Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Published by สพป.ราชบุรี เขต 2, 2021-11-25 07:09:16

Description: แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำน คานา แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มน้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดทาขนึ้ เพ่ือใหส้ านกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทางการศึกษา ในสังกัด ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสาหรับเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนท่ัวไปว่า สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานมีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อ นการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างท่ีจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการ ท่กี ระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานหวังเป็นอย่างย่ิงว่า แนวทางการเตรียมการเปิด ภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเปิดเรียนภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ขอบคุณคณะทางานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทาแนวทางการเตรียมการเปิด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เลม่ นี้ จนสาเรจ็ ดว้ ยดี นายอมั พร พินะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ตลุ าคม 2564

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน สำรบญั หน้า คานา สารบัญ ส่วนท่ี 1 ความร้เู บือ้ งตน้ ทีค่ วรรู้ วคั ซนี Pfizer................................................................................................................. ๑ วคั ซนี Sinopharm…………………………………………………………………………………………… ๒ โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School.......................................................... ๓ ส่วนที่ 2 แนวปฏิบัตกิ ารเตรียมการก่อนเปิดภาคเรยี น การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ เรียน.......................................................................... 5 การเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรียน.................................................................................. ๑๓ ส่วนท่ี 3 แนวปฏิบตั ริ ะหวา่ งเปดิ ภาคเรยี น กรณีเปดิ เรียนไดต้ ามปกติ (Onsite).............................................................................. ๒๒ กรณีโรงเรยี นไมส่ ามารถเปดิ เรียนได้ตามปกติ............................................................... 2๖ ส่วนท่ี 4 แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) รูปแบบการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ฯ.......... ๒๙ คลังความรู้ (Knowledge Bank) ทส่ี นบั สนนุ การเรยี นการสอนด้วยระบบ เทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Learning Platform)……………………………………………………. 3๓ แอปพลเิ คชัน (Applications) สนบั สนุนการเรยี นการสอนทางไกล............................... ๓๗ ส่วนท่ี 5 แผนเผชญิ เหตุ 4๒ ส่วนท่ี 6 บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง บทบาทของนกั เรยี น....................................................................................................... 4๕ บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา..................................................................... 4๕ บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา.................................................................................... ๔๗ บทบาทของผูป้ กครองนักเรียน....................................................................................... ๔๘ บทบาทขององคก์ รสนบั สนุน.......................................................................................... ๔๙ ภาคผนวก เอกสารอ้างอิง................................................................................................................. ๕๓ อภิธานศัพท์.................................................................................................................... 5๕ คณะทางาน..................................................................................................................... ๕๙

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน ควำมร้เู บ้อื งตน้ ท่คี วรรู้

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน สว่ นที่ ๑ ควำมรู้เบ้ืองตน้ ที่ควรรู้ การเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงศึกษาธิการเร่งดาเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชน ๒ เร่ืองที่สาคัญและนาสู่ การปฏิบัติ ได้แก่ การรณรงค์ให้นักเรียนอายุ ๑๒ - ๑๘ ปี เข้ารับการฉีดวัคซีน Pfizer และให้สถานศึกษา ปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School อยา่ งเครง่ ครดั จึงเปน็ ส่ิงจาเป็นสาหรบั นกั เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และบุคคลที่เกี่ยวข้อง จะต้องรับรู้และสามารถเข้ารับการฉีดวัคซีน Pfizer และ ปฏิบตั ิตามมาตรการไดอ้ ย่างเคร่งครดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน นอกจากวัคซีน Pfizer ที่รัฐนามาให้กับนักเรียนอายุ ๑๒-๑๘ ปี เข้ารับการฉีดแล้ว ยังมีวัคซีน ทางเลือกอีกหนง่ึ ย่หี ้อ ไดแ้ ก่ Sinopharm ทร่ี าชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ์ดาเนินการฉีดวคั ซนี ให้แก่เด็กและเยาวชน อายุระหว่าง ๑๐-๑๘ ปี ในโครงการ VACC 2 School ดังนั้น เพ่ือให้ความรู้เบ้ืองต้น สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงขอนาเสนอข้อมูลท่ีควรรู้ของ วัคซีน Pfizer วัคซีน Sinopharm และมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School พอสงั เขป ดงั นี้ ๑. วัคซนี Pfizer ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ช่วงปีที่ผ่านมาและ ปัจจุบันมีการกล่าวถึง เก่ียวกับการฉีดวัคซีน (COVID-19 Vaccines) กันมากมาย โดยเฉพาะการเร่งสร้าง “ภูมิคุ้มกันหมู่” ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยวัคซีนท่ีมีประสิทธิภาพเข้าช่วย มีวัคซีนท่ีผ่านการรองรับจากองค์การ อนามัยโลก (WHO) และทุกประเทศได้เลือกและนามาให้ประชาชนรับการฉีด วัคซีน (COVID-19 Vaccines) มีหน้าที่สาคัญ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าไปเพ่ิมจานวน และเสริมความแข็งแรงของ ภูมิคุ้มกันให้พร้อมเข้าทาลายสิ่งแปลกปลอม หรือไวรัสชนิดต่างๆ ที่แฝงเข้ามาในร่างกายได้ในทันที ซง่ึ ถอื เปน็ อาวธุ ชน้ิ สาคัญที่ช่วยยบั ย้ังความรุนแรง หมายรวมถงึ ช่วยลดอัตราการติดเชื้อและการเสียชวี ิตของ ประชาชน ปัจจุบันวัคซีนท่ีผ่านการรองรับจากองค์การอนามัยโลก (WHO) มีหลายย่ีห้อมีประสิทธิภาพ ในการทาหน้าทีแ่ ตกต่างกัน (โรงพยาบาลวชิ ยั เวชอนิ เตอรเ์ นช่นั แนล, ๖ ตุลาคม ๒๕๖๔) ไดแ้ ก่ ๑. Pfizer ผลติ โดยประเทศสหรัฐอเมริกา มปี ระสทิ ธิภาพ 95% ๒. Moderna ผลิตโดยประเทศสหรัฐอเมริกา มีประสทิ ธภิ าพ 94.5% ๓. Johnson and Johnson ผลิตโดยประเทศสหรัฐอเมริกา มีประสิทธิภาพ 66% ๔. AstraZeneca ผลิตโดยประเทศองั กฤษ มีประสทิ ธิภาพ 65% ๕. Covishield ผลิตโดยประเทศอินเดยี มีประสิทธภิ าพ 72% ๖. Sinovac ผลติ โดยประเทศจนี มีประสทิ ธภิ าพ >50% ๗. Sinopharm ผลติ โดยประเทศจีน มีประสิทธิภาพ 79-86% สาหรบั วัคซนี ท่ีรัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุขอนุมัติให้ฉดี กบั นักเรยี นอายุระหว่าง ๑๒-๑๘ ปี น้ัน ได้แก่ Pfizer ซึ่งองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รับรองการใช้วัคซีน Pfizer เม่ือวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ และประเทศไทยโดยองค์การอาหารและยา (อย.) ขึ้นทะเบียนเม่ือวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ กาหนดใหส้ ามารถฉดี วัคซีน Pfizer ให้แก่นกั เรยี น นกั ศึกษา อายรุ ะหวา่ ง ๑๒ - ๑๘ ปี ดังนน้ั ๑

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพื้นฐำน รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการกาหนด Kick Off การฉีดวัคซีน Pfizer ให้แก่ นักเรียนนักศึกษาอายุระหว่าง ๑๒ - ๑๘ ปี ในวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๖๔ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับ สถานศึกษามีความปลอดภัย และนักเรียนได้รับวัคซีนอย่างครบถ้วนเพื่อรองรับการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในรูปแบบ Onsite วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ซ่ึงสอดคล้องกับราชวิทยาลัย กมุ ารแพทยแ์ ห่งประเทศไทย (๒๒ กันยายน ๒๕๖๔) ไดต้ ดิ ตามข้อมลู ดา้ นประสิทธภิ าพ และความปลอดภัย ของวัคซีนโควิด ๑๙ ในเด็กและวัยรุ่น โดยคานึงถึงความปลอดภัย และประโยชน์ทางด้านสุขภาพของเด็ก เป็นสาคัญ และไดแ้ นะนาให้ฉดี วัคซีนที่ได้รับการรบั รองโดยสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ให้ ใช้กบั เดก็ และวยั รนุ่ ตง้ั แตอ่ ายุ ๑๒ ปขี ้ึนไป ซ่ึงขณะนม้ี ชี นดิ เดยี วทม่ี ีในประเทศไทยคือ วคั ซนี Pfizer วัคซีน Pfizer เป็นวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA Vaccine) กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี (Antigen) ให้ร่างกายรู้จักกับเช้ือโรคโควิด ๑๙ หลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์เข็มที่ ๒ แล้ว จะมีประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ สูงถึง ๙๑.๓% ในช่วง ๗ วันถึง ๖ เดือน หลังฉีดป้องกันความรุนแรงของโรค ได้ ๑๐๐% ป้องกันการติดเช้ือมีอาการที่ ๙๔% ป้องกันการติดโรค ๙๖.๕% ป้องกันการเสียชีวิต ๙๘- ๑๐๐% นอกจากนี้ยังมีประสิทธิภาพในการป้องกันโควิด๑๙ สายพันธ์ุอังกฤษ หรืออัลฟ่า ได้ถึง ๘๙.๕% ป้องกันโควิด ๑๙ สายพันธุ์แอฟริกาใต้ หรือเบต้า ได้ถึง ๗๕% งานวิจัยของหน่วยงานสาธารณสุขอังกฤษ พบว่าวคั ซนี Pfizer มปี ระสทิ ธิภาพ ๘๘% ในการป้องกนั การป่วยแบบมอี าการจากไวรสั เดลตา้ หรืออินเดีย การรบั วคั ซนี Pfizer รบั การฉดี ท้ังหมด ๒ เขม็ โดยเขม็ ท่ี ๒ ห่างจากเข็มแรก ๒๑-๒๘ วนั ใช้วิธีการ ฉีดเข้ากล้ามเน้ือแขนด้านบน ภูมิคุ้มกันจะเริ่มเกิดหลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์ไปแล้ว ๑๒ วัน แต่ภูมิคุ้มกัน จะทางานเต็มท่ีหลังจากฉีดครบ ๒ เข็มหลังการฉีดวัคซีนเข็ม ๑ หรือเข็ม ๒ ผู้รับการฉีดอาจมีผลข้างเคียง บา้ งแต่ไม่รุนแรง (โรงพยาบาลวิชยั เวชอินเตอรเ์ นชัน่ แนล, ๖ ตลุ าคม ๒๕๖๔) ๒. วัคซีน Sinopharm วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีนชนิดเชื้อตาย ผลิตโดยสถาบันชีววัตถุแห่งปักกิ่ง (Beijing Institute of Biological Products: BIBP) นาเข้าโดย บริษัท ไบโอจีนีเทค จากัด ได้รับการอนุมัติขึ้นทะเบียน ในประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๔ มีข้อบ่งใช้สาหรับฉีดเพ่ือกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ในผู้ท่ีมีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีข้ึนไป ฉีดครั้งละ ๑ โดส จานวน ๒ ครั้ง ห่างกัน ๒๑ - ๒๘ วัน ในประเทศไทย วัคซีน Sinopharm เป็นวัคซีนทางเลือกที่กระจายให้แก่องค์กร นิติบุคคล รวมถึงบุคคลธรรมดา ผ่านราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ตั้งแต่วันท่ี ๒๐ มิถุนายน จนถึงปัจจุบัน เป็นจานวนทั้งส้ิน ๑๕ ล้านโดส โดยทีผ่ ่านมาเป็นการฉีดให้แก่ผู้ทม่ี ีอายุต้ังแต่ ๑๘ ปขี น้ึ ไป วัคซีน Sinopharm อยู่ในระหว่างการพิจารณาข้อมูลเร่ืองการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยในเด็ก และขณะน้ีสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยังไม่ได้รับรองให้ใช้ในเด็ก และวัยรุ่น (ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย,๒๒ กันยายน ๒๕๖๔) ซ่ึงสอดคล้องกับราชวิทยาลัย จุฬาภรณ์ (ชนาธิป ไชยเหล็ก,๒๑ กันยายน ๒๕๖๔) กล่าวว่า การฉีดวัคซีน Sinopharm ในกลุ่มอายุต่ากวา่ ๑๘ ปี จะต้องได้รับการอนุมัติข้ึนทะเบียนจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ก่อน ถึงแม้ จะเป็นชนิดเชื้อตาย แต่ก็จาเป็นต้องมีข้อมูลการวิจัยในระยะที่ ๓ ซ่ึงเป็นระยะที่มีการศึกษาท้ังความ ปลอดภัยและประสิทธิผลของวัคซีนรองรับ และในเมื่อสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยังไม่ อนุมัติ การฉีดวคั ซีน Sinopharm ใหก้ ับนักเรยี นอายุ ๑๐-๑๘ ปี เป็นเพยี งโครงการวจิ ยั ของราชวทิ ยาลยั ๒

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน จุฬาภรณ์เท่าน้ัน โดยวันท่ี ๒๐ กันยายน ๒๕๖๔ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ นิธิ มหานนท์ เลขาธิการราช วิทยาลัยจุฬาภรณ์ฯ ได้เปิดโครงการ “VACC 2 School” ณ ศูนย์ฉีดวัคซีนตัวเลือกซิโนฟาร์ม บมจ. โทรคมนาคมแห่งชาติ ถ.แจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ฉีดวัคซีนให้กับนักเรียนกว่า ๒,๐๐๐ คน และจะ ดาเนินการฉีดจนถึงกลางเดือนตุลาคม โดยมีสถานศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล สมัครเข้าร่วมโครงการ รวม ๑๓๒ โรง คิดเป็นจานวนนกั เรยี นท้งั หมด ๑๐๘,๐๐๐ คน ๒. โรงเรียน Sandbox : Safety Zone in School กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย (นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย) มีการนาร่องเปิดการเรียนการสอนแบบ Onsite ตามมาตรการ Sandbox Safety Zone in School ในโรงเรยี นประเภทพกั นอน มีการดาเนนิ การระหว่างวันที่ ๑ เมษายน - ๑๑ กันยายน ๒๕๖๔ ซ่ึงมีการแบ่งโซนคัดกรอง โซนกักกันผู้สัมผัสเส่ียง และโซนปลอดภัยสีเขียว ร่วมกับ มาตรการต่าง ๆ มีการติดตามและประเมินผล พบว่าได้ผลดี แม้พบผู้ติดเช้ือเป็นการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อ ภายนอกและตรวจจับได้ นับได้ว่าเป็นระยะท่ี ๑ ท่ีประสบผลสาเร็จ จึงเตรียมขยายผลในโรงเรียนแบบ ไป - กลับ และโรงเรียนพักนอน - ไปกลับ ในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นระยะที่ ๒ โดยมาตรการจะเข้มข้นกว่าระยะท่ี ๑ เน้น ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวด สาหรับสถานศึกษา (ไทยรฐั ออนไลน์,๑๕ กนั ยายน ๒๕๖๔ ) ดังน้ัน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ สถานศึกษาของรัฐและสถานศึกษาของเอกชนทุกแห่ง ท้ังแบบพักนอน แบบไป-กลับ แบบพักนอน-ไปกลับ และลักษณะอ่ืน ๆ จะเปิดให้มีการเรียนการสอน ตามปกติแบบ Onsite ได้ สถานศึกษาจะต้องดาเนินการตามมาตรการท่ีเข้มข้น โดยเน้น ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสรมิ และ ๗ มาตรการเขม้ งวดสาหรับสถานศกึ ษาอยา่ งเครง่ ครัด ๓

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พื้นฐำน ๔

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน สว่ นท่ี ๒ แนวปฏบิ ตั กิ ารเตรยี มการก่อนเปดิ ภาคเรียน การเตรียมการก่อนการเปิดเรียน มีความสาคัญอย่างมากเน่ืองจากมีความเกี่ยวข้องกั บ การปฏิบัติตนของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพ่ือป้องกันไม่ให้มีการติดเชื้อ โรคโควิด ๑๙ ตัดความเส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกาหนดให้มแี นวปฏบิ ตั กิ ารเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น ๖ ขนั้ ตอน ดังน้ี ๑. สถานศึกษาต้องประเมินความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน โดยใช้แบบประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถ้าผลการประเมินเป็น สีเขียวให้เปิดเรียนได้ สีเหลืองให้ประเมินซ้า ถ้าผ่านให้เปิดเรียนได้ ถ้าผลการประเมินเป็นสีแดง จะต้อง เตรียมสถานศึกษาจนกว่าผลการประเมินจะเป็นสีเขียวหรือสีเหลือง หากยังคงมีผลการประเมินเป็นสีแดง ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับช้ัน เพอ่ื จะไดป้ ระสาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้สถานศึกษามีความพร้อม ก่อนเปดิ ภาคเรียน ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องได้รับการฉีดวัคซีนครบโดส ร้อยละ ๘๕ ข้ึนไป ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๔ ๓. นักเรียนและผู้ปกครองควรได้รับการฉีดวัคซีนตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะสถานศึกษาที่อยู่ในพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุด (พื้นท่ีสีแดง) และพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (พื้นที่สีแดงเข้ม) ๔. สถานศึกษานาผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบให้เปิดภาคเรียน และนาผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษาที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน รายงานต่อสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประสานสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเพ่ือนาเร่ืองเสนอต่อ คณะกรรมการโรคติดตอ่ จงั หวัด เพอื่ พิจารณาอนมุ ตั ิให้เปิดเรียนได้ ๕. สถานศึกษาที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการโรคติตต่อจังหวัดให้เปิดเรียนได้ ให้สถานศึกษา ปฏิบัติตามมาตรการที่กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขกาหนด โดยเน้น ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการ เสรมิ และ ๗ มาตรการเข้มงวด อย่างเครง่ ครัด ๖. สถานศึกษารายงานผลการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับช้ัน ภายในวันท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ๑. การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้สร้างเครื่องมือสาหรับสถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพื่อให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรยี น ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school ๕

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน แบบประเมินตนเองดังกล่าว ประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินท้ัง ๔๔ ข้อ ตามขั้นตอนการประเมินตนเอง ดังภาพ สีเขยี ว หมายถงึ โรงเรียนสามารถเปิดเรียนได้ (ผา่ นท้งั หมด 44 ข้อ) สีเหลือง หมายถงึ โรงเรยี นสามารถเปิดเรยี นได้ แต่ตอ้ งดาเนนิ การปรบั ปรงุ ให้เป็นไปตามมาตรฐานทก่ี าหนด (ผ่านข้อ 1-20 ทกุ ข้อ แตไ่ มผ่ ่านข้อ 21-40 ขอ้ ใดขอ้ หนึ่ง) สแี ดง หมายถึง โรงเรยี นไมส่ ามารถเปิดเรยี นได้ ตอ้ งดาเนนิ การปรับปรงุ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานทกี่ าหนด และ/หรือประเมินตนเองซ้า (ไมผ่ า่ นขอ้ ๑-๒๐ ขอ้ ใดขอ้ หนึ่ง) แบบประเมินตนเองสาหรับสถานศึกษาในการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น เพื่อเฝ้าระวงั และป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 (สถานศกึ ษาทาการประเมนิ ตนเองภายในเดอื นตลุ าคม 2564 เพื่อเตรยี มพรอ้ มเปดิ ภาคเรียนในเดอื นพฤศจกิ ายน 2564) ****************************************** คาชี้แจง แบบประเมินน้ีใช้สาหรับสถานศึกษาท่ีตั้งอยู่ในพื้นท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม 2๓ จังหวดั ) และพื้นท่ีควบคมุ สูงสดุ (สแี ดง 3๐ จังหวัด) จานวนรวม ๕๓ จังหวัด (ข้อมลู ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๖๔) พ้ืนท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) 2๓ จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี จันทบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ตาก นครปฐม นครนายก นครศรีธรรมราช นราธิวาส นนทบุรี ปทุมธานี ปราจีนบุรี ปัตตานี พระนครศรีอยุธยา ยะลา ระยอง ราชบุรี สงขลา สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สระบรุ ี พน้ื ที่ควบคุมสูงสุด (สีแดง) 3๐ จงั หวัด ไดแ้ ก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยนาท ชยั ภมู ิ ชุมพร เชยี งราย เชียงใหม่ ตรัง ตราด นครราชสีมา นครสวรรค์ ประจวบคีรีขันธ์ พัทลุง พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ มหาสารคาม ระนอง ลพบุรี ศรีสะเกษ สกลนคร สตูล สระแก้ว สิงห์บุรี สุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี สุรินทร์ อา่ งทอง อุดรธานี อบุ ลราชธานี ๖

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพืน้ ฐำน ชอื่ สถานศกึ ษา - โรงเรยี น……………………………………………………………………………………………..……………………………...….... - ศนู ย์การเรยี น………………………………………………………………………………………………………………….....……. - วิทยาลยั …………………………………………………………………………………………………………………….……...….... - มหาวทิ ยาลัย................................................................................................................................ ............ - อน่ื ๆ (ระบุ) ............................................................................................................................................ ชอ่ื -สกุล ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา (นาย /นาง/นางสาว/ยศ)............................................................................. สังกดั ………………………………………… (กาหนดใหเ้ ลือก 1 สังกัด เท่านนั้ ) ………………………………………..………. - สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (สพฐ.) o สานักเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา (สพป.) จังหวดั ............ เขต ........... (เลอื ก) o สานกั เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา (สพม.) จังหวัด ............... เขต ........... (เลอื ก) o สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ การศกึ ษาสงเคราะห์ เฉพาะความพกิ าร ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ - สานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช.) o เอกชนในระบบโรงเรยี น เอกชนสามญั ศกึ ษา เอกชนนานาชาติ o เอกชนนอกระบบโรงเรยี น สอนศาสนา ศลิ ปะและกีฬา วิชาชีพ กวดวชิ า เสริมสรา้ งทักษะชีวิต สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ตาดีกา - สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.) - สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) - กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถน่ิ (สถ.) o องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด (อบจ.) o เทศบาล o องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล (อบต.) - กรุงเทพมหานคร - กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน ๗

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน - สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ (พศ.) (โรงเรียนพระปริยัติธรรม) - กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม - กระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา - กระทรวงวฒั นธรรม - อื่นๆ (ระบ)ุ ...................................................................... นักเรียน........................คน ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา..........................คน รวม........................คน เลขท่ี................................... หมู่ที่..................................................ถนน.................................................. ตาบล..........................................(เลอื ก).........................อาเภอ......................(เลอื ก)............................. จงั หวัด...................................................................(เลือก)...................................................................... เบอร์โทรมือถือที่ตดิ ตอ่ ไดส้ ะดวก .………………………………………………………………………………………………. E-mail…………………………………………………………………………………………………………………………………… เกณฑก์ ารประเมินตนเอง ขอ้ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ (0) (1) มติ ทิ ี่ 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพรเ่ ชอื้ โรค 1 มกี ารจัดเวน้ ระยะห่าง อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร เชน่ ที่น่ังในห้องเรยี น ทีน่ งั่ ในโรงอาหาร ที่นั่งพัก จดุ ยืนรับ-สง่ สงิ่ ของ/อาหาร พร้อมตดิ สญั ลกั ษณ์ แสดงระยะห่างอย่างชัดเจน หรือไม่ 2 มีมาตรการใหน้ กั เรียน ครู บุคลากร และผเู้ ขา้ มาตดิ ต่อในสถานศกึ ษา ตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั 100% ตลอดเวลาที่อยใู่ น สถานศกึ ษา หรือไม่ 3 มจี ดุ ล้างมือด้วยสบูแ่ ละน้า หรือจัดวางเจลแอลกอฮอลส์ าหรับใช้ ทาความสะอาดมือ อย่างเพยี งพอและใช้งานได้สะดวก หรือไม่ 4 มีมาตรการคดั กรองวัดอณุ หภูมิใหก้ ับนักเรยี น ครู บุคลากร และผูเ้ ขา้ มา ติดตอ่ ทุกคน ก่อนเข้าสถานศึกษา หรือไม่ 5 มมี าตรการให้ลดการทากิจกรรมรวมกลมุ่ คนจานวนมาก และหลีกเลี่ยง การเขา้ ไปในพ้ืนทีท่ ่ีมคี นจานวนมากหรือพื้นที่เส่ยี งทม่ี ีการแพร่ระบาด ของโรค หรือไม่ 6 มีการทาความสะอาดพ้นื ผิวสัมผัสร่วมทกุ วนั เช่น ราวบนั ได ลกู บิด-มือจับ ประตู โตะ๊ เก้าอ้ี หรือไม่ 7 มมี าตรการใหน้ ักเรียน ครู และบคุ ลากร รบั ผดิ ชอบดูแลตนเอง มวี ินัย ซ่อื สัตยต์ ่อตนเอง ปฏิบตั ติ ามมาตรการอยา่ งเคร่งครัด และไม่ปดิ บังขอ้ มูล กรณสี ัมผสั ใกลช้ ิดกับผู้ติดเชอื้ หรอื ผู้สัมผัสเสี่ยงสงู หรือไม่ ๘

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พนื้ ฐำน ข้อ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ (0) (1) 8 มมี าตรการใหน้ กั เรียน ครู และบุคลากร กินอาหารด้วยการใช้ช้อนสว่ นตวั ทกุ ครงั้ และงดการกินอาหารร่วมกนั หรือไม่ 9 มีมาตรการส่งเสริมใหก้ ินอาหารปรุงสุกใหม่ร้อน และจดั ให้บริการอาหาร ตามหลักสุขาภบิ าลและหลกั โภชนาการ หรือไม่ 10 มกี ารจดั ระบบใหน้ ักเรยี น ครู บคุ ลากร และผเู้ ขา้ มาตดิ ตอ่ ในสถานศึกษา ทุกคน ลงทะเบยี นไทยชนะตามทรี่ ฐั กาหนดด้วย app ไทยชนะ หรอื ลงทะเบียนบันทกึ การเขา้ - ออกอยา่ งชัดเจน หรือไม่ 11 มีการจัดระบบการตรวจสอบ ดแู ล และเฝ้าระวงั นักเรียน ครู บคุ ลากร หรอื ผทู้ ่มี าจากพ้นื ทเี่ ส่ียง เพ่ือเข้าสกู่ ระบวนการคัดกรอง หรอื ไม่ 12 มีมาตรการให้นกั เรยี น ครู หรือบุคลากรทมี่ ปี ระวัตสิ ัมผสั ใกลช้ ิดกับ ผตู้ ิดเชอื้ หรอื ผสู้ มั ผสั เสย่ี งสูง กกั กนั ตัวเอง 14 วัน หรอื ไม่ 13 มกี ารปรับปรงุ ห้องเรยี นให้มสี ภาพการใช้งานไดด้ ี เปิดประตูหนา้ ตา่ ง ระบายอากาศ ถา่ ยเทสะดวก กรณีใช้เคร่ืองปรับอากาศ กาหนดเวลา เปิด – ปิด ประตหู น้าตา่ งระหว่างเวลาพักเทีย่ งหรือไม่มีการเรยี น การสอนและทาความสะอาดอยา่ งสมา่ เสมอ หรอื ไม่ 14 มีการทาความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนร่วม เชน่ หอ้ งคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี อุปกรณ์กฬี า และอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการเรยี นการสอน กอ่ นและ หลงั ใช้งานทุกคร้ัง หรือไม่ 15 มีการจดั สภาพแวดล้อมบรเิ วณภายในสถานศึกษาใหส้ ะอาดและปลอดภยั มี การจัดการขยะท่ีเหมาะสม รวมถึงการดูแลความสะอาดห้องส้วม หรอื ไม่ 16 มีมาตรการสง่ เสริมใหน้ ักเรียน ครู และบคุ ลากร รูจ้ ักและหม่ันสังเกต อาการเสยี่ งจาก โรคโควิด 19 เชน่ ไข้ ไอ นา้ มกู เจ็บคอ คอแห้ง อ่อนเพลีย หายใจลาบาก หายใจเร็ว เจบ็ แน่นหนา้ อก เสยี การดมกล่ิน ล้นิ ไมร่ ับรส ตาแดง มีผืน่ ทอ้ งเสีย หรอื ไม่ 17 มีมาตรการให้นกั เรียน ครู และบุคลากร ประเมนิ ความเสีย่ งของตนเอง ผ่าน Thai save Thai (TST) อย่างต่อเนอ่ื ง หรอื ไม่ 18 มมี าตรการเฝ้าระวังตรวจคดั กรอง ด้วย Antigen Test Kit (ATK) ตามแนวทางท่ีกาหนด หรือไม่ 19 มมี าตรการสนับสนนุ ให้ครู บุคลากร และฝา่ ยสนับสนุน (Support Staff) เขา้ ถึงการฉีดวัคซีน มากกว่าร้อยละ 85 หรอื ไม่ 20 มีห้องพยาบาลหรอื มีพื้นท่เี ปน็ สัดสว่ นสาหรับสังเกตอาการผู้มีอาการเสยี่ ง หรอื จัดใหม้ ี School Isolation หรือไม่ ๙

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน ขอ้ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ (0) (1) ( 1 ) ไม่มที พ่ี ัก มิติท่ี 2 การเรียนรู้ และเรอื นนอน ( 1 ) ไมม่ ี 21 มีการติดปา้ ยประชาสัมพนั ธก์ ารปฏิบัตติ นเพ่อื สุขอนามยั ปลอดภัยจากโรค สถานทปี่ ฏบิ ัติ โควิด 19 หรือไม่ (เช่น เว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล (D) สวมหน้ากากผ้า ศาสนกจิ หรอื หนา้ กากอนามัย (M) วิธลี ้างมอื ที่ถกู ต้อง (H) เปน็ ต้น) 22 มกี ารจดั การเรยี นการสอนเก่ียวกับโรคและการป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคโควดิ 19 สอดคล้องตามวัยของผเู้ รยี น หรือไม่ 23 มีการจัดหาส่ือความร้กู ารปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด- 19สาหรับ ประกอบการเรยี นการสอน การเรยี นรนู้ อกห้องเรยี นในรปู แบบของส่ือ ๒๔ มีการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นตามวัยใหม้ คี วามคิดสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม สุขภาพ และแลกเปล่ียนเรยี นร้บู ทเรียนการป้องกันการแพร่ระบาดของ โรคโควดิ ๑๙ โดย ศกึ ษาค้นควา้ จากแหล่งความรูท้ างวชิ าการ ดา้ นสาธารณสขุ หรอื แหล่งขอ้ มูลเช่อื ถือได้ หรอื ไม่ ๒๕ มนี ักเรยี นแกนนาด้านสุขภาพหรือผูพ้ ิทักษ์อนามัยโรงเรยี นอยา่ งน้อย ห้องเรียนละ ๒ คน เปน็ จิตอาสา อาสาสมัครเป็นผชู้ ่วยครอู นามยั ทาหนา้ ที่ ดูแลช่วยเหลือ เฝา้ ระวงั คัดกรองสขุ ภาพ และงานอนามยั โรงเรยี น หรือไม่ มติ ทิ ่ี 3 การครอบคลมุ ถึงเด็กด้อยโอกาส ๒๖ มกี ารจัดเตรยี มหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยสารองสาหรับนักเรยี น ทต่ี ้องการใช้ หรือไม่ ๒๗ มีมาตรการสนบั สนุนอุปกรณ์ของใชส้ ขุ อนามัยส่วนบคุ คลในการป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคโควดิ ๑๙ สาหรับกล่มุ เปราะบาง หรอื ไม่ 28 มมี าตรการสง่ เสริมให้นักเรียน อายุ 12-18 ปี กลุม่ เสยี่ งที่มีน้าหนกั มาก มโี รคประจาตัว 7 กลุ่มโรค หรือกล่มุ เปา้ หมาย เข้าถงึ การฉีดวคั ซีนปอ้ งกัน โควิด 19 ตามแนวทางทีร่ ัฐกาหนด หรือไม่ 29 มีมาตรการคัดกรองวดั อุณหภูมิ ตรวจ ATK เวน้ ระยะหา่ ง ทาความสะอาด ที่พักเรือนนอน และจัดสภาพแวดล้อมให้ถูกสขุ ลักษณะ และมีตารางเวร ทาความสะอาดทุกวนั หรอื ไม่ (กรณีมีท่ีพักหรอื เรือนนอน) 30 มีมาตรการคัดกรองวดั อณุ หภูมิ ตรวจ ATK เวน้ ระยะห่าง ทาความสะอาด สถานท่แี ละจดั สภาพแวดลอ้ มใหส้ อดคล้องกับขอ้ บัญญัตกิ ารปฏบิ ัติ ด้านศาสนกิจและมตี ารางเวรทาความสะอาดทุกวันหรือไม่ (กรณมี สี ถานที่ ปฏิบตั ิศาสนากิจ) ๑๐

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน ข้อ ประเด็น มี ไม่มี หมายเหตุ มติ ิท่ี 4 สวัสดิภาพและการคมุ้ ครอง (1) (0) 31 มแี ผนเผชญิ เหตุและแนวปฏบิ ัติรองรบั กรณมี ผี ตู้ ิดเชื้อในสถานศกึ ษา หรือ (๑) ไม่มรี ถ ในชุมชน และมกี ารซกั ซ้อมการปฏบิ ัติอย่างเข้มงวด หรอื ไม่ รับ-สง่ นักเรยี น 32 มกี ารส่อื สารประชาสมั พันธ์ข้อมลู ข่าวสารการติดเชือ้ และการปฏบิ ตั ติ น อย่างเหมาะสม เพ่อื ลดการรังเกยี จและการตีตราทางสงั คม (Social stigma) ตอ่ ผู้ตดิ เช้ือโควิด 19 หรอื ผูส้ ัมผสั เสยี่ งสงู หรอื ไม่ 33 มีแนวปฏบิ ตั กิ ารจดั การความเครียดของครูและบคุ ลากร หรือไม่ 34 มีการสารวจตรวจสอบประวัติเส่ยี งและการกกั ตัวของนักเรียน ครู และ บุคลากร ก่อนเปดิ ภาคเรยี น และเขา้ มาเรยี น เพื่อการเฝา้ ระวังติดตาม หรือไม่ 35 มเี อกสารคมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ านเป็นขัน้ ตอน (SOP) ประจาห้อง พยาบาล เกี่ยวกับแนวปฏบิ ตั ิการป้องกัน และกรณีพบผู้สมั ผสั เสี่ยงสูง หรอื ผู้ติดเชื้อยนื ยันในสถานศึกษาหรือในชุมชน หรอื ไม่ มติ ทิ ่ี 5 นโยบาย 36 มีนโยบายเน้นการปฏิบตั ติ ามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคล 6 มาตรการ หลัก (DMHT-RC) 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) เปน็ ลายลักษณ์อักษร หรือมีหลักฐานชัดเจน หรอื ไม่ 37 มนี โยบายการเฝ้าระวังคดั กรอง ตัดความเสยี่ ง และสรา้ งภมู ิค้มุ กัน ด้วย 3T1V (TSC Plus , Thai Save Thai , ATK , Vaccine) และถือปฏบิ ตั ิได้ หรือไม่ 38 มนี โยบายเขม้ ควบคุมดแู ลการเดนิ ทางไป-กลับของนักเรียนใหม้ คี วาม ปลอดภัย (Seal Route) หรอื ไม่ ๓๙ นโยบายตามมาตรการการป้องกนั แพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ใน สถานศึกษา สอดคล้องตามบรบิ ทพื้นท่ี และมีการส่ือสารประชาสมั พนั ธ์ ใหน้ ักเรียน ครู และบุคลากร รบั ทราบอยา่ งทัว่ ถงึ หรอื ไม่ ๔๐ นโยบายการบรหิ ารจดั การการปอ้ งกันการแพร่กระจายเช้ือโรคบนรถ รบั - ส่งนกั เรยี น อาทิ ทาความสะอาดภายใน – นอกรถก่อนและหลงั ใช้ งาน เวน้ ระยะหา่ งทน่ี ่งั มปี ้ายสัญลกั ษณ์แสดงทนี่ ่งั ชดั เจน สวมหนา้ กากผ้า หรอื หนา้ กากอนามัยขณะอยบู่ นรถ มเี จลแอลกอฮอลบ์ นรถ และงด – ลด การพดู คยุ หยอกล้อเลน่ กันบนรถ หรือไม่ (กรณรี ถรับ – สง่ นกั เรียน) ๑๑

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน ขอ้ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ มติ ิที่ 6 การบรหิ ารการเงิน (1) (0) 41 มแี ผนการใชง้ บประมาณสาหรบั เปน็ ค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา หรอื ไม่ 42 มีการจัดหาวสั ดอุ ปุ กรณป์ ้องกันโรคโควดิ 19 เช่น ATK หนา้ กากผ้าหรือ หนา้ กากอนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ อยา่ งเพียงพอ หรอื ไม่ 43 มกี ารบริหารจัดการการเงินเพื่อดาเนินกิจกรรมการปอ้ งกนั การแพร่ ระบาดของโรคโควิด 19 ตามความจาเป็นและเหมาะสม หรือไม่ 44 มกี ารจดั หาบคุ ลากรทาหน้าท่ีเฝา้ ระวัง ตรวจสอบ สอดสอ่ งดแู ลสขุ ภาพ นกั เรียน และจัดการสภาพแวดลอ้ มในสถานศึกษาในชว่ งสถานการณ์ โควิด 19 ผลการประเมนิ เกณฑป์ ระเมนิ Ranking สเี ขยี ว ผ่านทง้ั หมด 44 ขอ้ สเี หลือง ผ่านข้อ 1 - 20 ทกุ ข้อ แต่ไม่ผา่ น ข้อ 21 - 44 ข้อใดข้อหน่ึง สแี ดง ไมผ่ า่ น ข้อ 1 - 20 ข้อใดขอ้ หน่งึ การแปลผล หมายถึง โรงเรยี นสามารถเปิดเรียนได้  สีเขยี ว  สเี หลอื ง หมายถงึ โรงเรยี นสามารถเปิดเรียนได้ แต่ต้องดาเนินการปรับปรงุ ให้เปน็ ไป ตามมาตรฐานท่ีกาหนด  สแี ดง หมายถึง โรงเรียนไม่สามารถเปดิ เรียนได้ ต้องดาเนนิ การปรับปรุงให้เปน็ ไป ตามมาตรฐานท่ีกาหนด และ/หรือประเมินตนเองซา้ จนกว่าจะผา่ นทงั้ หมด โรงเรียนสามารถเปิดเรยี นได้ ลงชอ่ื ผู้ประเมิน ………………………………………………….... วนั ทป่ี ระเมิน ………………………………......... หมายเหตุ : สถานศึกษาประเมินตนเองเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี นผ่านระบบ Thai stop covid กรมอนามยั ได้ท่ี https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th ๑๒

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน QR Code แบบประเมนิ ตนเองสาหรับสถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนเพ่ือเฝา้ ระวังและป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 เมื่อสถานศึกษาประเมินตนเอง ผ่านการประเมินท้ัง ๔๔ ข้อ จะได้รับใบประกาศรับรองมาตรฐาน จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ดังภาพตัวอยา่ ง ๒. กำรเตรยี มกำรกอ่ นเปิดภำคเรยี น สถานศึกษาดาเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาตามข้อกาหนดตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๓๔) ลงวันท่ี ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ กาหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทตี่ ้งั อย่ใู นพน้ื ท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สแี ดงเข้ม) โดยจาแนกประเภทของ สถานศกึ ษา ดงั นี้ ๒.๑ มำตรกำร Sandbox : Safety Zone in School ประเภทพกั นอน มหี ลักเกณฑท์ ่ตี อ้ งปฏบิ ตั อิ ย่างเคร่งครดั ๔ องคป์ ระกอบ ดังน้ี ๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพ้ืนท่ีโดยรอบอาคารของสถาบันการศึกษา ประเภทพักนอนหรอื โรงเรียนประจา ประกอบดว้ ย ๑.๑ หอพักนักเรยี นชาย และ/หรอื หอพักนกั เรียนหญงิ ๑.๒ พน้ื ที/่ อาคารสนับสนุนการบริการ ๑.๓ พืน้ ที่/อาคารเพอ่ื จัดการเรยี นการสอน ๑.๔ สถานท่ีพักครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยจดั อาคารและพน้ื ท่โี ดยรอบให้เป็นไปตามมาตรการทก่ี ระทรวงสาธารณสุขกาหนด ๑๓

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน ๒. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียน ท่ีประสงค์จะดาเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้มีการประชุมหารือ ร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และมีมติให้ความเห็นชอบ ร่ ว ม กั น ใ น ก า ร จั ด พื้ น ที่ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น รู ป แ บ บ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนาเสนอโครงการผ่านต้นสังกัดในพ้ืนท่ี แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ โรคตดิ ต่อกรุงเทพมหานคร หรือ คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวัด ๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียน หรือสถานศึกษาต้อง เตรียมการประเมินความพรอ้ ม ดังนี้ โรงเรยี น หรอื สถานศึกษา ตอ้ งดาเนนิ การ ๓.๑ ต้องประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID ๓.๒ ต้องจัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) สาหรับรองรับการดูแล รักษาเบ้ืองต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด ๑๙ หรือผลตรวจคัดกรอง หาเชื้อเป็นบวก รวมถึงมีแผนเผชิญเหตุและมีความร่วมมือกับสถานพยาบาลเครือข่ายในพื้นท่ีที่ดูแล อยา่ งใกลช้ ดิ ๓.๓ ตอ้ งจดั อาคารและพ้นื ทีโ่ ดยรอบใหเ้ ป็นอาณาเขตในรปู แบบ Sandbox ในโรงเรียน ดงั นี้ ๑) Screening Zone จัดพ้ืนที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง (Screening Zone) ท่ีเหมาะสม จัดจุดรับ-ส่ง ส่ิงของ จุดรับ-ส่งอาหาร หรือจุดเส่ียงอื่น เป็นการจาแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผู้มาติดต่อ ที่เข้ามาในโรงเรียน ไม่ให้ใกล้ชิดกับบุคคลในโซนอ่ืน รวมถึงจัดให้มีพื้นที่ปฏิบัติงานเฉพาะบุคลากร ทีไ่ ม่สามารถเขา้ ปฏิบัตงิ านในโซนอื่นได้ ๒) Quarantine Zone จัดพ้ืนท่ีหรือบริเวณให้เป็นจุดกักกัน และสังเกตอาการ สาหรับนักเรียน ครู และ บคุ ลากรทีย่ งั ต้องสังเกตอาการ เน้นการจัดกิจกรรมแบบ Small Bubble ๓) Safety Zone จัดเป็นพื้นท่ีปลอดเชื้อ ปลอดภัย สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรท่ีปฏิบัติภารกิจ กจิ กรรมแบบปลอดภัย ๓.๔ ต้องมีระบบ/แผนรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจราชการ บูรณาการร่วมกัน ระหว่างกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกบั กระทรวงสาธารณสุข ทั้งชว่ งก่อน และระหว่างดาเนนิ การ นกั เรยี น ครู และบคุ ลากร ต้องปฏบิ ตั ิ ๑) ครู และบคุ ลากร ตอ้ งได้รบั การฉดี วัคซนี ครบโดส(๒ เข็ม) ต้งั แต่รอ้ ยละ ๘๕ ขน้ึ ไป ๒) นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนหรือสถานศึกษา ทุกคนต้องตรวจคัดกรองหาเช้ือ ดว้ ยวธิ กี ารทเี่ หมาะสม กอ่ นเข้า Quarantine Zone ๑๔

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน ๓) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา มีการแยกกักตัว สังเกตอาการให้ครบกาหนด ๑๔ วัน ก่อนเข้าสู่ Safety Zone (กรณีย้ายมาจาก State Quarantine ให้พิจารณาลดจานวนวันกักตัวลง ตามความเหมาะสม ๗-๑๐ วัน) รวมถึงการทากิจกรรมในแบบ Small Bubble และหลีกเลี่ยงการทา กจิ กรรมขา้ มกลมุ่ กัน ๔) ถ้านักเรียน ครู และบุคลากรมีอาการเข้าข่าย (Inclusion Criteria) กับการติดเช้ือโควิด ๑๙ หรือสมั ผัสกลมุ่ เสยี่ งสูง ใหด้ าเนนิ การตรวจคดั กรองหาเชอ้ื ดว้ ยวิธที ี่เหมาะสม โดยเฉพาะกลุ่มท่ไี มไ่ ด้รบั วัคซีน ตามเกณฑ์พร้อมท้ังรายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสุขในพ้ืนที่ทันที และปฏิบัติตามแผนเผชิญ เหตุกรณีมผี ลตรวจเปน็ บวก ๔. องค์ประกอบด้านการดาเนินการของโรงเรียนหรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา ต้องดาเนินการ ดังนี้ ๔.๑ โรงเรียนหรือสถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนได้ ท้ังรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) ๔.๒ นักเรยี น ครู และบคุ ลากร ทุกคนตอ้ งประเมิน Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จาแนก ตามเขตพน้ื ทกี่ ารแพร่ระบาด ๔.๓ ให้มีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวิธีการที่เหมาะสม ท้ังนักเรียน ครู และบุคลากร ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับสถานศกึ ษา เพ่อื เฝา้ ระวงั ตามเกณฑจ์ าแนกตามเขตพื้นที่การแพรร่ ะบาด ๔.๔ ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT- RC) และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ๔.๕ ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางมาตรการเขม้ สาหรบั สถานศึกษาอยา่ งเครง่ ครัด ดงั น้ี ๔.๕.๑ สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏิบัตอิ ยา่ งเขม้ ข้น ตอ่ เนื่อง ๔.๕.๒ ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการทากิจกรรม ข้ามกลุ่มกัน และจัดนักเรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่าง ระหว่างนักเรียนในห้องเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการ โรคตดิ ต่อจังหวัด ๔.๕.๓ จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจัดซื้อจัดหาวตั ถุดบิ จากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรือการส่ังซ้ืออาหารตามระบบนาส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะ และต้องมรี ะบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนามาบริโภค ๔.๕.๔ จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คณุ ภาพนา้ อปุ โภคบรโิ ภค และการจัดการขยะ ๔.๕.๕ จัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นท่ีแยกกักตัว ช่ัวคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสาหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากร ในสถานศึกษามีการตดิ เชอ้ื โควดิ ๑๙ หรือผลตรวจคดั กรองหาเช้อื เปน็ บวก โดยมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด ๔.๕.๖ ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อยา่ งเขม้ ข้น โดยหลกี เล่ยี งการเข้าไปสัมผัสในพ้ืนทต่ี ่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง ๑๕

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน ๒.2 มำตรกำร Sandbox : Safety Zone in School ประเภทไป-กลับ สาหรับโรงเรียนหรือ สถาบันการศกึ ษาประเภทไป-กลับ ที่มคี วามพรอ้ มและผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีหลกั เกณฑท์ ี่ตอ้ งปฏบิ ตั อิ ย่างเครง่ ครดั ๔ องค์ประกอบ ดงั นี้ ๑. องค์ประกอบด้านกายภาพ ลักษณะอาคารและพื้นที่โดยรอบอาคารของโรงเรียน หรอื สถาบันการศึกษา ประกอบด้วย ๑.๑ พนื้ ที/่ อาคารสนับสนุนการบรกิ าร ๑.๒ พ้ืนท/ี่ อาคารเพอ่ื จดั การเรียนการสอน โดยจดั อาคารและพนื้ ทโ่ี ดยรอบให้เปน็ พ้นื ที่ปฏบิ ตั งิ านท่ปี ลอดภัย และมีพืน้ ที่ทีเ่ ปน็ Covid free Zone ๒. องค์ประกอบด้านการมีส่วนร่วม ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียน หรือสถานศึกษาท่ีประสงค์จะดาเนินการในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ต้องจัดให้ มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และมีมติให้ ความเห็นชอบร่วมกันในการจัดพื้นท่ีการเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนาเสนอโครงการผ่านต้นสังกัดในพื้นที่ แล้วขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ โรคติดตอ่ กรุงเทพมหานคร หรอื คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวัด ๓. องค์ประกอบด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้อง เตรียมการประเมนิ ความพร้อม ดังน้ี ๓.๑ โรงเรียน หรือสถานศึกษา ตอ้ งดาเนินการ ๑) ต้องผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมินผล ผา่ น MOECOVID ๒) ต้องจัดให้มีสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพ้ืนท่ีแยกกักตัว ช่ัวคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสาหรับรองรับการดูแลรักษาเบ้ืองต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากร ในสถานศึกษากรณีมีการติดเชื้อโควิด ๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเช้ือเป็นบวก โดยมีการซักซ้อม อย่างเครง่ ครดั โดยมีความร่วมมอื กับสถานพยาบาลเครือขา่ ยในพน้ื ท่ที ่ีดแู ลอย่างใกล้ชดิ ๓) ต้องควบคุมดูแลการเดินทางระหว่างบ้านกับโรงเรียนอย่างเข้มข้น โดยหลีกเลี่ยง การเข้าไปสัมผัสในพน้ื ทีต่ า่ งๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง ๔) ต้องจัดพ้ืนท่ีหรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรอง ( Screening Zone) ที่เหมาะสม จัดจุดรับ-ส่งสิ่งของ จุดรับ-ส่งอาหาร หรือจุดเส่ียงอื่น เป็นการจาแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครอง และผ้มู าติดต่อท่ีเขา้ มาในโรงเรียน ๕) ตอ้ งมรี ะบบ และแผนรบั การติดตามประเมินความพร้อม โดยทมี ตรวจราชการบรู ณาการ รว่ มกันระหวา่ งกระทรวงศึกษาธกิ าร และกระทรวงสาธารณสขุ ท้งั ชว่ งก่อน และระหวา่ งดาเนินการ ๓.๒ นักเรยี น ครู และบุคลากร ต้องปฏิบัติ ๑) ครู และบุคลากร ตอ้ งไดร้ ับการฉดี วคั ซีนครบโดส ตั้งแตร่ ้อยละ ๘๕ ขึ้นไป ๒) นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามีการทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble และหลีกเล่ยี งการทากิจกรรมข้ามกลุ่มกนั ๓) ถ้านักเรียน ครู และบุคลากรมีอาการเข้าข่าย (Inclusion Criteria) กับการติดเชื้อ โควิด ๑๙ หรือสมั ผัสกลุม่ เส่ียงสงู ให้ดาเนินการตรวจคัดกรองหาเช้ือด้วยวิธีท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะกลุ่มที่ ๑๖

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พนื้ ฐำน ไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์พร้อมท้ังรายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ทันที และปฏิบัติ ตามแผนเผชญิ เหตกุ รณมี ีผลตรวจเป็นบวก ๔. องค์ประกอบด้านการดาเนินการของโรงเรียน หรือสถานศึกษา ระหว่างภาคการศึกษา ต้องดาเนนิ การ ดงั น้ี ๔.๑ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ท้ังรูปแบบ Onsite หรือ Online หรือแบบผสมผสาน (Hybrid) ๔.๒ นักเรยี น ครู และบคุ ลากรทอ่ี ยูใ่ นพ้นื ท่ตี อ้ งประเมนิ Thai Save Thai (TST) อยา่ งตอ่ เนื่อง ตามเกณฑจ์ าแนกตามเขตพื้นท่กี ารแพร่ระบาด ๔.๓ นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษามีการสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อเป็นระยะ ตามแนวทางของคณะกรรมกรรมการควบคุมโรคระดับจังหวดั กาหนด ๔.๔ ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) ๔.๕ นักเรียน ครู และบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เขียนบันทึก Timeline กิจกรรม ประจาวันและการเดินทางเข้าไปในสถานท่ีต่าง ๆ แต่ละวันอยา่ งสม่าเสมอ ๔.๖ ปฏิบัติตามแนวทาง ๗ มาตรการเข้มงวดสาหรับสถานศึกษาประเภทไป-กลับ อย่างเครง่ ครดั ๔.๖.๑ สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผ่าน MOECOVID โดยถอื ปฏบิ ัติอย่างเขม้ ขน้ ตอ่ เนื่อง ๔.๖.๒ ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเล่ียงการทากิจกรรม ข้ามกลุ่มกัน และจัดนักเรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๘ x ๘ เมตร) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่าง ระหว่างนักเรียนในห้องเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการ โรคติดตอ่ จงั หวดั ๔.๖.๓ จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลกั มาตรฐานสขุ าภบิ าลอาหาร และหลกั โภชนาการ อาทเิ ช่น การจดั ซอ้ื จดั หาวตั ถุดิบจากแหลง่ อาหาร การปรุงประกอบอาหาร หรือการส่ังซื้ออาหารตามระบบนาส่งอาหาร (Delivery) ท่ีถูกสุขลักษณะ และ ตอ้ งมรี ะบบตรวจสอบทางโภชนาการกอ่ นนามาบรโิ ภค ๔.๖.๔ จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คณุ ภาพนา้ อุปโภคบรโิ ภค และการจดั การขยะ ๔.๖.๕ จัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพ้ืนที่แยกกัก ช่ัวคราว รวมไปถึงแผนเผชิญเหตุสาหรับรองรับการดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากร ในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควดิ ๑๙ หรือผลตรวจคัดกรองหาเชื้อเปน็ บวก โดยมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด โดยมคี วามรว่ มมือกบั สถานพยาบาลเครอื ข่ายในพ้ืนทท่ี ีด่ แู ลอย่างใกล้ชิด ๔.๖.๖ ควบคุมดูแลการเดินทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลกี เลย่ี งการเข้าไปสัมผัสในพื้นท่ีต่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทางจากบ้านไป-กลับโรงเรียน ทั้งกรณีรถ รบั -ส่งนกั เรยี น รถสว่ นบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ ๑๗

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน ๔.๖.๗ ให้จัดให้มี School Pass สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซ่ึงประกอบดว้ ยขอ้ มูล ผลการประเมนิ TST ผลตรวจคดั กรองหาเชอื้ ตามแนวทางคณะกรรมการควบคุมโรค ระดับพื้นท่ี และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะพ้ืนท่ีควบคุมสูงสดุ (พน้ื ท่ีสแี ดง) และพน้ื ทค่ี วบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (พนื้ ท่สี ีแดงเขม้ ) ๔.๗ กาหนดให้สถานประกอบกิจการ กิจกรรม ที่อยู่รอบร้ัวสถานศึกษาให้ผ่านการประเมิน Thai Stop Covid Plus (TSC+) Covid Free Setting โดยให้มีการกากับร่วมกับคณะกรรมการโรคติดต่อ ระดบั พื้นท่ี 2.3 มำตรกำร Sandbox : Safety Zone in School สำหรับโรงเรียนหรอื สถำนศึกษำอน่ื สถานศึกษาดาเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือ สถาบันการศึกษาตามข้อกาหนดตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๔) ลงวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ กาหนดมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School โดยจาแนกประเภทของสถานศึกษา ๒ ประเภท ได้แก่ ประเภทพักนอน และ ประเภทไป-กลับเท่านั้น เนื่องจากโรงเรียนหรือสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน มีประเภทโรงเรยี น หรือสถานศกึ ษาทมี่ ีลกั ษณะทีแ่ ตกตา่ ง เชน่ ๑. ประเภทพักนอนและไป-กลบั ๒. ขนาดโรงเรยี น หรือสถานศึกษา ขนาดเลก็ ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ๓. ระดับการจดั การเรยี นการสอน ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษา ๔. สถานศึกษาท่ีนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับการฉีดวัคซีน หรือยังไม่ได้ รับการฉดี วัคซนี หรอื ได้รบั การฉีดวัคซีนบางส่วน และ ๕. โรงเรยี นหรือสถานศกึ ษา ลกั ษณะอ่ืน ๆ โรงเรียน หรือสถานศกึ ษา ตอ้ งดาเนนิ การ ดังนี้ ๑. ต้องปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ที่กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนดอย่างเคร่งครัด ครบท้ัง ๔ องค์ประกอบ ๒. กรณีโรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นประเภทพักนอนและไป-กลับ ต้องนามาตรการ Sandbox : Safety Zone in School มาบูรณาการในการปฏิบัติระหว่างประเภทพักนอน และประเภทไป- กลับ อยา่ งเคร่งครัด หมายเหตุ มาตรการและแนวทางปรับตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ข้ึนอยู่กับ คณะกรรมการควบคุมโรคจังหวดั หรือคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ กรุงเทพมหานครกาหนด ท้ังน้ี โรงเรียน หรือ สถานศึกษาทุกประเภท ทุกลักษณะ ที่ประสงค์จะขอเปิดการเรียนการสอน โดยดาเนินการตามรูปแบบ Sandbox: Safety Zone in School และเสนอขออนุมัติเปิดเรียนต่อผู้แทน กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขในพื้นท่ีพิจารณา และเสนอต่อคณะกรรมการโรคติดต่อ กรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด โดยต้องจัดทาแผนงานและแสดงความพร้อม การดาเนนิ การตามองค์ประกอบข้อ ๑-๔ ใหค้ รบถ้วน ๑๘

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน สรุปตำรำงมำตรกำร Sandbox: Safety Zone in School จำแนกตำมเขตพืน้ ที่แพรร่ ะบำด เขตพ้ืนท่ี มำตรกำร ตรวจคดั กรอง กำรเข้ำถงึ วคั ซีน ประเมิน กำรแพร่ระบำด ควำมเสี่ยง หำเชอ้ื พื้นทเ่ี ฝ้าระวัง (TST) (สเี ขยี ว) ๑. เข้ม ๖ มาตรการหลัก\" (DMHT-RC) - ครแู ละบคุ ลากร และ ๖ มาตรการเสริม** (SSET-CQ) ในสถานศึกษาไดร้ ับ ๑ วันต่อ พน้ื ทีเ่ ฝ้าระวังสูง มกี าร การฉีดวคั ซีนเข็ม ๑ สัปดาห์ (สเี หลือง) ๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สาหรบั สุ่มตรวจ แลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๕% สถานศึกษาแบบไป-กลับ เปน็ ระยะๆ* ๑ วันตอ่ พื้นทคี่ วบคุม มีการ ครูและบุคลากรใน สัปดาห์ (สสี ม้ ) ๑. เขม้ ๖ มาตรการหลกั \" (DMHT-RC) ส่มุ ตรวจ สถานศกึ ษาไดร้ ับการ และ ๖ มาตรการเสริม** (SSET-CQ) เปน็ ระยะๆ* ฉีดวัคซีนเขม็ ๑ แลว้ ๒ วนั พื้นทค่ี วบคุมสูงสดุ ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๕% ตอ่ สปั ดาห์ (สแี ดง) ๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สาหรบั มีการ สถานศกึ ษาแบบไป-กลับ สุ่มตรวจ ครแู ละบคุ ลากร ๓ วนั ต่อ พืน้ ท่คี วบคมุ สงู สุด เปน็ ระยะๆ* ในสถานศึกษาได้รบั สัปดาห์ และเข้มงวด ๑. เข้ม ๖ มาตรการหลกั \" (DMHT-RC) การฉดี วัคซีนเข็ม ๑ (สแี ดงเขม้ ) และแนวทาง เข้ม ๗ มาตรการเขม้ สาหรับ มีการ แล้วไม่น้อยกว่า ๘๕% ทกุ วัน สถานศกึ ษาแบบไป-กลบั สมุ่ ตรวจ เป็นระยะๆ* ครูและบุคลากร ๑. เขม้ ๖ มาตรการหลกั \" (DMHT-RC) ในสถานศึกษาได้รบั และ ๖ มาตรการเสรมิ ** (SSET-CQ) การฉีดวัคซีนครบโดส ๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สาหรบั สถานศึกษาแบบไป-กลบั เน้น school (๒ เข็ม) Pass และ Small Bubble ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๕% ๓. สถานประกอบกิจการ กจิ กรรม รอบร้วั สถานศกึ ษาในระยะ ๑๐ เมตร ผา่ น ครแู ละบุคลากร การประเมิน TSC+ COVID free setting ในสถานศึกษาได้รับ การฉีดวัคซีนครบโดส ๑. เข้ม ๖ มาตรการหลกั \" (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ ** (SSET-CQ) (๒ เขม็ ) ๒. แนวทาง ๗ มาตรการเขม้ สาหรบั ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๕% สถานศกึ ษาแบบไป-กลบั เน้น school Pass และ Small Bubble ๓. สถานประกอบกิจการ กจิ กรรม รอบรวั้ สถานศกึ ษาในระยะ ๑๐ เมตร ผา่ น การประเมนิ TSC+ COVID free setting หมำยเหตุ *ปรมิ าณการส่มุ และความถข่ี องการตรวจคดั กรองหาเชอ้ื ดว้ ยวธิ กี ารที่เหมาะสม ให้คณะกรรมการโรคตดิ ต่อ จงั หวดั กาหนดไดต้ ามความเหมาะสมของการระบาดในพน้ื ทีแ่ ยกระดบั อาเภอของแตล่ ะจงั หวดั ทม่ี า : ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง หลกั เกณฑก์ ารเปดิ โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตามข้อกาหนด ตามความในมาตรา ๙ แหง่ พระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณฉ์ กุ เฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๔) ลงวนั ที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ ๑๙

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พนื้ ฐำน สรปุ เงื่อนไขข้อกำหนดของ ๖ มำตรกำรหลกั (DMHT-RC) ๖ มำตรกำรเสริม(SSET-CQ) และแนวทำง ๗ มำตรกำรเข้มสำหรบั สถำนศึกษำ ๖ มำตรกำรหลัก* (DMHT-RC) ๖ มำตรกำรเสรมิ ** (SSET-CQ) ๑. Distancing เวน้ ระยะห่าง ๑. Self-care ดแู ลตนเอง ๒. Mask wearing สวมหน้ากาก ๒. Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตวั ๓. Hand washing ล้างมอื ๓. Eating กนิ อาหารปรงุ สุกใหม่ ๔.Testing คัดกรองวัดใช้ ๔. Track ลงทะเบียนเข้าออกโรงเรยี น ๕. Reducing ลดการแออดั ๕. Check สารวจตรวจสอบ ๖. Cleaning ทาความสะอาด ๖. Quarantine กักกนั ตวั เอง ๗ มำตรกำรเข้มงวดสำหรับสถำนศึกษำ** ๑. สถานศกึ ษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผา่ น TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมนิ ผล ผา่ น MOECOVID โดยถอื ปฏิบัติอย่างเขม้ ขน้ ต่อเนื่อง ๒. ทากจิ กรรมร่วมกันในรปู แบบ Small Bubble หลกี เลีย่ งการทากิจกรรมข้ามกล่มุ ๓. จัดระบบการใหบ้ ริการอาหารตามหลักสุขาภบิ าลอาหารและหลักโภชนาการ ๔. จัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทา ความสะอาด คณุ ภาพนา้ อุปโภคบรโิ ภค และ การจดั การขยะ ๕. จดั ใหม้ ี School Isolation มแี ผนเผชิญเหตุ และมกี ารชักซ้อมอยา่ งเคร่งครดั ๖. ควบคมุ ดูแลการเดินทางจากบ้านไปโรงเรยี น (Seal Route) กรณีรถรบั -สง่ นักเรยี น รถสว่ นบคุ คล และ พาหนะโดยสารสาธารณะ ๗. จดั ให้มี School Pass สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศกึ ษา ทม่ี า : ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง หลักเกณฑ์การเปดิ โรงเรยี นหรอื สถาบนั การศกึ ษาตามข้อกาหนด ตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉนิ พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบบั ที่ ๓๔) ลงวนั ท่ี ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ ๒๐

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน ๒๑

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน ส่วนที่ ๓ แนวปฏบิ ตั ิระหวา่ งเปดิ ภาคเรียน ใ น ร ะ ห ว่ า ง เ ปิ ด เ รี ย น ส ถ า น ศึ ก ษ า ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม ม า ต ร ก า ร ท่ี ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข แ ล ะ กระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้ครอบคลุมทุกมิติอย่างเคร่งครัด เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยคานึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา เป็นสาคญั เป็น ๒ กรณี ดังน้ี ๑. กรณีเปิดเรียนไดต้ ามปกติ (Onsite) สถานศกึ ษาต้องปฏิบัติ ดงั นี้ มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ ๖ หลัก ๖ มาตรการหลกั ๖ เสรมิ ๑. Distancing เว้นระยะห่าง เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย ๑-๒ ๗ เข้มงวด เมตร ๒. Mask Wearing สวมหน้ากาก สวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาทอี่ ย่ใู นสถานศึกษา ๓. Hand washing ล้างมือ ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า นาน ๒๐ วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ ๔. Testing คัดกรองวัดไข้ วัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผัสเส่ียงทุกคน ก่อนเขา้ สถานศึกษา ๕. Reducing ลดการแออัด ลดเขา้ ไปในพื้นท่ีเสย่ี ง กลุ่มคนจานวนมาก ๖. Cleaning ทาความสะอาด ทาความสะอาดบริเวณพื้นผิวสัมผัสร่วม อาทิ ทจี่ ับประตู ลูกบิดประตู ราวบันได ปุ่มกดลฟิ ต์ ๖ มาตรการเสริม ๑. Self care ดูแลตนเอง ดูแลใส่ใจ ปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตัวเอง ปฏิบัติ ตามมาตรการอย่างเคร่งครดั ๒. Spoon ใช้ช้อนกลางส่วนตัว ใช้ช้อนกลางของตนเองทุกครั้ง เม่ือต้อง รบั ประทานอาหารรว่ มกนั ลดสัมผัสรว่ มกับผ้อู น่ื ๓. Eating รับประทานอาหารปรุงสุกใหม่ กินอาหารปรุงสุกใหม่ร้อน ๆ กรณี อาหารเก็บเกนิ ๒ ชม. ควรนามาอนุ่ ใหร้ อ้ นทัว่ ถงึ กอ่ นกินอกี ครงั้ ๔.Thai Chana ไทยชนะ ลงทะเบียนตามทร่ี ัฐกาหนดดว้ ย APP ไทยชนะ หรอื ลงทะเบียนบนั ทกึ การเข้า - ออกอยา่ งชัดเจน ๕. Check สารวจ ตรวจสอบ สารวจบุคคล นกั เรียน กลมุ่ เส่ียงท่ีเดินทางมาจาก พน้ื ที่เส่ียง เพ่ือเข้าสกู่ ระบวนการคัดกรอง ๖. Quarantine กกั กนั ตวั เอง กักกนั ตวั เอง ๑๔ วัน เมือ่ เขา้ ไปสมั ผัสหรืออยใู่ น พน้ื ทเ่ี ส่ยี งท่ีมีการระบาดโรค ๒๒

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน มาตรการ แนวทางการปฏบิ ตั ิ ๗ มาตรการเขม้ งวด ๑. สถานศกึ ษาผา่ นการประเมนิ TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล ผ่าน MOECOVID โดยถือปฏิบัตอิ ยา่ งเขม้ ขน้ ต่อเนื่อง 2. ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทากิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียนในห้องเรียนขนาดปกติ (๖ x ๘) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้น ระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสม โดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจงั หวัด 3. จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากร ในสถานศึกษาตามหลักมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจดั ซื้อจดั หาวตั ถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรงุ ประกอบอาหาร หรอื การส่ังซื้ออาหาร ตามระบบนาส่งอาหาร (Delivery) ที่ถูกสุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบทาง โภชนาการกอ่ นนามาบริโภค ๔. จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คุณภาพนา้ อุปโภคบริโภค และการจดั การขยะ ๕. จัดให้มีสถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolation) หรือพื้นท่ีแยก กกั ช่วั คราว รวมถงึ แผนเผชญิ เหตุสาหรบั รองรับการดูแลรกั ษาเบ้ืองต้น กรณนี กั เรยี น ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเช้ือโควิด ๑๙ หรือผลการตรวจคัดกรองหาเช้ือ เป็นบวก โดยมกี ารซักซ้อมอย่างเคร่งครดั โดยมคี วามรว่ มมือกับสถานพยาบาลเครือข่าย ในพนื้ ที่ทดี่ ูแลอยา่ งใกล้ชิด ๖. ควบคุมดูแลการเดินทางเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดยหลีกเล่ียงการเข้าไปสัมผัสในพ้ืนที่ต่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง จากบ้านไป-กลับโรงเรียน ท้ังกรณีรถรับ-ส่งนักเรียน รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสาร สาธารณะ ๗. ให้จัดให้มี School Pass สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูล ผลการประเมิน TST ผลตรวจตัดกรองหาเชื้อ ตามแนวทาง คณะกรรมการควบคุมโรคระดับพ้ืนท่ี และประวัติการรับวัคซีน ตามมาตรการของ กระทรวงสาธารณสุขโดยเฉพาะพื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) และพ้ืนท่ีควบคุมสูงสดุ และเขม้ งวด (พนื้ ที่สแี ดงเข้ม) ๒๓

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน มาตรการ แนวทางการปฏบิ ตั ิ แนวปฏบิ ตั ิ ๑. การระบายอากาศภายในอาคาร ดา้ นอนามยั - เปิดประตูหนา้ ตา่ งระบายอากาศก่อนและหลังการใช้งาน อยา่ งน้อย ๑๕ นาที สิ่งแวดล้อม ควรมีหน้าตา่ งหรอื ช่องลม อยา่ งน้อย ๒ ด้านของหอ้ ง ใหอ้ ากาศภายนอกถ่ายเท ในการ เข้าสภู่ ายในอาคาร ป้องกันโรค - กรณใี ชเ้ ครื่องปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลงั การอย่างน้อย โควดิ ๑๙ ๒ ชว่ั โมง หรอื เปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศช่วง พกั เทีย่ งหรือช่วงที่ไม่มี ใน การเรยี นการสอน กาหนดเวลาเปิด-ปิดเคร่ืองปรับอากาศ และทาความสะอาด สถานศกึ ษา สม่าเสมอ ๒. การทาความสะอาด - ทาความสะอาดวสั ดสุ ่ิงของด้วยผงชกั ฟอกหรือนา้ ยาทาความสะอาด และลา้ งมือ ด้วยสบแู่ ละนา้ - ทาความสะอาดและฆา่ เช้อื โรคบนพ้นื ผวิ ท่วั ไป อปุ กรณ์สมั ผัสร่วม เชน่ หอ้ งนา้ ห้องสว้ ม ลกู บิด ประตู รโี มทคอนโทรล ราวบนั ได สวติ ช์ไฟ (ปุ่มกดลิฟท์ จดุ น้าด่มื เปน็ ต้น ด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% นาน ๑๐ นาที และฆ่าเชื้อโรคบนพ้นื ผิววัสดุแข็ง เช่น พื้นกระเบ้ือง เซรามิค สแตนเลส ด้วยน้ายาฟอกขาว หรือโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ ๐.๑% นาน ๕ - ๑๐นาที อยา่ งนอ้ ยวนั ละ ๒ ครั้ง และอาจเพมิ่ ความถี่ตามความเหมาะสมโดยเฉพาะเวลาทีม่ ผี ูใ้ ชง้ านจานวนมาก ๓. คณุ ภาพนา้ อุปโภคบรโิ ภค - ตรวจดูคุณลักษณะทางกายภาพ สี กลนิ่ และไม่มสี ง่ิ เจอื ปน - ดูแลความสะอาดจดุ บรกิ ารนา้ ดืม่ และภาชนะบรรจุน้าดม่ื ทุกวนั (ไม่ใชแ้ กว้ นา้ ด่มื รว่ มกันเดด็ ขาด) - ตรวจคณุ ภาพนา้ เพื่อหาเชอ้ื แบคทีเรยี ดว้ ยชุดตรวจภาคสนาม(อ ๑๑) ทุก ๖ เดือน ๔. การจดั การขยะ - มถี งั ขยะแบบมฝี าปิดสาหรบั รองรับสิง่ ของท่ีไม่ใชแ้ ล้วประจาหอ้ งเรยี น อาคารเรยี น หรือบรเิ วณโรงเรยี นตามความเหมาะสม และมีการคดั แยก-ลดปริมาณขยะ ตาม หลัก 3R (Reduce Reuse Recycle) - กรณขี ยะเกดิ จากผสู้ ัมผสั เสีย่ งสูง/ กกั กันตัว หรือหน้ากากอนามัยทีใ่ ช้แลว้ นา ใส่ในถงุ ก่อนทงิ้ ใหร้ าดดว้ ยแอลกอฮอล์ หรือ ๗๐% นา้ ยาฟอกขาว ๒ ฝา ลงในถุง มัดปากถุงให้แน่น ซ้อนด้วยถุงอีก ๑ ชั้น ปิดปากถุงให้สนิท และฉีดพ่นบริเวณ ปากถงุ ด้วยสารฆ่าเชื้อแลว้ ท้ิงในขยะทวั่ ไป ๒๔

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ การใชอ้ าคาร ในการพิจารณาอนุญาตให้ใช้อาคารสถานที่เพ่ือการสอบ การฝกึ อบรม หรอื การทา สถานที่ของ กิจกรรมโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ขออนุญาตต้องจัดทามาตรการเพื่อเสนอต่อ สถานศกึ ษาเพอ่ื การ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดซึ่งจะ สอบ การฝกึ อบรม พิจารณาตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข โดยคณะกรรมการโรคติดต่อ หรอื ทากิจกรรมใดๆ กรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด จะพิจารณาร่วมกับผู้แทน ทีม่ ผี เู้ ข้ารว่ ม กระทรวงศกึ ษาธิการท่เี กย่ี วข้อง โดยมีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ กิจกรรมจานวนมาก ๑. แนวปฏิบัติด้านสาธารณสขุ ๑.๑ กาหนดจุดคัดกรองช่องทางเข้าออก หากพบว่ามีไข้ ไอ จาม มีน้ามูก หรือ เหนื่อยหอบ หรือมีอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรือมากกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซียส ขึ้นไป แจ้งงดให้เข้าร่วมกิจกรรม และแนะนาไปพบแพทย์ และอาจมีห้องแยกผู้ที่มีอาการออก จากพน้ื ที่ ๑.๒ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และผู้มาติดต่อ ต้องสวมหน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรม ๑.3 จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ หรือ จุดล้างมือ สาหรับทาความสะอาดมือไว้บริการ บริเวณต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เช่น บริเวณหน้าห้องประชุม ทางเข้าออก หน้าลิฟต์ จุดประชาสัมพนั ธ์ และพ้นื ทท่ี มี่ ีกิจกรรมอนื่ ๆ เปน็ ตน้ ๑.4 จัดบริการอาหารในลักษณะที่ลดการสัมผัสอุปกรณ์ท่ีใช้ร่วมกัน เช่น จัดอาหาร วา่ งแบบกล่อง (Box Set) อาหารกลางวันในรปู แบบอาหารชุดเดี่ยว (Course Menu) ๑.5 กรณีที่มีการจัดให้มีรถรับส่งผู้เข้าร่วมกิจกรรม ให้เว้นระยะห่าง ๑ ท่ีน่ัง ทาความสะอาดรถรบั ส่งทุกรอบหลงั ใหบ้ ริการ ๑.6 กากับให้นักเรียนน่งั โดยมีการเว้นระยะหา่ งระหว่างท่นี ง่ั และทางเดินอยา่ งน้อย ๑.๕ เมตร ๑.7 จัดให้มีถังขยะท่ีมีฝาปิด เก็บรวบรวมขยะ เพื่อส่งไปกาจัดอย่างถูกต้อง และ การจัดการขยะทีด่ ี ๑.8 จัดให้มีการระบายอากาศภายในอาคารท่ีดี มีการหมุนเวียนของอากาศ อย่างเพียงพอทงั้ ในอาคารและหอ้ งส้วม และทาความสะอาดเคร่อื งปรบั อากาศสม่าเสมอ ๑.9 ให้ทาความสะอาดและฆ่าเช้ือทั่วท้ังบริเวณ และเน้นบริเวณท่ีมักมีการสัมผัส หรือใช้งานร่วมกันบ่อย ๆ ด้วยน้ายาฟอกขาวท่ีเตรียมไว้ หรือแอลกอฮอล์ 70% หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% เช็ดทาความสะอาดและฆ่าเชื้ออย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ทาความสะอาดห้องสว้ มทกุ 2 ชวั่ โมงและอาจเพิ่มความถต่ี ามความเหมาะสมโดยเฉพาะ เวลาที่มผี ู้ใช้งานจานวนมาก ๑.10 มีมาตรการติดตามข้อมูลของผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น การใช้แอปพลิเคชันหรือ ใช้มาตรการควบคมุ การเข้าออกด้วยการบนั ทึกข้อมูล ๒๕

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน มาตรการ แนวทางการปฏิบตั ิ ๑.11 มีการจัดการคุณภาพน้าอุปโภคบรโิ ภคท่เี หมาะสม ๑.๑๑.๑ จัดให้มีจดุ บริการนา้ ดื่ม 1 จดุ หรือหวั ก๊อกต่อผู้บรโิ ภค 75 คน ๑.๑๑.๒ ตรวจสอบคณุ ภาพน้าดื่มนา้ ใช้ ๑.๑๑.๓ ดูแลความสะอาดจุดบริการน้าด่ืม ภาชนะบรรจุน้าดื่ม และใช้แก้วน้า สว่ นตวั ๒. แนวทางปฏบิ ัตสิ าหรับผจู้ ดั กจิ กรรม ๒.1 ควบคุมจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไม่ให้แออัด โดยคิดหลักเกณฑ์จานวนคนต่อ พ้ืนท่ีจัดงาน ไม่น้อยกว่า ๔ ตารางเมตรต่อคน พิจารณาเพ่ิมพื้นท่ีทางเดินให้มีสัดส่วน มากข้นึ ๒.๒ จากัดจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม และกระจายจุดลงทะเบียนให้เพียงพอสาหรับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เพ่ือลดความแออัด โดยอาจใช้ระบบการประชุมผ่านส่ือ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใชก้ ารสแกน QR Code ในการลงทะเบยี นหรอื ตอบแบบสอบถาม ๒.๓ ประชาสัมพนั ธม์ าตรการ คาแนะนาในการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดให้แก่ผ้เู ข้าร่วม กจิ กรรมทราบ ๓. แนวทางปฏบิ ตั ิสาหรบั ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ๓.๑ สงั เกตอาการตนเองสม่าเสมอ หากมไี ข้ ไอ จาม มนี ้ามูก หรือเหนื่อยหอบ ใหง้ ด การเขา้ ร่วม กิจกรรมและพบแพทย์ทนั ที ๓.๒ สวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั เวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคลอยา่ งน้อย ๑ - ๒ เมตร งดการรวมกลมุ่ และลดการพดู คยุ เสยี งดัง ๓.๓ ลา้ งมอื ดว้ ยสบู่ หรือเจลแอลกอฮอลบ์ ่อย ๆ ก่อนและหลังใชบ้ ริการ หรือหลงั จาก สัมผัสจุดสัมผัสร่วมหรือสิ่งของ เคร่ืองใช้ เมื่อกลับถึงบ้านควรเปลี่ยนเสื้อผ้าและอาบน้า ทนั ที ๓.๔ ปฏิบัติตามระเบียบของสถานท่ีอย่างเคร่งครัด และปฏิบัติตามมาตรการ สุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) ๒. กรณีโรงเรยี นไมส่ ามารถเปิดเรียนไดต้ ามปกติ การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ซึ่งสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สถานศกึ ษาจึงควรเลอื กรปู แบบการเรยี นการสอนให้มีความเหมาะสมตามความพร้อมของสถานศึกษา ดังน้ี 1) การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) คือการเรียนรู้ที่ใช้สื่อวีดิทัศน์การเรียนการสอนของ มลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ต้งั แต่ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๑ ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ และใช้สื่อวิดิทัศน์การเรียนการสอนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๒๖

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พืน้ ฐำน ๒) การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตและ แอปพลิเคชัน การจัดการเรียนการสอนแบบนี้ สาหรับครูและนักเรียนที่มีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แทบ็ เลต็ โทรศัพท์ และมกี ารเชอ่ื มตอ่ สญั ญาณอินเทอร์เน็ต ๓) การเรียนผ่านหนังสือ เอกสารและใบงาน (ON Hand) การจัดการเรียนการสอนในกรณีท่ี นกั เรียนมีทรัพยากรไม่พร้อมในการจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบข้างต้น โดยสถานศึกษาจัดทาแบบฝึกหัด หรอื ใหก้ ารบา้ นไปทาทีบ่ า้ น อาจใชร้ ว่ มกบั รูปแบบอ่ืน ๆ ตามบรบิ ทของท้องถ่นิ 4) การจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) คือการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลเิ คชัน DLTV บนสมาร์ทโฟน หรือแทบ็ เลต็ สรปุ แผนผงั แนวปฏิบตั ิระหวา่ งเปดิ ภาคเรียน แนวปฏิบัติระหว่างเปดิ ภาคเรียน กรณีเปดิ เรยี นไดต้ ามปกติ (Onsite) กรณีโรงเรยี นไม่สามารถเปดิ เรยี นไดต้ ามปกติ สถานศกึ ษาต้องปฏิบัติ สถานศกึ ษาเลอื กรปู แบบท่ีเหมาะสมตามความพร้อม 1. การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) ๑. ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม 2. การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) 3. การเรยี นผ่านหนังสอื เอกสาร ใบงาน (ON Hand) และ ๗ มาตรการเข้มงวด 4. การจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) ๒. การจดั การอนามัยส่ิงแวดลอ้ มในการ ปอ้ งกันโรคโควิด ๑๙ ในสถานศกึ ษา ๓. การใช้อาคารสถานที่ของสถานศกึ ษาเพ่ือ การสอบ การฝึกอบรม หรอื ทากิจกรรม ใดๆ ที่มผี ู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมจานวนมาก ด้านการจดั การเรียนการสอน ๒๗

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน ๒๘

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน สว่ นท่ี ๔ แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สถานศึกษาควรพิจารณาเลือกจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณารูปแบบให้มีความเหมาะสม ตามบริบทของสถานศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน โดยสถานศึกษาสามารถ กาหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนท่ีแตกต่างจากท่ีกาหนดไว้น้ี หรือจัดการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน (Hybrid) ทัง้ นตี้ อ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ของนกั เรียน ครู และบคุ ลากรเป็นสาคญั รปู แบบการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) มี ๒ รูปแบบหลกั ดังนี้ ๑. รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบชนั้ เรยี น (Onsite) ลักษณะแบบผสมผสาน (Hybrid) มรี ูปแบบการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ ๑.๑ รูปแบบท่ี ๑ การจดั การเรยี นการสอนแบบชน้ั เรยี นปกติ รูปแบบนี้เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือในช้ันเรียนเป็นหลัก ครูผู้สอนสามารถนา รูปแบบการเรียนการสอนอื่น ๆ มาผสมผสาน(Hybrid) ใช้กับการเรียนการสอนเพ่ิมเติมในช้ันเรียนได้ เช่น การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On Air) หรือการเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่านแอปพลิเคชัน (Online) หรือรูปแบบ อืน่ ๆ ตามความพรอ้ ม และบริบทของสถานศกึ ษา ท้ังนใี้ หเ้ ป็นตามมาตรการสาธารณสุขอย่างเครง่ ครดั ดงั น้ี ๒๙

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน ๑.๒ รปู แบบท่ี ๒ การสลบั ชั้นมาเรยี นของนักเรียน แบบสลบั ชั้นมาเรยี น รูปแบบน้ี สถานศึกษาที่เปิดสอนต้ังแต่ระดับปฐมวัย ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถ จัดให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) มาเรียนในวันอังคาร และวันพฤหัสบดี และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๔ – ป.๖) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๔ – ม.๖) มาเรียนในวันจันทร์ วันพุธ วันศุกร์ สลับกันไปทุกสัปดาห์ ในวันที่นักเรียนอยู่ท่ีบ้านสามารถให้นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ท้ัง ON Air และ Online ตามบริบทความพรอ้ มของนกั เรยี น ๑.๓ รปู แบบท่ี ๓ การสลับชั้นมาเรียนของนักเรยี น แบบสลบั วนั คู่ วันค่ี รูปแบบน้ี สถานศึกษาท่ีเปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถ จัดให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ – ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓) มาเรียนในวันคู่ และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔ – ป.๖) และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖) มาเรยี นในวนั ค่ี สลบั กันไป ในวันที่นกั เรียนอยทู่ ี่บา้ นสามารถใหน้ กั เรียน เรียนรโู้ ดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทัง้ ON Air และ Online ตามบรบิ ทความพรอ้ มของนักเรยี น ๓๐

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน ๑.๔ รูปแบบที่ ๔ การสลับช้ันมาเรยี นของนักเรยี น แบบสลบั วันมาเรยี น ๕ วนั หยดุ ๙ วัน รูปแบบน้ี เหมาะสมกับโรงเรียนที่มขี นาดใหญ่ ขนาดใหญพ่ ิเศษ ท่มี ีจานวนนักเรยี นตอ่ หอ้ งมาก มีพื้นท่ีห้องเรียนจากัดหรือโรงเรียนท่ีจัดการเรียนการสอนโครงการห้องเรียนพิเศษต่าง ๆ โรงเรียนต้องสารวจ ข้อมูล เพื่อวางแผนแบ่งกลุ่มนักเรียนในห้องเรียนเป็นสองกลุ่ม กลุ่ม A และกลุ่ม B ให้สลับกันมาเรียน สัปดาห์ แรกและสัปดาหท์ ่ีสาม กลุ่ม A มาเรยี นทีโ่ รงเรยี น กลุ่ม B เรยี นอยู่ท่ีบา้ นดว้ ยการเรียนการสอนทางไกล สัปดาห์ ที่สองและสัปดาห์ท่ีสี่ กลุ่ม A เรียนอยู่ท่ีบ้านด้วยการเรียนการสอนทางไกล กลุ่ม B มาเรียนที่โรงเรียน สลับกันไป นักเรียนสามารถเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ท้ัง On Air และ Online ตามบริบท ความพรอ้ มของนักเรยี น ๓๑

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน ๑.๕ รปู แบบที่ ๕ การสลบั ช่วงเวลามาเรยี นของนกั เรียน แบบเรียนทกุ วนั รูปแบบนี้ สถานศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามารถ จัดให้นักเรียนระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑ - ป.๓) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-ม.๓) มาเรียนในช่วงเวลา ๘.๓๐-๑๑.๓๐ น. และนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔–ป.๖) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔–ม.๖) มาเรียนในมาเรียนในช่วงเวลา ๑๒.๓๐-๑๕.๓๐ น. ในวันท่ีนักเรียนอยู่ที่บ้านสามารถให้นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ท้ัง On Air และ Online ตามความเหมาะสม และความพร้อมของนักเรยี น ๑.๖ รปู แบบท่ี ๖ การสลับกลมุ่ นกั เรยี น แบบแบ่งนกั เรยี นในหอ้ งเรียนเปน็ ๒ กลมุ่ รูปแบบน้ี เหมาะสมกับสถานศึกษาที่มีขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่พิเศษ ที่มีจานวนนักเรียน ต่อห้องมาก มีพ้ืนท่ีห้องเรียนจากัดหรือโรงเรียนท่ีจัดการเรียนการสอนโครงการห้องเรียนพิเศษต่าง ๆ สถานศึกษาต้องสารวจข้อมูล เพื่อวางแผนแบ่งกลุ่มนักเรียนในห้องเรียนเป็นสองกลุ่ม กลุ่ม A และกลุ่ม B ให้สลับกันมาเรียน วันจันทร์ กลุ่ม A มาเรียนท่ีโรงเรียน กลุ่ม B เรียนอยู่ที่บ้านด้วยการเรียนการสอน ทางไกล วันอังคาร กลุ่ม A เรียนอยู่ที่บ้านด้วยการเรยี นการสอนทางไกล กลุ่ม B มาเรียนท่ีโรงเรียนสลบั กัน ไป นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลได้ ทั้ง ON Air และ Online ตามความเหมาะสม และ ความพร้อมของนักเรยี น ๓๒

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำน ๑.๗ รปู แบบท่ี ๗ รูปแบบอื่น ๆ นอกจากรูปแบบท่ี ๑ รูปแบบท่ี ๖ ดังกล่าวแล้ว สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการ จัดการเรียนการสอนได้ตามความเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีของสถานศึกษา โดยจาเป็นต้องคานึงถึงความ ปลอดภยั ของนักเรยี นในการป้องกันการตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ๒. รูปแบบการเรยี นการสอนทางไกล (Distance Learning) รปู แบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) มี ๔ รปู แบบ ดงั น้ี ๒.๑ รปู แบบการเรยี นผา่ นโทรทศั น์ (On Air) วิธกี ารนี้ เป็นกรณีท่ีไม่สามารถจัดการเรียนการสอนที่โรงเรียนได้หรือไมส่ ามารถจัดการเรียน การสอนให้นักเรียนมาเรียนที่โรงเรียนพร้อมกันได้ทุกคน เป็นการเรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์การจัด การเรียนการสอนของมลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ตั้งแตช่ นั้ อนุบาลปีที่ ๑ ถงึ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ โดยดาเนินการออกอากาศ มีทัง้ หมด ๔ ระบบ ไดแ้ ก่ ๑) ระบบดาวเทยี ม (Satellite) ๑.๑) KU-Band (จานทึบ) ชอ่ ง ๑๘๖ – ๒๐๐ ๑.๒) C-Band (จานโปรง่ ) ช่อง ๓๓๗ – ๓๔๘ ๒) ระบบดิจทิ ัลทวี ี (Digital TV) ช่อง ๓๗ – ๔๘ ๓) ระบบเคเบ้ิลทวี ี ๔) ระบบ IPTV. ๒.๒ รูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) รูปแบบน้ีเป็นรูปแบบการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต และแอปพลิเคชัน การจัดการเรียนการสอน แบบน้ี สาหรับครูและนักเรียนท่ีมีความพร้อมทางด้านอุปกรณ์ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต โทรศัพท์ และ มกี ารเชือ่ มตอ่ สญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ ๒.๓ รูปแบบการเรยี นการสอนผา่ นหนังสอื เอกสาร ใบงาน (ON Hand) รูปแบบน้ีเป็นการเรียนการสอนผ่านหนังสือโดยให้แบบฝึกหัด ให้การบ้านไปทาที่บ้าน อาจใช้ ร่วมกับรูปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม และความต้องการของนักเรียน ในกรณีที่นักเรียนมีทรัพยากร ไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบอืน่ ๆ ๒.4 รปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบ (ON Demand) รูปแบบนี้เป็นการเรียนรู้ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) หรือ ช่อง YouTube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลเิ คชนั DLTV บนสมารท์ โฟน หรอื แท็บเลต็ คลงั ความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนุนการเรียนการสอนดว้ ยระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัล ( Digital Learning Platform) คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่สนับสนุนการเรียนการสอน ด้วยระบบเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Learning Platform) ในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทาให้นกั เรยี นไมส่ ามารถกลับไปเรียนแบบ Onsite ทีส่ ถานศึกษาได้แตก่ ารเรยี นของนกั เรยี นยงั คงต้อง ๓๓

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน ดาเนินต่อไปไม่หยุดย้ัง ดังน้ัน คลังความรู้ (Knowledge Bank) ที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้ในระบบเทคโนโลยี ดิจิทัล(Digital Learning Platform) สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนให้กับครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน เลอื กนาไปใช้ในการนาไปจัดการเรยี นการสอนให้เหมาะสม และตามบริบทของสถานศึกษาแต่ ละพ้ืนที่ ดังนี้ 1. ครพู รอ้ ม เวบ็ ไซต์ https://www.ครูพรอ้ ม.com/ ครพู รอ้ ม เป็น Web Portal จากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ีจัดทาข้นึ มาใหม่ เพอื่ เสริมแฟลตฟอร์ม ตา่ ง ๆ ทีห่ นว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการมีอยู่ โดยจะเปน็ คลงั ส่ือ ข้อมลู การเรียนรู้ ตลอดจนรูปแบบ การจดั กจิ กรรม ซึ่งมขี อ้ มูลทัง้ ของ สพฐ. สช. สานกั งานกศน. และสอศ 2. OBEC Content Center เวบ็ ไซต์ https://contentcenter.obec.go.th/ OBEC Content Center คอื คลงั เน้อื หาอิเลก็ ทรอนิกสข์ องสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน(สพฐ.) เป็นโปรแกรมสาหรับให้บริการเผยแพร่เนื้อหาอิเล็กทรอนิกส์ แก่นักเรี ยน ครู ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษา รองรับการเข้าถึงเน้ือหาอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ แอปพลิเคชัน หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ 3. DLTV เว็บไซต์ www.dltv.ac.th/ แอปพลิเคชนั DLTV และช่องยูทูป DLTV 1Channel - DLTV 12 Channel และ DLTV 15 Channel Distance Learning Television (DLTV) คือ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เกิดจาก พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชปณธิ านในการจดั การศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง เท่าเทยี ม และมคี ณุ ภาพ ด้วยเทคโนโลยี ท่ีทันสมัยท่ีสุดในขณะนั้น เพ่ือลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา แก้ปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น และครูสอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก โดยเฉพาะโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล ปัจจุบันโครงการนีอ้ ยู่ในความดูแลของ มูลนิธิศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยจะถ่ ายทอดการเรียนการสอนจาก โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเผยแพร่ภาพไป ท่ัวประเทศ ๓๔

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน ช่องยทู บู (YouTube) DLTV 1Channel ถึง DLTV 15 Channel ⭐ระดบั ปฐมวยั ⭐ระดบั ประถมศึกษา DLTV 10 Channel (อ.๑) DLTV 11 Channel (อ.๒) DLTV 1 Channel (ป.๑) DLTV 12 Channel (อ.๓) DLTV 2 Channel (ป.๒) DLTV 3 Channel (ป.๓) ⭐ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ DLTV 4 Channel (ป.๔) DLTV 7 Channel (ม.๑) DLTV 5 Channel (ป.๕) DLTV 8 Channel (ม.๒) DLTV 6 Channel (ป.๖) DLTV 9 Channel (ม.๓) ⭐ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย DLTV 13 Channel (ม.๔) DLTV 14 Channel (ม.๕) DLTV 15 Channel (ม.๖) 4. Scimath เวบ็ ไซต์ https://www.scimath.org/index.php Scimath คลงั ความร้สู ู่ความเปน็ เลิศทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี จดั ทาโดยสถาบนั สง่ เสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นเว็บไซต์ท่ีรวบรวมส่ือการเรียนการสอน โครงงาน บทความ ข้อสอบ และรายการโทรทัศนแ์ ละวิทยุท่เี กีย่ วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. ศนู ย์เรยี นรดู้ จิ ทิ ัลระดับชาตดิ า้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สสวท. เว็บไซต์ https://learningspace.ipst.ac.th/ ศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลฯ คือ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน เป็นศูนย์การเรียนรู้และต่อยอดเทคโนโลยีด้านดิจทิ ัลให้กับเด็ก เยาวชน และประชาชนในชุมชนท่ัวประเทศ ให้สามารถค้นหาข้อมูล เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นการลดความเหลื่อมล้า ในการเข้าถึงเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ให้คนไทยทกุ คนได้ใชบ้ รกิ ารอย่างทวั่ ถึงและเท่าเทยี มกัน ๓๕

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน 6. สะเตม็ ศึกษา(STEM Education Thailand)เวบ็ ไซต์ http://www.stemedthailand.org/ สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาท่ีบูรณาการความรู้ใน ๔ สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนาความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมท้ังการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต และการทางาน ช่วยนักเรียนสร้างความเช่ือมโยงระหว่าง ๔ สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทางาน การจัดการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีไม่เน้นเพียงการท่องจาทฤษฎี หรือกฎทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่าน้ันผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่ กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคาถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ ๆ พร้อมทั้ง สามารถนาขอ้ คน้ พบนั้นไปใช้หรือบรู ณาการกับชีวิตประจาวนั ได้ 7. ระบบออนไลนข์ อ้ สอบ PISA เวบ็ ไซต์ https://pisaitems.ipst.ac.th/ ระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA เป็นระบบสารสนเทศที่เผยแพร่ข้อสอบท่ี OECD อนุญาตให้ เผยแพร่ และข้อสอบท่ีพัฒนาโดย สสวท. การลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบออนไลน์ข้อสอบ PISA ที่ OECD อนุญาตให้เผยแพร่ และข้อสอบท่ีพัฒนาโดย สสวท. สามารถใช้ชื่อผ้ใู ช้ (User Name) เดยี วกันได้ 8. TK Park เวบ็ ไซต์ https://www.tkpark.or.th/tha/home TK Park คือ แอปพลเิ คชัน แหลง่ รวมสาระความรู้และความความเพลดิ เพลนิ ให้เดก็ ไทยเรียนรู้ อย่างสรา้ งสรรค์ โดยการนาองคค์ วามรู้ ไทยทีม่ ีความหลากหลาย ๓๖

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้นั พนื้ ฐำน 9. ห้องเรยี นแห่งคณุ ภาพ (DLIT Classroom) เว็บไซต์ https://dlit.ac.th/site/classroom.php/ DLIT คือเครื่องมือท่ีมีเน้ือหาและเทคโนโลยีสาหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างครบ วงจร ต้ังแต่การวางแผน การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน การจดั การเรียนการสอนเพม่ิ เติม การสอบท่มี ปี ระสิทธภิ าพ และการพัฒนาวิชาชีพอยา่ งยัง่ ยนื แอปพลเิ คชนั (Applications) สนบั สนนุ การเรียนการสอนทางไกล สถานศึกษาสามารถเลือกใช้ Applications สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ซ่ึงเป็นช่องทาง การสอื่ สารการจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล ท่เี หมาะสมตามสภาพพ้นื ท่ขี องสถานศกึ ษา ดงั น้ี ๑. Microsoft Teams โปรแกรมประชุมออนไลน์ของ Microsoft สาหรับใช้พูดคุยประชุมกันผ่านการแชต และ วิดีโอคอล อีกทั้งยังสามารถเปิดดูและแก้ไขไฟล์งานร่วมกันได้แบบเรียลไทม์ เหมาะสาหรับการใช้ทางานใน ระดับองค์กรหรือการศึกษา สามารถใช้งานได้ฟรี โดยการใช้ Microsoft Team แบบฟรีจะสามารถเรียน ออนไลน์ร่วมกันไดส้ ูงสุด ๑๐๐ คน นานสุด ๖๐ นาที พร้อมพื้นที่จัดเก็บไฟล์คนละ ๑ GB รองรับการใชง้ าน ทั้งบนเว็บเบราว์เซอร์ ติดตั้งเป็นโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ หรือแอปพลิเคชัน บนอุปกรณ์มือถือและ แทบ็ เลต็ ๒. Zoom Meeting โปรแกรมประชุมออนไลน์แบบ Video Call ท่ีมีคนใช้งานกันมากที่สุดในช่วง Work from Home ซึ่งทาใหอ้ งค์กรต่าง ๆ สามารถประชุมงานพร้อมกนั ไดห้ ลายคน พดู คยุ แบบเห็นหนา้ กัน ๓๗

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พน้ื ฐำน สามารถแชร์หนา้ จอให้คนอ่ืนดูได้ รวมท้ังนักเรียนนักศึกษาและครอู าจารย์ก็สามารถใช้ Zoom ในการเรียน และสอนออนไลนไ์ ด้ด้วยเช่นกนั สาหรับการใช้งาน Basic User (โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย) จะรองรับการซูมพร้อมกันสูงสุด ๑๐๐ คน แต่มีการจากัดระยะเวลาการประชุมไว้ที่ ๔๐ นาทีต่อครั้ง สาหรับ Pro User (เสียค่าใช้จ่าย) รองรับ การซูมพรอ้ มกันสงู สดุ ๓๐๐ คน และไมจ่ ากัดระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการประชุม ๓. Google Meet โปรแกรมสาหรับการประชุมทางวิดีโอแบบออนไลน์ โดยผู้สอนที่มีบัญชี Google จะสามารถ สร้างห้องเรียนออนไลน์ท่ีรองรับนักเรียนได้สูงสุด ๑๐๐ คน และใช้สอนได้สูงสุด ๖๐ นาทีต่อการสร้าง ห้อง ๑ ครั้ง นอกจากนี้ก็ยังมีฟีเจอร์ข้ันสูงท่ีรองรับนักเรียนภายในหรือภายนอกช้ันเรียนสูงสุด ๒๕๐ คน และสตรมี มิ่งแบบสดสาหรบั ให้คนเขา้ มาดูพร้อมกันได้สูงสดุ ถงึ ๑๐๐,๐๐๐ คน ๔. LINE LINE เป็นแอปพลิเคชัน ท่ีนิยมใช้ในการคุยแชต การใช้ LINE สาหรับการสอนออนไลน์เป็นวิธี ที่สะดวก เพราะท้ังผู้เรียนและผู้สอนไม่จาเป็นต้องไปหาแอปพลิเคชัน อื่น ๆ มาใช้เพ่ิมเติม โดยใช้ฟีเจอร์ Group Call ท่ีรองรับสูงสุดถึง ๒๐๐ คน ใช้ได้ท้ังบน PC และมือถือ อีกท้ังสามารถแชร์ภาพหน้าจอของ ตัวเองใหน้ กั เรียนดูได้ หรือจะใชฟ้ ีเจอร์ Live เพือ่ ถา่ ยทอดสดการสอนกไ็ ด้เช่นกนั ๕. Discord Discord เป็นโปรแกรมแชตที่เป็นท่ีนิยมในกลุ่มคนเล่นเกม ซ่ึงมีฟีเจอร์ที่เหมาะสาหรับใช้ ในการเรียนการสอนเช่นกัน คือสามารถสร้างห้องประชุมคุยกันท้ังแบบเสียงและแบบเปิดกล้อง รวมท้ัง สามารถแชรห์ นา้ จอใหน้ ักเรยี นดูได้ แถมยงั สามารถสร้างห้องแยกย่อย และกดยา้ ยห้องไปมาได้อย่างสะดวก นอกจากนี้ Discord ยังมีจุดเดน่ คอื สามารถใช้ไดฟ้ รี โดยรองรับจานวนคนต่อห้องไดไ้ ม่จากัด ๖. Facebook Live การใช้ Facebook Live ในการสอนออนไลน์เป็นอีกวิธีหน่ึงท่ีง่ายและสะดวก เน่ืองจากคนส่วน ใหญ่มีบัญชี Facebook อยู่แล้ว จงึ สามารถสอนออนไลนแ์ บบถา่ ยทอดสดให้นักเรียนสามารถเขา้ มาดูได้ง่าย แต่มีข้อเสียคือตัวผู้สอนจะไม่สามารถเห็นหน้าจากกล้องของนักเรยี นแต่ละคน รวมท้ังไม่สามารถจากัดผู้เข้า เรยี นได้ แต่การแชรห์ นา้ จออาจตอ้ งใช้โปรแกรมเพิม่ เติมอยา่ งเชน่ OBS ๓๘

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน ๗. YouTube YouTube เป็นอีกหนึ่งช่องทางที่สามารถใช้ถ่ายทอดสดการสอนได้เช่นเดียวกับ Facebook Live โดยตัวผู้สอนจะต้องมีบัญชี YouTube ส่วนผู้เข้าเรียนนั้นจะมีบัญชีหรือไม่มีก็ได้ และผู้สอนสามารถตั้งค่า การถา่ ยทอดสดเพ่อื ให้เฉพาะผู้ท่ีมีลงิ กส์ ามารถเขา้ เรยี นได้ สว่ นการแชรห์ น้าจออาจต้องใชโ้ ปรแกรมเพ่ิมเติม อย่างเช่น OBS เหมือนกับ Facebook Live หากต้องการสตรีมแบบสดบนอุปกรณ์เคล่ือนที่ ช่องของผู้ใช้ จะตอ้ งมีผ้ตู ิดตามอย่างน้อย ๑,๐๐๐ คน จงึ จะสามารถดาเนนิ การแบบสดผ่านคอมพิวเตอร์และเวบ็ แคมได้ ๘. Google Hangouts Meet สามารถแชทกับเพ่ือน คุยแบบเห็นหน้าได้ท้ังแบบเด่ียวและแบบกลุ่ม เชื่อมต่อได้ทั้งคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือใช้กับสมาร์ทโฟน โดยลงชื่อเข้าใชด้ ้วยบัญชีของ Google เพ่ิมอีโมจิ และภาพเคล่ือนไหวแบบ GIF รับส่งข้อความ SMS/ MMS มีแจ้งเตือน เก็บบันทึกไว้หลังประชุมจบ อีกทั้งยังสามารถแชร์ Location ไดป้ จั จบุ ันรองรับจานวนผเู้ ขา้ รว่ มสูงสุดไดถ้ ึง ๕๐ คน โดยเปิดใชฟ้ รีท้งั หมด ไม่เสียคา่ ใชจ้ ่าย ๙. Skype Skype เป็นโปรแกรมแชทและโทรผ่านเน็ต และสนทนาที่ได้รับความนิยมท่ีสุด สามารถส่งไฟล์ สนทนาแบบวีดีโอ อีกท้ังยังสามารถพูดคุย ส่งข้อความ แบบพิมพ์หากันได้โดยคู่สนทนาต้องมีโปรแกรม ดังกล่าวเช่นกัน รองรับระบบคอมพิวเตอร์ มือถือ แท็บเล็ต มีระบบการปรับระดับเสียงอัตโนมัติ แบบฟรีไม่ สามารถประชุมเกนิ ๑๐ คนได้ หากใช้ Skype for Business สามารถประชมุ ไดม้ ากถึง ๒๕๐ คน ๑๐. Cisco Webex Cisco Webex ถือเป็นต้นฉบับของโซลูชันการประชุมวิดีโอในองค์กร (ปัจจุบันใช้ชื่อ Webex Meetings) และภายหลังก็ขยายตัวมายังระบบแชทในองค์กรด้วย (ใช้ชื่อ Webex Teams) ฟีเจอร์ของ Webex เรียกว่าครบถ้วนสาหรับลูกค้าองค์กร รองรับการประชุมสูงสุด ๓,๐๐๐ คนต่อห้อง และไลฟ์สตรีม สูงสุด ๑๐๐,๐๐ คน ปัจจุบัน Webex มีแพ็กเกจรุ่นฟรี สาหรับการประชุมไม่เกิน ๑๐๐ คน และไม่จากัด ความยาวในการประชุม (ต่างจาก Zoom ท่ีจากัด ๔๐ นาที) เข้าใช้ได้ฟรี (จากัดการประชุมไม่เกิน ๑๐๐ คน) รุ่นเสียเงินเริ่มต้นท่ี (ประมาณ ๔๑๕ บาท) ต่อเดือน พร้อมพ้ืนท่ีจัดเก็บข้อมูลบน Cloud ขนาด 5GB และรองรับการเชื่อมตอ่ เสยี งผา่ นระบบโทรศัพท์ ๓๙

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน ๑๑. Padlet Padlet คือ เว็บไซต์ที่ให้บริการกระดานแสดงความคิดเห็นออนไลน์ รองรับผู้ใช้หลายคน ผู้ใช้สามารถเข้ามาอภิปรายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เขียนคาถาม คาตอบ หรือสรุปเนื้อหาเป็นช่องทาง แสดงความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นและครูหรอื เพ่ือน ๆ ในชั้นเรยี น ได้ดมี ากวันนจี้ ึงนาโปรแกรมดี ๆ มีฝากเพื่อน ครูและผ้ทู ส่ี นใจลองใช้ มแี บบฟรแี ละเสียคา่ ใชจ้ ่าย สรุป ความสามารถในการใชง้ านของแตล่ ะโปรแกรม ๔๐

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน ๔๑

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน สว่ นท่ี 5 แผนเผชญิ เหตุ สถานศึกษาทุกแห่งจะต้องจัดทาแผนเผชิญเหตุตามมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาด โควิด 19 ของสถานศึกษา ดงั นี้ ระดบั การแพรร่ ะบาด มาตรการปอ้ งกนั ในชุมชน ในสถานศึกษา ครู/นกั เรียน สถานศกึ ษา ๑. ปฏิบตั ิตามมาตรการ DMHTT ๑. เปดิ เรียน Onsite ไมม่ ี ไมพ่ บ ๒. ประเมนิ TST เปน็ ประจา ๒. ปฏบิ ตั ิตาม TST ผู้ติดเชอ้ื ผตู้ ิดเช้ือยืนยัน ๓. เน้นเฝา้ ระวังสงั เกตอาการกลุ่ม มผี ู้ตดิ เช้ือ ไม่พบ ประปราย ผู้ติดเช้อื ยืนยัน เปราะบางกรณี (๑-๕ ราย) พบผู้ติดเช้ือยนื ยนั โรงเรยี นประจา,เด็กพเิ ศษ กลมุ่ ในห้องเรียน ตง้ั แต่ ๑ ราย เสย่ี ง ขนึ้ ไป ๑. ปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT ๑. เปิดเรียน Onsite ปฏิบัติตาม ๒. ประเมิน TST เปน็ ประจา มาตรการ TST Plus ๓.กรณีเป็นผู้มีความเส่ียง เช่น อาศัยในพ้ืนท่ีท่ี (๔๔ ข้อ) มีผู้ติดเชื้อควรสุ่มตรวจหาเชื้อเป็นระยะ ตาม ๒. ตดิ ตามรายงานผลประเมนิ TST สถานการณ์ ๓. เขม้ เฝ้าระวงั ตรวจคัดกรอง กลมุ่ เปราะบางกรณี โรงเรยี นประจา,เด็กพเิ ศษ กลุ่ม เสย่ี ง ๑. ปฏบิ ตั ิเข้ม 6 มาตรการหลัก (DMHTT) ๖ ๑. ห้องเรียนท่ีพบผู้ติดเช้ือปิดเรียน มาตรการเสริม เป็นเวลา ๓ วัน เพื่อทาความ (SSET-CQ) สะอาด ๒. ประเมิน TST ทุกคนในห้องเรียนและผู้ ๒. หอ้ งเรียนอืน่ ๆ เปดิ Onsite สัมผสั ใกลช้ ิดทุกวนั รายงานผล ตามปกติ งดกจิ กรรมทมี่ กี าร ๔. กรณีเสี่ยงสูง (High Risk Contact) : รวมกลมุ่ กันโดยเฉพาะระหวา่ ง งดเรียน Onsite กกั ตวั ท่ีบา้ น ๑๔ วัน ตรวจหา หอ้ งเรยี น เชื้อตามแนวทาง ๓. ปฏบิ ัติเขม้ ตามมาตรการ TST ๕ . กร ณี เ ป็ นผู้ สั ม ผั ส เ สี่ ย งต่ า ( Low Risk Plus Contact) มาเรียน Onsite สังเกตอาการของ ๔.เปิดประตูหนา้ ตา่ งหอ้ งเรียนให้ ตนเอง อากาศถา่ ยเทสะดวก ตลอดเวลา การใช้งาน กรณใี ชเ้ ครื่องปรับอากาศ เปิดประตูหนา้ ต่างระบายอากาศ ช่วงเวลาพกั เทยี่ งหรอื ช่วงเวลา ไมม่ เี รยี น ที่มา: ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง หลักเกณฑก์ ารเปิดโรงเรยี นหรือสถาบนั การศึกษาตามข้อกาหนดออกตามความ ในมาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับที่ ๓๔) ลงวันท่ี ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๖๔ ๔๒

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พ้ืนฐำน ระดับกำรแพร่ระบำด มำตรกำรปอ้ งกนั ในชุมชน ในสถำนศกึ ษำ คร/ู นักเรยี น สถำนศกึ ษำ พบผูต้ ิดเชื้อยนื ยัน มากกว่า ๑ หอ้ งเรียน ๑. ประเมิน TST ทุกคนในห้องเรียนและผู้สัมผัส ๑. ห้องเรยี นหลายหอ้ งทีพ่ บผู้ติดเช้อื ปิด ใกล้ชิดทุกวัน รายงานผล เรียนเปน็ เวลา ๓ วัน เพ่ือทาความสะอาด ๒. กรณเี ส่ยี งสูง สง่ ตรวจคัดกรองหาเชอ้ื ด้วย RT-PCR งดกจิ กรรมทม่ี กี ารรวทกลมุ่ กนั ทกุ กิจกรรม พบผลบวก ถ้ามีอาการป่วยร่วมด้วนย ต้องส่งต่อรับ หรอื ปิดเรียนตามอานาจพจิ ารณาของ การรักษาโรงพยาบาลหลัก(Hospital) ถ้าไม่มีอาการ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ จังหวัด/กทม. ป่วยร่วมด้วย เข้ารับการรักษาโรงพยาบาลสนาม ๒. มหี ้องแยกกักตวั ในโรงเรยี น(School (Hospitel) หรือห้องแยกกักตัวในโรงรียน(School Isolation) รองรบั ผูต้ ิดเชื้อในโรงเรยี น Isolation) เพอ่ื สงั เกตอาการ (กรณีโรงเรยี นประจา) ๑. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ DMHTT *เน้นใส่ ๓. ปฏบิ ตั ิตามมาตรการตดั ความเสย่ี ง หน้ากาก *เว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล ๑ – ๒ เมตร สร้างภูมิคมุ้ กัน ด้วย 3T1V (TSC ๒. ประเมิน TST ทกุ วนั Plus,TST, ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ช่วั โมง กรณใี ช้ TK,Vaccine) เครอ่ื งปรับอากาศ มีผู้ติดเชอ้ื เปน็ พจิ ารณาใช้แนวทาง ๑. ปฏบิ ัติเขม้ ตามมาตรการยกระดบั ปอ้ งกัน ๑. พิจารณาการเปิดเรียนOnsiteโดยปฏบิ ัติตาม กล่มุ ก้อน ร่วมกบั กรณพี บการ Universal Prevention(UP) ทั้งที่บา้ น และโรงเรียน มาตรการทกุ มติ ิ อย่างเข้มขน้ (Cluster) ติดเช้ือในโรงเรียน หลกี เลี่ยงการไปที่ชุมชน กรณีไมม่ ีความเช่ือมโยงกบั Clusterในชมุ ชนอาจ ในชมุ ชน ๒. ปฏิบัตติ ามมาตรการปอ้ งกนั สาหรับครู/นักเรยี น ไม่ต้องปิดเรียนหรือจดั การเรยี นตามการพจิ ารณา อย่างเข้มขน้ ตามระดบั การแพรร่ ะบาดในสถานศกึ ษา ของคณะกรรมการควบคมุ โรคตดิ ต่อจังหวดั /กทม. อาทิ ไม่พบผู้ตดิ เชื้อยืนยัน หรอื พบผูต้ ิดเช้อื ยนื ยัน ๑ ๒. พจิ ารณาปิดเรยี นโดยคณะกรรมการ ห้องเรียน หรอื พบผตู้ ิดเชือ้ ยนื ยันมากกวา่ ๑ ห้องเรียน ควบคมุ โรคติดต่อจงั หวัด/กทม. ตามข้อมลู หลักฐานและความจาเปน็ มีการ พจิ ารณาใชแ้ นวทาง ๑. ปฏบิ ัติเขม้ ตามมาตรการยกระดับปอ้ งกนั ๑. พจิ ารณาการเปิดเรียนOnsiteโดยปฏิบตั ิตาม แพรก่ ระจายเป็น ร่วมกับกรณีพบการ Universal Prevention(UP) อยา่ งเคร่งครดั มาตรการทกุ มิติ อยา่ งเคร่งครดั วงกว้างในชมุ ชน ติดเช้อื ในโรงเรยี น ๒. ปฏิบตั ติ ามมาตรการปอ้ งกันสาหรบั ครู/นกั เรยี น ๒. พจิ ารณาปดิ เรยี นโดยคณะกรรมการ อยา่ งเครง่ ครดั ตามระดับการแพรร่ ะบาดใน ควบคุมโรคติดต่อจงั หวดั /กทม. ตามขอ้ มลู สถานศึกษา อาทิ ไม่พบผู้ติดเชือ้ ยืนยัน หรือพบ หลักฐานและความจาเป็น ผ้ตู ิดเช้อื ยืนยัน ๑ ห้องเรยี น หรอื พบผตู้ ดิ เช้ือยืนยัน ๓. กรณโี รงเรยี นประจาให้ปฏิบัตเิ ขม้ ตาม มากกว่า ๑ หอ้ งเรยี น มาตรการ Sandbox: Safety Zone in School เตรียมพร้อมเปดิ เรยี น เน้น Bubble and Seal ๔. กรณโ๊ รงเรียนไป-กลับ ปฏบิ ตั ติ าม ๗ มาตรการเข้มเตรียมพร้อมเปิดเรยี น เนน้ Seal Route ๕. สมุ่ ตรวจคัดกรองหาเชื้อเป็นระยะ ที่มา: ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารเปิดโรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษาตามข้อกาหนดออกตามความ ในมาตรา ๙ แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ (ฉบับท่ี ๓๔) ลงวันท่ี ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ ๔๓

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน ๔๔

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน สว่ นท่ี ๖ บทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังคงมีการแพร่ ระบาดอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงกาหนดบทบาทของบุคลากร และหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง ดังน้ี ๑. บทบาทของนักเรียน นักเรียนเป็นหัวใจสาคัญท่ีต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ทั้งนี้ นกั เรยี นจะต้องถือปฏบิ ัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการ อยา่ งเคร่งครัด ตั้งแตก่ ารเดนิ ทางออกจากบ้านมาเรยี น ขณะอยู่ในโรงเรียน จนถึงการกลบั บ้าน บทบาทของ นักเรยี น ควรมดี งั นี้ ๑) เตรียมความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์การเรียน เคร่ืองใช้ส่วนตัว และอื่น ๆ ที่จาเป็นสาหรับ การเรยี น ๒) ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสขุ กาหนดอย่างเคร่งครดั ๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจาก การแพรก่ ระจายของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากแหล่งข้อมูลท่ีเชอื่ ถือได้ ๔) ประเมินความเส่ียงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอ และ สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรือกลับจากพ้ืนท่ีเสี่ยง และอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่ สาธารณสขุ อยา่ งเคร่งครัด ๕) ขอคาปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรียน เครื่องใช้ ส่วนตัว หรือพบความผิดปกติของร่างกายที่อาจเส่ียงต่อการติดเชื้อของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทันที ๒. บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษานน้ั ซ่ึงถอื อยู่ใกล้ชิดนกั เรยี น มหี นา้ ที่สาคัญในการจดั การเรียนรู้ให้แก่ นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียน การสอน นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตาม มาตรการท่ีกระทรวงสาธารณสขุ กาหนด บทบาทของครูและบุคลากรทางการศึกษา ควรมดี งั น้ี ๑) ประชุมออนไลน์(Online) ช้ีแจงผู้ปกครองนักเรียนเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน ในการป้องกัน การเฝา้ ระวัง การเตรยี มตวั ของนกั เรยี นใหพ้ รอ้ มกอ่ นเปิดเรียน ๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่าเสมอและ สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ๔๕

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) หรือกลับจากพื้นท่ีเส่ียงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่ สาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครัด ๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคาแนะนาในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจาก การแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีเช่อื ถือได้ ๔) จัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือ หน้ากากอนามยั คาแนะนาการปฏบิ ัตติ ัว การเวน้ ระยะห่างทางสังคม การทาความสะอาด หลีกเล่ียงการทา กจิ กรรมรว่ มกนั จานวนมากเพือ่ ลดจานวนคน ๕) ปฏบิ ัติตาม 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสรมิ ของกระทรวงสาธารณสขุ กาหนดอยา่ งเคร่งครัด ๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเร่ืองสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการที่กระทรวง สาธารณสุขกาหนด ไดแ้ ก่ (๑) ทาการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียนทุกคนท่เี ข้ามาในโรงเรียนในตอนเชา้ ใช้เครื่องวัด อุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์ สติกเกอร์หรือตราปั๊ม แสดงให้เห็น ชัดเจนว่า ผา่ นการคัดกรองแล้ว (๒) กรณพี บนักเรียนหรอื ผู้มอี าการมีไข้ อุณหภมู ริ า่ งกายตง้ั แต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพประจาตาบล หรือเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข เพื่อตรวจคัดกรองอีกคร้ัง หากพบว่าผลตรวจ เบ้ืองต้นเป็นบวกจึงแจ้งผปู้ กครองมารับ จากนั้นแจ้งผู้บรหิ ารหรือผมู้ ีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือดาเนินการตามแผน เผชิญเหตุ และมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ของสถานศกึ ษา (๓) บันทึกผลการคัดกรองและส่งต่อประวัติการป่วย ตามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ (๔) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ ทางเขา้ สบูล่ ้างมือบริเวณอ่างล้างมือ ๗) ตรวจสอบ กากับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเส่ียงต่อ การตดิ โรคโควิด 19 และรายงานต่อผู้บริหาร ๘) ปรับพฤติกรรมสาหรับนักเรียนท่ีไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกาหนด ด้วยการแก้ปัญหา การเรยี นร้ใู หม่ให้ถูกต้อง นนั่ คือ “สร้างพฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงค”์ หรอื “ลดพฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์” ๙) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติ ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และนากระบวนการการจัดการ ความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัยร่วมกับการฝึกทักษะชีวติ ที่เสริมสร้าง ความเข้มแขง็ ทางใจ (Resilience) ให้กบั นักเรียน ไดแ้ ก่ ทกั ษะชวี ิตดา้ นอารมณ์ สังคม และความคิด เปน็ ต้น ๔๖