Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรงเรียนกีฬา อบจ.แพร่(พัฒนาประชาอุถัมภ์) SAR2564-1

โรงเรียนกีฬา อบจ.แพร่(พัฒนาประชาอุถัมภ์) SAR2564-1

Description: โรงเรียนกีฬา อบจ.แพร่(พัฒนาประชาอุถัมภ์) SAR2564-1

Search

Read the Text Version

ก รายงานการประเมินตนเอง SELF ASSESSMENT REPORT : SAR โรงเรียนกีฬาองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั แพร่ (พัฒนาประชาอปุ ถมั ภ์) ปกี ารศึกษา 2564 สังกดั องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่ กระทรวงมหาดไทย

ก บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ าร ผ้จู ดั ทำ : ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา บทนำ ชอ่ื สถานศึกษาโรงเรียนกฬี าองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดแพร่(พฒั นาประชาอปุ ถัมภ์) ตัง้ อยเู่ ลขท่ี 368 ถนนเลียบคลองชลประทาน หมู่ 2 ตำบลทุ่งแค้ว อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่รหัสไปรษณีย์ 54170 โทรศพั ท์ 054 –652245 โทรสาร 054 – 652245 e-mail: [email protected] website: www.ppu.ac.th สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ เปิดสอนตั้งแต่ ระดับช่วงชั้นที่ 3 (มัธยมศึกษาปีที่ 1-3) ถึงระดับช่วงชั้นท่ี 4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) มีจำนวน 15 ห้องเรียน โรงเรียนมีเนื้อท่ี ทง้ั หมด 94 ไร่ ชอ่ื ผบู้ ริหาร ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 คน รองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 2 คน 1) วา่ ทร่ี ้อยโทนพพล จันทะพงษ์ ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี นกฬี าองคก์ ารบริหารสว่ น จังหวดั แพร่(พฒั นาประชาอปุ ถมั ภ์) วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษาการ บริหารการศึกษา ปฏบิ ัติราชการตง้ั แต่ วนั ท่ี 1 มีนาคม 256๕ จนถึงปจั จบุ นั รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา จำนวน ๒ คน ๑) นางสาวปวีณา ใจกระเสน รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วุฒิการศึกษาสูงสุด การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งในสถานศึกษานี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2556 จนถึงปัจจบุ นั เป็นเวลา 7 ปี 6 เดอื นเบอรโ์ ทรศัพท์ 099-6164453 รับผดิ ชอบฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการและ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคลากร 2) นายทัชชยั รอดน้อย รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหนง่ ในสถานศกึ ษาน้ี ต้ังแตว่ ันท่ี 16 ธันวาคม พ.ศ.2556 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา 6 ปี 4 เดือนโทรศัพท์ 093-2684114 รับผิดชอบ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณและการเงิน ฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไปและฝา่ ยกจิ การนกั เรยี น รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการสถานศึกษา ตง้ั แต่ วันที่ 4 มกราคม 2564 จนถึง ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕ จำนวนครูข้าราชการครู 30 คน พนักงานจ้างตามภารกิจ 4 คน ลูกจ้างประจำ 2 คน พนักงานจ้าง ตามภาระกิจ 4 คน ลูกจา้ งเหมาบรกิ าร 25 คน รวม 65 คน นักเรยี นระดับมธั ยมศึกษาจำนวน 218 คน รวม ทั้งสิน้ 283 คน วิสัยทศั น์ “พัฒนานักกฬี าสคู่ วามเป็นเลิศ เชิดชคู ณุ ธรรม จริยธรรม น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา “กีฬาฟุตซอลและดนตรี”

ข อตั ลักษณข์ องสถานศึกษา “ยมิ้ ไหวท้ ักทายกัน ผูเ้ รียนมกี ริยามารยาทดี เอื้ออาทรตอ่ ผ้อู ืน่ และสงั คม” ผลการประเมนิ ตนเอง ระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ๑. การจดั การศึกษาอยใู่ นมาตรฐาน: ๒. หลกั ฐานสนับสนุน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการพัฒนา 1.1. การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรยี น โรงเรยี นกฬี าองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ไดด้ ำเนินโครงการและ กิจกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการอย่างหลากหลาย ได้แก่ โครงการส่งเสริมการอ่าน การเขียน การ สื่อสาร และการคิดคำนวณ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ แบบ active learning โครงการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา โดยการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีการศึกษา เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และจุดเน้นของ สถานศึกษา ตลอดจนเพ่ือตอบสองความตอ้ งการของผ้เู รยี นในดา้ นตา่ งๆ ทง้ั ในดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ กีฬา ศลิ ปะ ดนตรี และทักษะด้านอาชีพ เพื่อใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ กระบวนการต่างๆ มี การเพิ่มเติมรายวิชา stem สร้างสรรค์ การเรียนแบบ Coding ที่ส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะ การแก้ปัญหา และหลักสูตรที่ส่งเสริมเฉพาะความถนัดในแต่ละชนิดกีฬา ส่งเสริมการเรียนการสอน ในรูปแบบต่างๆได้แก่ Learning by doing , Learning by question , Learning by Searching , Learning by Construction , Learning by Communication และ Learning by Serving รวมทั้งมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบ ระดับชาติ ผลการทดสอบสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น หรือผลการทดสอบอื่นๆ โครงการจัดกจิ กรรมโครงงาน นักเรียน โดยนักเรียนได้แสดงความสามารถของตนเอง และถ่ายทอดประสบการณ์การทำโครงงานกับกลุ่ม เพอื่ นออกมาในรูปแบบออนไลน์ โครงการพัฒนากิจกรรมความเป็นเลิศทางวิชาการ เนอ่ื งจากสถานการณ์ โค วิด 19 โรงเรียนได้มีการ ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพทางด้านวิชาการในรูปแบบการจัดการแข่งขนั ภายในโรงเรยี น ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตามความสนใจ ในวนั สำคัญต่างๆ โครงการกิจกรรมชมุ นุมที่ส่งเสริม ให้นักเรียนไดท้ ำกจิ กรรมท่ตี นเองชอบถนดั เปน็ การรวมกลุ่มกันเองของนักเรียนโดยมีครเู ป็นที่ปรกึ ษา โครงการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรม TO BE NUMBER ONE โครงการรณรงค์ป้องกันสารเสพติดใน สถานศึกษา นอกจากนี้ยังฝึกให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์โดยการจัดกิจกรรมต่างๆ ใน โรงเรียน ได้แก่ กิจกรรมตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับ ผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง การลงมือปฏิบัติ การใช้กระบวนการคิด และเน้น เรื่องการใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนในรูปแบบ active learning การใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย การใช้ google classroom พัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง8 กลุ่มสาระ มีแหล่งเรียนรู้ และแหลง่ สบื ค้นข้อมลู เชน่ ห้องสมุด ห้อง ICT ห้องคอมพวิ เตอร์ ปา้ ยความรู้ตา่ งๆ ในบริเวณโรงเรยี น เป็นต้น นอกจากนี้สถานศึกษาได้มีการดำเนินการด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข พฒั นาดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ทีเ่ หมาะสมกับวัยของผู้เรยี น และตามนโยบายของรัฐบาลและกรมส่งเสริมการ

ค ปกครองท้องถิ่น เชน่ คา่ นยิ ม 12 ประการ กจิ กรรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กิจกรรมท่ีเก่ยี วกับ สุขภาวะทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ และกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้ เปน็ ตน้ ผลการดำเนินงานในด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถ ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย และเปลี่ยนความคดิ เห็น และแก้ปัญหา สามารถคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคิดเห็นและแกป้ ญั หาได้ ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล สามารถสืบค้นข้อมูลและใช้เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถแยกแยะ อาชีพสจุ ริตและไม่สุจริตได้ และสามารถอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างท่ีหลากหลายอย่างมีความสขุ โรงเรียนได้ กำหนด ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนแต่ละรายวิชา ระดับ 3 ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 โดยมีการ วัดผลและประเมินผลผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ เหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและธรรมชาตขิ องผู้เรียน เพื่อชื่นชม ให้ กำลังใจ มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความสามารถ รายบุคคล ได้แก่ ห้องเรียนแผนการเรียนทั่วไป กับแผนการเรียนกีฬา ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ศิลปภ์ าษา และ ศิลป์สังคม ในระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย และจดั ทำโครงการ คลินิกวิชาการเพื่อร่วมแก้ปัญหานักเรียนในด้านต่างๆ โดยใช้กระบวนการ PLC ทั้งยังแจ้งผู้ปกครองร่วมกัน แกป้ ัญหารว่ มกนั เพือ่ พัฒนานักเรยี นในระดับการเรยี นทส่ี ูงขึน้ 1.2 การพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น โรงเรยี นกฬี าองค์การบริหารสว่ นจงั หวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ดำเนินการจัดกิจกรรม โครงการ มีการจัดกิจกรรมตามโครงการกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน (กิจกรรมเดินทางไกลเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ- ยวุ กาชาด,กิจกรรมคา่ ยวิชาการ,กิจกรรมอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม,กิจกรรมเสรมิ ทักษะการทำงาน การดำรงชีพ และทักษะชีวิต) โครงการกิจกรรมชุมนุม โครงการโครงงานนักเรียน โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน โครงการงานประเพณีวันสำคัญ โครงการพัฒนาความเป็นเลิศทางดนตรี นาฏศิลป์ โครงการ โรงเรยี นพอเพยี งตามศาสตร์พระราชา โครงการหอพกั นกั เรียน กิจกรรมระเบยี บวินยั ม.ต้น/ม.ปลายกิจกรรม เศรษฐกจิ พอเพียง ม.ตน้ /ม.ปลาย กจิ กรรม ทำความดีจติ อาสาพฒั นาวัด ช้ัน ม.ต้น/ม.ปลายการนำนกั เรียนเข้า ร่วมแข่งขันกีฬาในระดับต่างๆ การนำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ การจัดทำข้อตกลงในชั้นเรียนการจัด กิจกรรมแสดงถึงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและเป็นการส่งเสริมให้ครู บุคลากรและ นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจถึงวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและการปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ได้ ร่วมกันทำบุญและให้ทานถวายเป็นพุทธบูชา ซึ่งส่งเสริมใหน้ ักเรียนนิยมไทย เห็นคุณค่าในภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย ภูมิใจในวัฒนธรรมและความเป็นไทย กิจกรรม Christmas กิจกรรม Chinese new year โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนรักและเรียนรู้ต้นไม้ในโรงเรียน จัดทำโครงการ ส่งเสริมสุขภาวะร่างกายและจิตสังคมที่ดี ได้แก่จัดกิจกรรมการแข่งกีฬาตามกลุ่มสนใจภายในโรงเรียน และ กิจกรรมดนตรี เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมที่ดี มีการจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรยี น เพอื่ คัดกรองและจัดทำสรปุ ผลเพอ่ื ชว่ ยเหลอื นักเรยี นตอ่ ไป มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ โรงเรยี นกีฬาองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดแพร่(พฒั นาประชาอุปถมั ภ์)มกี ารจดั การโครงสรา้ งการบริหาร เป็น 5 ฝ่าย ทุกฝ่ายมีนวัตกรรมการทำงานที่ดีเป็นแบบอย่างการปฏบิ ัติงานที่มีคณุ ภาพ มีการบริหารจดั การ โดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน ภายใตว้ งจรคุณภาพ( PDCA) ด้วยการบรหิ ารที่เปน็ ระบบ เน้นผลสมั ฤทธ์ิของงานเป็น สำคัญเป็นการกระจายอำนาจและการมสี ่วนร่วมของทกุ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการวิเคราะห์ผลการจัดการศึกษาที่ ผา่ นมาประชมุ วางแผนกำหนดเป้าหมายในการจัดการศกึ ษาเพ่อื ให้ประสิทธภิ าพมากขนึ้ ให้ความสำคัญกับการ

ง เสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรสถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายครูจัดการเรียนรู้ให้ เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียนและเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาออกแบบการ จัดการเรียนรู้ที่เหมาะกับผู้เรียนเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนต ามความสนใจอย่างแท้จริงพัฒนาครูทุกคน ให้ มี ความสามารถด้านการจัดกิจกรรม มีการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัด การศึกษาตามนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา เพ่อื วางแผนรว่ มกนั กำหนดเปา้ หมาย ปรบั วสิ ัยทศั น์กำหนด พันธกจิ กลยทุ ธ์ในการ จดั การศึกษาของสถาน ศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นมีการปรบั แผนพัฒนาคุณภาพจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ัติ การ ประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมทั้ง จดั หาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผ้ ูร้ ับผดิ ชอบดำเนนิ การพฒั นา ตามแผนงานเพือ่ ใหบ้ รรลุ เป้าหมายที่กำหนดไว้มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนินงาน และสรุปผลการ ดำเนินงาน จากการที่โรงเรียนได้ปฏิบัติงานตามหลักการบริหารงานคุณภาพ(PDCA) ส่งผลให้การบริหารจัด การศึกษาของโรงเรียนบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ครูและบุคลากรของโรงเรียนสามารถปฏิบัติหน้าที่ของ ตนเองได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพรอบด้าน สามารถอภิปรายผลการ ประเมนิ ได้ดงั น้ี 1. สถานศึกษามีแผนปฏิบัติการ และแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาท่ีสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา สามารถใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานของสถานศึกษาได้จริง และเป็ น แบบอย่างที่ดีแก่สถานศึกษาอื่น ๆ ดังนั้นโครงการและกิจกรรมที่กำหนดไว้ สามารถพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาได้อย่างเปน็ รูปธรรม มรี ่องรอยหลักฐานการดำเนินงานท่ชี ัดเจน 2. สถานศึกษามีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพกลุ่มบริหารที่มีความเหมาะสม ครอบคลุมทุกกลุ่ม บริหารโดยยึดหลักการกระจายอำนาจและหลักธรรมาภิบาล พร้อมทั้งติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของ บุคลากรแต่ละกลุ่มบริหารอย่างเป็นระบบ เกิดการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาได้ตามมาตรฐานการประกัน คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 3. สถานศึกษามุ่งพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล และพัฒนาทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ให้แก่ผเู้ รยี น จัดหลักสูตรที่สนองนโยบายของรัฐ ไดแ้ ก่ การบรู ณาการหลกั สูตรสจุ ริต การบูรณา การงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รหน่งึ หอ้ งเรียนหนึ่งโครงงาน เปน็ ต้น สง่ ผลให้ผู้เรียน ได้รับการพฒั นาอย่างรอบด้านและเกดิ บรรยากาศใหม่ๆ ในการเรียนรู้ 4. ผู้บริหารส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเอง ได้แก่ การศึกษาต่อ การทำผลงานทางวิชาการเพื่อให้ เลือ่ นหรือมีวิทยฐานะสงู ข้นึ การอบรมสมั มนาเพือ่ เพมิ่ พูนความรแู้ ละประสิทธภิ าพในสายงาน ส่งผลให้ครูและ บคุ ลากรมคี วามรู้ความเช่ียวชาญในการปฏบิ ตั ิงานเพื่อพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา 5. ผู้บริหารให้ความสำคญั กับการพัฒนาอาคารสถานที่ ห้องเรียนคณุ ภาพ (ICT) แหล่งเรียนรู้ภายใน โรงเรยี น เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นได้ใช้ประโยชน์อยา่ งเตม็ ที่ โดยมกี ารปรบั ปรุงและพฒั นาอาคารสถานท่ีอยู่เสมอ 6. โรงเรียนไดจ้ ดั หา ปรับปรงุ และพฒั นาระบบเครอื ขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศใหค้ รอบคลมุ เพื่อใช้ใน การบริหารจัดการข้อมูล ส่งผลให้สถานศึกษามีระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ศึกษาค้นคว้า เข้าถึง

จ แหล่งข้อมูลความรู้ได้อย่างทั่วถึงและบุคลากรสามารถเข้าถึงและเรยี กใช้ข้อมลู สารสนเทศที่ต้องการไดอ้ ย่าง รวดเร็วและทันสมยั มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ กระบวนการพัฒนาสถานศึกษาดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ โดยการดำเนนิ งาน/กิจกรรม ได้แก่ การปรบั ปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนพอเพียงท้องถิน่ ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง และกจิ กรรมตามนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ปรับโครงสร้างรายวิชา หนว่ ยการเรยี นร้สู นับสนนุ ให้ครูจัดการเรยี น การสอนทสี่ ร้างโอกาสใหน้ กั เรยี นทกุ คนมสี ่วนรว่ ม ไดล้ งมอื ปฏิบัติ จรงิ จนสรปุ ความรู้ไดด้ ้วยตนเอง จดั การเรียนการสอนและกิจกรรมท่ีเนน้ ทักษะการคิด โดยใช้เครื่องมือการคิด ต่างๆ จัดให้มีรายวิชาเพิ่มเติมตั้งแต่ระดับชั้น ม.1–ม.6 และจัดกิจกรรมตามความต้องการของผู้เรียน คือ กิจกรรมกีฬาตามความถนัด จัดบรรยากาศตามสถานท่ีต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรยี น และนอกห้องเรียน ให้เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ได้แก่ การจัดป้ายความรู้ต่างๆ ตามอาคารเรียนและอาคารประกอบ ดูแลเขตพื้นที่ในงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีกิจกรรมการฝึกซ้อมกีฬาตามความสนใจ เช่น ฟุต ซอล ฟตุ บอล แบดมนิ ตนั วอลเลย์บอล และ เปตอง เป็นต้น ครทู ุกคนทำวจิ ยั ในชั้นเรยี นอย่างน้อยปีการศึกษา ละ ๑ เรือ่ งการดำเนินงานจากการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพือ่ พฒั นาการ จดั การเรยี น การสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี 3 อยู่ในระดับดีเลิศ โดยประเมินจากประเด็นพิจารณา ตามมาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ครูของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทำการวิเคราะห์หลักสูตร โดยจัดทำบันทึกข้อตกลงพัฒนาคุณภาพการศึกษา รายบุคคลระหวา่ งครผู สู้ อนกบั หัวหนา้ กลมุ่ สาระ และหวั หนา้ กลุ่มสาระกบั รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ และผู้อำนวยการโรงเรียนตามลำดับ จัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการคิดและให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริงตาม มาตรฐาน การเรียนรู้ ตวั ช้วี ัดของหลกั สูตรสถานศกึ ษา และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้ ประเมนิ ได้จาก การตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของทุกรายวิชา มีการนิเทศการสอนคิดเป็นร้อยละ 100 ทั้งภาคเรียนท่ี 1 และภาคเรียนที่ 2 ครมู ีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยสรา้ งความตระหนักและให้ ความรู้ผ่านกระบวนการประชมุ ช้ีแจงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เอกสารเผยแพร่ความรู้ รวมถึงการอบรมพฒั นา ครูให้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีโครงสร้างและองค์ประกอบครบตามที่สถานศึกษากำหนดตามแบบวัด ประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้และนำไปสู่การปฏิบัติจริงในห้องเรียน นอกจากน้ี ครูได้เผยแพร่นวัตกรรมใน การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning Web Page และ Website ของโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วน จงั หวดั แพร่(พฒั นาประชาอปุ ถัมภ์)เปน็ การเผยแพรแ่ ละสร้างเครอื ขา่ ยทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น 2. การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ครูทุกกลุ่มสาระเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้ Google classroom ใช้สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเป็นห้องเรียนคุณภาพ 3. มกี ารบริหารจัดการช้นั เรยี นเชงิ บวก ครูจดั สภาพความพรอ้ มท่ีจะดำเนินการเรียนการสอนให้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวกเพอ่ื ให้เกดิ ประสิทธผิ ลในการเรยี นรู้ ผ้เู รียนมีความสขุ สง่ ผลใหน้ กั เรียนนกั การเรียนรู้ โดย ครูเตรยี มและวางแผนการจัดการเรยี นการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรูอ้ ย่างหลากหลาย เพิ่มแรงจูงใจระหว่าง เรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ภายใต้การสนับสนุนของโรงเรียนในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนไว้อย่างดี

ฉ มีความสะดวกสบายอย่างมาก และอุปกรณ์ด้าน ICT ครบครัน รวมถึงการดำเนินงานของงานแนะแนว ที่ให้ คำปรกึ ษาและชว่ ยเหลือผเู้ รียนทางดา้ นการเรยี นและดา้ นพฤตกิ รรม มอบทนุ การศกึ ษานอกจากนีย้ ังมกี าร จัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น อยา่ งเปน็ ระบบและหลากหลาย 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบครบทกุ ด้านทัง้ การวเิ คราะห์ผ้เู รยี นรายบคุ คล การประเมินพฤติกรรมนกั เรยี น การประเมนิ ความรูโ้ ดยการท าแบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลัง เรียนและนำผลการประเมินมาพัฒนานักเรียน คำนึงถึงความแตกต่างของผูเ้ รียน อีกทั้งยังมีการทำวิจัยในชั้น เรียนเพ่อื แก้ปญั หาการเรียนจัดการเรียนการสอน สรา้ งเคร่ืองมอื วัดผลและประเมนิ ผลที่เหมาะสมกับเป้าหมาย ของการเรยี นรู้ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ ครูมกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ด้วยกระบวนการสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) การนเิ ทศชัน้ เรียน และให้ข้อมูล สะทอ้ นกลบั เพ่อื พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ของครูทุกคน ท้ังน้เี ป็นผลมาจากการรวมกลุ่มของครูใน รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ มีการประชุมแลกเปลย่ี นความคิดเห็นเกี่ยวกับปญั หาในการจัดการเรียนการสอน เพือ่ หาแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น โครงการบรู ณาการลดภาระงานของผเู้ รยี นในแต่ละ ระดบั ชนั้ การใหค้ ำปรกึ ษาเกยี่ วกับการใช้เทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้และการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้ สอดคลอ้ งกับผเู้ รียน นอกจากนั้นยังมกี ารนเิ ทศ กำกบั ติดตามจากเพื่อนครแู ละฝ่ายบริหาร ส่งผลใหค้ รมู ีการ ช่วยเหลือแบ่งปัน และสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยโรงเรียนจัดให้มีชั่วโมงสำหรับจัดกิจกรรม ชุมชนชุมชนแห่งการเรียนรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งและมีการนิเทศตดิ ตามอย่างเป็นระบบ ครูมกี ารเผยแพร่นวัตกรรมใน การจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning โดยโรงเรียนสนับสนุนช่องทางในการเผยแพร่นวัตกรรมผ่านทาง เว็บไซต์ของโรงเรียน การเปิดโอกาสให้ครูนำนวัตกรรมไปเผยแพร่และสร้างเครือข่ายทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา 2. จดุ เดน่ ครูใช้เทคโนโลยีการสอนต่างๆ อาทิ เช่น google classroom Kahoot Quizz Plicker เป็นต้น และ ใชส้ ื่อ active learning อย่างหลากหลาย มีความพยายามในการปรับปรุงและพฒั นาการจัดกจิ กรรมการ เรียนรู้ โดยจัดกิจกรรมให้นักเรยี นได้เรียนรู้ โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการใช้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ อย่างคุ้มค่าส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนแสวงหา ความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง มีการแจ้งข้อมู ล ยอ้ นกลับแกผ่ เู้ รียนเพื่อนำไปพัฒนาตนเอง และใชว้ ธิ ีการวัดผลต้ังแต่ ๒ วธิ ขี นึ้ ไป ผู้เรียนได้เรียนในส่ิงท่ีตนเอง สนใจ หรอื มีความถนดั 3. จุดทคี่ วรพัฒนา การส่งเสริมใหค้ รูใชก้ ระบวนการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการจดั การเรียนการสอน และพฒั นาการจดั การ เรียนรู้แก่ผูเ้ รียนในรูปแบบการวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยให้กับผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียหรือสถานศึกษาอื่นๆ นำไปใชพ้ ัฒนาผูเ้ รยี นตอ่ ได้ จากผลการประเมนิ ในแต่ละมาตรฐานสถานศกึ ษาได้ดำเนินการวางแผนในปีการศกึ ษาต่อไป 4. แผนพฒั นาเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่สี งู ขึน้ แผนปฏบิ ัติงานที่ ๑ เข้ารว่ มโครงการ/กิจกรรม ที่องค์การบริหารสว่ นจังหวัดแพร่ดำเนินการ ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์แิ ละคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผู้เรียน แผนปฏิบัติงานที่ ๒ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูนำแผนการสอนคิดมาใช้จัดการเรียนการสอน แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี ๓ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสง่ เด็ก และผเู้ รียนเข้าแขง่ ขันทักษะทางวิชาการและรายการต่างๆ ทง้ั ในและตา่ งสังกดั

ช แผนปฏิบัติงานที่ ๔ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก และผเู้ รยี นอยา่ งหลากหลาย แผนปฏิบัติงานที่ ๕ นิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดประสบการณ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน เพอ่ื นำผลมาปรับปรุง พฒั นาการจัดกิจกรรมต่างๆ สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ในโรงเรียนกฬี า อบจ.แพร่ (พัฒนาประชาอปุ ถมั ภ์) ประจำปีการศกึ ษา 2564 ตามที่โรงเรียนกีฬา อบจ.แพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายใน สถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของ กระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหนว่ ยงานต้นสังกัด หนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้องและเสนอต่อ สาธารณชน เพือ่ นำไปส่กู ารพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรบั การประเมินคุณภาพภายนอก บัดนี้การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียนร้อย จึงขอเสนอผลการประเมิน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรุปผลได้ดงั น้ี ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ผลการประเมินตนเองของโรงเรียน ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ค่าร้อยละ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน 85 ดีเลิศ ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน 84 ดีเลิศ ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและการคดิ 93 ยอดเยย่ี ม คำนวณ 93 ยอดเยย่ี ม ๒) มีความสามารถในการวเิ คราะห์และคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 80 อภิปราย แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา 85 ดีเลิศ 68 ดเี ลศิ ๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 87 ปานกลาง 85 ดีเลิศ ๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สาร ดเี ลิศ ๕) มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ๖) มีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคติทดี่ ตี ่องานอาชพี ๑.๒ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน ๑) การมคี ุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากำหนด 99 ยอดเย่ียม ๒) ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย 80 ดีเลิศ ๓) การยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 80 ดเี ลิศ ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสงั คม 80 ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ 83 ดีเลศิ ๒.๑ การมีเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน ดี ๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ดีเลิศ ๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สุต ยอดเยี่ยม รสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

ซ ๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ 85 ดเี ลศิ 80 ดีเลศิ ๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเี่ ออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้ อยา่ งมีคณุ ภาพ 83 ดเี ลศิ ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและ 71 ดเี ลิศ การจัดการเรียนรู้ 95 71 ปานกลาง มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ 95 สำคญั 83 ยอดเย่ียม ๓.๑ จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถ 84 ดี นำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยีย่ ม ๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดเี ลศิ ๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก ดีเลศิ ๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา ผ้เู รียน ๓.๕ มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่อื พฒั นาและ ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน • ค่าเฉล่ียรวมผลการประเมินคณุ ภาพ เท่ากบั 84 มคี ณุ ภาพระดบั ดีเลศิ การรบั รองมาตรฐานการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา • มีค่าเฉลี่ยผลประเมินคุณภาพ เพราะผลการประเมินระดับคุณภาพอิงเกณฑ์และอิง สถานศกึ ษา มคี า่ เฉล่ยี ตงั้ แต่ 70 ขน้ึ ไป ใช่ ❑ไมใ่ ช่ • มีคา่ เฉลย่ี ของผลประเมนิ ในระดบั ดีขน้ึ ไปไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ70 ใช่ ❑ไมใ่ ช่ • ไมม่ ผี ลประเมินคณุ ภาพของมาตรฐานอยู่ในระดับกำลงั พัฒนา ใช่ ❑ไมใ่ ช่ สรุปว่า ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวม  ได้❑ ไม่ได้ มาตรฐานคุณภาพขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รียน ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มคี ณุ ภาพระดบั ดีเลิศ

ฌ คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของโรงเรยี นกีฬา อบจ.แพร(่ พัฒนาประชาอุปถัมภ์) กองการศกึ ษา อบจ.แพร่ ฉบับน้ี จดั ทำข้นึ เพ่ือสรุปผลการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของ สถานศึกษา เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ในการพฒั นาและยกระดบั คุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สูงข้ึน เน้อื หาสาระของเอกสารประกอบดว้ ย บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร ข้อมลู พื้นฐานของสถานศึกษาผลการ ประเมิณของสถานศึกษา สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ การปฏิบัติที่เป็นเลิศของ สถานศึกษาภาคผนวก ของทัง้ 3 มาตรฐาน โรงเรียนกีฬา อบจ.แพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ขอขอบคุณผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน คณะครู ผู้ปกครองชุมชน และผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ที่ร่วมพัฒนาร่วม ประเมิณคุณภาพ และร่วมจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR)ให้สมบูรณ์ครบถ้วน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูล สารสนเทศ และข้อเสนอแนะในรายงานฉบับนี้ จะ เป็นประโยชน์ในการพัฒนาเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหส้ ูงขึน้ ต่อไป ลงช่ือ ว่าท่รี ้อยโท (นพพล จันทะพงษ์) ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นกฬี าองค์การบริหารส่วนจงั หวดั แพร่ (พัฒนาประชาอุปถมั ภ์)

ญ สารบญั หนา้ เร่อื ง ก .... ญ บทสรปุ สำหรับผ้บู ริหาร ฎ ... คำนำ สารบัญ 1 .. 34 . สว่ นที่ ๑ ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 41 48 สว่ นที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการช่วยเหลอื สว่ นท่ี ๔ การปฎบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ ของสถานศึกษา ภาคผนวก 55 .............................................................................................................................................................................

๑ สว่ นที่ 1 ข้อมลู พื้นฐาน 1. ขอ้ มลู ทวั่ ไป โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ตั้งอยู่เลขที่ 368 ถนนเลียบ คลองชลประทาน หมู่ 2 ตำบลทุ่งแค้ว อำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่รหัสไปรษณีย์ 54170 โทรศพั ท์ 054 –652245 โทรสาร 054 – 652245 e-mail: [email protected] website: www.ppu.ac.th สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ เปิดสอนตั้งแต่ ระดับช่วงชั้นที่ 3 (มัธยมศึกษาปีที่ 1-3) ถึงระดับช่วงชั้นที่4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) มีจำนวน 1๕ห้องเรียน โรงเรียนมีเนื้อที่ ท้งั หมด 94 ไร่ ประวตั คิ วามเปน็ มาโรงเรียน โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) เป็นสถานศึกษาของรัฐแบบ สหศึกษาเดิมสังกัดกองการมัธยมศึกษากรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เริ่มก่อตั้งเม่ือเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2518 โดยคณะสมาชิกสภาจังหวัดแพร่ได้เดินทางมาตรวจเยี่ยมโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วน จังหวัดได้ใหส้ ภาตำบลวงั หลวงนำโดยกำนันนาค ใจเกษม ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศกึ ษาประจำตำบล ข้นึ บนทด่ี ินขององค์การบริหารสว่ นจังหวัดซ่ึงยกใหก้ รมสามัญศึกษาจำนวน 39 ไร่ ตง้ั อยู่บนพื้นที่บ้านทุ่งแค้ว หมทู่ ่ี 2ตำบลวังหลวง วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 สภาตำบลวังหลวงได้ทำพิธีเปิดป้ายโรงเรียนชื่อ“โรงเรียนพฒั นา ประชาอุปถัมภ์” ถือเป็นวันเกดิ ของโรงเรียน เริ่มเปิดเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2ห้องเรียนนักเรียน 71 คน ครู5คน โดยมนี ายเจนวิทย์ วิทยาภรณ์พงศอ์ าจารย์ 1ระดบั 4 โรงเรียนพิริยาลยั จังหวัดแพร่ ทำหน้าที่ รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ 15 มกราคม 2545 องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดแพร่โดยนายแพทย์ชาญชัยศิลปอวยชัย ได้คัดเลือก โรงเรียนพฒั นาประชาอปุ ถมั ภ์ เขา้ ร่วมโครงการ“พัฒนาเยาวชนคนเก่งสดู่ วงดาว” 27 มีนาคม 2545 กรมสามัญศึกษาได้เห็นชอบให้โรงเรียนดำเนินการโครงการเยาวชนฯร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ และได้อนุมัติแผนการจัดชั้นเรียน 3 ห้องเรียน โดยองค์การบริหารส่วน จังหวดั แพร่ให้การสนบั สนนุ งบประมาณ ปีงบประมาณ 2545- 2548 จำนวน 5 ล้านบาท 7 ลา้ นบาท 10 ลา้ นบาท 9ลา้ นบาท ตามลำดับ และปงี บประมาณ 2549จำนวน9ล้านบาท 5 กนั ยายน 2549 ถ่ายโอนสถานศึกษาข้ันพื้นฐานไปยงั สังกัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น 1 ตุลาคม 2557 เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่พัฒนาประชา อุปถัมภ”์ 1 ตุลาคม 2560 เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนา ประชาอปุ ถัมภ์)

๒ แผนผงั บริเวณโรงเรยี น รายละเอยี ดอาคาร 1. อาคารสุวรรณอัมพร2. อาคารรัศมีจนั ทร์ 3. หอพกั ตะวนั ฉาย4. โรงอาหาร 5. อาคารภูมินทร์6. อาคารอเนกประสงค์ 2 7. อาคารประกายพรึก 8. อาคารอเนกประสงค์ 1 9. อาคารอัปสรสวรรค์10. หอพัก 11. หอพกั 12. หอพกั 13. บ้านพักครู14. อาคารอุตสาหกรรม 15. หอพักยมหิน16. อาคารเรือนเพชรพัฒนา 17. อาคารดนตรี18. บา้ นพักครู 19. หอพัก20. หอพกั 21. บา้ นพกั ครู22. หอพัก 23. บา้ นพักครู24. บา้ นพักครู สัญลกั ษณส์ ี 1. สี อาคารเรยี น 2. สี หอพัก 3. สี บ้านพักครู 4. สี ห้องนำ้ (สุขา) 5. สี อาคารอเนกประสงค์ 6. สี ศาลา อาคารทัว่ ไป 7. สระน้ำ (บอ่ ดนิ ) 2. ข้อมลู ผบู้ รหิ าร ๒.๑ ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน 1) ว่าที่ร้อยโทนพพล จันทะพงษ์ ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วน จงั หวัดแพร่(พัฒนาประชาอปุ ถมั ภ์) วฒุ ิการศกึ ษาสงู สุด การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาการบริหารการศึกษาการ บริหารการศกึ ษา ปฏิบัติราชการตั้งแต่ วนั ท่ี 1 มนี าคม 256๕ จนถงึ ปจั จบุ ัน ๒.๒ รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา จำนวน 2 คน ๑) นางสาวปวีณา ใจกระเสน ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา วุฒิการศึกษาสูงสุด การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งในสถานศึกษานี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 7 ปี 6 เดือนเบอร์โทรศัพท์ 099-6164453 รับผิดชอบฝ่ายบริหารงาน วชิ าการและฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ ลากร 2) นายทชั ชัย รอดนอ้ ย รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา วุฒิการศึกษาสูงสุด การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งในสถานศกึ ษานี้ ต้งั แต่วันท่ี 16 ธันวาคม พ.ศ.2556 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ๗ ปี 4 เดือน โทรศัพท์ 093-2684114 รับผิดชอบ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณและการเงิน ฝา่ ยบรหิ ารงานท่ัวไปและฝา่ ยกิจการนักเรียน รักษาราชการแทนผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ตง้ั แต่ วันท่ี 4 มกราคม 256๓ จนถงึ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕

๓ ๓. ขอ้ มลู ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๓.๑ ขา้ ราชการครู ลำดบั ชอื่ – สกลุ ตำแหน่ง คณุ วุฒิ อายกุ ารทำงาน ๑๔ ๑ วา่ ท่รี อ้ ยโทนพพล จนั ทะพงษ์ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ค.บ. ฟสิ ิกส์ วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. การบริหารการศึกษา ๒ นางสาวปวีณา ใจกระเสน รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา วท.บ.ชวี วทิ ยา 17 วทิ ยฐานะรองผูอ้ ำนวยการชำนาญการพิเศษ วท.ม. พฤกษาศาสตร์ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ๓ นายทชั ชยั รอดนอ้ ย รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ค.บ.สังคมศกึ ษา 13 วทิ ยฐานะรองผูอ้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ กศ.ม.การบรหิ ารการศึกษา ๔ นางเสาวลกั ษณ์ มณขี ัติย์ ครู ค.บ.สังคมศึกษา 33 วทิ ยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ ๕ นางอลิษา กนั ทะหงษ์ ครู ค.บ. คหกรรรมฯโท ๓4 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ คณติ ศาสตร์ ๖ นางสดุ ารตั น์ สุวรรณโคตร ครู ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป ๒6 วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา ๗ นายนคิ ม ปัญโญ ครู ค.บ. องั กฤษ 23 วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา ๘ นายจรลั คำวิชัย ครู วท.บ.(วิทยาการคอมพวิ เตอร์) 14 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ ค.บ.อตุ สาหกรรมศิลป์ กศ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา ๙ นายภทั รพล เมฆอากาศ ครู ศษ.บ. คณิตศาสตร์ 18 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ศษ.ม.คณิตศาสตร์ ๑๐ นายพงษ์พันธุ์ ยองใย ครู ค.บ.พลศึกษา 15 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ ๑๑ นายเชาว์ลิต สุดวังยาง ครู ค.บ. คณติ ศาสตร์ 15 วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ๑๒ นายผดงุ บุญชมุ ครู ค.บ.คอมพิวเตอร์ 15 วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ศษ.ม.การบริหารการศกึ ษา ๑๓ นางสกุ านดา ลาวณั ย์ศิลป ครู ค.บ. ภาษาองั กฤษ 15 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ค.ม.หลักสูตรและการสอน ภาษาองั กฤษ ๑๔ นายศุภกนั ต์ สุชรอด ครู กศ.บ. อุตสาหกรรมฯ 28 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ๑๕ นายอษั ฏายุทธ ศกั ดิ์สิทธ์ิ ครู ค.บ.คณิตศาสตร์ 19 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ ๑๖ นางสกุ ญั ญา ปัญโญ ครู ค.บ. ประถมศกึ ษา 16 วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ ศษ.บ. การแนะแนว

๔ ลำดบั ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง่ คณุ วุฒิ อายกุ ารทำงาน ๑๗ นางสาวชลธชิ า คำสนิท ครู ๑๘ นายวรษา จกั รพนั ธุวงค์ ศษ.ม. เทคโนโลยีการศกึ ษา 13 วทิ ยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ 19 นายธรี ะพงษ์ จันทรย์ าง ครู คอ.บ.วศิ วกรรมไฟฟา้ -ไฟฟา้ กำลงั 17 ๒0 นางสาวรจุ ิรตั น์ เลอื ดนักรบ วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ศศ.บ.สารสนเทศ 10 ๒1 นางสาวปรยิ านุช ฮว่ นสกลุ รม.รัฐศาสตร์ ๒2 นายธีปกรณ์ งามดี ครู ๑1 วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ วท.บ. ฟิสกิ ส์ 13 ๒3 นางสาวจิรัชยา เจริญมณี 10 ๒4 นายสงกรานต์ พรมเวช ครู ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ครู ๒5 นายฐติ กิ ร วาสนะตระกูล วิทยฐานะครูชำนาญการ 10 ๒6 นายญาณรพัฒน์ แกว้ ที วท.ม. สาขาวิทยาการการประเมิน 9 ๒7 นายอาทติ ย์ บญุ ตัน ครู ๒8 นางสาวสปุ ราณี คำลือ วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ 29 นางสาวกัญจนพร ฐานเจริญพร ศษ.ม. ภาษาองั กฤษ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ วท.บ.ชีววิทยาประยุกต์ ป.บณั ฑติ วิชาชพี ครู ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ ร.บ. รัฐศาสตร์ ร.ม. การเมืองและการ ครู ปกครอง วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ ศษ.บ. ภาษาไทย ครู กศ.ม. การบรหิ ารการศึกษา ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ รทบ.คบ.เทคโนโลยกี ารเกษตร ครู ครู คบ.ศิลปศึกษา 9 ค.บ. ภาษาไทย 8 ครู กศ.ม. การบริหารการศกึ ษา ค.บ. สังคมศกึ ษา 4 5 ค.บ. ภาษาจนี กศ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา 8 ค.บ. ภาษาไทย ๓.๒ ข้อมูลลกู จ้างประจำ ลำดบั ชือ่ – สกุล ตำแหน่ง คุณวุฒิ อายกุ ารทำงาน ๑ นายบรรจง วงศารัตนศลิ ป์ นักการภารโรง ม.๖ ๒๔ ๒ นายจนั ทร์ สุทธกรณ์ พนกั งานขับรถยนต์ ม.๖ ๒๕

๕ ๓.๒ ลูกจา้ งตามภารกิจ ตำแหน่ง คณุ วฒุ ิ อายกุ ารทำงาน ๒๐ ปี ลำดับ ช่ือ – สกลุ ผู้ช่วยเจ้าพนักงานการเงิน บธ.บ. บริหารธรุ กจิ 1 นางจิรัชยา สุขรอด และบัญชี 2 นางสาวสภุ าวรรณ ศรวี ิพัฒน์ ผ้ชู ่วยเจ้าพนักงานธุรการ บธ.บ. บริหารธุรกจิ ๙ ปี ๖ เดือน 3 นางเพญ็ ศิริ จันทวาด ผชู้ ่วยเจา้ พนักงานโสตฯ บธ.บ. คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ ๘ ปี 4 นายศรีไพร ใจประเชยี ง เจ้าหนา้ ท่อี าคารสถานที่ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๑๔ ปี ๓.๓ ลูกจ้างเหมาบรกิ าร ตำแหนง่ คณุ วฒุ ิ อายุการทำงาน ลำดับ ชอ่ื – สกลุ ผู้ปฏิบตั กิ ารสอนวชิ าภาษาจีน ค.บ.ภาษาไทย ป.บัณฑิต วิชาชีพครู ๑๕ ปี 1 Mr. CHANG GUOJUN ผู้ปฏิบัติการสอนวชิ าภาษาจีน ศศ.บ.ภาษาจีน ป.บัณฑติ วิชาชีพครู ๕ ปี ๑๐ เดอื น 2 นางสาวนฤมล ศรบี ุญเรือง เจา้ หน้าท่ีบรรณารักษ์ ศป.บ.ดุริยางคศาสตร์ เจ้าหน้าที่ช่วยงานพสั ดุ ๓ ปี ๑๑ เดือน 3 นางสาวชลธิชา กรสมบตั ิ ปวส.เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ ปี ๒ เดอื น 4 นางสาวศจกิ า บุญทอง ผปู้ ฏบิ ัตกิ ารสอนวิชาภาษาไทย และการสอ่ื สาร 5 นายธีระพงศ์ เอย่ี มโอด ผ้ปู ฏิบตั กิ ารสอนวิชาเคมี ๓ เดือน 6 นางสาวจีรพรรณ คำปวง เจ้าหน้าทีโ่ ภชนาการและ ค.บ. ภาษาไทย ๓ ปี ๓ เดอื น 7 นางสาวณัฐรกิ า แกน่ เรณู อนามยั ค.บ. เคมี ผูป้ ฏิบตั ิการสอนวชิ า ๑ เดอื น 8 นายศราวุฒิ สมบูรณ์ พลศึกษา ค.บ. พลศกึ ษา ผูป้ ฏบิ ัตกิ ารสอนวชิ า ๑ เดอื น ๗ เดอื น 9 วา่ ทร่ี ้อยตรวี ิศรุต ยะตาหิ พลศกึ ษา ค.บ. พลศกึ ษา ผ้ปู ฏิบตั กิ ารสอนวิชา 3 ปี 1 เดอื น 10 นางสาวสุวรรณา การะกนั พลศกึ ษา ศษ.บ.พลศึกษา ผ้ปู ฏิบัตกิ ารสอนวชิ า ๑ ปี ๕ เดือน ๑๑ นางสาวกนกวรรณ มิจะต๊ะ พลศึกษา ศษ.บ.พลศึกษา ผปู้ ฏบิ ัติการสอนวิชา ๑ ปี ๕ เดือน ๑๒ นายวรวัฒน์ ธรรมสรางกลู พลศกึ ษา ศษ.บ.พลศึกษา ผปู้ ฏบิ ัตกิ ารสอนวชิ า ๑ ปี ๕ เดอื น ๑๓ นายอคั รพนธ์ เครอื เตม็ พลศกึ ษา ศษ.บ.พลศึกษา ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟุตซอล ๑ ปี ๕ เดอื น ๑๔ นายจักรพงษ์ แกว้ กมุ าร ศษ.บ.พลศึกษา ๓ ปี ๑๑ เดอื น ศษ.บ.พลศกึ ษา

๖ ลำดับ ชอื่ – สกุล ตำแหน่ง คุณวฒุ ิ อายกุ ารทำงาน ๑๕ นายพรชัย ออ่ นอุทัย ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ ซอล วท.บ.ฟสิ ิกส์ ๑๖ นายอภเิ ดช ทิพยร์ ตั น์ ผ้ฝู ึกสอนกีฬาฟุตบอล ค.บ. พลศกึ ษา 3 ปี 9 เดือน ๑๗ นางสาวจุฑามณี กมุ ารแกว้ ผู้ดูแลนักเรยี นหอพกั ศษ.บ.ศกึ ษาศาสตร์ ๑ ปี ๕ เดอื น ๑๘ นางสาวองั คณา พน้ื งาม ผดู้ แู ลนักเรยี นหอพัก ศศ.บ.การพฒั นาชุมชน ๑๐ ปี ๔ เดือน ๑๙ นายธวุ านนท์ กาคำ ๗ ปี ๓ เดือน ผดู้ แู ลนักเรยี นหอพัก ศษ.บ.พลศึกษา ๒๐ นายทนงศกั ด์ิ สะเอยี บคง ๑ ปี ๓ เดอื น ๒๑ นายชัยภกั ด์ิ พริบไหว ผ้ดู แู ลนกั เรยี นหอพกั ศษ.บ.พลศึกษา ๒๒ นายจตุรงค์ ใจกัลยา ๔ เดอื น ผู้ฝกึ สอนดนตรแี ละวงโยทวาทติ ศศ.บ. ดนตรีสากล ๒๓ นายพลาพล ปนิ่ แก้ว ๒ เดอื น ๒๔ นายชาญณรงค์ เครือลิต พนักงานขับรถ ปวช.ช่างกลโรงงาน ๒๕ นายปรมตั ถ์ สุทธกรณ์ ๓ ปี ๓ เดอื น พนักงานปฏบิ ัตงิ านท่ัวไป ปวส.เทคนิคช่างยนต์ ๑ ปี ๕ เดือน พนักงานรกั ษาความปลอดภัย ม.๖ ๑๙ ปี พนกั งานรักษาความปลอดภยั ปวส.เทคนิคอุตสาหกรรม ๑ ปี ๒ เดอื น ขอ้ มูลบุคลากรโรงเรียนกฬี าองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดแพร่(พัฒนาประชาอปุ ถมั ภ์) 1) จำนวนบุคลากร ตำแหนง่ ชาย หญงิ รวม หมายเหตุ ๑. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ๑ -๑ ๒. รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ๑ ๑๒ ๓. ขา้ ราชการครู ๑3 ๑1 ๒4 ๔. ขา้ ราชการครู(ช่วยราชการ) ๑ -๑ ๕. ข้าราชการครู(ไปชว่ ยราชการ) ๓ -๓ รวม 31 ๖. ลูกจา้ งประจำ ๒ -๒ รวม ๒ จา้ งตามภารกิจ ๗. ผชู้ ว่ ยเจ้าพนกั งานการเงินฯ - ๑๑ ๘. ผชู้ ่วยเจ้าพนักงานโสตฯ - ๑๑ ๙. ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ - ๑๑ ๑๐. เจา้ หนา้ ท่ีอาคารสถานท่ี ๑ -๑ รวม ๔

๗ ๑๑. ผู้ปฏิบัติการสอนวิชาภาษาจีน พนกั งานจา้ งเหมาบรกิ าร 1 2 ๑๒. ผู้ปฏิบัตกิ ารสอนวิชาภาษาไทย 1 - ๑ ๑๓. ผปู้ ฏิบตั ิการสอนวิชาภาษาเคมี ๑ 1 ๑ ๑๔. ผปู้ ฏิบตั กิ ารสอนวชิ าพละศึกษา - ๒ ๖ ๑๕. ผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ ซอล ๔ - ๒ ๑๖. ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล ๒ - ๑ ๑๗. ผู้ฝกึ สอนดนตรีและวงโยทวาทิต ๑ - ๑ ๑๘. ผู้ดูแลนักเรยี นหอพกั ๑ ๒ ๔ ๑๙. เจา้ หนา้ ทพี่ ัสดุ ๒ ๑ ๑ ๒๐. เจา้ หนา้ ที่บรรณารกั ษ์ - 1 1 ๒๑. เจา้ หนา้ ทโี่ ภชนาการและอนามัย - 1 1 ๒๒. พนักงานรกั ษาความปลอดภัย - - 2 ๒๓. แม่บา้ น พอ่ บา้ น 2 - ๑ ๒๔. พนกั งานขนั รถ ๑ - ๑ รวม ๑ 25 รวมท้งั หมด ๖2 38 24 จานวนบคุ ลากรในโรงเรยี น ขา้ ราชการครู จา้ งตามภาระกิจ ลกู จา้ ง จา้ งเหมาบรกิ าร 45% 46% 3% 6%

๘ 2) วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุดของบุคลากร บคุ ลากร ต่ำกว่า ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวมทงั้ หมด ปรญิ ญาตรี 37 17 - 61 จำนวน 7 วุฒิการศึกษาสงู สุดของบุคลากร ปรญิ ญาเอก 2% ปริญญาโท 11% 23% ปรญิ ญาตรี 64% ตา่ กว่าปริญญา ตรี 3) จำนวนครูแยกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สาขาวิชา จำนวน(คน) คิดเป็นรอ้ ยละ จำนวนชั่วโมงสอนเฉลย่ี ของครูภายในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 1. ภาษาไทย 4 9 2. วิทยาศาสตร์ 7 16 (ช.ม./สัปดาห์) 3. คณิตศาสตร์ 5 11 15 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 4. สังคมศึกษา 4 9 12 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 5. สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา 12 27 11 ช่วั โมง/สัปดาห์ 7. การงานอาชีพและ 5 22 ชั่วโมง/สัปดาห์ เทคโนโลยี 2 21 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 8. ภาษาตา่ งประเทศ 14 9. แนะแนว 6 2 13 ชั่วโมง/สัปดาห์ 10. ศิลปะ 1 7 รวม(เฉล่ยี ) 3 100 20 ชั่วโมง/สัปดาห์ 44 18 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 10 ช่วั โมง/สปั ดาห์ 16ชั่วโมง/สปั ดาห์

๙ 14 12 10 8 6 4 2 0

๑๐ แผนภมู แิ สดงสัดส่วนร้อยละสดั ส่วนของบุคลากร พนกั งานจา้ งตาม ภาระกิจ 7% พนกั งานจา้ งเหมา ขา้ ราชการครู 50% บรกิ าร 40% ลูกจา้ งประจา 3% 4. ขอ้ มลู นกั เรียนและผู้สำเรจ็ การศกึ ษา ๔.๑ ข้อมูลนักเรียนจำนวนนักเรียนโรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ (พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 มิถุนายน 2564 ระดบั ช้ัน จำนวนห้อง เพศ รวม จำนวนเฉลย่ี ชาย หญงิ ต่อห้อง ม.1 3 18 40 22 ม.2 2 22 43 21 7 ม.3 1 1 16 15 11 ม.4 3 6 47 41 15 ม.5 3 14 45 31 14 ม.6 3 12 28 16 11 รวม 15 144 75 144 6 รวมทั้งส้นิ 15 144 75 218 11 11

๑๑ 50 45 40 35 30 25 2563 2564 20 15 10 5 0 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 แผนภมู ิ แสดงการเปรยี บเทยี บจำนวนนักเรยี น ปีการศึกษา 2563 – 2564 ๔.๒ ข้อมูลผูส้ ำเร็จการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4 ๔.๒.๑ ขอ้ มูลการสำเร็จการศกึ ษา ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และ ๖ ระดบั ชั้น จำนวนนกั เรยี น จำนวนผ้สู ำเร็จ ร้อยละผสู้ ำเร็จการศกึ ษา การศึกษา 100 ๑๐๐ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๑5 ๑๕ 100 มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 28 28 รวม ๔3 43 ๔.๒.๒ ขอ้ มลู การศกึ ษาต่อระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ ท่ี ช่อื - นามสกลุ ชน้ั คณะ/วิชาเอก/สายการเรยี น สถาบนั 1 นายณัฐกานต์ กก๊ ไม้ 2 นางสาวเจนจิรา จิตประสงค์ ม.6/1 ประกอบอาชพี พนักงานบริษัท 3 นางสาวณฐั ชา คำปลุก ม.6/1 ศิลปศาสตร์ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ มหาวทิ ยาลยั พะเยา 4 นางสาวภคั เณศ พรมมา ม.6/1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวศิ วกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช วสั ดุ-วศิ วกรรมพอลเิ มอร์ มงคลธญั บรุ ี 5 นายศวิ กร ตาคำ ม.6/1 สาขาไฟฟา้ กำลงั วทิ ยาลยั เทคนิคแพร่ 6 นายเสฎฐวฒุ ิ ปันติ ม.6/1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.6/1 สาขางานยานยนตไ์ ฟฟ้า วิทยาลัยเทคนคิ แพร่

๑๒ 7 นางสาวธราธปิ จองแค หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต 8 นางสาวพรจรสั คำลี ม.6/1 สาขาวิชาเทคโนโลยีหลงั การเกบ็ เกี่ยว มหาวทิ ยาลัยแม่ฟา้ หลวง 9 นางสาวสุธาสินี จนิ ะแปง และโลจิสติกส์ 10 นางสาวสุพรรษา รำแพน ม.6/1 สาขาอเิ ล็กทรอนิกสก์ ารแพทย์ วทิ ยาลยั เทคนิคแพร่ 11 นายธนากร บุตะเขียว ม.6/1 บรหิ ารธรุ กจิ และนิเทศศาสตร์ สาขา มหาวทิ ยาลัยพะเยา การจดั การธุรกิจ 12 นายอนาวลิ เถาว์วลั ย์ 13 นางสาวกฤติยาพร แสนกือ ม.6/1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร มหาวทิ ยาลยั พะเยา 14 นางสาววรรณภา หมายชม สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 15 นางสาววัชรินทร์ บุญเพิ่มพูล 16 นางสาวกมลวรรณ ขตั ตโิ ย ม.6/1 บรหิ ารธุรกจิ สาขาการตลาด มหาวิทยาลยั ราชภฏั 17 นางสาวบณั ฑิตา แกว้ ที นครราชสมี า 18 นายสรุ ิยะ ขัดสม 19 นายชศู กั ด์ิ ส่งั สอน ม.6/1 บรหิ ารธุรกจิ สาขาการตลาด มหาวิทยาลยั ราชภัฏ 20 นายวุฒชิ ยั จรรยาศิริ นครราชสมี า 21 นายสวุ ิทย์ รังษี 22 นายภรู ิภัทร บญุ ชมู าลี ม.6/2 ครุศาสตร์ ภาษาจนี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ 23 นายณภทั ร ชยั ยาฤทธ์ิกุล 24 นายณัฐวุฒิ เปาวะนา ม.6/2 ครุศาสตร์ ภาษาจนี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ 25 นายธนทัต วงศท์ า 26 นายธีรพงษ์ แสนยา้ ง ม.6/2 ครศุ าสตร์ ภาษาจนี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่ 27 นายบุญญฤทธ์ิ สอนโคตร 28 นายธนากร ชูญาติ ม.6/2 บรหิ ารธุรกจิ สาขาการจัดการธรุ กิจ สถาบันปัญญาภิวัฒน์ การค้าสมยั ใหม่ ม.6/2 ครศุ าสตร์ ภาษาไทย มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ ม.6/3 ช่างแอร์ โครงการเพ่ิมทักษะอาชพี แก่ นกั เรยี นท่ีไม่ไดเ้ รียนตอ่ ฯ ม.6/3 ครุศาสตร์ พลศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์ ม.6/3 สาขางานยานยนตไ์ ฟฟ้า วิทยาลยั เทคนคิ แพร่ ม.6/3 ครศุ าสตร์ พลศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ม.6/3 วทิ ยาศาสตร์ สาขาวทิ ยาศาสตรก์ าร มหาวทิ ยาลยั พะเยา ออกกำลังกายและการกฬี า ม.6/3 ครุศาสตร์ พลศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ ม.6/3 วิทยาศาสตร์การกีฬาเเละสขุ ภาพ มหาวิทยาลยั การกฬี าแห่งชาติ วทิ ยาเขตมหาสารคาม ม.6/3 สาขางานยานยนต์ไฟฟ้า วทิ ยาลัยเทคนคิ แพร่ ม.6/3 สาขางานยานยนตไ์ ฟฟ้า วิทยาลยั เทคนคิ แพร่ ม.6/3 ครศุ าสตร์ พลศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ม.6/3 สาขางานยานยนตไ์ ฟฟ้า วทิ ยาลยั เทคนิคแพร่

๑๓ ๕. โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนกฬี าองค์การบริหารส่วนจงั หวดั แพร่ (พฒั นาประชาอุปถัมภ์) ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

๑๔

๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙ ๖. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 คา่ รอ้ ยละของนักเรียนทีม่ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดบั 3 ข้ึนไป ของทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาค เรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ดังน้ี นกั เรยี นทีม่ ีผลสมั ฤทธ์ิ ท่ี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทางการเรยี นระดับ 3 ขนึ้ ไป (รอ้ ยละ) 1 ภาษาไทย 54.90 2 คณติ ศาสตร์ 58.91 3 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 73.36 4 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 64.24 5 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 99.79 6 ศิลปะ 69.93 7 การงานอาชพี 86.10 8 ภาษาตา่ งประเทศ 61.26 รอ้ ยละ 71.06 แผนภูมิแสดงร้อยละนกั เรยี นที่มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดบั 3 ขึ้นไป ของทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

๒๐ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ค่าร้อยละของนกั เรียนที่มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั 3 ขน้ึ ไป ของทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาค เรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ดังน้ี ท่ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ นักเรยี นทม่ี ผี ลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนระดับ 3 ขนึ้ ไป (ร้อยละ) 1 ภาษาไทย 45.98 2 คณติ ศาสตร์ 44.65 3 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 75.11 4 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 61.84 5 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 95.11 6 ศิลปะ 61.09 7 การงานอาชีพ 86.29 8 ภาษาต่างประเทศ 54.73 ร้อยละ 65.60 แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละนกั เรียนทมี่ ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั 3 ขน้ึ ไป ของทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

๒๑ ตารางสรุปผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ปีการศึกษา 2564 นกั เรียนทีม่ ีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั 3 ข้นึ ไป ท่ี กลุ่มสาระการเรียนรู้ (รอ้ ยละ) ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 1 ภาษาไทย 54.90 45.98 2 คณิตศาสตร์ 58.91 44.65 3 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 73.36 75.11 4 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 64.24 61.84 5 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 99.79 95.11 6 ศลิ ปะ 69.93 61.09 7 การงานอาชีพ 86.10 86.29 8 ภาษาต่างประเทศ 61.26 54.73 ร้อยละ 71.06 65.60 รอ้ ยละนักเรียนทีม่ ีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดับ 3 68.33 ขึ้นไป โดยรวม จากการรายงานผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา 2564 ค่าร้อยละ ของนักเรียนทมี่ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั 3 ขนึ้ ไป คือ 68.33 สงู กว่าเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนดไว้ รอ้ ยละ 65 แผนภูมิแสดงร้อยละนกั เรียนทม่ี ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดบั 3 ขนึ้ ไป ของทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา 2563 – 2564

๒๒ ตารางเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรียนท่มี ผี ลการเรียนระดบั 3 ขึ้นไป ปีการศกึ ษา 2563 – 2564 นักเรยี นท่ีมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นระดับ 3 ขนึ้ ไป ท่ี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (รอ้ ยละ) 1 ภาษาไทย ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศึกษา 2564 2 คณิตศาสตร์ 3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60.59 50.44 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 46.22 51.78 6 ศลิ ปะ 7 การงานอาชีพ 77.71 74.24 8 ภาษาต่างประเทศ 66.61 63.04 รอ้ ยละ 92.61 97.45 73.37 65.51 93.12 86.20 66.96 58.00 72.67 68.33 แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละนกั เรยี นทมี่ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดับ 3 ขึน้ ไป ปกี ารศึกษา 2563 – 2564

๒๓ ขอ้ มูลนักเรียนดา้ นอ่ืนๆ จำนวน คดิ เปน็ (คน) ร้อยละ* ท่ี รายการ 179 87.09 ๑. จำนวนนักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ 218 100 รวมทัง้ รู้จกั ดูแลตนเองใหม้ คี วามปลอดภัย - - ๒. จำนวนนักเรียนที่ปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติด และสิ่งมอมเมา - - เชน่ สรุ า บุหร่ี เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ เกม ฯลฯ - - - - ๓. จำนวนนักเรยี นที่มีความบกพร่องทางร่างกาย/เรียนรว่ ม - - ๔. จำนวนนกั เรียนมีภาวะทุพโภชนาการ - - ๕. จำนวนนักเรียนที่มปี ัญญาเลิศ - - ๖. จำนวนนักเรยี นทต่ี ้องการความชว่ ยเหลอื เปน็ พิเศษ ๗. จำนวนนกั เรยี นทอี่ อกกลางคนั (ปีการศกึ ษาปัจจบุ ัน) 98 100.00 ๘. จำนวนนักเรียนท่มี ีเวลาเรยี นไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ 120 100.00 ๙. จำนวนนักเรยี นทเ่ี รยี นซ้ำชั้น ๑๐ จำนวนนักเรียนทจ่ี บหลักสูตร . มัธยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หมายเหตุ: รอ้ ยละของนกั เรยี นท้ังหมด ๘. ข้อมูลด้านสถานท่ี ท่ี รายการ จำนวน ๑. อาคารเรียน 7 หลงั ๒. อาคารอเนกประสงค์ 2 หลัง ๓. ห้องนำ้ /หอ้ งส้วม 8หลัง 4. สนามฟตุ ซอล 1 สนาม 5. สนามฟุตบอล 1 สนาม 6. โรงอาหาร 1 หลงั 7. หอพกั นกั เรยี น 8 หลัง 8. บ้านพักครู 4 หลัง ๙. ขอ้ มลู สภาพชมุ ชนโดยรวม 1. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท ล้อมรอบด้วยทุ่งนาและหมู่บ้าน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดพระธาตุตุงคำ วัดทุ่งแค้ว วัดวังหลวง ตลาดสด ร้านค้า สหกรณ์ หมู่บ้าน ท่งุ นา ไรข่ ้าวโพด สวนผลไม้ สวนผกั บา้ นเรือน อาชีพหลกั ของชมุ ชน คือ ทำนา ทำสวน ทำไร่ ส่วน ใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีกินสลาก หล่อ เทยี นพรรษา ประเพณบี วงสรวงพระธาตุ

๒๔ 2. ผปู้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดับ มธั ยมศึกษาตอนตน้ อาชพี หลกั คือ เกษตรกรรม และ รบั จ้าง สว่ นใหญ่นับถอื ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉลย่ี ต่อครอบครวั ต่อปี 60,000 บาท 3. โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โอกาส สถานศึกษาอยู่ในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ ซึ่งให้การสนับสนุน งบประมาณ ด้านการจัดการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และผปู้ กครองมีความเข้มแข็ง ให้ความ ร่วมมือและสนับสนุนในการจัดการศึกษาเป็นอย่างดี และให้ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ เช่น งานประเพณี และงานบุญต่างๆคณะครู นักเรียนร่วมกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้บ้าน วัด และโรงเรียนได้ร่วม กจิ กรรมตา่ งๆ อย่างต่อเนอื่ ง ขอ้ จำกัด ทัศนคตขิ องผู้ปกครองตอ่ การศึกษาตอ่ ของเด็กยงั มุ่งหวงั กับบุตรหลานให้เข้าศึกษา ต่อโรงเรียนทั่วไปที่ไม่ใช่โรงเรียนกีฬา ทำให้จำนวนเด็กลดลง ผู้ปกครองมีปัญหาทางเศรษฐกิจจึงต้องทำงาน ตา่ งจังหวัด ไม่สามารถเอาใจใส่ดแู ลบตุ รไดด้ ีเท่าทค่ี วร ๑๐. แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ๑๐.1 หอ้ งสมดุ มีพนื้ ท่ีขนาด 40X15 ตารางเมตร หนังสอื ในหอ้ งสมุดมีจำนวน1,450 เลม่ มีวารสาร/ หนังสือพิมพ์ให้บริการจำนวน 1,331 ฉบับ การสืบค้นหนังสือและการยืม-คืน ใช้ระบบ Happy Library มี เคร่อื งคอมพิวเตอรใ์ หบ้ ริการสืบค้นเทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุด จำนวน30 เคร่ือง มีจำนวนนักเรียนที่ใช้ ห้องสมุด (ในปีการศึกษาท่ีรายงาน) เฉลี่ย156 คน ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 35.70 ของนักเรียนทั้งหมดมีการ ให้บรกิ ารห้องสมดุ แกช่ มุ ชนรอบนอก โดยมีบคุ คลมาใช้บรกิ าร เฉลีย่ 10 คน ต่อปี (ในปีการศึกษา 2563) ๑๐.2 หอ้ งปฏบิ ัติการทัง้ หมด 40 ห้อง จำแนกเปน็ 1) หอ้ งปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์ จำนวน 5 หอ้ ง 2) ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ห้อง 3) ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา จำนวน 3 ห้อง 4) หอ้ งอ่นื ๆ (ระบุ) จำนวน 14 หอ้ ง 4.1 หอ้ งโสตทศั นศกึ ษา จำนวน 2 หอ้ ง 4.2 ห้องสวนพฤกษศาสตร์ จำนวน 1 หอ้ ง 4.3 ห้องสมดุ จำนวน 1 หอ้ ง 4.4 หอ้ งกลุม่ สาระ จำนวน 8 หอ้ ง 4.5 ห้องดนตรี จำนวน 1 หอ้ ง 4.6 หอ้ งนาฎศลิ ป์ จำนวน 1 หอ้ ง 4.7 ห้องอาเซียน จำนวน 1 ห้อง 4.8 ห้อง ICT จำนวน 10 ห้อง ๑๐.3 เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ท้ังหมด จำนวน ๑8 เครื่องจำแนกเป็น 1) ใช้เพอ่ื การเรยี นการสอน จำนวน 8 เครอื่ ง 2) ใชเ้ พอ่ื ใหบ้ รกิ ารสืบคน้ ขอ้ มลู ทางอนิ เทอร์เน็ต จำนวน 0 เครอื่ ง โดยมจี ำนวนนกั เรียนทีใ่ ช้บรกิ ารสบื คน้ ขอ้ มลู ทางอนิ เตอร์เน็ต เฉลีย่ 98คน ตอ่ วันคิดเปน็ ร้อย ละ 49 ของนกั เรยี นทง้ั หมด 3) ใชเ้ พือ่ สนบั สนุนการบริหารสถานศึกษา (สำนกั งาน) จำนวน 10 เครอ่ื ง\\

๒๕ ๑๐.4 แหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรยี น (นอกจากห้องสมดุ ) และแหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น แหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรยี น สถิติการใช้ แหล่งเรียนรูภ้ ายนอกโรงเรียน สถติ กิ ารใช้ ชื่อแหลง่ เรยี นรู้ จำนวนครัง้ /ปี ชอื่ แหล่งเรียนรู้ จำนวนคร้งั /ปี 1. ห้องสมุดโรงเรยี น 3,200 1. พระธาตตุ งุ คำ ตำบลทงุ่ แคว้ 10 2. หอ้ งสมดุ อนิ เทอร์เน็ต 3,500 2 .วดั ทุง่ แค้ว ตำบลทุ่งแคว้ 25 3. หอ้ งโสตทศั ศกึ ษา 3,000 3. สวนป่าชุมชนรอบโรงเรยี น 20 4. หอ้ งปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์ 3,600 4. อบต.ทุ่งแค้ว ตำบลทุ่งแค้ว 20 5. ห้องปฏิบัติการทาง 3,000 5. สถานอี นามัย ตำบลทงุ่ แคว้ 9 ภาษาองั กฤษ 6. วดั วังหลวง ตำบลวังหลวง 10 - หอ้ งปฏบิ ัติการทางภาษาจนี 2,500 7. อบต.วงั หลวง ตำบลวงั หลวง 10 6. หอ้ งนาฏศลิ ป์ 12. กล่มุ สมุนไพร ตำบลวงั หลวง 5 - หอ้ งดนตรี 2,500 13. โรงพยาบาลอำเภอหนองมว่ งไข่ 500 7. ห้องแนะแนว 2,500 14. ทว่ี ่าการอำเภอหนองมว่ งไข่ 25 15. สถานตี ำรวจภธู ร อำเภอหนองมว่ งไข่ 10 16. วดั หนองมว่ งไข่ อำเภอหนองม่วงไข่ 4 17. สถานีประมงนำ้ จดื อำเภอหนองมว่ งไข่ 10 18.สถานวี ิจัยพืชสวน อำเภอเมืองแพร่ 10 19.โบราณสถานตา่ งๆจังหวัดแพร่ 40 20.อา่ งเกบ็ นำ้ แมแ่ ฮด 1 21. วดั พระธาตชุ ่อแฮพระอารามหลวง 5 22.ศาลจังหวัดจังหวัดแพร่ 1 23. ศาลจังหวัดแพร่แผนกคดีเด็กและ 1 เยาวชน 24. เรอื นจำจังหวดั แพร่ 1 25.มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้แพร่เฉลิมพระเกียรติ 1 26.อุทยานแหง่ ชาตแิ กง่ เสือเต้น จังหวดั แพร่ 1 27. อทุ ยานแหง่ ชาติแพะเมอื งผี 1 28. อทุ ยานแห่งชาตภิ เู ขาหินปะการัง 1 29. สำนักสงฆ์วัดถำ้ จกั รพรรดิ ๑

๒๖ ๑๐.5 มีภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ๖ คน 1) ชอ่ื -สกลุ นายจำนง วังแก้ว บ้านหนองนำ้ รัด ภมู ปิ ญั ญาดา้ น ดนตรพี ื้นเมอื ง 2) ชื่อ-สกลุ นายประดิษฐ์ กลุ วงศ์ บ้านทุ่งแค้ว ภูมปิ ญั ญาด้าน ศิลปะ (จติ รกรรม) 3) ช่อื -สกลุ นายประดษิ ฐ์ กลุ วงศ์ บา้ นทงุ่ แค้ว ภมู ิปญั ญาดา้ น ศลิ ปะ (ดนตรสี ากล) 4) ชื่อ-สกุล นายณัฐกานต์ จันทนู บา้ นวงั หลวง ภมู ิปัญญาดา้ น งานแกะสลกั ไม้ 5) ชอ่ื -สกลุ นายอานนท์ ใจกระเสน บา้ นวังหลวง ภูมปิ ญั ญาดา้ น การหลอ่ พระพทุ ธรปู ๖) ชื่อ-สกลุ นางบัวแกว้ ธรรมลงั กา บา้ นทงุ่ แค้ว ภูมปิ ญั ญาดา้ น ผลติ สบแู่ ละน้ำยาลา้ งจาน 1๑. ผลงานดีเดน่ ในรอบปีทีผ่ ่านมา(ปกี ารศึกษา 2564) ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวลั ที่ได้รับ/วันท่ีได้รับ หน่วยงานท่ใี ห้ -รางวัล วิธีปฏิบตั ิที่ดี (Best Practice) นวัตกรรมการศกึ ษาเพ่อื - ศึกษาธิการจงั หวดั พัฒนาการศึกษา จังหวัดแพร่ ด้านการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ดี แพร่ เยยี่ ม ประจำปกี ารศึกษา 2564 สถานศึกษา - ไดร้ ับเกียรติบัตรเนือ่ งในโอกาสท่ีสถานศกึ ษา ให้การสนบั สนนุ ผ้บู รหิ าร การดำเนินกิจกรรมได้รับการ ยกยอ่ งมีผลปฏิบตั ิ ระดับดเี ยี่ยม ครู การจัดการเรยี นการสอน ส่งเสรมิ ความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ ด้วย - วิทยาลัยชุมชน แนวทางการจดั การความรู้ “กล่องความรู้กินได้” สูก่ ารขับเคลอื่ น แพร่ เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ บนพืน้ ฐานภูมิปญั ญา -- 1. นายวรษา จักรพันธุวงค์ - วิทยาลัยชุมชน 2. นายธีระพงษ์ จนั ทรย์ าง แพร่ 3. นางสาวชลธชิ า กรสมบัติ 4. นางเพ็ญศิริ จันทวาด โรงเรยี นกีฬาองค์การบริหารสว่ นจงั หวดั แพร่(พัฒนา ประชาอปุ ถัมภ)์ ไดร้ ับเกียรติบัตรเน่ืองในโอกาสท่ีสถานศึกษา ให้ การสนบั สนนุ การดำเนนิ กจิ กรรมได้รับการยกย่องมผี ลปฏิบัตอิ ยู่ ใน ระดับดเี ยย่ี ม จากการส่งผลงานกลอ่ งความร้กู นิ ได้ เรือ่ ง Cookie Runner ของนายวรษา จักรพนั ธุวงค์ , คลอโรฟิลล์ ปรับสมดลุ ของนางสาวชลธิชา กรสมบตั ิ และชาตระไคร้ ของ นางเพญ็ ศริ ิ จนั ทวาด หากท่านใดสนใจดผู ลงานกลอ่ งความรู้กิน ไดส้ ามารถติดตามได้ที่ http://anyflip.com/bookcase/vykfa

๒๗ ผลงานดา้ นกฬี า โรงเรียนกฬี าองค์การบริหารส่วนจังหวดั แพร่(พฒั นาประชาอุปถมั ภ์) ประจำปีการศึกษา 2564 1. รายการแขง่ ขันฟตุ ซอลทา่ ทองเอฟซีคัพ จังหวัดพิษณโุ ลก - รุ่นอายุไมเ่ กนิ 15 ปีชาย ได้รับรางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั 1 2. การแขง่ ขนั ฟุตซอลเทศบาลเมืองนครพนมคัพ ครง้ั ท่ี 1 - รุ่นอายุ15ปื ได้รับ รางวลั ชนะเลศิ ฟุตซอล - รางวัลนกั เตะยอดเยี่ยมร่นุ อายุ 15 ปี นายพลู เพชร ไตรดวงเงิน - รนุ่ อายุ 18 ปี เขา้ รอบ 16 ทีม 3. การแข่งขนั กีฬาฟตุ บอลต้านยาเสพติด รายการ \"Phrae Power Against Drugs.\" - รนุ่ อายุ 13 ปี และ รนุ่ อายุ 17 ปี ไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ 4. การแขง่ ขนั ฟุตซอล U18 ครัง้ ท่ี 9 ชิงถว้ ยเกียรตยิ ศ ณ จงั หวัดพษิ ณโุ ลก - ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ รับถ้วยเกียรติยศ 5. การแขง่ ขนั กีฬาฟุตซอลกีฬาระหว่างโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2564 รนุ่ อายุ 16 ปีชายประเภท ก รบั - ได้รบั รางวัลอันดบั ท่ี 3 เหรยี ญทองแดง ๖. การแขง่ ขนั ฟตุ ซอล SDN FUTSAL NO - L CUP Inspired by Thai PBS “เพอ่ื นกัน มันส์โนแอล ไมด่ ืม่ ไมส่ บู ไม่เสพ ไมพ่ นัน” รุ่นอายไุ มเ่ กนิ 15 ปี นดั ชงิ ชนะเลศิ 8 จังหวดั โซนภาคเหนือตอนบน - ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ 7. รายการ SDN FUTSAL NO-L CUP 2022 Inspired by Thai PBS คร้ังที่ 3“เพือ่ นกนั มนั สโ์ นเอล” ไม่ดมื่ ไม่สูบ ไม่เสพ ไมพ่ นัน ชงิ แชมปจ์ งั หวดั แพร่ - ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 2 8. การแขง่ ขันฟุตซอลระดับมธั ยมศกึ ษา รุน่ อายุไม่เกนิ 17 ปี PAN FUTSUL SUPER MATCH 2022 นดั แรก โรงเรียนกฬี าอบจ.แพร่ เสมอ โรงเรียนกีฬากรุงเทพฯ 3:3 นัดที่ 2 โรงเรียนกฬี าอบจ.แพร่ แพ้ โรงเรียนอิสลามวิทยาลัย 3:2 นัดท่ี 3 โรงเรยี นกีฬาอบจ.แพร่ เสมอ โรงเรยี นสมุทรสาคร 2:2 รวมการแข่งขนั 3 นดั เสมอ2 แพ้1 ไมไ่ ดเ้ ขา้ รอบสอง

๒๘ งาน/โครงการ/กิจกรรม/ผลงานที่ประสบผลสำเร็จจนไดร้ บั การยอมรับ หรือเป็นตัวอยา่ งการปฏิบตั ิ ท่ี ชอื่ อธิบายตัวบง่ ชค้ี วามสำเรจ็ หรือระดับความสำเร็จ งาน/โครงการ/กจิ กรรม 1 โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานร้อยละ 9๐.๐๐ได้ เข้าร่วมกิจกรรม และมคี วามพงึ พอใจในระดบั ดมี าก 2 โครงการประเพณีและสปั ดาหว์ ันสำคัญต่างๆ ผู้เรียนระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้ เขา้ ร่วมกจิ กรรม และมคี วามพึงพอใจในระดบั ดีมาก 3 โครงการพฒั นางาน GPA PR ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานร้อยละ ๘๕.๐๐ได้ เขา้ รว่ มกจิ กรรม และมคี วามพงึ พอใจในระดับดี 4 โครงการเสรมิ สรา้ งสุขอนามัยนกั เรียน ผเู้ รยี นระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานร้อยละ ๘๕.๐๐ ได้ เข้ารว่ มกจิ กรรม และมีความพงึ พอใจในระดบั ดี 5 โครงการกจิ กรรมชุมนมุ ผเู้ รยี นระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้ เขา้ รว่ มกิจกรรม และมีความพึงพอใจในระดบั ดมี าก 6 กจิ กรรมการเดนิ ทางไกลและอยู่ค่ายพักแรม ผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานร้อยละ 9๐.๐๐ ได้ ลูกเสือ – ยวุ กาชาด เขา้ ร่วมกิจกรรม และมคี วามพงึ พอใจในระดับดีมาก การปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษารอ้ ยละ 100 ของ ๗ โครงการการปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศกึ ษา ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษามีส่วนร่วมในการ จดั ทา่ หลกั สตู รสถานศึกษาระดับดีมาก

๒๙ ค่าเฉล่ยี ระดับ สรุปผล 85 คุณภาพ การประเมนิ ๑๒. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน มาตรฐาน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ดีเลศิ บรรลุ มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 84 ดีเลศิ เพอ่ื การประเมินคณุ ภาพภายใน บรรลุ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิด 93 ยอดเยีย่ ม บรรลุ คำนวณ 93 ยอดเย่ยี ม บรรลุ ๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ 80 อภิปราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแก้ปัญหา 85 ดเี ลิศ บรรลุ 68 ดเี ลศิ บรรลุ ๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 87 ปานกลาง บรรลุ ดเี ลศิ บรรลุ ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร 85 ดีเลิศ บรรลุ 99 ยอดเย่ยี ม บรรลุ ๕) มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 80 ดีเลศิ บรรลุ 80 ดเี ลศิ บรรลุ ๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคตทิ ดี่ ตี ่องานอาชพี 80 ดเี ลศิ บรรลุ 83 ดีเลิศ บรรลุ ๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น ๑) การมีคุณลักษณะและค่านยิ มท่ีดีตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด ๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๓) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจิตสงั คม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ๒.๑ การมเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน ดี บรรลุ ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ดีเลศิ บรรลุ ๒.๓ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลักสูตร บรรลุ สถานศึกษาและทกุ กล่มุ เปา้ หมาย ยอดเยย่ี ม ๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ บรรลุ 85 ดเี ลิศ

๓๐ ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ 80 ดเี ลศิ บรรลุ อยา่ งมีคณุ ภาพ บรรลุ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและ ดีเลศิ บรรลุ การจดั การเรยี นรู้ 83 ดีเลิศ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น บรรลุ สำคญั 71 ปานกลาง บรรลุ 95 ยอดเย่ยี ม บรรลุ ๓.๑ จัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไป 71 ดี บรรลุ ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้ 95 ยอดเยยี่ ม บรรลุ ๓.๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ 83 ดเี ลิศ บรรลุ 84 ดีเลศิ ๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก 3.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา ผู้เรยี น ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ คา่ เฉลยี่ รวม จดุ เดน่ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผ้เู รียน ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน สื่อสาร และการใช้ google classroom ตลอดจน เทคโนโลยตี า่ งๆ ในการเรยี นรภู้ ายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโควิด-๑๙ มีความสามารถในการวเิ คราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ผ่านกิจกรรมโครงงานหนึ่ง ห้องเรียนหนึ่งโครงงาน ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งประกอบด้วย 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซ่อื สตั ย์สุจริต 3. มวี ินัย4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย อยใู่ น ระดบั ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ สถานศึกษามกี ารบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ มกี ารแบง่ โครงสร้างการบริหารท่ีชัดเจน มกี ารกำหนดวสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย ทชี่ ัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ัติ การประจำปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป การศึกษา ทมี่ ุ่งเน้นการพัฒนาใหผ้ ้เู รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูต้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา ครูผู้สอน สามารถจดั การเรียนรไู้ ด้อย่างหลากหลายมีการดำเนนิ การนิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และจดั ทำรายงานผลการ จัดการศึกษา การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา

๓๑ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ สถานศึกษาดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการ ดำเนินงาน/กจิ กรรม ไดแ้ ก่ การปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนพอเพียงท้องถิน่ ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และกิจกรรมตามนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการ เรียนรู้สนับสนุนให้ครจู ัดการเรียน การสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจน สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนและกจิ กรรมที่เน้นทักษะการคิด โดยใช้เครื่องมือการคดิ ต่างๆ จัดให้มีรายวิชาเพิม่ เติมตัง้ แตร่ ะดบั ชั้น ม.1 – ม.6 และจัดกิจกรรมตามความต้องการของผู้เรียน คือกิจกรรม กีฬาตามความถนัด จัดบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียนให้เอ้ือต่อการ เรียนรู้ ได้แก่ การจัดป้ายความรู้ต่างๆ ตามอาคารเรียนและอาคารประกอบ ดูแลเขตพื้นที่ในงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีกิจกรรมการฝึกซ้อมกีฬาตามความสนใจ เช่น ฟุตซอล ฟุตบอล แบดมินตัน วอลเลย์บอล และ เปตอง เป็นต้น ครูทุกคนทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปี การศกึ ษาละ ๑ เรือ่ ง จดุ ท่คี วรพัฒนา 1. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรียน มรี ะดับคณุ ภาพปานกลาง ควรมกี ารพัฒนาให้มรี ะดบั คณุ ภาพที่ สงู ขึน้ 2. การจดั ระบบ Internet Wi-Fi ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ 3. ด้านการบริหารจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการ พิจารณากำหนดเอกลักษณ์ และการเป็นทีป่ รกึ ษาเสนอแนะการบริหารงานทัง้ 5 ด้าน ขอ้ เสนอแนะ 1. สถานศึกษาจัดโครงการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทุกกลุ่มสาระ จัดให้มีการสอนเสรมิ นอก เวลาเรียน หรือการจัดกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ การจัดค่ายวิชาการเตรียมสอบ O-NET, NT การจัดสภาพทาง กายภาพของสถานศึกษาใหเ้ อ้อื ต่อการเรียนรู้ 2.ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุงและ พฒั นาการจดั การเรียนรู้ โดยการทำ PLC อยา่ งตอ่ เนื่อง 3. มกี ารดำเนินการตามแผนงานงบประมาณเป็นไปตามความต้องการของสถานศกึ ษาอยา่ งแท้จริง ๑3. การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีของสถานศึกษา 13.๑ การบริหารจดั การศกึ ษา 1) จัดแบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 5 ฝ่ายโดยแบ่งเป็น ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายแผนและ งบประมาณ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายบริหารทั่วไป และ ฝ่ายพัฒนาศักยภาพผู้เรียนและกีฬา ผู้บริหารยึดหลักการ บริหารโรงเรียนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นSchool Based Management for Local Development :SBMLD, PDCA, ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง , เป็นการบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพของคนในท้องถิ่น โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น จัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อให้ ประชาชนในท้องถน่ิ ได้มีโอกาสการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตและอยา่ งมีความสขุ

๓๒ สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา โรงเรยี นกฬี าองค์การบริหารส่วนจงั หวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถมั ภ์) ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ตามที่โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)ได้ดำเนินการประเมิน คุณภาพ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖4 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ในประกาศของ กระทรวงมหาดไทย โดยจดั ทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานตน้ สงั กัด หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง และเสนอต่อ สาธารณะชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพตามาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก บัดนี้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน คณุ ภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรปุ ผลได้ดงั น้ี ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ มาตรฐานการศกึ ษา : ดีเลศิ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ลิศ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ดเี ลิศ

๓๓ มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการประเมนิ ตนเอง ระดับคณุ ภาพ ของโรงเรียน มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รียน ดเี ลิศ ๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผูเ้ รียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ดเี ลศิ 85 84 ๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารและการคดิ คำนวณ 93 ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ๒) มคี วามสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา 93 80 ดีเลิศ ๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม 85 ดเี ลิศ 68 ปานกลาง ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร 87 ดีเลิศ 85 ดเี ลิศ ๕) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๖) มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชีพ ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน ๑) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด 99 ยอดเย่ียม ๒) ความภูมิใจในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย 80 ดเี ลิศ ๓) การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 80 ดเี ลศิ ๔) สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สงั คม 80 ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจดั การ 83 ดเี ลิศ ๒.๑ การมีเป้าหมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน 85 ดี ๘0 ดีเลิศ ๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม 83 ๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสุตรสถาน ดเี ลิศ ศกึ ษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย ดีเลศิ ๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ ดีเลิศ ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้อื ตอ่ การจัดการเรียนรู้อยา่ งมี คุณภาพ ดีเลิศ ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจัดการ เรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ๓.๑ จัดการเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไป 71 ปานกลาง ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้ 95 ๓.๒ ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ีเ่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ 71 ยอดเยี่ยม 95 ดี ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชิงบวก 83 ยอดเยย่ี ม ๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น 84 ดเี ลิศ ๓.๕ มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนร้แู ละใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การ ดีเลิศ จัดการเรียนรู้ สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา

๓๔ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบ 4 ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รยี น ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดี มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ เี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ดี สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายในระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มคี ุณภาพระดบั ดี ผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ : รับรอง ข้อเสนอแนะ สถานศึกษาควรมีการเขียนSAR ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยมีการระบุหลักฐานสนับสนุนการ ดำเนินงานตามมาตรฐานต่างๆ โดยระบุรายละเอียนในขั้นตอนวางแผน การดำเนินงานการประเมินผลการ ดำเนินงาน ควรมีการแยกสรุปข้อมูลของสถานศึกษาในแต่ละช่วงชั้น ควรระบุข้อความให้ชัดเจนถึงผลการ ดำเนินงานในแต่ละมาตรฐาน ควรมีการระบุแบบอย่างที่ดี หรือ นวัตกรรมในกระบวนการบริหารและ กระบวนการจัดการ

๓๕ การศกึ ษาตามแผนปฏบิ ัติการประจำปีของสถานศกึ ษา ๑. การบรหิ ารจัดการศกึ ษา โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)ได้จัดแบ่งโครงสร้างการ บริหารงานเป็น ๕ ฝ่าย โดยแบ่งเป็น ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายบริหารงานท่ัวไป ฝ่ายบริหาร งบประมาณและฝ่ายกิจการนักเรยี น ผบู้ ริหารยึดหลกั การบริหาร/เทคนคิ การบริหารแบบ (เช่น การพัฒนาตาม กระบวนการ PDCA, SBMLD, เศรษฐกจิ พอเพยี งฯลฯ) และอธิบายการนำมาใชใ้ นบริบทของสถานศึกษา วิธีการติดตามและประเมนิ ผลการนำแผนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาการศึกษาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ - โดยการสังเกต เป็นการสังเกตการดำเนินโครงการในทุกขั้นตอน Plan Do Check Act ของแต่ละ โครงการ มกี ารจดบันทกึ การสังเกตลงในแบบบนั ทกึ การสังเกตท่เี ตรียมไว้ - โดยการสัมภาษณ์ ใชท้ ้งั การสมั ภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และไม่มโี ครงสร้าง ทั้งถามคำถามปลายเปิด และปลายปดิ แลว้ จดบันทึกในแบบบนั ทึกการสัมภาษณท์ ีเ่ ตรยี มไว้ - โดยการตรวจสอบ ตรวจสอบในทุกเรื่องที่เกี่ยวข้องในแต่ละโครงการ เช่น เวลาที่ควรเริ่มลงมือ ปฏบิ ตั โิ ครงการ การดำเนินโครงการตามวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย หรือ อน่ื ๆ - โดยการให้คำแนะนำ ให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการ และการแก้ปัญหาต่างๆ ที่ เกดิ ข้นึ - โดยการใช้แบบประเมินต่างๆ เช่น แบบประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินการจัดกิจกรรม แบบสอบถามความคิดเห็น เป็นตน้

๓๖ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน ฝ่าบริหารงาน ฝา่ บรหิ ารงาน ฝ่ายบริหารงาน ฝา่ ยพฒั นาศกั ยภาพ ฝ่ายบรหิ ารงานแผน วชิ าการ บุคคล อาคารสถานที่ ผเู้ รียนและกีฬา และงบประมาณ 1.ฝ่ายบริหารงานวชิ าการ 1.1 งานบริหารวชิ าการ 1.1.1 งานพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา 1.1.2 งานแนะแนวและงานกองทุนเพอื่ การศกึ ษา 1.1.3 งานกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 1.1.4 งานส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ 1.1.5 งานกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1.1.6 งานคลนิ ิกวชิ าการ 1.1.7 งานโครงการโครงงานนกั เรียน 1.1.8 งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น 1.1.9 งานธุรการฝ่ายวิชาการ 1.2 งานวิจัย ผลติ สอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยี 1.2.1 งานวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 1.2.2 งานพฒั นาสอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยี และหอ้ งเรยี น ICT 1.2.3 งานพัฒนาและจัดการเรยี นรู้ 1.2.4 งานคลังข้อสอบ1.2.5 งานสำเนาเอกสาร1.2.6 งานห้องสมดุ เฉลิมพระเกยี รติ 1.3 กลมุ่ งานประเมนิ มาตรฐานและควบคุมคุณภาพการศกึ ษา 1.3.1 งานนิเทศการศึกษา 1.3.2 งานระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา 1.4 กลมุ่ งานทะเบียนนักเรียน 1.4.1 งานวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ 1.4.2 งานทะเบียนและประมวลผล 1.4.3 งานรบั นักเรียน งานแนะแนวรับนกั เรยี น 2.ฝ่ายบรหิ ารงานบคุ คล 1.1 งานวางแผนอตั รากาลงั และบุคคลและกำหนดอัตรากำลังงานสรรหาและบรรจแุ ต่งต้งั งานวินยั และรกั ษาวนิ ยั 1.2 งานพัฒนาบคุ ลากรการสร้างขวญั และกาลงั ใจ 1.3 งานทะเบียนและสถิติ 1.4 งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 1.5 งานธุรการโรงเรยี น 1.6 งานธุรการฝ่าย 3.ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป 3.1 งานธรุ การฝา่ ย 3.2 งานอาคารสถานท่ี 3.3 งานเขตรบั ผดิ ชอบ 3.4 งานบรกิ ารสาธารณะ 3.5 หน่วยรักษาเวรยามความปลอดภยั การเขา้ ออกภายในโรงเรยี น 4.1 งานธุรการฝ่าย 4.ฝา่ ยพัฒนาศักยภาพผู้เรยี นและกฬี า 4.4 งานคุณธรรมจรยิ ธรรม 4.2 งานระบบดูแลนกั เรยี นและส่งเสริมเด็กดอ้ ยโอกาส 4.3 งานป้องกนั ยาเสพตดิ 4.5 งานส่งเสริมความประพฤติ 4.6 งานกิจกรรมส่งเสริมคณุ ภาพนักเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 5.ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ 5.1 งานการเงินและบัญชี 5.2 งานพัสดุ 5.3 งานจัดระบบควบคุมภายในหน่วยงาน 5.4 งานนโยบายและแผน 5.5 งานสวัสดิการโรงเรยี นการประกันสขุ ภาพครูนักเรยี น 5.6 งานธนาคารโรงเรียน 5.7แงผานนยภานูมพโิ าคหรนงะสร้างการบ5ร.หิ8างารนโธรรุ งกเารรยีฝา่นยกแผฬี นางาอนงแคละ์กงาบรปบระรมหิาณารส่วนจังหวัดแพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์)

๓๗ วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ ยุทธศาสตร์ แนวทางการพฒั นา จดุ มุง่ หมายเพอ่ื การพัฒนา อัตลกั ษณ์ และเอกลกั ษณ์ ของ สถานศกึ ษา วสิ ยั ทศั น์ “พฒั นานกั กีฬาสคู่ วามเปน็ เลิศ เชิดชูคณุ ธรรม จรยิ ธรรม น้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” พันธกิจ ๑. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๒. ส่งเสรมิ และพัฒนานักเรยี นใหม้ ศี กั ยภาพดา้ นกีฬาสคู่ วามเป็นเลิศ ๓. พฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม และดำเนนิ ชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. พฒั นาประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการเน้นการมีส่วนรว่ ม ยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๑. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการจัด ๑.๑พฒั นาผูเ้ รียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ฝ่ายวิชาการ การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ๑.๒พฒั นาประสิทธิภาพการเรยี นการสอน ฝ่ายแผนและ ๑.๓จัดหาสอ่ื การเรยี นการสอน งบประมาณ ฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไป ฝา่ ยพฒั นาศักยภาพ ผู้เรยี น ๒. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาผ้เู รยี นสู่ ๒.๑ส่งเสริมและพฒั นาด้านกีฬา ฝา่ ยวิชาการ ฝา่ ยแผนและ ความเปน็ เลิศ ๒.๒ส่งเสริมและพฒั นาด้านวชิ าการ งบประมาณ ฝ่ายพฒั นาศักยภาพ ผูเ้ รยี น ๓. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ ๓.๑พฒั นาผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ฝ่ายวชิ าการ พัฒนาผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ๓.๒ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนดำเนินชีวิตตามหลัก ฝา่ ยพฒั นาศักยภาพ และดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผู้เรียน ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ ๔.๑ส่งเสรมิ และพฒั นาความรู้ ความสามารถของครู ฝ่ายบุคลากร พัฒนาบุคลากรทางการศกึ ษา และบคุ ลากรทางการศึกษา ๕. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมและ ๕.๑พัฒนาระบบบริหารจัดการสถานศึกษา ฝา่ ยวชิ าการ พัฒนาการบริหารจัดการเน้นการมี ๕.๒จดั หาและบำรุงรักษาทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ ฝ่ายแผนและ สว่ นรว่ ม ตอ่ สถานศึกษา งบประมาณ ฝา่ ยบริหารงานทั่วไป

๓๘ จุดม่งุ หมายเพ่ือการพัฒนา ๑. นักเรยี นมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ๒. นกั เรยี นมีศกั ยภาพในการแขง่ ขันกฬี าระดับชาติ ๓. นกั เรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม ดำเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน ๕. ผ้มู ีส่วนเก่ียวข้องมีส่วนรว่ มในการบริหารงาน อัตลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา ย้ิมไหวท้ กั ทายกัน ผู้เรยี นมกี ริยามารยาทดี เออ้ื อาทรต่อผูอ้ ่ืนและสงั คม เอกลักษณ์ของสถานศึกษา กีฬาฟตุ ซอล และ ดนตรี

๓๙ สว่ นท่ี 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ สรปุ ในแตล่ ะมาตรฐานระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ระดับคุณภาพ : ดีเลศิ 1. วธิ ีการดำเนินการ การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รยี น โรงเรียนกีฬาองค์การบริหารส่วนจงั หวดั แพร่(พัฒนาประชาอุปถัมภ์) ไดด้ ำเนินโครงการและ กิจกรรมเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการอย่างหลากหลาย ได้แก่ โครงการส่งเสริมการอ่าน การเขียน การ สื่อสาร และการคิดคำนวณ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ แบบ active learning โครงการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา โดยการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีการศึกษา เพื่อส่งเสริมและ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และจุดเน้นของ สถานศึกษา ตลอดจนเพ่อื ตอบสองความตอ้ งการของผูเ้ รียนในดา้ นต่างๆ ท้งั ในด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ กีฬา ศิลปะ ดนตรี และทักษะด้านอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่างๆ มีการเพิ่มเติมรายวิชา stem สร้างสรรค์ การเรียนแบบ Coding ที่ส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะ การแก้ปัญหา และหลักสูตรที่ส่งเสริมเฉพาะความถนัดในแต่ละชนิดกีฬา ส่งเสริมการเรียนการสอน ในรูปแบบต่างๆได้แก่ Learning by doing , Learning by question , Learning by Searching , Learning by Construction , Learning by Communication และ Learning by Serving รวมทั้งมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบ ระดับชาติ ผลการทดสอบสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน หรอื ผลการทดสอบอ่ืนๆ โครงการจัดกิจกรรมโครงงาน นักเรียน โดยนักเรียนได้แสดงความสามารถของตนเอง และถ่ายทอดประสบการณ์การทำโครงงานกับกลุ่ม เพอื่ นออกมาในรูปแบบออนไลน์ โครงการพัฒนากิจกรรมความเป็นเลิศทางวิชาการ เนอื่ งจากสถานการณ์ โค วิด 19 โรงเรียนได้มีการ ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพทางด้านวิชาการในรูปแบบการจัดการแข่งขนั ภายในโรงเรยี น ตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ ตามความสนใจ ในวนั สำคญั ต่างๆ โครงการกจิ กรรมชุมนุมท่ีส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนได้ทำกจิ กรรมท่ตี นเองชอบถนดั เป็นการรวมกลมุ่ กันเองของนกั เรยี นโดยมีครเู ป็นที่ปรกึ ษา โครงการ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรม TO BE NUMBER ONE โครงการรณรงค์ป้องกันสารเสพติดใน สถานศกึ ษา นอกจากนี้ยังฝึกใหน้ กั เรยี นได้พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดวเิ คราะห์โดยการจัดกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรยี น ไดแ้ ก่ กจิ กรรมตอบปญั หาทางวิทยาศาสตร์ มกี ารออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับ ผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง การลงมือปฏิบัติ การใช้กระบวนการคิด และเน้น เรื่องการใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนในรูปแบบ active learning การใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย การใช้ google classroom พัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทัง้ 8 กลุ่มสาระ มีแหล่งเรียนรู้