Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา2559

คู่มือนักศึกษา2559

Published by kanjanaqa, 2021-03-31 02:20:10

Description: คู่มือนักศึกษา2559

Search

Read the Text Version

ถงึ นกั ศกึ ษาใหมปการศกึ ษา 2559 ในนามของคณาจารย เจาหนาท่ี และผูบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ข อ ต อ น รั บ นั ก ศึ ก ษ า เ ข า สู ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร ใ ช ชี วิ ต อี ก รู ป แ บ บ ห น่ึ ง ใ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ พระนครศรีอยุธยาดวยความยินดียิ่ง และขอแสดงความชื่นชมนักศึกษาทุกคน ท่ีมีความมุงม่ันตั้งใจ ศกึ ษาเลาเรียนในระดับท่ีสูงขน้ึ และประสบความสําเรจ็ ในการเขาศกึ ษาตอในระดับอุดมศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาเป6นสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีจุดประสงคใหการศึกษา สงเสริมวชิ าการและวิชาชพี ชนั้ สูง ทาํ การสอน วจิ ยั ใหบรกิ ารทางวิชาการแกสังคม ปรับปรุง ถายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและสงเสริมวิทยฐานะครู มีศักยภาพ ดานการทองเที่ยวและศิลปวัฒนธรรม และมีการผสมผสานทั้งภาคเกษตรกรรมและการพัฒนา ภาคอุตสาหกรรม รวมทง้ั การสรางสรรคความรวมมือทางวิชาการ และการพัฒนานักศึกษารวมกับ นานาชาติ ทั้งในภูมิภาคเอเชียและภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลก มหาวิทยาลัยจึงเป6นสถาบันอุดมศึกษา ท่ีมีศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษาและการเรียนรูใหแกนักศึกษาไดอยางหลากหลาย กวางขวาง มีคณุ ภาพและเปน6 ไปตามมาตรฐานการอุดมศกึ ษา การศึกษาโดยเฉพาะในระดับปริญญาตรีน้ัน มุงเนนใหนักศึกษาหรือผูเรียนมีความรูความ เขาใจ มที ักษะและสมรรถนะครบถวนสมบูรณในศาสตรหรือสาขาวิชาที่ศึกษา ซึ่งนอกจากนักศึกษา ตองมีการพัฒนาดานวิชาการแลว ยังตองมีการพัฒนาดานจิตใจ บุคลิกภาพและคุณลักษณะอ่ืนๆ อยางรอบดาน อันเปน6 สวนสําคญั ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ในสังคมดวย ดงั นั้นจงึ ควรทาํ หนาทีข่ องนักศกึ ษา ใหดีท่สี ดุ ดวยการพยายามศึกษาเลาเรียนอยางเต็มที่ ประพฤติและปฏิบัติตนในกรอบของศีลธรรมอันดี เขารวมกจิ กรรมตางๆ ของมหาวทิ ยาลยั อยางสมาํ่ เสมอ ใฝรA ู แสวงหาความรูตางๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพ และความสามารถของตนเองเพ่อื ความพรอมตอการแขงขันในเวทีระดับชาติและนานาชาตใิ หจงได ในฐานะผบู ริหารและอาจารยผสู อน ขอเป6นกาํ ลงั ใจและจะสงเสริมสนับสนุนนกั ศึกษาทกุ คน ในการศึกษาเลาเรียนในมหาวิทยาลัยแหงน้ีอยางเต็มที่ ขออวยพรใหทุกคนประสบความสําเร็จ ในการศึกษาตามหลักสูตร และสามารถนําประสบการณท่ีไดรับจากการเป6นนักศึกษา ในรั้วของมหาวิทยาลยั แหงนีไ้ ปใชประโยชนในการพฒั นาตนเอง สังคม และประเทศชาติสบื ไป ดวยความปรารถนาดี (ดร.เกษม บํารงุ เวช) อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา



สารบญั เรอ่ื ง หนา สารอธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา ตอนที่ 1 แนะนาํ มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา สัญลกั ษณของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 2 รายชื่อมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทัว่ ประเทศ 3 แนะนํามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 4 หัวหน+าสถานศกึ ษาจากอดีตถงึ ป0จจบุ ัน 10 ปรัชญา วิสยั ทัศน เอกลักษณ อตั ลกั ษณ ค3านิยม พนั ธกิจ 11 นโยบาย คณุ ลกั ษณะบัณฑิตท่พี งึ ประสงค 12 ภารกิจ 13 การแบง3 ส3วนราชการ 17 รายนามผูบ+ รหิ าร 18 กรรมการบรหิ ารคณะครุศาสตร 19 กรรมการบรหิ ารคณะมนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร 20 กรรมการบรหิ ารคณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 21 กรรมการบรหิ ารคณะวทิ ยาการจดั การ 22 ตอนท่ี 2 ระเบียบ และประกาศตา' งๆ ท่เี กยี่ วของ ขอ+ บังคบั สภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยาว3าดว+ ยการจัดการศึกษา ระดบั อนปุ ริญญา และปรญิ ญาตรี พ.ศ.2549 24 ข+อบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยาว3าด+วยการใหผ+ ส+ู าํ เร็จการศกึ ษา ปรญิ ญาตรีได+รบั ปรญิ ญาตรีเกยี รตนิ ิยมอันดับหน่ึงและปริญญาตรเี กียรตินิยม อนั ดบั สอง พ.ศ. 2550 36 ระเบียบมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยาว3าด+วยการโอนผลการเรยี น การยกเว+น รายวิชาเรยี น และการจา3 ยคา3 ธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเวน+ รายวชิ า เรยี น พ.ศ. 2552 38 ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยาว3าด+วยการโอนผลการเรยี น การยกเว+น รายวิชาเรยี น และการจา3 ยคา3 ธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเว+นรายวชิ า เรยี น (ฉบับท่2ี ) พ.ศ. 2557 41 ระเบียบมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยาว3าด+วยการโอนผลการเรยี น การยกเว+น รายวิชาเรียน และการจา3 ยค3าธรรมเนยี มการโอนผลการเรยี น การยกเว+นรายวชิ า เรยี น (ฉบบั ท3ี่ ) พ.ศ. 2558 42 ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา เรือ่ ง การยกเวน+ รายวชิ าเรียน และการศกึ ษารายวิชาเรยี นเพิ่มเติม พ.ศ. 2558 43 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา เรือ่ ง การเกบ็ ค3าธรรมเนยี ม การโอนผลการเรียน การยกเว+นรายวิชา พ.ศ. 2552 44 ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา เรื่อง การเทียบโอนความร+ู ทกั ษะและประสบการณ จากการศกึ ษานอกระบบและ/หรือการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เข+าส3ูการศึกษาในระบบตามหลกั สูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553 45 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ก

สารบัญ เรือ่ ง หนา ตอนที่ 2 ระเบยี บ และประกาศตา' งๆ ที่เก่ยี วของ (ต'อ) ระเบียบมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา วา3 ดว+ ยการเกบ็ เงินบาํ รงุ การศึกษา และ การจา3 ยเงินเพื่อจดั การศกึ ษาอนปุ รญิ ญาและปริญญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2549 48 ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา ว3าด+วยการเกบ็ ค3าบาํ รุงการศึกษา แบบเหมาจา3 ยระดบั อนุปริญญาและปรญิ ญาตรี ภาคปกติ พ.ศ. 2558 51 ประกาศสถาบันราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา เรอ่ื ง แนวปฏิบตั กิ ารชําระเงิน คา3 บาํ รุงการศกึ ษาของบุคลากรประจําการ 54 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา เรื่อง วา3 ด+วยการเก็บเงนิ บาํ รงุ การศกึ ษาและคา3 ธรรมเนียมการศกึ ษา ระดบั อนุปรญิ ญาและปริญญาตรี เพ่อื จดั การศกึ ษาสําหรบั บคุ ลากรประจําการ (กศ.บป.) พ.ศ. 2558 55 ข+อบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา ว3าดว+ ยวนิ ัยนกั ศกึ ษา พ.ศ.2550 58 ขอ+ บงั คับมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา วา3 ดว+ ยเครื่องแบบ เครอ่ื งหมาย และเคร่อื งแต3งกายนกั ศกึ ษา พ.ศ.2557 64 ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา เรื่อง หลกั เกณฑและแนวทางการ จดั การศึกษาที่เนน+ ผเ+ู รียนเปนE สาํ คัญ พ.ศ. 2552 67 ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา เรือ่ ง แนวปฏบิ ตั ิและมาตรการ การลงทะเบียน การเพ่ิม-ถอนวชิ า การลงทะเบยี นลา3 ช+าของนกั ศกึ ษาภาคปกติ และภาคพเิ ศษ พ.ศ. 2558 68 ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา เรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั ิการจดั การศึกษา ภาคฤดรู อ+ น สําหรบั นกั ศกึ ษาภาคปกติ พ.ศ. 2558 70 ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา เร่ือง หลกั เกณฑและแนวปฏิบตั ิ การจัดสอบนอกตาราง พ.ศ. 2556 71 พระราชกฤษฎีกาว3าดว+ ยปรญิ ญาในสาขาวิชา อกั ษรยอ3 สาํ หรบั สาขาวชิ า ครยุ วทิ ยฐานะ เขม็ วทิ ยฐานะ และครุยประจาํ ตาํ แหน3งของมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา (ฉบับท2ี่ ) พ.ศ. 2555 72 ข+อบงั คับมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา ว3าดว+ ย การกําหนดมาตรฐาน ภาระงานทางวิชาการของผ+ดู ํารงตาํ แหน3งอาจารย ผ+ูช3วยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย พ.ศ. 2558 75 ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา เร่ือง มาตรฐานภาระงานทาง วิชาการของผดู+ ํารงตําแหนง3 อาจารย ผ+ูช3วยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย พ.ศ. 2559 78 ตารางผลการเทียบโอนรายวิชาจากสถาบันการศึกษาอนื่ เข+าสู3ระบบการศึกษาใน หลักสูตรมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา ประจําปกJ ารศึกษา 2554 85 ข มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สารบญั หนา เร่ือง 105 ตอนที่ 3 งานบริการและสวสั ดกิ าร 107 109 บริการและสวัสดิการ 110 กองพัฒนานักศกึ ษากบั แนวทางการบริหารกิจการนักศกึ ษา 112 ทุนการศึกษาแก3นกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 115 โครงการกองทนุ เงินให+ก+ยู ืมเพ่ือการศกึ ษาของรัฐบาล 119 คําช้ีแจงเกี่ยวกับการศึกษาวชิ าทหาร 120 สาํ นักวิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 121 ข้นั ตอนการลงทะเบยี นเรยี น 122 การขอยกเลกิ วชิ าเรียน 123 การขอโอนผลการเรียนและการยกเว+นการเรียนรายวชิ า 124 นักศกึ ษาขอย+ายสถานศกึ ษา การลาพักการเรียน 135 คาํ ถาม - คําตอบ สําหรบั เรอ่ื งตา3 ง ๆ ที่เก่ียวกบั นักศกึ ษา 136 ตอนท่ี 4 โครงสรางหลักสตู ร โครงสร+างหลกั สตู ร 146 โครงสร+างหลกั สูตรวชิ าศึกษาทั่วไปและคาํ อธบิ ายรายวิชา 147 คณะครศุ าสตร2 151 สาระสาํ คัญของหลกั สตู ร 156 คณิตศาสตร 5 ปJ 160 สังคมศกึ ษา 5 ปJ 165 การศึกษาปฐมวยั 5 ปJ 170 คอมพวิ เตอรศึกษา 5 ปJ 175 วทิ ยาศาสตร 5 ปJ 180 พลศกึ ษา 5 ปJ 184 การสอนภาษาไทย 5 ปJ 189 การสอนภาษาอังกฤษ 5 ปJ การประถมศกึ ษา 5 ปJ 194 การศึกษาพเิ ศษและการสอนภาษาไทย 5 ปJ 195 คณะมนุษยศาสตรแ2 ละสังคมศาสตร2 200 สาระสําคัญของหลักสตู ร 204 ภาษาอังกฤษ 4 ปJ 208 ภาษาไทย 4 ปJ 212 ภาษาญปี่ ุนN 4 ปJ 216 ภาษาจีน 4 ปJ การพัฒนาชมุ ชน 4 ปJ สหวิทยาการอสิ ลาม 4 ปJ Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา ค

สารบญั หนา เรอื่ ง 220 คณะมนุษยศาสตรแ2 ละสงั คมศาสตร2 (ตอ' ) 224 230 ประวตั ศิ าสตร 4 ปJ 237 ดนตรี 4 ปJ 241 ดนตรีสากล 4 ปJ 245 ศลิ ปกรรม 4 ปJ 249 ศิลปะการแสดง 4 ปJ 252 นติ ิศาสตร 4 ปJ 256 นเิ ทศศาสตร 4 ปJ รัฐประศาสนศาสตร 4 ปJ 259 การปกครองทอ+ งถน่ิ 4 ปJ 260 คณะวทิ ยาศาสตรแ2 ละเทคโนโลยี 264 สาระสําคัญของหลกั สตู ร 268 เกษตรศาสตร 4 ปJ 272 เคมี 4 ปJ 277 คหกรรมศาสตร 4 ปJ 281 วทิ ยาการคอมพิวเตอร 4 ปJ 285 สาธารณสุขชมุ ชน 4 ปJ 288 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4 ปJ 293 อาชีวอนามยั และความปลอดภัย 4 ปJ 297 คณติ ศาสตร 4 ปJ 301 จลุ ชีววทิ ยา 4 ปJ 305 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร 4 ปJ 309 วทิ ยาศาสตรสิง่ แวดลอ+ ม 4 ปJ 313 เทคโนโลยีการผลติ พชื 4 ปJ 318 การจดั การเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม 4 ปJ วิศวกรรมไฟฟPา 4 ปJ 322 เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (ต3อเนือ่ ง) 323 คณะวทิ ยาการจดั การ 328 สาระสาํ คัญของหลักสตู ร 331 การบญั ชี 4 ปJ 335 การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย 4 ปJ 339 การตลาด 4 ปJ 343 คอมพวิ เตอรธุรกจิ 4 ปJ 346 การจัดการ 4 ปJ การจัดการโลจสิ ตกิ ส 4 ปJ เศรษฐศาสตรธุรกิจ 4 ปJ ง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

สารบญั หนา เร่อื ง 350 คณะวทิ ยาการจัดการ 353 356 การเปนE ผู+ประกอบการ 4 ปJ ธรุ กจิ ระหวา3 งประเทศ 4 ปJ 362 การทอ3 งเท่ยี ว 4 ปJ 365 ภาคผนวก 371 - การใชงานระบบทะเบียนออนไลนส2 ําหรบั นกั ศึกษา 377 - การเขยี นรายงานทางวชิ าการ 378 - ภาพกจิ กรรมนกั ศกึ ษา - หมายเลขโทรศพั ทภ2 ายในมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา - ตารางบันทกึ ขอมลู การเรยี นตลอดหลกั สตู ร Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา จ

ฉ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ตอนท่ี 1 แนะนาํ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 1

ตรามหาวทิ ยาลยั พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ พระราชทาน ตราสัญลักษณ%ประจําสถาบันราชภัฏตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดนําความกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทาน เพอ่ื เปน4 สริ ิมงคลแกมหาวิทยาลยั ราชภัฏ ตราสัญลักษณ% ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน คอื ตราพระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช มีลักษณะเป4น รูปวงรีภายในเป4นรูปพระที่น่ังอัฐทิศ ประกอบดวยวงจักร กลางวงจักร มีอักขระเป4น อุ หรือ เลข 9 รอบวงจกั ร มรี ศั มีเปลงออกโดยรอบเหนือจกั รเปน4 รปู เศวตฉตั รเจ็ดชน้ั ฉัตรตงั้ อยูบนพระที่นงั่ อัฐทิศ (แปลความหมายวา ทรงมีพระบรมเดชานุภาพ) ในแผนดินโดยท่ีวันบรมราชาภิเษก ตามโบราณราชประเพณีไดเสด็จประทับเหนือพระท่ีน่ังอัฐทิศและสมาชิกรัฐสภาถวายน้ําอภิเษก จากทิศทงั้ แปด มีวงรอี ีกวงหน่งึ เปน4 กรอบรอบตราพระราชลัญจกรจารึกชอื่ สถาบัน ตอมาเมื่อสถาบันราชภัฏไดรับเปล่ียนสถานภาพเป4นมหาวิทยาลัย ช่ือทอนบนจารึก เป4นภาษาไทยวา “มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา” ทอนลางจารึกเป4นภาษาอังกฤษวา “PHRANAKHON SI AYUTTHAYA RAJABHAT UNIVERSITY” สีของสญั ลกั ษณ ประกอบดวยสตี างๆ จาํ นวน 5 สี สีนํ้าเงิน แทน คาสถาบันเป4นพระมหากษัตริย%ผใู หกําเนดิ และพระราชทานนาม “สถาบันราชภฏั ” สีเขียว แทน แหลงท่ีต้ังของสถาบันท้ัง 38 แหง ในแหลงธรรมชาติและส่ิงแวดลอมท่ี สวยงาม สีทอง แทน ความเจริญรุงเรอื งทางภูมิปญS ญา สีสม แทน คาความเจรญิ รงุ เรอื งของศิลปวัฒนธรรมทองถน่ิ ทก่ี าวไกลใน 38 สถาบัน สขี าว แทน คาความคิดบรสิ ทุ ธ์ขิ องนักปราชญ% แหงพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว คตธิ รรมประจํามหาวิทยาลัย สกิ ฺขากาโม ภวํ โหติ หมายถึง ผใู ฝใW นการศึกษาเปน4 ผเู จริญ ธงประจาํ มหาวทิ ยาลยั • สเี หลือง ( อยูดานบน ) • สแี ดง ( อยูดานลาง ) สปี ระจํามหาวิทยาลัย • เหลือง – แดง ดอกไมประจาํ มหาวิทยาลยั • ดอกโสน 2 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

รายชอ่ื มหาวิทยาลัยราชภัฏทว่ั ประเทศ 38 แหง มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บานสมเดจ็ เจาพระยา มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ% มหาวิทยาลัยราชภฏั ลําปาง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาํ แพงเพชร มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบูรณ% มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค% มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บรุ ีรัมย% มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ นิ ทร% มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ มหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด มหาวิทยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวิทยาลัยราชภฏั ราํ ไพพรรณี มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร% มหาวิทยาลัยราชภฏั เทพสตรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบุรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาญจนบุรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู านจอมบึง มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ% านี มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช มหาวิทยาลัยราชภฏั ภูเก็ต มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ% ในพระบรมราชปู ถัมภ% Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 3

แนะนํา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ระยับศรี กาญจนะวงศ* 1. บทนาํ คนท่ีอยกู รุงเกาอยางเจาของ โปรดชวยมองใหซึ้งถึงความหลงั โรงเรียนฝ)กหดั ครู ทห่ี ลงั วังฯ คอื การต้ังตนชวี ิต วิทยาลัย ( ครูพระนครศรอี ยธุ ยา ) ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ.2411-2453) ไดมีการปฏิรูป ศึกษาข้ึน การจัดการศึกษาสมัยนี้แตกตางไปจากเดิมเป4นการศึกษาในระบบโรงเรียนตามแบบ ตะวันตก มีโรงเรียนครู หลักสูตรแบบเรียน อันเป4นรากฐานของการศึกษาสมัยใหมของประเทศมา จนถงึ ปจS จุบนั ในป^ พ.ศ.2430 ไดกอต้ังกรมศึกษาธิการ โรงเรียนท่ีมีอยูสมัยน้ัน ก็ขึ้นกับกรม ศกึ ษาธกิ ารทง้ั ส้นิ และอีก 2 ป^ตอมา คือ พ.ศ. 2432 ไดตั้งกระทรวงธรรมการขึ้น เพื่อรับผิดชอบ ในการจัดการศึกษาโดยตรง การฝก` หดั ครูของไทย เรมิ่ ดําเนนิ การมาตง้ั แตป^ พ.ศ.2435 ซงึ่ ขณะนนั้ การจัดการฝ`กหัดครูเป4นหนาท่ีของกรมศึกษาธิการ โรงเรียนฝ`กหัดครูแหงแรกตั้งข้ึนที่บริเวณโรง เลี้ยงเด็กสะพานดําพระนคร เรียกวา “โรงเรียนฝ`กหัดอาจารย%” สอนระดับประโยคประถม กําหนดเวลาเรียน 2 ป^ ในป^แรกมีนักเรียนเพียง 3 คน ป^ตอมานักเรียนเพิ่มจํานวนมากขึ้นเร่ือยๆ จึงยายมาอยูท่ีตึกแมนนฤมิตร วัดเทพศิรินทราวาส เม่ือป^ พ.ศ.2445 เรียกวา “โรงเรียนฝ`กหัด อาจารย%เทพศริ นิ ทร%” ป^ พ.ศ. 2446 ไดขยายหลักสตู รใหสูงขึ้นถึงข้ันฝก` หดั ครมู ัธยม ในป^ พ.ศ. 2446 กระทรวงธรรมการไดตั้งโรงเรียนฝ`กหัดครูข้ึนอีกแหงหนึ่ง ที่บานสมเด็จ เจาพระยา เรียกวา “โรงเรียนฝ`กหัดครูฝSdงตะวันตก” สอนตามหลักสูตรครูมูล รับนักเรียนหัวเมือง เขาศึกษา เพอ่ื มงุ หมายใหออกไปเป4นครู ตามหัวเมอื ง เพ่ือเป4นการสะดวกแกการท่ีจะขยายการศกึ ษา ใหแพรหลายตอไป กระทรวงธรรมการจึงไดดําเนินการจัดตั้งการฝ`กหัดครูในหัวเมืองขึ้นในบาง มณฑลดวยการฝก` หดั ครขู องจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ไดกอกาํ เนดิ ขึ้นในขณะท่ียังเปน4 มณฑลกรงุ เกา ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยเร่ิมดําเนินการดวยการตั้งเป4นโรงเรียน ชือ่ วา “โรงเรียนฝก` หัดครเู มืองกรุงเกา” เมอ่ื วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2448 ต้ังอยูท่ีหลังพระราชวัง จันทรเกษม จัดสอนวิชาสามัญอนุโลมตามหลักสูตรมัธยมศึกษา 1 -2 -3 แตเพ่ิมวิชาครูคัดเลือก นักเรียนตามหัวเมืองในมณฑลมาฝ`กหัดเป4นครู เพ่ือสงไปโรงเรียนตางๆ ในมณฑล (หัวเมืองใน มณฑลกรุงเกา คือ กรุงเกา อางทอง สระบุรี ลพบุรี พรหมบุรี อินทร%บุรี สิงห%บุรี) จนถึงป^ พ.ศ. 2458 การฝ`กหัดครเู มอื งกรงุ เกา จงึ เปลี่ยนแปลงระเบียบการใหม ตามระเบียบการฝ`กหัดครูมูลหัว เมอื งของกระทรวงธรรมการ การฝก` หัดครมู ลู ไดดําเนนิ การตดิ ตอกันมาจนถงึ ปพ^ .ศ. 2475 จงึ ยุบ เลกิ ไป รวมเวลาท่ีโรงเรียนเปgดสอนหลักสตู รครมู ูล (ครู ป.) อยปู ระมาณ 27 - 28 ป^ 4 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

การกอตั้งการฝก` หัดครมู ณฑลกรุงเกาไดรบั เกยี รตปิ ระวตั สิ งู สมฐานะของมณฑลเป4นที่สนใจของผูใหญ ทกุ ชั้น อาทิ - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทานพระราชทรัพย%จํานวน 30,000 บาท ใหกระทรวงธรรมการกอสรางโรงเรยี นฝก` หดั ครเู มืองกรุงเกา - สมเด็จพระเจาบรมวงศ%เธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทรงใหการสนบั สนนุ การกอสรางโรงเรยี นใหเปน4 ท่ีเรียบรอยราบร่ืน - เจาพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (ม.ร.ว.เป^ย มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ในคร้ังนั้นยังเปน4 พระยาวิสุทธสิ์ รุ ยิ ศักดิ์ อธบิ ดกี รมศึกษาธกิ ารเห็นวา “การใหญสําคัญของกรมศึกษาธิการก็คือ การฝ`กหัดครูใหดีแลวเป4นทางจริงๆ ท่ีจะใหการศึกษาเลาเรียนในบานเมืองดําเนินสูทางเจริญ เพราะฉะน้ันในการที่จะสรางและต้ัง โรงเรยี นฝก` หัดอาจารย% จึงเป4นการสาํ คัญของกรมศึกษาธกิ ารท่ีจะทํา” ทานผูน้ีไดมาตรวจดูสถานที่ที่จะสรางโรงเรียนฝ`กหัดครูเมืองเกาแลวตัดสินใจวาจาง สถาปนิก ชาวอิตาลใี หสรางโรงเรียนเป4นเงิน 30,000 บาท กอนไดรับอนุญาตจากกระทรวงธรรม การและกระทรวงพระคลังมหาสมบัติเป4นเหตุใหเกิดการขุนเคืองถึงใตฝWาละอองธุลีพระบาทเพราะทํา ผิดแบบอยางราชการ แตเน่ืองจากเป4นผูที่ทรงชอบพอรักใครและทรงเห็นในเจตนาที่ดีมิใชทําเพื่อ “อาณาประโยชน% ของตน” จึงพระราชทานอภัยโทษใหและไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระราชทรพั ย%จาํ นวน 30,000 บาท ใหกระทรวงธรรมการกอสรางโรงเรียน โรงเรียนนไ้ี ดบรรลุถึงซึง่ ความเจรญิ เกดิ ประโยชน%ตอการศึกษาของชาตมิ าจนถึงปจS จบุ ัน นอกจากโรงเรียนฝ`กหัดครูเมืองกรุงเกา ท่ีหลังพระราชวังจันทรเกษมแลว ในป^ พ.ศ.2467 มณฑลกรุงเกายังไดจัดตั้งโรงเรียนฝ`กหัดครูมูลกสิกรรมข้ึนท่ีตําหนักเพนียดอีกแหงหนึ่ง ทงั้ น้เี ปน4 นโยบายกระทรวงธรรมการที่ใหทุกมณฑลต้ังโรงเรียนฝ`กหัดครูกสิกรรมเพ่ือฝ`กหัดครูกสิกร รมสอนวชิ าวสิ ามัญ (ใหเรียนวิชากสิกรรม) ในช้ันประถมป^ที่ 4 และชั้นประถมป^ท่ี 5 เพราะถาเอา ครูมูลสามญั ไปสอนกเ็ ทากับเอาเปด4 ขนั การฝ`กหัดครูมูลกสิกรรมกับการฝ`กหัดครูมูลสามัญ เป4นการฝ`กหัดครูในระดับเดียวกัน การแยกกันเรียนคนละแหงน้ันเนื่องจากการฝ`กหัดครูมูลกสิกรรมจําเป4นตองมีสถานท่ีสําหรับฝ`กหัด ทําการกสิกรรมดวยซ่ึงบริเวณหลังพระราชวังจันทรเกษมไมมีสถานที่พอ และไมเหมาะสมที่จะจัดการ กสิกรรม อี กทั้งยังจอแจแออัดด วยนักเรียนชั้นประถม นักเรียนช้ันมัธยมที่ มากข้ึ นดวย ดังนั้นในป^ พ.ศ. 2475 จึงไดยุบเลิกแผนกฝ`กหัดครูมูลสามัญ ท่ีโรงเรียนตัวอยางมณฑลกรุงเกา (โรงเรยี นฝ`กหดั ครูเมืองกรุงเกา) การฝ`กหดั ครูจงึ รวมอยใู นโรงเรียนฝก` หัดครมู ูลตําหนักเพนยี ดแหงเดยี ว 2. พัฒนาการของการ “สรางความเปน8 ครู” จากโรงเรียนฝก< หัดครเู มอื งกรงุ เกาสูสถาบันราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา ก. สถานภาพของโรงเรียนฝ`กหัดครูมูลตําหนักเพนียดภายหลังการยุบเลิกมณฑล พ.ศ. 2476 ทางราชการไดยุบเลิกมณฑลตางๆ โรงเรียนฝ`กหัดครูมูลตําหนักเพนียดจึงมีฐานะเป4น โรงเรียนฝ`กหัดครูมูล ประจําจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ใชชื่อโรงเรียนวา โรงเรียนฝ`กหัดครูมูล ฝ`กหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ยังคงสอนตามหลักสูตรครูมูลกสิกรรม พ.ศ. 2467 ตามเดมิ Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 5

ข. การยายสถานท่ีตั้งโรงเรียนฝ`กหัดครูมูล ฝ`กหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดและการ เปล่ียนชื่อโรงเรียน พ.ศ. 2479 ทางราชการเห็นสมควรใหยายโรงเรียนฝ`กหัดครูมูลฝ`กหัดครู ประกาศนียบัตรจังหวัดจากตําหนักเพนียดไปอยูในกรมทหารหัวแหลม เพราะมีอาคารวางอยูเป4น จํานวนมากและมีบริเวณกวางขวางเหมาะในการฝ`กหัดทําการกสิกรรมโดยแยกเป4นสองโรงเรียนคือ โรงเรียนฝ`กหัดครูชายและโรงเรียนฝ`กหัดครูสตรี และใหเปล่ียนชื่อโรงเรียน เป4นโรงเรียนฝ`กหัดครู ประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และโรงเรียนฝ`กหัดครูสตรีประกาศนียบัตรจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เปgดทําการสอนเมื่อวันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ.2479 และมีการเปล่ียนแปลง ระเบียบการ ฝก` หัดครใู หมดังน้ี 1. โรงเรียนนี้เป4นโรงเรียนฝ`กหัดครูประกาศนียบัตรประเภท ข (กินนอนประจํา) แผนกเกษตรกรรม 2. รับนกั เรียนทีเ่ รยี นจบช้ันประถมศกึ ษาบริบรู ณ% เขาเรยี นตออีก 2 ป^ เม่อื สอบไลไดชนั้ ป^ ท่ี 2 แลวจะไดรบั ประกาศนียบตั รจงั หวดั (ครู ว.) 3. รับครูประชาบาลที่ยงั ไมมวี ฒุ ิครู เขารับการอบรมอีก 1 ป^ จบการอบรมแลวจะไดรับ ประกาศนียบัตรครูประชาบาล (ครู ป.บ.) เมื่อเปgดเรียนวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2479 มีนักเรียน ประเภทในบํารุง (รัฐบาลอุดหนุน) 30 คน ประเภทนอกบํารุง (ทุนสวนตัว) 40 คน และมีครู ประชาบาลท่ยี ังไมมีวฒุ ิครู มาเขาอบรมเพมิ่ เติม 39 คน รวมทั้งส้นิ 118 คน สิ้นปก^ ารศึกษา 2479 ครูประชาบาลที่เขามาอบรม จบการอบรมไดวุฒิ ป.บ. ออกไปเป4น ครูตามโรงเรียนเดิมที่ตนสังกัดอยู 39 คน และสิ้นป^การศึกษา 2480 นักเรียนฝ`กหัดครู 79 คน สอบไลไดสาํ เรจ็ การศึกษาไดวฒุ ิ ครู ว. ออกไปเปน4 ครปู ระชาบาลตามสังกดั ภมู ลิ าํ เนาเดิมของตน การผลิตครูท้ัง 2 ระดับ (ครู ว. และครู ป.บ.) มีวุฒิตํ่ากวาครูมูล (ครู ป.) แตจําเป4นตอง ทาํ ทัง้ น้ีเพราะมคี วามจาํ เปน4 ทีจ่ ะตองเรงผลิตครูใหออกไปสอนในโรงเรียนชนบท ซึ่งยังขาดแคลนครูอยู อยางมาก (เน่ืองจาก พ.ร.บ.ประถมศึกษา ซึ่งประกาศใชเม่ือ พ.ศ. 2464 มีผลบังคับใชทุกตําบลใน ประเทศไทย ใน ป^ พ.ศ.2478) ปรากฏวานักเรียนฝ`กหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สาํ เรจ็ ออกไปเป4นครตู ั้งแตป^ พ.ศ. 2480 – 2482 มีจาํ นวนถึง 307 คน ชาวอยุธยาชอบเรียกโรงเรียนฝ`กหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยาวา “โรงเรียนประกาด” หรือ “โรงเรียนผักกาด” เพราะโรงเรียนนี้เป4นการฝ`กหัดครูแผนกเกษตรกรรม นักเรยี นทกุ คนตองทาํ แปลงขนาด 1 x 4 เมตร คนละ 4 แปลง ปลกู ผกั ตลอดทงั้ ป^ ค. การยายสถานที่ตั้งโรงเรียนฝ`กหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และการเปลยี่ นชอื่ โรงเรียน พ.ศ. 2484 รัฐบาลมีนโยบายจะปรับปรุงการทําสุราและเมรัย จําหนายแกประชาชน นายปรีดี พนมยงค% (หลวงประดิษฐ% มนูธรรม) เป4นรัฐมนตรีกระทรวงการคลังรับผิดชอบในเร่ืองนี้ จงึ ขอเอาโรงงานตมกล่ันสุราและเมรัย มาต้ังในจังหวัดน้ีโรงหนึ่ง เพื่อความเจริญทางดานเศรษฐกิจ ของบานเกิดของทาน โดยเอามาต้ังท่ีกรมทหารเกา เพราะเป4นสถานที่ท่ีมีความเหมาะสมท่ีสุด ขณะเดียวกันทานก็คํานึงถึงความเจริญในดานการศึกษาของจังหวัดเป4นอยางยิ่ง กระทรวงการคลัง จึงอนุมตั ิใหจายเงินทนุ ปรับปรุงสรรพสามิต จํานวน 2 แสนบาท เป4นคาชดเชยใหไปสรางโรงเรียน 5 โรงเรียน ที่ตองยายออกจากกรมทหาร โรงเรียนฝ`กหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จึงไดยายไปสรางอยูในท่ีราชพัสดุติดกับวัดวรโพธ์ิ (ตรงท่ีเป4นโรงเรียนประตูชัย ปจS จุบนั ) ในเนือ้ ทีป่ ระมาณ 21 ไร สวนโรงเรียนฝก` หดั ครูสตรยี ายไปอยทู ่ี ตําบลหอรัตนชัย อําเภอ พระนครศรีอยุธยา เน้อื ทปี่ ระมาณ 14 ไร 6 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

พ.ศ. 2491 โรงเรียนฝ`กหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดเปลี่ยนช่ือ เป4นโรงเรียนฝก` หัดครูพระนครศรีอยุธยา การจดั การศึกษาของโรงเรียนไดมีการเปลี่ยนแปลงระเบียบ การผลิตครู ดงั นี้ 1. หลักสูตร ครู ว. เปล่ียนระเบียบใหม โดยรับนักเรียนท่ีจบชั้นมัธยมศึกษาป^ที่ 3 เขา เรียนตออีก 2 ป^ ทง้ั น้ี ต้ังแตป^ พ.ศ. 2482 - 2492 2. หลักสูตร ครู ป.บ. ก็เปลี่ยนแปลงระเบียบใหมเชนกัน คือรับนักเรียนที่เรียนจบชั้น ประถมศกึ ษาปท^ ี่ 4 เขาเรยี นตออกี 3 ป^ ต้งั แต พ.ศ. 2486 - 2490 3. หลักสูตรครูมูล ครู ป. น้ัน โรงเรียนไดกลับมาเปgดสอนหลักสูตรนี้อีกระยะหนึ่ง โดยรบั นกั เรียนทส่ี าํ เรจ็ มัธยมศึกษาป^ที่ 6 เขาเรียนตออกี 1 ป^ ต้ังแต พ.ศ. 2490 - 2497 เมอ่ื โรงเรียนตัง้ อยูตรงที่เป4นโรงเรียนประตูชัยปSจจุบันไดเป4นป^ที่ 13 ก็มีเหตุการณ%สําคัญ เกิดขึน้ คอื วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2497 ทางราชการไดยกฐานะกองการฝ`กหัดครูข้ึนเป4นกรมการ ฝ`กหัดครู กรมการฝ`กหัดครู จึงไดปรับปรุงและเปลยี่ นแปลงกิจการฝก` หดั ยกเลิกระบบการฝ`กหัดครู เดมิ การผลิตครู ว. ครู ป.บ. ครู ป. ก็ยกเลกิ โรงเรียนฝ`กหัดครูพระนครศรีอยุธยา จึงเร่ิมใชระบบการฝ`กหัดครูแบบ 2 -2 -2 ของ กรมการฝ`กหัดครู ต้ังแตป^การศึกษา 2498 เป4นตนมา การเรียน การสอน การวัดผล เปลีย่ นแปลงใหมใชระบบหนวยกติ โรงเรียนฝ`กหัดครูพระนครศรีอยุธยา เริ่มตนผลิตครู ป.กศ. ในป^ พ.ศ. 2498 โดยรับ นักเรียนที่เรียนจบมัธยมศึกษาป^ที่ 6 เขาเรียนตอ 2 ป^ โรงเรียนยังคงต้ังอยูที่เดิม จนถึงป^ พ.ศ. 2509 จงึ ไดยายสถานท่ีตง้ั ใหม ง. การยายสถานท่ีตั้ง และการยกฐานะเปน4 วิทยาลัยครพู ระนครศรอี ยธุ ยา พ.ศ. 2509 โรงเรียนฝ`กหัดครูพระนครศรีอยุธยา ไดยายมาต้ังอยู ณ ที่ปSจจุบัน เลขที่ 96 ถนนโรจนะ มเี นอ้ื ที่ประมาณ 150 ไรเศษ (กรมการฝ`กหัดครู ไดเจรจาตกลงขอแลกเปลี่ยนสถานที่ กับกรมสามัญจึงใหโรงเรียนประตูชัยของกรมสามัญซึ่งตั้งอยู ณ ท่ีน้ี ยายไปต้ังอยู ณ ท่ีต้ังของ โรงเรียนฝ`กหัดครูพระนครศรีอยุธยา) ในป^นี้โรงเรียนไดรับการยกฐานะข้ึนเป4นวิทยาลัยครู พระนครศรอี ยุธยาดวย พ.ศ. 2511 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดประกาศรวมโรงเรียนสตรีฝ`กหดั ครูพระนครศรีอยธุ ยา เขากบั วิทยาลัยครพู ระนครศรอี ยธุ ยา พ.ศ. 2517 เร่มิ เปgดสอนถึงระดบั ปรญิ ญาตรี (ป.อ.) หลักสูตร 2 ป^ จากผูมีวุฒิ ป.กศ.สูง ป.ม. หรอื พ.ม. โดยเปดg สอนในปแ^ รกน้ี 2 สาขา คือ สาขาประถมศกึ ษา (วชิ าเอกภาษาไทย) และสาขามธั ยมศกึ ษา (วิชาเอกฟgสิกส%) พ.ศ. 2519 เรมิ่ ใชหลกั สูตรสภาการฝก` หัดครู พ.ศ. 2519 เปgดสอนระดับ ป.กศ.สูง หลักสูตร 2 ป^ จากผูมีวุฒิเดิม ป.กศ. ป.ป. ม.ศ.5 และเปgดสอนระดบั ปรญิ ญาตรี (ค.บ.) หลกั สูตร 2 ป^ จากผูมีวฒุ เิ ดิม ป.กศ.สูง ปวส ป.ม. และ พ.ม. พ.ศ. 2523 เปดg สอนระดับปรญิ ญา (ค.บ.) หลักสตู ร 4 ป^ รับจากผูมีวุฒิเดิม มศ.5 ป.ก ศ. และ ป.ป. พ.ศ. 2524 เริ่มใชหลักสูตรสภาการฝ`กหัดครู พ.ศ. 2524 เปgดสอนระดับปริญญาตรี (ค.บ.) หลกั สตู ร 4 ป^ รับจากผมู ี วฒุ ิเดมิ ม.ศ.5, ป.กศ. และ ป.ป. พ.ศ. 2526 เปดg รบั นกั ศกึ ษา ป.กศ.สูง เทคนิคการอาชีพ เพิ่มเติม 6 วิชาเอก หลักสูตร นีเ้ ปดg สอนถงึ ป^การศึกษา 2527 เป4นป^สุดทาย Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 7

พ.ศ. 2528 เริ่มเปgดหลักสูตรสาขาวิชาการอ่ืนๆ นอกเหนือจากสาขาวิชาชีพครู โดยเปgดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต และศิลปศาสตรบัณฑิตพรอมกับระดับอนุปริญญา ขณะเดยี วกนั กย็ งั คงเปgดหลักสตู รสาขาวิชาชีพครู ครุศาสตรบัณฑิต ทั้งระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป^ และ 2 ป^ ไปพรอมๆ กัน วิทยาลัยครพู ระนครศรีอยุธยา โชคดไี ดรับมรดกทางดานวทิ ยาการ การฝ`กหัดครูมาตั้งแต สมัยเป4นมณฑลกรงุ เกา นับวาเป4นมรดกที่มีคา มีความหมายสาํ หรบั วทิ ยาลยั ทมี่ หี นาท่ี “สรางความ เปน4 ครู” ใหกับสังคมไทยตลอดมา จ. ระยะทาง 90 ป^ จากโรงเรียนฝ`กหัดครูเมืองกรุงเกา สูสถาบันราชภัฏ พระนครศรีอยธุ ยา พ.ศ. 2538 เกิดการเปล่ียนแปลงคร้ังยิ่งใหญของวิทยาลัยครูทั่วประเทศ คือ มีการ ปรับเปล่ียน พ.ร.บ.วิทยาลัยครู เป4นพ.ร.บ.สถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 และมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2538 วิทยาลยั ครูทัว่ ประเทศ มีอยูทั้งส้ิน 36 แหง ไดเปล่ียนชื่อเป4นสถาบัน ราชภัฏ วทิ ยาลยั ครูพระนครศรีอยุธยา เปลย่ี นมาเป4นสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีพิธีทําบุญ ครบรอบ 90 ป^ สถาบนั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา และพธิ ีเปดg ปkายสถาบนั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา เมือ่ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 โดย ดร.นเิ ชต สุนทรพิทักษ% เลขาธิการสภาสถาบันราชภัฏเป4น ประธาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทรสยามมินทราธิราชบรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานนาม “ราชภฏั ” และตรา หรอื สัญลกั ษณ “ราชภัฏ” นับเป8นพระมหากรณุ าธคิ ุณและ เกยี รติยศสงู สุดแกชาวสถาบนั ราชภัฏ ทว่ั พระราชอาณาจักร นาม “ราชภฏั ” หมายความวาเปน4 ปราชญ%ของพระราชา ตราสัญลักษณราชภัฏ พิจารณาจากดวงตราพระราชลัญจกรประจําพระองค%รัชกาล ปSจจุบัน เพ่ือกําหนดรูปแบบสัญลักษณ%สถาบันราชภัฏ และไดรับพระราชทานมาเป4นตราประจํา สถาบนั ราชภฏั ทวั่ พระราชอาณาจักรซึ่งมีรายละเอียดที่สมควรนาํ มากลาวถึงไว ณ ทนี่ ีค้ อื - เปน4 รูปแบบที่เกย่ี วของกับสถาบันพระมหากษตั ริย% ผใู หกําเนดิ สถาบนั - เป4นรูปแบบท่ีเป4นกลาง เกี่ยวของกับทองถ่ินที่ต้ังธรรมชาติ และความสอดคลองกับช่ือ สถาบนั ราชภฏั ท่ไี ดรับพระราชทาน - สีของสัญลกั ษณ% ประกอบดวยสีตางๆ จํานวน 5 สี สนี ้าํ เงิน แทน คาสถาบนั เป4นพระมหากษตั รยิ %ผใู หกาํ เนิด และพระราชทานนาม “สถาบนั ราชภฏั ” สเี ขียว แทน แหลงทตี่ ัง้ ของสถาบันทง้ั 40 แหงในแหลงธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอมท่สี วยงาม สที อง แทน ความเจรญิ รุงเรอื งทางภูมปิ Sญญา สีสม แทน คาความเจริญรงุ เรอื งของศลิ ปวัฒนธรรมทองถน่ิ ทก่ี าวไกล ใน 40 สถาบนั สีขาว แทน คาความคดิ บรสิ ทุ ธข์ิ องนักปราชญ% แหงพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั 8 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ฉ. จากสถาบันราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา สมู หาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา พ.ศ. 2547 สถาบันราชภัฏไดมีการปรับเปล่ียน พ.ร.บ.สถาบันราชภัฏ พ.ศ.2538 เป4น พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และมผี ลบังคับใช เมื่อวันท่ี 15 มิถุนายน พ.ศ.2547 สถาบัน ราชภัฏท่วั ประเทศทมี่ อี ยทู งั้ สิน้ 41 แหง ท่ัวประเทศไดรับการยกฐานะเป4นมหาวิทยาลัยมีสถานภาพ เป4นนิติบุคคลตามกฎหมาย สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จึงเป4นมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยานับแตนั้นมา และไดมีพิธเี ปgดปkายมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เม่ือวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 โดยผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นายสมศักด์ิ แกวสุทธิ เป4นประธานในพิธเี ปgด Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 9

หัวหนาสถานศึกษาจากอดีตถงึ ปBจจุบนั มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา โรงเรียนฝ<กหดั ครู 2479 – 2480 นายเตมิ ทบั ทิมทอง พระนครศรีอยุธยา 2480 – 2487 นายฉลอง ศรีจนั ทร% 2487 – 2497 นายชัยวัฒน% ยุกตริ ตั น% โรงเรียนสตรฝี ก< หัดครู 2497 – 2501 นายประยทุ ธ สวสั ดิสิงห% พระนครศรีอยุธยา 2501 – 2508 นายทวี โปราณานนท% 2508 – 2508 นางสาวฉววี รรณ ดุลยจินดา 2508 – 2509 นายจนิ ต% รตั นสิน นางสาวสมสวสั ดิ์ จามรวรรณ 2479 – 2479 ม.ล.หญงิ ทินกร 2479 – 2481 นางพสิ ิฏฐ% เวชชภูม(ิ ทองฟุ อุบลพันธ)% 2481 – 2487 นางสาวจารนุ ีย% มฤคทัต นางสาวพเยาว% ศรหี งส% วทิ ยาลัยครู 2487 – 2492 นางสาวอนงค% สงั ขะวร พระนครศรอี ยุธยา 2492 – 2501 นายจนิ ต% รตั นสนิ (รักษาการฯ) 2501 – 2511 สถาบันราชภฏั 2511 – 2511 นายจินต% รตั นสนิ พระนครศรอี ยุธยา ดร.นิเชต สุนทรพทิ กั ษ% มหาวิทยาลยั ราชภฏั 2509 – 2517 รศ.สรุ พนั ธ% ยนั ตท% อง พระนครศรอี ยุธยา 2517 – 2519 รศ.ดร.เจรญิ ผล สวุ รรณโชติ 2519 – 2521 นายจําเรญิ เสกธรี ะ 2521 – 2523 นายโสภณ สุวรรณโรจน% 2523 – 2524 รศ.ธง รญุ เจริญ 2524 – 2531 ดร.จรินทร% ชาติรงุ 2531 – 2532 รศ. วทิ ยา รงุ อดุลพิศาล 2532 – 2536 รศ.ดร.บุหงา วัฒนะ 2537 – 2538 ผศ.สุวิทย% เฑียรทอง รศ.สุวทิ ย% เฑียรทอง 2538 – 2546 ดร.บูรพาทศิ พลอยสุวรรณ% 2547 นายจริ ศกั ดิ์ ชมุ วรานนท%(รกั ษาการฯ) ดร.เกษม บาํ รงุ เวช 2547 – 2552 2552 – 2556 2557 2557 – ปSจจบุ ัน ขอมลู ณ วนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน 2558 10 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ปรชั ญา คุณธรรม นําความรู ศุการพฒั นาทองถ่ิน สานศิลปlมรดกโลก วิสยั ทัศน มหาวทิ ยาลัยชัน้ นาํ เพ่ือการพัฒนาทองถนิ่ เอกลกั ษณ แหลงเรียนรูภูมปิ Sญญา พัฒนาการทองเท่ยี ว เชย่ี วชาญงานครู เชิดชมู รดกโลก อัตลกั ษณ ใฝรW ู อตุ สาหะ สํานึกดี มีจิตอาสา คานิยม เสยี สละ สามคั คี มใี จใฝWรู พนั ธกิจ 1. จดั การศึกษาระดบั อุดมศึกษาและวิชาชีพชัน้ สงู ทม่ี ุงเนนมาตรฐานและคณุ ภาพทาง วชิ าการ โดยคํานึงถงึ ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาควบคูไปกบั ความมคี ุณธรรม 2. ศึกษา คนควา วจิ ัยสรางองคค% วามรใู หม บริการวชิ าการแกทองถนิ่ รวมทงั้ บรู ณาการ การวิจัย การบริการวิชาการกับการเรียนการสอนและการพฒั นานักศึกษา 3. สืบสาน ทํานบุ ํารุง แลกเปลีย่ นเรียนรู และเผยแพรศลิ ปวฒั นธรรมประเพณีไทยใน หลากหลายมติ ิ 4. ผลิตและพฒั นาครู รวมทง้ั บุคลากรทางการศกึ ษาใหมีมาตรฐาน 5. พัฒนาเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกบั ทองถน่ิ รวมทั้งพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การและปรบั ปรงุ มหาวทิ ยาลัยใหเป4นแหลงเรียนรูอดุ มศึกษา เปน4 ที่พ่งึ พาใหทองถนิ่ 6. ศึกษาและสบื สานแนวพระราชดาํ ริ และหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงนอมนาํ มาสู การปฏบิ ตั ิ 7. บรหิ ารจัดการองคก% รอยางมีประสิทธิภาพ ดวยหลกั ธรรมาภบิ าล พฒั นาสคู วามเป4น เลศิ และเป4นองค%กรแหงความสขุ 8. เสรมิ สรางมหาวทิ ยาลยั ใหเปน4 สวนหนงึ่ ในการทองเที่ยว “อยุธยาเมืองมรดกโลก” 9. แสวงหาความรวมมือกบั ทง้ั ภาครัฐและเอกชนเพอื่ พฒั นามหาวทิ ยาลัยและทองถ่นิ อยางยัง่ ยนื 10. สงเสรมิ และพฒั นาความรูความเขาใจ สรางจิตสาํ นกึ ในการใชทรพั ยากรธรรมชาติ อยางคมุ คา ดูแลรกั ษาและพัฒนาสภาพแวดลอมอยางยัง่ ยนื 11. แสวงหาความรวมมอื กบั ตางประเทศ เพอ่ื เพิ่มศกั ยภาพ และความเขมแข็งทางวชิ าการ พรอมกาวสสู งั คมโลกาภิวตั น% Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 11

นโยบายมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 1. เรงรดั การผลติ บณั ฑิต การจดั การศกึ ษาใหมีคุณภาพตามเกณฑ%มาตรฐานยกระดับสคู วามเปน4 เลิศ และสอดคลองกบั ความตองการของตลาดแรงงาน 2. สงเสริมใหมีการผลิตงานวิจัย การสรางสรรค%นวัตกรรม องค%ความรู สืบสานโครงการอัน เน่ืองมาจากแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีตอบสนองความตองการของสังคมและสามารถ แขงขันไดในระดบั กลุมประชาคมอาเซยี น 3. เป4นศูนยก% ลางการบริการ และเผยแพรขอมลู ดานศลิ ปวฒั นธรรมเพ่ือสงเสริมการทองเที่ยวที่ เปน4 เอกลกั ษณ%ของอยุธยา เมืองมรดกโลก อยางยั่งยืน 4. สงเสรมิ การสรางเครือขายของการพัฒนาศักยภาพครู ผบู ริหารและบุคลากรทางการศึกษา ตามเกณฑ%มาตรฐานวิชาชีพ เหมาะสมกับการเป4นวิชาชีพชั้นสูง ที่สามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางมี คณุ ภาพ 5. สนับสนุน รวมมอื พฒั นาคุณภาพของมหาวิทยาลัยใหสามารถเป4นแหลงเรียนรูท่ีมีคุณภาพ และการใหบริการทางวิชาการ เพื่อสงเสริมการเรยี นรอู ยางตอเน่อื งตลอดชีวิต 6. สนบั สนุน พัฒนาถายทอดเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพื่อตอบสนองความตองการของทองถ่นิ และ สงั คมสนบั สนนุ ภิมปญS ญาทองถิน่ สูภูมปิ ญS ญาสากล 7. สงเสริม สนบั สนนุ การใชประโยชน%จากทรัพยากรธรรมชาติของทองถิ่น ชุมชน อยางคุมคา เพ่ือใหเกิดการจัดการ บํารงุ รักษาส่ิงแวดลอม พัฒนาสภาพแวดลอมอยางยงั่ ยนื 8. สนบั สนุน พัฒนา การสรางความรวมมือในการพัฒนามหาวิทยาลัยสูความเป4นสากลโดยใช หลกั ธรรมาภิบาล และนาํ วธิ ีการบรหิ ารจดั การแนวใหมมาใชในการพัฒนามหาวทิ ยาลัย 9. เรงรัดใหมีอาจารยค% ณุ วุฒิปรญิ ญาเอกและตาํ แหนงทางวชิ าการ เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพดานการ สอนและการวจิ ัยสรู ะดบั สากล 10. เรงรัดการพัฒนาคุณภาพของงานวิจัยท่ีสามารถตอบสนองความตองการของทองถิ่น สามารถแขงขนั ไดในระดบั สากล 11. สงเสริมการจดั การเรียนการสอนเพ่ือเตรยี มความพรอมสปู ระชาคมอาเซียนดานภาษาองั กฤษ และภาษาในกลุมประเทศอาเซยี น คุณลกั ษณะบัณฑติ ทพี่ ึงประสงคของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา มหาวทิ ยาลัยมีเปาk ประสงคใ% นการผลติ บัณฑติ ท่มี ีคณุ ภาพ คุณธรรม นําการพัฒนาทองถิ่น ดวยการเป4นคนดี คนเกง มีความสุข รักทองถิ่นและความเป4นไทย โดยมีคุณลักษณะบัณฑิต ทพ่ี ึงประสงค% ดังนี้ 1. ดานความรู มีความรูในทางวิชาการ มคี วามรูรอบ สามารถประยกุ ตค% วามรู 2. ดานความคิด คิดวิเคราะห% คิดสังเคราะห% คิดอยางมีวจิ ารณญาณ คิดเชิงบวก คิด สรางสรรค% 3. ดานทักษะ มีทักษะการสื่อสารและการใชเทคโนโลยี มีทักษะในการทํางานเป4นทีม มีทกั ษะในการดาํ รงชีวติ และการประกอบอาชีพภายใตสงั คมพหวุ ัฒนธรรม 4. ดานบุคลิกนสิ ยั มีความใฝWรู อุตสาหะ สาํ นึกดี มีจิตอาสา 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ภารกิจ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยามีภาระหนาที่ ซ่ึงกําหนดไวในพระราชบัญญัติ สถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2547 ความในหมวดท่ี 1 บทท่วั ไป มาตรา 7 ดงั น้ี “ใหมหาวิทยาลัยราชภัฏเป4นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาทองถ่ิน ท่ีเสริมสรางพลัง ปSญญาของแผนดิน ฟnmนฟูหลังการเรียนรู เชิดชูภูมิปSญญาของทองถ่ิน สรางสรรค%ศิลปะวิทยา เพื่อความเจริญกาวหนาอยางมั่นคงและยั่งยืนของปวงชนมีสวนรวมในการจัดการ บํารุงรักษา การใช ประโยชนจ% ากทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค%ใหการศึกษา สงเสริมวชิ าการและวิชาชพี ช้ันสูง ทาํ การสอน วิจยั ใหบรกิ ารทางวิชาการแกสังคม ปรับปรุง ถายทอด และพัฒนาเทคโนโลยี ทํานบุ าํ รุงศิลปะและวฒั นธรรม ผลติ ครแู ละสงเสริมวทิ ยฐานะครู มาตรา 8 ในการดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค%ตามมาตรา 7 ใหกําหนด ภาระหนาท่ขี องมหาวิทยาลยั ดงั ตอไปนี้ (1) แสวงหาความจริงเพื่อสูความเป4นเลิศทางวิชาการ บนพ้ืนฐานของภูมิปSญญาทองถ่ิน ภมู ปิ Sญญาไทย และภูมปิ Sญญาสากล (2) ผลิตบัณฑิตท่ีมีความรูคูคุณธรรม สํานึกในความเป4นไทย มีความรักและผูกพันตอ ทองถ่ิน อีกทั้งสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตในชุมชน เพ่ือชวยใหคนในทองถิ่นรูเทาทันการ เปล่ียนแปลง การผลิตบัณฑิตดังกลาว จะตองใหมีจํานวนและคุณภาพสอดคลองกับแผนการผลิต บณั ฑิตของประเทศ (3) เสริมสรางความรคู วามเขาใจในคุณคา ความสํานึก และความภูมิใจในวัฒนธรรมของ ทองถิ่นและของชาติ (4) เรยี นรแู ละเสรมิ สรางความเขมแข็งของผนู าํ ชมุ ชน ผนู ําศาสนาและนกั การเมอื งทองถ่ิน ใหมจี ิตสาํ นกึ ประชาธิปไตย คุณธรรม จริยธรรม และความสามารถในการบริหารงาน พฒั นาชุมชน และทองถิ่นเพือ่ ประโยชน%สวนรวม (5) เสรมิ สรางความเขมแข็งของวิชาชีพครู ผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมคี ุณภาพและมาตรฐานทเ่ี หมาะสมกับการเป4นวิชาชีพชน้ั สูง (6) ประสานความรวมมือและชวยเหลือเกื้อกูลกันระหวางมหาวิทยาลัยกับชุมชน องค%กร ปกครองสวนทองถิ่นและองค%กรอนื่ ท้งั ในและตางประเทศ เพ่อื การพฒั นาทองถ่ิน (7) ศึกษาและแสวงหาแนวทางพัฒนาเทคโนโลยีพ้ืนบานและเทคโนโลยีสมัยใหมใหเหมาะกับ การดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพของคนในทองถิ่น รวมถึงการแสวงหาแนวทางเพื่อสงเสริมใหเกิด การจดั การ การบํารุงรักษา และการใชประโยชน%จากทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมอยางสมดุลและ ยั่งยืน (8) ศึกษา วิจัย สงเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจาก แนวพระราชดําริในการ ปฏิบตั ภิ ารกิจของมหาวทิ ยาลัยเพือ่ การพฒั นาทองถ่ิน Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 13

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ไดปฏิบัติภารกิจในการใหการศึกษาวิชาการและ วิชาชีพช้ันสูงมาโดยตลอดจากเริ่มแรกที่ไดเปgดสอนเฉพาะวิชาชีพครู มาจนถึงที่ไดมีการประกาศใช พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527 ซ่ึงเปgดโอกาสใหวิทยาลัยครูสามารถผลิต บคุ ลากรสาขาวิชาการตางๆ ไดนอกเหนือจากการผลิตครู ดังน้ันต้ังแตป^การศึกษา 2528 เป4นตน มา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาจึงไดเร่ิมเปgดสอนสาขาการอื่นๆ นอกจากอาชีพครู บัณฑิต ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า จึ ง ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ท้ั ง ส า ข า ค รุ ศ า ส ต ร% สาขาศิลปศาสตร% และสาขาวิทยาศาสตร% โดยมีคณะวิชา 4 คณะดวยกันในการผลิตบัณฑิต คือ คณะครุศาสตร% คณะมนุษยศาสตร%และสังคมศาสตร% คณะวิทยาศาสตร%และเทคโนโลยี และคณะวิทยาการจัดการ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ.2538 ไดมีประกาศพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ในราชกิจจานเุ บกษา มผี ลใหสถาบันราชภัฏทาํ หนาทไี่ ดกวางขวางขึน้ ตามความเปลี่ยนแปลงของสังคม ทําหนาท่ีบริการใหกับนักศึกษาในสวนภูมิภาคเป4นหลัก และสามารถเปgดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทําใหสามารถพัฒนาทรัพยากรมนุษย%ตามนโยบายในระดับสูงได กวางขวางข้ึน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยามีความมุงมั่นท่ีจะใหการศึกษาวิชาการ และ วิชาชีพช้ันสูงแกชุมชนท้ังในระดับกวาง คือจะมีการต้ังคณะตางๆเพิ่มข้ึน ในเวลาอันใกลน้ี คือ คณะศลิ ปกรรม คณะเกษตร และคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม สวนในระดบั สูงน้ัน มหาวิทยาลยั ราช ภัฏพระนครศรีอยุธยา ไดมีการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยข้ึน เพื่อผลิตมหาบัณฑิตในสาขาตางๆ ตามความตองการของทองถ่นิ และตามศกั ยภาพของสถาบนั ทาํ การวจิ ยั ใหบรกิ ารทางวชิ าการแกสังคม การวิ จัย เป4 นภารกิ จท่ี สําคั ญย่ิ งของส ถาบันอุด มศึ ก ษา มหาวิท ย าลั ยร าชภั ฏ พระนครศรีอยุธยาไดปฏิบัติภารกิจนี้มาโดยตลอด โดยเฉพาะต้ังแตมีการระบุขอความใน พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2527 วา“ใหวทิ ยาลัยครเู ปน4 สถาบันการศกึ ษาและวิจัย” ขณะนี้เม่ือไดมีประกาศใชพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2538 ความในมาตรา 7 ก็ไดระบุ ภารกจิ หนงึ่ ของสถาบันราชภัฏไววา “ทาํ การวจิ ัยใหบริการทางวิชาการแกสังคม” และในมาตรา 10 ก็ไดกําหนดใหสํานักวิจัยเป4นสวนราชการสวนหน่ึงของสถาบันราชภัฏ ใหมีฐานะเทียบเทากอง เชนนี้ แสดงวา การวิจัยเป4นภารกิจทีส่ ําคัญยิ่งของสถาบันราชภัฏ เมื่อสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได ปรับเปลี่ยนเป4นมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ในป^ พ.ศ.2547 ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา จึงไดใหความสาํ คญั ตอการผลิตงานวิจัยเป4นอยางมากเพ่ือเป4นการบุกเบิกความรู ใหมๆ ในทางวิชาการอันจะสงผลตอการพัฒนาการเรียนการสอน และจะไดนําความรูใหมๆ ไป ปรับปรุงประสทิ ธภิ าพของการบริหารงาน และการใหบริการทางวิชาการแกสงั คมโดยเฉพาะอยางย่ิง ในฐานะที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเป4นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาทองถ่ิน จึงมีเปkาหมายท่ีสําคัญอยาง หน่ึงในการวิจัยวาการท่ีสังคมไทยไดพัฒนามาจนถึงบัดนี้ ก็ดวยภูมิปSญญาของชาวบาน จึงควรวิจัย ใหคนพบวา ภูมิปSญญาของชาวบานทั้งหลายน้ันมีความเป4นมาอยางไร เพื่อใหเกิดความชัดเจนวา วิวัฒนาการในปSจจุบันและเทคโนโลยีปSจจุบันน้ัน ลวนแลวแตมาจากภูมิปSญญาชาวบานท้ังส้ิน ผลการวิจัยเหลาน้ีจะไดนําไปใชในการพัฒนาคุณภาพ คุณวุฒิของคนในทองถ่ินใหสูงข้ึนสามารถ ประกอบอาชพี และอยใู นสังคมทองถ่ินอยางมคี ุณภาพ 14 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีนโยบายในการสงเสริมใหบุคลากรทํางานวิจัย โดยการจดั สรรงบประมาณและสนับสนุน สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เพื่อกระตุนใหมีการวิจัยใน ทุกสาขาวชิ าอยางกวางขวาง นอกจากนี้สถาบันยังไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากหนวยงานภายนอก ทําใหมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีผลงานวิจัยจํานวนมากและหลายสาขาวิชาอยาง ตอเนือ่ งทกุ ป^ เป4นการทาํ หนาทีอ่ ยางเหมาะสมกบั การเป4นสถาบันอดุ มศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทองถ่นิ การปรบั ปรงุ ถายทอดและพฒั นาเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มีความมุงม่ันท่ีจะปรับปรุง ถายทอดและพัฒนา เทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาสังคม โดยเฉพาะในเขตบริการของสถาบัน และปริมณฑลมาเป4นลําดับ โดยเร่ิม จากพัฒนาการเรียนการสอนใหแกนักศึกษาในสาขาวิชาตางๆ ทุกสาขาวิชา โดยเฉพาะนักศึกษาสาขา วิทยาศาสตร% อาจารย%ผูสอนจะไดรับการสนับสนุนใหทันตอความกาวหนาในดานตางๆ ท้ังในดาน สารสนเทศ และการใชเคร่ืองมือตางๆ ใหศึกษาคนควา คดิ คน วเิ คราะห% วิจยั ทฤษฎีและหลักวิชาตางๆ เพ่ือการปรับใชตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ เพ่ือใหมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาเป4น ศูนย%รวมวิทยาการขอมูลความรูตางๆ ทั้งดานสังคมศาสตร% วิทยาศาสตร%และเทคโนโลยี ส่ิงแวดลอมที่ เป4นปSญหาวิกฤต พรอมท่ีจะชวยทองถ่ินไดตลอดเวลา ต้ังแตป^ พ.ศ. 2548 ศูนย%วิทยาศาสตร%และ เทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาไดเริ่มดําเนินการปฏิบัติงานเพื่อศึกษา คนควา ทดลอง วิจัยทางวิทยาศาสตร%และวิทยาศาสตร%ประยุกต% เผยแพรงานวิจัย จัดหาทุนสนับสนุน โครงการวิจัย ฝ`กอบรมบุคลากรทั้งของกรมการฝ`กหัดครู และผูสนใจทั่วไปใหรูจักใชและทํานุบํารุง เคร่ืองมือและอุปกรณ%ทางวิทยาศาสตร%ทั้งน้ีจะเป4นประโยชน%อยางย่ิง ทั้งตอมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยาและสงั คมโดยทว่ั ไป การทํานบุ ํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เป4นภารกิจที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ไดปฏบิ ัติสืบเน่ืองตลอดมาเปน4 เวลาชานาน ในรูปแบบและวิธีการตางๆ กัน ถือวาเป4นภารกิจท่ีสําคัญยิ่ง โดยการสนับสนุนใหภาควิชาและคณะวิชาของสถาบันไดทําหนาท่ีทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ท้ังใน รปู แบบของกิจกรรมการเรยี นการสอนและกจิ กรรมเสริมหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ไดจัดต้ังศูนย%ศิลปวัฒนธรรมขึ้นเพ่ือใหทําหนาท่ีประสานงานและดําเนินงานเกี่ยวกับการทํานุบํารุง สงเสริมและเผยแพรวัฒนธรรมกับหนวยงานท้ังภายในและภายนอกสถาบัน งานที่สามารถมองเห็นเป4น รูปธรรมอยางชดั เจน คือ การจดั ต้งั หอวัฒนธรรมขึน้ มาเพอ่ื เกบ็ รวบรวมศิลปะพ้ืนบานไวเป4นแหลงศึกษา คนควา และอนุรักษ%เป4นมรดกทางวัฒนธรรมแกชนรุนปSจจุบันและรุนหลังตอไป นอกจากนี้ยังมี การศึกษาคนควาวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมทองถ่ินมากข้ึนเร่ือยๆ และดวยเหตุที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยาเป4นสถานท่ีต้ังของศูนย%วัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงชวยใหสถาบันฯ มี บทบาทตอการสงเสริมและเผยแพรศิลปวัฒนธรรมไดกวางขวางย่ิงข้ึน โดยเฉพาะการแสดงดนตรีและ นาฏศิลปlของศูนย%วัฒนธรรมไดจัดแสดงปรากฏตอสายตาของผูชมเป4นจํานวนมากท้ังการแสดงบนเวที การแสดงกลางแจง การแสดงในหอประชุม และการแสดงทางโทรทัศน% และมหาวิทยาลัยฯ ยังใหความ รวมมือกับหนวยงานอ่ืน เชน การทองเที่ยวแหงประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ%และสถาบันการศึกษา อ่ืนๆ ในงานสงเสริมและเผยแพรวัฒนธรรม นอกจากน้ัน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยายังได เขารวมงานกับจังหวัดในการจัดงานสําคัญตามเทศกาล และงานประจําป^ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เสมอมา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 15

การผลิตครูและสงเสริมวทิ ยฐานะครู การผลิตครูนับวาเป4นภารกิจที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาไดดําเนินการมา ต้ังแตป^ พ.ศ. 2448 นบั มาถึงบดั นีเ้ ป4นเวลาหน่ึงศตวรรษแลวถึงแมวาขณะนี้มหาวิทยาลัย สามารถ เปgดสอนวิชาการในสาขาอ่ืนๆ แลวมหาวิทยาลัยก็ยังตระหนักวาการผลิตครูมีความสําคัญและจะตอง ดําเนินการตอไป โดยการลดปริมาณการผลิตครูลง แตในขณะเดียวกันก็มุงเนนคุณภาพของการผลิต ครูใหเขมขนย่ิงขึ้น มีวิธีการสรรหาผูท่ีจะมาเรียนครู 2 แบบ คือ แบบที่หนึ่งใชวิธีการคัดเลือก และ อีกแบบหน่ึงคอื ใชวิธีการสอบคัดเลือก เพ่ือจะไดเลือกสรรคนดีมีคุณธรรม และบุคลิกภาพเหมาะสมที่ จะเป4นครูท่ีดีในอนาคตมาเขาเรียน ซ่ึงจะสงผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสังคมไทยใน อนาคต นอกจากนั้นในการผลิตครู มหาวทิ ยาลยั ไดกาํ หนดเป4นนโยบายทีจ่ ะพัฒนาการเรียนการสอน โดยมงุ คณุ ภาพทางวชิ าการควบคูกนั ไปกับการพัฒนาดาน คุณธรรม และจริยธรรมของนักศึกษาครู อยางจรงิ จงั นอกเหนือจากการผลิตครูตามหลักสูตรแลว มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยายังมี ภารกิจในการสงเสริมวิทยฐานะครู ทั้งในรูปแบบของการฝ`กอบรมครูประจําการ เพื่อเพิ่มพูน ประสบการณ% และวิทยฐานะของบุคลากรเหลานั้นใหมีความรูและคุณวุฒิสูงขึ้น และนอกจากนั้นยัง จัดใหมีการอบรมครูระยะสั้นในหลักสูตรเฉพาะ โดยประสานงานกับกรมสามัญศึกษาบาง สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานบาง สํานักงานการศึกษาเอกชนบาง และกองการศึกษาเทศบาล บาง ดงั นีเ้ ปน4 ตน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จึงไดทําหนาท่ีสงเสริมวิทยฐานะครูอยาง สมบูรณ% 16 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

การแบงสวนราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยามีการแบงสวนราชการ ตามประกาศมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เร่ือง การแบงสวนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2550 ประกาศ ณ วันที่ 15 พฤศจกิ ายน 2550 มดี ังนี้ 1. สาํ นักงานอธกิ ารบดี (1) กองกลาง (2) กองนโยบายและแผน (3) กองบรกิ ารการศึกษา (4) กองพฒั นานักศึกษา (5) สาํ นกั งานสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา (6) ศนู ยอ% ดุ มศึกษาอางทอง (7) หนวยตรวจสอบภายใน 2. คณะครุศาสตร (1) สาํ นักงานคณบดี 3. คณะมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร (1) สาํ นกั งานคณบดี (2) ภาควิชามนษุ ยศาสตร% (3) ภาควิชาสังคมศาสตร% 4. คณะวทิ ยาการจัดการ (1) สํานักงานคณบดี 5. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (1) สํานักงานคณบดี (2) ภาควิชาวทิ ยาศาสตร% (3) ภาควิชาวิทยาศาสตร%ประยกุ ต% 6. สถาบนั วจิ ัยและพัฒนา (1) สาํ นกั งานผูอาํ นวยการ 7. สถาบันอยุธยาศึกษา (1) สํานักงานผูอาํ นวยการ 8. สาํ นกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ (1) สํานกั งานผูอาํ นวยการ 9. สาํ นักงานคณะกรรมการบณั ฑติ ศกึ ษา (1) สาํ นกั งานผูอาํ นวยการ 10. ศนู ยกจิ การพเิ ศษ (1) สาํ นักงานผอู าํ นวยการ Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 17

รายนามคณะผูบริหาร พ.ศ. 2559 1. ดร.เกษม บํารุงเวช อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 2. รศ.ดร.นพวรรณ ธีระพันธ%เจรญิ รองอธกิ ารบดีฝาW ยบรหิ าร 3. ผศ.ดร.อดิศร ภูสาระ รองอธกิ ารบดฝี Wายวชิ าการ 4. รศ.ไพฑรู ย% สมคั รกจิ รองอธิการบดีฝาW ยกจิ การนักศึกษา 5. นายจิรศักด์ิ ชุมวรานนท% รองอธกิ ารบดีฝWายนโยบายและแผน 6. อาจารย%ธาตรี มหนั ตรัตน% รองอธิการบดฝี Wายกิจการพเิ ศษและกฎหมาย 7. ดร.กิติมา ทามาลี ผูชวยอธกิ ารบดฝี Wายบริการวิชาการและสหกจิ ศึกษา 8. ผศ.บญุ ไท เจรญิ ผล ผชู วยอธกิ ารบดฝี Wายประกันคณุ ภาพ 9. ดร.ภาคิน โชตเิ วศยศ% ิลปl ผูชวยอธกิ ารบดฝี Wายประชาสมั พันธ% 10. ดร.อมรรตั น% สน่นั เสยี ง คณบดีคณะครุศาสตร% 11. ผศ.หทัยรตั น% ทรรพวสุ คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรแ% ละสงั คมศาสตร% 12. รศ.ศานติ สวสั ดกิ์ าญจน% คณบดีคณะวทิ ยาศาสตรแ% ละเทคโนโลยี 13. ดร.ศานติ เล็กมณี คณบดคี ณะวทิ ยาการจัดการ 14. ดร.จงกล เฮงสุวรรณ ผูอํานวยการสถาบนั อยธุ ยาศึกษา 15. ผศ.ดร.ชูสทิ ธ์ิ ประดบั เพช็ ร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพฒั นา 16. ผศ.ธนู บุญญานวุ ัตร ผอู าํ นวยการสาํ นักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 17. ดร.นรสิ านนั ท% เดชสรุ ะ ผอู ํานวยการสํานักงานคณะกรรมการบัณฑิตศกึ ษา ขอมูล ณ วนั ท่ี 26 เมษายน 2559 18 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

คณะกรรมการบริหารคณะครุศาสตร คณบดีคณะครศุ าสตร% ดร.อมรรัตน% สน่ันเสยี ง รองคณบดีฝาW ยวชิ าการ ดร.ชมพนู ุท สุขหวาน รองคณบดีฝWายพัฒนานักศึกษาและโรงเรียนสาธิตฯ ดร.สภุ ทั รา คงเรือง รองคณบดฝี Wายวางแผนและประกนั คณุ ภาพ ดร.สุวนิตย% รุงราตรี ผชู วยคณบดฝี Wายบรหิ าร ดร.ประวิทย% ประมาน หวั หนาสาํ นักงานคณบดี นางสาวกาญจนา เงินออน ผอู าํ นวยการโรงเรียนสาธิตปฐมวัย ดร.สภุ ทั รา คงเรือง ผอู ํานวยการโรงเรยี นสาธติ ประถม ดร.พรเทพ รูแผน ผอู ํานวยการโรงเรยี นสาธิตมธั ยม ผศ.สวุ ัฒน% ทบั ทิมเจอื หวั หนาศูนยก% ารศกึ ษาพเิ ศษ ดร.กงิ่ สร เกาะประเสรฐิ ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร ดร.พรเทพ รแู ผน การประถมศึกษา อ.ภัทราวรรณ จนั ทรเ% นตร% การศึกษาปฐมวยั ดร.วริสรา จุยดอนกลอย การศกึ ษาพิเศษและการสอนภาษาไทย นางสาวจันจิรา หาวิชา การสอนภาษาไทย นางสาวภัธภร หล่ังประยรู การสอนภาษาองั กฤษ อ.เยน็ ใจ สุวานิช คณิตศาสตร% ผศ.สุวทิ ย% ไวยกลุ คอมพิวเตอร%ศกึ ษา ผศ.วัชรินทร% เสมามอญ พลศกึ ษา ดร.ชมพูนทุ สขุ หวาน วิทยาศาสตร% ผศ.สุนทร โภชฌงค% สังคมศกึ ษา ดร.ชมพูนทุ สขุ หวาน วิชาชพี ครู ขอมลู ณ วนั ท่ี 5 เมษายน 2559 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 19

คณะกรรมการบริหารคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตรแ% ละสงั คมศาสตร% ผศ.หทยั รตั น% สรรพวสุ รองคณบดีฝWายวิชาการ อ.บวรศรี มณีพงษ% รองคณบดฝี Wายวางแผนและวิเทศสมั พนั ธ% อ.สวุ ณี วิจารตั น% รองคณบดีฝาW ยกจิ การนักศึกษา อ.ณิศรา ประดษิ ฐด% วง หวั หนาสํานกั งานคณบดี นางอรัญญา จงกลรัตน% หวั หนาภาควิชาสังคมศาสตร% ผศ.ดร.จรยิ าภรณ% รุจโิ มระ หัวหนาภาควชิ ามนุษยศาสตร% อ.วิชชุลดา ตนั ประเสรฐิ ประธานกลุมวิชาปรชั ญาและศาสนา ดร.กาวี ศรรี ตั น% ประธานกลุมวชิ าบรรณารกั ษศ% าสตร% อ.ทัศนี สุทธวิ งศ% ประธานกลมุ วชิ าภมู ศิ าสตร% อ.สมุ าลนิ ี สาดสาง ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร ผศ.วิชชุกร นาคธน การปกครองทองถิน่ ผศ.ดร.จรยิ าภรณ% รจุ ิโมระ การพฒั นาชุมชน ดร.นภัสนันท% จุนนเกษ ดนตรี ผศ.จรัญ ยนิ ยอม ดนตรีสากล อ.สุกัลยา คงประดษิ ฐ% นเิ ทศศาสตร% อ.พินิจ ศรสี วัสดิ์ นิติศาสตร% อ.วิราวรรณ สมพงษ%เจริญ ประวัติศาสตร% อ.ดวงพร ร่ืนเรืองฤทธ์ิ ภาษาจีน อ.ศุภฤกษ% แกวศรีงาม ภาษาญ่ปี Wนุ อ.ปราโมทย% ระวนิ ภาษาไทย อ.อรคนางค% นวลเจริญ ภาษาอังกฤษ อ.มนู เี ราะฮ% ยดี ํา รัฐประศาสนศาสตร% อ.อรพมิ พ% สุขสวุ รรณ ศิลปกรรม อ.ฤตพชรพร ทองถนอม ศิลปะการแสดง ดร.นิพล แสงศรี สหวิทยาการอสิ ลาม ขอมูล ณ วันที่ 5 เมษายน 2559 20 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

คณะกรรมการบรหิ ารคณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตรแ% ละเทคโนโลยี รศ.ศานิต สวสั ดกิ าญจน% รองคณบดฝี Wายวชิ าการ ดร.ภัททริ า หอมหวล รองคณบดฝี าW ยกิจการนกั ศกึ ษา ดร.วีรภทั ร ภัทรกลุ รองคณบดฝี าW ยวางแผนและพัฒนา ผศ.ศริ ริ ตั น% ศริ ิพรวิศาล หวั หนาสํานักงานคณบดี นางวริ ินดา มีบาํ รงุ หวั หนากลุมวิชาฟสg ิกส% ดร.ภทั ทริ า หอมหวล ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสูตร อ.ธีรพล ทรัพย%บญุ การจดั การเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม อ.สิรวิ รรณ สมทิ ธ์อิ าภรณ% เกษตรศาสตร% อ.กฤษณะ กันอ่ํา คณติ ศาสตร% อ.นพา ลีละศภุ พงษ% คหกรรมศาสตร% ผศ.ดร.วมิ ลพรรณ รมุ พรหม เคมี ผศ.ศริ ิรัตน% ศิริพรวิศาล จลุ ชีววิทยา ดร.ปรชั วนี พิบํารงุ เทคโนโลยกี ารผลติ พชื อ.อธบิ โพทอง เทคโนโลยีสารสนเทศ อ.อภชิ ิต กระจางเยา เทคโนโลยีอุตสาหกรรม(ตอเนื่อง) อ.ยพุ นิ พวกยะ วทิ ยาการคอมพิวเตอร% อ.จันทรเ% พญ็ มะลิพันธ% วทิ ยาศาสตรแ% ละเทคโนโลยกี ารอาหาร ดร.ประดินนั ท% รัศมพี งศ% วิทยาศาสตรส% ่งิ แวดลอม อ.กรงุ ลือวฒั นา วศิ วกรรมไฟฟkา อ.ขวัญศิริ ทองพนู สาธารณสุขชุมชน อ.สุภารัตน% ชัยกติ ตภิ รณ% อาชีวอนามยั และความปลอดภัย ขอมลู ณ วันท่ี 26 เมษายน 2559 Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 21

คณะกรรมการบรหิ ารคณะวทิ ยาการจัดการ คณบดคี ณะวทิ ยาการจัดการ ดร.ศานติ เล็กมณี รองคณบดีฝาW ยวชิ าการ ผศ.ดร.วันทนา เนาว%วัน รองคณบดีฝWายวางแผนและประกันคุณภาพ อ.นนั ทนิธิ์ เอิบอม่ิ รองคณบดฝี าW ยกิจการนกั ศึกษา อ.สวติ า อยูสขุ ขี รองคณบดีฝWายวเิ ทศสมั พนั ธ% ผศ.สุมนา พลู ผล หวั หนาสาํ นักงานคณบดี นางเบญญาภา สอนพรม ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร รศ.วันทนยี % แสนภักดี บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต (M.B.A.) อ.กันทิมา มงั่ ประเสริฐ การจัดการ อ.เสาวลักษณ% ชาติศรสี มั พนั ธ% การตลาด อ.ณฏั ฐ%พล จงพิทกั ษส% กุล การบัญชี อ.มณฑริ า ชุมวรานนท% การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย% อ.ชตุ ิมา นม่ิ นวล คอมพิวเตอร%ธรุ กิจ อ.ภทั ราพร จนั ตะนี เศรษฐศาสตร%ธรุ กจิ ผศ.นาตยา เกตสุ มบูรณ% การทองเที่ยว อ.สฑุ ามาศ ย้มิ วัฒนา การจดั การโลจสิ ตกิ ส% อ.ชเนตตี จาตรุ นตร% ศั มี การเปน4 ผปู ระกอบการ อ.เมธารตั น% จนั ตะนี ธรุ กจิ ระหวางประเทศ ขอมูล ณ วนั ท่ี 5 เมษายน 2559 22 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ตอนท่ี ระเบียบ 2 และประกาศตางๆทเ่ี กี่ยวขอ$ ง Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา 23

ขอบงั คับสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา วาดวยการจดั การศกึ ษาระดบั อนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2549 ****************************** เพื่อใหการจัดการศึกษา นักศึกษาภาคปกติ และภาคพิเศษ ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยาดาํ เนนิ ไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 (2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และมติสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา ในการประชุมครั้งที่ 1/2549 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ% 2549 จึงตราขอบงั คับวาดวยการจัดการศึกษาระดับอนุปรญิ ญา และปรญิ ญาตรไี ว ดงั ตอไปนี้ ขอ 1 ขอบงั คับน้ี เรียกวา “ขอบงั คบั มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา วาดวย การจัดการศกึ ษาระดับอนปุ รญิ ญา และปริญญาตรี พ.ศ. 2549” ขอ 2 ขอบงั คบั นีใ้ หใชบงั คบั นักศึกษาทเ่ี ขาศึกษาต้งั แตป^การศกึ ษา 2549 เปน4 ตนไป ขอ 3 บรรดาขอบงั คับ ระเบียบ ประกาศ หรือคําส่ังอื่นใดท่ีขัดหรือแยงกับขอบังคับน้ี ใหใชขอบงั คบั นี้แทน ขอ 4 ในขอบงั คบั น้ี “มหาวทิ ยาลัย” หมายถงึ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา “สภามหาวทิ ยาลยั ” หมายถึง สภามหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “อธกิ ารบด”ี หมายถึง อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา “นักศึกษาภาคปกติ” หมายถึง นักศึกษาภาคปกติของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยา “นักศึกษาภาคพิเศษ” หมายถึง นักศึกษาท่ีเขาศึกษาตามโครงการจัด การศึกษานอกเวลาราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 24 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

หมวด 1 ระบบการศกึ ษา ขอ 5 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยาจดั ระบบการศึกษาดังตอไปน้ี 5.1 การจัดการศกึ ษาภาคปกติ 5.1.1 มหาวิทยาลยั จัดการศึกษาภาคปกติ ในระบบทวิภาค โดยแบง ปก^ ารศึกษาหน่งึ ๆ ออกเป4น 2 ภาคการศึกษาปกติ คือ ภาคการศึกษาท่ี 1 และภาคการศึกษา ท่ี 2 และอาจเปดg ภาคฤดรู อนได 5.1.2 ภาคการศึกษาปกติ แตละภาคมีระยะเวลาไมนอยกวา 15 สปั ดาห% ภาคฤดรู อน มรี ะยะเวลาไมนอยกวา 8 สปั ดาห% โดยจดั ชวั่ โมงเรยี นของแตละรายวิชา ใหเทากบั ภาคการศึกษาปกติ 5.1.3 ในกรณีท่ีหลักสูตรสาขาวิชาใด ประกอบดวยรายวชิ าท่จี ําเป4น จะตองเปgดสอนในภาคฤดรู อนใหถอื เสมอื นวา ภาคฤดูรอนน้ัน เป4นสวนหน่ึงของการศึกษาภาคปกติ 5.1.4 หลักสูตรสาขาวิชาใด จะเปgดทําการเรียนการสอนในภาค ฤดรู อนใหผานการกล่ันกรองจากคณะ และสภาวิชาการ 5.2 การจดั การศึกษาภาคพิเศษ 5.2.1 มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาใหกับนักศึกษาภาคพิเศษ ในระบบ ไตรภาคโดยแตละภาคการศกึ ษาจดั การเรียนการสอนในวนั เสาร%-อาทิตย% หรืออาจจัดการเรียน การสอนในวันจนั ทรถ% ึงวนั ศกุ ร% นอกเวลาราชการเพอื่ สนองความตองการของมวลชนในทองถ่ิน และไมจาํ กัดอายขุ องผูเรียน 5.2.2 ในแตละภาคการศกึ ษาของนกั ศึกษาภาคพิเศษ มหาวทิ ยาลยั อาจ ใชสือ่ การเรียนการสอน และเทคโนโลยตี างๆ เพอ่ื ใหการจัดการศึกษาประสบผลสาํ เร็จสงู สุด 5.2.3 มหาวทิ ยาลยั สามารถจัดการศึกษาภาคพิเศษ ใหกับบุคลากรทั้ง ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั โดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลยั 5.3 มหาวิทยาลัยใชระบบหนวยกิตในการจัดการศึกษา จํานวนหนวยกิตใช แสดงถงึ ปริมาณการศกึ ษาของแตละวิชา 5.4 การเทียบความรูจากประสบการณ%เดิมของนักศึกษาภาคพิเศษ ในรายวชิ าเตรียมฝ`กประสบการณ%วชิ าชพี และรายวิชาการฝก` ประสบการณ%วิชาชีพใหเป4นไปตาม ประกาศของมหาวิทยาลัย เรื่องหลักเกณฑ%และวิธีการการยกเวนการเรียนรายวิชาเตรียมฝ`ก ประสบการณ%วชิ าชพี และการฝก` ประสบการณ%วิชาชีพ 5.5 การเทียบความรูจากประสบการณเ% ดมิ นอกเหนือจากขอ 5.4 ในรายวิชา อื่นๆ ใหเป4นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา 25

หมวด 2 หลักสตู รการศึกษา ขอ 6. หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี ของแตละสาขาวิชา ประกอบดวย 6.1 หมวดวิชาการศึกษาท่ัวไป เป4นกลุมรายวิชาท่ีมุงเนนพัฒนาผูเรียน ใหมี ความรอบรูอยางกวางขวาง มีโลกทัศน%ที่กวางไกล มีความเขาใจธรรมชาติ รูจักตนเอง รูจัก ผูอ่ืน และสังคมเป4นผูที่ใฝWรู สามารถคิดอยางมีเหตุผล สามารถใชภาษาในการติดตอส่ือ ความหมายไดเป4นอยางดี มีความสมบูรณ%ทั้งรางกายและจิตใจ มีคุณธรรม ตระหนักใน คณุ คาของศลิ ปวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถนําความรูไปใชใน การดําเนนิ ชวี ิต และดาํ รงตนอยูในสังคมไดเป4นอยางดี 6.2 หมวดวิชาเฉพาะสาขา เป4นกลุมรายวิชาแกนวิชาเฉพาะดานวิชาพื้นฐาน และวชิ าชพี ทม่ี ุงหมายใหผูเรยี นมีความรู ความเขาใจ และปฏบิ ตั งิ านได 6.3 หมวดวิชาเลอื กเสรี เป4นรายวิชาที่เปgดโอกาสใหนักศึกษาเลือกเรียนรายวิชา ใดๆ ในหลักสูตรปริญญาตรี เพ่ือใหผูเรียนไดขยายความรูทางวิชาการใหกวางขวางออกไป ตลอดจนเปน4 การสงเสริมความถนดั และความสนใจของผเู รียนใหมากยง่ิ ขึน้ ขอ 7. หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป^) ใหมจี ํานวนหนวยกติ ไมนอยกวา 120 หนวย กติ ใชเวลาศึกษา ไมเกิน 8 ป^การศึกษา สําหรับการลงทะเบยี นเรยี นเต็มเวลาและไมเกิน 12 ป^การศกึ ษาสําหรับการลงทะเบยี นเรยี นไมเต็มเวลา ขอ 8. หลักสตู รระดับปรญิ ญาตรี (5 ป^) ใหมจี ํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 150 หนวย กิต ใชเวลาศึกษาไมเกิน 10 ป^การศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 15 ป^การศกึ ษา สาํ หรับการลงทะเบียนเรยี นไมเตม็ เวลา ขอ 9. หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมไมนอยกวา 72 หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมเกิน 4 ป^การศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 6 ป^การศกึ ษา สาํ หรบั การลงทะเบียนเรยี นไมเต็มเวลา ขอ 10. หลกั สูตรระดับอนุปริญญา (3 ป^) ใหมจี าํ นวนหนวยกิตรวมไมนอยกวา 90 หนวยกติ ใชเวลาศกึ ษาไมเกิน 6 ป^การศกึ ษา สําหรบั การลงทะเบยี นเรยี นเต็มเวลา และไมเกิน 9 ป^การศึกษา สาํ หรบั การลงทะเบยี นเรยี นไมเตม็ เวลา 26 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

หมวด 3 การรบั เขาเปน8 นกั ศึกษาและสภาพนักศกึ ษา ขอ 11. คุณสมบัตขิ องนกั ศึกษา 11.1 สําเรจ็ ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเทาซ่งึ กระทรวงศึกษาธกิ ารรบั รอง 11.2 สําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือเทียบเทา หรือระดับปริญญาตรี หรอื เทยี บเทาจากสถาบนั การศึกษาทสี่ ภามหาวทิ ยาลยั รบั รอง 11.3 เป4นผูที่มีรางกายแข็งแรง และไมเป4นโรคติดตอรายแรงที่สังคมรังเกียจ อันเปน4 อุปสรรคตอการศกึ ษา 11.4 ไมเคยตองโทษตามคาํ พิพากษาของศาล เวนแตในกรณีโทษนั้น เกดิ จาก ความผิดอนั ไดกระทาํ โดยประมาทหรอื ความผดิ อนั เปน4 ลหุโทษ 11.5 ไมเป4นคนวกิ ลจรติ 11.6 มคี วามประพฤตดิ ี ไมเคยถกู ไลออกจากสถาบนั การศกึ ษาใด เน่อื งจาก ประพฤติผดิ วนิ ัยนักศกึ ษา ขอ 12. การเขาเป4นนักศึกษา 12.1 มหาวทิ ยาลัยจะสอบคัดเลือก หรือคัดเลือกผูสําเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเทา เขาเป4นนักศึกษาแตละคร้ัง ตามประกาศของมหาวิทยาลัย หรือ สํานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา 12.2 มหาวิทยาลัยอาจสอบคัดเลือก หรือคัดเลือกผูท่ีไดรับอนุปริญญา หรือเทยี บเทา เขาเป4นนักศกึ ษา ในระดบั ปริญญาตรีตอเน่ือง ตามประกาศของมหาวิทยาลัย ขอ 13. การรับโอนนักศึกษาจากสถาบนั การศกึ ษาหรือมหาวิทยาลยั อ่นื ๆ 13.1 มหาวิทยาลัยอาจจะรับโอนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ซ่ึงสภามหาวิทยาลัยรบั รอง 13.2 คุณสมบัตขิ องผูขอโอนมาเป4นนกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลัย 13.2.1 มีคณุ สมบัติตามขอ 11 13.2.2 ไดศึกษาในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา หรือเทียบเทาที่ สภามหาวิทยาลัยรบั รองมาแลวไมนอยกวา 1 ปก^ ารศกึ ษา 13.2.3 มผี ลการเรียนจากมหาวิทยาลยั เดมิ โดยมคี ะแนนเฉลย่ี ไมนอยกวา 2.00 13.2.4 ผลการเรยี นทุกรายวิชาจะตองไมตดิ E หรือ F หรือ I 13.3 ผปู ระสงคจ% ะขอโอนมาเป4นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยจะตองปฏบิ ัติ ดังน้ี 13.3.1 ย่ืนคํารองตอมหาวิทยาลัยไมนอยกวา 15 วัน กอนวันเปgด ภาคการศึกษาที่ประสงคจ% ะเขาศกึ ษา 13.3.2 ขอใหสถานศกึ ษาเดิมสงระเบียนแสดงผลการเรยี น และ รายละเอยี ดเน้อื หารายวิชาท่ีไดเรยี นไปแลวตอมหาวทิ ยาลัย 13.4 การเทียบโอนหนวยกิตและผลการเรยี น 13.4.1 มหาวิทยาลัยจะพิจารณาเทียบโอนรายวิชาที่เรียนมา โดยรายวิชาเทยี บโอนจะตองมีเน้ือหาวชิ าอยูในระดับเดียวกันกับรายวิชาของมหาวิทยาลัย และ มผี ลการเรียนเทยี บไดไมตํา่ กวา C Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา 27

13.4.2 รายวิชาใดท่ีเทียบโอนได ใหใชคาระดับเป4น P และไมนํามา คํานวณเป4นคะแนนเฉล่ีย 13.4.3 การเทียบโอนหนวยกิตสามารถเทียบโอนไดไมเกิน 2 ใน 3 ของหลักสูตร ท่ีจะเขาศกึ ษา และจะตองมเี วลาเรียนในมหาวิทยาลยั อยางนอย 1 ป^การศึกษา 13.4.4 นั ก ศึ ก ษ าท่ี ได รั บ ก า ร เที ย บ โ อ นร าย วิ ชาจ ะ ต อ งเสี ย คาธรรมเนียมการเทียบโอนตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกาํ หนด ขอ 14. การเขาศึกษาเพอ่ื ปริญญาที่สอง 14.1 ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาหรือจาก มหาวิทยาลัยอ่ืน สามารถเขารับการสอบ หรือการคัดเลือก เพ่ือเขาศึกษาตอในระดับ อนุปริญญา หรือปริญญาตรี สาขาอื่นได ตามประกาศของมหาวิทยาลัย แตตองมีคุณสมบัติ ตามขอ 11 14.2 การเทียบโอนหนวยกิต 14.2.1 รายวิชาท่ีไดรับการพิจารณาเทียบโอนหนวยกิตได จะตองไดคา ระดับคะแนน ไมตา่ํ กวา C จากหลักสตู รเดมิ จะใชตัวอกั ษรเป4น P และไมนาํ มาคิดเป4นคะแนน เฉล่ีย สวนรายวิชาทีโ่ อนหนวยกติ ไมไดใหตัดออก 14.2.2 การเทียบโอนหนวยกิตสามารถเทียบโอนไดไมเกิน 2 ใน 3 ของหลักสูตรทจ่ี ะเขาศึกษา และจะตองมีเวลาเรียนในมหาวิทยาลยั อยางนอย 1 ปก^ ารศกึ ษา 14.2.3 นักศึกษาตองชําระคาธรรมเนียม ในการเทียบโอนหนวยกิต ตามท่มี หาวทิ ยาลัยกําหนด ขอ 15. การขึน้ ทะเบยี นเป4นนักศกึ ษา 15.1 ผูที่ไดรับการคัดเลือกเขาเป4นนักศึกษาตองขึ้นทะเบียนเป4นนักศึกษา และลงทะเบียนเรียน ชําระเงินคาหนวยกิต คาบํารุงการศึกษา คาประกันของเสียหาย และคาธรรมเนยี มอน่ื ๆ พรอมทั้งหลกั ฐานตางๆ โดยตองรายงานตวั ตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด จึงจะมสี ถานภาพเป4นนกั ศกึ ษา 15.2 ผูท่ีไดรับคัดเลือกเป4นนักศึกษา แตไมอาจข้ึนทะเบียนเป4นนักศึกษาได ตามที่มหาวทิ ยาลยั กําหนด จะตองแจงเหตขุ ดั ของตอมหาวิทยาลัยเป4นลายลักษณ%อักษร ภายใน 3 วนั มฉิ ะนน้ั จะถอื วาผูน้ันสละสิทธ์ิ ขอ 16. การลาพักการศึกษา นักศึกษาท่ีมีความจําเป4นอยางย่ิงสามารถลาพักการศึกษา โดยย่ืนใบลาพัก การศึกษาพรอมแนบหลักฐานความจําเป4นตามแบบฟอร%มของมหาวิทยาลัย และเสีย คาธรรมเนยี มตามทม่ี หาวิทยาลัยกําหนดทุกภาคการศกึ ษา ขอ 17. สภาพนักศึกษาและการพนสภาพการเปน4 นกั ศึกษา 17.1 สภาพนกั ศึกษาแบงออกได ดังน้ี 17.1.1 นักศึกษาเกณฑ%ปกติ ไดแก นักศึกษาที่มีผลการเรียนไดคา ระดบั คะแนนเฉลี่ยต้งั แต 2.00 ข้นึ ไป 17.1.2 นกั ศกึ ษารอพินิจ ไดแก นกั ศึกษาที่มีผลการเรียนได คาระดับ คะแนนเฉล่ยี ตั้งแต 1.80 ข้ึนไป แตไมถึง 2.00 เม่อื เรียนครบโครงสรางของหลกั สตู ร 28 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

17.2 การพนสภาพการเปน4 นักศึกษาดวยเหตุ ดังนี้ 17.2.1 กรณนี ักศึกษาภาคปกติ (1) นักศึกษาไดคะแนนเฉล่ียต่ํากวา1.60 เมื่อส้ินภาคเรียนปกติ ภาคเรยี นที่ 2 นับต้งั แตเขาเรียน (2) นักศึกษาไดคะแนนเฉลี่ยต่ํากวา1.80 เมื่อสิ้นภาคเรียนปกติ ภาคเรยี นที่ 4, 6, 8, 10, 12, 14,16 นบั ต้งั แตเขาเรียน (3) ลงทะเบียนเรียนครบหลักสูตรแตยังไดคาระดับคะแนน เฉลี่ยสะสมต่ํากวา 1.80 (4) มสี ภาพการเปน4 นกั ศกึ ษาครบ 8ป^การศึกษาปกติติดตอกัน ในกรณีหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป^ ครบ 10 ป^การศึกษาติดตอกันในกรณีท่ีเรียน หลักสตู รระดับปริญญาตรี 5 ป^และครบ 6 ป^การศึกษาปกติติดตอกันในกรณีหลักสูตรระดับ ปริญญาตร(ี ตอเนื่อง) (5) ลาออกหรือเสียชวี ิต (6) ไมมีคณุ สมบัติตามขอ 11 17.2.2 กรณนี กั ศึกษาภาคพเิ ศษ (1) นักศึกษาไดคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา 1.80 เม่ือส้ินภาค การศกึ ษา ท่ี 4 กรณีหลกั สูตรระดบั อนุปริญญา (3 ป^) และระดับปริญญาตรี (ตอเนื่อง) สิ้น ภาคการศึกษาเรียนที่ 7 กรณีหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป^ และสิ้นภาคการศึกษาที่ 8 กรณหี ลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี 5 ป^ (2) ลงทะเบียนครบหลักสูตร แตยงั ไดคาระดบั คะแนนเฉลี่ยตาํ่ กวา1.80 (3) มสี ภาพการเปน4 นกั ศกึ ษาครบ 9 ป^การศึกษา กรณี หลักสตู รระดบั อนปุ รญิ ญา (3 ป)^ ครบ 6 ป^การศกึ ษากรณหี ลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ครบ 12 ป^การศกึ ษา กรณีหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ป^ และครบ 15 ป^ การศึกษา กรณหี ลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี 5 ป^ หมวด 4 การลงทะเบยี น ขอ 18. การลงทะเบียนเรียน 18.1 การลงทะเบียนเรียนนักศึกษาจะตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารย%ท่ี ปรกึ ษา 18.2 จํานวนหนวยกิตที่นักศกึ ษาจะลงทะเบียนเรยี นได มดี ังน้ี 18.2.1 นักศึกษาภาคปกติสามารถลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษา ปกติ ภาคการศึกษาละไมตํ่ากวา 3 หนวยกิต และไมเกิน 22 หนวยกิต สวนภาคฤดูรอน ไมเกิน 9 หนวยกิต 18.2.2 นักศึกษาภาคพิเศษสามารถลงทะเบียนเรียนได ภาคการศึกษา ละไมเกิน 15 หนวยกิต 18.3 ถานักศึกษาจะลงทะเบียนเกินไปจากขอ 18.2.1 หรือ 18.2.2 จะ กระทาํ ไดเม่อื เป4นภาคการศกึ ษาสุดทายทจี่ ะจบการศึกษา และใหอยใู นดลุ พนิ จิ ของสภาวชิ าการ Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 29

18.4 การลงทะเบยี นเรยี น ใหดําเนนิ การตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั หาก นกั ศกึ ษามาลงทะเบียนหลังจากวันท่มี หาวทิ ยาลัยกาํ หนด จะตองถูกปรบั ตามระเบียบวาดวยการรบั และจายเงนิ คาธรรมเนยี มการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั 18.5 การลงทะเบียนเรียน นักศึกษาสามารถลงทะเบียนผานระบบเครือขาย คอมพิวเตอร% หรอื ลงทะเบียนดวยตนเอง ตามวนั เวลา และสถานทีท่ ่มี หาวิทยาลัยกาํ หนด 18.6 การลงทะเบียนเรยี น จะสมบรู ณก% ต็ อเมือ่ นักศึกษาไดชาํ ระคาธรรมเนียม ตางๆ พรอมยืน่ หลักฐานการลงทะเบยี นน้นั ตอมหาวทิ ยาลัย 18.7 การลงทะเบียนรายวิชาหลังกําหนดใหกระทําไดภายในระยะเวลา ของการเพิม่ ถอนรายวิชา หากพนกาํ หนด มหาวิทยาลัยอาจยกเลิกสิทธ์กิ ารลงทะเบียนรายวิชา ในภาคการศึกษานัน้ ๆ 18.8 การลงทะเบียนท่ีผิดเงื่อนไข ใหถือวาการลงทะเบียนนั้นเป4นโมฆะ และ รายวิชาทล่ี งทะเบียนผิดเง่ือนไขนนั้ ใหไดรบั อกั ษร W 18.9 นกั ศกึ ษาอาจขอลงทะเบียนเขารวมศึกษารายวิชาใดๆ เพ่ือเป4นการเพ่ิมพูน ความรูไดถาอาจารย%ผูสอน และคณบดีท่ีรายวิชานั้นสังกัดอยูยินยอมเป4นลายลักษณ%อักษร และ ไดรับการอนุมัติจากมหาวิทยาลัย โดยนักศึกษาจะตองชําระคาหนวยกิตรายวิชาน้ันตามระเบียบ วาดวยการรับและจายคาธรรมเนียมการศึกษาของมหาวิทยาลัย และนักศึกษาจะไดรับผลการเรียน เปน4 S หรอื U 18.10 มหาวิทยาลัยอาจกําหนดเงื่อนไขใหนักศึกษาตองเรียนรายวิชาผานกอน (Prerequisite) สําหรบั การลงทะเบียนบางรายวชิ า โดยนักศึกษาตองมผี ลการเรียนเป4น S 18.11 ในภาคการศึกษาปกติใด หากนักศึกษาไมไดลงทะเบียนเรียน จะตอง ขอลาพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น โดยทําหนังสือขออนุญาตลาพักการศึกษาตอ มหาวทิ ยาลัยและชําระคารักษาสถานภาพนักศึกษา กอนวันเริ่มสอบ ปลายภาคของภาคเรียน นนั้ ๆ หากนกั ศกึ ษาไมปฏิบัติตามใหพนสภาพการเป4นนกั ศกึ ษา 18.12 อธิการบดีอาจอนุมัติใหนักศึกษาท่ีพนสภาพการเป4นนักศึกษาตามขอ 18.11 กลับเขาเป4นนักศึกษาใหมไดถามีเหตุผลอันสมควร โดยใหถือระยะเวลาท่ีพนสภาพน้ัน เป4นระยะเวลาพักการศึกษา ในกรณีเชนนี้นักศึกษาจะตองชําระคารักษาสถานภาพนักศึกษาตาม ระเบียบของมหาวิทยาลัย อธิการบดีจะไมอนุมัติใหกลับเขาเป4นนักศึกษาตามวรรคกอนหากพน กาํ หนดเวลาสองป^นบั จากวันทน่ี ักศึกษาผนู ั้นพนสภาพ 18.13 กรณที ีม่ โี ครงการแลกเปล่ียนนกั ศกึ ษาระหวางสถาบันอุดมศึกษา อธิการบดี อาจพิจารณาอนุมัติใหนักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาที่เปgดสอนในสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนแทนการ ลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัยทั้งหมด หรือบางสวนได หรืออาจพิจารณาอนุมัติใหนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาอื่น ลงทะเบียนรายวิชาที่เปgดสอนในมหาวิทยาลัย โดยชําระคาธรรมเนียมตาม ระเบยี บวาดวยการรบั และจายเงินคาธรรมเนียมการศกึ ษาของมหาวิทยาลัยได ขอ 19. การคดิ หนวยกิตถอื เกณฑ% ดังนี้ 19.1 การเรียนการสอนภาคทฤษฎีใหกําหนด 1 ชั่วโมงตอสัปดาห%ตลอด หนึ่งภาคการศึกษาปกติ มคี าเทากับ 1 หนวยกิต 19.2 การเรียนการสอนภาคปฏิบัติใหกําหนดไมนอยกวา 2 ชั่วโมง ตอสปั ดาห% หรือไมนอยกวา 30 ชัว่ โมง ตลอดหนึ่งภาคการศกึ ษาปกติ มคี าเทากับ 1 หนวยกติ 30 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

19.3 การฝ`กงาน หรือการฝ`กภาคสนามใหกําหนดไมนอยกวา 3 ช่ัวโมงตอ สปั ดาห% หรือไมนอยกวา 45 ช่วั โมง ตลอดหน่งึ ภาคการศกึ ษาปกติ มคี าเทากับ 1 หนวยกติ 19.4 การทําโครงงานหรอื กิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามท่ีไดรับมอบหมายท่ีใช เวลาทําโครงงานหรือกิจกรรมนั้นๆ ไมนอยกวา 45 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคา เทากบั 1 หนวยกิต ขอ 20. การเพมิ่ -ถอนรายวิชา 20.1 การเพิ่ม-ถอนรายวิชา จะกระทําไดภายใน 3 สัปดาห%แรก นับจากวัน เปดg ภาคการศึกษา หรอื ภายใน 3 สัปดาหแ% รก นับจากวันเปดg ภาคฤดูรอน 20.2 ขนั้ ตอนในการเพมิ่ ถอนรายวิชาใหเปน4 ไปตามท่ีมหาวทิ ยาลยั กาํ หนด ขอ 21. เมื่อนักศึกษาเรียนครบโครงสราง ตามท่ีกําหนดไวในหลักสูตรแลว ถาไดคา ระดับคะแนนเฉลี่ยตั้งแต 1.80 แตไมถึง 2.00 ใหเลือกรายวิชาเพ่ิมเติม เพ่ือทําคาระดับ คะแนนเฉล่ียใหถึง 2.00 ทั้งน้ีตองอยูในระยะเวลาท่ีกําหนด ตามขอ 17.2.1 (4) และ 17.2.2 (3) 21.1 นักศึกษาท่ลี งทะเบียนและศกึ ษาครบตามหลักสตู รปริญญาตรี และไดคา ระดับคะแนนสะสมถึงเกณฑ%ที่สําเร็จการศึกษาแลว สามารถจะลงทะเบียนเรียนเพ่ิมเติมไดใน วชิ าทเี่ ปดg สอนอยใู นสถาบนั ไดอีกโดยถือเป4นผเู ขารวมศกึ ษา (Visitor) หมวด 5 การวดั และประเมนิ ผล ขอ 22. การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา 2.1 ใหอาจารย%ผูสอนประเมินผลทุกรายวิชาที่มีการเรียนการสอนการวัดผล ตองทาํ ตลอดภาคการศึกษา โดยวิธีตางๆ เชน การสอบยอย การทํารายงาน การสอบกลาง ภาคการศกึ ษา ฯลฯ และใหมีการสอบปลายภาคการศึกษา โดยคิดคะแนนระหวางภาครอยละ 50-70 เวนแตรายวชิ าท่ีกาํ หนดใหประเมินผลในลักษณะอนื่ 22.2 นักศึกษาตองมีเวลาเรียนแตละรายวิชาไมต่ํากวารอยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมด จงึ จะมสี ิทธิ์ไดรบั การวดั และประเมินผล 22.3 กรณที ี่นักศึกษามีเวลาเรียนรายวชิ าใดนอยกวารอยละ 80 แตไมต่ํากวารอย ละ 60 นักศึกษาสามารถย่ืนคํารอง โดยแนบหลักฐานเอกสารความจําเป4น เสนอตอมหาวิทยาลัย เพือ่ ใหกรรมการที่มหาวิทยาลัยแตงต้ังพิจารณา 22.4 นกั ศกึ ษาท่มี คี ณุ สมบตั ไิ มครบตามขอ 22.2 และ 22.3 ไมมสี ิทธิ์ ไดรบั การวดั ผลและประเมนิ ผล จะไดรบั คาระดบั คะแนนเป4น F หรือ U แลวแตกรณี 22.5 มหาวิทยาลัยใชระบบสญั ลกั ษณ% ระดบั คะแนน และคาระดับคะแนน ใน การวดั และประเมนิ ผล ดังนี้ Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 31

ระดับคะแนน ความหมาย คาระดับคะแนน A ดีเย่ยี ม (Excellent) 4.00 B+ ดมี าก (Very Good) 3.50 B C+ ดี (Good) 3.00 C ดีพอใช (Fairly Good) 2.50 D+ พอใช (Fair) 2.00 D F ออน (Poor) 1.50 Fe S ออนมาก (Very Poor) 1.00 U I ไมผาน (Failed) P V ขาดสอบปลายภาค (Failure : absent from examination) W เปน4 ท่ีพอใจ (Satisfactory) ไมเป4นทีพ่ อใจ (Unsatisfactory) การวัดผลยังไมสมบูรณ% (Incomplete) ผาน (Pass) ผเู ขารวมศึกษา (Visitor) การถอนรายวิชา (Withdrawn) 22.6 คาระดบั คะแนน A, B+, B, C+, C, D+, D และ F ใชสาํ หรับกรณี 22.6.1 รายวชิ าท่นี กั ศึกษาเขาสอบ และ/หรอื มีผลงานที่ประเมนิ ผลได เป4น คาระดบั คะแนน 22.6.2 เปลี่ยนจากสญั ลักษณ% I เป4นระดับคะแนน 22.7 นกั ศึกษาทมี่ ีผลการศกึ ษาต้งั แตระดับคะแนน D ขึ้นไป ถือวาสอบไดใน รายวชิ าน้นั ยกเวนรายวชิ าทีห่ ลกั สตู รกาํ หนดใหเปน4 อยางอืน่ 22.8 สัญลักษณ% “Fe” ใชกบั กรณี ดงั ตอไปน้ี 22.8.1นกั ศกึ ษาขาดสอบปลายภาค ในกรณที ีน่ กั ศึกษามสี ิทธิ์สอบปลาย ภาคเรยี นแตขาดสอบเนือ่ งจากเหตุจาํ เป4นและสุดวิสัยอยางย่ิง และนักศึกษาสามารถยื่นคํารอง ขอสอบในรายวิชาท่ีขาดสอบที่กองบริการการศึกษา โดยตองดําเนินการภายใน 15 วัน นับ แตวันเปดg ภาคเรยี นของภาคเรียนถัดไป 22.8.2 หากนักศึกษาไมดําเนินการขอสอบในรายวิชาที่ขาดสอบปลาย ภาคในเวลาท่ีกําหนด มหาวิทยาลัยฯ จะเปลี่ยนจากสัญลักษณ% Fe เป4นคาระดับคะแนน F หรอื U แลวแตกรณี 22.9 สัญลกั ษณ% “I” ใชกบั กรณี ดงั ตอไปนี้ 22.9.1 นักศึกษาไมสามารถเขารับการวัดผลในรายวิชานั้น ใหสําเร็จ สมบูรณไ% ด โดยมีหลกั ฐานแสดงวามเี หตจุ าํ เป4นอยางย่งิ 22.9.2 นักศกึ ษาทาํ งานที่เป4นสวนประกอบการศึกษาของรายวิชาน้ันๆ ยังไมสมบรู ณ% และอาจารยผ% สู อนเหน็ สมควรใหรอผลการศึกษา 32 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

22.9.3 นักศึกษาจะตองดําเนินการขอรับการประเมินผล เพ่ือแก สัญลกั ษณ% I ใหสมบรู ณ% ภายใน 2 สัปดาห% กอนการสอบปลายภาคของภาคเรียนถัดไป หาก พนกําหนดดังกลาว มหาวิทยาลัยจะเปล่ียนสัญลักษณ% I เป4นคาระดับคะแนน F หรือ สญั ลักษณ% U แลวแตกรณี 22.10 สัญลักษณ% S หรือ U ใชสําหรับรายวิชาที่ไมนับหนวยกิต แตหลกั สูตรกาํ หนดใหมกี ารประเมินผลการศกึ ษา โดยไมคดิ คาระดับคะแนน 22.11 สัญลักษณ% V ใชสําหรับรายวิชาท่ีนักศึกษาเขารวมศึกษา โดยไมนับ หนวยกติ และมเี วลาเรียนไมนอยกวารอยละ 80 หากเวลาเรียนไมครบตามกําหนดใหเปล่ียน สัญลกั ษณ% V เปน4 W 22.12 สัญลักษณ% P ใชสําหรับรายวิชาท่ีไดรับการยกเวนวิชาเรียนในกรณีที่ นักศกึ ษาเรียนมาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ในระดับเดียวกัน หรือจากมหาวิทยาลัย แตยาย สาขารายวิชาท่ไี ดรับการยกเวนวิชาเรยี นจะตองไดระดบั คะแนนเป4น C ข้นึ ไป 22.13 สัญลักษณ% W ใชสําหรับรายวิชาท่ีนักศึกษาขอยกเลิกรายวิชาที่ได ลงทะเบยี นเรียนไวแลว และกระทาํ กอนการสอบปลายภาค 1 สปั ดาห% 22.14 การนับหนวยกติ สะสม และการคํานวณคาระดับคะแนนเฉลยี่ 22.14.1 มหาวิทยาลัยจะคํานวณคาระดับคะแนนเฉลี่ยจากหนวยกิต และคาระดบั คะแนนของรายวิชาท้งั หมดทน่ี กั ศึกษา ไดลงทะเบียนในแตละภาคการศึกษา 22.14.2 การคํานวณคาระดับคะแนนเฉล่ีย ใหนําผลคูณของจํานวน หนวยกิตกับคาระดับคะแนนของทุกๆ รายวิชาที่เรียนมารวมกันแลวหารดวยจํานวนหนวยกิ ตของรายวิชาท้ังหมดแตในกรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้ําในรายวิชาท่ีไดระดับคะแนนต่ํา กวา C มหาวิทยาลัยฯ จะอนุญาตใหเรียนซํ้าไดอีกหน่ึงคร้ังเทานั้น สวนการบันทึกผลการเรียน มหาวิทยาลัยฯ จะเลือกบันทึกรายวิชาเรียนที่ดีท่ีสุดให และผลการเรียนที่ไมเลือกบันทึกจะ เปลี่ยนเป4น W 22.15 การประเมินผลรายวิชาฝ`กประสบการณ%วิชาชีพ ถาไดรับคะแนนต่ํากวา “C” ถอื วาสอบตก นกั ศึกษาตองลงทะเบียนเรยี นใหม 22.16 นกั ศึกษาที่ทุจรติ ในการสอบหรือรวมทุจริตในการสอบใหนกั ศกึ ษาผนู ัน้ ไดรับผลการเรียนเป4น F หรือ U แลวแตกรณี ขอ 23. การสอบตก และการเรยี นซํา้ 23.1 รายวิชาใดท่ีนักศึกษามีผลการเรียนตํ่ากวา C อาจขอเรียนซํ้ารายวิชา นน้ั ได โดยไปเรยี นวชิ าอ่ืนทอี่ ยูในหมวดหรือกลุมเดียวกัน 23.2 รายวิชาบังคับใดตามโครงสรางหลักสูตร ถานักศึกษาสอบได F หรือ U นักศกึ ษาตองลงทะเบยี นเรยี นซํา้ 23.3 รายวิชาเลือกตามโครงสรางหลักสูตร ถานักศึกษาสอบได F หรือ U นกั ศกึ ษาสามารถเปลีย่ นไปลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าเลือกอ่ืน ตามโครงสรางหลกั สตู รที่เรยี นได 23.4 รายวิชาที่ได F หรือ U เมื่อทําการลงทะเบียนแลว ใหเปล่ียน F หรือ U เป4น W Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา 33

23.5 กรณีนักศึกษาสําเร็จหลักสูตรระดับอนุปริญญาของมหาวิทยาลัยหรือ สําเร็จหลักสูตรอนุปริญญาท่ีอนุมัติ โดยสภาสถาบันราชภัฏ เขาศึกษาในระดับปริญญาตรี (หลังอนปุ ริญญา) จะลงทะเบยี นรายวชิ าซ้ํา หรอื รายวิชาเทียบเทากับวิชาท่ีเคยศึกษามาแลวใน ระดับอนุปริญญาไมได ใหเวนการนับหนวยกิต และคาระดับคะแนน แตถาเป4นรายวิชาที่เคย สอบไดมาแลว นับแตสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาถึงวันเขาศึกษาระดับปริญญาตรี (ตอเนือ่ ง) เกนิ 5 ป^ ใหลงทะเบียนเรียนซ้ําได 23.6 กรณีท่ีสอบตกและตองเรียนซํ้า หรือกรณีสอบตกรายวิชาเลือกและ เปลยี่ นไปเรียนรายวชิ าเลอื กอื่นแทนไมนับหนวยกติ ท่สี อบตกเปน4 ตวั หาร 23.7 นักศึกษาทุจริตหรือรวมทุจริตในการสอบรายวิชาใดจะไมไดรับการ พจิ ารณาผลการเรียนในรายวชิ านัน้ ๆ หมวด 6 การอนุมตั ปิ ริญญา ขอ 24. การสําเร็จการศึกษา และการขอรับปริญญา นักศึกษาที่เรียนภาคการศึกษา สุดทายและจะสําเร็จการศึกษาตองยืน่ คาํ รอง ขอสําเร็จการศึกษาตามท่มี หาวิทยาลัยกําหนด 24.1 นกั ศึกษาผมู สี ทิ ธิข์ อรับปรญิ ญาจะตองมคี ณุ สมบัติ ดงั นี้ 24.1.1 นักศึกษาภาคปกติ (1) เรียนรายวิชาตางๆ ครบตามโครงสรางของหลักสูตร รวมท้ังรายวิชาท่ีสภามหาวิทยาลัย กําหนดใหเรียนเพ่ิม และไมมีรายวิชาใด ไดรับคาระดับ คะแนนเปน4 F, I หรอื U (2) ไดรบั คาระดบั คะแนนเฉล่ยี ไมตํา่ กวา 2.00 (3) มีเวลาเรียนไมต่ํากวา 4 ภาคการศึกษาปกติ ในกรณีที่ เรยี นหลักสตู ร 2 ป^ และไมตํ่ากวา 6 ภาคการศึกษาปกติ ในกรณที เ่ี รียนหลักสตู ร 4 ป^ และ มเี วลาเรยี นไมตาํ่ กวา 8 ภาคการศึกษา ในกรณีหลกั สูตร 5 ป^ (4) มีสภาพการเป4นนักศึกษาไมเกิน 8 ภาคการศึกษาปกติ ติดตอกัน ในกรณีท่ีเรียนหลักสูตร 2 ป^ และไมเกิน 16 ภาคการศึกษาปกติติดตอกัน ใน กรณีท่เี รียนหลักสูตร 4 ป^ และไมเกนิ 20 ภาคการศึกษา ในกรณที ี่เรยี นหลกั สูตร 5 ป^ (5) มีเวลาเรียนไมตํ่ากวา 3 ภาคการศึกษาปกติในกรณี การเรียนเพอื่ ปรญิ ญาที่สอง 24.1.2 นักศกึ ษาภาคพเิ ศษ (1) นักศึกษาภาคพิเศษตองมีคุณสมบัติตามขอ 24.1.1(1), 24.1.1(2) และมีเวลาเรียนหลักสูตรระดับปริญญาตรี (4 ป^) ไมตํ่ากวา 9 ภาคการศึกษา และมสี ภาพเปน4 นกั ศกึ ษาไมเกนิ 12 ป^ หลักสตู รระดับปรญิ ญาตรี (5 ป^) ไมต่ํากวา 10 ภาค การศึกษาและมีสภาพเป4นนักศึกษาไมเกิน 15 ป^หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ไมตํ่า กวา 5 ภาคการศึกษา และมีสภาพเป4นนกั ศึกษาไมเกนิ 6 ป^หลกั สตู รระดับอนปุ ริญญา (3 ป^) ไมตาํ่ กวา 6 ภาคการศกึ ษาและมีสภาพเป4นนักศึกษาไมเกิน 6 ป^ (2) ในกรณีท่ีนกั ศึกษาประสงคจ% ะไมขอสําเร็จการศึกษา ดวย เหตุผลใดกต็ าม มหาวิทยาลัยอาจพจิ ารณาอนุมตั ิเปน4 รายกรณี 34 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

ขอ 25. นกั ศึกษาที่จะไดรบั การเสนอช่ือใหไดรบั ปริญญาเกยี รตนิ ยิ ม จะตองมคี ุณสมบตั ิ ดังนี้ 25.1 เรียนครบหลักสูตรแลวไดคาระดับคะแนนเฉล่ียไมนอยกวา 3.60 ได เกียรตินิยมอนั ดับ 1 และไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยไมนอยกวา 3.25 จะไดรบั เกียรตินิยมอันดับ 2 สําหรบั ปรญิ ญาหลกั สูตร 4 ป^ และ 5 ป^ 25.2 ระดับปริญญาตรีตอเนื่อง (หลังอนุปริญญา) จะตองไดรับ คาระดับ คะแนนเฉลี่ยทั้งระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี คาระดับคะแนนเฉล่ียไมนอยกวา 3.60 ได เกียรตินิยม อันดับ 1 และถาไดคาระดับคะแนนเฉลี่ย 3.25-3.59 ท้ังระดับอนุปริญญา และ ปรญิ ญาตรีในสาขาเดียวกัน จะไดเกียรตนิ ยิ มอนั ดบั ที่ 2 25.3 ทุกรายวิชาจะตองไดระดับคะแนนไมตํา่ กวา C 25.4 ทกุ รายวิชาไมเคยไดรบั คะแนนเป4น F, U และไมมีการลงทะเบยี นเรียนซาํ้ ในรายวิชาใดๆ 25.5 ตองไมเปน4 นกั ศกึ ษาทีโ่ อนมาจากสถาบันการศึกษาอ่ืน หรือมีการเทียบ โอนวชิ าเรยี น 25.6 นักศึกษาภาคปกติมีเวลาเรียนไมเกิน 4 ภาคการศึกษาปกติสําหรับ หลักสูตร 2 ป^ 8 ภาคการศึกษาปกติสําหรับหลักสูตร 4 ป^ และ 10 ภาคการศึกษาปกติ สําหรับหลกั สตู ร 5 ป^ 25.7 นักศึกษาภาคพิเศษ มีเวลาเรียนไมเกิน 6 ภาคการศึกษา สําหรับ หลักสูตร 2 ป^ ไมเกิน 12 ภาคการศึกษา สําหรับหลักสูตร 4 ป^ และไมเกิน 15 ภาค การศึกษาสาํ หรบั หลักสูตร 5 ป^ ขอ 26. การอนมุ ตั ปิ ริญญา หรืออนุปรญิ ญา สภามหาวิทยาลัยเป4นผอู นุมตั ปิ ริญญา และอนปุ ริญญา ขอ 27. ใหอธิการบดีรักษาการใหเป4นไปตามขอบังคับน้ี และเพ่ือการนี้ใหมีอํานาจออก ประกาศได การใดทีม่ ไิ ดกําหนดไวในขอบงั คบั นี้ หรือไมเป4นไปตามขอบังคับน้ี ใหอธิการบดีมี อํานาจวินิจฉัยสงั่ การตามที่เห็นสมควรแลวรายงานใหสภามหาวิทยาลยั ทราบ ประกาศ ณ วนั ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 (นายอารยี % วงศ%อารยะ) นายกสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 35

ขอบังคบั มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา วาดวย การใหผูสําเรจ็ การศึกษาชนั้ ปรญิ ญาตรี ไดรบั ปริญญาตรเี กียรตินิยมอนั ดับหนึง่ และปรญิ ญาตรเี กยี รตินิยมอนั ดบั สอง พ.ศ. 2550 --------------------------------------------- เพ่ือเป4นการยกยอง และเชิดชูเกียรติบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยาผูท่ีมีผลการศึกษาดีเดน และมีความรูคูคุณธรรม จึงเห็นสมควรออก ขอบังคับเพื่อรองรับการใหปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และปริญญาตรีเกียรตินิยม อนั ดบั สอง อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา 18(2) และมาตรา 57แหงพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จึงตราขอบังคับไวดงั ตอไปน้ี ขอ 1 ขอบังคับน้ีเรียกวา “ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วาดวย การใหผูสําเร็จการศึกษาช้ันปริญญาตรี ไดรับปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และไดรับ ปริญญาตรเี กยี รตินิยมอันดับสอง พ.ศ. 2550” ขอ 2 ขอบังคับนใ้ี หใชบงั คับตั้งแตวันประกาศเป4นตนไป ขอ 3 ในขอบังคบั น้ี “สภามหาวทิ ยาลัย” หมายถงึ สภามหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “อธิการบดี” หมายถงึ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “นกั ศึกษา” หมายถงึ นกั ศึกษาทศ่ี กึ ษาในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ขอ 4 ผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีจะไดรับปริญญาตรีเกียรตินิยม ตองมคี ณุ สมบตั ิดังน้ี (1) สําหรับหลักสูตร 4 ป^ และหลักสูตร 5 ป^ เรียนครบหลักสูตรแลว ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยไมนอยกวา 3.60 ไดเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และไดคาระดับคะแนน เฉลี่ยไมนอยกวา 3.25 ไดเกียรตินิยมอันดับสอง (2) ระดบั ปรญิ ญาตรตี อเน่ือง 2 ป^ (หลังอนุปริญญา) จะตองไดรับคาระดับ คะแนนเฉลยี่ ทง้ั ระดบั อนุปรญิ ญาและปริญญาตรีในสาขาเดียวกัน คาระดับคะแนนเฉลี่ยไมนอย กวา 3.60 ไดปริญญาตรีเกยี รตนิ ิยมอนั ดับหนึ่ง และถาไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมนอยกวา 3.25 ทั้งระดบั อนุปริญญาและปริญญาตรใี นสาขาเดยี วกนั จะไดเกียรตนิ ยิ มอันดบั สอง (3) ทุกรายวชิ าจะตองไดรบั ระดับคะแนนไมต่าํ กวา C (4) ทุกรายวิชาไมเคยไดรับคะแนนเป4น F หรือ U และไมมีการลงทะเบียน เรยี นซ้าํ ในรายวิชาใดๆ (5) ตองไมเป4นนักศึกษาท่ีโอนมาจากสถาบันการศึกษาอื่น หรือมีการเทียบโอน วิชาเรยี น 36 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

(6) นักศกึ ษาภาคปกตมิ ีเวลาเรยี นไมเกิน 4 ภาคเรียนปกติ สําหรับหลักสูตร 2 ป^ ไมเกิน 8 ภาคเรียนปกติ สําหรับหลักสูตร 4 ป^ และไมเกิน 10 ภาคเรียนปกติ สําหรับ หลกั สตู ร 5 ป^ (7) นักศกึ ษาภาคพิเศษมีเวลาเรียนไมเกิน 6 ภาคเรียน สําหรับหลักสูตร 2 ป^ ไมเกนิ 12 ภาคเรยี น สาํ หรับหลักสตู ร 4 ป^ และไมเกนิ 15 ภาคเรียน สําหรับหลักสูตร 5 ป^ (8) ไมเปน4 ผถู กู ลงโทษทางวนิ ัยนักศกึ ษา ตั้งแตระดับตดั คะแนนความประพฤติ ขึ้นไป ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วาดวย วินัยนักศึกษา พ.ศ. 2550 ตลอดระยะเวลาที่ศกึ ษาอยู ขอ 5 ใหสภามหาวิทยาลัยโดยคําแนะนําของอธิการบดี อนุมัติปริญญาตรีเกียรตินิยม อันดับหนึ่ง และปริญญาตรีเกียรตินิยมอันดับสอง โดยเสนอไปพรอมกับการขออนุมัติ ปรญิ ญา ขอ 6 ใหอธิการบดีเป4นผูรักษาการตามขอบังคับนี้ และมีอํานาจออกระเบียบประกาศ หรือคําส่งั เพื่อประโยชน%ในการปฏิบัติตามขอบงั คับน้ี ในกรณที ม่ี ีปSญหาเกีย่ วกบั การปฏิบตั ิตามขอบงั คับน้ี ใหอธิการบดีมอี ํานาจวินจิ ฉัย ประกาศ ณ วันที่ 26 กมุ ภาพนั ธ% พ.ศ. 2550 (นายอารีย% วงศ%อารยะ) นายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา 37

ระเบียบมหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา วาดวยการโอนผลการเรียน การยกเวนรายวิชาเรยี น และการจายคาธรรมเนียมการโอนผลการเรยี น การยกเวนรายวิชาเรยี น พ.ศ. 2552 ---------------------------- โดยที่เป4นการสมควรใหมีระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วาดวยการโอนผลการเรียน การยกเวนรายวิชาเรียน และการจายคาธรรมเนียมการโอน ผล การเรียน การยกเวนรายวิชาเรียน พ.ศ. 2552 เพ่ือใหเป4นไปตามเกณฑ%มาตรฐานหลักสูตร ของสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18(2) แหง พระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2547 และมติสภามหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในคราวประชุมครั้งที่ 8/2552 เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2552 สภามหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา จงึ ออกระเบยี บไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบยี บน้ี เรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วาดวยการ โอน ผลการเรียน การยกเวนรายวิชาเรียน และการจายคาธรรมเนียมการโอนผลการเรียน การยกเวนรายวิชาเรียน พ.ศ. 2552” ขอ 2 ระเบยี บนีใ้ ชบังคับตงั้ แตวันถัดจากประกาศเปน4 ตนไป ขอ 3 บรรดาระเบยี บ ประกาศ คําส่งั หรือมตอิ ่นื ใด ซ่ึงขดั แยงกับระเบียบใหใชระเบียบ น้ีแทน ขอ 4 ในระเบียบนี้ “มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความวา สภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พระนครศรอี ยุธยา “อธกิ ารบดี” หมายความวา อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา “นักศกึ ษา” หมายความวา นักศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา “สถาบันอุดมศึกษา” หมายความวา สถาบันการศึกษาท่ีมีการจัดการเรียน การสอน ในระดับหลังมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรไมต่ํากวาระดับอนุปริญญาหรือ เทียบเทาที่สภามหาวทิ ยาลยั หรอื สํานกั งานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษารบั รอง “การโอนผลการเรียน” หมายความวา การนําหนวยกิตและคาระดับคะแนน ของรายวิชาท่เี คยศกึ ษาจากหลกั สูตรของมหาวิทยาลัย เพื่อใชนับเป4นสวนหนึ่งของการศึกษาใน มหาวทิ ยาลยั โดยไมตองศึกษารายวิชาน้ันอีก ซึ่งรายวิชาที่โอนตองเป4นรายวิชาในหลักสูตรท่ี กําลงั ศึกษาอยใู นปSจจบุ นั ตองโอนผลการเรยี นทุกรายวิชาทเี่ รยี นมาทัง้ หมดจากหลกั สตู รเดิม 38 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University

“การยกเวนรายวิชาเรียน” หมายความวา การนําหนวยกิตและคาระดับ คะแนนรายวิชาที่เคยศึกษาจากหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา หรือ สถาบนั อุดมศึกษาอ่ืนทีส่ ภามหาวทิ ยาลยั หรือสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษารับรอง เพื่อ ใชนับเปน4 สวนหนง่ึ ของการศึกษาในมหาวิทยาลยั โดยไมตองศึกษารายวชิ านัน้ อีก “คาธรรมเนียม” หมายความวา จํานวนเงินท่ีนักศึกษาจะตองชําระเป4น คาโอนผลการเรยี นหรอื คายกเวนรายวิชาเรยี น ขอ 5 การโอนผลการเรียน ใหเป4นไปตามหลักเกณฑ%ดงั ตอไปนี้ 5.1 ผูท่มี สี ิทธิโ์ อนผลการเรยี น ตองมคี ณุ สมบตั ิดังตอไปน้ี 5.1.1 เป4นผทู เี่ คยศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัย แตยังไมสาํ เร็จการศึกษาและพน สภาพ การเป4นนกั ศึกษาแลวกลับเขามาศึกษาในระดบั เดมิ อีก 5.1.2 เป4นนักศึกษาภาคปกติที่เปล่ียนสถานภาพเป4นนักศึกษา ภาคก ศ.บป. โดยใชหลกั สูตรของมหาวิทยาลัย 5.2 การขอโอนผลการเรยี น ใหเป4นไปตามเง่ือนไข ดงั ตอไปน้ี 5.2.1 นักศึกษาที่โอนผลการเรียน ตองมีผลการเรียน คะแนนเฉลี่ยสะสม ไมตํา่ กวา 2.00 ในระดบั ปรญิ ญาตรี มาแลวไมเกนิ 5 ป^ โดยเริม่ นับจากภาคเรยี นสุดทายท่ีมี ผลการเรยี น 5.2.2 นักศึกษาตองโอนผลการเรียนท้ังหมดทุกรายวิชาที่เคยเรียนมาแลว โดยไมจาํ กัดจํานวนหนวยกิตที่โอน ทั้งน้ี จํานวนรายวิชาและผลการเรียนท่ีโอนได ใหนับเป4น หนวยกิตรวมตามหลักสตู รท่เี คยศึกษาในปSจจุบัน และนาํ ไปคดิ เป4นคะแนนเฉลีย่ สะสม 5.2.3 ผูขอโอนผลการเรียนตองไมเคยถูกลงโทษใหออกจากมหาวิทยาลัย ตามขอบังคบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา วาดวยวนิ ยั นกั ศกึ ษา พ.ศ. 2550 5.2.4 นักศึกษาจะตองใชเวลาศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยอยางนอยหนึ่งป^ การศึกษา ขอ 6 การยกเวนรายวิชาเรียน ใหเป4นไปตามหลกั เกณฑต% อไปน้ี 6.1 นักศกึ ษาท่ีมสี ทิ ธข์ิ อยกเวนรายวชิ าเรียน ตองมคี ณุ สมบตั ิดังตอไปนี้ 6.1.1 เป4นผูที่สําเร็จการศึกษา หรือยังไมสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่สภามหาวิทยาลัยหรือสํานักงานคณะกรรมการการ อดุ มศึกษารับรอง แลวไมเกิน 10 ป^ นับถึงวันที่เขาศึกษาโดยเริ่มนับจากวันสําเร็จการศึกษา หรอื ภาคเรยี นสุดทายทมี่ ีผลการเรยี น หรือ 6.1.2 เป4นผูท่ีกําลังศึกษาตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และลาออกจาก หลักสูตรเดมิ เพ่อื เขาศกึ ษาในหลกั สูตรใหม 6.2 การยกเวนผลการเรยี นรายวิชา ใหเปน4 ไปตามเง่ือนไข ดงั ตอไปน้ี 6.2.1 รายวชิ าท่นี าํ มายกเวนรายวิชาเรียน ตองมีเนื้อหาสาระครอบคลุม ไมนอยกวาสามในสี่ของรายวิชาท่ีขอยกเวน และจํานวนหนวยกิตรวมที่ขอยกเวนจะตองไมเกิน สองในสามของจํานวนหนวยกิตรวม ของหลักสูตรท่ีเขาศึกษา และตองมีเวลาเรียนใน มหาวิทยาลยั อยางนอย 1 ป^การศึกษา 6.2.2 การยกเวนรายวชิ าเรียนใหยกเวนไดเฉพาะรายวิชาท่ีมีผลการเรียน ไมตาํ่ กวาระดบั C หรือระดับคะแนน 2.00 หรือ P หรือเทยี บเทา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 39

6.2.3 รายวิชาท่ีไดการยกเวนใหบันทึกไวในระเบียบการเรียนของนักศึกษา โดยใชอักษร “P” ในชองระดับคะแนนและไมนาํ ไปคิดเปน4 คะแนนสะสม 6.2.4 สําหรับผูที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแลวและเขาศึกษาตอใน ระดับปริญญาตรี หรอื ปรญิ ญาตรี (ตอเนอื่ ง) ใหยกเวนหมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป ขอ 7 การนบั จํานวนภาคเรียนของผทู ไี่ ดรบั การโอนผลการเรียนและยกเวนรายวิชาเรยี น ใหถอื เกณฑ%ดังนี้ 7.1 นักศึกษาภาคปกติ ใหนับจํานวนหนวยกิตไมเกิน 22 หนวยกิต เปน4 1 ภาคการศกึ ษา 7.2 นั กศึ กษ าภ าคก ศ.บป . ให นับห นวยกิ ตไดไมเกิ น 15 ห นวยกิ ต เปน4 1 ภาคการศึกษา ขอ 8 ผูท่ีไดรับการโอนผลการเรียน มีสิทธิ์ที่จะไดรับปริญญาเกียรตินิยม แตผูท่ีไดรับ การยกเวนรายวชิ าไมมสี ทิ ธ์ิไดรบั ปริญญาเกยี รตินิยม ขอ 9 นักศกึ ษาตองทําเรือ่ งการโอนผลการเรยี นหรอื การยกเวนรายวิชาเรียนใหเสร็จสิ้น ภายในภาคเรยี นแรกทเ่ี ขาศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยยื่นคํารองขอโอนผลการเรียนหรือยกเวน รายวิชาเรียน ตามท่ีกองบริการการศึกษากําหนด หากพนจากน้ีใหทําบันทึกขออนุมัติตอ มหาวทิ ยาลยั เพ่อื พจิ ารณาตามความจําเป4น เปน4 กรณีไป ขอ 10 การจายคาธรรมเนียมการโอนผลการเรียนหรือการยกเวนรายวิชาเรียน ใหคดิ อัตราท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 11 ใหคณะกรรมการท่ีอธกิ ารบดีแตงตง้ั เปน4 ผูมอี ํานาจพจิ ารณาอนุมัติผลการโอน ผลการเรียน การยกเวนรายวิชาเรียน ขอ 12 ใหอธิการบดีเป4นผูรักษาการตามระเบียบน้ี และมีอํานาจออกประกาศหรือ คําสั่งเพื่อประโยชน%ในการปฏิบัติตามระเบียบน้ี ในกรณีที่มีปSญหาเก่ียวกับการปฏิบัติตาม ระเบยี บนใี้ หอธกิ ารบดีมอี ํานาจตคี วามและวินยั ประกาศ ณ วันที่ 22 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2552 (คณุ หญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา) นายกสภาประจําสถาบันราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 40 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook