Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore HandBook63

HandBook63

Published by kanjanaqa, 2021-03-31 02:33:21

Description: book63

Search

Read the Text Version

ในนามของคณะผูบ้ รหิ าร คณาจารย์ และบุคลากรของมหาวทิ ยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ทุกคนสู่รั้วเหลืองแดง มหาวทิ ยาลัยแห่งเมืองมรดกโลก ด้วยความยนิ ดยี ่งิ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นสถาบันการศึกษาท่ี เก่าแก่มีอายุครบรอบ 115 ปี ในปี พ.ศ. 2563 น้ี ท่ีผ่านมาผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพออกไปรับใช้สังคมและประเทศชาติมากมาย ในปัจจุบันมีพันธกิจหลัก ในการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และ การพฒั นาท้องถน่ิ ตามยุทธศาสตรข์ องมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2563 น้ี ประเทศไทยและทุกประเทศท่ัวโลก ประสบปัญหา เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยาได้เฝ้าระวัง ป้องกันไว้เป็นอย่างดี รวมท้ังมีการช่วยเหลือ เยียวยานักศึกษา บุคลากรของมหาวิทยาลัย และช่วยเหลือสังคม ชุมชนในพ้ืนท่ี อย่างตอ่ เน่ือง ปัญหา COVID-19 นาไปสู่การปรับตัวด้านการศึกษาเป็นอย่างย่ิง (รองศาสตราจารย์ ดร.ชูสิทธ์ิ ประดบั เพ็ชร)์ การเรียนการสอนในระบบออนไลน์ถูกนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน อธิการบดมี หาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา ในทุก ๆ มหาวิทยาลัย ในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ก็มีการสนับสนุนเตรียมความพร้อมในเรื่องดังกล่าวไว้อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ นักศกึ ษาได้ศึกษาเรยี นรู้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ในโอกาสนี้ขอส่งความปราถนาดีไปยังนักศึกษาใหม่ทุกคน ขอให้ มีสุขภาพแขง็ แรง ต้ังใจศึกษาเล่าเรียน ใฝ่หาความรู้ ทากิจกรรมในมหาวิทยาลัย อย่างมีความสุขและประสบความสาเรจ็ ในส่ิงที่คาดหวังตง้ั ใจไว้ทกุ ประการ



สารบัญ หนา้ เร่อื ง 1 2 สารอธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 3 4 ตอนที่ 1 แนะนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 5  สญั ลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 7  สีประจามหาวทิ ยาลัย ธง ดอกไม้ คติธรรม 8  รายช่อื มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ทวั่ ประเทศ 8  ประวัติมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 11  หวั หนา้ สถานศกึ ษาจากอดีตถึงปจั จุบัน 12  ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เอกลกั ษณ์ อตั ลักษณ์ 15  คา่ นิยมองคก์ ร คุณลักษณะบณั ฑิตที่พึงประสงค์ นโยบาย 17  แนะนาหน่วยงาน คณะครศุ าสตร์ 19  แนะนาหนว่ ยงาน คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 22  แนะนาหน่วยงาน คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 25  แนะนาหนว่ ยงาน คณะวิทยาการจดั การ 26  แนะนาหนว่ ยงาน สถาบันอยุธยาศึกษา 31  การแบ่งส่วนราชการ 37  รายนามผู้บรหิ าร 42  กรรมการบรหิ ารคณะครุศาสตร์ และรายชอ่ื อาจารยป์ ระจาคณะ  กรรมการบรหิ ารคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ และรายช่ืออาจารยป์ ระจาคณะ 47  กรรมการบริหารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และรายช่ืออาจารย์ประจาคณะ  กรรมการบริหารคณะวิทยาการจัดการ และรายช่ืออาจารย์ประจาคณะ 59 ตอนที่ 2 ระเบยี บ และประกาศตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 61  ขอ้ บงั คบั สภามหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยาว่าดว้ ยการจัดการศกึ ษา ระดับอนุปริญญา 64 และปริญญาตรี พ.ศ. 2560  ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยาว่าด้วยการให้ผ้สู าเรจ็ การศึกษาปริญญาตรไี ด้รับ ปริญญาตรีเกียรตินิยมอนั ดับหนงึ่ และปรญิ ญาตรเี กยี รตนิ ิยมอนั ดบั สอง พ.ศ. 2550  ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยาวา่ ด้วยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ าเรียน และการจ่ายค่าธรรมเนยี มการโอนผลการเรยี น การยกเว้นรายวิชาเรียน พ.ศ. 2552  ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยาว่าดว้ ยการโอนผลการเรยี น การยกเว้นรายวิชาเรียน และการจ่ายค่าธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเวน้ รายวิชาเรียน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2557 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา ก Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สารบญั เร่อื ง หน้า ตอนที่ 2 ระเบยี บ และประกาศตา่ งๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง (ตอ่ )  ระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยาว่าดว้ ยการโอนผลการเรียน การยกเว้นรายวชิ าเรียน และการจ่ายคา่ ธรรมเนยี มการโอนผลการเรียน การยกเวน้ รายวิชาเรียน (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2558 65  ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา เร่อื ง การยกเว้นราย วชิ าเรยี น และการศึกษา รายวชิ าเรยี นเพิ่มเตมิ พ.ศ. 2558 66  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เรื่อง การเก็บค่าธรรมเนียม การโอนผลการเรยี น การยกเว้นรายวิชา พ.ศ. 2552 67  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา เรื่อง การเทียบโอนความรู้ทักษะและประสบการณ์ จากการศึกษานอกระบบและ/หรอื การศึกษาตามอธั ยาศยั เข้าสกู่ ารศกึ ษาในระบบตามหลักสูตรระดับ ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2553 68  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา เรื่อง แนวปฏิบตั แิ ละมาตรการการลงทะเบียน การเพ่ิม-ถอนวิชา การลงทะเบียนล่าช้าของนักศึกษาภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ พ.ศ. 2558 71  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา เรือ่ ง การจัดการศึกษาภาคฤดรู ้อน 73  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ิการจดั สอบนอกตาราง พ.ศ. 2556 75  ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา เรอ่ื ง การย้ายสาขาวชิ าเรียนสาหรับนักศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2559 76  ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา ว่าด้วย การดาเนนิ งานสหกจิ ศึกษา พ.ศ. 2558 79  ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา เรื่อง แนวปฏบิ ตั ใิ นการดาเนนิ งานสหกิจศึกษา 84  ระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ว่าด้วยการเก็บเงนิ บารงุ การศกึ ษา และการจ่ายเงิน เพื่อจัดการศกึ ษาอนุปรญิ ญาและปริญญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2561 90  ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา เรอ่ื ง การเก็บคา่ บารงุ การศึกษาแบบเหมาจ่าย ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2563 93  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา เรอ่ื ง การเกบ็ คา่ บารงุ และคา่ ธรรมเนียมการจดั การ ศกึ ษาภาคฤดูร้อนสาหรบั นักศึกษาระดบั ปริญญาตรี ภาคปกติ 96  ระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา วา่ ด้วยการเกบ็ เงนิ บารุงการศึกษาและการจ่ายเงิน เพื่อจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคพิเศษ พ.ศ. 2560 97  ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา เรื่อง การเกบ็ เงนิ ค่าบารุงการศึกษาและ คา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี ภาคพเิ ศษ 99  ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา เรื่อง นโยบายการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษา 102 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา ข Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สารบัญ เรือ่ ง หน้า ตอนที่ 2 ระเบยี บ และประกาศตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง (ต่อ)  ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา เรื่อง การทดสอบและอบรมมาตรฐานภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษา พ.ศ. 2560 104  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา เรื่อง นโยบายส่งเสรมิ ทักษะและสมรรถนะด้านดิจทิ ัล ให้กบั นกั ศึกษา 106  พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปรญิ ญาในสาขาวิชา อักษรย่อสาหรบั สาขาวชิ า ครุยวิทยฐานะ เขม็ วิทยฐานะ และครยุ ประจาตาแหน่งของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2555 108  ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เร่อื ง หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางการจัดการศึกษา ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พ.ศ. 2552 112  ข้อบงั คบั มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา ว่าด้วยวนิ ยั นักศกึ ษา พ.ศ. 2550 114  ขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา วา่ ด้วยเครอ่ื งแบบ เคร่ืองหมายและเครอื่ งแตง่ กาย นักศกึ ษา พ.ศ. 2557 120  ขอ้ มลู รายวชิ าที่นักศกึ ษาสามารถยกเวน้ /เทยี บโอนรายวิชาได้ ประจาปีการศึกษา 2563 123 ตอนที่ 3 หน่วยงานบริการนักศึกษา  สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 152  กองบริการการศึกษา การบรกิ ารนักศกึ ษา 155  สหกจิ ศกึ ษา 156  โครงการจัดตัง้ ศนู ยภ์ าษาและการศกึ ษานานาชาติ 158  ศนู ย์หนังสือ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 160  บรกิ ารไปรษณยี ์ 161  คาถาม – คาตอบ สาหรบั เรอ่ื งตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวกบั นกั ศกึ ษา 162 ตอนที่ 4 โครงสรา้ งหลกั สตู ร โครงสร้างหลักสูตร 173 โครงสร้างหลักสตู รวชิ าศกึ ษาทั่วไปและคาอธิบายรายวชิ า 174 คณะครศุ าสตร์ สาระสาคญั ของหลกั สตู ร 196  คณิตศาสตร์ 4 ปี 197  สังคมศกึ ษา 4 ปี 201 มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา ค Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สารบญั หน้า เร่ือง 205 209 คณะครุศาสตร์ (ตอ่ ) 213  การศึกษาปฐมวยั 4 ปี 218  คอมพวิ เตอร์ศึกษา 4 ปี 224  วทิ ยาศาสตร์ 4ปี 228  พลศึกษา 4 ปี 232  การสอนภาษาไทย 4 ปี 237  การสอนภาษาอังกฤษ 4 ปี  การประถมศกึ ษา 4 ปี 241  การศึกษาพเิ ศษ 4 ปี 243 248 คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 253 258 สาระสาคัญของหลกั สูตร 263  ภาษาอังกฤษ 4 ปี 268  ภาษาไทย 4 ปี 273  ภาษาญ่ปี ุ่น 4 ปี 277  การสอนภาษาจีน 4 ปี 286  การพัฒนาชมุ ชนและสงั คม 4 ปี 294  สหวิทยาการอิสลามเพ่อื การพฒั นา 4 ปี 298  ประวตั ศิ าสตร์ 4 ปี 302  ดนตรีศึกษา 4 ปี 307  ดนตรสี ากล 4 ปี 311  ประยกุ ตศ์ ิลป์ 4 ปี 316  ศลิ ปะการแสดง 4 ปี  นิตศิ าสตร์ 4 ปี  นเิ ทศศาสตร์ 4 ปี  รฐั ประศาสนศาสตร์ 4 ปี  การปกครองท้องถ่นิ 4 ปี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา ง Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สารบญั หน้า เร่ือง 321 323 คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 328 333 สาระสาคัญของหลกั สตู ร 339  เกษตรศาสตร์ 4 ปี 344  เคมี 4 ปี 349  คหกรรมศาสตร์ 4 ปี 354  วิทยาการคอมพวิ เตอร์ 4 ปี 359  เทคโนโลยีสารสนเทศ 4 ปี 365  อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4 ปี 370  คณติ ศาสตร์ 4 ปี 375  จลุ ชีววทิ ยา 4 ปี 379  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 4 ปี 384  วิทยาศาสตรส์ ิง่ แวดลอ้ ม 4 ปี 389  เทคโนโลยีการผลติ พืช 4 ปี 393  วศิ วกรรมการจดั การ 4 ปี  วิศวกรรมไฟฟ้า 4 ปี 397  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ตอ่ เน่อื ง) 399  สาธารณสุขศาสตร์ 4 ปี 406 410 คณะวทิ ยาการจดั การ 414 419 สาระสาคญั ของหลักสตู ร 424  การบัญชี 4 ปี 428  การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ 4 ปี 432  การตลาด 4 ปี  คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 4 ปี  การจดั การ 4 ปี  การจดั การโลจสิ ติกส์ 4 ปี  การจดั การธุรกจิ ชุมชน 4 ปี  การจดั การธรุ กจิ โรงแรม 4 ปี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา จ Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สารบญั หน้า เรื่อง 437 441 คณะวิทยาการจดั การ (ตอ่ ) 447  การจดั การธรุ กิจธุรกจิ การค้าสมัยใหม่ 4 ปี  การทอ่ งเทีย่ ว 4 ปี 453  เศรษฐศาสตร์การเงินการธนาคาร 4 ปี 487 488 ภาคผนวก 489 - การใชง้ านระบบบริการนักศกึ ษา สาหรับนักศกึ ษา - หมายเลขโทรศพั ทภ์ ายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา - Download ค่มู อื นักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 - ตารางบันทกึ ข้อมูลการเรยี นตลอดหลักสตู ร มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ฉ Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

1ตอนที่ แนะนำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรอี ยุธยำ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 1 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานตราสัญลักษณ์ประจาสถาบันราชภัฏ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้นาความกราบ บังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานเพื่อเป็นสิริมงคลแก่สถาบันราชภัฏ ตราสัญลักษณ์ที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทาน คือ ตราพระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร มีลักษณะเป็นรูปวงรี ภายในเป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศ ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็น อุ หรือเลข ๙ รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นเศวตฉัตรต้ังอยู่บน พระท่ีน่ังอัฐทิศ แปลความหมายว่า “ทรงมีพระบรมเดชำนุภำพในแผ่นดิน” โดยที่วันท่ีบรมราชาภิเษก ตามโบราณราชประเพณี ได้เสด็จประทับเหนือพระที่น่ังอัฐทิศและสมาชิกรัฐสภาถวายน้าอภิเษกจากทิศทั้งแปด มีวงรีอีกวงหน่ึงเป็นกรอบรอบตราพระราชลัญจกรจารึกช่ือสถาบันราชภัฏ ต่อมาเมื่อสถาบันราชภัฏได้ ปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัย จารึกชื่อท่อนบนเป็นภาษาไทยว่า “มหำวิทยำลัยรำชภัฏ พระนครศรีอยุธยำ” ท่อนล่างจารึกเป็นภาษาอังกฤษว่า “PHRANAHKON SI AYUTTHAYA RAJABHAT UNIVERSITY” สีนำเงิน : แทน สถาบนั พระมหากษตั ริย์ผใู้ ห้กาเนิดและพระราชทานนาม “รำชภฏั ” สีเขยี ว : แทน แหลง่ ท่ตี ัง้ ของมหาวทิ ยาลัยซึง่ อยู่ในพื้นทแ่ี หลง่ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมทสี่ วยงาม สที อง : แทน ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางภมู ิปัญญา สสี ม้ : แทน ความร่งุ เรอื งทางศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิ่น สขี ำว : แทน ความคดิ อันบรสิ ุทธ์ขิ องนักปราชญแ์ หง่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 2 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สปี ระจำมหำวทิ ยำลัย สีเหลอื ง แดง ธงประจำมหำวทิ ยำลัย สีเหลอื ง (อยดู่ ้านบน) สีแดง (อยู่ด้านล่าง) มตี ราสัญลักษณ์อยตู่ รงกลาง ดอกไม้ประจำมหำวิทยำลยั ดอกโสน คติธรรมประจำมหำวทิ ยำลยั สกิ ขา กาโม ภวํ โหติ หมายถึง ผ้ใู ฝใ่ นการศกึ ษาเป็นผู้เจรญิ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 3 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

รำยช่อื มหำวทิ ยำลยั รำชภัฏทัว่ ประเทศ 38 แหง่ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงราย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลาปาง มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาแพงเพชร มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพบิ ูลสงคราม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ นิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏศรีสะเกษ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราไพพรรณี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบงึ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภเู กต็ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 4 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ประวตั ิ มหำวิทยำลยั รำชภฏั พระนครศรอี ยุธยำ ระยบั ศรี กาญจนะวงศ์* 1. บทนำ คนท่ีอย่กู รุงเก่าอยา่ งเจา้ ของ โปรดชว่ ยมองให้ซงึ้ ถึงความหลงั โรงเรียนฝึกหดั ครู ท่หี ลังวงั ฯ คือการตั้งต้นชีวติ วิทยาลัย ( ครพู ระนครศรอี ยธุ ยา ) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่เลขที่ 96 หมู่ 2 ถนนปรีดีพนมยงค์ ตาบลประตูชัย อาเภอ พระนครศรอี ยุธยา จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 13000 โทรศัพท์ 0-35276-555 โทรสาร 0-3532-2076 ก่อต้ังมาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานทรัพย์ จานวน 30,000 บาท ให้ก่อสร้าง โรงเรียนฝึกหัดครูเมืองกรุงเกา่ เม่ือวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2448 ต้ังอยู่บริเวณหลังพระราชวังจันทรเกษมสอนวิชาสามัญอนุโลม ตามหลักสูตรมธั ยมศกึ ษา 1-2-3 แตเ่ พ่มิ วิชาครู พ.ศ. 2458 ได้มกี ารเปล่ยี นแปลงระเบียบการฝกึ หัดครูมูลหวั เมอื งของกระทรวงธรรมการดาเนนิ การผลติ ครมู ลู (ครู ป.) พ.ศ. 2467 ได้จัดตั้งโรงเรยี นฝกึ หัดครูมลู กสกิ รรมข้นึ สอนวชิ ากสิกรรมที่ตาหนกั เพนยี ด พ.ศ. 2475 ยุบเลกิ โรงเรยี นฝึกหัดครูเมืองกรุงเกา่ ไปรวมอยูใ่ นโรงเรียนฝกึ หดั ครมู ลู ตาหนักเพนียดแห่งเดียว พ.ศ. 2476 มีการยกเลิกมณฑล โรงเรียนฝึกหัดครูมูลตาหนักเพนียด จึงเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูมูลประจาจังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา มชี ื่อว่า “โรงเรียนฝึกหดั ครูประกาศนยี บัตรจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา” สอนหลักสตู รครมู ูลกสกิ รรม พ.ศ. 2479 ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครูมูลจากตาหนักเพนียดมาตั้งในบริเวณกรมทหารท่ีตาบลหัวแหลม โดยแยกเป็น โรงเรยี นฝึกหัดครูชายและโรงเรียนฝึกหัดครูสตรีเปล่ียนชื่อใหม่เป็นโรงเรียนประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและโรงเรียน ฝึกหัดครูสตรีประกาศนียบัตรจังหวดั พระนครศรีอยุธยาเปิดทาการสอนเม่ือวันที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2479 เป็นโรงเรียนฝึกหัดครู ประกาศนยี บตั รประเภท ข (กนิ นอนประจา) แผนกเกษตรกรรม พ.ศ. 2484 ย้ายสถานที่ต้ังจากบริเวณกรมทหารท่ีหัวแหลมโรงเรียนฝึกหัดครูชายย้ายไปอยู่ท่ีบริเวณด้านข้างวัดวรโพธิ์ ตรงท่ีเป็นโรงเรยี นประตชู ัย โรงเรียนฝกึ หดั ครสู ตรียา้ ยไปอย่ทู ี่ ตาบลหอรตั นไชยบรเิ วณหอพกั อ่ทู องในปัจจุบัน พ.ศ.2491 โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้เปลี่ยนช่ือเป็นโรงเรียนฝึกหัดครู พระนครศรีอยธุ ยา พ.ศ. 2497 กองการฝกึ หดั ครไู ด้รับการยกฐานะเปน็ กรมการฝึกหัดครูเมอ่ื วนั ที่ 29 กนั ยายน พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2498 เริ่มผลิตครู ป.กศ.ใช้ระบบการฝึกหัดครูแบบ 2-2-2 ของกรมการฝึกหัดครูรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เขา้ เรยี นตอ่ 2 ปี มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 5 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

พ.ศ. 2509 โรงเรียนฝึกหัดครูพระนครศรีอยุธยา ย้ายมาอยู่ ณ ที่ปัจจุบัน เลขท่ี 96 หมู่ 2 ถนนปรีดีพนมยงค์ ตาบลประตูชยั อาเภอพระนครศรอี ยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และได้ยกฐานะขึ้นเป็นวทิ ยาลยั ครูพระนครศรอี ยธุ ยา พ.ศ. 2511 กระทรวงศึกษาธิการประกาศรวมโรงเรียนสตรีฝึกหัดครูพระนครศรีอยุธยาเข้ากับวิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ทาการผลติ ครหู ลายระดับ พ.ศ. 2517 เริ่มเปิดสอนระดับปริญญาตรี (ป.อ.) หลักสูตร 2 ปี จากผู้มีวุฒิ ป.กศ. สูง,ป.ม. หรือ พ.ม. เปิดปีแรก 2 สาขา คอื สาขาประถมศึกษา (วชิ าเอกภาษาไทย) และสาขามธั ยม (วชิ าเอกฟสิ กิ ส์) พ.ศ. 2519 เร่ิมใช้หลักสูตรสภาการฝึกหัดครู เปิดสอนระดับ ป.กศ.สูง หลักสูตร 2 ปี จากผู้มีวุฒิเดิม ม.ศ.5,ป.กศ. และ ป.ป. และเปิดสอนปรญิ ญาตรี (ค.บ.) หลกั สูตร 2 ปี จากผมู้ ีวุฒเิ ดิม ป.กศ.สูง, ป.วส.,ป.ม. และ พ.ม. พ.ศ. 2523 เปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (ค.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี รับจากผูม้ วี ุฒิเดมิ ม.ศ.5,ป.กศ. และ ป.ป. พ.ศ. 2524 เร่ิมใช้หลักสูตรสภาการฝึกหัดครู พ.ศ. 2524 เปิดสอนระดับปริญญาตรี (ค.บ.) หลักสตู ร 4 ปี รับจากผู้มีวุฒิ เดิม ม.ศ.5, ป.กศ. และ ป.ป. พ.ศ. 2528 เริ่มเปิดหลักสูตรสาขาวิชาการอื่นๆ นอกเหนือจากสาขาวิชาชพี ครู โดยเปิดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ และ ศิลปศาสตรบัณฑิตพร้อมกับระดับอนุปริญญา ขณะเดียวกันก็ยังคงเปิดหลักสูตรสาขาวิชาชีพครูครุศาสตรบัณฑิตทั้งระดับ ปรญิ ญาตรี หลกั สตู ร 4 ปแี ละ 2 ปี พร้อมๆกัน พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” แทนชื่อวิทยาลัยครู เมือ่ วันที่ 14 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 ยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ตามพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 มีผลบังคับ ใชต้ ง้ั แต่วนั ท่ี 25 มกราคม พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2540 เริ่มเปิดสอนระดับบัณฑิตศึกษา 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษาและหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบัณฑติ วิชาชีพครู พ.ศ. 2547 เมอื่ วันท่ี 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 พระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 เรมิ่ มผี ลบงั คบั ใชท้ า ให้สถาบันราชภฏั พระนครศรอี ยุธยาเปลีย่ นสถานภาพเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 6 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

หัวหน้ำสถำนศกึ ษำจำกอดีตถงึ ปจั จุบนั มหำวิทยำลยั รำชภฏั พระนครศรีอยธุ ยำ โรงเรยี นฝึกหัดครพู ระนครศรีอยธุ ยำ 2479 – 2480 นายเตมิ ทบั ทิมทอง โรงเรยี นสตรีฝกึ หดั ครูพระนครศรีอยธุ ยำ 2480 – 2487 นายฉลอง ศรีจันทร์ 2487 – 2497 นายชยั วฒั น์ ยกุ ติรตั น์ วทิ ยำลยั ครพู ระนครศรีอยุธยำ 2497 – 2501 นายประยุทธ สวัสดสิ ิงห์ 2501 – 2508 นายทวี โปราณานนท์ สถำบันรำชภฏั พระนครศรีอยธุ ยำ 2508 – 2508 นางสาวฉวีวรรณ ดลุ ยจินดา มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั พระนครศรอี ยุธยำ 2508 – 2509 นายจินต์ รัตนสิน 2479 – 2479 นางสาวสมสวัสดิ์ จามรวรรณ 2479 – 2481 ม.ล.หญงิ ทนิ กร 2481 – 2487 นางพสิ ิฏฐ์ เวชชภมู ิ (ทองฟุ อุบลพันธ์) 2487 – 2492 นางสาวจารุนีย์ มฤคทัต 2492 – 2501 นางสาวพเยาว์ ศรหี งส์ 2501 – 2511 นางสาวอนงค์ สงั ขะวร 2511 – 2511 นายจนิ ต์ รตั นสนิ (รักษาการฯ) 2509 – 2517 นายจนิ ต์ รัตนสิน 2517 – 2519 ดร.นเิ ชต สนุ ทรพิทกั ษ์ 2519 – 2521 รศ.สุรพนั ธ์ ยันตท์ อง 2521 – 2523 รศ.ดร.เจรญิ ผล สุวรรณโชติ 2523 – 2524 นายจาเรญิ เสกธีระ 2524 – 2531 นายโสภณ สวุ รรณโรจน์ 2531 – 2532 รศ.ธง รญุ เจรญิ 2532 – 2536 ดร.จรนิ ทร์ ชาตริ ุ่ง 2537 – 2538 รศ.วทิ ยา ร่งุ อดลุ พิศาล 2538 – 2546 รศ.ดร.บหุ งา วฒั นะ 2547 - 2547 ผศ.สวุ ทิ ย์ เฑยี รทอง 2547 – 2552 รศ.สวุ ิทย์ เฑยี รทอง 2552 – 2556 ดร.บรู พาทิศ พลอยสวุ รรณ์ 2556 – 2556 ดร.อุทัย ดุลยเกษม (รักษาการฯ) 2556 – 2557 นายจิรศักดิ์ ชมุ วรานนท์ (รักษาการฯ) 2557 – 2557 ดร.เกษม บารงุ เวช (รักษาการฯ) 2557 – 2558 รศ.ดร.นพวรรณ ธีระพันธ์เจรญิ (รกั ษาการฯ) 2558 – 2562 ดร.เกษม บารุงเวช 2562 – ปจั จุบนั รศ.ดร.ชสู ิทธ์ิ ประดบั เพช็ ร์ ณ วันท่ี 5 มิถนุ ายน 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 7 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ปรชั ญำ คุณธรรม นาความรู้ สู่การพฒั นาทอ้ งถิ่น สานศิลป์มรดกโลก วสิ ยั ทศั น์ ผลิตและพัฒ นาครูที่มีสมรรถนะเพื่อการพัฒ นาท้องถิ่น เป็นศูนย์กลางการบริห ารจัดการการท่องเที่ยว เชงิ วฒั นธรรมในเมอื งมรดกโลก และเปน็ ผ้นู าด้านวทิ ยาศาสตร์สุขภาพและส่ิงแวดลอ้ มของท้องถิ่นภายในปี 2564 พันธกจิ 1. แสวงหาความจริงเพ่ือสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญา สากล 2. ผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้คู่คุณธรรม สานึกในความเป็นไทย มีความรักและผูกพันต่อท้องถ่ินอีกท้ังส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิตในชุมชน เพื่อช่วยให้คนในท้องถิ่นรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกล่าวจะต้องให้มีจานวนและคุณภาพ สอดคลอ้ งกับแผนการผลติ บณั ฑติ ของประเทศ 3. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในคุณ ค่า ความสานึก และความภูมิใจในวัฒ นธรรมของท้องถ่ิน และ ของชาติ 4. เรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของผู้นาชุมชน ผู้นาศาสนา และนักการเมืองท้องถ่ินให้มีจิตสานึกประชาธิปไตย คุณธรรม จรยิ ธรรม และความสามารถในการบริหารงานพัฒนาชมุ ชนและทอ้ งถิน่ เพอ่ื ประโยชน์ของสว่ นรวม 5. เสริมสร้างความเข้มแข็งของวิชาชีพครู ผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ และมาตรฐานที่ เหมาะสมกบั การเปน็ วิชาชีพชั้นสูง 6. ประสานความร่วมมอื และช่วยเหลอื เกอื้ กลู กันระหวา่ งมหาวิทยาลัย ชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและองค์กรอ่ืน ท้งั ในและต่างประเทศ เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถ่ิน 7. ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบ้าน และเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เหมาะสมกับการดารงชีวิตและการ ประกอบอาชีพของคนในท้องถ่ิน รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการ การบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มอย่างสมดลุ และยัง่ ยนื 8. ศึกษา วิจัย ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเน่ืองมาจากแนวพระราชดาริ ในการปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย เพื่อการพัฒนาท้องถ่นิ เอกลกั ษณ์ แหลง่ เรยี นรู้ ภูมปิ ัญญา เพอื่ พฒั นาท้องถิน่ เช่ยี วชาญงานครู เชิดชูมรดกโลก อัตลกั ษณ์ มีวนิ ัย ใฝ่รู้ อตุ สาหะ สานกึ ดี มจี ิตอาสา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 8 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ค่ำนิยมองคก์ ร เสียสละ สามัคคี มีใจใฝร่ ู้ คณุ ลักษณะบัณฑิตทพี่ งึ ประสงค์ มหาวิทยาลัยมีเป้าประสงค์ในการผลิตบัณ ฑิตที่มีคุณ ภาพ คุณ ธรรม นาการพัฒ นาท้องถิ่น ด้วยการเป็น คนเก่งมีความรู้ รกั ท้องถ่ินและความเปน็ ไทย โดยมีคุณลกั ษณะบัณฑติ ที่พงึ ประสงคด์ ังนี้ 1. ด้ำนควำมรู้ มคี วามรใู้ นทางวิชาการ มคี วามรรู้ อบ สามารถประยุกตค์ วามรู้ 2. ดำ้ นควำมคดิ คดิ วเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ คดิ เชงิ บวก คิดสรา้ งสรรค์ 3. ด้ำนทักษะ มีทักษะการสื่อสารแลการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทางานเป็นทีม มีทักษะในการดารงชีวิตและการ ประกอบอาชพี ภายใตส้ งั คมพหวุ ฒั นธรรม 4. ด้ำนบุคลิกนิสยั มคี วามใฝ่รู้ อตุ สาหะ สานึกดี มีจิตอาสา นโยบำย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18 (1) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 สภามหาวิทยาลัย มี อานาจและหน้าที่ควบคุมดูแลกิจการท่ัวไปของมหาวิทยาลัยและโดยเฉพาะให้มีอานาจและหน้าท่ี (1) กาหนดนโยบายและอนุมัติ แผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยเก่ียวกับการศึกษา การวิจัย การให้บริการวิชาการแก่สังคม การผลิตแล ะส่งเสริมวิทยฐานะครู การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ จึงกาหนดนโยบายมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา ดังนี้ 1. เร่งรัดการผลิตบัณฑิต การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ยกระดับสู่ความเป็นเลิศและสอดคล้องกับ ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน 2. ส่งเสริมให้มีการผลิตงานวิจัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม องค์ความรู้ สืบสานโครงการอันเน่ืองมาจากแนว พระราชดาริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ตี อบสนองความตอ้ งการของสงั คมและสามารถแขง่ ขันได้ในระดับ กลมุ่ ประชาคมอาเซียน 3. เป็นศูนย์กลางการบริการ และเผยแพร่ข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียวท่ีเป็นเอกลักษณ์ของ อยุธยาเมืองมรดกโลก อยา่ งยั่งยืน 4. ส่งเสริม การสร้างเครือข่ายของการพัฒนาศักยภาพครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐาน วชิ าชพี เหมาะสมกับการเป็นวิชาชพี ช้ันสูง ทสี่ ามารถจดั การเรยี นการสอนไดอ้ ย่างมคี ุณภาพ 5. สนับสนุน ร่วมมือ พัฒนาคุณภาพของมหาวิทยาลัยให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพและการให้บริการทาง วชิ าการเพ่อื ส่งเสรมิ การเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต 6. สนับสนุน พัฒนา ถ่ายทอดเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพ่ือตอบสนองความต้องการของท้องถ่ินและสังคมสนับสนุนภูมิ ปัญญาท้องถ่ินสูภ่ มู ปิ ญั ญาสากล 7. ส่งเสริม สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของท้องถ่ิน ชุมชน อย่างคุ้มค่า เพื่อให้เกิดการจัดการ บารุงรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม พฒั นาสภาพแวดล้อมอยา่ งยงั่ ยนื มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 9 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

8. สนับสนุน พัฒนาการสร้างความร่วมมือในการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ความเป็นสากล โดยใชห้ ลักธรรมาภิบาล และนา วธิ กี ารบรหิ ารจัดการแนวใหม่มาใชใ้ นการพัฒนามหาวิทยาลยั 9. เร่งรัดให้มอี าจารย์คณุ วฒุ ิปรญิ ญาเอกและตาแหนง่ ทางวิชาการ เพ่อื พัฒนาศักยภาพดา้ นการสอนและ การวิจยั สู่ระดับสากล 10. เร่งรดั การพัฒนาคณุ ภาพของงานวจิ ยั ที่สามารถตอบสนองความต้องการของทอ้ งถ่ิน สามารถแขง่ ขนั ได้ในระดับสากล 11. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนด้านภาษาอังกฤษและภาษาใน กลมุ่ ประเทศอาเซียน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 10 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

แนะนำหนว่ ยงำน  คณะครศุ ำสตร์ การผลิตครูนับวา่ เป็นภารกิจท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยาได้ดาเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2448 นับมาถึงบัดนี้ เป็นเวลาหนึ่งศตวรรษแล้ว ถึงแม้ว่าขณะน้ีมหาวิทยาลัย สามารถเปิดสอนวิชาการในสาขาอ่ืนๆ มหาวิทยาลัยก็ยังตระหนักว่า การผลิตครูมีความสาคัญและจะต้องดาเนินการต่อไป โดยการลดปริมาณการผลิตครูลง แต่ในขณะเดียวกันก็มุ่งเน้นคุณภาพของ การผลิตครูให้เข้มข้นย่ิงข้ึน มีวิธีการสรรหาผู้ท่ีจะมาเรียนครู เพื่อจะได้เลือกสรรคนดีมีคุณธรรม และบุคลิกภาพเหมาะสมท่ีจะเป็น ครูท่ีดีในอนาคตมาเข้าเรียน ซ่ึงจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสังคมไทยในอนาคต นอกจากนั้นในการผลิตครู มหาวิทยาลัยได้กาหนดเป็นนโยบายที่จะพัฒนาการเรียนการสอน โดยมุ่งคุณภาพทางวิชาการควบคู่กันไปกับการพัฒนาด้าน คณุ ธรรม และจริยธรรมของนกั ศกึ ษาครอู ยา่ งจรงิ จงั นอกเหนือจากการผลิตครูตามหลักสูตรแล้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยายังมีภารกิจในการส่งเสริมวิทยฐานะ ครู ท้ังในรูปแบบของการฝึกอบรมครูประจาการ เพ่ือเพ่ิมพูนประสบการณ์ และวิทยฐานะของบุคลากรเหล่านั้นให้มีความรู้และ คณุ วฒุ ิสูงข้ึน และนอกจากน้ันยังจัดให้มีการอบรมครูระยะสั้นในหลักสตู รเฉพาะ โดยประสานงานกบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน สานักงานการศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยธุ ยา จึงไดท้ าหน้าท่สี ง่ เสรมิ วิทยฐานะครูอย่างสมบรู ณ์ กจิ กรรมคา่ ยวชิ าการแบบบูรณาการศาสตรพ์ ระราชา นิทรรศการแสดงผลงานการฝึกปฏิบัติการสอน สู่การพฒั นาครูโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ในสถานศึกษา1 ในจงั หวดั สระแกว้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 11 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

 คณะมนษุ ยศำสตรแ์ ละสังคมศำสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เร่ิมก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519 ในขณะท่ีเป็นวิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา โดยเปิดสอนในระดบั ป.กศ.สงู หลกั สตู ร 2 ปี พ.ศ. 2528 เร่มิ เปดิ สอนหลักสตู รศลิ ปศาสตรทัง้ ในระดบั ปรญิ ญา และอนุปรญิ ญา ในหลายสาขา พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” ให้แกว่ ิทยาลัย ครู ทาให้วทิ ยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กไ็ ด้ พัฒนามากข้ึนอย่างต่อเนอื่ ง โดยมีการเปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาต่างๆ เพิม่ มากข้นึ และหลากหลาย ท้งั ในระดบั ปริญญาตรี และ อนปุ ริญญา ทั้งภาคปกติ และภาคพิเศษ พ.ศ. 2545 ได้เร่ิมเปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ในภาคเรียนท่ี 1/2545 และ ได้ปรับปรุงหลักสูตรเป็น ยุทธศาสตร์การพัฒนา เพ่ือสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น รวมท้ังเปิดโครงการ จัดการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาสาหรบั ชมุ ชน (กศ.อช.) ทศ่ี ูนย์จังหวดั นครนายก และจังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2547 “สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา” ได้ปรับเปลี่ยนสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา” เป็นมหาวิทยาลัยท่ีได้รับการจัดตั้งเป็นมหาวทิ ยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 โดยได้มีผลบังคับใช้มา ตัง้ แตว่ ันท่ี 15 มิถนุ ายน 2547 เป็นต้นมา พ.ศ. 2549 มีการแบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2549 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา หน้า 16 เล่มที่ 123 ตอนที่ 74ง เมื่อวันท่ี 3 สิงหาคม 2549 มีผลบังคับใช้ ณ วันท่ี 23 มิถุนายน 2549 ได้ออกประกาศให้แบ่งส่วน ราชการในคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ออกเป็น 3 หน่วยงาน ดังนี้ 1. สานักงานคณบดี 2. ภาควชิ ามนษุ ยศาสตร์ 3. ภาควชิ าสงั คมศาสตร์ ปัจจุบันคณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตรม์ กี ำรบรหิ ำรงำนภำยในคณะ ดงั นี 1. สำนักงำนคณบดี มกี ารบริหารงานภายใน ประกอบดว้ ย 4 งาน ดงั น้ี 1.1 งานบริหารทัว่ ไป 1.2 งานบรหิ ารวิชาการและพัฒนาการเรยี นการสอน 1.3 งานบริการและพฒั นานกั ศกึ ษา 1.4 งานบณั ฑติ ศึกษา 2. ภำควิชำมนุษยศำสตร์ มกี ารบรหิ ารงานภายใน ประกอบดว้ ย 9 สาขาวชิ า 2 กลมุ่ วิชา ดังน้ี 2.1 สาขาวชิ าประยุกตศ์ ิลป์ 2.2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 2.3 สาขาวชิ าศิลปะการแสดง 2.4 สาขาวชิ าภาษาญี่ปุ่น 2.5 สาขาวิชาดนตรีศกึ ษา 2.6 สาขาวิชาดนตรีสากล 2.7 สาขาวชิ าภาษาไทย 2.8 สาขาวิชาการสอนภาษาจีน 2.9 สาขาวชิ าสหวทิ ยาการอิสลามเพือ่ การพัฒนา 2.10 กลมุ่ วิชาปรชั ญาและศาสนา 2.11 กลมุ่ วิชาบรรณารักษ์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 12 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

3. ภำควิชำสังคมศำสตร์ มีการบรหิ ารงานภายใน ประกอบด้วย 6 สาขาวชิ า 1 กลุ่มวชิ า ดงั น้ี 3.1 สาขาวิชาการพัฒนาชุมชนและสังคม 3.2 สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ 3.3 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ 3.4 สาขาวิชานติ ิศาสตร์ 3.5 สาขาวิชาการปกครองท้องถ่ิน 3.6 สาขาวชิ าประวัติศาสตร์ 3.7 กล่มุ วิชาภูมิศาสตร์ ปรชั ญำคณะมนุษยศำสตร์และสงั คมศำสตร์ “คุณภาพ คุณธรรม นอ้ มนาวิถไี ทย รว่ มใจพัฒนา กา้ วหน้าสมู่ าตรฐานสากล” วสิ ัยทัศน์คณะมนุษยศำสตร์และสงั คมศำสตร์ “ผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพและมีจิตสาธารณะเพื่อสังคม เป็นแหล่งเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ใหม่ เพื่อนาไปสู่การ พฒั นาทอ้ งถน่ิ ไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรมและย่ังยืน” พันธกิจคณะมนษุ ยศำสตรแ์ ละสังคมศำสตร์ 1. ผลติ บณั ฑติ ทีม่ ีคุณธรรม คุณภาพทางวชิ าการ และบคุ ลิกภาพดี 2. วิจยั เพ่อื พฒั นาและสรา้ งองคค์ วามร้ใู หม่ด้านมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตรท์ ีบ่ รู ณาการกบั ศาสตรอ์ ่ืนๆ เพือ่ การพัฒนาท้องถ่นิ และประเทศ 3. สง่ เสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ และของชาติ 4. เผยแพรอ่ งค์ความรู้ และให้บริการทางวชิ าการทต่ี อบสนองความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ 5. ศึกษาและสบื สานแนวพระราชดาริ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เอกลกั ษณ์คณะมนุษยศำสตร์และสงั คมศำสตร์ แหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญา เพ่ือพัฒนาท้องถ่นิ สมู่ าตรฐานสากล อตั ลกั ษณ์คณะมนษุ ยศำสตรแ์ ละสงั คมศำสตร์ ใฝร่ ู้ อตุ สาหะ สานกึ ดี มจี ติ อาสา งานรวมพลจติ สาธารณะกบั การทางานเพอื่ สังคม กจิ กรรมนเิ ทศปลอ่ ยของ ครง้ั ที่ 6 ประจาปี 2562 นาเสนอโครงการเพอื่ พฒั นาทกั ษะของนกั ศึกษาสกู่ ารพัฒนาชุมชน ตอน Music Space “ปล่อยใจไปกบั เพลง ครื้นเครงไปกับเพื่อน” มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 13 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

โครงการคา่ ยศลิ ปะโตโยต้า (Toyota Art Camp) โครงการเผยแพรค่ วามรกู้ ฎหมายครอบครวั และมรดกสชู่ ุมชน ครง้ั ที่ 2 ในพระราชดาริของสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ บูรณาการการเรยี นการสอนกับการบรกิ ารวชิ าการ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี กจิ กรรม “พัฒนาศักยภาพด้านศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์” กิจกรรมไหว้ครูและครอบครนู าฏศิลปไ์ ทย ประจาปี 2563 ให้ความรคู้ วามสามารถดา้ นศิลปะ ดนตรี เพ่ือแสดงกตเวทติ าคณุ แด่ครูอาจารย์ และนาฏศิลป์ ณ ชมุ ชนบา้ นลาว และโรงเรยี นวัดเยือ้ งคงคาราม อันเปน็ การส่งเสริมการการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมอนั ดี มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 14 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

 คณะวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีการดาเนินงานในด้านการเรียนการสอนผ่านหลักสูตรที่ยึดหลักมาตรฐานวิชาการและ วิชาชีพในระดับอุดมศึกษา โดยมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่ก้าวทันเทคโนโลยี สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพื่อพัฒนามาตรฐานการดารงชีวิต พัฒนากาลังคนที่สนองตอบต่อความต้องการของท้องถิ่นและประเทศชาติ ซึ่งใน ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นศาสตร์ท่ีมีบทบาทสาคัญมากขึ้น เป็นพ้ืนฐานสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะการสร้างนวัตกรรม (innovation) ท่ีตอบสนองนโยบายประเทศ และสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ซ่ึงการสร้างนวัตกรรมจาเป็นต้องใช้การเรยี นรู้ การสร้างสรรค์และการประยุกตใ์ ช้ความรจู้ ากองค์ความร้ใู หม่ๆ ก่อให้เกิด ผลผลิตที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม หลักสูตรในคณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีมี การปรับเปล่ียนเนื้อหาของหลักสูตรให้กา้ วหน้าทางวทิ ยาการ มุ่งเน้นการเรียนรู้ทฤษฎีควบคู่กบั ส่งเสรมิ การฝึกปฏิบัติ และยังมีการ จัดหาแหล่งเรียนรู้ระหว่างสถาบันการศึกษา สถานประกอบการ รวมท้ังแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ ซ่ึงนาไปสู่การพัฒนาสมรรถนะ ทางด้านวชิ าการและวิชาชีพมากขึ้น นอกจากนี้ยังส่งเสริมกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษาในด้านการใช้ชีวิต เพ่ือส่งเสริมให้ บัณฑิตท่ีสาเรจ็ การศึกษาสามารถดารงชีวติ ไดบ้ นฐานของความรอบร้คู วบคู่คุณธรรม จุดมุ่งหมายของการพัฒนาและการดาเนินการของหลักสูตรในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือผลิตบัณฑิตที่สามารถ ประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของสังคม ท้องถิ่นและประเทศชาติ โดยส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณลักษณะเป็นไปตาม เอกลักษณ์ของบัณฑิต ดังตอ่ ไปน้ี 1. บัณฑติ สามารถประกอบอาชีพท่ีใช้องค์ความรู้ทางด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ ในสถานประกอบการทั้ง ในภาครัฐ และเอกชนได้ 2. บัณฑิตสามารถใชพ้ ื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการสร้างสรรค์องค์ความรู้และนวตั กรรมท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการของทอ้ งถิ่นและประเทศ 3. บัณฑติ มจี ิตสานึกดีในด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม รวมทง้ั การมเี จตคติทด่ี ีในการประกอบอาชีพ สัปดาห์วิทยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ พิธไี หวค้ รูพระคณุ ทสี่ าม Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 15

กจิ กรรมค่ายรกั ษว์ ิทย์ ณ ทอ้ งฟ้าจาลอง มอบเจลแอลกอฮอลใ์ ห้กับมหาวิทยาลัย การเรียนการสอน กิจกรรมบรกิ ารวิชาการให้กบั นักเรียน กจิ กรรมสัมมนาผู้นานกั ศึกษา กิจกรรมรับนอ้ งคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 16 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

 คณะวิทยำกำรจัดกำร คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เปน็ หน่วยราชการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ทม่ี ีพัฒนาการ จากคณะวิชาวิทยาการจัดการ วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2527 ที่จัดสอนกลุ่มวิชาด้านบริหารธุรกิจและการจัดการ ให้กับคณะต่างๆ ท่ีเลือกเรียนวิชาพื้นฐานหลักๆ ท่ีสาคัญ เช่น วิชาเศรษฐศาสตร์ วชิ าการสหกรณ์ วิชาการตลาด วิชาด้านการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ปีต่อๆมา เร่ิมเปิดสอนหลักสูตรในคณะวิชาวิทยาการจัดการของตนเอง ในระดับอนุปริญญา เช่น วิชาเอกการ จัดการท่ัวไป วิชาเอกบริหารธุรกิจ และเริ่มรับอาจารย์เพิ่มขึ้นตามจานวนนักศึกษาท่ีมากข้ึนเรื่อยๆ รวมท้ังรับโอนอาจารย์ในวุฒิ การศึกษาที่ตรงกับสาขาวิชาท่ีเปิดสอน ในปีพ.ศ. 2538 วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา ได้รับการยกฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาตาม พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 คณะวิชาวิทยาการจัดการ เปิดสอนในหลายสาขามากข้ึน ทั้งระดับปริญญาตรี และ อนุปริญญา ต่อมาปี พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้รับการยกฐานะอีกคร้ังเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา และคณะวิชาวิทยาการจัดการ และปรับเป็นคณะวิทยาการจัดการและสามารถเปิดสอนระดับปริญญาโท ด้าน บริหารธุรกิจเป็นผลสาเร็จ ในปี พ.ศ. 2548 และในปัจจุบันได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ๆ ที่ทันสมัยเพ่ิมข้ึน เช่น หลักสูตรเศรษฐศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเงินการธนาคาร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว หลักสูตรบัญชีบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตในสาขาต่างๆ เช่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการบริหารทรัพยากร มนุษย์ สาขาวชิ าการตลาด สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจชุมชน รวมถงึ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโรงแรม ซึ่ง เป็นหลักสูตรภาษาอังกฤษ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษ และหลักสูตรการจัดการธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ซึ่งเป็นหลักสูตร ปฏิบัติการ (Work Integrated Learning : WIL) โดยความร่วมมือกับภาคเอกชน (บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน)) และหลักสูตร บรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ ปรชั ญำคณะวิทยำกำรจัดกำร “ความรู้ คคู่ ุณธรรม นาการพัฒนาท้องถิ่นอยา่ งยั่งยืน” วสิ ัยทศั น์คณะวทิ ยำกำรจัดกำร “เปน็ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ ทบี่ ณั ฑติ มีสมรรถนะ เพ่ือพฒั นาทอ้ งถน่ิ อย่างย่ังยืน ภายในปี 2564” พันธกิจคณะวิทยำกำรจัดกำร 1. ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ คูค่ ุณธรรม นาการพัฒนาสู่ชุมชนและท้องถนิ่ 2. ปรับปรุงและพัฒนาหลกั สตู ร การจดั การเรยี นการสอน ให้นักศกึ ษามสี มรรถนะ รู้จักสร้างงานและพึง่ พาตนเอง 3. พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ธุรกิจจาลองและเศรษฐกิจพอเพียง ให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ โดยการปฏิบัติจริง และ เรียนรู้กบั หน่วยงานในมหาวิทยาลยั ท่ีดาเนินงานตรงกับหลักสตู รในคณะและหน่วยงานภายนอก เพือ่ พฒั นาชุมชนและทอ้ งถิ่น 4. คณาจารย์ร่วมแรงร่วมใจ พัฒนางานวจิ ัย บริการวชิ าการและทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมโดยการบูรณาการกับการ จดั การเรียนการสอนเพอื่ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของชมุ ชนและท้องถนิ่ อย่างยัง่ ยนื เอกลักษณ์คณะวิทยำกำรจัดกำร แหล่งเรียนรู้ดา้ นการบริหารจดั การทางธุรกจิ เพอ่ื ชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 17 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อัตลักษณค์ ณะวทิ ยำกำรจดั กำร มวี นิ ัย ใฝร่ ู้ อตุ สาหะ สานึกดี มีจติ อาสา ค่ำนิยมองค์กรคณะวิทยำกำรจัดกำร รกั ษห์ น้าที่ สามัคคี มคี วามรับผิดชอบ กจิ กรรมอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม และปลูกฝงั ความเป็นไทย กิจกรรมสานสมั พนั ธ์ เสริมสขุ ภาพวทิ ยาการจัดการ ครง้ั ที่ 5 “ทาบญุ ไหว้พระ ฟังธรรมะ แตง่ ชุดไทย” กจิ กรรมวิทยาการจัดการวิชาการ ครั้งท่ี 9 กจิ กรรมปฐมนเิ ทศและประกันคณุ ภาพนักศึกษาใหม่ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 18 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

 สถำบนั อยุธยำศึกษำ สถาบันอยุธยาศึกษา ลักษณะอาคารเป็นเรือนไทยหมู่ภาคกลาง อยู่ระหว่างจวนผู้วา่ ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยากับ ศูนย์ศึกษาประวตั ิศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นหน่วยงานในสังกัดของมหาวทิ ยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ที่ดาเนินงานด้าน การศึกษา ค้นคว้า วิจัย และสืบค้นข้อมูล เกยี่ วกับประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปะและวฒั นธรรม วิถชี ีวิตและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ให้การส่งเสริมสนับสนุนในการผลิตบัณฑิต การอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมไทย สามารถใช้เปน็ แหล่ง เรียนรู้ ให้การบริการข้อมูลเกี่ยวกับอยุธยาศึกษา ศิลปะและวัฒนธรรมการละเล่นพ้ืนเมือง คติชนวิทยาของภาคกลางแก่ผู้สนใจ ท่วั ไปท้งั ในระดบั ท้องถ่นิ และระดบั ชาติ สถาบันอยุธยาศึกษา มีผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีดาเนินงานจานวนทั้งสิ้น 17 คน โดยการดาเนินงานแบ่งส่วนราชการใน สานกั งานผอู้ านวยการสถาบนั อยธุ ยาศึกษา ออกเป็น 5 กลุ่มงานดงั นี้ 1. งำนบรหิ ำรงำนท่ัวไป ปฏิบัติงานธุรการ งานการเงิน พัสดุ ครุภัณฑ์ จัดทาแผนงาน โครงการ ระบบงานประกัน คณุ ภาพ จดั ทาสอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ และการใหเ้ ชา่ สถานท่จี ัดกิจกรรมทางวฒั นธรรมและประเพณไี ทย ฯลฯ 2. งำนศิลปวัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม สนับสนุน ส่งเสริมงานวิจัยและสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ด้านอยุธยาศึกษา เพ่ือ พัฒนาองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวชิ าการด้านอยุธยา ศึกษา สร้างเครือข่ายท้องถิ่นด้านอยุธยาศึกษา ปฏิบัติงานเพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสานึก ทางด้านจริยธรรม คุณธรรม ดาเนินงานตามนโยบายด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม จดั อบรมเผยแพร่ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั งานอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมท้องถิ่น ฯลฯ 3. งำนอยุธยำศึกษำ ให้บริการห้องศูนย์ข้อมูล สารสนเทศเก่ียวกับอยุธยาศึกษารวบรวมตารา เอกสารงานวิจัย ให้บริการห้องสมุดทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒ นธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ินให้บริการข้อมูลด้านอยุธยาศึกษา เช่น เอกสาร วรรณกรรมท้องถ่ิน ภาพและเสียง ให้บริการสืบค้นข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ สารวจความต้องการในการกาหนด หัวข้อการอบรมสัมมนาด้านอยุธยาศึกษา จัดประชุม อบรม สัมมนาทางวิชาการ ฯลฯ โดยมีนักวิชาการศึกษาให้บริการทุกวัน ยกเวน้ หยุดนกั ขัตฤกษ์ 4. หอศิลป์จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียน ภาพวาดของศิลปินที่เกี่ยวข้องกับจังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา ให้บริการแก่นักทอ่ งเทยี่ วทกุ วัน เพอ่ื เป็นแหลง่ เรยี นรู้แก่นักศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไป ฯลฯ 5. ศนู ย์ท่องเทย่ี วทำงวัฒนธรรมและภมู ิปญั ญำทอ้ งถนิ่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ให้บรกิ ารนิทรรศการหมุนเวยี น เช่น ให้ความรู้เร่ืองเรือนไทยภาคกลาง นิทรรศการหัวโขน นิทรรศการแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา ฯลฯ กิจกรรมทสี่ ถำบันอยุธยำศกึ ษำ ให้บริกำรแก่นักศึกษำ และประชำชนท่วั ไป กิจกรรมวันสำคญั ทำงศำสนำ เช่น วันลอยกระทง วันสงกรานต์ พิธีทาบุญวัดบรมพทุ ธาราม พิธเี วียนเทียนในวันสาคัญ ตา่ ง ๆ กจิ กรรมวนั อนรุ กั ษม์ รดกไทย กิจกรรมเผยแพร่องค์ควำมรู้วัฒนธรรมอยุธยำ เช่น การจัดทาวารสารวิชาการอยุธยาศึกษา กิจกรรมนาเสนอผลงาน วิชาการและงานวิจัยอยุธยาศึกษา กิจกรรมสัมมนาการอนุรักษ์และพัฒนาอยุธยาเมืองมรดกโลก กิจกรรมสัมมนาอยุธยาศึกษา วชิ าการ กิจกรรมอบรมใหค้ วามรู้เรื่องอยุธยาศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 19 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

กจิ กรรมทำนุบำรงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรมท้องถนิ่ เชน่ กจิ กรรมสร้างสรรค์ศลิ ปถ์ ิน่ มรดกโลก กจิ กรรมยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ บคุ คลผมู้ ผี ลงานดเี ดน่ ทางการศกึ ษา ศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย กจิ กรรมอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรม กจิ กรรมค่ายวัฒนธรรม กิจกรรมสืบสำนโครงกำรตำมพระรำชดำริและนำศำสตร์พระรำชำสู่กำรพัฒนำอย่ำงย่ังยืน เช่น โครงการอบรมเชิง ปฏบิ ตั ิการตามรอยศาสตรพ์ ระราชาสู่การพฒั นาทอ้ งถน่ิ อย่างยัง่ ยืน กิจกรรมศึกษำและเผยแพร่องค์ควำมรู้ด้ำนภูมิปัญญำท้องถ่ิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ และเขตพืนที่บริกำร เช่น งานวิจัย และศึกษา เผยแพร่องค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเขตพ้ืนท่ีบริการ กิจกรรม ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในโรงเรียนและชุมชน โครงการลานวัฒนธรรมอยุธยาน่ายล โครงการอบรม ยุวมัคคุเทศก์อาสาท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมอยุธยา โครงการท่องเท่ียวอยุธยาเมืองมรดกโลก : เส้นทางท่องเท่ียวคลองสระบัว โครงการศูนยข์ ้อมูลท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม อยธุ ยา-มรดกโลก กิจกรรมของสำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม (หน่วยอนุรักษ์ฯ) เช่น โครงการสัมมนา การอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โครงการอบรมอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติและ ศลิ ปกรรมท้องถน่ิ จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา กจิ กรรมขององค์กำรบริหำรส่วนจงั หวัดพระนครศรีอยุธยำ เชน่ โครงการพัฒนาศูนย์ข้อมูลอยุธยาศกึ ษา และกจิ กรรม สอนนอ้ งเรยี นศลิ ป์ ทาบญุ วดั บริมพุทธาราม กิจกรรมเวียนเทยี่ นในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา โบราณสถานทีส่ าคัญในมหาวิทยาลัยฯ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 20 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

กิจกรรมอบรมศิลปะและวัฒนธรรมอยธุ ยา กจิ กรรมอบรมตามรอยศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 21 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

กำรแบ่งสว่ นรำชกำรภำยในมหำวทิ ยำลัยรำชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยำ สำนกั งำนอธิกำรบดี 1. กองกลำง 2. กองนโยบำยและแผน 1.1 งานบริหารงานทัว่ ไป 2.1 งานบรหิ ารงานทั่วไป 1.2 งานการเงิน 2.2 งานติดตามและประเมนิ ผล 1.3 งานกิจการสภามหาวิทยาลัยและคณะกรรมการ 2.3 งานประกันคุณภาพ 1.4 งานช่วยอานวยการผู้บรหิ าร 2.4 งานแผนงานและงบประมาณ 1.5 งานตรวจสอบภายใน 2.5 งานวเิ ทศสัมพนั ธ์ 1.6 งานทรัพยากรบคุ คล 2.6 งานสถติ กิ ารศกึ ษาและสารสนเทศ 1.7 งานนติ กิ าร 2.7 โครงการจัดตง้ั ศนู ยภ์ าษาและการศึกษานานาชาติ 1.8 งานบรกิ ารและฝกึ อบรม 1.9 งานบรหิ ารทรัพย์สนิ และจดั หารายได้ 3. กองบริกำรกำรศึกษำ 1.10 งานบัญชี 3.1 งานบริหารงานท่ัวไป 1.11 งานพสั ดุ 3.2 งานทะเบยี นและประมวลผล 1.12 งานสอ่ื สารองคก์ ร 3.3 งานบณั ฑติ ศกึ ษา 1.13 งานอาคารสถานท่ีและซอ่ มบารงุ 3.4 งานหลักสูตรและแผนการเรียน 1.14 งานวศิ วกรรมและภูมสิ ถาปัตย์ 3.5 ศูนย์สหกิจศึกษา 1.15 ศนู ยน์ วัตกรรมและดจิ ิทลั เพอ่ื การเรยี นรู้ 3.6 ศนู ยบ์ รหิ ารหมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 1.16 ศนู ย์หนงั สอื 4. กองพัฒนำนักศึกษำ 4.1 งานบริหารงานทว่ั ไป 4.2 งานบรกิ ารและสวสั ดกิ ารนักศึกษา 4.3 งานพฒั นานกั ศึกษา 4.4 งานให้คาปรึกษา แนะแนวการศึกษา และอาชพี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 22 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

คณะครศุ ำสตร์ 1. งานบรหิ ารงานทัว่ ไป 6. โรงเรียนประถมสาธติ 2. งานบริการและพัฒนานักศึกษา 7. โรงเรียนสาธติ ปฐมวัย 3. งานบรหิ ารวิชาการและพฒั นาการเรยี นการสอน 8. ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ 4. งานบณั ฑติ ศกึ ษา 9. ศูนยพ์ ัฒนาครู ผูบ้ ริหาร และบุคลากรทางการศกึ ษา 5. โรงเรียนสาธติ มัธยม คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ 1. สานักงานคณบดี 1.1 งานบรหิ ารงานทว่ั ไป 1.2 งานบรกิ ารและพฒั นานกั ศึกษา 1.3 งานบรหิ ารวชิ าการและพัฒนาการเรียนการสอน 1.4 งานบัณฑติ ศึกษา 2. ให้มีงานบริหารงานทว่ั ไปในภาควชิ ามนุษยศาสตร์ 3. ให้มงี านบริหารงานทว่ั ไปในภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะวิทยำกำรจัดกำร 1. งานบริหารงานทั่วไป 4. งานบัณฑติ ศึกษา 2. งานบริการและพฒั นานักศกึ ษา 5. งานฝึกประสบการณ์วิชาชีพและสหกิจศึกษา 3. งานบริหารวชิ าการและพฒั นาการเรียนการสอน 6. ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาการท่องเทย่ี ว คณะวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 1. สานักงานคณบดี 2. ให้มีงานบริหารงานทว่ั ไปในภาควิชาวิทยาศาสตร์ 1.1 งานบริหารงานทว่ั ไป 3. ให้มีงานบรหิ ารงานทวั่ ไปในภาควิชาวทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ 1.2 งานบริการและพัฒนานักศึกษา 1.3 งานบริหารวิชาการและพฒั นาการเรียนการสอน 1.4 งานบณั ฑิตศกึ ษา 1.5 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.6 ศูนยศ์ กึ ษาดาราศาสตร์ 1.7 ศูนยส์ ะเต็มศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 23 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สถำบนั วิจยั และพฒั นำ 1. สานกั งานผู้อานวยการ 1.1 งานบรหิ ารงานทั่วไป 1.2 งานบรกิ ารวิชาการ 1.3 งานวจิ ัย 1.4 งานยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาท้องถ่นิ สถำบนั อยธุ ยำศึกษำ 1. สานกั งานผู้อานวยการ 1.1 งานบรหิ ารงานท่วั ไป 1.2 งานศิลปวัฒนธรรมและสิง่ แวดลอ้ ม 1.3 งานอยธุ ยาศกึ ษา 1.4 หอศลิ ปจ์ งั หวดั พระนครศรอี ยุธยา 1.5 ศนู ย์ทอ่ งเท่ียวทางวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา สถำบันอยธุ ยำศกึ ษำ 1. สานักงานผ้อู านวยการ 1.1 งานบริหารงานท่ัวไป 1.2 งานบริการทรัพยากรสารสนเทศ 1.3 งานบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.4 งานบริหารระบบสารสนเทศ 1.5 งานพฒั นาทรัพยากรสารสนเทศ 1.6 งานพฒั นาระบบและวิเคราะหข์ ้อมลู 1.7 งานวทิ ยวชิ าการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 24 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

รำยนำมคณะผู้บรหิ ำร พ.ศ. 2563 1. รศ.ดร.ชสู ทิ ธิ์ ประดับเพ็ชร์ อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 2. นายจิรศักดิ์ ชุมวรานนท์ รองอธิการบดี ฝา่ ยยุทธศาสตร์และแผนงาน 3. ผศ.ดร.กรองทพิ ย์ เนยี มถนอม รองอธิการบดี ฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการ 4. ผศ.ดร.กมลวรรณ วรรณธนงั รองอธิการบดี ฝ่ายวจิ ัย นวตั กรรม และพัฒนาท้องถิน่ 5. ผศ.ดร.ธาตรี มหันตรัตน์ รองอธิการบดี ฝ่ายบริหารทรพั ยากร 6. ดร.นพดล ปรางค์ทอง รองอธิการบดี ฝา่ ยพฒั นานักศกึ ษาและกิจการสภามหาวิทยาลัย 7. ผศ.บญุ ไท เจรฐิ ผล ผู้ช่วยอธิการบดี ฝา่ ยประกันคุณภาพการศึกษา 8. นายนรินทร์ อุ่นแกว้ ผูช้ ่วยอธิการบดี ฝ่ายงานบริหารทว่ั ไปและกฎหมาย 9. นางสาวสดุ ารตั น์ เกลี้ยงสอาด ผ้ชู ว่ ยอธิการบดี ฝ่ายกิจการพิเศษ 10. ผศ.ดร.สุวทิ ย์ ไวยกุล คณบดีคณะครุศาสตร์ 11. รศ.ดร.ภาคิน โชตเิ วศย์ศิลป์ คณบดคี ณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 12. ผศ.ดร.วิมลพรรณ ร่งุ พรหม คณบดคี ณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 13. รศ.ดร.อัจฉรา หล่อตระกลู คณบดีคณะวิทยาการจดั การ 14. ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ผู้อานวยการสถาบันอยธุ ยาศกึ ษา 15. ผศ.ดร.สุจติ กัลยา มฤครัฐอนิ แปลง ผ้อู านวยการสถาบันวจิ ัยและพฒั นา 16. ผศ.สาโรช ปุริสังคหะ ผู้อานวยการสานกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 17. ผศ.ดร.อภิชาติ พานสวุ รรณ ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการบณั ฑติ ศึกษา 18. นางลักขณา เตชวงษ์ ผู้อานวยการสานักงานอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 25 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

คณะกรรมกำรบริหำรคณะครุศำสตร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ ไวยกลุ ดร.ปารณยี ์ ขาวเจริญ คณบดีคณะครุศาสตร์ ดร.วรวุฒิ ธาราวุฒิ รองคณบดฝี า่ ยวิชาการ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประวทิ ย์ ประมาน รองคณบดฝี า่ ยกิจการนักศกึ ษา นางสาวกาญจนา เงินออ่ น รองคณบดีฝา่ ยวางแผนและประกันคณุ ภาพ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ภัทราวรรณ จันทร์เนตร์ หัวหนา้ สานกั งานคณบดี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรี ะวัฒน์ มอนไธสง ผอู้ านวยการโรงเรียนสาธติ ปฐมวัย ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ปิยะ มอี นนั ต์ ผู้อานวยการโรงเรียนประถมสาธิต ดร.กงิ่ สร เกาะประเสริฐ ผูอ้ านวยการโรงเรียนสาธติ มธั ยม ดร.ปารณีย์ ขาวเจรญิ หัวหนา้ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ ประธานกลุ่มวิชาชีพครู อาจารยส์ ุพัตรา ฟักออ่ น ประธานกรรมการบริหารหลักสูตร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ภรภทั ร นิยมชัย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรสิ รา จุ้ยดอยกลอย  การประถมศึกษา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์จนั จริ า หาวชิ า  การศึกษาปฐมวยั อาจารยร์ กั ษมน ยอดมงิ่  การศึกษาพิเศษ อาจารย์สุพินดา เพชรา  การสอนภาษาไทย ดร.ศิริพล แสนบญุ สง่  การสอนภาษาอังกฤษ ผชู้ ่วยศาสตราจารยช์ นกานต์ ขาวสาลี  คณติ ศาสตร์ อาจารย์พชั ราภร พูลบุญ  คอมพิวเตอรศ์ กึ ษา ดร.สมกมล กาญจนพิบลู ย์  พลศกึ ษา  วิทยาศาสตร์  สังคมศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 26 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะครศุ ำสตร์ ลำดับท่ี ชอื่ - สกลุ วฒุ ิกำรศกึ ษำสูงสุด สังกดั สำขำวิชำ 1 ผศ.ดร.ชมพูนทุ สุขหวาน กศ.ด. (การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) กลุม่ วิชาชีพครู 2 ดร.ชัยยศ เดชสุระ ค.ด. (อุดมศึกษา) กลมุ่ วิชาชพี ครู 3 ผศ.ดร.พรเทพ รู้แผน ค.ด. (บริหารการศกึ ษา) กลุ่มวิชาชพี ครู 4 ดร.รวีวตั ร์ สริ ิภูบาล กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา) กลุ่มวิชาชีพครู 5 ผศ.ดร.อมรรตั น์ สนนั่ เสยี ง กศ.ด. (วจิ ยั และประเมนิ ผลการศึกษา) กลมุ่ วิชาชีพครู 6 ดร.นริสานันท์ แมนผดงุ ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) กลมุ่ วิชาชีพครู 7 นางสาวกนกพร ศรที องแดง วท.ม. (ชวี วิทยา) กลุ่มวิชาชีพครู 8 นางสาวจุฑามาส นลิ คง กศ.ม. (การศึกษาปฐมวยั ) กลุ่มวิชาชีพครู 9 นางณัฏชญา ธาราวุฒิ ศษ.ม. (จติ วทิ ยาการศึกษา) กลุ่มวิชาชีพครู 10 ดร.ธานี ชกู าเนดิ ศษ.ด. (ภาวะผนู้ าและนวัตกรรมทาง กลมุ่ วิชาชพี ครู 11 ผศ.ดร.ธรี ะวฒั น์ มอนไธสง การศึกษา) ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) กลมุ่ วิชาชพี ครู 12 ผศ.ดร.บรบิ ูรณ์ ชอบทาดี ค.ด. (เทคโนโลยแี ละสอื่ สาร กลมุ่ วิชาชีพครู 13 ดร.ปารณีย์ ขาวเจริญ การศึกษา) กลุ่มวิชาชีพครู 14 นายพิเชษฐ์ อย่สู ด ปร.ด. (วิทยาการทางการศึกษาและ กลมุ่ วิชาชีพครู การจัดการเรยี นร)ู้ ศศ.ม. (ทศั นศิลปศึกษา) 15 นายพิศาล สีสด ศศ.ม. (ดนตรีศกึ ษา) กลุ่มวิชาชพี ครู 16 นางสาววนิดา เรอื งศาสตร์ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) กลุ่มวิชาชีพครู 17 ดร.วชั รภทั ร เตชะวฒั นศิรดิ ารง Ed.D (Curriculum and Instruction) กลุม่ วิชาชพี ครู 18 นางสาววิจติ รตา โป๊ะฮง ศษ.ม. (จติ วทิ ยาการศึกษา) กลุ่มวิชาชพี ครู 19 นางสาววิลาสนิ ี วันปาน ศษ.ม. (การสอนวทิ ยาศาสตร)์ กลุ่มวิชาชพี ครู 20 นางสาวศาสตร์บุญธาภา กศ.ม. (การศึกษาปฐมวยั ) กลุ่มวิชาชีพครู ฤทธธิ์ นัตถ์โรจ ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) กลมุ่ วิชาชพี ครู 21 นางสาวสุพัตรา ฟกั ออ่ น 22 ดร.อศิ รา รุ่งทวชี ัย ปร.ด. (จิตวิทยาการปรกึ ษา) กลุ่มวิชาชีพครู มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 27 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะครศุ ำสตร์ ลำดบั ที่ ชอื่ - สกลุ วุฒิกำรศกึ ษำสงู สุด สงั กดั สำขำวชิ ำ 23 นางสาวจิราภรณ์ มสี ง่า กศ.ม. (การวดั ผลการศึกษา) การประถมศึกษา 24 การประถมศึกษา 25 ผศ.รัชดาภรณ์ ตณั ฑิกลุ กศ.ม. (การประถมศึกษา) การประถมศึกษา 26 นางสาวอัจฉราพรรณ กนั สุยะ กศ.ม. (การวิจัยและสถติ ิทางการ การศึกษาปฐมวยั 27 ผศ.บุญไท เจริญผล ศกึ ษา) การศึกษาปฐมวยั 28 การศึกษาปฐมวัย กศ.ม. (การศึกษาปฐมวยั ) 29 การศึกษาปฐมวยั 30 ผศ.ดร.สุภทั รา คงเรอื ง ค.ด. (การศกึ ษาปฐมวัย) การศึกษาปฐมวยั 31 การศึกษาพิเศษ 32 ดร.ธนาวรรณ รกั ษาพงษพ์ านิช Ed.D (Early Childhood การศึกษาพิเศษ 33 ผศ.ภรภทั ร นยิ มชัย Education) การศึกษาพิเศษ 34 การศึกษาพเิ ศษ 35 กศ.ม. (การศึกษาปฐมวยั ) การสอนภาษาไทย 36 การสอนภาษาไทย 37 ผศ.ภทั ราวรรณ จนั ทร์เนตร์ ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย) การสอนภาษาไทย 38 การสอนภาษาอังกฤษ ดร.ก่ิงสร เกาะประเสรฐิ Ph.D. (Special Education) 39 การสอนภาษาองั กฤษ นางสาวชนิกา จิตจักร ศศ.ม. (ภาษาไทย) 40 การสอนภาษาอังกฤษ 41 ดร.พัชนี บญุ รัศมี กศ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) การสอนภาษาอังกฤษ 42 ผศ.ดร.วรสิ รา จ้ยุ ดอนกลอย กศ.ด. (การศึกษาพิเศษ) การสอนภาษาองั กฤษ 43 คณิตศาสตร์ ผศ.จนั จริ า หาวิชา ศศ.ม. (ภาษาไทย) 44 คณติ ศาสตร์ นางวิชลดา รอดแก้ว อ.ม. (ภาษาไทย) ผศ.หน่ึงฤทัย ชวนะลิขกิ ร ศศ.ม. (ภาษาไทย) นางกรกนก ฮปั เปิล M.Sc. (Teaching English to นางสาวนฤมล ตันตชิ าติ Speakers of Other Languages) นางเนตรนิภา เจยี มศักด์ิ ศษ.ม. (การสอนภาษาอังกฤษในฐานะ ภาษาตา่ งประเทศ) ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์เพือ่ การส่ือสาร) ผศ.ภธั ภร หลง่ั ประยูร ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษเพ่อื วัตถุประสงค์ นางรักษมน ยอดมิ่ง เฉพาะ) ศศ.ม. (ภาษาศาสตรเ์ พือ่ การส่ือสาร) ผศ.ดร.ปยิ ะธิดา ทองอรา่ ม ค.ด. (การวดั และประเมินผล นางสาวศิรริ ตั น์ ชาวนา การศึกษา) ศษ.ม. (คณติ ศาสตรศกึ ษา) มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 28 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ลำดบั ที่ ช่ือ - สกุล อำจำรย์ประจำคณะครศุ ำสตร์ สังกดั สำขำวชิ ำ คณติ ศาสตร์ 45 นายสริ ภพ สินธุประเสริฐ วฒุ กิ ำรศึกษำสงู สดุ คณิตศาสตร์ กศ.ม. (การสอนคณิตศาสตร์) คณิตศาสตร์ 46 ผศ.สิอร หาสาสนศ์ รี คณิตศาสตร์ วท.ม. (คณติ ศาสตร)์ คอมพิวเตอรศ์ ึกษา 47 นางสาวสุพินดา เพชรา ศษ.ม. (คณติ ศาสตรศึกษา) คอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 48 นางสาวนพวรรณ จานวน คอมพวิ เตอร์ศึกษา ศษ.ม. (วิจยั และสถิติการศึกษา) คอมพิวเตอรศ์ ึกษา 49 ผศ.ดร.สวุ ทิ ย์ ไวยกุล คอมพิวเตอรศ์ ึกษา ค.ด. (เทคโนโลยแี ละส่ือสาร คอมพวิ เตอร์ศึกษา 50 นายกิตตภิ พ มหาวนั การศึกษา) พลศกึ ษา 51 นายศักดา จันทราศรี วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) 52 ผศ.ดร.สุวนติ ย์ รุ่งราตรี พลศกึ ษา 53 ผศ.ดร.นิป เอมรัฐ กจ.ม. (การจดั การ) พลศึกษา 54 ดร.ศิรพิ ล แสนบุญสง่ พลศึกษา 55 ผศ.วชั รนิ ทร์ เสมามอญ ปร.ด. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) พลศึกษา 56 ผศ.ชนกานต์ ขาวสาลี Ph.D. (Development Education) วิทยาศาสตร์ 57 ผศ.ดร.ประวิทย์ ประมาน วทิ ยาศาสตร์ 58 ดร.วรวฒุ ิ ธาราวุฒิ ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) วิทยาศาสตร์ 59 ผศ.เสาวลกั ษณ์ ประมาน วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์การออกกาลัง วทิ ยาศาสตร์ 60 นายพัชรพล เถาธรรมพิทกั ษ์ กายและการกฬี า) วิทยาศาสตร์ 61 นางสาวพัชราภร พูลบุญ ศศ.ม. (พลศึกษา) สังคมศกึ ษา 62 นางสาวภทั รภร พิกุลขวัญ ค.ด. (พลศกึ ษา) 63 นางสาวภูษณิศา สุวรรณศลิ ป์ 64 นางสาววชิ ชุดา พลยางนอก ปร.ด. (วิทยาศาสตร์การกฬี าและการ ออกกาลังกาย) 65 นายนรเศรษฐ์ เตชะ ศษ.ม. (พลศกึ ษา) ศศ.ม. (การสอนวิทยาศาสตร)์ ศศ.ม. (ศึกษาศาสตร์-การสอน วิทยาศาสตร์) กศ.ม. (ชีววิทยา) วท.ม. (ฟสิ ิกส์) ศษ.ม. (การศึกษาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลย)ี ศษ.ม. (การสอนสงั คมศึกษา) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 29 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ลำดบั ท่ี ช่อื - สกุล อำจำรยป์ ระจำคณะครุศำสตร์ สงั กัดสำขำวิชำ สังคมศกึ ษา 66 ผศ.ปยิ ะ มอี นันต์ วฒุ กิ ำรศึกษำสงู สุด สังคมศึกษา ร.ม. (การเมืองการปกครอง) สังคมศึกษา 67 นายพัสสกรณ์ วิวรรธมงคล ศษ.ม. (การสอนสังคมศึกษา) ปร.ด. (วฒั นธรรมศาสตร์) 68 ดร.สมกมล กาญจนพบิ ูลย์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 30 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

คณะกรรมกำรบริหำรคณะมนุษยศำสตรแ์ ละสงั คมศำสตร์ คณบดคี ณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาคนิ โชติเวศยศ์ ิลป์ รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการและวเิ ทศสมั พนั ธ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์มนู ีเราะฮ์ ยีดา รองคณบดฝี า่ ยบริหารและแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จรยิ าภรณ์ รจุ โิ มระ รองคณบดีฝา่ ยกจิ การนกั ศกึ ษาและประกันคุณภาพ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ปกาศิต เจมิ รอด รองคณบดฝี า่ ยศิลปวฒั นธรรมและประชาสัมพนั ธ์ อาจารยว์ ชิ ชลุ ดา ตันประเสริฐ หัวหนา้ สานักงานคณบดี นางอรญั ญา จงกลรตั น์ หัวหนา้ ภาควชิ าสังคมศาสตร์ อาจารย์ ดร.เอนก รกั เงิน หวั หน้าภาควิชามนษุ ยศาสตร์ อาจารยป์ ราโมทย์ ระวนิ ประธานกลมุ่ วิชาปรชั ญาและศาสนา อาจารยภ์ วู มนิ ทร์ วาดขยี น ประธานกล่มุ วิชาบรรณารักษศาสตร์ อาจารย์ทศั นี สทุ ธวิ งศ์ ประธานกลมุ่ วิชาภมู ิศาสตร์ อาจารยส์ ุมาลินี สาดสา่ ง ประธานกรรมการบริหารหลักสตู ร อาจารย์สุรศักด์ิ ศรธี รรมกุล  การปกครองท้องถิ่น ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สธุ ี โกสทิ ธิ์  การพัฒนาชุมชนและสงั คม ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยส์ ุรศักด์ิ เพชรคงทอง  ดนตรีศึกษา อาจารยก์ ลุ ธรี ์ บรรจแุ ก้ว  ดนตรสี ากล อาจารยอ์ ิทธิเทพ หลีนวรัตน์  นเิ ทศศาสตร์ อาจารยต์ ราดลุ นรนิติผดุงการ  นิตศิ าสตร์ อาจารย์ศุภสตุ า ปรเี ปรมใจ  ประวตั ศิ าสตร์ อาจารยธ์ ัญญารตั น์ มะลาศรี  การสอนภาษาจนี อาจารย์ วา่ ท่ี ร.ต.สพุ รชยั ปยิ ะรตั น์วนกลุ  ภาษาญ่ปี ุน่ อาจารยส์ ุวฒั ชัย คชเพต  ภาษาไทย อาจารย์เอกรัตน์ คณาพร  ภาษาอังกฤษ ผชู้ ่วยศาสตราจารยช์ นิกานต์ ผลเจริญ  รฐั ประศาสนศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รตั นา รักสกุลพาณิชย์  ประยุกต์ศิลป์ อาจารย์ธดิ ารัตน์ ภมู ิวฒั นะ  ศิลปะการแสดง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพิ ล แสงศรี  สหวทิ ยาการอิสลามเพอ่ื การพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 31 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ ลำดบั ท่ี ชือ่ - สกลุ วฒุ กิ ำรศกึ ษำสงู สุด สังกัดสำขำวิชำ 1 นางทัศนี สุทธวิ งศ์ ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตรแ์ ละ กลมุ่ วิชาบรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร)์ 2 นายเฉลิมพล พลมุข อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา) กลุ่มวิชาปรัชญาและศาสนา 3 ดร.กาวี ศรรี ัตน์ Ph.D. (Philosophy) กลมุ่ วิชาปรัชญาและศาสนา 4 ดร.นพดล ปรางคท์ อง ปร.ด. (ปรชั ญาและศาสนา) กลมุ่ วิชาปรัชญาและศาสนา 5 นายภูวมนิ ทร์ วาดเขยี น ศศ.ม. (พุทธศาสน์ศกึ ษา) กลมุ่ วิชาปรชั ญาและศาสนา 6 ผศ.ดร.อดิศร ภ่สู าระ ปร.ด. (รฐั ประศาสนศาสตร์) กลุ่มวิชาภมู ิศาสตร์ 7 ผศ.บังอร บุญปั้น อ.ม. (ภูมศิ าสตร)์ กลุม่ วิชาภมู ศิ าสตร์ 8 นางสาวสุมาลินี สาดส่าง วท.ม. (ภมู ิศาสตร)์ กลุม่ วิชาภูมศิ าสตร์ 9 นางสาวจนิ ดา ธารงอาจริยกุล รป.ม. (การปกครองท้องถน่ิ ) การปกครองทอ้ งถน่ิ 10 นายสุรศักดิ์ ศรีธรรมกลุ ร.ม. (รฐั ศาสตร์) การปกครองท้องถิ่น 11 ผศ.ดร.อภิชาติ พานสุวรรณ พธ.ด. (รฐั ประศาสนศาสตร์) การปกครองทอ้ งถิ่น 12 นายอคั รวินท์ ศาสนพทิ ักษ์ รป.ม. (การจัดการภาครฐั และเอกชน) การปกครองทอ้ งถน่ิ 13 ผศ.ดร.กานดา เตะ๊ ขันหมาก รป.ด. (รฐั ประศาสนศาสตร)์ การพัฒนาชมุ ชนและสังคม 14 นายคมลักษณ์ ไชยยะ ศศ.ม. (มานุษยวทิ ยา) การพัฒนาชมุ ชนและสงั คม 15 ผศ.ดร.นฤมล อนุสนธ์พิ ัฒน์ ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) การพัฒนาชุมชนและสังคม 16 ผศ.ดร.สธุ ี โกสทิ ธ์ิ ปร.ด. (พฒั นาทรพั ยากรชนบท) การพัฒนาชมุ ชนและสังคม 17 ดร.เอนก รกั เงนิ ปร.ด. (ไทศกึ ษา) การพัฒนาชุมชนและสงั คม 18 ผศ.ดร.จริยาภรณ์ รุจิโมระ ศษ.ด. (การศึกษาตลอดชวี ิตและการ การพัฒนาชมุ ชนและสงั คม พฒั นามนุษย์) 19 รศ.ดร.ศศปิ ภา ทพิ ย์ประภา รป.ด. (การบรหิ ารการพัฒนา (การ การพัฒนาชมุ ชนและสงั คม พฒั นาสังคม)) 20 นางอุมาภรณ์ กลา้ หาญ ศศ.ม. (ดนตร)ี ดนตรศี ึกษา 21 ผศ.บุญสบื บญุ เกดิ ศศ.ม. (มานุษยดรุ ิยางควทิ ยา) ดนตรีศึกษา 22 ผศ.เอกสิทธ์ิ สนุ ิมิตร ศป.ม. (มานษุ ยดุริยางควิทยา) ดนตรีศกึ ษา 23 ผศ.ดร.นภัสนนั ท์ จุนนเกษ Ph.D. (Vocal Music) ดนตรศี ึกษา 24 นางสาวปานหทยั วัชรีวงษ์ ณ อยุธยา ศศ.ม. (ดนตรี) ดนตรีศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 32 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรย์ประจำคณะมนษุ ยศำสตร์และสงั คมศำสตร์ ลำดบั ท่ี ช่ือ - สกุล วุฒกิ ำรศึกษำสูงสุด สงั กัดสำขำวิชำ 25 ผศ.สรุ ศักด์ิ เพชรคงทอง ศศ.ม. (มานุษยดุรยิ างควทิ ยา) ดนตรศี กึ ษา 26 นายกลุ ธีร์ บรรจุแกว้ ศล.ม. (ดนตร)ี ดนตรสี ากล 27 ผศ.ทรงพล คชเสนี ศศ.ม. (การบริหารงานดนตร)ี ดนตรีสากล 28 นายธนกรณ์ โพธิเวส ศศ.ม. (ดนตรศี กึ ษา) ดนตรีสากล 29 นายรวมศักด์ิ เจยี มศกั ดิ์ ศศ.ม. (ดนตรวี ิทยา) ดนตรสี ากล 30 ผศ.ดร.รจุ ิภาส ภูธนัญนฤภทั ร ศป.ด. (ดุริยางคศิลปต์ ะวนั ตก) ดนตรสี ากล 31 ผศ.ดร.ธาตรี มหันตรตั น์ ปร.ด. (อาชญาวิทยา การบรหิ ารงาน นิติศาสตร์ ยตุ ิธรรมและสังคม) 32 นางสาวกาญจณา สขุ าบูรณ์ วท.ม. (นติ วิ ิทยาศาสตร์), น.ม. (กฎหมาย นิตศิ าสตร์ 33 นายตราดุลย์ นรนิติผดงุ การ อาญาและกระบวนการยุตธิ รรม) น.ม. (บรหิ ารงานยตุ ิธรรม) นติ ศิ าสตร์ 34 นายนรินทร์ อ่นุ แก้ว น.ม. (กฎหมายมหาชน) นิติศาสตร์ 35 ผศ.ปกาศติ เจิมรอด น.ม. (กฎหมายธุรกจิ ) นิติศาสตร์ 36 นายพันธรตั น์ ศรสี วุ รรณ น.ม. (กฎหมายมหาชน) นิติศาสตร์ 37 นายพนิ ิจ ศรีสวสั ด์ิ น.ม. (กฎหมายธรุ กจิ ) นิติศาสตร์ 38 ผศ.วภิ าวี ฝ้ายเทศ นศ.ม. (การสอื่ สารมวลชน) นเิ ทศศาสตร์ 39 ผศ.เด่นเดือน เลศิ ทยากลุ ไชยยะ วส.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) นิเทศศาสตร์ 40 นายปฐมพงษ์ พ่มุ พฤกษ์ ว.ม. (การบริหารสื่อสารมวลชน) นิเทศศาสตร์ 41 ผศ.ปทั มาภรณ์ สขุ สมโสด ศศ.ม. (สือ่ สารมวลชน) นิเทศศาสตร์ 42 ผศ.สกุ ลั ยา คงประดิษฐ์ นศ.ม. (การสือ่ สารมวลชน) นิเทศศาสตร์ 43 นายอทิ ธิเทพ หลนี วรตั น์ ว.ม. (สือ่ สารมวลชน) นเิ ทศศาสตร์ 44 ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ปร.ด. (ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาภมู ภิ าค) ประยกุ ต์ศิลป์ 45 นายสุรินทร์ ศรีสังขง์ าม ศศ.ม. (ประวตั ิศาสตร์สถาปัตยกรรม) ประยกุ ต์ศลิ ป์ 46 ผศ.ดร.รตั นา รักสกุลพาณิชย์ ปร.ด. (การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาท้องถ่ิน) ประยกุ ตศ์ ลิ ป์ 47 ผศ.ดร.วิศษิ ฏ์ เพียรการค้า ศป.ด. (ศิลปะและการออกแบบ) ประยุกตศ์ ิลป์ 48 ผศ.อรพมิ พ์ สุขสวุ รรณ ศป.ม. (ทัศนศิลป์ : ศิลปะสมยั ใหม)่ ประยกุ ตศ์ ลิ ป์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 33 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะมนษุ ยศำสตรแ์ ละสงั คมศำสตร์ ลำดับท่ี ชื่อ - สกุล วฒุ กิ ำรศึกษำสูงสุด สังกัดสำขำวชิ ำ 49 นางสาววัชรีวรรณ หิรญั พลาวัสถ์ ศ.ม. (เครอ่ื งเคลือบดินเผา) ประยกุ ต์ศิลป์ 50 ดร.พิมพป์ ฏมิ า นเรศศิริกุล ปร.ด. (ไทยศกึ ษา) ประวัติศาสตร์ 51 ผศ.เพชรรงุ่ เทยี นป๋ิวโรจน์ อ.ม. (ประวัติศาสตร์ศกึ ษา) ประวัติศาสตร์ 52 นางสาววิราวรรณ สมพงษเ์ จริญ อ.ม. (ประวตั ิศาสตร์ศึกษา) ประวัติศาสตร์ 53 ผศ.ศภุ กาณฑ์ นานรัมย์ อ.ม. (ประวตั ศิ าสตร์) ประวตั ิศาสตร์ 54 นางสาวศภุ สตุ า ปรเี ปรมใจ อ.ม. (ประวตั ศิ าสตรศ์ ึกษา) ประวัติศาสตร์ 55 นางสาวขวญั ดาว มาอยู่ M.A. (Teaching Chinese to การสอนภาษาจนี 56 นางสาวปยิ ธดิ า สังสแี ก้ว Speakers of Other Languages) การสอนภาษาจีน M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages 57 นางสาวธัญญารัตน์ มะลาศรี M.A. (Teaching Chinese to การสอนภาษาจนี การสอนภาษาจีน Speakers of Other Languages) การสอนภาษาจนี 58 นางสาวนภสั สรณ์ เหลืองศักดศ์ิ รี M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages) 59 Ms.He Xiaoxue M.Ed. (Teaching Chinese for foreigners as a second language) 60 ผศ.บวรศรี มณีพงษ์ M.A. (Linguistics) ภาษาญป่ี นุ่ 61 นายศุภฤกษ์ แกว้ ศรงี าม M.Ed. (School Education) ภาษาญี่ปุ่น 62 ผศ.หทัยรัตน์ ทรรพวสุ ศศ.ม. (ญ่ปี ุน่ ศกึ ษา) ภาษาญี่ปนุ่ 63 ว่าทร่ี อ้ ยตรสี พุ รชัย ปยิ ะรัตนว์ นกลุ M.Phil. (Japanese Language and ภาษาญป่ี ุ่น Culture) 64 Mr.Tetsuya Tanaba B.A. (Japanese Literature) ภาษาญป่ี ุ่น 65 Mr.Taro Saito อ.ม. (ภาษาญีป่ นุ่ เปน็ ภาษาต่างประเทศ) ภาษาญีป่ ุน่ 66 Ms. Yuka Sasamoto B.A. (Japanese Studies) ภาษาญี่ปุ่น 67 นางสาวดาราพร ศรมี ว่ ง อ.ม. (ภาษาไทย) ภาษาไทย 68 นายปราโมทย์ ระวิน อ.ม. (วรรณคดีเปรียบเทยี บ) ภาษาไทย 69 นายรัตนชัย ปรชี าพงศก์ ิจ ศศ.ม. (จารกึ ภาษาไทย) ภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 34 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรย์ประจำคณะมนุษยศำสตรแ์ ละสังคมศำสตร์ ลำดับท่ี ช่อื - สกลุ วฒุ ิกำรศกึ ษำสูงสดุ สงั กดั สำขำวชิ ำ 70 นางสาววรางคณา ปัญญามี ศศ.ม. (ภาษาไทย) ภาษาไทย 71 ผศ.ดร.วาสนา บุญสม กศ.ด. (การอุดมศึกษา) ภาษาไทย 72 ดร.ศขิ รนิ ทร์ แสงเพชร นาเรือง ปร.ด. (ภาษาไทย) ภาษาไทย 73 นางสาวสรุ างคนางค์ รตั นวิจารณ์ อ.ม. (ภาษาไทย) ภาษาไทย 74 นายสวุ ฒั ชยั คชเพต ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์เพอื่ การสื่อสาร) ภาษาไทย 75 นางพรเพ็ญ ไพศาลศภุ นิมิต อ.ม. (ภาษาศาสตร)์ ภาษาอังกฤษ 76 ผศ.สุวณี วิจารัตน์ ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ) ภาษาอังกฤษ 77 ผศ.ดร.จนั ทร์เพญ็ คล้ายมุข Ph.D. (Reading & Language Arts) ภาษาอังกฤษ 78 นางสาวกสุ ุมา นะสานี อ.ม. (ภาษาศาสตร์) ภาษาอังกฤษ 79 นางสาวศิรินนั ท์ นุยภเู ขียว ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) ภาษาอังกฤษ 80 นางสาวสริ ิพร ทิชาชาติ ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) ภาษาอังกฤษ 81 นางสาวสริ ริ ตั น์ ผลหมู่ อ.ม. (ภาษาอังกฤษ) ภาษาอังกฤษ 82 นางสาวอรคนางค์ นวลเจริญ M.A. (English as an International ภาษาองั กฤษ 83 นายเอกรัตน์ คณาพร Language) ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษเพอ่ื วตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ) ภาษาอังกฤษ 84 Mr.Kenneth Selby Drew B.Sc. (Environment) ภาษาองั กฤษ 85 Mr.John peter Edwards B.A. (English) ภาษาอังกฤษ 86 Mr.Simon Ellis White B.Sc. (hons) Computing Science ภาษาองั กฤษ 87 Mr.Edouard Le Bout de with Business Computer System Chateau-Thierry B.A. (English) ภาษาองั กฤษ 88 Mr.Navadet Yongsawai B.A. (English Literature) ภาษาอังกฤษ 89 Ms.Jackylyn Blas Navarro B.Sc. (Business Administration) ภาษาอังกฤษ 90 ผศ.ดร.กมลวรรณ วรรณธนัง รป.ด. (นโยบายสาธารณะ) รฐั ประศาสนศาสตร์ 91 รศ.ดร.ภาคนิ โชติเวศย์ศลิ ป์ ปร.ด. (สือ่ สารการเมือง) รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 35 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะมนุษยศำสตรแ์ ละสังคมศำสตร์ ลำดับที่ ชอ่ื - สกลุ วฒุ ิกำรศึกษำสงู สดุ สงั กดั สำขำวิชำ 92 ผศ.ชนิกานต์ ผลเจรญิ ร.ม. (ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศ) รัฐประศาสนศาสตร์ 93 วา่ ที่รอ้ ยตรบี ัณฑติ สนุ ทรวิกรานต์ รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ จดั การเชิงกลยุทธ)์ รฐั ประศาสนศาสตร์ 94 ดร.ปฐมบุตร แกว้ สมนึก รป.ด. (นโยบายสาธารณะและการ จัดการภาครัฐ) 95 ดร.พยญั ชน์ เอี่ยมศิลป์ D.P.A. (Public Administation) 96 ผศ.มนู ีเราะฮ์ ยดี า ร.ม. (การปกครอง) รฐั ประศาสนศาสตร์ 97 นางวิชชุลดา ตนั ประเสรฐิ ศศ.ม. (สังคมวิทยาประยุกต์) ศิลปะการแสดง 98 นางสาวธิดารตั น์ ภูมิวัฒนะ ศศ.ม. (การวิจัยและพัฒนาท้องถ่นิ ) ศลิ ปะการแสดง 99 ดร.ฤตพชรพร ทองถนอม ศป.ด. ศิลปะการแสดง 100 นายกัมปนาท บัวเจริญ M.A (West Asian Studies) สหวทิ ยาการอสิ ลามเพื่อการพัฒนา 101 ผศ.ดร.นิพล แสงศรี ปร.ด. (อสิ ลามศึกษา) สหวทิ ยาการอสิ ลามเพื่อการพฒั นา 102 นายฟารกุ ขันราม อ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ) สหวิทยาการอิสลามเพอ่ื การพฒั นา 103 นายวิวฒั น์ ร้อยศรี M.Sc. (Creeds and Religions สหวิทยาการอิสลามเพอื่ การพัฒนา Sciences in the Heritage of the Scholars of the Western part of the Islamic World) มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 36 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

คณะกรรมกำรบริหำรคณะวทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิมลพรรณ รุ่งพรหม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประดินันท์ เอ่ยี มสะอาด รองคณบดฝี ่ายวิชาการ นางสาวสมปรารถนา สุขเกษม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ กฤษณะ กนั อา่ รองคณบดฝี า่ ยกจิ การนกั ศึกษา นางวริ ินดา มบี ารุง ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภทั ทริ า หอมหวล รองคณบดฝี ่ายนโยบายและแผน นายสุทัศน์ อู่ทอง หัวหนา้ สานักงานคณบดี นางสาวสริ ิวรรณ สมิทธอิ าภรณ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศุกรวรรณ แซอ่ ้ึง หวั หนา้ กลุม่ วชิ าฟิสิกส์/หัวหน้าภาควิชาวทิ ยาศาสตร์ นางสาวนันทวรรณ จันทรเ์ พช็ ร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกตน์ณนภิ า วนั ชัย หวั หน้าภาควชิ าวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ ผ้ชู ่วยศาสตราจารยศ์ ริ ริ ตั น์ ศิรพิ รวิศาล อาจารย์ ดร.พิชิต โชดก ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสูตร นางรงรอง แรมสเิ ยอ  เกษตรศาสตร์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เลิศชาย สถิตยพ์ นาวงศ์  คณติ ศาสตร์ อาจารย์ ดร.ปทิตตา นาควงษ์  คหกรรมศาสตร์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ยพุ ิน พวกยะ  เคมี นางสาวสภุ าวณิ ี แสนทวสี ุข  จุลชวี วิทยา นางสาวอัณธกิ า เสงี่ยมใจ  เทคโนโลยีการผลติ พชื ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ชาญณรงค์ นอ้ ยบางยาง  เทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปวีณา รัตนเสนา  เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (ตอ่ เนอื่ ง) นางสาวเพญ็ นภา ภูก่ ันงาม  วศิ วกรรมการจัดการ  วิทยาการคอมพวิ เตอร์  วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร  วิทยาศาสตรส์ งิ่ แวดลอ้ ม  วศิ วกรรมไฟฟ้า  สาธารณสุขศาสตร์  อาชวี อนามัยและความปลอดภัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 37 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะวทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดับท่ี ชื่อ - สกลุ วุฒิกำรศึกษำสูงสุด สงั กัดสำขำวชิ ำ 1 นางสาวภารดี แซ่อึง้ วท.ม. (เกษตรศาสตร)์ เกษตรศาสตร์ 2 รศ.ศานติ สวัสดกิ าญจน์ วท.ม. (พืชศาสตร)์ เกษตรศาสตร์ 3 ดร.ยุพาภรณ์ วิริยะนานนท์ ปร.ด. (พชื ศาสตร์) เกษตรศาสตร์ 4 ดร.สายชล สุขญาณกจิ ปร.ด. (ปฐพวี ทิ ยา) เกษตรศาสตร์ 5 นางสาวสริ ิวรรณ สมทิ ธิอาภรณ์ วท.ม.(เกษตรศาสตร์) เกษตรศาสตร์ 6 ผศ.กฤษณะ กันอ่า วท.ม. (การสอนคณติ ศาสตร์) คณิตศาสตร์ 7 ผศ.จฑุ ามาศ บรรณสาร กศ.ม. (คณติ ศาสตร์) คณติ ศาสตร์ 8 ผศ.ดร.กรองทพิ ย์ เนียมถนอม ปร.ด. (การวิจัยและสถิติทาง คณิตศาสตร์ 9 ผศ.ดร.ศกุ รวรรณ แซอ่ ้งึ วิทยาการปัญญา) คณิตศาสตร์ ปร.ด. (คณิตศาสตร์) 10 ดร.รุง่ รตั น์ สมานหมู่ ปร.ด. (คณิตศาสตร์) (หลกั สตู รนานาชาติ) คณติ ศาสตร์ 11 ดร.ชะญานศุ ภัฒค์ รัตนะวรวงศ์ ปร.ด. (คณิตศาสตร์ประยกุ ต์) คณิตศาสตร์ 12 นางสาวสิรพี ัชร แสงสว่าง วท.ม.(คณิตศาสตรป์ ระยุกต)์ คณติ ศาสตร์ 13 นางสาวโสภิดา จวิ ประเสริฐ วท.ม.(คณติ ศาสตร์) คณติ ศาสตร์ 14 นางสาวจรสั สินี สุวรี านนท์ ศศ.ม. (คหกรรมศาสตร์เพื่อการ คหกรรมศาสตร์ 15 นางสาวนพา ลลี ะศภุ พงษ์ พัฒนาชุมชน) คหกรรมศาสตร์ 16 นางนนั ทวรรณ จนั ทร์เพ็ชร์ ศศ.ม. (คหกรรมศาสตร์เพื่อการ คหกรรมศาสตร์ พฒั นาชมุ ชน) วท.ม. (คหกรรมศาสตร์) 17 นางสาวสุนนั ทา คะเนนอก ศศ.ม.(คหกรรมศาสตรศกึ ษา) คหกรรมศาสตร์ 18 นางสาวสุพิชญา คาคม วท.ม. (คหกรรมศาสตร์) คหกรรมศาสตร์ 19 ผศ.ดร.วิมลพรรณ รุง่ พรหม วท.ด. (เคมี) เคมี 20 ผศ.ชชั ฎาพร องอาจ วท.ม. (วิทยาศาสตรส์ ภาวะแวดล้อม) เคมี 21 ดร.ภควดี สุขอนนั ต์ ปร.ด. (เคมเี ชิงฟสิ ิกส์) เคมี 22 ผศ.ดร.เกตน์ณนิภา วนั ชยั วท.ด. (เคม)ี เคมี 23 ดร.จันทกานต์ นุชสขุ ปร.ด. (ชวี เคมี) เคมี 24 นางสาวภทั รวดี โตปรางกอบสิน วท.ม.(เคมีอินทรยี )์ เคมี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 38 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ลำดบั ที่ ชอ่ื - สกุล วุฒกิ ำรศกึ ษำสงู สุด สงั กดั สำขำวชิ ำ 25 ดร.รุ่งอรณุ พิมพ์ปรุ วท.ด. (เคมี) เคมี 26 นายจุติธรณ์ เลาหพรชัยพันธ์ วท.ม. (เคม)ี เคมี 27 ผศ.ดร.สุจิตกัลยา มฤครัฐอินแปลง วท.ด. (จุลชีววิทยา) จลุ ชีววิทยา 28 ผศ.ศิรริ ตั น์ ศิรพิ รวศิ าล วท.ม. (จุลชวี วิทยา) จลุ ชีววิทยา 29 ผศ.ชุตมิ า แก้วกระจาย วท.ม. (จุลชีววทิ ยา) จุลชวี วทิ ยา 30 ผศ.ธนดิ า ยงยนื วท.ม. (เทคโนโลยีชวี ภาพ) จลุ ชีววทิ ยา 31 ผศ.พัชรี สนิ ธุนาวา วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) จลุ ชีววทิ ยา 32 ดร.ปรชั วนี พบิ ารงุ วท.ด. (วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ) เทคโนโลยีการผลิตพืช 33 ผศ.ณัฐวุฒิ จ่ันทอง วท.ม. (พฒั นาทรพั ยากรชนบท) เทคโนโลยีการผลิตพืช 34 ดร.พชิ ติ โชดก ปร.ด.(เภสชั ศาสตร)์ เทคโนโลยีการผลติ พืช 35 ดร.เพชรพิกลุ ขาออ่ น Doctorof Plant Pathology เทคโนโลยีการผลติ พชื 36 ดร.วุฒพิ งษ์ แปงใจ (Agriculture) เทคโนโลยีการผลติ พืช ปร.ด.(พนั ธศุ าสตร์) 37 นายจาลอง ศรสี ง่า วท.ม. (การศึกษาวิทยาศาสตร)์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 38 นางรงรอง แรมสเิ ยอ วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) เทคโนโลยีสารสนเทศ 39 ผศ.ดร.นงเยาว์ ในอรุณ ปร.ด.(วทิ ยาการคอมพวิ เตอร)์ เทคโนโลยีสารสนเทศ 40 ผศ.สภุ าพร ณ หนองคาย วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) เทคโนโลยสี ารสนเทศ 41 นางสาวสุวรรณ อาจคงหาญ วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) เทคโนโลยีสารสนเทศ 42 ผศ.อธิบ โพทอง วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) เทคโนโลยสี ารสนเทศ 43 นายพงระภี ศรสี วัสดิ์ ค.ม. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม) เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 44 นางสาวชอ่ เพชร จาปี คอ.ม. (เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร)์ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 45 ผศ.ดร.เลิศชาย สถติ พนาวงศ์ ปร.ด. (สถาปตั ยกรรม) เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 46 นายอภิชติ กระจา่ งเย่า วท.ม. (อุปกรณก์ ารแพทย์) เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม 47 ผศ.อรา่ ม ชนะโชติ วท.ม. (ฟสิ กิ ส์) ฟสิ ิกส์ 48 ผศ.ดร.ภัททิรา หอมหวล วท.ด. (วิทยาศาสตรน์ าโนและ ฟิสกิ ส์ 49 นางสาวกาญจนา สาธุพันธ์ เทคโนโลยี) ฟิสกิ ส์ วท.ม. (ฟสิ ิกส์) มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 39 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ลำดับที่ ชอ่ื - สกุล วุฒิกำรศกึ ษำสูงสดุ สังกัดสำขำวิชำ 50 ดร.จินดาวรรณ จนั ทมาส ปร.ด. (ฟิสกิ ส์) ฟสิ กิ ส์ 51 นายศริ วิ ชั ร์ อาลกั ษณสุวรรณ วท.ม.(ฟสิ กิ ส)์ ฟสิ ิกส์ 52 นายจิรศกั ด์ิ ชุมวรานนท์ พบ.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร)์ วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 53 ผศ.ยพุ นิ พวกยะ พบ.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร)์ วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 54 ผศ.วชริ า ปูชตรีรตั น์ วท.ม. (วทิ ยาการคอมพิวเตอร์) วิทยาการคอมพิวเตอร์ 55 ผศ.วิมล กิตตริ กั ษ์ปญั ญา คอ.ม. (คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 56 ผศ.สาโรช ปรุ สิ งั คหะ สารสนเทศ) วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ วท.ม. (วศิ วกรรมซอฟแวร์) 57 นางสาวกนั ยาลักษณ์ โพธ์ดิ ง วท.ม. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) วิทยาการคอมพวิ เตอร์ 58 นายวิโรจน์ ยอดสวัสด์ิ วท.ม.(วทิ ยาการคอมพิวเตอร์) วิทยาการคอมพิวเตอร์ 59 ผศ.ปิยธดิ า สุดเสนาะ วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์การอาหาร) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร 60 ผศ.พวงชมพู หงษ์ชยั วท.ม. (วิทยาศาสตรก์ ารอาหาร) วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหาร 61 นางสาวจันทรเ์ พญ็ มะลิพนั ธ์ วท.ม. (วิทยาศาสตร์การอาหาร) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร 62 ผศ.ดร.พทิ ยา ใจคา วท.ด (วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร 63 นางสาวสุภาวิณี แสนทวสี ุข การอาหาร) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร วท.ม. (เทคโนโลยอี าหาร) 64 ผศ.ดร.ประดนิ นั ท์ เอยี่ มสะอาด ปร.ด. (เทคโนโลยชี ีวภาพ) วิทยาศาสตร์ส่ิงแวดลอ้ ม 65 ดร.วชั ราภรณ์ ตนั ติพนาทพิ ย์ วท.ด. (ชีววิทยาสิ่งแวดล้อม) วิทยาศาสตร์สิ่งแวดลอ้ ม 66 ดร.สุทธยศ ย้ิมพูลทรัพย์ ปร.ด.(การจัดการสิ่งแวดลอ้ ม) วทิ ยาศาสตร์ส่ิงแวดลอ้ ม 67 นางสาวอณั ธกิ า เสงี่ยมใจ วศ.ม. (วิศวกรรมสงิ่ แวดล้อม) วิทยาศาสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม 68 นายเจรญิ จันทรท์ าโล วศ.ม. (วิศวกรรมการจัดการ) วิศวกรรมการจดั การ 69 ผศ.ดร.บญุ ลา้ สนุ ทร ปร.ด. (การจดั การเทคโนโลย)ี วิศวกรรมการจดั การ 70 ผศ.ดร.สรุ ชัย บญุ เจริญ ปร.ด. (การจัดการเทคโนโลยี) วิศวกรรมการจัดการ 71 นางสาวชนาธิป พรหมเพศ วศ.ม. (วศิ วกรรมอตุ สาหการ) วศิ วกรรมการจัดการ 72 นางสาวชะกาแกว้ สดุ สีชัง วศ.ม. (วศิ วกรรมพลังงาน) วศิ วกรรมการจัดการ 73 นายธรี พล ทรพั ย์บุญ วศ.ม. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) วิศวกรรมการจดั การ 74 ดร.ปทิตตา นาควงษ์ ปร.ด. (วิศวกรรมศาสตร)์ วศิ วกรรมการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 40 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

อำจำรยป์ ระจำคณะวทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ลำดับที่ ช่อื - สกุล วฒุ ิกำรศกึ ษำสูงสุด สงั กดั สำขำวิชำ 75 นายพงศ์ธร รักซอ้ น วศ.ม. (วศิ วกรรมอุตสาหการ) วศิ วกรรมการจดั การ 76 นางสาวศิรประภา ดปี ระดษิ ฐ์ วศ.ม.(วศิ วกรรมอตุ สาหการ) วิศวกรรมการจัดการ 77 รศ.ดร.ชสู ิทธิ์ ประดับเพ็ชร์ Ph.D. (Media and Network วศิ วกรรมไฟฟ้า 78 ผศ.คมศกั ดิ์ หาดขนุ ทด Technologies) วิศวกรรมไฟฟา้ วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้า) 79 ผศ.ชาญณรงค์ นอ้ ยบางยาง วศ.ม. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) วิศวกรรมไฟฟา้ 80 ผศ.ดร.พเิ ชฐ ศรีสงั ข์งาม กศ.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา) วิศวกรรมไฟฟา้ 81 ผศ.ดร.กรุง ลือวฒั นา ปร.ด. (วศิ วกรรมไฟฟา้ ) แขนงวิชา วศิ วกรรมไฟฟา้ 82 ดร.สขุ รกั ษ์ แซเ่ จยี่ วศิ วกรรมไฟฟา้ กาลงั วศิ วกรรมไฟฟ้า วศ.ด.(วศิ วกรรมไฟฟ้า) 83 นายสทุ ศั น์ อู่ทอง วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ) วิศวกรรมไฟฟา้ 84 ดร.วรี ภัทร ภัทรกลุ ค.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) สาธารณสุขศาสตร์ 85 นางสาวชลวิภา สลุ ักขณานุรักษ์ ส.ม. (โภชนศาสตร์เพ่ือสขุ ภาพ) สาธารณสขุ ศาสตร์ 86 นางสาวเนตรนภา สาสังข์ ส.ม. (วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ) สาธารณสุขศาสตร์ 87 ดร.ปฏิภาณี ขนั ธโภค วท.ด. (เภสัชเวช) สาธารณสขุ ศาสตร์ 88 ผศ.ดร.ปวีณา รัตนเสนา Ph.D. (Tropical Health) สาธารณสุขศาสตร์ 89 นางสาวอัมมันดา ไชยกาญจน์ ส.ม. (การบริหารสาธารณสุข) สาธารณสุขศาสตร์ 90 นายอูน ตะสิงห์ ส.ม. (อนามยั สิ่งแวดล้อม) สาธารณสุขศาสตร์ 91 นางสาวปยิ ลักษณ์ เจริญชาติ วท.ม.(อาชวี อนามยั และความ อาชวี อนามัยและความปลอดภัย 92 นายพชฏ นรสิงห์ ปลอดภัย) อาชีวอนามยั และความปลอดภยั วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์ชีวการแพทย์) 93 นางสาวเพญ็ นภา ภู่กนั งาม วท.ม. (อาชีวอนามัยและความ อาชีวอนามยั และความปลอดภยั 94 นางสาวสมปรารถนา สขุ เกษม ปลอดภยั ) อาชีวอนามยั และความปลอดภยั 95 นางสาวสภุ ารตั น์ ชยั กิตติภรณ์ อาชวี อนามยั และความปลอดภัย วท.ม.(สขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมและ ความปลอดภยั ) วท.ม. (สขุ ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมและ ความปลอดภยั ) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 41 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook