย์ทปี่ รกึ ษา 3.6 การวัดและการประเมินผลการศึกษาของรายวิชาสหกิจศึกษา จะใช้ผลการประเมินเป็นระบบสัญลักษณ์ ระดับคะแนน และคา่ ระดับคะแนน ตามขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา วา่ ด้วย การจดั การศึกษาระดบั อนปุ ริญญาและปรญิ ญาตรี ดังนี้ สญั ลกั ษณ์ ความหมาย ค่าระดบั คะแนน A ดีเย่ยี ม (Excellent) 4.00 B+ ดมี าก (Very Good) 3.50 B ดี (Good) 3.00 C+ ดีพอใช้ (Fairly Good) 2.50 C พอใช้ (Fair) 2.00 D+ อ่อน (Poor) 1.50 D อ่อนมาก (Very Poor) 1.00 F ไม่ผ่าน (Failed) 0.00 ท้ังน้ี การประเมินผลรายวิชาสหกิจศึกษา หากได้รับคะแนนต่ากว่า “C” ถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล นกั ศกึ ษาต้องลงทะเบยี นเรยี นใหมใ่ นรายวชิ าน้ี 3.7 หลกั เกณฑก์ ารประเมินผลเพื่อใหร้ ะดับคะแนนของรายวชิ าสหกจิ ศึกษาจะพิจารณา ดังน้ี 3.7.1 ในระหว่างปฏิบัติงานในสถานประกอบการจะต้องมีพนักงานที่ปรึกษา 1 คนเป็นผู้ดูแลการ ปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา และจะต้องมีคณาจารย์นิเทศก์จากสถานศึกษา ไปนิเทศงานของนักศึกษาสหกิจศึกษา อย่าง น้อย 1 ครั้ง โดยต้องมีการประชุมร่วมกันท้ังสามฝ่าย ประกอบด้วย คณาจารย์นิเทศก์ พนักงานที่ปรึกษา และนักศึกษาสหกิจ ศึกษา เพอ่ื พิจารณาผลการปฏิบตั ิงานของนักศึกษาและให้ขอ้ เสนอแนะ 3.7.2 เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องนาเสนอผลการปฏิบัติงานที่สถานประกอบการและ สถานศกึ ษา 3.7.3 การประเมินผลการปฏิบัติงานและรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา มีสัดส่วนการให้คะแนน จากพนักงานท่ปี รกึ ษารอ้ ยละ 50 และจากคณาจารยน์ เิ ทศก์ ร้อยละ 50 3.7.4 คณาจารย์นิเทศรวบรวมผลการประเมินรายวิชาสหกิจศึกษาเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร หลักสตู รแต่ละสาขาวชิ าพิจารณาเหน็ ชอบ และเสนอให้คณบดอี นุมัติผลการเรยี นตอ่ ไป มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา / ข้อ 4 กระบวนการ... 87 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ข้อ 4 กระบวนการคดั เลือกนักศกึ ษาสหกิจศึกษาไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ 4.1 ศูนย์สหกิจศึกษาประกาศรายช่ือสถานประกอบการที่เข้าร่วมเป็นหน่วยปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ตาแหน่ง งานทตี่ อ้ งการของสถานประกอบการ วธิ กี ารในการพิจารณาคดั เลอื กนักศึกษาเข้าปฏบิ ัตงิ านสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ 4.2 สาขาวิชารับสมัครนักศึกษาสหกิจศึกษา ในตาแหน่งที่นักศึกษาสนใจและตรงกับสาขาวิชาให้กับ สถานประกอบการท่เี ขา้ รว่ มเป็นหนว่ ยปฏบิ ัติงานสหกจิ ศกึ ษา 4.3 สาขาวิชาร่วมกับสถานประกอบการพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในสถาน ประกอบการ ด้วยวธิ กี ารคดั เลือก ตามคุณสมบตั ิและความรู้ความสามารถให้เหมาะสมกับตาแหน่งงาน 4.4 ศูนย์สหกิจศึกษาประกาศรายชื่อนักศึกษาท่ีผ่านการคัดเลือก ข้ันตอนและวิธีการเข้าปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ในสถานประกอบการ 4.5 ศูนย์สหกิจศึกษาทาเรื่องส่งตัวนักศึกษาท่ีผ่านการพิจารณาคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานตามประกาศรายชื่อ นกั ศึกษาที่ผา่ นการคัดเลือกเข้าปฏิบัติงานสหกจิ ศึกษาในสถานประกอบการ 4.6 ในกรณีที่นักศึกษาไม่ผ่านการพิจารณาคัดเลือกเข้าทางานจากสถ านประกอบการให้สาขาวิชา/ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดหาสถานประกอบการอื่นที่เข้าเกณฑ์มาตรฐานสหกิจศึกษาให้กับนักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษา ตามความรู้ความสามารถของนักศึกษาและความเหมาะสมกับตาแหน่งงานของสถานประกอบการน้ัน และเสนอให้ คณะกรรมการประจาศูนยส์ หกจิ ศกึ ษาพิจารณาเห็นชอบ และแจ้งให้คณบดที ราบตอ่ ไป ข้อ 5 ลักษณะงานและการปฏิบตั ิงานสหกิจศกึ ษา 5.1 นักศึกษาสหกจิ ศกึ ษาจะตอ้ งปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ เสมอื นหนึ่งเปน็ พนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของ สถานประกอบการในตาแหน่งที่สาขาวิชาและสถานประกอบการ เหน็ วา่ เหมาะสมตามความรูค้ วามสามารถของนกั ศึกษาและให้ เปน็ ไปตามศาสตรข์ องแตล่ ะสาขาวิชา 5.2 ภาระงานและคุณภาพงานต้องมคี วามเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของนกั ศึกษาสหกิจศกึ ษา และตรง กบั สาขาวชิ าทีน่ กั ศึกษาสังกดั โดยผา่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร คณาจารยน์ เิ ทศก์ และสถาน ประกอบการ 5.3 ระหวา่ งการปฏิบตั ิงาน นกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษาจะต้องปฏบิ ัติตนตามระเบยี บการบรหิ ารงานบคุ คลของสถาน ประกอบการ และวนิ ัยนักศึกษาอยา่ งเครง่ ครัดทุกประการ 5.4 นกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษาอาจจะได้รับค่าตอบแทน และหรือสวัสดิการในอตั ราท่ีมีความเหมาะสมและจาเปน็ ตาม ลักษณะงาน ท้งั นใี้ ห้อย่ใู นดุลยพนิ จิ ของสถานประกอบการ ขอ้ 6 การยกเลิก การลาออก และการขอเล่อื นการไปปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษา 6.1 ก่อนประกาศผลการคดั เลือก หากนักศกึ ษาจะยกเลิกหรือขอเลือ่ นการไปปฏิบัติงาน สามารถกระทาได้เมื่อมี เหตุผลความจาเปน็ โดยยื่นคารอ้ งและไดร้ ับการอนมุ ตั ิจากคณบดี และแจ้งศูนยส์ หกิจศึกษาก่อนท่ีจะมีการประกาศผลการคดั เลอื ก นักศึกษาเพอ่ื ปฏบิ ตั ิงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ / 6.2 เมอ่ื ประกาศผล... มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 88 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

6.2 เมื่อประกาศผลการคัดเลอื กแล้วนักศึกษาทกุ คนจะต้องไปปฏิบัติงานในสถานประกอบการ กรณจี ะขอลาออก หรือขอเล่ือนการไปปฏิบัติงานไม่สามารถกระทาได้ ยกเว้นในกรณีท่ีมีเหตุจาเป็นอย่างย่ิง โดยจะต้องแสดงเหตุผลพร้อมหลักฐาน ประกอบการพจิ ารณา โดยผา่ นความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการประจาศนู ย์สหกิจศึกษาและได้รับอนุมัตจิ ากคณบดี 6.3 นักศกึ ษาสหกิจศกึ ษาที่ไปปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการแล้ว จะขอลาออกหรือขอเลื่อนเวลาการปฏิบตั ิงาน ตามที่กาหนดไว้ไม่ได้โดยเด็ดขาด ยกเว้นในกรณีท่ีมีเหตุจาเป็นอย่างย่ิง โดยจะต้องแสดงเหตุผลพร้อม หลักฐานประกอบการ พิจารณา ท้ังน้ีต้องได้รับความเห็นชอบจากสถานประกอบการ และคณะกรรมการประจาศูนย์สหกิจศึกษา และได้รับอนุมัติจาก คณบดี กรณีที่นักศึกษาสหกจิ ศึกษาไม่ไปปฏิบัติงานโดยไม่มีเหตุผลอันควร นักศึกษาจะไม่มีสิทธิยื่นคาขอไปปฏิบัติงานใน สถานประกอบการ เว้นแต่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาศูนย์สหกิจ ได้รับอนุมัติจากคณบดี และแจ้งสาขาวิชา ทราบ ข้อ 7 การลงโทษนกั ศึกษาสหกิจศกึ ษาผู้กระทาผดิ การลงโทษนักศึกษาสหกิจศึกษา ท่ีฝ่าฝืนหรือร่วมกระทาผิดระเบียบการปฏิบัติงานของสถานประกอบการ ให้คณะกรรมการประจาศูนย์สหกิจศึกษา มีอานาจพิจารณาลงโทษตามระเบียบหรือข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา ทัง้ นี้ใหใ้ ช้ปฏบิ ัตกิ ับนักศกึ ษาที่เขา้ ศกึ ษาตงั้ แต่ปีการศกึ ษา 2560 เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (รองศาสตราจารย์ ดร.ชสู ทิ ธิ์ ประดับเพช็ ร์) อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 89 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ระเบียบมหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ วำ่ ดว้ ย เงินบำรุงกำรศึกษำและค่ำธรรมเนยี มอ่ืนเพ่อื จัดกำรศึกษำ ระดบั อนุปรญิ ญำและปริญญำตรี ภำคปกติ พ.ศ. 2561 _________________ โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การเก็บเงินบารุง การศึกษาและการจ่ายเงินเพื่อจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2549 เพื่อให้การบริหารจัด การศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบัน และเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธผิ ลมากย่งิ ขึน้ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18 (2) (12) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และมติ สภามหาวิทยาลยั ในคราวประชมุ ครง้ั ท่ี 5/2561 เมื่อวนั ท่ี 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 จึงออกระเบยี บไวด้ ังนี้ ข้อ 1 ระเบยี บนเี้ รยี กว่า “ระเบียบมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา วา่ ด้วย เงนิ บารงุ การศึกษาและ ค่าธรรมเนียมอ่ืนเพื่อจัดการศึกษา ระดับอนุปรญิ ญาและปรญิ ญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2561” ข้อ 2 ระเบยี บน้ีให้ใช้บังคบั กับนักศึกษาภาคปกตทิ ี่เขา้ ศกึ ษาต้ังแต่ปีการศึกษา 2561 เปน็ ตน้ ไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ว่าด้วย การเก็บเงินบารุงการศึกษาและ การจา่ ยเงนิ เพอ่ื จัดการศกึ ษาระดับอนุปริญญาและปรญิ ญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2549 ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี “มหาวทิ ยาลยั ” หมายความว่า มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา “อธิการบดี” หมายความวา่ อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “ค่าบารุงการศึกษาแบบเหมาจ่าย” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายที่นักศึกษาต้องจ่ายให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา เปน็ รายภาคการศึกษา แต่ไม่รวมถึงค่าธรรมเนียมที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรียกเก็บเป็นราย ครั้งในกรณอี น่ื ๆ “ภาคการศกึ ษา” หมายความว่า ภาคการศกึ ษาปกติ ไม่รวมภาคฤดูรอ้ น ข้อ 5 ให้มหาวิทยาลัยเรียกเก็บค่าบารุงการศึกษาแบบเหมาจ่ายจากนักศึกษาเป็นรายภาคการศึกษา ท้ังน้ี ตามอัตราทม่ี หาวิทยาลัยประกาศกาหนด ให้มหาวิทยาลัยเรียกเก็บค่าบารุงการศึกษาแบบเหมาจ่ายในวันทม่ี หาวิทยาลัยกาหนด ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน 30 วัน นับตงั้ แต่วันเปดิ ภาคการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 90 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ้ 6 อธิการบดีอาจใช้ดุลยพินิจผ่อนผันการชาระค่าบารุงการศึกษาแบบเหมาจ่ายชา้ กว่าที่มหาวทิ ยาลัยกาหนด ได้ตามเหตอุ ันควร ข้อ 7 นักศึกษาท่ีไม่ชาระเงินค่าบารุงการศึกษาแบบเหมาจ่ายตามกาหนด หรือไม่ชาระเงินเพ่ือรักษาสถานภาพ การเป็นนักศึกษาก่อนวันสอบปลายภาคด้วยเหตุผลความจาเป็นของนักศึกษาและหรือครอบครัวที่อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบและ รับรองให้นักศึกษาพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา เว้นแต่เป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ตามมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภฏั พ.ศ.2547 ข้อ 8 ใหม้ หาวทิ ยาลยั เรยี กเกบ็ คา่ ธรรมเนยี มการศึกษาเป็นรายคร้งั ดงั นี้ (1) คา่ รักษาสถานภาพการเปน็ นักศกึ ษาในกรณีหยดุ พักการเรียนภาคเรยี นละ 1,500 บาท (2) ค่าปรับกรณีลงทะเบยี นลา่ ช้ากวา่ เวลาทก่ี าหนด วันละ 20 บาท สูงสุดไม่เกนิ 1,000 บาท (3) ค่าขอกลับคืนสถานภาพนักศึกษาใหม่ เนื่องจากพ้นสภาพเพราะเหตุไม่ชาระค่าบารุงการศึกษา 200 บาท และให้ชาระคา่ รกั ษาสถานภาพการเป็นนักศกึ ษาตามจานวนภาคการศึกษาทคี่ ้างชาระ ภาคการศึกษาละ 1,500 บาท (4) คา่ ออกเอกสารตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ รายงานผลการศึกษา ใบแทนเอกสารต่าง ๆ ทีเ่ คยออกไว้แล้ว หนังสอื รับรอง ตา่ ง ๆ ฉบับละ 20 บาท (5) ค่าขอรับประกาศนียบัตร อนุปริญญาบัตร ปริญญาบัตร เกินกว่าหกเดือนนับตั้งแต่วันที่มหาวิทยาลัย ประกาศกาหนดใหร้ ับ ฉบบั ละ 500 บาท (6) คา่ บารุงหอพกั ใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย (7) ค่าลงทะเบียนและรายงานตัวบัณฑิต ให้เรียกเก็บเม่ือสาเร็จการศึกษาโดยเป็นไปตามอัตราที่มหาวิทยาลัย ประกาศกาหนดในแตล่ ะปี (8) คา่ ธรรมเนียมทใี่ ห้เรยี กเกบ็ ในวันรายงานตัว ประกอบดว้ ย (8.1) ค่าขึ้นทะเบยี นนักศกึ ษาใหม่ 200 บาท (8.2) คา่ บัตรประจาตัวนกั ศึกษาอิเล็กทรอนกิ ส์ 200 บาท (8.3) ค่าประกันของเสียหาย 500 บาท ค่าประกันของเสียหาย ให้แยกบัญชีไว้ต่างหาก เป็นเงินฝากถอนคืนให้แก่นักศึกษาที่มิได้ทาทรัพย์สิน เสียหาย และต้องมาย่ืนคาร้องขอคืนภายใน 6 เดือนนับจากวันพ้นสภาพเป็นนักศึกษา หากนักศึกษาไม่มาขอรับคืนภายใน กาหนดเวลาดงั กล่าวใหโ้ อนเข้าเป็นรายได้ของมหาวิทยาลัย (9) ค่าบารุงการศึกษาภาคฤดูร้อนและค่าธรรมเนียมอ่ืน นอกเหนือจากท่ีกาหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้เป็นไปตาม ประกาศของมหาวิทยาลยั ขอ้ 9 ให้มหาวทิ ยาลัยโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัยจดั สรรเงนิ ท่เี รยี กเกบ็ ตามระเบียบนี้ ไม่เกินร้อยละ 80 เพอ่ื จดั การศึกษาภาคปกติ ขอ้ 10 การเรยี กเกบ็ เงินตามระเบยี บน้ี ใหใ้ ชใ้ บเสร็จรบั เงินตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 91 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook