Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา (ระดับประถมศึกษา)

รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา (ระดับประถมศึกษา)

Published by thezeroii, 2021-08-20 04:37:17

Description: รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา (ระดับประถมศึกษา)

Search

Read the Text Version

1. ศาสนาพุทธ ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเร่ิมต้ังแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดา ของศาสนาพุทธคอื พระพุทธเจ้า ศาสนสถาน วัดและส�ำนักสงฆ์ต่าง ๆ อันเป็นสถานที่ยึดเหน่ียวจิตใจของชาวพุทธ ซ่ึงเป็นสถานท่ีอยู่อาศัย หรือ ทจี่ ำ� พรรษาของพระภกิ ษุ สามเณรตลอดจนแมช่ ี เพอื่ ใชป้ ระกอบกจิ กรรมประจำ� วนั ของพระภกิ ษสุ งฆ์ เชน่ การทำ� วตั ร เข้าและเย็น และสังฆกรรมในพระอุโบสถ อีกทั้ง ยังใช้ประกอบพิธีกรรม เช่น การเวียนเทียน เป็นต้นในวันส�ำคัญ ทางศาสนาพทุ ธ และยงั เปน็ ศนู ยร์ วมในการมารว่ มกนั ทำ� กจิ กรรมในทางชว่ ยกนั สง่ เสรมิ พทุ ธศาสนา เชน่ การมาทำ� บญุ ในวันพระ ของแต่ละท้องถิ่นของพุทธศาสนิกชน (สืบค้นข้อมูลได้จาก https://th.Wikipedia.org/wiki/รายช่ือวัด ในจังหวดั นครศรธี รรมราช) วัดในจงั หวดั นครศรธี รรมราชมอี ย่ทู กุ อ�ำเภอ ยกตวั อย่างที่ส�ำคัญพอเปน็ สังเขป ดังน้ี 1) วดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร ต้ังอยู่ ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เปน็ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร จงั หวดั นครศรธี รรมราชเป็น 1 ในจอมเจดยี ์แห่งสยาม สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดำ� รงราชานุภาพ ทรงเป็นผูบ้ ัญญัติคำ� ว่า จอมเจดีย์ ขึน้ มา ซ่งึ ท้ังประเทศมีจอมเจดยี ท์ ี่ควรค่า แก่การยกยอ่ ง 8 แหง่ ไดแ้ ก่ 1. พระปฐมเจดีย์ จงั หวัดนครปฐม 2. พระมหาธาตเุ มอื งละโว้ 3. พระธาตุหรภิ ญุ ชัย 4. พระธาตุพนม 5. พระศรีรัตนมหาธาตเุ มอื งเชลยี ง 6. พระมหาธาตุเมืองนครศรธี รรมราช 7. พระมหาธาตเุ มืองศรสี ชั นาลัย 8. พระเจดียช์ ัยมงคลจัดใหญ่ วัดพระมหาธาตุเมืองนครศรีธรรมราช 2) วัดธาตนุ ้อย หรอื วดั พระธาตุนอ้ ย ต้งั อยูใ่ นเขตต�ำบลหลกั ช้าง อำ� เภอช้างกลาง จังหวดั นครศรีธรรมราช ตง้ั ขน้ึ โดยความประสงค์ ของพอ่ ทา่ นคลา้ ย (พระครพู ศิ ษิ ฐอ์ รรถการ) พระเกจอิ าจารยท์ ช่ี าวใตเ้ ลอ่ื มใสศรทั ธาอยา่ งสงู ยง่ิ รปู หนง่ึ ซงึ่ ศษิ ยย์ านศุ ษิ ย์ และประชาชนที่เคารพนับถือ ศรัทธา พ่อท่านคล้ายได้เช่ือถือถึงความศักดิ์สิทธ์ของวาจาพูดอย่างไรเป็นอย่างน้ัน ท่านมักจะให้พรกับทุกคน ขอให้ เป็นสุข เป็นสุขโดยประดิษฐานพระสารีริกธาตุและสรีระสังขารพ่อท่านคล้าย ในโลงแก้วประดิษฐานอยใู่ นองคพ์ ระเจดีย์ สงั ขารพอ่ ท่านคล้าย ซึ่งวา่ กนั ว่าแข็งเปน็ หินทช่ี าวบ้านนบั ถือและศรทั ธา มาจนทุกวันน้ี 92 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

วัดธาตนุ อ้ ย หรือ วัดพระธาตุน้อย 2. ศาสนาอิสลาม ศาสนาอสิ ลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอบั ราฮัม บัญญัตโิ วโนคัมภีร์ อัลกุรอาน คมั ภรี ศ์ กั ดส์ิ ทิ ธข์ องอสิ ลามซงึ่ สาวกถอื วา่ เปน็ พระวจนะคำ� ตอ่ คำ� ของพระเปน็ เจา้ (อลั สอฮ)ฺ และสำ� หรบั สาวกสว่ นใหญ่ เปน็ คำ� สอนและตัวอย่างเชงิ บรรทัดฐาน (เรียกวา่ สุนัต และประกอบด้วยหะดษี ) ของมอุ มั มดั (ประมาณ 570 - 8 มถิ นุ ายน 632) เปน็ ศาสดา (นบ)ี องคส์ ุดทา้ ยของพระเป็นเจา้ สาวกของศาสนาอสิ ลาม เรยี กว่า มสุ ลมิ ศาสนาอิสลาม เป็นชนกลุ่มนอ้ ยทางศาสนาในประเทศไทย แต่มกี ารเติบโตอยา่ งรวดเร็ว คนสว่ นใหญเ่ ชอ่ื วา่ ชาวมสุ ลมิ สว่ นใหญข่ องประเทศอาศยั อยใู่ นสามจงั หวดั ใตส้ ดุ ของประเทศไทย ไดแ้ ก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส อย่างไรก็ตาม การศึกษาของกระทรวงการต่างประเทศ ช้ีว่าชาวไทยมุสลิม เพยี ง ร้อยละ 18 เทา่ นน้ั ท่ีอย่ใู นพ้ืนที่สามจงั หวดั น้ี ส่วนทีเ่ หลอื อาศัยอยู่กระจายไปทวั่ ประเทศ โดยสว่ นใหญอ่ าศยั อยใู่ นกรุงเทพมหานครและตลอดพ้ืนท่ภี าคใต้ของประเทศส�ำหรบั ชาวมสุ ลิมในจงั หวัดภาคใตข้ องไทยน้ัน เปน็ ชนพนื้ เมอื งมาแตด่ ง้ั เดมิ มไิ ดส้ บื เชอ้ื สายมาจากชาวมสุ ลมิ ทเ่ี ขา้ มาทางการคา้ หรอื อพยพมาจากดนิ แดนอนื่ เพราะมหี ลกั ฐาน ปรากฏว่า ชนชาติดั้งเดิมเหล่าน้ีได้เข้ามาต้ังถิ่นฐานอยู่ บนแหลมมลายูตั้งแต่ก่อนคริสต์ศักราชเป็นเวลา 43 ปี และมอี าณาจกั รสำ� คญั คอื อาณาจกั รลงั กาซู ตอ่ มาประมาณ คริสต์ศักราช 220 ชนชาตินี้ก็ได้ก่อตั้งอาณาจักรข้ึนท่ี จังหวัดนครศรีธรรมราช และในคริสต์ศักราช 658 เกิดอาณาจักรขึ้นใหม่ คือ อาณาจักรศรีวิชัย มีอิทธิพล แผไ่ ปทวั่ แหลมมาลายูและอาณาจกั รทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช กต็ กอย่ใู น อำ� นาจของอาณาจกั รศรีวชิ ยั ด้วย จนกระทัง่ ถึง มสั ยิดในจังหวดั นครศรธี รรมราช คริสต์ศตวรรษท่ี 8 อาณาจักรศรีวิชัยเส่ือมอ�ำนาจลง และอาณาจักรใหม่เกิดข้ึนแทนที่ คือ อาณาจักรมัชปาหิต ตอ่ มาถงึ ครสิ ตศ์ กั ราช 1401 อาณาจกั รนกี้ เ็ สอื่ มสลายลงและอทิ ธพิ ลของ ศาสนาอสิ ลามกไ็ ดแ้ ผเ่ ขา้ มาแทนทวี่ ฒั นธรรม อินเดยี ทีเ่ คยมีอยูใ่ นบรเิ วณน้ี ประมาณปลายครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 8 ถงึ ตน้ คริสต์ศตวรรษท่ี 9 ศาสนาอิสลามไดเ้ ข้าฝงั ราก ในอาณาจักรปตั ตานี ซงึ่ กอ่ ตงั้ โดยพระยาตนกตู นั ดารา และขยายตวั ไปครอบคลุมจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ในปจั จบุ ัน ชาวไทยท่ีนบั ถือศาสนาอสิ ลามมอี ยู่ท่ัวประเทศ (ประยุทธ สทุ ธพิ นั ธ์ 2505 : 212) 93เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

มสั ยดิ ในจงั หวดั นครศรธี รรมราช ตง้ั อยใู่ นอำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช อำ� เภอขนอม อำ� เภอพรหมครี ี อ�ำเภอพระพรหม อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอลิชล อ�ำเภอหัวไทร อ�ำเภอทุ่งสง อ�ำเภอทงุ่ ใหญ่ อำ� เภอบางขัน และอำ� เภอปากพนัง (สืบคน้ ข้อมูลไดจ้ าก https://th.wikipedia.org/wiki/รายช่อื วัด ในจงั หวดั นครศรีธรรมราช) 3. ศาสนาคริสต์ ศาสนาคริสต์ ราชบัณฑิตยสถานเรียกวา่ ครสิ ต์ศาสนา เป็นศาสนาประเภท เอกเทวนยิ มท่ีมพี น้ื ฐาน มาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามท่ีปรากฏในพระวรสาร ในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียน พันธสัญญาใหมอ่ นื่ ๆ ผู้นับถอื ศาสนาครสิ ต์เรยี กวา่ ครสิ ตศ์ าสนกิ ชนหรอื คริสตชน พระเยซูเป็นชาวยิว คริสต์ศาสนาถือโดยสมมติว่าวันประสูติของพระองค์ คือวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1 (ซึ่งถือเอาวนั ประสูติเป็นปที ี่ 1 แห่งครสิ ต์ศกั ราช ซ่งึ ตรงกับพทุ ธศักราช 543) ครสิ ตศ์ าสนาเกิดขนึ้ ประมาณ พ.ศ. 573 ในปาเลสไตน์ หรอื ประเทศอสิ ราเอลปัจจุบนั ผ้ใู ห้กำ� เนิดคือ พระเยซคู ริสต์ เปน็ บุตรของโจเซฟ ผูม้ ีอาชพี ช่างไม้ เป็นเช้ือสายยิวแห่งนาซาเรธ และนางมาเรยี คริสตจกั รในจงั หวัดนครศรีธรรมราช คริสตจักรในจังหวัดนครศรีธรรมราช นิกายคาทอลิก ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช และอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ นิกายโปรเตสแตนต์ ต้ังอยู่ในอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช อ�ำเภอขนอม อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอเฉลิมพระเกยี รติ อำ� เภอชา้ งกลาง อ�ำเภอเชียรใหญ่ อำ� เภอทงุ่ สง อ�ำเภอทงุ่ ใหญ่ อ�ำเภอท่าศาลา อำ� เภอบางขัน อำ� เภอปากพนัง อำ� เภอรอ่ นพบิ ลู ย์ อำ� เภอลานสกา อำ� เภอสิชล และอำ� เภอหัวไทร (ขอ้ มลู ปี 2559) โบสถ์คริสตจักรเบธเลเฮ็ม ศาสนาคริสต์เผยแผ่เข้ามาในนครศรีธรรมราชเม่ือกว่าร้อยปีล่วงมาแล้ว จากผู้ที่นับถือศรัทธาเพียงไม่ก่ีคน จนถึงปัจจุบันมีศริสตศาสนิกชน ในนครศรีธรรมราชมากมาย จนโบสถ์หลังเก่า ทสี่ รา้ งหลงั เลก็ ๆ ไมเ่ พยี งพอในการประกอบศาสนพธิ ี จนตอ้ งขยายมาเปน็ หลงั ใหญอ่ ยา่ งในปจั จบุ นั ครสิ ตจกั รเบธเสเฮม็ ต้งั อยู่ที่ 1307/51 ถนนราชดำ� เนิน ตำ� บลคลัง อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนครศรธี รรมราช ครติ จักรเบธเลเฮม็ นครศรธี รรมราช 94 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

เรอ่ื งท่ี 3 ความเชือ่ ทางศาสนาและพธิ กี รรมอนื่ ๆ จังหวัดนครศรธี รรมราช ความเช่ือทางศาสนาและพธิ กี รรมอน่ื ๆ ในจงั หวดั นครศรีธรรมราชจะเปน็ เรอื่ งราวเกี่ยวกบั ศาลหลักเมอื ง นครศรีธรรมราช และศาลเจ้า โดยมรี ายละเอียดดังนี้ 1. ศาลหลกั เมอื งนครศรีธรรมราช ศาลหลักเมืองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช สร้างข้ึนในช่วง ราวปี 2530 ในยคุ ที่ นายเอนก สทิ ธิประศาสน์ เปน็ ผวู้ ่าราชการจังหวัด ด้วยวัตถุประสงค์ เพอ่ื เปน็ ศนู ย์รวมจติ ใจ ของ “คนคอน” โดยมีบุคคลส�ำคัญ 2 คนที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง คือ พล.ต.ต.ชุนพันธรักษ์ราชเดช และ พล.ต.ท.สรรเพชญธรรมาธิกุล อดีตผู้ก�ำกับการต�ำรวจภูธรจังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีน่ีเปรียบเสมือนส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ คอยปกปอ้ งรกั ษาบา้ นเมอื งใหพ้ น้ จากภยั อนั ตรายตา่ ง ๆ โดยรบั รถู้ งึ ความศกั ดส์ิ ทิ ธข์ิ องศาลหลกั เมอื ง ผา่ นองคจ์ ตคุ าม รามเทพ เทวดารักษาเมือง ซึ่งอยู่บนเสาสูงสุดของหลักเมือง มีค�ำบอกเล่าจากปู่ย่าตายายมาช้านานแล้วว่า ถา้ อยากทจี่ ะเจรญิ กา้ วหนา้ ในหน้าทีก่ ารงานก็ตอ้ งไปสกั การบชู าศาลหลักเมอื ง 2. ศาลเจ้า เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมชองชาวไทยเช้ือสายจีนท่ียังคงต้ังอยู่บนความเชือ่ ทางศาสนา และพธิ ีกรรม ความศรัทธาน้ันยังคงพยายามรักษาให้คงอยู่ถึงปัจจุบัน โดยแสดงให้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติตามธรรมเนียมจีน ผ่านพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงเทศกาล เช่น เทศกาลวันตรุษจีน เป็นต้น ศาลเจ้าตั้งอยู่ในหลายอ�ำเภอ ของจังหวดั นครศรีธรรมราช ได้แก่ 1) ศาลเจ้ากวนอู อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรธี รรมราช 2) ศาลเจา้ ลา่ มกุงหยา อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดนครศรธี รรมราช 3) ศาลพระเสอ้ื เมอื งนครศรีธรรมราช 4) ศาลเจ้านาจาซาไหช้ ื้อ อำ� เภอปากพนัง จังหวัดนครศรธี รรมราช 5) ศาลเจา้ ฮกฮ้ัวเก็ง หรือ ศาลแปะกง ต�ำบลนาบอน อำ� เภอนาบอน จังหวดั นครศรีธรรมราช 6) ศาลเจ้าพ่อมหาชยั ณ บริเวณเขามหาชัยและภเู ขาหลักไก่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช 7) ศาลเจา้ ทวดทอง อำ� เภอเมอื ง จังหวดั นครศรธี รรมราช 8) ศาลเจ้าทวดเหนอื อ�ำเภอเมือง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 9) ศาลเจ้าเทพเจ้าพญามา้ ขาว ตำ� บลปากพูน อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 10) ศาลเจา้ พระ 108-109 นอกไร่ ถนนสะพานยาว ตำ� บลโพธเิ์ สดจ็ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช 11) ศาลเจา้ ฮกเกย้ี น อ�ำเภอปากพนัง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 12) ศาลเจา้ เด็กก่าจีคุงเกาะ อ�ำเภอปากพนงั จงั หวัดนครศรีธรรมราช 13) ศาลเจ้าพอ่ ตาปะขาว อำ� เภอสชิ ล จงั หวัดนครศรธี รรมราช 14) ศาลเจา้ ทวดโตะ๊ ต�ำนครศรีธรรมราช 15) ศาลเจา้ แมก่ วนอมิ จันดี ต�ำบลจนั ดี อ�ำเภอฉวาง จงั หวดั นครศรีธรรมราช 16) ศาลเจ้าแม่กวนอิมท่งุ สง อ�ำเภอทุ่งสง จงั หวัดนครศรีธรรมราช 95เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

กจิ กรรมหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 9 ศาสนาจงั หวดั นครศรีธรรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปนท้ี ุกขอ้ ใหอ้ ธิบายความของแตล่ ะศาสนา พอเปน็ สงั เขป ตามหวั ขอ้ ดังตอ่ ไปน้ี 1. ศาสนาพุทธ 1.1. ประวัตศิ าสนาพุทธ 1.2. หลกั ธรรมส�ำคัญทางพทุ ธศาสนา 1.3. หลักการปฏบิ ตั ิ 1.4. ศาสนสถานที่ส�ำคญั ทางพระพทุ ธศาสนาในจงั หวัดนครศรีธรรมราช 2. ศาสนาอสิ ลาม 2.1 ประวัตศิ าสนาอสิ ลาม 2.2 หลักค�ำสอน 2.3 หลกั การปฏบิ ัติ 2.4. ศาสนสถานที่ส�ำคญั ของศาสนาอิสลามในจังหวัดนครศรีธรรมราช 3. ศาสนาครสิ ต์ 3.1 ประวัตศิ าสนาครสิ ต์ 3.2 พธิ ีกรรมส�ำคญั ในศาสนาครสิ ต์ 3.3 คริสต์จักรในจังหวัดนครศรีธรรมราช 96 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศกึ ษา

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 10ประเพณแี ละวัฒนธรรมจังหวัดนครศรธี รรมราช ประเพณเี ปน็ กจิ กรรมทม่ี กี ารปฏบิ ตั สิ บื เนอื่ งกนั มา เปน็ เอกลกั ษณแ์ ละมคี วามสำ� คญั ตอ่ สงั คม เชน่ การแตง่ กาย ภาษา ศาสนา ศลิ ปกรรม กฎหมาย คณุ ธรรม ความเชอ่ื ฯลฯ อนั เปน็ บอ่ เกดิ ของวฒั นธรรมของสงั คม เชอ้ื ชาตติ า่ ง ๆ กลายเปน็ ประเพณปี ระจำ� ชาติ และถา่ ยทอดกนั มาโดยลำ� ดบั ประเพณแี ละวฒั นธรรม ของทอ้ งถน่ิ จงึ มคี วามจำ� เปน็ ทบี่ คุ คล ในทอ้ งถน่ิ ตอ้ งเรยี นรู้ สบื ทอด ธำ� รงรกั ษาไว้ และภาคภมู ใิ จตอ่ ประเพณแี ละวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ทด่ี งี าม เรื่องที่ 1 ประเพณที ี่เกี่ยวเนอ่ื งกบั ความกตัญญูกตเวที จงั หวดั นครศรธี รรมราช ความกตัญญูกตเวที คือ ความรู้บุญคุณท่านแล้วตอบแทนให้ปรากฏ เป็นรูปธรรมประคองให้โลกอยู่ได้ ดว้ ยความสงบสุข คนเรามีชีวิตอยู่ไดเ้ พราะบดิ ามารดาและบรรพบุรษุ การระลกึ ถงึ บุญคณุ คอื การตอบแทนบญุ คุณ บรรพบุรุษ ความกตัญญูกตเวทีเป็นสิ่งท่ีมีคุณค่า ประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับความกตัญญูกตเวทีของท้องถิ่น นครศรธี รรมราชท่ีส�ำคัญ คอื ประเพณสี ารทเดือนสิบ และประเพณอี าบน้ำ� คนแก่ 1. ประเพณีสารทเดอื นสบิ สารทเดือนสบิ หรือ ประเพณีท�ำบญุ เดือนสิบ เป็นการน�ำเครือ่ งอปุ โภคและเครอื่ งบรโิ ภครวมทง้ั ขนม ส�ำคัญหา้ อยา่ งไปถวายพระ แลว้ อทุ ิศสว่ นกศุ ลแดบ่ รรพบรุ ษุ ของตน ประวัตคิ วามเป็นมา ประเพณีสารทเดือนสิบ วิวัฒนาการมาจากประเพณีเปรตพลีของพราหมณ์ ซึ่งลูกหลานจัดขึ้น เพื่อท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ต่อมาพวกพราหมณ์จ�ำนวนมากได้หันมานับถือพระพุทธศาสนา และยังถือปฏิบัติในประเพณีดังกล่าวอยู่ พระพุทธองค์เห็นว่าประเพณีน้ีมีคุณค่า เป็นการแสดงออกซ่ึงความกตัญญู กตเวทีต่อบรรพบุรุษ น�ำความสุขใจให้ผู้ปฏิบัติ จึงอนุญาตให้อุบาสกอุบาสิกาประกอบพิธีน้ีต่อไปได้ ประเพณี สารทเดอื นสบิ มมี าตงั้ แตพ่ ทุ ธกาล คาดวา่ เมอื่ พระพทุ ธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ มาในนครศรธี รรมราช จงึ รบั ประเพณมี าดว้ ย ความเช่อื ความเชื่อของพุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราชเช่ือว่าบรรพบุรุษอันได้แก่ ปู ย่า ตา ยาย และญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากท�ำความดีไว้เมื่อครั้งท่ียังมีชีวิตอยู่ จะได้ไปเกิดในสรวงสวรรค์ แต่หาก ท�ำความช่ัวจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศส่วนกุศลให้ ในแตล่ ะปมี ายงั ชพี ดงั นน้ั ในวนั แรม 1 คำ�่ เดอื นสบิ คนบาปทงั้ หลายทเี่ รยี กวา่ เปรตจงึ ถกู ปลอ่ ยตวั กลบั มายงั โลกมนษุ ย์ เพื่อมาขอสว่ นบญุ จากลกู หลานญาติพี่นอ้ งและจะกลบั ไปนรกในวนั แรม 15 คำ�่ เดอื นสบิ ระยะเวลาของการประกอบพธิ ี มขี ้นึ ในวันแรม 1 ค่ำ� ถงึ แรม 15 ค่ำ� เดอื นสบิ 97เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

พิธกี รรม การปฏิบัตพิ ิธกี รรมการทำ� บญุ สารทเดือนสบิ มี 3 ข้ันตอน คือ 1) การจดั หมรฺ ับและการยกหมฺรบั การจดั เตรียมสิ่งของท่ีใช้จัดหมรฺ บั เรม่ิ ขึ้นในวันแรม 13 คำ�่ วันนีเ้ รยี กกนั ว่า “วันจ่าย” ชาวบ้าน จะซอ้ื อาหารแหง้ พชื ผกั ทเ่ี กบ็ ไวไ้ ดน้ าน ขา้ วของเครอ่ื งใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั และขนมทเี่ ปน็ สญั ลกั ษณข์ องสารทเดอื นสบิ จัดเตรยี มไว้ส�ำหรบั ใส่หมรฺ บั และน�ำไปมอบให้ผ้ใู หญท่ ่ีเคารพนบั ถอื (1) การจัดหมฺรับ นิยมใช้กระบุงหรือเข่งสานด้วยตอกไม้ไผ่ขนาดเล็กหรือใหญ่ขึ้นอยู่กับ ความประสงค์ของเจ้าของหมรฺ ับ ปัจจุบนั ใชภ้ าชนะหลายชนดิ เชน่ ถาด กระเชอ กะละมงั ถัง หรอื ภาชนะที่ประดษิ ฐ์ ขึ้นมาเป็นกรณีพเิ ศษ การจดั หมรฺ ับ ขนมลา เปรยี บเทยี บเสมือนเสทอ้ ผ้าแพรพรรณ ทบี่ รรพบรุ ุษจะใช้เปน็ เครื่องนงุ่ ห่ม ขนมพอง เปรียบเสมอื นแพอันเป็นพาหนะ ขนมกง (หรือขนมไขป่ ลา) เปรยี บเสมอื นเครื่องประดับให้ ให้บรรพบรุ ษุ ใชข้ า้ มหว้ งมหรรณพ บรรพบุรษุ ได้ใช้ประดบั ร่างกาย ขนมบา้ เปรยี บเสมือนสะบา้ ส�ำหรบั ให้บรรพบรุ ุษ ขนมดซี �ำเปรียบเสมอื นเงินตรา ไวเ้ ล่นสะบ้าวันตรุษสงกรานต์ เพอื่ ใหบ้ รรพบรุ ษุ ได้มไี ว้ใช้สอย 98 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

(2) การยกหมรฺ บั วนั แรม 14 คำ�่ ชาวบา้ นจะนำ� หมรฺ บั ทจี่ ดั เตรยี มไวไ้ ปทำ� บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลทวี่ ดั วนั นเ้ี รยี กว่า “วันยกหมฺรับ” การยกหมฺรับไปวดั จะจัดเปน็ ขบวนหรือไม่มขี บวนแหก่ ็ได้ โดยนำ� หมฺรบั และภตั ตาหาร ไปถวายพระ 2) การฉลองหมฺรบั และบงั สกุ ลุ วันแรม 15 ค่�ำ ซ่ึงเป็นวันสารทเรียกว่า “วันหลองหมฺรับ” มีการท�ำบุญเล้ียงพระและบังสุกุล การท�ำบุญวันน้ีเป็นการส่งบรรพบุรุษและญาติพ่ีน้องให้กลับไปยังเมืองนรก หากไม่ได้กระท�ำพิธีกรรมในวันนี้ บรรพบรุ ษุ ญาตพิ นี่ อ้ งทลี่ ว่ งลบั ไปแลว้ จะไมไ่ ดร้ บั สว่ นกศุ ล ทำ� ใหเ้ กดิ ทกุ ขเวทนาดว้ ยความอดยากลกู หลานทย่ี งั มชี วี ติ อยู่ก็จะกลายเป็นคนอกตญั ญูไป 3) การตงั้ เปรตและชงิ เปรต เสรจ็ จากการฉลองหมรฺ บั และถวายภตั ตาหารแลว้ กน็ ยิ มนำ� ขนมอกี สว่ นหนงึ่ นำ� ไปวางไวต้ ามบรเิ วณ ลานวดั โคนไมใ้ หญ่ หรอื กำ� แพงวดั เรยี กวา่ “ตงั้ เปรต” เปน็ การแผส่ ว่ นกศุ ลใหเ้ ปน็ สาธารณทานแกผ่ ลู้ ว่ งลบั ทไ่ี มม่ ญี าติ หรอื ญาติไม่ไดม้ าทำ� บุญให้ การชิงเปรตจะเริ่มหลังจากต้ังเปรตเสร็จแล้ว ช่วงนี้เป็นช่วงที่เรียกว่า “ชิงเปรต” ท้ังผู้ใหญ่ และเด็กจะวิ่งกันเข้าไปแย่งขนม เพราะความเชื่อว่าของที่เหลือจากการเซ่นไหว้จากบรรพบุรุษ ถ้าใครได้ไปกิน จะไดก้ ุศลแรง เปน็ สริ ิมงคลแก่ตนเองและครอบครัว 2. ประเพณอี าบน้�ำคนแก่ คนแก่ ผู้อาวุโสของตระกูล คนในตระกูลจะเป็น ผู้ก�ำหนดว่า สมาชิกคนไหนเป็นคนแก่ของตระกูล แต่ละตระกลู การอาบน้�ำคนแก่ เป็นวิธีการแสดงออกซง่ึ ความเคารพ นับถอื แก่บิดามารดา ญาตคิ นแก่ของตระกลู รวมทงั้ ผู้มพี ระคณุ และบุคคลท่ตี นเคารพนบั ถอื ประวตั ิความเป็นมา อาบน้�ำคนแก่ เป็นประเพณีเก่ียวเน่ือง มาจากประเพณีสงกรานต์ชาวนครศรีธรรมราชเชื่อกันว่า ในวันท่ี 14 เมษายน เทวดาท่เี ฝา้ รกั ษาเมืองท้ังหลายจะพา กันขึ้นไปเมืองสวรรค์กันหมด ท้ังเมืองจึงปราศจากเทวดา วันนี้จึงเรียกว่า “วันว่าง” ชาวบ้านจะหยุดท�ำกิจการ ทุกอย่าง จะไปท�ำบุญท่ีวัดใกล้บ้านเสร็จแล้วสรงน�้ำ อาบน้�ำคนแก่ พระพทุ ธสหิ งิ คเ์ สรจ็ แลว้ จะหาญาตคิ นแกท่ เ่ี คารพนบั ถอื แลว้ ขออาบนำ�้ ใหท้ า่ นดว้ ย ประเพณอี าบนำ�้ คนแก่ จะจดั ขน้ึ อย่ใู นช่วงระยะเวลาของวนั ท่ี 13 วนั ที่ 14 และวันที่ 15 เดอื นห้า (เมษายน) ของทุกปี สถานท่ีประกอบพธิ ี สถานที่อาบนำ้� คนแก่ อาจเปน็ ทบี่ า้ นหรือวัดตามความเหมาะสม กรณีท่เี ปน็ การทำ� พิธอี าบน้ำ� คนแก่ รวมกันท้ังหมู่บ้าน ลูกหลานจะน�ำคนแก่ของตระกูลมารวมกันที่จัด เพื่อจัดพิธีอาบน�้ำคนแก่พร้อมกันจึงใช้จัดเป็น สถานทที่ �ำพิธี 99เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

พิธกี รรม 1. การขอขมา ลูกหลานและชาวบ้านที่มาร่วมพิธี จะรวมกลุ่มยืนอยู่ด้านหน้าของบรรดาคนแก่ ผู้น�ำในพิธีน�ำดอกไม้และจุดธูปเทียน พนมมือ แล้วกล่าวขอขมา ทุกคนว่าตามดังน้ี “กายกรรมสาม วจีกรรมส่ี มโนกรรมสาม หากขา้ พเจ้าทง้ั หลาย เกดิ ประมาทพลาดพลง้ั แกท่ ่าน ด้วยกายกด็ ี ดว้ ยวาจากด็ ี ดว้ ยใจกด็ ี ตอ่ หนา้ ก็ดี ลบั หลังก็ดี เจตนาก็ดี ไมเ่ จตนากด็ ี ขอใหท้ า่ นอโหสิกรรมให้แกข่ ้าพเจ้า ด้วยเถดิ และขอได้โปรดอำ� นวยพรใหข้ า้ พเจ้า ทง้ั หลายมีความสุขความเจรญิ ตลอดไป และขอตั้งจติ อธิฐานขอให้ท่าน เจรญิ ดว้ ย อายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ตลอดไป” 2. พิธีการอาบน้�ำ การอาบนำ้� เป็นการตกั น�้ำมาอาบใหค้ นแก่ ปัจจบุ ันได้ปรับเปลี่ยนวธิ กี ารอาบน�ำ้ มารดน�ำ้ ท่มี ือท้งั สองของคนแก่ และมอบเครอ่ื งนงุ่ หม่ เครือ่ งใช้ ให้คนแก่ พรอ้ มกบั ขอพร คนแกก่ ็จะใหพ้ รลูกหลาน ท่มี าประกอบพธิ แี ละอาบน้�ำไปตามลำ� ดับจนครบทกุ คน เร่ืองท่ี 2 ประเพณที เี่ ก่ยี วเนอ่ื งกับความสามัคคี จงั หวัดนครศรีธรรมราช ความสามัคคีกลมเกลียวและความพร้อมเพรียงกันเป็นพ้ืนฐานท่ีส�ำคัญยิ่งในการอยู่ร่วมกัน ประเทศชาติ จะมั่นคงได้ด้วยบุคคลในสังคมน้ัน ต้องรักใคร่ปรองดองกัน สงเคราะห์ช่วยเหลือกัน ประพฤติตนให้เกิดประโยชน์ เกื้อกูลแก่กัน แก่หมู่คณะและชุมชน โดยส่วนรวมประเพณีส�ำคัญของนครศรีธรรมราชที่เกี่ยวเนื่องกับความสามัคคี คอื ประเพณใี หท้ านไฟ ประเพณีกวนขา้ วยาคู และประเพณีลากพระ 1. ประเพณใี หท้ านไฟ การใหท้ านไฟเปน็ การทำ� บญุ ดว้ ยไฟ เพอื่ ใหค้ วามอบอนุ่ แกพ่ ระภกิ ษสุ งฆใ์ นตอนเชา้ มดื ของวนั ทอ่ี ากาศ หนาวเยน็ ใช้ลานวดั เป็นทกี่ ่อกองไฟและท�ำขนมถวายพระ ประวตั คิ วามเป็นมา นครศรีธรรมราชมี ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนช้ืนในหน้าหนาวก็ไม่หนาวจัด เพียงแต่คนรู้สึก ไม่เคยชินกับอากาศท่ีหนาวเย็นลงตอนย�่ำรุ่งเช้ามืดจึงลุกข้ึนมาก่อไฟผิงเพ่ือสร้างความอบอุ่น พุทธศาสนิกชน จงึ พากนั ไปกอ่ กองไฟในวดั ใกลบ้ า้ นแลว้ นมิ นตพ์ ระภกิ ษสุ งฆ์ มาผงิ ไฟรบั ความอบอนุ่ ดว้ ยการใหท้ านไฟไมม่ กี ำ� หนดระยะ เวลาทแ่ี นน่ อนตายตวั แลว้ แตค่ วามสะดวกในการนดั หมาย แต่ส่วนใหญ่จะปฏิบัติในช่วงเดือนย่ี ซึ่งเป็นช่วงที่มีอากาศ หนาวเย็นทีส่ ดุ ชาวบา้ นจะนัดหมายไปพร้อมกนั ในวันไหน กไ็ ด้ ปจั จบุ นั ก�ำหนดใหเ้ อาเชา้ มืดของวันปใี หม่ (คอื วันท่ี 1 มกราคม) เปน็ วนั ไปวดั ทำ� บญุ ใหท้ านไฟ และจดั ทำ� กจิ กรรม ปีใหมต่ ่อเนือ่ งกันไป พิธกี รรม กองไฟสำ� หรบั การใหท้ านไฟ การก่อไฟ ชาวบ้านมกั ใชไ้ มฟ้ นื หลายอนั มาซอ้ นกนั เขา้ เปน็ เพิง กอ่ ไฟแล้วกน็ มิ นตพ์ ระสงฆม์ านง่ั ผิงไฟ เพ่ือใหเ้ กดิ ความอบอนุ่ ทง้ั พระสงฆแ์ ละคนท่ีอย่ใู กล้เคยี ง ขนมที่นิยมท�ำเช่น ขนมเบ้ือง ขนมครก และขนมโค เป็นขนมท่ีปรุงข้ึนมาร้อน ๆ ไปถวายพระสงฆ์ ขณะทที่ ำ� ขนมกนั ไปพระสงฆก์ ฉ็ นั ไปพรอ้ ม ๆ กนั เมอื่ พระสงฆฉ์ นั จนอมิ่ แลว้ ชาวบา้ นจงึ รบั ประทานกนั อยา่ งสนกุ สนาน หลงั จากพระสงฆฉ์ นั เสร็จแล้ว กส็ วดให้ศีลให้พรแกผ่ ูท้ ่ีมาทำ� บญุ เป็นอนั เสร็จพธิ ี 100 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

2. ประเพณกี วนข้าวยาคู ข้าวยาโค (หรือข้าวยาคู) เป็นช่ือที่ ชาวนครศรีธรรมราช เรียกกันท่ัวไปในพุทธประวัติเรียกว่า “ข้าวมธุปายาสยาค”ู ประวัติความเปน็ มา ชาวนครศรธี รรมราช มคี วามเชอ่ื ทเี่ กยี่ วเนอื่ ง กับพุทธประวัติตอนนางสุชาดาถวายมธุปายาสยาคู ปรารถนาจะบวงสรวงเทวดา จึงหุงข้าวมธุปายาสยาคู จัดลงในถาดทองค�ำน�ำไปที่โพธิพฤกษ์ เห็นพระมหาบุรุษ การกวนข้าวยาคู นงั่ อยู่ สำ� คญั วา่ เปน็ เทวดาจงึ นอ้ มขา้ วมธปุ ายาสยาคู เขา้ ไปถวาย ในเวลานนั้ บาตรของพระองคเ์ ผอญิ อนั ตรธานหายไป พระองค์จึงทรงรับข้าวมธุปายาสยาคูน้ันท้ังถาด นางจึงทูลถวายทั้งถาดแล้วกลับไป พระมหาบุรุษทรงถือถาดข้าว มธุปายาสยาคู เสด็จไปสู่ท่าน�้ำแห่งแม่น้�ำเนรัญชรา เม่ือสรงน�้ำแล้วจึงได้เสวยข้าวมธุปายาสยาคูจนหมด จึงทรงลอยถาดไป ความเชอ่ื พุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช เช่อื กนั ว่า ข้าวยาคนู นั้ เปน็ อาหารทพิ ย์ช่วยใหส้ มองดีเกิดปัญญา แก่ผู้บริโภค ท�ำให้มีอายุยืนยาวมีผิวพรรณผ่องใสและมีพลานามัยสมบูรณ์ และยังเป็นโอสถขนานเอกที่สามารถ ขจัดโรคร้ายได้ทุกชนิด ท้ังยังบันดาลความส�ำเร็จให้ผู้บริโภคสมปรารถนาในสิ่งที่คิดได้อีกด้วย ระยะเวลา ในการประกอบพิธี เดือนสามเป็นระยะเวลาท่ีข้าวในนาก�ำลังออกรวง เมล็ดข้าวยังไม่แก่ ก�ำลังเป็นน้�ำนมข้าว เหมาะส�ำหรบั นำ� มากวนขา้ วยาคู ชาวบ้านจึงนิยมกวนขา้ วยาคใู นวันขึน้ 13 และ 14 ค่�ำ เดือนสาม พิธกี รรม 1. ขั้นตอนการกวนข้าวยาคู ประกอบด้วย สาวพรหมจารีนุ่งขาวห่มขาว และต้องรับสมาทาน เบญจศีลก่อนเข้าพธิ ีกวน ท้งั นี้เพือ่ ความบริสุทธิแ์ ละความเปน็ มงคล โดยมีดา้ ยสายสิญจน์ โยงจากพระสงฆม์ าผูกไว้ ที่ไม้พาย (ไม้กวน) ให้สาวพรหมจารีจับสายสิญจน์ไว้ พระสงฆ์เตรียมสวดขัยมงคลคาถา ซ่ึงชาวบ้านเรียกว่า สวดชยันโตเพอื่ เปน็ มงคลพิธี 2. ขัน้ ตอนในการกวนข้าวยาคู 1). เริ่มพธิ ีกวน สาวพรหมจารีจบั ไม้กวน มีการลนั่ ฆ้องชัยตง้ั อโี หย้ (โห่สามลา) พระสงฆ์จะสวดขยันโตต้ังแต่เริ่มกวน เม่ือสวดชยันโตจบแล้วถือว่าเสร็จพิธี ต่อไปใครจะกวนก็ได้ 2). การกวนข้าวยาคูต้องกวนอยู่ตลอดเวลา เพ่ือจะไม่ติดกระทะ เมื่อข้าวยาคูเร่ิมเหนียวจะใช้น้�ำมันมะพร้าว ทเ่ี คยี่ วไวเ้ ตมิ ลงในกระทะ ไมใ่ หข้ า้ วยาคตู ดิ ไมพ้ าย ขา้ วยาคจู ะเปลยี่ นเปน็ สคี ลำ�้ เมอื่ กวนเสรจ็ และมกี ลนิ่ หอมเครอ่ื งเทศ 3). ระยะเวลา ใช้เวลาประมาณ แปดถงึ เก้าช่ัวโมง สว่ นมากเริม่ กวนเวลา 19 นาฬิกา จนถึงประมาณ 03.00 นาฬิกา จึงแล้วเสร็จ 4). จากกระทะใส่ถาด เกล่ียข้าวยาคูให้บาง ๆ แล้วตัดเป็นช้ินน�ำไปถวายพระในวัดแจกจ่ายญาติมิตร ท่มี ารว่ มในพิธีให้ทัว่ ทกุ คนทเ่ี หลือจัดส่งไปยงั วดั ต่าง ๆ และนำ� ไปฝากญาตมิ ติ ร 101เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

3. ประเพณลี ากพระ ลากพระ (ชักพระหรือแห่พระ) เป็นประเพณีท�ำบุญในวันออกพรรษาโดยอัญเชิญพระพุทธรูป มาประดษิ ฐาน ในนมพระแลว้ แห่ โดยการลากไปชมุ นุมกนั ในบรเิ วณหมู่บ้านใน วันแรม 1 ค�่ำ เดอื นสิบเอด็ ประวตั ิความเปน็ มา ในสมัยที่มีการสร้างพระพุทธรูปขึ้น แล้วพุทธศาสนิกชนได้อัญเชิญพระพุทธรูปซึ่งสมมุติแทน องค์พระพุทธเจา้ มาแห่แทน ซึง่ เปรียบเสมอื นการรบั เสด็จและถวายภัตตาหารใหพ้ ระพุทธเจ้าด้วยตนเอง ความเช่อื เมื่อครง้ั ทพี่ ระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ไปจ�ำพรรษา ณ สวรรคข์ ึน้ ดาวดึงส์เพ่อื โปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษา จึงเสด็จกลบั ลงมายงั โลกมนุษย์ โดยจะกลบั ลงมาทางบนั ไดแก้วทพ่ี ระอินทรน์ ิมติ ถวาย โดยจะเสดจ็ ถงึ นครสังกัสสะ ในเวลาเช้าตรู่ของวันแรม 1 ค่�ำ เดือนสิบเอ็ด พุทธศาสนิกชนท่ีทราบก�ำหนดการเสด็จ ต่างปล้ืมปิติยินดีพากันไป รับเสด็จกันอย่างเนืองแน่น พร้อมท้ังเตรียมภัตตาหารไปถวาย พระพุทธเจ้าได้รับการอัญเชิญขึ้นประทับบนบุษบก ท่ีเตรยี มไว้ แลว้ แหแ่ หนไปยังท่ปี ระทับ มีคนทอ่ี ยรู่ อบนอกจ�ำนวนมากทไ่ี ดน้ �ำใบไม้มาหอ่ ภตั ตาหาร แล้วยนื่ ตอ่ ต่อกัน เพอ่ื ใหถ้ งึ บษุ บกทปี่ ระทบั อยู่ บางคนกโ็ ยนบา้ ง ปาบา้ ง ดว้ ยแรงอธฐิ านของผมู้ จี ติ ศรทั ธาและอภนิ หิ ารของพระพทุ ธเจา้ ทำ� ใหภ้ ตั ตาหารเหลา่ นนั้ ไปตกในบาตรของพระพทุ ธองคท์ ง้ั สน้ิ วา่ อานสิ งสแ์ หง่ การลากพระทำ� ใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดกู าล ชาวนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ต้องการไร่นาที่อุดมสมบูรณ์ ผลผลิตเพิ่มพูน การท่ีฝนตกต้อง ตามฤดูกาล จึงเช่ือกันว่าหากใครได้ลากพระทุกปี จะเป็นผู้ท่ีได้รับบุญกุศลเป็นอย่างมาก และส่งผลให้ประสบ ความส�ำเร็จในชีวิต วันลากพระจะทำ� กนั ในวนั ออกพรรษา คอื วนั แรม 1 ค่�ำ เดอื นสิบเอด็ ของทุกปี พธิ ีกรรม ก่อนจะถงึ เวลาลากพระ พุทธศาสนิกชนจะเตรยี มการเพ่อื ประกอบพิธกี รรมกันอย่างคึกคัก กล่าวคือ 1. การแต่งนมพระ นมพระหรือพนมพระ หมายถึง พาหนะท่ีใช้บรรทุกพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร นยิ มทำ� กนั สองแบบ แบบหนึง่ ใช้ลากทางบกเรยี กวา่ “นมพระ” สว่ นอกี แบบหนง่ึ ใชล้ ากทางน้ำ� เรียกวา่ “เรอื พระ” นยิ มสรา้ งบนรา้ นม้า มไี ม้สี่เหลยี่ มขนาดใหญส่ องท่อนรองรบั ขา้ งล่าง ทางด้านท้ายทำ� เปน็ รูปหางพญานาค นิยมท�ำ ล้อเลื่อนด้วยไม้ส่ีล้อไว้ในตัวพญานาคท้ังสองข้าง ด้านหน้าของพญานาคท้ังสองมีเชือกขนาดใหญ่พอก�ำมือรอบยาว ประมาณ 20-30 เมตร ผกู อยขู่ า้ งละเสน้ เปน็ เชอื กสำ� หรบั ใชล้ ากพระ รา้ นมา้ ใชไ้ มไ้ ผส่ าน ฝาผนงั มลี วดลายและระบาย สีงดงาม ข้างนมพระมีโพนสองลูก กลอง ฆ้อง หรือระฆังอย่างละหนึ่งลูก ปัจจุบันจะสร้างนมพระบนรถยนต์ ใช้เครื่องยนต์ขบั เคล่อื นเปน็ การทนุ่ แรง 2. การหมุ้ โพน โพนเป็นเครอื่ งตี ใช้ประโคมพระลาก การหุ้มโพนใชเ้ วลานานนับเดือน มีกรรมวธิ ี ที่ซับซ้อนตอ้ งขุดและขงึ หนังใหต้ งึ เตมิ ที่ บางวดั มีพิธีทางไสยศาสตรป์ ระกอบด้วย แต่ละวัดต้องมีโพนสองใบ เสยี งทุ้ม และเสยี งแหลมอย่างละใบ เสียงโพนเปน็ จงั หวะใหค้ วามคึกคกั เร้าใจในขณะลากพระ 3. การคมุ พระ การคมุ พระเปน็ วธิ กี ารทพี่ ทุ ธบรษิ ทั ของจดั ตโี พนเปน็ การประโคมกอ่ นถงึ วนั ลากพระ เพ่ือเตือนให้ชาวบ้านท่ัวไปทราบและเกิดความกระตือรือร้นท่ีจะมาร่วมงานลากพระ โดยจะตีโพนเป็นระยะก่อนถึง วนั ลากพระ ประมาณหนึ่งถึงสองสัปดาห์ การคุมพระมักจะทำ� ตอนกลางคืน เสยี งโพนจะกงั วานชดั เจนไปไกล 4. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ พระลากท่ีนิยมใช้ในพิธีลากพระ คือ พระพทุ ธรปู ปางอมุ้ บาตร เมอื่ ถงึ วนั ขนึ้ 15 คำ่� เดอื นสบิ เอด็ พทุ ธบรษิ ทั จะอญั เชญิ พระลากออกจากวหิ ารหรอื อโุ บสถ ท�ำความสะอาดและสรงน�้ำพระชโลมเคร่ืองหอมต่าง ๆ แล้วเปลี่ยนจีวรให้สวยงาม ในการนี้มีพิธีสงฆ์สวดสมโภช มีการเทศนาในเรอื่ งเก่ยี วกบั การเสด็จไปดาวดึงสข์ องพระพุทธเจา้ จนกระทั่งเสด็จกลบั มายงั โลกมนุษย์ 102 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

5. การตักบาตรหน้าล้อ ตอนเช้าตรู่ในวันแรม 1 ค่�ำ เดือนสิบเอ็ด พุทธบริษัทจะน�ำภัตตาหาร มาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า “ตักบาตรหน้าล้อ” แล้วจึงอัญเชิญพระลากข้ึนประดิษฐานบนบุษบกในนมพระ บางวดั จะทำ� พธิ ไี สยศาสตร์ เพอ่ื ใหก้ ารลากพระเปน็ ไปดว้ ยความราบรน่ื ปลอดภยั แคลว้ คลาดจากภยั อนั ตรายทง้ั ปวง 6. การลากพระ 6.1 การลากพระบก การลากพระ คอื การลากนมพระ สมัยโบราณใชล้ อ้ ไมเ้ ลือ่ น นมพระจึงหนกั จึงต้องมีเชือกลากเป็นสองสาย แบ่งเป็นสายผู้หญิงและ สายผชู้ าย ผลู้ ากจะลากนมพระผา่ นมาตามเสน้ ทาง เมอื่ ผา่ น หน้าบ้านของใคร คนท่ีอยู่ในบ้านจะมาช่วยกันลากพระ มารบั ทอดตอ่ อยา่ งไมข่ าดสาย คนลากจะประสานเสยี งรอ้ ง บทลากพระ เพอื่ เปน็ การผ่อนแรงไปในตัว เรือพระทางบก 6.2 การลากพระนำ้� การลากพระน�้ำ คอื การลากเรือพระก็ท�ำในลกั ษณะเดยี วกัน แต่นยิ มกัน ในพื้นท่ีซึ่งมีสภาพเป็นที่ลุ่ม มีล�ำคลองมาก ได้แก่ อ�ำเภอปากพนัง อ�ำเภอหัวไทร อ�ำเภอเชียรใหญ่ อ�ำเภอชะอวด อ�ำเภอฉวาง การเตรียมการเช่นเดียวกับการลากพระบก แต่เปล่ียนจากนมพระบนล้อเลื่อนมาเป็นนมพระบนเรือ เรยี กวา่ “เรอื พระ” โดย การนำ� เรอื สองหรอื สามลำ� มายดึ โยง กันอย่างแข็งแรง จนเรือแยกจากกันไม่ได้ท�ำเป็นเรือพระ เรยี กวา่ “การคาดเรอื พระ” แลว้ สรา้ งนมพระบนเรอื อญั เชญิ พระลากไปประดิษฐานในเรือพระ ส่วนการลากเรือพระ ใช้เรือพายเรือแจวหลายล�ำช่วยกันลาก เรือพระ บทร้อง ท่ีใช้ลากพระและพธิ กี รรมตา่ ง ๆ ก็ปฏบิ ตั ิเชน่ เดียวกนั เรอื พระทางนำ�้ เร่อื งท่ี 3 ประเพณที เี่ กย่ี วเน่อื งกบั ความศรัทธา จังหวดั นครศรีธรรมราช ความศรัทธา คือ ความเชื่อถือเลื่อมใส พุทธศาสนิกชนชาวนครศรีธรรมราช ล้วนแต่มีความเลื่อมใส และเชอื่ มนั่ ในพระรตั นตรยั แสดงออกถงึ ความศรทั ธาในรปู แบบของความพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามประเพณี โดยการประกอบ พิธกี รรมทางพระพุทธศาสนาในวันสำ� คญั ตา่ ง ๆ คอื ประเพณแี ห่ผา้ ขึ้นธาตุ ประเพณีตักบาตรธูปเทียน และประเพณี สวดดา้ น 1. ประเพณแี ห่ผ้าข้ึนธาตุ แหผ่ ้าขึ้นธาตุ หมายถึง การแห่ผ้าผืนยาวไป บูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการน�ำผ้าขึ้นห่มล้อมรอบ องค์พระบรมธาตุเจดีย์ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็นประเพณีที่ชาวนครศรีธรรมราช และพุทธศาสนิกชน ท่ีอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ยึดถือปฏิบัติสืบทอดกันมาเป็นเวลา ยาวนาน การแห่ผา้ ขึ้นธาตุ 103เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศกึ ษา

ประวตั คิ วามเปน็ มา ในสมัยท่ีพระเจ้าศรีธรรมาโศกราชเป็นกษัตริย์ครองตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช) อยู่น้ัน ได้มีการ บูรณปฏิสังขรณ์ พระบรมธาตุเจดีย์ครั้งใหญ่และเสร็จในปี พ.ศ.1773 ขณะที่ เตรียมสมโภชพระบรมธาตุอยู่นั้น ชาวปากพนงั มากราบทลู วา่ คลน่ื ไดซ้ ดั เอาผา้ แถบยาวผนื หนงึ่ ซงึ่ มภี าพเขยี นเรอื่ งพทุ ธประวตั มิ าขน้ึ ทชี่ ายหาดปากพนงั ชาวปากพนงั เกบ็ ผา้ นน้ั ถวายพระเจา้ ศรธี รรมาโศกราช พระองคร์ บั สงั่ ใหซ้ กั ผา้ นน้ั จนสะอาด เหน็ ภาพวาดพทุ ธประวตั ิ เรียกกนั ว่า “ผ้าพระบฏ” ได้ความว่า ชาวพุทธจากเมอื งหงสากลมุ่ หนงึ่ จะนำ� ผ้าพระบฏไปบูชาพระพทุ ธบาททล่ี ังกา แต่ถูกพายุพัดมาขึ้นที่ชายฝั่งปากพนัง เหลือผู้รอดชีวิตสิบคน พระเจ้าศรีธรรมาโศกราชทรงความเห็นว่า ควรน�ำผ้า พระบฏไปหม่ พระบรมธาตเุ จดยี ์ เนอื่ งในโอกาสสมโภชพระบรมธาตุ แมจ้ ะไมใ่ ชพ่ ระพทุ ธบาททตี่ งั้ ใจ แตเ่ ปน็ พระบรม สารีริกธาตุซ่ึงเจ้าของผ้าพระบฏก็ยินดี การแห่ผ้าข้ึนธาตุจึงมีขึ้นตั้งแต่ปีน้ันและด�ำเนินการสืบต่อมา จนกลายเป็น ประเพณีสำ� คญั ของชาวนครศรธี รรมราชในปจั จุบัน ความเช่อื นครศรธี รรมราชรบั พระพทุ ธศาสนาจากอนิ เดยี และลงั กา จงึ รบั ความเชอื่ วา่ การทำ� บญุ และการกราบ ไหว้บูชาที่ให้ได้กุศลจริง จะต้องปฏิบัติต่อพระพักตร์และให้ใกล้ชิดกับพระพุทธเจ้าให้มากท่ีสุด เมื่อพระพุทธเจ้า เสดจ็ ปรนิ พิ พานแลว้ แตก่ ็มสี ัญลักษณข์ องพระพุทธองคอ์ ยู่ ได้แก่ พระธาตเุ จดีย์ พระพุทธรปู เปน็ ต้น การกราบไหว้ บูชาส่ิงเหล่านี้เท่ากับเป็นการกราบไหว้บูชาต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าโดยตรงเช่นกัน ด้วยเหตุน้ีจึงเชื่อกันมาว่า การน�ำผ้าไปบูชาพระบรมธาตุเจดีย์ด้วยการโอบล้อมองค์บรมธาตุเจดีย์ ถือเป็นการบูชาที่ใกล้ชิดกับพระพุทธองค์ พทุ ธศาสนกิ ชนในนครศรธี รรมราชจากทกุ สารทศิ จงึ มงุ่ หมายมาสกั การะ แตเ่ ดมิ การแหผ่ า้ ขนึ้ ธาตนุ ยิ มจดั ปลี ะสองครง้ั ในวนั ข้นึ 15 ค�ำ่ เดอื นสาม (วนั มาฆบชู า) และวันขึน้ 15 คำ่� เดอื นหก (วันวิสาขบูชา) โดยน�ำผ้าไปหอ่ องคพ์ ระบรม ธาตุเจดีย์ ณ วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ปัจจบุ ันนิยมท�ำกนั ในวันข้ึน 15 ค�ำ่ เดือนสาม (วันมาฆบชู า) มากกว่า พิธีกรรม 1. การเตรียมผ้าพระบฏ ผ้าที่น�ำขึ้นห่อพระธาตุ มักนิยมใช้สีขาว เหลือง และแดง เม่ือไปถึงวัด ก็น�ำผ้ามาผูกต่อกันเป็นขนาดยาวที่สามารถห่อพระธาตุรอบองค์ได้ บางคนประดิษฐ์ตกแต่งชายขอบผ้าประดับด้วย รบิ บนิ้ พหู่ อ้ ยแพรพรรณ ลวดลายดอกไมส้ วยงาม แตผ่ า้ หอ่ พระบรมธาตเุ จดยี ผ์ นื พเิ ศษ จะเขยี นภาพพระพทุ ธประวตั ิ ท้ังผืนยาว เพ่ือเป็นพุทธบูชาองค์พระบรมธาตุเจดีย์ แต่ในปัจจุบันผ้าพระบฏซ่ึงมีท้ังสีขาว เหลือง แดง ส่วนใหญ่ เป็นผ้าผืนยาวเรียบ ๆ ธรรมดา 2. การจดั ขบวนแหผ่ า้ ขน้ึ ธาตุ สมยั โบราณเมอื่ ถงึ วนั แหผ่ า้ ขน้ึ ธาตุ เรม่ิ ดว้ ยการจดั อาหารคาวหวาน เครือ่ งอุปโภคและบรโิ ภคทจ่ี �ำเปน็ ไปถวายพระสงฆ์วดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร โดยการหาบคอนกนั ไปเป็นขบวน แหท่ ส่ี วยงาม พรอ้ มนำ� ผา้ พระบฏและผา้ สเี หลอื งหรอื แดงหรอื ขาวไปวดั ปจั จบุ นั มไี ดย้ กเลกิ นำ� ภตั ตาหาร เครอื่ งอปุ โภค และบรโิ ภคทนี่ ำ� ไปทำ� บญุ ถวายพระ ขบวนแหผ่ า้ ขนึ้ ธาตทุ กุ ขบวน นยิ มใชด้ นตรพี น้ื บา้ นนำ� หนา้ ขบวน เพอื่ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลิน ขบวนแห่ผ้าขึ้นธาตุจะเดินเป็นแถวเรียงเป็นร้ิวยาวไปตามความยาวของผืนผ้า ทุกคนชู (เทิด) ผา้ พระบฏไวเ้ หนอื ศีรษะ 3. การถวายผ้าพระบฏ พิธถี วายผ้าพระบฏท�ำโดยมหี วั คณะกล่าวน�ำด้วยภาษาบาลี แล้วตามดว้ ย คำ� แปลมใี จความวา่ “ขา้ แตพ่ ระผเู้ จรญิ ขา้ พเจา้ ทงั้ หลาย ขอนอ้ มถวายผา้ หม่ พระธาตนุ ี้ แกพ่ ระพทุ ธเจา้ เพอ่ื เปน็ พทุ ธ บูชา ข้าพเจ้าทั้งหลายขอกราบไหว้ซึ่งเจดีย์ท้ังหลายในสถานท่ีน้ี ขออานิสงส์แห่งบุญกุศลของข้าพเจ้าทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้า และญาติมติ รท้ังหลายเพอ่ื ความสุขความเจรญิ ตลอดกาลนานเทอญ” 104 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

4. การน�ำผา้ ขนึ้ หอ่ พระธาตุ หลงั จากทกุ คนกลา่ วคำ� ถวายผา้ พระบฏเรยี บรอ้ ยแลว้ จะแหท่ กั ษณิ าวตั ร รอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์สามรอบ แล้วน�ำผ้าเข้าสู่วิหารพระทรงม้า (พระวิหารมหาภิเนษกรมณ์) เม่ือถึงตอนนี้ ผทู้ รี่ ว่ มในขบวนแห่จะส่งผ้แู ทนเพยี งสามหรอื สคี่ นสมทบกับเจา้ หน้าทีข่ องวัด น�ำผา้ พระบฏขึน้ โอบลอ้ มพระบรมธาตุ เจดยี ์ 2. ประเพณีตกั บาตรธูปเทยี น การตักบาตรธูปเทียนเป็นการท�ำบุญด้วยธูปเทียน และดอกไม้เน่ืองในเทศกาลเข้าพรรษา เพื่อจะให้ พระสงฆ์ ทจ่ี �ำพรรษาไดน้ �ำธูปเทยี นใชบ้ ูชาพระรตั นตรยั ตลอดพรรษาสามเดือน ชาวนครศรธี รรมราชจึงน�ำธปู เทียน และไมข้ ีดไฟ ไปถวายพระสงฆใ์ นวนั ดังกลา่ ว ประวัตคิ วามเปน็ มา ประเพณีตักบาตรธูปเทียน เกิดจาก พทุ ธศาสนกิ ชนนำ� ธปู เทยี นดอกไมไ้ ปนมสั การและจดุ ไฟเพอื่ บูชาพระบรมสารีริกธาตุ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เน่ืองในเทศกาลวันเข้าพรรษา เกิดความศรัทธาเสื่อมใส ผู้คนพากันแบ่งธูปเทียนและดอกไม้ของตน ถวายให้ พระสงฆ์ไว้เป็นเคร่ืองบูชานมัสการ การตักบาตรธูปเทียน มีปีละครั้ง คือ ในวันแรกเร่ิมเข้าพรรษา (แรม 1 ค่�ำ เดือนแปด) เวลาประมาณ 16 นาฬิกา โดยใช้ลานในวัด เป็นสถานทีถ่ วายธูปเทียน การตักบาตรธปู เทยี น พิธกี รรม เนอ่ื งจากวนั ประกอบพธิ ตี กั บาตรธปู เทยี น เปน็ วนั เขา้ พรรษาของพระสงฆ์ ทกุ วดั ทพ่ี ระสงฆจ์ ำ� พรรษา เรม่ิ พธิ เี ขา้ พรรษามาตง้ั แตต่ อนเชา้ มพี ทุ ธศาสนกิ ชนไปวดั ทำ� บญุ เขา้ พรรษากนั จำ� นวนมาก หลงั จากไหวพ้ ระฟงั เทศน์ ฟังธรรม และถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์แลว้ จงึ ไปเริ่มพธิ ีตกั บาตรธปู เทยี นในตอนบา่ ย 3. ประเพณสี วดดา้ น การสวดหนงั สือ หมายถงึ การอ่านหนังสอื ร้อยกรองโดยใช้ส�ำเนียงภาษาพื้นเมือง อ่านออกเสียง เป็นทำ� นองตามบทร้อยกรอง ด้าน หมายถึง ด้านต่าง ๆ รอบของ พระวิหารคด หรือ พระระเบียงรอบพระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งมสี ่ดี ้าน พระดา้ นหมายถงึ พระพทุ ธรปู ทป่ี ระดษิ ฐาน อยใู่ นวหิ ารคดทง้ั สดี่ า้ น พระพทุ ธรปู เหลา่ นเ้ี รยี กวา่ พระดา้ น สวดด้าน หมายถึง การสวดหนังสือที่ระเบียงด้านต่าง ๆ การสวนด้าน ท้ังในวิหารคดและวิหารทับเกษตรในส่วนที่ประดิษฐานธรรมาสน์ส�ำหรับพระภิกษุสงฆ์ทั่งเทศนาในวันธรรมสวนะ สวดด้านจึงเป็นประเพณีการอา่ นหนังสือร้อยกรองประเภทนทิ านนิยายในวาระหนงึ่ ของชาวนครศรธี รรมราช 105เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

ประวตั คิ วามเปน็ มา ในวนั ธรรมสวนะ พุทธศาสนกิ ชนจะมาทำ� บุญฟงั ธรรมกัน ชาวนครศรีธรรมราช จะหาหนังสอื มาสวด จนกว่าพระจะมาเทศน์ เพื่อจะได้ฟังกัน ได้ทั้งความเพลิดเพลินและความรู้เป็นคติสอนใจ การสวดด้านจะมีเฉพาะ ในวันพระหรือวนั ธรรมสวนะ (ข้นึ หรอื แรม 8 ค�ำ่ และข้ึนหรอื แรม 15 ค่ำ� ) เวลาก่อนเพล ก่อนพระสงฆจ์ ะขึน้ ธรรมาสน์ แสดงธรรมเทศนาให้พุทธศาสนกิ ชนฟงั ที่พระระเบียงท้งั ส่ดี า้ นในวัดพระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร พิธกี รรม พิธีกรรมเร่ิมข้ึนเมื่อพุทธศาสนิกชนน�ำปิ่นโตบรรจุอาหารคาวหวานและดอกไม้ธูปเทียนมานั่งรอ เพ่ือถวายพระสงฆ์และฟังเทศน์ ขณะนั่งรอ คนสวดด้านจะน�ำหนังสือร้อยกรอง นิทานชาดกที่เตรียมมาสวดด้าน ให้ผู้ฟังได้ฟัง และจะหยุดสวดด้านเม่ือพระสงฆ์เข้ามาในพระระเบียง ผู้สวดด้านและผู้ฟังจึงร่วมกันท�ำบุญ ในวันธรรมสวนะ 4. ประเพณแี ห่นางดาน ประเพณีแห่นางดาน เป็นพิธีพราหมณ์ แห่งเมืองคอน หรือ พิธีตรียัมปวาย ตามความเช่ือลัทธิ พราหมณ์ จะประกอบดว้ ยพิธี “ตรยี มั ปวาย-โล้ชงิ ช้า” เพอ่ื ต้อนรับพระอิศวร ท่ีเสด็จมาเยี่ยมโลกมนุษย์ โดยผนวก ประเพณีหลัก ๆ คือ ประเพณีสงกรานต์ในคราวเดียวกัน ประเพณแี หน่ างดาน จดั ขน้ึ ในวนั ท่ี 14 เมษายน พิธกี รรม แห่นางดาน พิธกี รรมเกี่ยวกบั ประเพณแี ห่นางดาน ประกอบดว้ ย ขบวนแหก่ ระดาน 3 แผ่น จากสนามหนา้ เมือง ไปตามถนนราชด�ำเนนิ สู่หอพระอศิ วร กระดานแผ่นที่ 1 สลักเป็นรปู พระอาทิตย์ และพระจนั ทร์ ซึง่ เป็นสญั ลักษณ์ ของกลางวนั และกลางคนื กระดานแผน่ ที่ 2 เปน็ รปู พระแมค่ งคา ซงึ่ เปน็ สญั ลกั ษณข์ องความฉำ่� เยน็ และอดุ มสมบรู ณ์ กระดานแผ่นท่ี 3 เป็นรูปพระแม่ธรณี ซึ่งหมายถึง ผืนแผ่นดินอันม่ังค่ัง เมื่อขบวนแห่ถึงหอพระอิศวรจะมีการร�ำ บวงสรวง เรือ่ งที่ 4 เอกลักษณท์ างวฒั นธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช นครศรธี รรมราชเคยเปน็ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั และอาณาจกั รตามพรลงิ คม์ ากอ่ นมอี ายปุ ระมาณ 1,500 ปกี อ่ น สุโขทัย ดังนั้นนครศรีธรรมราชจึงได้ส่ังสมอารยธรรมมากมาย มาเป็นรูปแบบของตนเองอย่างหลากหลาย จนเปน็ เอกลกั ษณ์ของตนเอง เอกลกั ษณ์วฒั นธรรมของชาวนครศรีธรรมราช ดังตวั อยา่ งทจ่ี ะยกมานำ� เสนอ ดงั น้ี 1. เอกลักษณด์ ้านภาษาและวรรณกรรม 1.1 ด้านภาษา ภาษาถิ่นของนครศรีธรรมราช การพูดเอาความมากกว่าความไพเราะ ซึ่งในแต่ละอ�ำเภอจะมี ความแปลก แตกตา่ งกันออกไปตามสภาพทอ้ งถน่ิ 106 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

ส�ำหรับรปู ประโยคมลี กั ษณะเหมอื นภาษาไทยมาตรฐาน คือ เรียงคำ� แบบประธาน + กรยิ า + กรรม และ สามารถตดั หรอื ยา้ ยคำ� ทำ� ใหไ้ ดป้ ระโยคหลาย ๆ แบบ เชน่ ฉานกนิ ขา้ วแหลว่ กนิ ขา้ วแหลว่ ฉาน ขา้ วกนิ แหลว่ ฉาน เดนิ เรว็ ๆ ตะ๊ เรว็ ๆ ตะ๊ เดนิ ฝนอีต็อกหลาว อติ อ๊ กหลาวฝน 1.2 ดา้ นวรรณกรรม เมืองนครศรีธรรมราชได้ชื่อว่าเป็นเมืองนักปราชญ์ราชกวีมาต้ังแต่ครั้งโบราณ ทุกยุคทุกสมัย นกั ปราชญแ์ ละกวเี มอื งนครไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานใหเ้ ปน็ ทป่ี รากฏตอ่ การรบั รแู้ ละการยอมรบั ของผคู้ นอยา่ งแพรห่ ลาย กว้างขวาง โดยเมอ่ื พ่อขนุ รามค�ำแหงมหาราชทรงจัดการศึกษาแก่อาณาประชาราษฎรน์ ้ันทรงบนั ทึกบทบาทของนัก ปราชญจ์ ากเมอื งนครศรธี รรมราช ไวใ้ นหลักศลิ าจารกึ หลกั ที่ 1 วา่ “...สงั ฆราชปราชญเ์ รยี นจบปฏิ กตรยั หลวกกวา่ ปคู่ รใู นเมอื งนี้ ทกุ คนลกุ แตเ่ มอื งศรธี รรมราชมา... ” วรรณกรรมเมอื งนครศรธี รรมราชนน้ั มที ง้ั “วรรณกรรมมขุ ปาฐะ” และ “วรรณกรรมลายลกั ษณ”์ “วรรณกรรมมขุ ปาฐะ” คอื วรรณกรรมทถ่ี า่ ยทอดสืบต่อกันมาโดยการจดจ�ำและร้องตอ่ กนั มา ด้วยปากตอ่ ปาก เชน่ เพลงรอ้ งเรือ (เพลงกล่อมเด็กภาคใต้) บทรอ้ งเล่นของเดก็ บทขับเพลงบอก โนรา หนงั ตะลงุ จนถงึ บทสวดในพิธกี รรมต่าง ๆ เป็นต้น “วรรณกรรมลายลักษณ์” คือ วรรณกรรมที่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในสมุดข่อย สมุดไทยใบลาน และหนงั สือบดุ จนถึงรูปแบบหนงั สือและสือ่ อื่น ๆ ในปัจจบุ นั ซึ่งมวี รรณกรรมท่ีเป็นบทร้อยกรอง นิทาน ต�ำนาน ต�ำราต่าง ๆ เป็นต้น มีนักเขียนหรือกวีเมืองนครจ�ำนวนมาก ได้สร้างสรรค์ผลงานวรรณกรรมไว้ ท้ังโดยรูปแบบของฉันทลักษณ์พื้นบ้านภาคใต้ และฉันทลักษณ์อย่างที่เป็นท่ีนิยมในราชธานี ตัวอย่างกวีเมืองนคร ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ทม่ี ชี อื่ เสยี งเปน็ ทย่ี อมรบั เชน่ ภกิ ษอุ นิ ทร,์ พระยาตรงั , พระครวู นิ ยั ธร, นายเรอื ง นาใน, หมนื่ สนทิ , พระสมุหห์ นู, ชูปราชญ์, พระรัตนธชั มนุ ี (มว่ ง รตนธโช), สุขปราชญ,์ พระปลัดเล่ียม อาสโย และ ขุนอาเทศคดี 2. เอกลกั ษณด์ ้านหัตถกรรม เครอ่ื งถมเมอื งนครศรีธรรมราช ย่ายลิเพานครศรธี รรมราช การท�ำเครอื่ งถม เปน็ หตั ถกรรมทมี่ ชี อ่ื เสยี งทสี่ ดุ ของนครศรีธรรมราชได้แก่ การท�ำเคร่ืองถมเครื่องใช้ เคร่ืองประดับต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนต้น ปัจจุบันชาวเมือง นครศรีธรรมราชบางส่วนยังประกอบอาชีพท�ำเครื่องถมอยู่ มี โ ร ง เ รี ย น ช ่ า ง ถ ม เ พื่ อ ฝ ึ ก หั ด เ ย า ว ช น ใ ห ้ สื บ ท อ ด ม ร ด ก ทางวัฒนธรรมน้ีตอ่ ไป การสานย่านลิเพา เป็นเคร่ืองใช้ เช่น กระเป๋า ภาชนะใส่ส่ิงของ ซ่ึงเริ่มมาต้ังแต่สมัยรัชกาลท่ี 4-5 นครศรีธรรมราชมีผู้เช่ียวชาญการสานย่านลิเพาฝีมือเอก ช่ือ ร้อยเอกเผือน คงเอียง ปัจจุบัน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โปรดเกล้าฯ ให้ไปเป็นครูสอน การประดิษฐ์เคร่ืองใช้จากย่านลิเพา ท่ีศูนย์ ศลิ ปาชีพบางไทร พระนครศรีอยุธยา 107เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

การท�ำพัดด้วยใบกระพ้อ ของชาวบ้านโคกยางหน้าโรงเรียนวัดสุวรรณรังษี อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ โดยการใช้ยอดพ้อขนาดเพสลาดมาคลใ่ี บตากแห้งยอมสีและท�ำจกั สานเป็นพัดแบบพืน้ บา้ น การแกะสลักรูปหนังตะลุง เป็นการแกะสลักหนังวัว หนังควาย ให้เป็นรูปหนังตะลุง และระบายสี ตามแบบและเทคนิคการท�ำรูปหนังตะลุงสว่ นมากเปน็ อาชพี เสริมของนายหนงั ตะลุง หรอื แวดวงของอาชพี ตะลุงเดิม พดั ใบกระพ้อนครศรีธรรมราช รปู หนังตะลงุ นครศรีธรรมราช การท�ำกรงนก การท�ำกรงนกเขาและกรงนกหัวจุก เร่ิมนิยมแพร่หลายมาต้งั แต่ พ.ศ. 2530 ผา้ ฝา้ ยเมอื งนครศรธี รรมราช สมยั กอ่ น ชาวเมอื งนครศรธี รรมราชเกอื บทกุ พนื้ ทจี่ ะนยิ มปลกู ฝา้ ยเอง เก็บฝ้ายมาปั่นเส้นด้ายด้วยมือ ย้อมสีด้วยสีจากสมุนไพรหรือเปลือกไม้ และทอผ้าฝ้ายด้วยหูกทอผ้าท่ีประดิษฐ์เอง ในครอบครวั และญาตพิ น่ี อ้ ง ไดพ้ ฒั นาให้ฝีมอื ประณตี ขน้ึ เป็นผ้ายกเมอื งนครที่โด่งดัง กรงนก ผา้ ยกเมืองนครศรธี รรมราช 108 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศกึ ษา

3. เอกลักษณ์ดา้ นศิลปกรรม ศลิ ปกรรมของนครศรีธรรมราชท่ีเดน่ ท่ีสุดมดี ังน้ี มโนราหห์ รอื โนรา เปน็ การแสดงพน้ื บา้ นทเี่ ปน็ ทนี่ ยิ มมากของชาวนครศรธี รรมราช ในรชั สมยั พระบาท สมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว โปรดให้แสดงมโนราห์หน้าพระที่นัง่ เสมอเวลาเสด็จประพาสเมืองนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะเวลาเสด็จนมัสการพระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันการแสดง มโนราห์ประยุกต์ใหเ้ ป็นแบบสมัยใหมม่ ากข้ึน หนังตะลุง เป็นการแสดงที่ชาวนครศรีธรรมราชนิยมมากอีกประเภทหน่ึง หนังตะลุงเป็นมหรสพ ที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน หนังตะลุงแสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรอื งานเฉลมิ ฉลองทสี่ �ำคญั จึงมกั มีหนังตะลงุ มาแสดงให้ชมด้วยเสมอ ร�ำมโนราห์ การแสดงหนังตะลงุ เพลงบอก : ปฏิภาณกวีประจ�ำท้องถิ่น เป็นศิลปะการละเล่นพ้ืนบ้านภาคใต้ท่ีมีมานานต้ังแต่อดีต เช่ือว่ามีความนิยมในการเล่นเพลงบอกมาแล้วราว 150-200 ปี เป็นศิลปะการละเล่นที่แสดงความสามารถ ในเชงิ ปฏิภาณกวีของแม่เพลง ที่จะรอ้ งขบั กลอนเพลงบอก หรือร้องโตต้ อบกนั สด ๆ เพื่อร้องบอกเรื่องราวขา่ วสาร และความบนั เทงิ ร่ืนรมย์ เพลงบอกคณะหน่งึ ๆ ประกอบดว้ ย แม่เพลง 1 คน และลกู คู่ 2-3 คน มี “ฉง่ิ ” เป็นเครือ่ ง ดนตรปี ระกอบก�ำกบั จังหวะเพยี งคเู่ ดยี ว การครอบครูหมอช้าง การพิธีบูชาพระพิฆเนศ เพ่ือให้เกิดสิริมงคลในการท�ำงานศิลปะและงาน ที่เกี่ยวกับการบังคับช้าง นับต้ังแต่การจับช้างป่า การเล้ียงและฝึกช้างการน�ำช้างไปใช้งาน พิธีกรรมจะด�ำเนิน โดยหมอเฒ่า การแทงหยวก คือ การน�ำกาบกล้วยสดมาจัก-แทง-ตัดให้เป็นลวดลายต่าง ๆ ด้วยมีดขนาดเล็ก มกั ใช้น�ำไปประกอบเบญจา เวลารดนำ�้ ผ้ใู หญ่ในวนั สงกรานต์ หรือประกอบเมรเุ ผาศพ การครอบครหู มอช้าง การแทงยวก 109เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

4. เอกลกั ษณ์ดา้ นอาหารการกนิ การกนิ ส�ำรับ ชาวนครศรีธรรมราชนิยมกิน ส�ำรับกับข้าวโดยน�ำถ้วยกับข้าวใส่ในถาดพร้อมข้าว ยกไป ใหแ้ ขกหรอื ญาตผิ ใู้ หญร่ บั ประทานเรยี กวา่ ยกสำ� รบั หรอื กนิ ส�ำรบั ขนมจนี เมอื งนคร มที งั้ แบบแปง้ บบี เสน้ นมิ่ ออ่ น กบั เสน้ ไมน่ ม่ิ ออ่ น สว่ นนำ้� แกงขนมจนี หลายอยา่ ง เชน่ นำ้� แกงไมใ่ สม่ ะพรา้ ว นาํ้ แกงใสม่ ะพรา้ ว นำ้� พรกิ (ใชก้ ารเคยี่ ว ขนมจีนเมอื งนครศรีธรรมราช หัวกะทิใส่น้�ำตาลและถั่วลิสง ไม่มีรสเผ็ด) นอกจากนั้นยังมีแกงพุงปลา ซ่ึงใช้ผักเสริมรสชาติ เช่น กล้วยหมาก มนั น้ำ� เตา้ (ฟกั ทอง) มะกรูด ตน้ ตะไคร้ ขมิน้ ออ่ นทบุ ผักเหนาะ มแี ตงดอง มะละกอดอง ยอดผักตา่ ง ๆ ทุกประเภททม่ี ีทั้งแตงกวา ถว่ั ฝกั ยาว และอนื่ ๆ ส่วนของ ชูรสทข่ี าดไมไ่ ด้ คือ พริกทอดกรอบ น�้ำปลาและมะนาว น้�ำชุบ น�้ำชุบของชาวเมืองนครศรี คือ อาหารพิเศษ ถ้วยเล็ก ใช้จ้ิมผักสดหรือผักต้ม มีส่วนผสม ทสี่ �ำคญั คอื ดีปลี หัวกระเทียม เคยก้งุ เนื้อปลาทู มะนาว และน�ำ้ เล็กนอ้ ย นำ้� ชบุ หรอื น�้ำพรกิ จะมหี ลายประเภท เชน่ น�ำ้ ชบุ เคย (น�ำ้ พรกิ กะป)ิ น้ำ� ชบุ มะอึกซอยมะอกึ ใส่ น�ำ้ ชบุ ไม่ใส่มะนาว จะเรียกว่า น้�ำชุบนายโจร เพราะนายโจร จะทำ� น�้ำชบุ แบบลวก ๆ รีบด่วนไม่ใส่มะนาวกก็ ินไดแ้ ลว้ ข้าวย�ำเมืองนคร มีรสชาติแปลกตามส่วน น�้ำชมุ ผสม เชน่ ใบขมิ้นอ่อนซอย ใบมะกรดู กุง้ ตำ� ละเอยี ด เครือ่ ง แกง มะพรา้ วคว่ั ถงั่ ฝกั ยาวฝานบาง ๆ พรกิ ปน่ ละเอยี ด และ ราดน้�ำปลาเคี่ยวนำ้� ตาลปีบ หรืออ่ืน ๆ เช่น มะขามเปียก เพ่ือรสชาติจะไดอ้ รอ่ ยกลมกล่อม อาหารพน้ื เมอื ง เชน่ เมด็ ยารว่ งเชอ่ื มนำ้� ตาล (เม็ดมะมว่ งหิมพานต์) มังคดุ เขียวคดั เปลอื กทิ้ง แชน่ ้�ำเกลือ เปน็ ของกนิ เลน่ ลกู เนยี งตม้ กนิ กบั มะพรา้ วและนำ�้ ตาลทราย ขา้ วย�ำเมืองนครศรีธรรมราช ขนมกวนขาว สะตอดองย�ำ ใส่น�้ำตาล หอมแดงซอย กุ้งฝอย พริก แกงส้มดอกกล้วย ย�ำบุกคางบก ย�ำมะเขือหืน แกงเหลอื งยอดอ่อนขมนิ้ ใสก่ ะทิ ย�ำหวั กะทือ หรือยอดหมากตม้ จ้ิมน้ำ� พรกิ ลกู เห็บ เป็นต้น ผกั สมนุ ไพร สะตอดองย�ำใส่น�้ำตาล เมด็ ม่วงเชอื่ มน�้ำตาล 110 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

กจิ กรรมหนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 10 ประเพณแี ละวฒั นธรรมจงั หวดั นครศรธี รรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปนี้ทุกขอ้ ให้ยกตวั อยา่ งประเพณขี องมา 3 ประเพณี พรอ้ มอธิบายพอเป็นสังเขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 111เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 11โบราณสถานและโบราณวตั ถุจังหวดั นครศรีธรรมราช เร่อื งท่ี 1 โบราณสถานจังหวัดนครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีโบราณสถานทส่ี ำ� คัญมากมายหลายแหง่ โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ ารซาวนครเรยี กสน้ั ๆ ว่า “วัดพระธาตุ” ตามประกาศของกระทรวงธรรมการ เรือ่ งจัดระเบียบพระอารามหลวง ลงวันท่ี 30 กันยายน 2458 ให้เรียกว่า “วัดพระมหาธาตุ” เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิด “วรมหาวหิ าร” ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 6 เสดจ็ ประพาสเมืองนคร (พ.ศ. 2458) ได้พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร” มโี บราณสถานทสี่ ำ� คญั ดงั นี้ 1. พระบรมธาตเุ จดยี ์ 2. เจดยี ร์ าย 3. วิหารพระม้า 4. วิหารเขียน 5. วิหารโพธ์ิลังกา 6. วิหารสามจอม 7. วิหารพระแอด 8. วิหารหับเกษตร (ระเบียงตีนธาตุ) 9. วิหารคด (ระเบียงคด) 10. วิหารธรรมศาลา 11. วิหารหลวง 12. วิหารโพธิ์พระเดิม 13. พระพทุ ธบาทจำ� ลอง 14. ศาลาศรพี ุทธสาร 15. ประตูวัด โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ 1) พระบรมธาตุเจดีย์ พระบรมธาตุเจดีย์องค์เดิม สร้างตามความเช่ือทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานตามแบบ สถาปัตยกรรมศรีวิชัย ประมาณ พ.ศ. 1300 ปี พระพุทธศาสนานิกายหินยาน เจริญรุ่งเรืองในประเทศลังกา พระเจ้าศรีธรรมโศกราช จันทรภาณุ ผู้เป็นศาสนูปถัมภ์ ไดถ้ วายความสะดวกใหพ้ ระสงฆ์ ชาวเมอื งนครศรธี รรมราช เดนิ ทางไปศกึ ษาพระไตรปฎิ ก จำ� พรรษาอยเู่ มอื งนน้ั หลายปี จนมคี วามรแู้ ตกฉานในพระไตรปฎิ ก และขากลบั ได้นิมนต์ คณะสงฆ์จากลังกามาประดิษฐานพระศาสนาในเมือง นครศรธี รรมราช ในปี พ.ศ. 1770 แบบสถาปตั ยกรรมลงั กา ดังทป่ี รากฏในปจั จุบนั พระบรมธาตุเจดีย์ 112 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดับประถมศึกษา

2) เจดียร์ าย เจดีย์ขนาดต่าง ๆ เรียงรายรอบองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ เป็นบริวารของพระบรมธาตุเจดีย์ เจดีย์บริวารเหล่าน้ี เป็นศิลปะราวสมัยอยุธยาตอนปลาย หรอื รตั นโกสินทรต์ อนตน้ มีอยู่ทงั้ สน้ิ จำ� นวน 185 องค์ 3) วหิ ารพระม้า วหิ ารพระมา้ มชี อ่ื เรยี กหลายชอื่ เชน่ วหิ ารพระมา้ หรอื วหิ ารพระทรงมา้ หรอื วหิ ารพระมหาภเิ นษกรม แต่ชาวนครนิยม เรียกสั้น ๆ ว่าวิหารพระม้า เพราะว่าภายในวิหารมีปูนปั้นเป็นภาพเก่ียวกับเรื่องพระพุทธประวัติ ตอนพระพทุ ธองคท์ รงมา้ เสดจ็ ออกบรรพชาอยทู่ ฝี่ าผนงั วหิ ารพระมา้ นนั้ อยตู่ ดิ กบั พระบรมธาตเุ จดยี ท์ างดา้ นทศิ เหนอื 4) วหิ ารเซียน วิหารเซยี น เดิมน้นั เสาและผนงั ของวหิ าร นี้มีภาพลายเส้นอยู่เต็ม กรมศิลปากรได้ประกาศรับ พพิ ธิ ภณั ฑสถานของวดั พระมหาธาตเุ ปน็ สาขาพพิ ธิ ภณั ฑสถาน แห่งชาติ ประจำ� จงั หวัดนครศรีธรรมราช ช่อื ว่า “ศรธี รรมราช พิธภัณฑสถาน” ท่ีตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของ วัดพระมหาธาตุ ก็คือวิหารเซียนน้ันเอง วัดได้ใช้วิหารเซียน เก็บรกั ษาสง่ิ ของขนาดเล็กท่ีท�ำดว้ ย ทอง เงนิ นาก ส�ำริด เชน่ พระพุทธรูป ตน้ ไม้เงนิ ต้นไมท้ อง ถ้วยชาม เครอ่ื งลายคราม สร้อย แหวน ตา่ งหู เข็มขัด ก�ำไล และป่นิ ปกั ผม เป็นต้น 5) วิหารโพธิ์ลังกา วิหารโพธ์ิลังกา ตรงกลางวิหาร มีลาน ส�ำหรับปลูกต้นพระศรีมหาโพธ์ิต้นใหญ่ต้นหน่ึง เช่ือกันว่า พระศรีมหาโพธิ์ต้นน้ีได้พันธุ์มาจากลังกา และเรียกช่ือวิหาร ตามช่ือของต้นพระศรีมหาโพธ์ิจากลังกา ว่า วิหารโพธ์ิลังกา วิหารโพธิ์ลังกาอยู่ติดกับวิหารเซียน คืออยู่ด้านเหนือของ วิหารเซียนและบรมธาตุเจดีย์ เป็นวิหารส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ลอ้ มรอบพระศรมี หาโพธิ์ 6) วหิ ารสามจอม วหิ ารสามจอม เลา่ สืบต่อกนั มาว่า ผ้สู ร้าง วิหารน้ีเป็นผู้ชายชื่อ สามจอม โดยสร้างพร้อมกับเจดีย์ใหญ่ (เจดยี บ์ รวิ ารองคห์ นง่ึ ) ซงึ่ อยดู่ า้ นหลงั ของวหิ าร ดงั นนั้ จงึ เรยี ก ช่ือวิหารตามช่ือของผู้สร้างว่า วิหารสามจอม เรียกวิหาร สามจอมน้วี า่ “วิหารพระเจา้ ศรีธรรมาโศกราช” 113เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

7) วิหารพระแอด วิหารพระแอด เรียกกันตามช่ือของ พระพุทธรูปท่ีประดิษฐานอยู่ภายในวิหารหลังนี้ คือ พระกัจจายนะ หรือพระสังกัจจายน์ หรือพระสุภูตเถระ แต่คนท่ัวไปเรียกกันว่า พระแอด ดังนั้นวิหารที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปองค์นีจ้ งึ ได้ชือ่ ว่า “วิหารพระแอด” วิหารนีอ้ ยตู่ อ่ กบั วิหารสามจอมไปทาง ดา้ นเหนอื 8) วหิ ารทับเกษตร วหิ ารทบั เกษตร หรอื เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ วา่ พระระเบียงตีนธาตุ เป็นระเบียงหรือวิหารท่ีอยู่โดยรอบฐาน องคพ์ ระบรมธาตเุ จดยี ์ พระพทุ ธรปู ทงั้ หมดในวหิ ารนมี้ ี 91 องค์ ทุกด้านในวิหารน้ีมีธรรมาสน์ ส�ำหรับพระสงฆ์ใช้ในการแสดง พระธรรมเทศนาในวนั พระ 9) วิหารคด วิหารคดหรือพระระเบียง หรือพระด้าน วหิ ารนสี้ รา้ งเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ลอ้ มรอบบรเิ วณภายในองค์ พระบรมธาตุเจดีย์ การที่สร้างให้หักเป็นมุมน่ีเอง ชาวบ้าน จึงเรียกว่า วิหารคด เต็มไปด้วยพระพุทธรูปปั้นเรียงเป็น ระเบียบ เป็นพระพุทธรูปนั่งเป็นแถวยาว ตลอดทุกด้าน ของระเบยี ง จำ� นวน 173 องค์ พระพทุ ธรูปเหล่านเ้ี ปน็ ฝเี มอื ช่างสมัยอยธุ ยา 10) วหิ ารธรรมศาลา วิหารธรรมศาลาภายในวิหารน้ีมีพระพุทธรูป ปางมารวิชัยประดิษฐานอยู่ มีช่ือว่าพระธรรมศาลา เป็นพระพุทธ องค์ใหญ่ท่ีสุดในวิหารหลังนี้ เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนลงรัก ปิดทอง เป็นศลิ ปะยุคเดียวกับพระพทุ ธรูปพระเจา้ ศรธี รรมโศกราช วิหารธรรมศาลาอยู่ทางด้านตะวันออกของพระบรมธาตุเจดีย์ คือ นอกระเบียงคดตรงประตูเยาวราช มีต�ำนานว่า พระเถระเหมรังสี เป็นผ้สู รา้ ง 114 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

11) พระวิหารหลวง พระวิหารหลวงอยู่ทางด้านใต้ของ พระบรมธาตเุ จดยี ์ อยภู่ ายนอกเขตของพระระเบยี งคด ถอื เปน็ พระอโุ บสถของวดั พระมหาธาตุ นบั เปน็ พระอโุ บสถทกี่ วา้ งใหญ่ ที่สุดในปักษ์ใต้ การวางเสา ยึดแบบที่นิยมกันในสมัยอยุธยา พระพุทธรูปซ่ึงเป็นพระประธานในวิหารนี้ชื่อว่า พระศรี ศากยมุนีศรธี รรมราชเปน็ ปางมารวชิ ัยเป็นพระพุทธรูปทสี่ ร้าง สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น หน้าพระประธานมีพระพุทธรูป สาวกขวาและซา้ ย คอื พระสารีบุตรและพระโมคคัลลาน 12) วิหารโพธิ์พระเดมิ วิหารโพธพิ์ ระเดมิ ต้ังอย่ทู างตอนสุดอาณาเขตของวัดพระมหาธาตุ ทางด้านเหนอื ของพระบรม ธาตเุ ปน็ วดั ทส่ี รา้ งหลงั วดั พระมหาธาตไุ มน่ านนกั เรยี กวา่ วดั พระเดมิ ในวดั นม้ี วี หิ ารแบบเดยี วกบั วหิ ารโพธล์ิ งั กาภายใน บริเวณพระบรมมาธาตทุ ุกประการ ท้ังพระพทุ ธรูปและต้นโพธิ์ 13) พระพุทธบาทจ�ำลอง พระพุทธบาทจ�ำลองประดิษฐานในมณฑลบนเนินสูง อยู่ทาง ด้านเหนือของพระบรมธาตุนอกวิหารคด พระพุทธบาทน้ี เป็นแผ่นหินสลักพระพุทธบาทจ�ำลอง หินท่ีน�ำมาแกะสลัก พระพทุ ธบาท แตเ่ ดมิ เปน็ ของเจา้ พระยาสรุ ธรรมมนตรี (พรอ้ ม) ขนาดยาว 74 นิ้ว กวา้ ง 44 น้ิว พระพุทธบาทจำ� ลองน้สี รา้ ง เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2450 ผู้สร้าง คือพระรัตนธัชมุนี (รตนธชเถร-ม่วง เปรียญ) 14) ศาลาศรพี ทุ ธิศาล ศาลาศรีพุทธิสาร สร้างทางด้านใต้ของพระวิหารหลวง ติดกับถนนหลังวัดพระมหาธาตุ ศาลาหลังนี้สร้างเพื่อใช้เป็นที่พักของพระสงฆ์ อาคันตุกะและพระพุทธศาสนิกชนที่มาสักการะพระบรมธาตุ สร้างเป็นอาคาร 2 ชั้น ขนาดกว้าง 11 เมตร ยาว 18 เมตร ต่อมุขทางด้านหน้า 4 เมตร มีห้องพัก 30 ห้อง หลังคาเป็นแบบทรงไทย 15) ประตูวัด (5 ประต)ู ประตูเข้าวัดพระมหาธาตุทางด้านหน้าน้ันมีอยู่ 3 ประตู ประตูกลางท่ีตรงกบั วหิ ารธรรมศาลา เรียกว่า ประตูเยาวราช เมื่อ พ.ศ. 2452 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรด เกล้าฯ ให้สร้างประตูกลางของวัดพระมหาธาตุ เป็นซุ้ม ก่ออิฐถือปูน เปน็ ซมุ้ ประตขู นาดใหญ่ มลี ายปนู ปน้ั ประดบั จารกึ ปที ส่ี รา้ งคอื ร.ศ.128 มซี มุ้ ทศิ ดว้ ยยอดของซมุ้ ประตเู ปน็ แบบพระมหามงกฎุ และพระราชทาน นามว่าประตเู ยาวราช 115เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

2. หอพระพทุ ธสิหิงค์ หอพระพทุ ธสหิ ิงค์ พระพทุ ธสหิ งิ ค์ จังหวัดนครศรีธรรมราช หอพระพทุ ธสหิ งิ ค์ ตงั้ อยบู่ รเิ วณศาลากลางจงั หวดั นครศรธี รรมราช ภายในประดษิ ฐานพระพทุ ธสหิ งิ ค์ พระพุทธรูปศักสิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองมาต้ังแต่คร้ังพระเจ้าศรีธรรมโศกราช พระพุทธสิหิงค์เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ประทบั นั่งขดั สมาธเิ พชร ปางมารวิชยั 3. วดั ทา้ วโคตร วัดท้าวโคตร ต้ังอยู่ริมถนนราชด�ำเนิน บา้ นนาเดมิ หมู่ที่2ตำ� บลนาอำ� เภอเมอื งจงั หวดั นครศรธี รรมราช เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเมืองนครฯ ภายในวัดท้าวโคตร มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณสถานที่ส�ำคัญคือ ซากเจดีย์โบราณ เจดีย์วัดท้าวโคตรใช้อิฐเป็นโครงสร้างหลัก และใชด้ นิ เหนียวเปน็ สว่ นยดึ 4. วดั เสมาเมือง วัดเสมาเมือง ต้ังอยู่ในเขตต�ำบลในเมือง อำ� เภอเมอื ง จังหวัดนครศรีธรรมราช พระเจา้ ศรีธรรมโศกราช เปน็ ผทู้ รงสรา้ งวดั นขี้ น้ึ สถานทส่ี รา้ งวดั นเ้ี ปน็ ทำ� เลใจกลางเมอื ง นครศรธี รรมราชในสมยั นน้ั วดั นเี้ ปน็ ตน้ กำ� เนดิ ของวดั ทงั้ หลาย ในเมืองนคร สร้างและอุทิศถวายแด่พระพุทธองค์ผู้ทรงชนะ มารพระโพธสิ ตั ว์ ปัทมปาณแี ละวชั รปาณี 116 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

5. วัดเสมาชยั วัดเสมาชัย ปัจจุบันเป็นวัดร้าง ต้ังอยู่ภายใน โรงเรียนเทศบาลเมืองนครศรีธรรมราช ทางทิศเหนือของวัด เสมาเมอื ง หลงเหลอื เพยี งอโุ บสถเกา่ ทม่ี ฐี านยกสงู และถกู สรา้ ง อาคารโถงสมยั ใหมท่ บั ปจั จบุ นั มพี ระพทุ ธรปู ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ ทเ่ี รยี ก กันว่า หลวงพ่อเสมาชัย และเจ้าแม่อ่างทอง พระพุทธรูป หินทรายภายในอุโบสถวัดเสมาชัย (ร้าง) เป็นพระพุทธรูป หินทรายสีแดงคล้ายพระพุทธรูปในศิลปะอยุธยาตอนต้น ราวพทุ ธศตวรรษที่ 20-21 6. วัดหนา้ พระลาน วัดหน้าพระลาน ต้ังอยู่บนถนนพระบรมธาตุ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช จงั หวดั นครศรธี รรมราช อยตู่ ดิ กบั วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร ซ่ึงต้ังอยู่ทางทิศใต้ วัดหน้าพระลานมีพระพุทธรูปประทับยืน หล่อจากส�ำรดิ ปางประทานอภยั สองพระหัตถ์ หรอื ปางห้าม สมุทร ครองจีวรห่มคลุม ทรงเครื่องอย่างพระจักรพรรดิราช อายรุ าวพทุ ธศตวรรษ ที่ 22-24 7. เจดยี ์ยักษ์ เจดีย์ยักษ์ เป็นเจดีย์ท่ีสูงใหญ่รองจากเจดีย์ พระบรมธาตุ ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเจดีย์ ซึ่งร้างไปแล้วติดกับ สำ� นกั งานเทศบาลนครศรธี รรมราช ถนนราชดำ� เนนิ ใกลต้ ลาด ทา่ วังชือ่ ว่า “เจดียย์ กั ษ์” 8. วัดประดพู่ ฒั นาราม วัดประดพู่ ัฒนาราม เก๋งพระเจ้าตาก 117เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

วดั ประดพู่ ฒั นาราม หรอื วดั ประดู่ หรอื วดั โด ตงั้ อยใู่ นเขตเทศบาลนคร นครศรธี รรมราช อำ� เภอเมอื ง นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นวัดที่ส�ำคัญวัดหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นท่ีบรรจุอัฐิ ของเจา้ พระยานคร (นอ้ ยกลาง) 9. วดั แจ้งวรวิหาร วดั แจง้ วรวหิ าร เปน็ พระอารามหลวงชนั้ ตรี ชนดิ สามญั สงั กดั คณะสงฆม์ หานกิ าย ตงั้ อยตู่ ดิ กบั วดั ประดู่ ต้ังอยู่ริมถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลท่าวัง อ�ำเภอเมือง เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ได้รับการยกฐานะข้ึน เปน็ พระอารามหลวง เม่ือวันท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ.2529 พสี่ าวของเจา้ พระยานคร (พัฒน)์ ชอื่ ชี เป็นผู้สรา้ งประมาณ ปี พ.ศ. 2327 - 2330 10. หอพระสงู พระวหิ ารสูง หรือหอพระสูง เปน็ ปูชนียสถาน ที่ส�ำคัญแห่งหน่ึงของเมืองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่นอก ก�ำแพงเมืองโบราณนครศรีธรรมราชด้านทิศเหนือในบริเวณ สนามหนา้ เมือง ใกล้ส�ำนกั งานการทอ่ งเท่ียวแห่งประเทศไทย สร้างในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น 11. วดั ท่าโพธว์ิ รวหิ าร วัดท่าโพธ์ิวรวิหาร ต้ังอยู่ริมคลองท่าวัง ต�ำบลท่าชัก อ�ำเภอเมือง สร้างในรัชสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา โบราณวัตถุโบราณสถานท่ีส�ำคัญ คือ โบสถ์และพระประธานในโบสถ์ เปน็ พระพุทธรูปทรงเครือ่ งใหญ่สีสวยงาม ดา้ นหลังพระประธานมเี จดีย์บรรจอุ ัฐขิ องเจา้ พระยานครฯ (พฒั น์) พระประธานในโบสถว์ ัดทา่ โพธิว้ รวิหาร วดั ทา่ โพธวิ รวิหาร 118 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

12. หอพระอศิ วร หอพระศิวะ ต้ังอยู่ที่ถนนราชด�ำเนิน ใกล้กับ วัดเสมาเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง เป็นเทวสถาน ในศาสนาพราหมณ์ไศวนิกาย คือ นิกายที่นับถือพระศิวะ หรือพระอิศวร นับถืออวัยวะเพศหรือลึงค์ของพระศิวะ ท่ีเรียกว่า “ศิวลึงค์” และนับถืออวัยวะเพศของพระมเหสี พระศิวะ คือ พระนางอุมา “อุมาโยนี” ศิวลึงค์กับอุมาโยนี จะอยู่คู่กันเสมอ ภายในหอพระศิวะประดิษฐานศิวลึงค์บนแท่นโยนิโทรณะ ภายนอกด้านใต้มี “เสาชิงช้า” จ�ำลอง แทนของเดิม 13. หอพระนารายณ์ หอพระนารายณต์ งั้ อยทู่ ถี่ นนราชดำ� เนนิ ใกลก้ บั วัดเสมาเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง ฝั่งตรงข้ามกันกับ หอพระศิวะ เป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ไวษณพนิกาย คอื นกิ ายทนี่ บั ถอื พระนารายณ์ ซง่ึ เปน็ ใหญแ่ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว คอื ท้ังผู้สร้าง ผู้รักษาและผู้ท�ำลายสากลโลกน้ี ข้างใน มีเทวรูป นารายณ์ศิลาปิดทองยืนจมดินอยู่เพียงน่องสูงประมาณ ศอกเศษ 14. แหล่งนำ�้ ศกั ด์ิสิทธ์ใิ นจังหวัดนครศรีธรรมราช ในครงั้ โบราณตราบจนปจั จุบนั เมื่อต้องการใชน้ ำ้� พระพทุ ธมนตป์ ระกอบพระราชพิธี เช่น นำ้� อภิเษก นำ้� บรมราชาภเิ ษกและนำ้� พพิ ฒั นส์ ตั ยา เปน็ ตน้ เจา้ เมอื งกจ็ ะใหร้ าชบรุ ษุ ไปพลกี รรม เพอื่ เอานำ้� จากแหลง่ นำ�้ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ทั้ง 6 แหล่งมาประกอบพิธีทุกครั้งไป แหล่งน้�ำศักดิ์สิทธ์ิคู่เมืองนครศรีธรรมราช ใช้ในพระราชพิธีและพิธีกรรม อันศักดิ์สิทธิ์ในพระราชพิธีเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ พระมหากษัตริย์ที่จะขึ้นเถลิงถวัลย์ราช แหล่งน�้ำศักด์ิสิทธ์ิท่ีใช้ ในการประกอบพิธพี ลีกรรมตักนำ้� จ�ำนวน 6 แหล่ง คอื 1) บอ่ น�้ำศกั ด์ิสทิ ธ์ิ วดั หนา้ พระลาน ต้ังอยู่ในวัดพระลาน ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ ของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ในสมัยโบราณชาวบ้าน เชื่อกันว่าเป็นบ่อน้�ำศักด์ิสิทธ์ิน�้ำใสสะอาด หากใครได้ด่ืมน�้ำ ในบ่อนจี้ ะมสี ติปัญญาดี มีวาสนา จะไดเ้ ปน็ ขุนนางผใู้ หญ่ 119เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดับประถมศกึ ษา

2) บ่อนำ้� ศักดส์ิ ทิ ธิว์ ดั เสมาเมือง ตั้งอยู่ทางทิศอีสานของวัด เป็นบ่อน�้ำ ท่ีสร้างข้ึนพร้อมกับการต้ังวัดเสมาเมือง ชาวบ้านเชื่อกันว่า บ่อน้�ำแห่งนี้ ต้ังอยู่ภายในเขตธรณีสงฆ์อันเป็นแดนของ พระพทุ ธศาสนาและในอดตี เคยเปน็ ศาสนาพราหมณ์ ทไี่ ด้เข้า ส่นู ครศรธี รรมราชราวศตวรรษท่ี 10-12 3) บ่อน้�ำศกั ดส์ิ ทิ ธิ์วัดเสมาชยั ตงั้ อยทู่ างทศิ เหนอื ของวดั เสมาเมอื งบอ่ นำ้� ต้ังอยู่ทางทิศอีสานของวัด เสมาชัย ในอดีตพระเจ้าศรีธรรม โศกราช กษัตริย์เมืองนครได้สร้างวดั นีข้ น้ึ หลงั จากได้กรีธาทพั ไปตีหวั เมืองฝา่ ยใตแ้ ละได้รบั ชยั ชนะกลับมา 4) บ่อนำ้� ศักดส์ิ ทิ ธิ์วัดประตขู าว ต้ังอยู่ต�ำบลคลัง อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช ปัจจบุ นั เป็นวดั ร้างทางราชการได้ใชส้ ถานที่ วัดเป็นโรงเรียนอนุบาลนครศรีธรรมราชไปแล้ว บ่อน้�ำ ที่วัดประตูขาว เดิมเป็นบ่อน้�ำลึกอยู่หลังโรงเรียนอนุบาล นครศรธี รรมราช 5) บ่อนำ�้ ศกั ดิ์สิทธหิ์ ว้ ยเขามหาชัย เป็นล�ำห้วยท่ีมีน้�ำไหลมาจากเขามหาชัย ต้นน้�ำอยู่ในเขตหมู่ที่ 4 ต�ำบลท่าง้ิว อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ล�ำห้วยน้ีเรียกตามช่ือภูเขามหาชัย อนั หมายถึงชยั ชนะอนั ยิง่ ใหญ่ 6) บอ่ น�ำ้ ศกั ด์สิ ิทธห์ิ ้วยปากนาคราช อยทู่ ตี่ ำ� บลเขาแกว้ อำ� เภอลานสกา จงั หวดั นครศรธี รรมราช นำ�้ จากลำ� หว้ ยนไี้ หลออกมาจากแงห่ นิ ทม่ี ปี าก เหมอื นพญานาค ไหลตลอดปี ตงั้ แตโ่ บราณมาเชอ่ื วา่ นำ้� ในหว้ ย นาคราชเปน็ น้ำ� ศกั ดิ์สทิ ธ์ิ 120 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดับประถมศึกษา

15. ศาลากลางจงั หวัด ศาลากลางจงั หวดั นครศรธี รรมราช เดมิ เปน็ วงั ของเจ้าเมือง ก่อนท่ีจะมีการปฏิรูปการปกครองในสมัย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว 16. สนามหนา้ เมือง สนามหน้าเมือง ต้ังอยู่นอกก�ำแพงเมืองเดิม ของเมืองนครศรีธรรมราช ใช้เป็นที่ประกอบกิจกรรมต่างๆ ของทางราชการบา้ นเมอื งและกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น การละเล่น การแข่งขันกีฬา การออกร้านจ�ำหน่ายสินค้า การจัดงาน เทศกาลประจำ� ปี การแสดงมหรสพ ของชาวเมอื งนครมาตง้ั แต่ สมยั โบราณจนถึงในปัจจบุ นั 17. ก�ำแพงเมืองนครศรธี รรมราช ก�ำแพงเมืองนครศรีธรรมราช สร้างในสมัย พระเจ้าศรีธรรมโศกราชในราวพุทธศตวรรษที่ 11 ล้อมรอบ เมืองตามพรลิงค์ มีประตูเมืองส�ำคัญ 2 ประตู ประตูด้าน ทิศเหนือ ช่ือ “ประตูไชยศักดิ์” ประตูด้านทิศใต้ช่ือ “ประตูไชยสิทธ์ิ” ต่อมาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2199 - 2231) ไดท้ ำ� การกอ่ สรา้ งขนึ้ ใหมต่ ามแบบกำ� แพง เมอื งทางตะวนั ตก มปี อ้ มปราการทตี่ ง้ั ปนื ใหญแ่ ละปนื อนื่ ๆ ได้ มใี บเสมาบนก�ำแพง 18. สระล้างดาบศรีปราชญ์ สระล้างดาบศรีปราชญ์และอนุสาวรีย์ ศรีปราชญ์ ประวัติอนุสรณ์สถานศรีปราชญ์ ต้ังอยู่ภายใน โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช เป็นอนุสรณ์การตายของ ศรีปราชญ์ ผู้เป็นกวีเอกในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา แตถ่ กู เนรเทศมาอยู่ ณ เมอื งนครศรธี รรมราช ต่อมาเกิดมีความขัดเคืองใจแก่เจ้านครศรีธรรมราช จึงถูกสั่ง ประหาร หลงั จากประหารศรปี ราชญแ์ ลว้ เพชฌฆาตไดน้ ำ� ดาบ มาล้างที่สระแหง่ นี้ 121เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

19. อนสุ าวรีย์วรี ไทย อนุสาวรีย์วีรไทย หรือชาวบ้านเรียกว่า “อนุสาวรีย์จ่าด�ำ” เป็นอนุสรณ์สถานที่สร้างข้ึนเพ่ือ เป็นเกียรติประวัติวีรกรรมทหารไทย ที่ได้สละชีพเพื่อชาติ ในสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา ต้ังอยู่ตรงบริเวณท่ีทหาร ของมณฑลทหารบกนครศรีธรรมราช ภายในฐานบรรจุอัฐิ ของทหารผู้เสยี ชีวติ ในการสู้รบครงั้ นั้น จำ� นวน 116 คน อนุสาวรีย์วรี ไทย 20. วดั เขาขุนพนม วัดเขาขุนพนม ตั้งอยู่ในหมู่ท่ี 3 ต�ำบลบ้านเกาะ อ�ำเภอพรหมคีรี สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอยุธยา เพราะมี ศลิ ปวัตถโุ บราณสมัยอยธุ ยาอยู่มาก เชน่ ขันนำ้� มนต์ คนโท พระพทุ ธรูปส�ำรดิ เป็นต้น เชงิ เขาใกลท้ างขึ้นถำ�้ มีโบสถ์เก่าแก่ ขนาดเล็กพอพระสงฆ์ท�ำสังฆกรรมได้ มีประตูเข้าทางเดียวไม่มี หน้าต่าง ใบเสมาเป็นศิลาแกะสลัก รูปแบบสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา ถ้�ำเขาขุนพนม หรอื ถำ้� คมุ พนม ตง้ั อยภู่ ายใตซ้ ะโงกผาสงู ทหี่ นา้ ถำ�้ มกี ำ� แพงสงู ประมาณ 2 เมตร บนก�ำแพงมีใบเสมาเหมือนก�ำแพงเมือง โบราณ ด้านหน้าก�ำแพงมีลายปูนปั้นประดับด้วยถ้วยชาม ลวดลายสวยงาม ท่ีประตูมียักษ์เป็นนายทวารบาลครึ่งตัวต้ัง อยู่ 2 ตน ด้านหลังประดิษฐานพระพุทธรูปไว้หลายองค์ ลดต่�ำลงไปทางด้านขวามือของถ�้ำเป็นช่องทางเข้าสู่ถ้�ำใหญ่ ด้านหน้าถ�้ำมีรูปปั้นพระสงฆ์ และพระฉายาลักษณ์ พระเจ้า กรงุ ธนบรุ ี 122 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดับประถมศึกษา

เร่ืองท่ี 2 โบราณวัตถุ จังหวดั นครศรธี รรมราช 1. เงนิ ตรานโม (หัวนะโม) เงินตรานโม เปน็ วัตถทุ รงกลม สรา้ งด้วยโลหะพเิ ศษ มีหลายแบบหลายรุ่น มตี ัวอักษรโบราณตวั นะ อยตู่ รงกลาง อยใู่ นฐานะเงนิ ตราใชแ้ ลกเปลยี่ นแทนสนิ คา้ ในประเทศไทยมกี ารสรา้ งแหง่ เดยี วทเ่ี มอื งนครศรธี รรมราช ปัจจุบันหัวนะโม เปล่ียนฐานะเป็นเครื่องรางของขลัง หรือวัตถุมงคลช้ินเอกของนครศรีธรรมราช พุทธคุณครอบ จักรวาล เมตตามหานิยม โชคลาภ แคล้วคลาด ปลอดภยั แกผ่ ้ทู ีอ่ าราธนาบูชาติดตัว 2. ใบเสมา เปน็ ศลิ ปะศรวี ชิ ยั สมยั กอ่ นพทุ ธศตวรรษที่ 19 ใบเสมา หรอื สมี า เปน็ ประตมิ ากรรม หนิ สลักซ่งึ ใช้เปน็ สญั ลกั ษณ์ หรอื เพือ่ แสดงขอบเขตพนื้ ท่ศี กั ดส์ิ ทิ ธเ์ิ นื่องในพทุ ธศาสนา 1) ใบเสมา วัดเสมาชัย ใบเสมา วัดเสมาชัย เป็นใบเสมาหินชนวนขนาดย่อม ไม่มีลวดลายประดับ เทียบไดก้ ับใบเสมาศลิ ปะอยธุ ยาในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 20-21 2) ใบเสมา วัดท้าวโคตร ทางดา้ นนอกอโุ บสถ มใี บเสมาปกั บอกเขตอยทู่ งั้ 8 ทศิ ใบเสมาเหลา่ นอ้ี าจสรา้ งขนึ้ ในสมยั อยธุ ยา ตอนกลาง คอื ราวพทุ ธศตวรรษที่ 21-22 ใบเสมา วดั เสมาชัย ใบเสมา วดั ท้าวโคตร 123เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

3. ศิลาจารึกวัดเสมาเมอื งและศลิ าจารกึ วดั หวั เวยี ง 1) ศิลาจารึกวัดเสมาเมือง เป็นหินทรายแดงรูปใบเสมา จารึกเป็นอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต เม่ือ พ.ศ. 1318 เป็นศิลาจารึกหลักที่ส�ำคัญ ของเมืองนครศรีธรรมราช ในจารึกในหน้า 1 บรรทัดท่ี 14,16,28 มีค�ำว่า “ศรีวิชเยนทรราชา” ปรากฏอยู่มีข้อความกล่าวถึงความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร และกล่าวสรรเสริญ พระเจา้ กรุงศรีวชิ ัย ผเู้ ป็นใหญ่กว่าพระราชาทง้ั ปวงในโลกน้ี และหน้า 2 กล่าวถงึ พระบรมเดชานุภาพของพระองค์ ประดุจพระอาทิตย์ และทรงเปน็ หัวหนา้ แหง่ ไศเลนทรวงศ์ เมืองไช 2) ศลิ าจารกึ วดั หวั เวยี ง ปจั จบุ นั หลกั ศลิ า จารึกดังกล่าว เก็บแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพฯ น�ำกลับมาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช เพราะเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์ อนั ลำ้� คา่ ของชาวจงั หวดั นครศรธี รรมราชแตเ่ ดมิ เพอื่ ความ ภาคภมู ิใจในท้องถนิ่ ของตนตอ่ ไป ศิลาจารกึ วัดหวั เวียง 4. ศิลาจารกึ วัดมเหยงคณ์ ในบรเิ วณจงั หวดั นครศรีธรรมราช ได้พบศิลาจารึกรุน่ เกา่ ร่วมสมัยพทุ ธศตวรรษที่ 12 ซึ่งเป็นจารกึ รุ่น แรกทพ่ี บในบรเิ วณประเทศไทย นน่ั คอื ศลิ าจารกึ วดั มเหยงค์ จารกึ บนแผน่ สดี ำ� เปน็ จารกึ อกั ษรปลั ลวะ ภาษาสนั สกฤต อายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี 13 โดยทั่วไปมักจะเข้าใจกันว่าเน้ือหาของศิลาจารึกหลักนี้ กล่าวถึง วินัยสงฆ์ใน พระพุทธศาสนา ศลิ าจารกึ ภาคท่ี 2 เนือ้ หา ของจารึกหลกั น้ีมีอทิ ธิพลของศาสนาพราหมณอ์ ยูด่ ้วย 5. ศิลาจารกึ หบุ เขาชอ่ งคอย ศลิ าจารกึ หบุ เขาชอ่ งคอย พบในปา่ แถบหบุ เขาชอ่ งคอยซงึ่ อยหู่ า่ งจากบา้ นโคกสะทอ้ น ตำ� บลควนเกย อำ� เภอรอ่ นพิบลู ย์ จังหวดั นครศรีธรรมราช ไปทางทศิ ใตป้ ระมาณ 2 กิโลเมตร เป็นการสรา้ งข้นึ ดว้ ยกรรมวธิ งี ่าย ๆ ไมป่ ระณตี บรรจง ใชแ้ ผน่ ศลิ าธรรมชาตทิ ม่ี อี ยใู่ นบรเิ วณหบุ เขานนั้ เปน็ ทจ่ี ารกึ รปู อกั ษรขนึ้ 3 ตอน รปู อกั ษรเปน็ ภาษา สนั สกฤต อกั ษรปลั ลวะ อกั ษรทจี่ ารกึ มรี ปู แบบเหมอื นกบั อกั ษรในจารกึ พระราชทานของพระเจา้ สงิ หวรมนั แหง่ อนิ เดยี ตอนใต้ สมยั พทุ ธศตวรรษท่ี 11นับถือศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวะนิกาย มีดงั นี้ 124 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

ตอนที่ 1 ศิลาจารึกน้ีเป็นของพระศิวะ “ศรีวิทยาธิการสยาม” อธิบายว่า เป็นพระนามอันหน่ึง ของพระศิวะ ซึง่ แปลว่า ผเู้ ป็นสวามีของนางวทิ ยาเทวี (นางทรุ คา) นางวทิ ยาเทวเี ป็นร่างหน่งึ ของนางทุรคา ตอนท่ี 2 ขอความนอบนอ้ มจงมแี กท่ า่ น ผอู้ ยเู่ ปน็ เจา้ แหง่ ปา่ พระองคน์ นั้ ขอความนอบนอ้ มจงมแี กท่ า่ น ผู้เป็นเจ้าแห่งเทพท้ังมวลพระองค์น้ัน ชนทั้งหลายเคารพต่อพระศิวะ ขอให้ท่านผู้เจริญนี้เป็นท่ีพึงให้บุคคลที่อยู่ที่น้ี มีประโยชน์ท่วั กนั ตอนที่ 3 ถา้ คนดอี ยู่ในหมบู่ า้ นของชนเหลา่ ใดความสขุ และผลจักมแี ก่ชนเหล่านนั้ 125เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดับประถมศกึ ษา

6. ภาชนะดนิ เผาทรงหมอ้ สามขา สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคหินใหม่ อายุราว 4,000- 2,000 ปี แหลง่ ทพี่ บถำ�้ เขาแอง อำ� เภอนบพติ ำ� จงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ ภาชนะรูปแบบพิเศษมี 3 ขา ในจังหวดั นครศรธี รรมราช พบเศษ ภาชนะแบบหมอ้ สามขาหลายแหง่ เชน่ ทอ่ี ำ� เภอทงุ่ สง อำ� เภอพรหมครี ี อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ และอ�ำเภอนบพติ ำ� 7. กลองมโหระทึกส�ำริด กลองมโหระทกึ ส�ำริดสมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ ยุคโลหะ พบท่ีบา้ นเกียกกาย ตำ� บลท่าเรือ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกลองชนิดหน่ึงที่ท�ำจากส�ำริด บนหน้ากลองมักท�ำรูปกบประดับตกแต่ง จึงมีอีกช่ือว่า “กลองกบ” เมอ่ื ราว 3,000 ปี ผลติ ขนึ้ เพอ่ื ใชต้ ปี ระโคมในพธิ กี รรม ความเชอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ พธิ ศี พ พธิ เี ลยี้ งผี พธิ ขี อฝน ฯลฯ ใช้ตเี รยี กวญิ ญาณผตู้ ายใหม้ ารับของเซ่นไหว้ หรือใชเ้ ปน็ ท่ีตงั้ วางของเซน่ สังเวย กลองมโหระทึก กลองมโหระทกึ ส�ำริด มีประตมิ ากรรมรูปกบ 8. เคร่อื งถมเมืองนคร เครอ่ื งถมเมืองนคร “เครื่องถม”เป็นวธิ ีทำ� ภาชนะ โดยลงยาตะก่วั ทบั หรือถมรอยเปน็ ลวดลายต่าง ๆ เคร่อื งถมเมืองนคร เปน็ หตั ถกรรมชนั้ เลศิ ของคนไทย ถือก�ำเนดิ ข้นึ ในสมยั อาณาจักรตามพรลิงค์ตั้งแตโ่ บราณ ถมนคร ชอื่ นเ้ี ปน็ ทรี่ ู้จักและนับเป็นหนงึ่ ในบรรดาศลิ ปาชีพชั้นสูงที่มีมาตง้ั แตค่ รั้งอยธุ ยา มอี ยู่ 3 แบบ คอื ถมเงนิ (หรอื ถมด�ำ) ถมทอง และถมตะทอง เครือ่ งถมเมอื งนคร 126 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

1) ถมเงนิ หรอื ทน่ี ยิ มเรยี กกนั วา่ ถมดำ� ลกั ษณะเปน็ เนอื้ ถม ทถ่ี มลงไปบนพน้ื ตามรอ่ งลาย เปน็ สดี ำ� มนั ซง่ึ เนอ้ื ถมจะขบั ลวดลายใหเ้ ดน่ งดงามอยบู่ นพน้ื สเี งนิ เปน็ ถมทเ่ี กา่ แกท่ สี่ ดุ ตามความนยิ ม ถมเปน็ กรรมวธิ ใี นการผสม ของโลหะสามอย่างเข้าด้วยกัน คือ เงิน ตะก่ัว และทองแดง น�ำมาป่นจนเป็นผงละเอียดเพื่อโรยลงบนพื้นแผ่นเงิน ที่ขดู ร่อง หรอื ตอกเป็นลวดลายไวแ้ ล้ว 2) ถมทอง ก็คือถมด�ำนั่นเอง แต่แตกต่างท่ีลวดลาย คือ ลายสีเงินได้เปลี่ยนเป็นสีทอง ถมทอง มีความงามตรงทเ่ี ป็นสที อง ลวดลายกระจ่างเด่นชัด ทองทท่ี าทับกจ็ ะมคี วามคงทนนับร้อยปี 3) ถมตะทอง เปน็ วธิ กี ารระบายทองคำ� ละลายปรอทหรอื แตม้ ทองเปน็ แหง่ ๆ เฉพาะที่ โดยเอาทองคำ� แทๆ้ ใสล่ งในปรอท ทองละลายอยใู่ นนำ้� ปรอท เมอื่ เอานำ้� ปรอททมี่ ที องคำ� ละลายปนอยไู่ ปแตม้ ตามแหง่ ทตี่ อ้ งการให้ เปน็ สที องนนั้ ในขน้ั แรกปรอทจะยงั คงอยู่ เมอื่ ไลด่ ว้ ยความรอ้ นปรอทจะหนี ทองกจ็ ะตดิ แนน่ อยบู่ นตำ� แหนง่ หรอื ลาย ท่ีแต้มทองนั้น การแต้มทองหรือระบายทองในท่ีบางแห่งของถมด�ำเป็นการเน้นจุดเด่น ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีความนยิ มในถมตะทองมากกวา่ ถมทอง 127เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศกึ ษา

9. สายสร้อยสามกษตั รยิ ์ เป็นหัตถศิลป์เอกลักษณ์ของเมืองนครอีกอย่างหนึ่ง เริ่มจากช่างทอง ช่างเงิน จากเมืองไทรบุรี ที่ถูกกองทัพเจ้าพระยานครศรีธรรมราชยกไปตีและกวาดต้อนมาในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ โดยชาวไทยมุสลิม เหลา่ นร้ี วมกลมุ่ ตงั้ หลกั แหลง่ อยทู่ บ่ี รเิ วณทา่ ชา้ ง หลงั สนามหนา้ เมอื ง ซงึ่ ตอ่ มาวดั ทา่ ชา้ งอารามหลวงรา้ งลง จงึ ไดส้ รา้ ง มัสยดิ ซอลาฮุดดนี ข้ึนแทน และบริเวณตลาดแขก โดยยงั คงประกอบหตั ถศลิ ป์ เครอ่ื งทองเงนิ สืบมา 128 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

กจิ กรรมหน่วยการเรยี นรู้ที่ 11 โบราณสถานและโบราณวัตถนุ ครศรีธรรมราช จงตอบค�ำถามต่อไปนี้ทุกข้อ 1. “วดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร” ไดร้ ับพระราชทานนามจากพระมหากษตั ริย์พระองคืใด …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………...………....…… 2. จงบอกแหลง่ น้ำ� ศกั ด์ิสิทธ์ใิ นจงั หวดั นครศรีธรรมราช จ�ำนวน 3 แหง่ พรอ้ มอธบิ ายพอสังเขป …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………………....……… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………....……………… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………...………....…… …………………………………………………………………………………………………..……………………….……………...………....…… 129เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 12แหล่งทอ่ งเที่ยวในจงั หวัดนครศรีธรรมราช แหล่งท่องเท่ียวในจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นไปตาม ค�ำขวัญส่งเสริมการท่องเที่ยวประจ�ำ จงั หวดั นครศรธี รรมราช ประเภทแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว การปฏบิ ตั ติ นเปน็ นกั ทอ่ งเทยี่ วทดี่ ี การมคั คเุ ทศกท์ ดี่ ี การอนรุ กั ษ์ การทอ่ งเทย่ี ว กลยทุ ธก์ ารพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วกบั การพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน็ จงั หวดั ทมี่ แี หลง่ ประวตั ศิ าสตร์ รอ่ งรอยอารยธรรม มธี รรมชาติ ภเู ขา ปา่ ไม้ ชายทะเล ทส่ี มบรู ณแ์ ละสวยงาม จงึ เปน็ ทม่ี าของคำ� ขวญั สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วประจำ� จงั หวดั นครศรธี รรมราช เพอื่ เปน็ การ เรอื่ งท่ี 1 ค�ำ ขวญั ส่งเสริมการท่องเท่ยี วประจ�ำ จงั หวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดที่มีแหล่งประวัติศาสตร์ ร่องรอยอารยธรรม มีธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้ ชายทะเล ท่ีสมบรู ณ์และสวยงาม จึงเป็นท่ีมาของค�ำขวัญส่งเสรมิ การท่องเท่ียวประจำ� จังหวัดนครศรธี รรมราช เพื่อเป็นการประชาสมั พันธแ์ ละส่งเสรมิ การท่องเทีย่ วของจงั หวดั นครศรธี รรมราช ดงั น้ี เมืองประวตั ศิ าสตร ์ พระธาตทุ องค�ำ ชน่ื ฉ่�ำธรรมชาต ิ แร่ธาตุอดุ ม เครื่องถม สามกษัตรยิ ์ มากวัดมาศลิ ป์ ครบสิน้ กุ้งปู เร่ืองที่ 2 ประเภทแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั นครศรีธรรมราช แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วท่ี มคี วามลำ�้ คา่ ทง้ั ทะเล ภเู ขา นำ้� ตก ความงดงามทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม และวถิ ชี าวบา้ น จงึ เปน็ ท่มี าของประเภทการท่องเทย่ี วในจงั หวัดนครศรีธรรมราชดงั นี้ 1. แหล่งทอ่ งเทย่ี วประเภทภูเขาและน้ำ� ตก 1) ยอดเขารามโรม เข า ร า ม โร ม เ ป ็ น ภู เข า ที่ ตั้ ง อ ยู ่ ใ น อ�ำเภอร่อนพิบลู ย์ เปน็ ยอดเขาทสี่ ูงจากระดบั น้าํ ทะเล ประมาณ 986 เมตร มเี ทอื กเขาทส่ี ลบั ซบั ซอ้ น ทำ� ใหม้ วี วิ ทวิ ทศั นท์ ส่ี วยงาม สามารถมองเหน็ ได้ 360 องศา มสี ภาพเปน็ ปา่ ดงดบิ ท่สี มบูรณ์ มาก มีเฟิร์นล้านปี มหาสะด�ำและดอกไม้นานาพันธุ์ สัตว์ป่า นานาชนิดเต็มไปทว่ั พนื้ ท่ี อณุ หภูมิอยู่ระหว่าง 19 - 26 องศา เซลเซียส ตลอดทั้งปี อากาศหนาวที่สดุ อย่ใู นชว่ ง เดือนธนั วาคม ถึงเดือนกุมภาพนั ธ์ 130 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรธี รรมราชศึกษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

2) ทะเลหมอกเขาเหลยี้ ม ทะเลหมอกเขาเหลี้ยม ต้ังอยู่ที่ ต�ำบลกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ เป็นสถานท่ีท่องเท่ียว ที่เกิด จากกลุ่มการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ทะเล หมอกเขาเหลี้ยม เป็นกลุ่มเยาวชนที่มีใจรักส�ำนึกรักบ้านเกิด จึงได้มีการ รวมกลมุ่ เพอ่ื อนรุ กั ษห์ วงแหนชมุ ชนของตนเอง และตอ้ งการ ใหค้ นอนื่ ไดเ้ หน็ ถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์ ของตำ� บลกรงุ ชงิ โดยรว่ ม กับสมาชิกจัดกิจกรรมน�ำนักท่องเที่ยวชมทะเลหมอก ในยามเช้าบริการขนม จิบกาแฟเคล้าสายหมอกอันสดช่ืน ยามเช้า ท่ามกลางอากาศ ทเ่ี ยน็ สบาย ทะเลหมอกเขาเหลี้ยม 3) น�ำ้ ตกพรหมโลก น้ําตกพรหมโลก ตง้ั อย่ใู นท้องทหี่ ม่ทู ่ี 5 ตำ� บลพรหมโลก อ�ำเภอพรหมครี ี มีพน้ื ที่สูงชนั มีตน้ ไม้ และพรรณไมข้ นาดใหญข่ นึ้ อยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก ชาวบา้ นสมยั กอ่ นเชอ่ื กนั วา่ สถานท่ี บรเิ วณนเี้ ปน็ สถานทม่ี สี งิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ มาสงิ สถิต โดยเฉพาะเทพชั้นพรหมทง้ั โลกได้มาสิงสถิตบน ช้ันนํ้าตกจึงได้ต้ังช่ือ “น้�ำตกพรหมโลก” มาจนถึงทุกวันนี้ ท้ังนี้ น้�ำตกพรหมโลกถือเป็นน้�ำตกท่ีมีความส�ำคัญ ทางประวัติศาสตร์ท่ีโดดเด่นของจังหวัดนครศรีธรรมราช กลา่ วคือ เม่อื วนั ท่ี 15 มีนาคม พ.ศ. 2502 พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้เสด็จ ประพาสและได้จารึกพระปรมาภไิ ธยย่อ ภปร และ สก ท่หี นา้ ผาช้ันนํ้าตก ชั้นที่ 1 หนานบ่อน้ําวน น้�ำตกพรหมโลก เป็นนำ้� ตกขนาดใหญ่ที่สวยงาม มชี นั้ น้ําตกประมาณ 50 ชัน้ เปิดบรกิ ารใหเ้ ข้าชมไดเ้ พียง 4 ช้นั คอื หนานจงั บ่อน้ำ� วน หนานจงั ไม้ปกั หนานจงั หัวบัว และหนานจังอ้ายแล 4) น้ำ� ตกกรุงชิง น้ําตกกรุงชิง ต้ังอยู่ในท้องท่ีต�ำบลกรุงชิง อ�ำเภอนบพิต�ำ “กรุงชิง” เป็นช่ือสถานท่ีที่เช่ือกันว่า เคยเปน็ ชมุ ชนมาแตส่ มยั โบราณ เปน็ พน้ื ทที่ มี่ ปี ระวตั กิ ารตอ่ สอู้ นั เกดิ จากความขดั แยง้ ในดา้ นความคดิ ในการปกครอง พ้ืนที่ ผืนป่ากรุงชิง ถูกครอบครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ แห่งประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2517 ต่อมาฝ่ายรัฐบาล สามารถยึดพื้นที่ได้ ท�ำให้พรรคคอมมิวนิสต์ท่ีกรุงชิงแตก ในปี พ.ศ. 2524 ค�ำว่า “ชิง” เป็นช่ือของต้นชิง ซึ่งเป็น พนั ธุไ์ ม้ ในตระกลู ปาล์มชนิดหน่ึงทม่ี มี ากในเขตนป้ี า่ กรุงชิง สภาพพน้ื ทขี่ อง กรงุ ชงิ เปน็ พนื้ ทรี่ าบสงู และมภี เู ขาลอ้ มรอบ ซึ่งชาวบ้านเรียกกันว่า “อ่าวกรุงชิง” น�้ำตกกรุงชิงเป็นนํ้าตกขนาดใหญ่ เกิดจากคลองกรุงชิง ซ่ึงไหลตัดผ่าน หุบผาหินแกรนิต ลดระดับตามความลาดเอียงของภูเขาก่อเกิดเป็นชั้นน�้ำตกอันงดงาม น้�ำตกกรุงชิงเปิดให้เที่ยวชม จ�ำนวน 7 ชั้น คือ หนานมัดแพ หนานฝนแสนห่า ซึ่งเป็นชั้นที่งดงามที่สุด ซ่ึงต้องเดินไปเป็นระยะทางประมาณ 131เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดับประถมศึกษา

4 กิโลเมตร หนานปลิว หนานจน หนานโจน หนานต้นตอ และหนานจงั เรอื บนิ นอกจากการเทยี่ วชมนา้ํ ตกและศกึ ษา ประวัติศาสตร์แล้ว น�้ำตกกรุงชิงยังมีแหล่งธรรมชาติและ ความหลากหลายทางชีวภาพที่สวยงาม มีเส้นทางเดินป่า ศกึ ษาธรรมชาติ เข้าคา่ ยอนุรักษ์ธรรมชาติ ศึกษาพรรณไม้ และชมนก อีกด้วย ทัง้ น้ี น�ำ้ ตกกรงุ ชิง มชี ัน้ นำ�้ ตกท่สี วยงาม โดยเฉพาะหนานฝนแสนห่า พิมพ์ลงในธนบัตรฉบับละ 1,000 บาท ฉบับวันที่ 30 มิถุนายน 2535 เปน็ ช้ันนํา้ ตก ทส่ี วยทส่ี ดุ ของนำ้� ตกกรงุ ชิง 5) น้ำ� ตกกะโรม น้าํ ตกกะโรม ตั้งอยหู่ ม่ทู ่ี 4 ตำ� บลเขาแก้ว อำ� เภอลานสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช อยู่ภายใน ทีท่ ำ� การอทุ ยานแห่งชาติเขาหลวง ก่อตงั้ เมื่อ พ.ศ. 2517 ชื่อ “น้�ำตกกะโรม” นี้ คาดวา่ มาจากช่ือของภูเขาท่ชี าวบา้ น ในท้องที่เรียก “เขาโหรม” และล�ำคลองที่ไหลมาจาก น�้ำตกกะโรม ก็เรยี กว่า “คลองโหรม” ต่อมาเรียกเพ้ียนเป็น “กะโรม” และ ใช้ชื่อว่า “นํ้าตก กะโรม” มาจนถึงทุกวันนี้ เป็นแหล่ง ท่องเท่ียวทางธรรมชาติที่สวยงามอีกแห่งหน่ึงของอุทยาน แห่งชาติเขาหลวง มีชนั้ นาํ้ ตกท้ังหมด 19 ชน้ั เปดิ บริการให้ ท่องเท่ียวชมความหลากหลายของธรรมชาติเพียง 4 ช้ัน ได้แก่ ช้ัน 4 หนานน้าํ ราง ชัน้ 5 หนานผึง้ ช้ัน 6 หนานเตย และชั้น 7 หนานดาดฟ้า ซ่ึงเป็นชั้นที่สวยงามที่สุดแลเห็นสายนํ้าพรั่งพรูลงจากหน้าผาสูงและลาดชัน 45 องศา ลดหลั่นลงมาตามโขดหินกว้างจนถึงแอ่งน้�ำใหญ่เบ้ืองล่าง สายน้ําจะไหลแยกเป็น 2 สาย ช่วงหน้าฝนสายน้ํา จะไหลหลากแผ่เต็มหน้าผานา่ ชมมาก 2. แหล่งท่องเท่ยี วประเภทสถานท่ี จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ ในแต่ละอ�ำเภอจะมีแหล่งท่องเที่ยวสถานท่ีส�ำคัญ ทางด้านประวตั ศิ าสตร์ ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี มคี วามสมบรู ณ์ของธรรมชาติ ภูเขา ปา่ ไม้ ชายทะเล และวิถชี วี ิต ของผู้คนทสี่ บื ทอดกันมา ที่นา่ สนใจศกึ ษาและเรียนรู้แก่ชาวนครศรธี รรมราชและบุคคลจังหวดั อนื่ ๆ ดังนี้ 1) วดั พระมหาธาตุวรมหาวิหาร วัดพระมหาธาตวุ รมหาวิหาร ตง้ั อย่ตู �ำบลในเมอื ง อ�ำเภอเมืองนครศรธี รรมราช เป็นปชู นียสถาน ที่ส�ำคัญท่ีสุดแห่งหนึ่ง ที่เปรียบดังศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราชและชาวใต้ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ ารนน้ั เปน็ พระอารามหลวงชนั้ เอก ชนั้ วรมหาวหิ าร เดมิ ชอ่ื วดั พระบรมธาตุ เปน็ ปชู นยี สถาน ที่ส�ำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของภาคใต้และประเทศไทยท่ีมีหัวใจส�ำคัญ คือ องค์พระบรมธาตุเจดีย์ท่ีมีส่วนยอดเจดีย์ เป็นทองค�ำซึ่งพระบรมธาตุองค์นี้ สร้างขึ้นมาเพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ (พระทันตธาตุหรือพระเช้ียวแก้ว เบือ้ งซา้ ย) อันเป็นทสี่ ักการะบูชาของชาวเมอื งนครศรธี รรมราช ตามต�ำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช กล่าววา่ เจ้าชายธนกุมารและพระนางเหมชาลา เป็นผนู้ ำ� เสดจ็ พระบรมธาตมุ าประดิษฐาน ณ หาดทรายแก้วและสรา้ งเจดีย์ 132 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศกึ ษา

องค์เล็ก ๆ เป็นท่ีหมายไว้ต่อมาในปีมหาศักราช 1098 (พ.ศ.1719) พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ทรงสร้างเมือง นครศรีธรรมราชขึน้ พร้อมกอ่ สรา้ งเจดยี ์องค์ใหม่ เป็นเจดยี ์ทรงลงกาสูง 55.78 เมตร (กรมศลิ ปากรบูรณะปลยี อด ทองคำ� เมื่อ พ.ศ. 2538) จากฐานบวั ควํ่าบวั หงายถึงปลยี อดสูง 6.80 เมตร ใช้ทองคำ� เนือ้ สบิ หุ้มโดยรอบ ภายในวดั พระมหาธาตๆุ มีวิหารทม่ี คี วามสำ� คัญประดิษฐานอยู่หลายหลัง ทั้งนี้ พระบรมธาตุเจดีย์ องคพ์ ระมหาธาตุประกอบ ดว้ ยทองรปู ประพรรณ และของมคี ่ามากมาย ซึง่ สิง่ มีค่าเหลา่ น้ีพทุ ธศาสนิกชนน�ำมาถวายแดอ่ งค์พระสัมมาสมั พุทธ เจา้ เพื่อใหต้ นได้พบกับนิพพาน มีพธิ ปี ฏิบตั อิ ย่างหนง่ึ ต่อองคพ์ ระธาตุ คือ ในวนั มาฆบูชาแห่ผา้ ขึ้นธาตุ เชือ่ กันวา่ หาก ใครได้นำ� ผ้าขึน้ ธาตุ จะขอพรไดเ้ ปน็ จรงิ ดังหวัง 2) ศาลหลักเมอื งนครศรีธรรมราช ศาลหลกั เมอื งนครศรีธรรมราช ตง้ั อยูต่ ำ� บลคลงั อำ� เภอเมอื งนครศรีธรรมราช เป็นทีป่ ระดิษฐาน หลกั เมอื งของจงั หวดั นครศรธี รรมราช สรา้ งขน้ึ ในทดี่ นิ ราชพสั ดุ บรเิ วณทศิ เหนอื ของสนามหนา้ เมอื ง มเี นอ้ื ทป่ี ระมาณ 2 ไร่ อาคารหลกั ประกอบไปดว้ ยอาคาร 5 หลงั หลงั กลาง เป็นท่ีประดิษฐานหลักเมือง ลักษณะของการออกแบบ มีศิลปะคล้ายศิลปะศรีวิชัย วางศิลาฤกษ์ เม่ือวันที่ 4 สิงหาคม 2532 ส่วนอาคารเล็ก 4 หลัง ถือเป็นบริวาร ประจ�ำ ทิศท้ัง 4 เรียกว่า ศาลจตุโลกเทพ ประกอบด้วย พระเส้ือเมือง พระทรงเมือง พระพรหมเมือง และ พระบนั ดาลเมือง องค์เสาหลกั เมืองทำ� ด้วยไมต้ ะเคียนทอง ที่ได้มาจากภูเขายอดเหลืองอันเป็นภูเขาลูกหน่ึงในทิวเขา นครศรีธรรมราช สว่ นบนของเสาเป็นรปู จตคุ ามรามเทพ (ส่พี ักตร)์ โดยองคเ์ สาหลกั เมืองทำ� ด้วยไม้ตะเคียนทองท่ีได้ มาจากภูเขายอดเหลือง อันเป็นภูเขาลูกหน่ึงในทิวเขานครศรีธรรมราช ในท้องท่ีต�ำบลกระหรอ อ�ำเภอนบพิต�ำ จงั หวดั นครศรธี รรมราช สว่ นบนของเสาเปน็ รปู จตคุ ามรามเทพ (สพ่ี กั ตร)์ หรอื เทวดารกั ษาเมอื ง เหนอื สดุ เปน็ เปลวเพลง อยบู่ นยอดพระเกตุ คอื ยอดชยั หลกั เมอื ง รปู แบบการแกะสลกั จนิ ตนาการจากความเชอื่ ในพทุ ธศาสนาฝา่ ยมหายาน ซึ่งเคยมอี ิทธพิ ลทางศิลปกรรม ในภาคใตแ้ ละนครศรธี รรมราช 133เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

3) ก�ำแพงเมอื งเกา่ นครศรีธรรมราช ก�ำแพงเมืองเก่านครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ริมคลองหน้าเมือง ถนนมุมป้อม อ�ำเภอเมือง จงั หวัดนครศรธี รรมราช จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ของต�ำนานเมอื งนครศรธี รรมราช ก�ำแพงเมอื งน้ันสรา้ งขนึ้ ตง้ั แตส่ มัยพระเจา้ ศรีธรรมโศกราช กษตั ริยผ์ ้ปู กครองเมืองนครในอดีต โดยพระองคไ์ ดส้ รา้ งเมืองข้นึ ทห่ี าดทรายแกว้ จากน้ันพระองค์ก็ได้สร้างก�ำแพงเมือง ซ่ึงเป็นก�ำแพงดินที่ล้อมรอบด้วยคูเน่ืองจากก�ำแพงเมืองท่ีพระเจ้า ศรีธรรมโศกราช สร้างขึ้นน้ันเป็นก�ำแพงดิน จึงได้มีการบูรณะก�ำแพงเมืองในส่วนต่าง ๆ หลายคร้ัง แต่ยังคงรักษา แนวก�ำแพงเดิมเอาไว้ สมัยท่ีมีการบูรณะก�ำแพงเมืองคือ ในสมัยสมเด็จพระราเมศวรแห่งกรุงศรีอยุธยา ปพี ุทธศกั ราช 1950 กำ� แพงเมืองเก่านครศรธี รรมราช (ภาพปัจจุบนั ) ภาพอดีตเมอื งคอนกำ� แพงเมอื คอน รัชกาลท่ี 5 ทรงถา่ ยเม่ือ 3 ก.ค. 2448 ภาพจากคณุ สารัท(นกิ ) ชะลอสันติสกลุ สำ� นกั ศลิ ปากร ท่ี 14 เมืองคอน ขอ้ มลู จากหนงั สอื เร่ืองจดั ราชการเมอื งนครศรีธรรมราช ลว.7 มค.รศ.115 ของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย มอบโดยอาจารยส์ มชาย เปลี่ยวจิตร วทิ ยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรธี รรมราช 134 เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศึกษา

4) หอพระอิศวร หอพระอศิ วร ตง้ั อยูต่ ำ� บลคลัง อำ� เภอเมอื งนครศรธี รรมราช สนั นิษฐาน วา่ สร้างในสมยั อยธุ ยา แตข่ องเดมิ ชำ� รดุ ไปหมดแลว้ สว่ นอาคารทปี่ รากฏอยใู่ นวนั นเี้ ปน็ อาคารทก่ี รมศลิ ปากร บรู ณะขน้ึ ใหม่ เมอื่ พ.ศ. 2509 ทางด้านเหนือของหอพระอิศวรเป็นวัดเสมาเมือง ทางด้านใต้เป็นเสาชิงช้า ซ่ึงสร้างข้ึนใหม่แทนของเก่า ซ่ึ ง ใ ช ้ ใ น พิ ธี ยั ม ป ว า ย แ ล ะ ต รี ป ว า ย ข อ ง พ ร า ห ม ณ ์ เมืองนครศรีธรรมราช โดยจ�ำลองแบบมาจากเสาชิงช้า ในกรุงเทพฯ แต่มีขนาดเล็กกว่า เดิมหอพระอิศวรเป็นท่ี ประดิษฐานเทวรูปพระอิศวรหลายองค์ เป็นปางหรือ ภาคตา่ ง ๆ กนั ซง่ึ เปน็ เทพสงู สดุ ตามความเชอื่ ของพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย แต่เดิมใกล้ ๆ กับเสาชิงช้า มีโบสถ์พราหมณ์อยู่หลังหนึ่ง แต่ปัจจุบันผุพังลงจนไม่เหลือซากแล้ว ภายในบริเวณโบสถ์เป็นแหล่งท่ีพบช้ินส่วนเทวรูปท่ีหล่อด้วยส�ำริดอายุระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 18 - 25 หลายองค์ ด้วยกนั อาทิ พระพิฆเนศวร พระศวิ ะ นาฏราช พระอมุ า และรูปหงส์ นับวา่ เก่าแกม่ ีค่าย่งิ นัก ซึ่งตอ่ มาไดย้ า้ ยมาไว้ ในหอพระอิศวร 5) หอพระนารายณ์ หอพระนารายณ์ ตงั้ อยู่ ถนนราชดำ� เนนิ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ตรงข้าม หอพระอิศวรเป็นโบราณสถานในศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไวษณพนิกาย ซ่ึงนับถือพระนารายณ์เป็นเทพสูงสุด มีเทวรูป พระนารายณ์ ประดิษฐานอยู่อาคาร หอพระนารายณ์เดิมไม่สามารถสืบทราบรูปแบบได้แล้ว สงิ่ ทพี่ บภายในหอพระนารายณ์ ไดแ้ ก่ เทวรปู พระนารายณ์ หอพระนารายณ์ สลกั จากหนิ ทรายสเี ทาทรงหมวกรปู กระบอกปลายสอบ และพระหตั ถข์ วาทรงสงั ข์ มอี ายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี 10 - 11 นับเป็นเทวรูปที่เก่าแก่ท่ีสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันได้เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช 6) วังโบราณ ลานสกา อ�ำเภอลานสกา จากต�ำนานพระเจ้าศรีธรรมโศกราชของ จังหวัดนครศรีธรรมราช ของวัดมหาธาตุวรมหาวิหาร ว่าประมาณปี 1700 - 1800 เมืองนครศรีธรรมราช มีกษัตริย์สามพ่ีน้อง พระเชษฐา ทรงพระนามว่า “พระเจ้า ศรีธรรมโศกราช” องคร์ องชอื่ “จนั ทรภาณุ” องคส์ ดุ ทา้ ย นามว่า “พงษาสุระ” ทุกพระองค์ครองราชย์จะทรง พระนามวา่ พระเจา้ ศรธี รรมโศกราช ทง้ั หมดในชว่ งนไ้ี ดส้ รา้ ง ความเจริญให้กับอาณาจักรเป็นอย่างมากท้ังโดยได้ ครอบครองเมืองท้ังหลายตลอดแหลมมลายู เรียกว่าเมือง สิบสองนักษัตร ถือรูปดอกบัว เป็นสัญลักษณ์ประจำ� เมือง นอกจากน้ีพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ได้บูรณะพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ซ่ึงแบบเดิมเป็นแบบศรีวิชัย ให้เป็น 135เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรธี รรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

แบบลงั กา โดยกอ่ ครอบเจดยี ์เดมิ เมอื่ สิ้นสมยั กษตั ริย์ปกครอง ต่อมาในสมยั พอ่ ขนุ รามค�ำแหงไดม้ ีการสรา้ งระเบียง รอบองค์พระบรมธาตุ ท�ำก�ำแพงรอบทั้งสี่ด้าน สร้างวิหารติดกับองค์เจดีย์ใหญ่ และสร้างพระพุทธรูปข้ึนแทน องค์พระเจา้ ศรีธรรมโศกราชเพี่อประดษิ ฐานไวใ้ นวิหารสามจอม และเรยี กกนั ตอ่ มาว่า วหิ ารพระเจา้ ศรีธรรมโศกราช ในสมัยพระเจา้ ศรธี รรมโศกราชได้เกดิ โรคห่าระบาด หลายคร้ังพระองคต์ อ้ งอพยพประชากรหนโี รคภยั ออกจากเมือง หลายครง้ั ตามหลกั ฐานได้ปรากฏว่าหนีมาท่ีลานสกา และสถานท่ปี ระทับกค็ ือ วังโบราณแห่งนี้ 7) วัดธาตุนอ้ ยอ�ำเภอชา้ งกลาง วัดธาตุน้อย หรือ วัดพระธาตุน้อย ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลหลักช้าง อ�ำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งขึ้นโดยความประสงค์ของพ่อท่านคล้าย (พระครูพิศิษฐ์อรรถการ) พระเกจิอาจารย์ ท่ีชาวใต้เส่ือมใสศรัทธาอย่างสูงยิ่งรูปหน่ึง ซึ่งศิษยานุศิษย์ และประชาชนท่ีเคารพนับถือ ศรัทธา พ่อท่านคล้ายได้ เช่ือถือถึงความศกั ด์ิสทิ ธข์ิ องวาจา พูดอย่างไรเป็นอย่างนั้น ท่านมักจะให้พรกับทุกคน ขอให้เป็นสุข เป็นสุข พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธ์ิ ได้ช่ือว่าเป็นเทวดาเมืองคอน เทพเจ้าแห่งแดนใต้ ชาวเมืองคอนเสื่อมใสศรัทธา เป็นอย่างยิ่ง โดยประดิษฐานพระเจดีย์ พระสารีริกธาตุ และสรีระสังขาร พ่อท่านคล้ายในโลงแก้ว ประดิษฐาน อยใู่ นองคพ์ ระเจดยี ์ ณ สถานทนี่ ้ี จงึ เปน็ เจดยี อ์ นสุ รณส์ ถาน พอ่ ท่านคลา้ ย 8) พระต�ำหนักประทับแรมปากพนัง พระต�ำหนกั ประทบั แรมเฉลิมพระเกียรติ อำ� เภอปากพนงั ตั้งอยทู่ ี่ ต�ำบลหลู อ่ ง อำ� เภอปากพนงั จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระต�ำหนักแห่งแรกและแห่งเดียวของประเทศ ที่ก่อสร้างข้ึนจากความร่วมแรงร่วมใจ ของประชาชนชาวไทย เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เป็น พระตำ� หนกั ทรงงานถวายแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในคราวเสด็จและทรงงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช ภายในพระต�ำหนักประกอบไปด้วย กลุ่มอาคาร พระตำ� หนกั ฯ มลี กั ษณะสถาปตั ยกรรมภาคใต้ ตงั้ อยใู่ นพนื้ ที่ โครงการพัฒนาพื้นท่ี ลุ่มน้ําปากพนังอันเนื่องมาจาก พระราชดำ� ริในอดตี อำ� เภอปากพนงั จงั หวดั นครศรธี รรมราช พระต�ำหนักประทับแรมปากพนัง 136 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา นครศรธี รรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

9) เกาะกระ เกาะกระ ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอปากพนัง เป็นหมู่เกาะเดียวในพ้ืนท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราชที่โดดเด่น เป็นเอกลกั ษณ์ ในฝังทะเลอ่าวไทย เป็นแหล่งทอ่ งเท่ียวกลางทะเลทย่ี ังมีความอุดมสมบรูณม์ ากท่ีสดุ ในทะเลอ่าวไทย ถอื วา่ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทยี่ งั บรสิ ทุ ธม์ิ าก มรี ะบบนเิ วศทส่ี มบรู ณ์ มหี าดทรายยาวประมาณ 150 เมตร มแี นวปะการงั ครอบคลุมพืน้ ที่กว่า 400 ไร่ และยังคงสภาพสมบรู ณท์ ส่ี ุดของอา่ วไทย โดยพบปะการงั แปรงลา้ งขวด หลายชนิด 10) วัดเขาขุนพนม ตามประวตั เิ ชอื่ กนั วา่ เขาขนุ พนม เคยเปน็ ทปี่ ระทบั ของสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ภายหลงั จากส้ินรัชกาลของพระองค์ มีผู้สันนิษฐานว่าพระเจ้าตากสินทรงมิได้ถูกประหารชีวิตอย่างท่ีพงศาวดารกล่าวอ้าง แตไ่ ดท้ รงสบั เปลย่ี นพระองคก์ บั พระญาตหิ รอื ทหารคนสนทิ แลว้ เสดจ็ มายงั นครศรธี รรมราช มกี ารเตรยี มการโดยมกี าร สร้างป้อมปราการ ทำ� เชิงเทนิ ปอ้ มวงกลม ตามชะง่อนผา เพื่อให้พระเจ้าตากสินได้ประทับ เม่ือทรงผนวช เจรญิ วปิ สั สนากรรมฐาน ณ วดั เขาขนุ พนม จนเสดจ็ สวรรคต แต่บางกระแสกล่าวว่าเขาขุนพนม สร้างโดยพระยาตรัง ภมู าภบิ าลเจา้ เมอื งนครศรธี รรมราช สำ� หรบั พกั ตากอากาศ ท่เี ขาขุนพนม จึงมีการสรา้ งป้อมปราการคอยป้องกันอย่าง แน่นหนา ความสำ� คัญตอ่ ชุมชนชาวเขาขุนพนมมีความเช่ือ เร่ืองพระเจ้าตากสินมหาราช เสด็จหนีมาประทับท่ี เขาขุนพนม จึงได้ร่วมมือกันสร้างพระต�ำหนักสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราช บริเวณชะง่อนหินเชิงเขา ซ่ึงเป็นบริเวณ ท่ีเชื่อว่าพระองค์ประทับขณะผนวช อยู่ ประชาชนที่ยังระลึกถึงวีรกรรมและความกล้าหาญ ในการกู้เอกราชชาติไทยในสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี 2 ได้ร่วมกันสร้างพระบรมสาทิสลักษณ์ ทั้งในเพศบรรพชิต และชุดฉลองพระองค์นักรบ แล้วอัญเชิญ มาไว้ในศาล ใหผ้ คู้ นทศี่ รัทธาไดม้ ากราบไหว้ 137เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

11) วัดเจดยี ห์ รอื วดั ไอ้ไข่อ�ำเภอสชิ ล วดั เจดยี ห์ รอื วดั ไอไ้ ข่ ตงั้ อยทู่ ่ี หมู่ 7 ตำ� บลฉลอง อำ� เภอสชิ ล จงั หวดั นครศรธี รรมราช เคยเปน็ วดั รา้ ง ท่ีเช่ือกันว่าสร้างมาเป็นเวลานับ 1000 ปี มีเพียงเจดีย์โบราณเก่ารกร้างอยู่ตรงบริเวณที่ก�ำลังสร้างโบสถ์ในปัจจุบัน จนเม่ือประมาณ พ.ศ. 2500 มีการบูรณะวัดเจดีย์ขึ้นมาใหม่ มีพระเข้ามาอยู่ประจ�ำ เป็นท่ีปฏิบัติศาสนกิจ ของชาวบา้ นใกลเ้ คยี งและเป็นทีป่ ระดิษฐานของ “พ่อทา่ น” พระพุทธรปู เกา่ แก่ท่อี ยมู่ าตั้งแตย่ งั เปน็ วดั ร้าง วัดเจดียห์ รือวดั ไอไ้ ข่ ไอ้ไข่วัดเจดีย์ หรือ ตาไข่วัดเจดีย์ คือ รูปไม้แกะสลักของเด็กชายอายุประมาณ 9 - 10 ขวบ ตัง้ อยใู่ นศาลาในวดั เจดยี ์ เช่ือกันว่าเป็นวิญญาณศักด์สิ ิทธิ์ทีส่ ถติ อยู่ ณ วัดแหง่ นี้ เป็นทเี่ คารพสักการะของชาวบา้ น จากศรัทธาที่เช่ือกันว่า “ขอไข่ไหว้รับ” โดยเฉพาะโชคลาภ และการค้าขาย ในวัดเจดีย์จึงเต็มไปด้วยสิ่งของที่ ผู้เส่อื มใสศรทั ธาเอามาแกบ้ น เช่น รปู ไก่ชน ชดุ ทหาร หนงั สตก๊ิ ของเล่นต่าง ๆ เปน็ ตน้ 138 เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

เร่ืองที่ 3 แหลง่ ท่องเท่ยี วประเภทชายทะเล ชายหาด แหล่งท่องเท่ียวกลุ่มชายทะเล ชายหาดเป็นแหล่งท่องเท่ียวของอ�ำเภอท่ีติดกับชายทะเลและชายหาด ในแตล่ ะอำ� เภอดังตอ่ ไปนี้ 1. เขาพลายด�ำ เขาพลายด�ำ แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์แห่งทะเลใต้ เป็นเขาที่มีลักษณะเป็นภูเขาท่ีติดทะเล ตรงแนวรอยต่อเขตอ�ำเภอขนอมและอ�ำเภอสิชล อยู่ห่างจากตัวเมือง นครศรีธรรมราช ประมาณ 86 กิโลเมตร เปน็ ทะเลทมี่ ธี รรมชาตทิ แ่ี สนสงบและมจี ดุ ชมววิ เขาพลายดำ� ทสี่ ามารถเหน็ อา่ วทอ้ งยางไดใ้ นมมุ กวา้ ง และยงั เปน็ แหลง่ อนุรกั ษถ์ ่นิ ท่ีอยู่อาศยั ของสตั ว์ ตา่ ง ๆ อาทิ นกและผีเส้ือ เขาพลายด�ำ 2. อทุ ยานแห่งชาตหิ าดขนอม - หมเู่ กาะทะเลใต้ อุทยานแห่งชาติหาดขนอม- หมู่เกาะทะเลใต้ เป็นชายหาดท่ีมีช่ือเสียงของนครศรีธรรมราช โดดเด่นด้วยหาดทรายที่ยน่ื ยาวออกไปในทะเลคกู่ บั ทิวสน มหี าดทรายยาวกบั ทวิ มะพรา้ ว และมชี าดหาดทมี่ ชี ่อื เสียง ของนครศรีธรรมราช มีอ่าวต่าง ๆ หลายอา่ ว เชน่ อา่ วท้องหยี อ่าวทอ้ งยาง อ่าวคอเขา อ่าวหน้าด่าน อ่าวแขวงเภา อ่าวท้องชิง อ่าวในเพลา ซึ่งมีชายหาดท่ีมีทรายขาวสะอาด นํ้าทะเลใส เหมาะส�ำหรับการเล่นน้ําทะเล นอกจากน้ี ยังมีส่ิงที่โดดเด่นคือ โลมาสีชมพูท่ีพบได้ง่าย ณ หาดขนอม รวมถึงเกาะนุ้ยนอก เกาะแห่งต�ำนานหลวงปูทวด เหยียบนาํ้ ทะเลจืด หาดในเพลา 139เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา นครศรีธรรมราชศกึ ษา รหัสรายวชิ า สค13000152 ระดับประถมศึกษา

3. แหลมตะลุมพุก “แหลมตะลมุ พกุ ” คำ� วา่ ตะลมุ พกุ เปน็ นามของปลาชนดิ หนง่ึ ทเี่ คยมชี กุ ชมุ ในบรเิ วณปลายแหลมแหง่ นชี้ าวบา้ นเลยเรยี กแหลมนวี้ า่ “แหลมตะลมุ พกุ ” จากการมปี ลาตะลมุ พกุ ชกุ ชมุ มาจนถงึ ทกุ วนั น้ี ปจั จบุ นั ปลาตะลมุ พกุ ในบริเวณปลายแหลมไม่มีแล้ว “แหลมตะลุมพุก” มีประชาชนมาตั้งถิ่นฐานในราว รัชกาลท่ี 2,3 สมัย รัตนโกสินทร์ ผู้คนอพยพเข้ามาอยู่พวกแรกเป็นชาวไทย อสิ ลาม เขา้ มา ทำ� การประมง ในพน้ื ทต่ี ำ� บลแหลมตะลมุ พกุ ไดป้ ระสมทางวฒั นธรรมประเพณที เ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ ชาวบา้ น นับถือส่ิงศักด์ิสิทธ์ิเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ทั้งทางศาสนา อิสลาม คนจีน ไทยพุทธ ต�ำบลแห่งนี้ ในอดีตมีความ อุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก ประชาชน อาศัยอยู่อย่าง หนาแน่น ทัง้ ไทย จีน อสิ ลาม มีโรงเรยี นจนี และทสี่ �ำคญั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัฐกาลท่ี 5 เคยเสด็จแหลมตะลุมพุก เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2432 จากบนั ทกึ จดหมายเหตเุ สดจ็ ประพาสแหลมมลายู ร.ศ. 108 โดยได้บรรยายสภาพความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ ของประชาชนว่า “ที่แหลมนี้เป็นหาดแคบนิดเดียว แต่ยงั ยาว วงเป็นอ่าวเขา้ ไปไกล มเี รอื นประมาณ 70 หลัง ปลูกมะพรา้ วมาก มขี องทีเ่ ป็นสนิ คา้ ขายออก คือ ปลาเค้า ปลากระบอก เคย แตง เปน็ จำ� นวนมาก เวลาบ่าย 4 โมง เสด็จกลบั มาลงเรือพระทน่ี ่ังแลว้ ออกเรือ พระทน่ี ่งั ตอ่ มา” 4. แหล่งทอ่ งเท่ยี วประเภทความเช่อื คตชิ นวิทยา จังหวัดนครศรธี รรมราช เปน็ จังหวดั ทเ่ี ต็มไปด้วยประวัติศาสตร์ มีร่องรอยแหลง่ อารยธรรมมากมาย จึงมีแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางดา้ นกล่มุ ความเชอ่ื และคติชนวิทยา ดงั ต่อไปนี้ 1) ศาลหลวงพอ่ ไทร อ�ำเภอเชียรใหญ่ คงไมม่ ใี ครในจงั หวดั นครศรธี รรมราชทจี่ ะไมร่ จู้ กั ศาลหลวงตน้ ไทรโดยเฉพาะคนในอำ� เภอเชยี รใหญ่ และ อ�ำเภอหัวไทร ซ่ึงเป็นพื้นท่ีโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีลุ่มนํ้าปากพนังอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ท่ีต่างร�่ำลือ ถงึ กติ ติศัพท์ของความศักด์สิ ทิ ธิ์ขณะก่อสรา้ งโครงการเมอ่ื หลายปีก่อน 140 เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวชิ า สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา

ชาวบา้ นทน่ี น่ั ตา่ งเชอ่ื วา่ สาเหตขุ องเรอ่ื งราวประหลาดดงั กลา่ วเกดิ จาก “อาถรรพณ”์ ของตน้ ไทร โดยบริเวณใตต้ ้นไทรยงั ขุดพบซากกระดกู มนุษย์และสตั ว์ใหญต่ ่าง ๆ รวมทงั้ เปลือกหอยทะเล เม่อื ชาวบา้ นทราบข่าว ก็พากันไปกราบไหว้ต้นไทรกันเป็นจ�ำนวนมาก ศาลหลวงต้นไทร เป็นที่เคารพสักการะของชาวลุ่มน้ําปากพนัง และเป็นอนุสรณ์แห่ง พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ศาลหลวงต้นไทรยังถือเป็นสถานที่ ยอดนิยมในพืน้ ท่ี และเป็นสญั ลกั ษณ์อกี อย่างของโครงการพฒั นาลมุ่ นํา้ ปากพนงั ฯ จากภมู ทิ ัศน์ท่สี วยงาม แปลกตา และตน้ ไทร ขนาดใหญ่ทย่ี ืนตน้ ตระหง่านอยูก่ ลางล�ำนาํ้ 2) พระพุทธสหิ งค์ ณ เชิงเขามหาชยั อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช หอพระพุทธสิหิงค์ อันเป็นท่ีประดิษฐานของพระพุทธสิหิงค์เมืองนครน้ัน เดิมเป็นหอพระ ประจำ� วนั ของเจ้าพระยานคร ต้งั อยูร่ ะหวา่ งศาลากลางจงั หวัด และศาลจังหวัด สรา้ งใหมแ่ ทนหอเดิมใน พ.ศ. 2457 เปน็ วหิ ารกอ่ อฐิ ถอื ปนู หนั หนา้ ไปทางทศิ ตะวนั ออก แบง่ ออกเปน็ สองตอน มผี นงั กอ่ อฐิ กน้ั ตอนหนา้ เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐาน พระพุทธสิหิงค์ และมีพระพุทธรูปยืนปางอุ้มบาตร บุด้วยทองค�ำและเงิน อย่างละองค์ ส่วนด้านหลังเป็นท่ีเก็บอัฐิ ของตระกลู ณ นคร และปัจจบุ นั ไดม้ กี ารสรา้ งพระพุทธสหิ งิ ค์ราชภฏั นครศรธี รรมราช 3) จตคุ ามรามเทพ วดั พระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร ชาวนครศรีธรรมราช มคี ติความเชือ่ ที่ว่า องค์จตุคาม คอื พระเสอื้ เมือง จตุ หมายถึง สี่ คาม (คาม-มะ) เขตคาม หมายถงึ อาณาเขตหรอื บ้าน เมอ่ื รวมกันนัยความหมายที่มากกวา่ ความเป็นทิศทั้ง 4 ของบา้ น หรอื อาณาเขต คอื ทศิ ทง้ั ส่ี ซงึ่ หมายถงึ ทศิ ทม่ี ที า้ วจตโุ ลกบาล ท้ังสี่ดูแลอยู่ ความหมายของ จตุคามจึงเป็นต�ำแหน่ง ของผเู้ ป็นใหญ่ทั้งส่ีทศิ มที ้าวจตุมหาราช ปกปอ้ งค้มุ ครอง ดูแล พระเสื้อเมือง จึงมีความหมายท่ีควรเป็นต�ำแหน่ง ๆ หนึ่ง เพียงแต่ปราชญ์โบราณของเมืองสมมติข้ึนเป็น ท้าวจตุคาม ผู้เป็นใหญ่ใน 4 ทิศองค์รามเทพ ค�ำว่า ราม มีรากฐานมาจากพระราม ท่ีหมายถึงพระนารายณ์อวตาร องคจ์ ตคุ ามรามเทพ ลงมา เป็นพระมหากษัตริย์ ค�ำว่าเทพ ก็คือเทวดา นัยความหมายคือเป็นพระมหากษัตริย์ ท่ีเป็นสมมติเทพ เมื่อองค์รามเทพ เป็นพระทรงเมือง ค�ำว่าทรงเมือง พ้องกับค�ำว่าครองเมือง นั่งเมือง หรือผู้ปกครองบ้านเมือง ซง่ึ กค็ ือเจา้ เมอื งหรอื พระมหากษัตรยิ ์ เชอื่ กนั วา่ เดมิ นน้ั องคจ์ ตคุ ามรามเทพ เปน็ กษตั รยิ ส์ มยั อาณาจกั รนครศรธี รรมราช มพี ระนาม อยา่ งเปน็ ทางการวา่ พระเจา้ จนั ทรภาณุ เปน็ กษตั รยิ พ์ ระองคท์ ี่ 2 ของราชวงศศ์ รธี รรมาโศกราช เมอื่ สถาปนาอาณาจกั ร ศรีวิชัยได้อย่างม่ันคงแล้ว จึงได้สมัญญานามว่า “ราชันด�ำแห่งทะเลใต้” หรือมีอีกราชสมัญญานามหน่ึงว่า “พญาพังพกาฬ” 141เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า นครศรีธรรมราชศึกษา รหสั รายวิชา สค13000152 ระดบั ประถมศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook