Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20201123-Human4.0-published

20201123-Human4.0-published

Published by pawnin.chaiyabat, 2020-11-24 18:29:17

Description: 20201123-Human4.0-published

Search

Read the Text Version

40 ถึงแม้ว่าในปัจจบุ นั จะยงั มีประชากรจำนวนมากท่ีอยู่ในสภาวะการขาดแคลนอาหาร แต่ปัญหาอีกส่วนหนึ่งที่ เกิดขึ้นคือ ปัญหา Food Waste หรอื ปัญหาอาหารเหลือท้ิง หมายถึง อาหารทไี่ ม่ได้ถกู บรโิ ภคและสง่ ผลใหเ้ กดิ ความสญู เปล่าจากกระบวนการผลติ ประมาณการวา่ มี Food Waste เกิดขน้ึ ถึง 1 ใน 3 ของอาหารที่ถกู ผลิตขน้ึ มา (Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO), n.d.) ดังนน้ั ในขณะทีป่ ระชากรจำนวน หน่งึ ประสบกบั สภาวะการขาดสารอาหาร แต่ในขณะเดยี วกนั ก็ยังมีอาหารเหลือที่ไมไ่ ด้ถูกบรโิ ภคในปริมาณมาก17 ประเดน็ ท่สี าม Good Health and Well-being - การมสี ุขภาพและความเป็นอยูท่ ด่ี ี เป้าหมายขององค์การ สหประชาชาตคิ อื การลดอัตราการเสยี ชวี ติ ของเด็กแรกเกิดจนถึงอายุตำ่ กว่า 5 ปี การลดอัตราการเสียชีวิตของ มารดาระหวา่ งคลอดบุตร ป้องกนั การทอ้ งโดยไม่พรอ้ มและการทอ้ งในวยั เยาว์ ลดอตั ราการติดเชอ้ื เอชไอวี วณั โรค มาลาเรยี และตบั อักเสบ นอกจากนย้ี งั มปี ระเด็นของการตดิ เช้อื จากน้ำสกปรก การขาดสุขอนามยั ทด่ี ที ี่องคก์ าร สหประชาชาติต้องการให้มีการแก้ไขไปในทางท่ีดขี นึ้ (United Nations, 2017: 4-6) ประเดน็ ทส่ี ี่ Quality Education - ดา้ นคุณภาพการศกึ ษา เปา้ หมาย คือ การให้ประชากรมีโอกาสในการ เขา้ ถึงการศึกษา ได้รับการศึกษาที่มีคณุ ภาพ และส่งเสริมโอกาสในการเรียนรูต้ ลอดชีวติ สำหรบั ประชากรทุกคน พบวา่ การเข้าถงึ และการได้รับโอกาสทางการศึกษาในปี 2014 ในระดบั ประถมศึกษาสูงถึงร้อยละ 91 และลดลงไป ในลำดบั ข้ันการศกึ ษาทส่ี งู ขนึ้ ไดแ้ ก่ รอ้ ยละ 84 ไดร้ ับโอกาสในการเข้าศึกษาในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และรอ้ ย ละ 63 สำหรับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ประมาณการว่ามเี ดก็ และเยาวชนกว่า 263 ล้านคนที่ไม่ได้เขา้ สู่ระบบ การศึกษา (United Nations, 2017: 7) นอกเหนือไปจากประเด็นการเขา้ ถงึ โอกาสในการไดร้ ับการศึกษาแลว้ คุณภาพการศึกษาควรได้รับการ พัฒนาข้ึน ผลจากการทดสอบความรดู้ า้ นคณิตศาสตร์และการอา่ นของนกั เรยี นในแอฟริกา และ อเมรกิ าใต้ พบว่ามี นักเรยี นท่ีมผี ลการทดสอบต่ำกวา่ มาตรฐานทคี่ วรจะเป็น ปญั หาดา้ นความเหลื่อมล้ำทางสถานะทางเศรษฐกิจสง่ ผล อย่างชัดเจนตอ่ ผลการศึกษา กลา่ วคอื นักเรียนที่มาจากครอบครวั ท่ีมฐี านะทางเศรษฐกจิ ดกี วา่ จะมผี ลการเรยี นรู้อยู่ ในระดบั ทด่ี ีกว่านักเรียนทม่ี ีฐานะยากจน นอกจากนผ้ี ลการศกึ ษาของนักเรียนในเมืองจะมีผลการศึกษาทด่ี ีกว่า นักเรยี นท่ีอาศัยอยใู่ นชนบท และนอกจากการพัฒนาในส่วนของนักเรยี น ครกู ็สมควรได้รบั โอกาสในการเขา้ อบรม 17 กรณีของการแก้ไขปัญหาในประเด็นของการขาดแคลนอาหาร และการลดปัญหา food waste สามารถอ่านบทความเพ่มิ เติมเร่อื ง Eatable City: เมอื งกนิ ได้ / เรือ่ งราวของ Olio สตาร์ทอัพกโู้ ลกผ่านการกิน ในบทความทา้ ยบทท่ี 2

41 เพือ่ เพ่ิมพูนความรู้และอุปกรณก์ ารศึกษารวมไปถึงสภาพของโรงเรยี นควรได้รับการพฒั นาให้อยใู่ นระดบั ที่ได้ มาตรฐาน เพราะสิ่งอำนวยความสะดวกเหลา่ นีส้ ่งผลตอ่ คณุ ภาพการศึกษาโดยรวม (United Nations, 2017: 7)18 ประเด็นทีห่ ้า Gender Equality – ความเท่าเทียมกนั ทางเพศ ในประเด็นน้ี พบวา่ สตรีและเดก็ หญงิ ยังคงไดร้ บั โอกาสและสทิ ธิขน้ั พื้นฐานในระดับท่ีไมเ่ ท่าเทียมกับเพศชาย ความพยายามในการได้มาซ่งึ ความเท่าเทียมกัน ส่วน หนึง่ จะตอ้ งมาจากการสรา้ งกฎหมายทีส่ นบั สนุนในสิทธขิ องสตรี (United Nations, 2017: 8) ปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ กับสตรแี ละเด็กหญงิ ได้แก่ การแต่งงานในวยั เดก็ การถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศและการใช้ความ รนุ แรง การขลิบอวัยวะเพศหญงิ ปญั หาของการมีเพศสมั พันธใ์ นรูปแบบท่ีไมส่ มยอมของสตรีทม่ี ีความสมั พนั ธ์กบั คู่ สมรส หรือ แฟน จำนวนสตรที ี่สามารถเข้าไปดำรงตำแหน่งทางการเมอื งในสภาล่างนอ้ ยกวา่ เพศชายอย่างมนี ัยยะ สำคญั คือน้อยกวา่ ร้อยละ 25 รวมท้งั จำนวนสตรที ่ไี ด้รับการคัดเลอื กให้ดำรงตำแหน่งในระดับการจดั การเปน็ ตน้ ไป มจี ำนวนนอ้ ยกวา่ เพศชาย ในตำแหน่ง ผ้จู ัดการระดับกลาง-ระดับสงู มีสตรีทีไ่ ด้เข้าดำรงตำแหนง่ นอ้ ยกวา่ 1 ใน 3 (United Nations, 2017: 8) ประเดน็ ทีห่ ก Clean Water and Sanitation – น้ำดม่ื สะอาดและสุขอนามยั ในประเด็นนี้พบว่า ยงั มคี นบน โลกใบนอ้ี ีก 2 พันล้านคนท่ีประสบกบั สภาวะการอาศยั อยูใ่ นประเทศทีม่ ีความเสีย่ งในการขาดแคลนนำ้ ในอนาคต เน่ืองจากปริมาณน้ำทีใ่ ช้กบั ปริมาณนำ้ ทส่ี ามารถนำกลับมาใช้ใหมไ่ ด้ไมส่ มั พนั ธก์ นั อยา่ งไรก็ตามจากข้อมูล พบวา่ คณุ ภาพชวี ิตของประชากรโลกในการเขา้ ถงึ น้ำดื่มสะอาดและสุขอนามัยพฒั นาดขี ้ึน (United Nations, 2017: 8-9) ประเดน็ ทีเ่ จ็ด Affordable and Clean Energy – พลงั งานสะอาดในราคาที่เอ้ือมถงึ ได้ องค์การสหประชาชาติ คาดหวังว่าประชากรโลกจะสามารถเข้าถงึ พลังงานทีย่ ั่งยืนอย่างมีประสิทธภิ าพ ในปี 2014 ประชากรกว่า 1.06 พนั ล้านรายยังไม่สามารถเขา้ ถึงการใช้ไฟฟา้ โดยจำนวนกว่าครึง่ ของประชากรในกลุม่ น้ีอาศยั อยู่ในบรเิ วณใต้ ทะเลทรายซาฮารา นอกจากน้ยี งั มีประเด็นของการขาดแคลนเชอ้ื เพลิงสะอาดและเทคโนโลยีทใ่ี ชใ้ นการทำอาหาร ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ ประชากรกว่า 3 พนั ลา้ นคน (United Nations, 2017: 9) ประเดน็ ทแ่ี ปด Decent Work and Economic Growth – งานที่เหมาะสมและการเติบโตทางเศรษฐกิจ ใน ประเดน็ ของการพัฒนาที่ยั่งยืนลำดับที่ 8 นี้ เป้าหมายคือการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยนื อย่างครอบคลุม ทั้งใน ประเดน็ ของการปรบั ปรุงจำนวนผวู้ า่ งงาน ผลิตภาพแรงงาน การเขา้ ถงึ บริการทางการเงนิ และการพฒั นาเศรษฐกจิ 18 นอกจากประเด็นการขาดแคลนโอกาสทางการศกึ ษา ปัจจบุ ัน มหาวทิ ยาลยั ยงั ได้รับผลกระทบท่ีส่งผลให้เกดิ การขาดแคลนนกั ศกึ ษาและไม่สามารถ สรา้ งรายได้เพียงพอที่จะดูแลกจิ การการศกึ ษาในระยะยาว สามารถอา่ นบทความเพิ่มเตมิ เร่ือง มหาวิทยาลยั จะไปทางไหนตอ่ ? ในบทความทา้ ยบทท่ี 2

42 ที่สามารถใชต้ ัวช้ีวดั จากการดูการเติบโตของ GDP เป็นหลกั พบว่า ในช่วงปี ค.ศ. 2010-2015 อัตราการเติบโต GDP ของประเทศท่ัวโลกโดยเฉลยี่ อยทู่ ่ี ร้อยละ 1.6 ตอ่ ปี ซึ่งถือเป็นสัญญาณทีด่ ีขนึ้ เมื่อเทยี บกบั ชว่ งปี 2005-2009 ท่ี เศรษฐกิจชะลอตวั การเติบโต ทำใหม้ ีอัตราการเติบโตเฉลยี่ อย่ทู ี่ รอ้ ยละ 0.9 (United Nations, 2017: 10) อตั ราการว่างงานท่วั โลก โดยเฉล่ียแลว้ เพศหญงิ จะมีอัตราการว่างงานที่มากกว่าเพศชายในทกุ ชว่ งอายุ และ เยาวชน19จะมีอัตราการวา่ งงานมากกว่าผใู้ หญ่ถงึ 3 เท่า นอกจาก นี้ปัญหาของการว่างงาน อกี ปัญหาหนง่ึ ทยี่ ังคง ต้องแกไ้ ข คอื ปญั หาของแรงงานเดก็ ซ่งึ คือ เยาวชนท่ีมอี ายรุ ะหวา่ ง 5-17 ปี ที่อยใู่ นระบบแรงงาน โดยในปี 2012 ยงั คงมแี รงงานเด็กอยู่ทวั่ โลกมากถึง 168 ล้านคน (United Nations, 2017: 10) ผลติ ภาพแรงงาน หมายถงึ การเติบโตของอัตรา GDP รายปีตอ่ แรงงาน ในช่วงปี 2009-2016 ผลิตภาพแรงงาน ลดลงเหลอื อตั ราร้อยละ 1.9 เม่อื เปรยี บเทียบกับชว่ งปี 2000-2008 ที่อตั ราร้อยละ 2.9 การลดลงของอตั ราการ เติบโตนส้ี ง่ ผลลบต่อภาพรวมของเศรษฐกจิ โลก (United Nations, 2017: 10) การเขา้ ถงึ บริการทางการเงนิ มกี ารวดั การเขา้ ถงึ บริการทางการเงนิ โดยการนับสาขาของธนาคารและเครื่อง บริการเงินสดอัตโนมัติ ผลปรากฏว่า ในช่วงปี 2010 – 2015 อัตราการเตบิ โตของเครอ่ื งบรกิ ารเงินสดเพ่ิมข้ึนถงึ รอ้ ย ละ 55 และสาขาของธนาคารพาณิชยเ์ พิ่มข้นึ ร้อยละ 5 โดยการเติบโตของเทคโนโลยดี ิจิทัลส่งผลใหก้ ารขยายขนาด ของธนาคารพาณิชย์ไม่ได้เกิดขน้ึ สงู มาก (United Nations, 2017: 10) ประเดน็ ทเ่ี ก้า Industry, Innovation, and Infrastructure – อตุ สาหกรรม, นวัตกรรม, และโครงสรา้ ง พน้ื ฐาน เปา้ หมายในประเด็นนี้ คือ การลงทนุ ในการวจิ ัยและพัฒนา การลดการสง่ ผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมที่เกิด จากอตุ สาหกรรม การขนส่งทางอากาศ การเขา้ ถึงสัญญาณโครงขา่ ยสัญญาณโทรศัพท์ ปจั จบุ นั อุตสาหกรรมการ ผลติ มีการเปลยี่ นผ่านกระบวนการผลิตทพี่ ึ่งพิงเทคโนโลยีท่ีทันสมัยขึ้น อย่างไรก็ตามความเหลีอ่ มลำ้ ยงั คงเกดิ ขึ้น ประเทศอุตสาหกรรมมีการผลติ ผลิตภัณฑเ์ ทคโนโลยขี ้ันกลางและสูงถึงร้อยละ 80 ของผลผลติ อตุ สาหกรรม ในขณะ ท่ปี ระเทศทม่ี ีการพัฒนาอุตสาหกรรมในระดบั ตำ่ ท่ีสดุ ผลติ ผลติ ภัณฑเ์ ทคโนโลยีขน้ั กลางและสงู เพยี งรอ้ ยละ 10 (United Nations, 2017: 11) 19 คำนยิ ามของ United Nations เยาวชนหมายถงึ บคุ คลทม่ี อี ายอุ ยูใ่ นช่วงระหวา่ ง 15-24 ปี อยา่ งไรก็ตาม การเขา้ รว่ มกิจกรรมของเยาวชนใน ระดบั ประเทศ อายขุ องเยาวชนสามารถยดื หยุ่นได้ โดยตามนยิ ามของ African Charter Youth กำหนดไวว้ า่ เยาวชนคอื บคุ คลทมี่ อี ายรุ ะหว่าง 15-35 ปี (United Nations, Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO). The, n.d.)

43 การลงทุนงบประมาณในการวิจยั และพฒั นาเพ่ิมมากข้นึ โดยในปี 2014 มีอตั รานกั วจิ ัยต่อประชากร 1 ล้านคน อยทู่ ี่ 1,098 คน อย่างไรกต็ ามพบวา่ ยังมีความเหลอ่ื มล้ำอยู่มาก เมือ่ เปรยี บเทียบจำนวนนักวิจยั ในประเทศท่ีพฒั นา แล้วและประเทศกำลงั พัฒนา คือ ตัง้ แต่ นักวจิ ัย 63 คน ในประเทศทีม่ ีอัตราการพัฒนาขั้นตำ่ ไปจนถงึ 3,500 คนใน ประเทศแถบยโุ รปและอเมริกาเหนอื (United Nations, 2017: 11) การพัฒนาทสี่ ่งผลบวกต่อประชากรในการเข้าถึงข้อมูลและการตดิ ต่อส่อื สารมากท่ีสุดคือ การเข้าถงึ ของ สญั ญาณโทรศัพท์ ประมาณการว่าในปี 2016 ร้อยละ 95 ของประชากรทัว่ โลกสามารถเขา้ ถึงสัญญาณ โทรศพั ท์มือถอื ได้ (United Nations, 2017: 12) ประเด็นทสี่ บิ Reduced Inequalities – ลดความไม่เท่าเทียมกนั คำว่าความไมเ่ ทา่ เทียมกนั สามารถทำให้เรา ตคี วามออกไปไดห้ ลายประการดว้ ยกนั อย่างไรก็ตาม นยิ ามของการลดความไม่เทา่ เทียมกนั ของ SDGs เนน้ ไปที่ ความไม่เท่าเทยี มกนั ระหว่างประเทศ เช่น การมีสิทธมิ ีเสียงในระดับนานาชาติ ซงึ่ ในประเด็นน้ี การพฒั นาให้ ประเทศกำลงั พฒั นาเขา้ มามีสิทธมิ เี สยี งในการตัดสินใจในระดับนานาชาตมิ ากข้ึน ยงั กา้ วหน้าไม่มากเท่าท่คี วร แนน่ อนวา่ ประเทศมหาอำนาจในเชงิ เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมย่อมตอ้ งการการธำรงไว้ซ่งึ อำนาจในการตดั สินใจ ในกรณขี องกองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ International Monetary Fund (IMF) พบว่า มกี ารเพ่ิมสัดส่วนในการ โหวตของประเทศกำลงั พฒั นาจาก 33 เปอรเ์ ซ็นต์ ในปี 2010 เปน็ 37 เปอรเ์ ซ็นต์ ในปี 2016 อยา่ งไรกต็ ามสมาชิก ประเทศกำลังพัฒนามีปริมาณสดั ส่วนสูงถงึ รอ้ ยละ 74 ของประเทศสมาชิกทัง้ หมด (United Nations, 2017: 12) เท่ากับวา่ สัดส่วนในการโหวตของประเทศกำลังพัฒนาตำ่ กว่าความเป็นจรงิ ถงึ 50 เปอร์เซน็ ต์ การเคลือ่ นย้ายการทำงานของประชากร เช่น แรงงานอพยพทไี่ ปทำงานยังตา่ งประเทศยังคงเผชญิ กับปญั หาใน การส่งเงินมาใหก้ ับทางบา้ น เพราะมีคา่ ใชจ้ า่ ยในการโอนเงินเปน็ จำนวนสูง เป้าหมายทีต่ ั้งไวค้ อื การลดค่า ดำเนนิ การในการโอนเงินใหเ้ หลอื เพยี งร้อยละ 3 ของจำนวนเงินที่โอน โดยในปัจจบุ ันส่ิงทส่ี ามารถอำนวยความ สะดวกได้คอื การใช้ internet banking (United Nations, 2017: 12) ประเดน็ ทส่ี ิบเอด็ Sustainable Cities and Communities – เมืองและสังคมยัง่ ยืน ในปัจจุบนั ประชากรได้ ยา้ ยเขา้ มาตั้งถนิ่ ฐานในเมอื งมากขึน้ กวา่ แต่ก่อน โดยในปี 2015 มีประชากรราว 54 เปอร์เซน็ ต์ หรือ เกอื บ 4 พนั ลา้ นคนอาศยั อยใู่ นเมือง และคาดวา่ ตวั เลขนี้จะเพิ่มขึน้ เปน็ 5 พนั ลา้ นคนภายในปี 2030 (United Nations, 2017: 13)

44 ในปี 2018 ประชากรของโลกมจี ำนวนประมาณ 7.5 พนั ลา้ นคน โดยประเทศทม่ี จี ำนวนประชากรมากทสี่ ดุ 10 ลำดบั แรกได้แก่ จีน (1.3 พนั ลา้ นคน), อินเดยี (1.2 พนั ล้านคน), สหรฐั อเมริกา (329 ลา้ นคน), อินโดนเี ซยี (262 ลา้ นคน), บราซิล (208 ลา้ นคน), ปากสี ถาน (207 ล้านคน), ไนจเี รีย (195 ล้านคน), บงั คลาเทศ (159 ลา้ นคน), รัสเซยี (142 ลา้ นคน), และ ญี่ป่นุ (126 ลา้ นคน) (U.S. Census Bureau, 2018) จากข้อมูลสถิติ พบว่าประเทศทม่ี ี จำนวนประชากรมากทส่ี ดุ 10 ประเทศ มีเพียงสหรฐั อเมรกิ าและญีป่ ุ่นทถ่ี ูกจัดวา่ เปน็ ประเทศทีม่ ีระดบั เศรษฐกจิ ท่ี พัฒนาแลว้ ในขณะที่ประเทศทีเ่ หลือท้ังหมดยงั คงอยใู่ นชว่ งระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจแมก้ ระทั่งรัสเซียซ่งึ ถือ ว่ากำลังอยูใ่ นช่วงระหวา่ งการเปลย่ี นผ่านทางเศรษฐกิจ (United Nations, 2014) การเพ่ิมขึน้ ของประชากรและการเคลอ่ื นย้ายของประชากรเขา้ สู่เมือง ได้ทำใหส้ ภาวะของเมืองส่วนหนง่ึ กลายเป็นสลัม ผ้คู นที่อยู่ในสลมั ประสบกบั ปญั หาในการอยู่อาศยั ทั้งในด้านความคบั แคบของพื้นท่ี ความสะอาด การเสอื่ มโทรมของพื้นท่ี ตวั อย่างของสลัมที่มีประชากรอาศัยอย่เู ป็นจำนวนมากได้แก่ สลัมในพื้นท่ี Kibera ในกรงุ ไนโรบี ประเทศเคนยา สลมั Kibera ถือเป็นสลมั ท่ีมีขนาดใหญท่ ี่สุดในทวีปแอฟริกา มปี ระชากรอยู่อาศัยประมาณ 250,000 คน ปรมิ าณผู้คนที่อาศยั อยใู่ นสลัมในเมืองไนโรบี มีมากถึงรอ้ ยละ 60 จากประชากรไนโรบีท้งั หมด (African Population and Health Research Center (APHRC), 2014) ในประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ ประชากรผอู้ าศัย อยูใ่ นสลมั มจี ำนวนมากนบั เป็น 2 เปอร์เซ็นตข์ องประชากรสลมั ท่วั โลก (Robinson, 2017) สำหรบั ประชากรโลกท่ี อาศัยอย่ใู นพ้ืนทส่ี ลัมมสี งู ถึง 880 ลา้ นคนในปี 2014 และหากเทียบเป็นอตั ราร้อยละของประชากรสลัมต่อ ประชากรโลกในปี 2018 พบวา่ จำนวนประชากรทอ่ี าศัยอย่ใู นเขตพื้นที่สลัมมมี ากถงึ ร้อยละ 10 ของประชากร ท้งั หมด

45 รูปภาพท่ี 3: รปู ภาพของสลัมใน Kibera, กรงุ ไนโรบี ประเทศเคนยา20 รูปภาพท่ี 4: รปู ภาพของสลัมในกรุงมานลิ า, ประเทศฟลิ ิปปินส2์ 1 นอกจากประเด็นของพื้นทแ่ี ออดั ท่เี กิดขึ้นตามเมืองตา่ งๆทว่ั โลก สง่ิ ท่ีเกิดข้ึนตามมาเม่ือประชากร เคลื่อนยา้ ยเข้ามาอยู่ในเมืองมากคือ ปญั หาของมลภาวะอากาศเปน็ พิษ บรกิ ารและโครงสรา้ งพนื้ ฐานสาธารณะท่รี ัฐ 20 ท่ีมาของภาพจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Kibera#/media/File:Kibera.jpg 21 ท่มี าของภาพจาก https://en.wikipedia.org/wiki/File:Manila_Philippines_Slums-in-Manila-01.jpg

46 จะตอ้ งปรับปรุงเพ่ิมเตมิ เพ่ืออำนวยความสะดวกจากการท่ีประชากรมมี ากข้ึน นอกจากนี้ ประเด็นทรี่ ฐั จะต้อง พจิ ารณา คือ ในกรณีของภัยพิบัตทิ ่เี กิดข้ึนในเมืองใหญ่ มูลค่าความเสยี หายต่อชวี ิตและทรัพย์สินจะเพิ่มมากขึน้ เป้าประสงค์ในการพฒั นาเมืองและสงั คมย่ังยืน คือ การทำใหเ้ มอื งเตบิ โตข้นึ อย่างย่ังยืน เปน็ เมอื งท่ปี ลอดภัยและมี พนื้ ท่สี ำหรบั ทุกคนในการเขา้ ถงึ ความปลอดภัยและบริการสาธารณะ รวมทัง้ ไดร้ บั คณุ ภาพชวี ิตทดี่ ตี ามสมควร (United Nations, 2017: 13) ประเด็นทสี่ ิบสอง Responsible Consumption and Production – การบรโิ ภคและการผลติ อย่างมีความ รับผิดชอบ ในประเดน็ นเ้ี นน้ ไปทก่ี ารบริโภคและการผลิตอยา่ งย่งั ยนื รวมไปถึงการคำนงึ ถึงปรมิ าณของสารพิษและ ขยะอันตรายทีเ่ กดิ จากกระบวนการผลิตและบรโิ ภค ทงั้ นพ้ี บว่า ในพ้นื ทโี่ ดยเฉพาะทวปี เอเชยี ตะวนั ออก มีอตั ราการ ใชท้ รพั ยากรทางธรรมชาตเิ พิ่มขึน้ (United Nations, 2017: 14) สว่ นหนงึ่ เปน็ ไปเพ่อื ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ ของผบู้ ริโภคทม่ี ีกำลังในการจับจ่ายใช้สอยมากข้นึ ประเด็นทีส่ ิบสาม Climate Action – การเคลอ่ื นไหวในประเดน็ ทเ่ี กยี่ วกบั สภาพภูมิอากาศ ในประเดน็ น้ีมงุ่ หวงั ให้เกิดความร่วมมือระดับนานาชาติ เพื่อเคล่อื นไหวในประเดน็ ท่เี กย่ี วกบั สภาพภูมิอากาศทีเ่ ปล่ียนแปลง โดย ประเทศพฒั นาแล้วจะทำการช่วยเหลือประเทศกำลังพัฒนาในการสนบั สนนุ งบประมาณเพ่อื นำไปใชใ้ นประเด็นที่ เกยี่ วกับภูมอิ ากาศ การพฒั นาด้าน climate action ทผี่ ่านมา คอื ประเทศต่างๆเร่ิมจดั ทำยุทธศาสตรเ์ พื่อลดความ เสย่ี งของการเกดิ ภยั พิบตั ภิ ายในประเทศ และจากการประชุมในระดบั นานาชาติ มปี ระเทศท่วั โลกทท่ี ำการรว่ มมือ สร้างขอ้ ตกลงในการเคล่อื นไหวในประเด็นทเ่ี กี่ยวกับภูมิอากาศ (United Nations, 2017: 14) อย่างไรกต็ าม ใน ประเดน็ การเคลอ่ื นไหวทีเ่ ก่ยี วกบั สภาพภูมอิ ากาศ ยังเป็นประเด็นท่ีไม่เหน็ ความเปลี่ยนแปลงอย่างชดั เจน นอกเหนือไปจากคำม่นั สญั ญาของประเทศต่างๆทรี่ ่วมตกลงกัน ประเด็นทีส่ บิ ส่ี Life Below Water – ชีวิตใตผ้ นื นำ้ ผืนน้ำถือเปน็ แหล่งอาหารชน้ั ดขี องประชากร และนำ้ เป็น สว่ นประกอบของโลกใบนี้ถงึ 3 จาก 4 ส่วน อยา่ งไรก็ตาม พบวา่ ปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ ได้แก่ สภาวะของมหาสมุทรที่เป็น กรด การทำการประมงเกินขนาดและมลพิษทเ่ี กดิ จากการเดนิ เรอื ส่งผลลบตอ่ ส่งิ มีชีวิตใต้ท้องทะเลและ สภาพแวดล้อมโดยรวม (United Nations, 2017: 15) การเปลย่ี นแปลงทางด้านกฎหมาย เชน่ เพมิ่ พน้ื ท่ีในการ อนุรักษ์ทะเล ถือเป็นส่วนหนง่ึ ของการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ใต้ผืนน้ำ (United Nations, 2017: 15) ประเดน็ ทส่ี บิ หา้ Life On Land – ชวี ิตบนผนื ดนิ เป้าหมายขอ้ น้ีมจี ุดมุ่งหมายในการปกปอ้ งผืนแผน่ ดนิ และ ชีวภาพมวลรวมของสรรพสง่ิ ในปจั จบุ ัน ผนื แผน่ ดินประมาณร้อยละ 15 จดั อยใู่ นแผ่นดินที่ไดร้ ับการดูแลรักษา

47 อนุรกั ษ์ โดยในช่วงปี 1998-2013 พื้นทป่ี ระมาณร้อยละ 20 ของโลกมตี ้นไมพ้ ชื พรรณปกคลมุ อยู่ ปัญหาหนึ่งท่โี ลก กำลังประสบคือสภาวะการสญู เสยี หน้าดนิ และการแปรสภาพกลายเป็นทะเลทรายซงึ่ จะสง่ ผลเสียตอ่ ประชากรถึง 1 พันล้านคน นอกจากน้ี การสูญเสียในความหลากหลายทางชวี ภาพซ่ึงไดร้ บั ผลกระทบมาจากการเปลี่ยนแปลงของ สภาพอากาศ ซึ่งอาจส่งผลใหส้ ่งิ มชี ีวติ บางสายพันธ์ุเสี่ยงตอ่ สภาวะของการสูญพันธุ์ ทงั้ น้ี โลกยงั คงมีปญั หาจากการ ลักลอบบกุ รุกล่าสัตว์ เพ่อื นำเอาชิน้ ส่วนไปค้าขาย เชน่ งาชา้ ง นอแรด (United Nations, 2017: 16) ดงั นัน้ การ ปกปอ้ งผนื แผน่ ดนิ มที ั้งทเ่ี กดิ จากผลกระทบของสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติและการกระทำที่ผดิ กฎหมายของ มนษุ ย์ ประเดน็ ท่สี ิบหก Peace, Justice and Strong Institutions – ความสงบสขุ และความยตุ ธิ รรม รวมไปถึง องค์กรเข้มแขง็ จดุ ประสงค์ของการพัฒนาท่ยี ั่งยืนในประเด็นน้ี มงุ่ ไปทปี่ ระชาชนสามารถเข้าถงึ กระบวนการ ยุติธรรมอย่างเท่าเทยี มและทั่วถงึ อย่างไรก็ตามในความเป็นจรงิ การเขา้ ถึง ประสทิ ธิภาพ และความน่าเชอ่ื ถือของ กระบวนการยุตธิ รรมยังคงมีความเหล่ือมลำ้ กันทัง้ ในระดบั ประเทศและระดบั ภูมภิ าค (United Nations, 2017: 16-17) นอกจากน้ี ยงั มปี ระเดน็ ทีอ่ งคก์ ารสหประชาชาตใิ หค้ วามสนใจไดแ้ ก่ สทิ ธมิ นุษยชน เสรภี าพในการเข้าถึง ข้อมลู การใช้งบประมาณของภาครฐั อยา่ งโปร่งใส ปัญหาการคอรร์ ัปชันและการรบั สนิ บน หากคณุ อาศัยอยู่ในประเทศแถบละตนิ อเมรกิ า บริเวณใต้ทะเลทรายซาฮารา และ เอเชยี คณุ มีความเสีย่ งใน การถูกฆาตกรรม นอกจากนี้ จากตวั อยา่ งขอ้ มลู ของ 76 ประเทศ ในช่วงปี 2005 - 2016 โดยข้อมลู สว่ นมากมาจาก ประเทศกำลงั พัฒนา พบว่ารอ้ ยละ 80 ของเด็กที่มีอายุระหวา่ ง 8-14 ปี ถูกลงโทษทางวนิ ยั โดยการทำร้ายรา่ งกาย และหรือถูกลว่ งละเมดิ ทำรา้ ยทางดา้ นจิตใจเป็นประจำ (United Nations, 2017: 17) ปญั หาด้านการค้ามนุษย์ การค้ามนุษย์เพื่อการคา้ ประเวณีในเดก็ หญงิ และสตรี การค้ามนษุ ยโ์ ดยการบังคบั ให้ เปน็ แรงงานยังคงเปน็ ปญั หาหลกั ท่อี งค์การสหประชาชาตติ ้องการแก้ไข พบวา่ มีการคา้ มนุษย์ในรปู แบบการคา้ ประเวณลี ดลงแต่การค้ามนุษย์เพ่อื ไปเปน็ แรงงานมจี ำนวนมากข้นึ โดยเหยอ่ื การคา้ มนุษยจ์ ะเป็นผหู้ ญิงและ เด็กหญงิ มากกว่า เพศชาย (United Nations, 2017: 17) คำว่า “Modern Slavery” ถือเป็นการให้คำนยิ ามในรปู แบบใหมข่ อง ทาส ในยคุ ปัจจุบนั สภาวะความเป็นทาส เกิดข้ึนได้จาก 4 กรณีหลกั ดว้ ยกนั ได้แก่ 1. ถูกบงั คับใชแ้ รงงานด้วยความไมเ่ ต็มใจ ไม่ว่าการบังคับน้ันจะเกดิ จากการบังคับขเู่ ข็ญทางร่างกายหรือจิตใจ

48 2. บคุ คลผู้นั้นมีเจ้าของ หรอื ถูกควบคุมโดยนายจา้ ง ไมว่ ่าจะผ่านทางการข่มขกู่ ารทำร้ายรา่ งกายหรือจติ ใจ หรอื การถูกทำร้ายร่างกายและจติ ใจ 3. บุคคลผูน้ ัน้ ถูกลดคุณค่าของความเป็นมนุษย์ จนกลายเปน็ เพียงแค่สนิ คา้ ท่ีสามารถเปล่ียนผ่านมือของ เจ้าของผ่านการค้าขายโดยถือว่าบุคคลผนู้ ้นั คือ สมบตั ิช้นิ หน่งึ 4. บคุ คลผนู้ น้ั ถกู จำกัดอสิ รภาพในการเดนิ ทาง เชน่ การถูกจำกดั ให้อยู่ในสถานที่นั้นๆ โดยไมส่ ามารถออกไป ไหนมาไหนได้ หรอื ถกู ล่ามโซ่เอาไว้ เพ่ือไมใ่ หห้ นีไปไหน (Anti-slavery, n.d.) ประมาณการณว์ า่ มบี ุคคลท่ีตกอยใู่ นสภาวะของความเป็นทาสอยู่ถึง 40.3 ลา้ นคน โดยในจำนวนนจี้ ำแนก ออกเปน็ เดก็ 10 ล้านคน หรือ ราวร้อยละ 25 ของจำนวนทาสสมยั ใหมท่ ั้งหมด 24.9 ลา้ นคนเปน็ แรงงานทถ่ี ูกบังคับ ใชแ้ รงงาน 15.4 ล้านคน คือจำนวนผูท้ ี่ถูกบงั คับใหแ้ ตง่ งาน และ 4.8 ล้านคน คือจำนวนของผทู้ ี่ถูกบงั คับให้ คา้ ประเวณี (Anti-slavery, n.d.) ประเด็นท่ี 17 Partnerships for the Goals – สรา้ งความร่วมเม่ือเพ่ือบรรลุเป้าหมาย ในประเด็นนี้มี เปา้ ประสงคเ์ พื่อให้รัฐมีการรว่ มมือกนั พัฒนาในดา้ นตา่ งๆอย่างย่ังยนื ไดแ้ ก่ ความรว่ มมือทางด้านการเงนิ ความ ร่วมมอื ทางด้านเทคโนโลยีทางการสื่อสารและข้อมูล ความรว่ มมือทางดา้ นการค้า โดยการร่วมมือกนั จะสามารถลด ระดบั ความเหล่ือมล้ำระหวา่ งประเทศท่พี ัฒนาแลว้ กับประเทศท่ีกำลังพัฒนาได้ในระดบั หนง่ึ (United Nations, 2017: 18-19) วถิ กี ารแกไ้ ขปัญหาเพื่อความย่ังยืน ในปัจจบุ ัน การแก้ไขปญั หาเพ่ือความย่งั ยืน สามารถเกิดข้นึ ไดจ้ ากทั้งหน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ไป จนถึงบุคคลทวั่ ไป ในกรณขี องการทำธุรกจิ ปัจจุบันมีธรุ กจิ ทเี่ รยี กว่า “กจิ การเพ่ือสงั คม (social enterprise)” ท่ี เป็นธรุ กิจทีม่ ิได้มีการแสวงหากำไรหลกั เป็นกำไรเพ่ือผลประโยชนข์ องบริษัทเพยี งอยา่ งเดียว หากแต่เปา้ หมายของ กจิ การเพื่อสังคมเป็นไปเพ่ือแกไ้ ขปัญหาทางสังคม - สิ่งแวดลอ้ ม22 บทความท้ายบทที่ 2 มเี รื่องราวประกอบที่เกี่ยวข้องกับการทำธรุ กิจที่เนน้ ถงึ ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม เชน่ เรื่องของ Lush บรษิ ทั ผลติ ภัณฑ์ดูแลร่างกายจากสหราชอาณาจักร, เรื่องราวของโรงเรียนที่เน้นการเรยี นการสอน 22 สามารถอา่ นบทความเรือ่ ง วา่ ดว้ ย Social Enterprise อยากจะเปน็ กับเขาตอ้ งสร้างรายได้ / #ความน่าจะเรียน ไปเรียนทำ Social Enterprise กนั เถอะ / The People’s Supermarket เมื่อคนไทยไดร้ ่วมเปน็ เจ้าของร้านซเู ปอรม์ าร์เกต็ ในลอนดอน เพ่มิ เติมท้ายบท

49 เพิม่ เติมด้านสงิ่ แวดล้อมในอินโดนเี ซียทีม่ ชี ่ือว่า Green School, เร่อื งราวของสตารท์ อพั ที่มเี ป้าประสงคเ์ พือ่ ลด ปัญหา food waste อยา่ ง Olio ถงึ แม้ว่าการแก้ไขปัญหาเพื่อความยงั่ ยืนจะมหี ลากหลายรปู แบบ แต่ปฏิเสธไม่ไดว้ ่า ณ ปัจจบุ ัน ยังมี วธิ ีแกไ้ ขปัญหาแบบชั่วคราว เช่น การบริจาค, ธรุ กิจทเี่ นน้ การขายผลิตภณั ฑแ์ บบที่เนน้ การช่วยเหลอื สงั คมผา่ นการ บริจาคสินคา้ ของตนเอง เช่น เม่ือซ้ือสนิ คา้ ของบริษัท บริษัทจะทำการบรจิ าคผลติ ภณั ฑ์ไปยงั ประเทศอื่น ๆ ในกรณี ของการทำธุรกจิ ในลักษณะน้ี ส่งผลเชงิ บวกแบบชวั่ คราวหากแตส่ ร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศผ้รู ับ บริจาคในระยะยาว23 สรปุ ในบททีส่ อง นกั ศึกษาไดเ้ รียนรถู้ ึงปญั หาทีเ่ กิดขน้ึ รอบตัว ทั้งปญั หาจากตวั ของเราเอง ปญั หาสงั คมท่ีอยู่ รอบตวั เรา นักศึกษาเรียนรถู้ งึ การเงนิ ส่วนบุคคลในเบื้องต้น ความสำคญั ของการเงินสว่ นบุคคลส่งผลกระทบ โดยตรงต่อตัวเรา และหากเราเปน็ คนมีวนิ ัยทางการเงนิ เราจะพบว่าในอนาคต เราจะกลายเปน็ พลเมืองท่ีเปน็ อิสระ คอื ไม่มคี วามจำเปน็ ทจี่ ะต้องพึง่ พาทางการเงนิ จากรัฐ หรือ มีการพึ่งพาทางการเงนิ จากรัฐผ่านการใชส้ ิทธทิ พ่ี ึงมี ตามสมควร การเรยี นรู้ในการเคารพกฎจราจรของนักศึกษา ย่อมส่งผลดตี อ่ ความปลอดภัยของตัวนักศึกษาเองและ บุคคลผ้รู ่วมใชป้ ระโยชน์จากการจราจร ท้งั นี้ ผลในเชงิ สถิติของการจราจรไทย พบว่า จำนวนยานพาหนะถอื เป็น ปจั จยั ที่ส่งผลกระทบโดยตรงตอ่ สภาพการจราจร แต่การไม่เคารพในวนิ ัยจราจร ส่งผลดา้ นลบให้ประเทศไทยตดิ อันดบั โลกในสถิติการเสยี ชีวติ จากอบุ ตั เิ หตุบนท้องถนน ประเดน็ ทสี่ ำคัญอีกประการหนง่ึ ท่ีเกดิ ขึ้นรอบตวั เรา คือ ปญั หาของขยะและผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ซงึ่ ในปจั จบุ นั ประเทศไทยยังมีปัญหาในการจดั การเรื่องการใช้ถงุ พลาสติก การทิ้งขยะลงในท้องทะเลทีต่ ิดเป็นอนั ดับท่ี 5 ของโลก ทัง้ นี้ นกั ศกึ ษาควรใช้วธิ กี าร 7R ในการลดขยะและมคี วามตระหนักในการท้งิ ขยะ นำส่งิ ของกลบั มาใชซ้ ้ำ และการรีไซเคลิ อย่างถกู วิธี 23 สามารถอา่ นบทความเรื่อง ต้ปู ันสุขกับแรงจงู ใจในการบรจิ าค? / Poverty, Inc. เม่ือเราถกู ฆ่าดว้ ยความสงสาร / เรายงั โชคดกี ว่าคนเปน็ พนั ล้านบน โลก: คณุ ค่าของเงนิ 175 บาท

50 สงั คมผู้สงู อายุ ถือเป็นปญั หาระดับชาติ ที่รฐั ไทยจะต้องมีการจัดการนโยบายสาธารณะที่เอ้ือตอ่ ผู้สูงอายุ นอกจากการจดั การโดยภาครัฐ จะเห็นวา่ ภาคเอกชนมีการตนื่ ตัวในการทำธรุ กจิ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั ผสู้ ูงอายุ อย่างไรก็ ตาม ปญั หาขั้นพน้ื ฐานท่ีจะต้องได้รับการแก้ไขคือ จะทำอยา่ งไรให้ผ้สู ูงอายุมีโอกาสในการไดร้ บั การบริการอย่าง ท่วั ถึง เช่น การเขา้ ถงึ ทางการแพทย์ สิทธใิ นการไดร้ บั โอกาสใหเ้ ขา้ อาศยั ในบ้านพักคนชรา ฯลฯ การทุจริตคอร์รัปชัน ถอื เปน็ ปญั หาระดับชาตทิ สี่ ะสมมายาวนาน ทง้ั น้ี ความหมายของทจุ ริตและคอร์รปั ชนั มคี วามแตกต่างกัน โดยทจุ รติ สามารถหมายความถึงการกระทำท่ีเกิดไดโ้ ดยบคุ คลทั่วไปแต่นยิ ามคอร์รัปชนั จะ หมายถงึ การกระทำความผิด-การรับสินบนโดยเจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั การคอรร์ ัปชันสามารถพบได้ในประเทศทั่วโลกแต่ ประเทศท่ียากจนกว่ามแี นวโน้มท่จี ะคอรร์ ัปชนั มากกว่า รวมทงั้ ลกั ษณะจำเพาะบางอย่าง เชน่ การเคยเปน็ ประเทศ ภายใตอ้ าณานิคม การนบั ถือศาสนา มผี ลตอ่ ปริมาณการคอรร์ ัปชนั ท้ังนี้ การคอร์รัปชนั มีแนวโนม้ ทีจ่ ะทำให้ เศรษฐกิจเตบิ โตในเชงิ ลบมากกวา่ การไม่คอรร์ ัปชัน จากปัญหาส่วนตวั ปัญหาท้องถน่ิ ปญั หาระดับชาติ มาจนถงึ ปัญหาระดับนานาชาติ ในปี 2015 องค์การ สหประชาชาติ ไดม้ กี ารให้ความสนใจในการแก้ไขปญั หาระดับนานาชาติ 17 ประการดว้ ยกัน ตัง้ แตป่ ระเดน็ ทางด้าน เศรษฐกจิ เชน่ ความยากจน ความเหลอื่ มล้ำทางเศรษฐกจิ ประเด็นดา้ นสงั คม เช่น ความเทา่ เทยี มกันทางเพศ การ เขา้ ถงึ การศึกษา ประเดน็ ด้านส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ ปญั หาดา้ นการถดถอยลงของความหลากหลายทางชีวภาพ ความ มน่ั คงทางอาหาร ไปจนถงึ ประเด็นทางการเมือง เชน่ การสร้างความร่วมมือกันในระดบั นานาชาติ คำถามท้ายบท 1. อธิบายถงึ ความสำคญั ของการเรยี นรเู้ ร่อื งการเงินส่วนบคุ คล 2. เส้นแบง่ ความยากจน คือ อะไร? เส้นแบ่งความยากจน ณ ปัจจุบนั สอดคล้องกบั ความเปน็ จริงหรอื ไม่ เพราะอะไร? 3. สังคมผสู้ งู อายุ คือ อะไร? รัฐไทยควรจัดการกับการเกดิ ข้ึนของสงั คมผู้สูงอายุอย่างไร? 4. SDGs คือ อะไร? และมีความสำคญั อย่างไรต่อสงั คมโลก? นักศึกษาคิดว่าปัญหาใดควรได้รบั การแก้ไขก่อน? เพราะอะไร? 5. คดิ วา่ ปัญหาการคอรร์ ปั ชนั ต้องใชว้ ิธกี ารใดจงึ จะสามารถลดอัตราการคอรร์ ปั ชนั ไดด้ ีที่สุด อธิบายเหตผุ ล ประกอบ

51 กจิ กรรม กิจกรรมท่ี 1.1 นักศึกษาจะได้รบั สมุดขนาดพกพาคนละ 1 เลม่ โดยกิจกรรมทใี่ หน้ ักศกึ ษาทำไปตลอดทงั้ ภาคการศกึ ษา คือ การจดบันทกึ ประจำวนั และ การจดบนั ทึกค่าใชจ้ ่ายประจำวนั กจิ กรรมที่ 1.2 นกั ศกึ ษาจะไดเ้ รยี นรู้ถึงหลกั การ Minimalism นักศึกษาเรียนรูว้ ิธกี าร “มขี องน้อยแต่มาก” ผ่านการเรียนรู้ จากหนังสือเร่ือง Goodbye, Things ของฟุมโิ อะ ซาซากิ ในกิจกรรมนเ้ี ราจะทดลองการจำกดั ของในชวี ติ ไมเ่ กิน 100 ชน้ิ ภายในระยะเวลา 1 เดอื นต้งั แต่มีการเรยี นการสอน นอกจากนีน้ กั ศกึ ษาจะได้เรยี นรวู้ ิธกี ารคำนวณเงินให้ เพยี งพอสำหรับการเกษยี ณด้วยวิธีการ “4 % Rule” กิจกรรมท่ี 2.1 นกั ศกึ ษาไดร้ ับมอบหมายให้ เขียนถงึ พฤติกรรมของตนเองที่นักศึกษาเห็นวา่ เป็นปัญหา ทงั้ พฤติกรรมท่ี สร้างปัญหาใหก้ บั ตนเอง และพฤตกิ รรมที่สรา้ งปญั หาให้กับผอู้ ่นื และสงั คม และนักศกึ ษาจะต้องเป็นผู้เลือกปญั หา ขน้ึ มา 1 ปญั หา และคดิ หาวธิ ีแกไ้ ข กิจกรรมท่ี 2.2 ถอื เป็นกิจกรรมต่อเนื่องมาจากกจิ กรรมที่ 2.1 ในกิจกรรมน้ี นักศกึ ษาจะได้ฝึกทำ SDGs Hackathon ซง่ึ เปน็ วิธกี ารท่ี United Nations Development Programme (UNDP) ได้นำมาใช้ เพื่อให้เยาวชนไดเ้ รยี นรู้ถึง กระบวนการในการแก้ไขปัญหาที่ United Nations ให้ความสนใจ โดยวธิ ีการแกป้ ัญหานั้นเปน็ วธิ กี ารเดยี วกนั กบั การทำ Startup กจิ กรรมท่ี 2.3 นักศึกษาไดร้ ับมอบหมายให้ดูรายการสามัญชนคนไทย ตอน รวยจน เหล่อื มลำ้ (3 มถิ ุนายน พ.ศ. 2560) ผา่ นทาง https://www.youtube.com/watch?v=G6AGWivbG9s

52 กิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมน้ีเรียกว่า “ถ้าฉนั เป็นนายก” เปน็ กจิ กรรมท่ีเปิดโอกาสใหน้ ักศึกษาไดส้ ำรวจประเดน็ นโยบายของ ประเทศต่างๆทั่วโลก โดยให้นักศึกษาทำ 2 กจิ กรรม ได้แก่ การเลอื กประเทศทเี่ ราตอ้ งการเลยี นแบบนโยบาย และ การเลือกนำเสนอนโยบายของประเทศเพยี ง 1 นโยบาย พรอ้ มนำเสนอในบริบททนี่ ำมาปรบั ใชก้ ับประเทศไทย จะต้องมกี ารปรับปรงุ นโยบาย หรอื เปลยี่ นแปลงนโยบาย อย่างไร หรือ ไมเ่ ปลยี่ นแปลง เพราะอะไร? นักศึกษาเลือก ตวั แทนกลมุ่ ในการนำเสนอนโยบายและให้มีการโหวตกันในชั้นเรียน

53 ว่าด้วย Social Enterprise อยากจะเป็นกับเขาตอ้ งสร้างรายได้ Social Enterprise แปลเป็นภาษาไทยวา่ กจิ การเพอ่ื สังคม ลกั ษณะสำคัญของกิจการเพื่อสังคมคือ “ธรุ กิจที่ เปล่ียนแปลงโลกไปในทิศทางที่ดีข้นึ ” (Social Enterprise UK, n.d.) ส่ิงทท่ี ำให้กิจการเพอื่ สงั คมแตกต่างจากธุรกจิ คือ ธรุ กจิ เปน็ องคก์ รท่ีแสวงหาผลกำไรเป็นสำคัญ ถึงแม้ว่าในองค์กรธุรกิจจะมหี นว่ ยงานอย่าง Corporate Social Responsibility (CSR) หรือหน่วยงานทด่ี แู ลด้านความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม แต่เปา้ ประสงค์หลกั ขององค์กรยงั คง เปน็ การทำกำไรเปน็ สำคญั ตัวอย่าง CSR ขององค์กรในประเทศไทยไดแ้ ก่ โครงการ Journey D โดยแอร์เอเชีย โครงการ Journey D มกี ิจกรรมในการสนับสนุนการท่องเทย่ี วโดยชุมชน ถอื เป็นกิจกรรมท่องเที่ยวทางเลอื กท่ี กอ่ ใหเ้ กดิ รายไดภ้ ายในชุมชนท้องถ่นิ นอกจากนีย้ ังมโี ครงการท่ีสนับสนนุ การขายผลิตภัณฑท์ ่ีผลิตโดยชมุ ชนท้องถ่ิน เช่น ตกุ๊ ตาหมพี ้นื เมืองอาขา่ ผ้าคาดผมชุมชนผาหมี โดยสนิ ค้าดงั กลา่ วจะถกู นำไปจดั จำหนา่ ยบนเทยี่ วบินของแอร์ เอเชีย (Journey D, ม.ป.ป.) ทั้งนี้ เราอย่าได้เข้าใจผิดวา่ กจิ การเพ่ือสังคมเป็นองคก์ รที่ไม่แสวงหากำไร หลกั การทำธรุ กิจของกิจการเพือ่ สงั คมเป็นไปเพ่ือหารายได้และมกี ำไรจากการขายผลิตภณั ฑ์และบริการ แต่ส่งิ ที่ทำใหเ้ ราเรยี กว่าองคก์ รน้เี ป็น กิจการเพ่ือสงั คม นน่ั เปน็ เพราะ รายได้และกำไรที่ได้จากการให้บริการหรอื ขายผลติ ภณั ฑ์จะไม่ไดอ้ ยู่ทเ่ี จา้ ของ กิจการหรือผู้ถือหุ้นเปน็ หลัก กำไรท่ีได้จากการประกอบกิจการอาจนำไปลงทุนต่อเพ่ือให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงในเชงิ บวกต่อสังคม เกิดการจ้างงาน นำสง่ รายได้ให้กับชุมชนทอ้ งถน่ิ หรอื นำกำไรไปบริจาคตอ่ (Social Enterprise UK, n.d.) วธิ ีการทีจ่ ะดูว่าองคก์ รธรุ กิจใดถือเป็นกิจการเพ่ือสงั คม หน่วยงาน Social Enterprise UK มขี ้อสังเกต ดังต่อไปน้ี 1. ธรุ กิจมพี นั ธกิจท่ีชัดเจนทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับประเดน็ ทางด้านสงั คมหรอื ส่ิงแวดล้อม 2. เปน็ ธุรกิจที่มีรายรับเกนิ กวา่ กึ่งหนึ่งจากการซือ้ ขายแลกเปลี่ยนสนิ คา้ และบริการ 3. เป็นองค์กรที่เปน็ เจา้ ของไอเดียในการทำพันธกิจเพื่อสังคม 4. เป็นธุรกิจทมี่ กี ารลงทนุ หรอื บริจาคกำไรอยา่ งน้อยก่งึ หนึง่ สเู่ ป้าหมายเพื่อสงั คม 5. มีความโปร่งใสทั้งในกระบวนการดำเนนิ การ การแสดงผลกระทบที่เกดิ ขึน้ จากการประกอบกจิ การ กิจการเพ่ือสงั คม ถอื เปน็ องค์กรท่ีอยูต่ รงกงึ่ กลางระหว่าง ธุรกจิ กับ องคก์ รไมแ่ สวงหาผลกำไร หรือ non – profit organization (Social Enterprise Alliance, n.d.) ประเด็นความแตกตา่ งขององคก์ รไมแ่ สวงหากำไร คือ องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรไม่มีการดำเนินการเพื่อแสวงหากำไร และรายไดอ้ งค์กรจะไม่ตกเปน็ ผลประโยชน์ต่อ สมาชิก พนักงาน หรอื ผบู้ รหิ ารในองคก์ ร (Cornell Law School, n.d.) ตัวอย่างขององค์กรไม่แสวงหากำไรใน

54 ประเทศไทย ไดแ้ ก่ โครงการอนิ เทอรเ์ นต็ เพ่ือกฎหมายประชาชน หรอื iLaw โดย iLaw เน้นการทำงานในดา้ นท่ี เกีย่ วข้องกบั สิทธมิ นุษยชน มเี ปา้ หมายในการสนบั สนนุ ประชาธปิ ไตย เสรีภาพทางการแสดงออก สทิ ธิพลเมอื ง สทิ ธิ ทางการเมือง และสนบั สนนุ ระบบยตุ ธิ รรมที่เป็นธรรมและสามารถตรวจสอบได้ (iLaw, ม.ป.ป.) iLaw ไมส่ ามารถ นำเอารายไดท้ ่ีไดร้ บั มาสรา้ งผลกำไรใหเ้ กดิ ข้นึ กบั พนักงานในองค์กรหรอื ผู้บริหาร รายได้ที่ได้รบั จากการบริจาคจาก องค์กรทง้ั ในและตา่ งประเทศจะต้องเป็นไปเพื่อสืบสานพันธกจิ ขององค์กรในประเดน็ ด้านสิทธิมนุษยชน ในปัจจบุ นั คำวา่ กจิ การเพ่ือสงั คมเรมิ่ เปน็ ทร่ี จู้ ักในสังคมไทยมากขน้ึ ในอนาคตเชื่อว่า จะมผี ปู้ ระกอบการที่ หนั มาทำกิจการเพอื่ สังคมกนั มากขน้ึ เพราะตอบโจทยท์ ั้งในแง่ของการสร้างคณุ ค่าต่อสงั คมและสามารถสร้าง รายไดโ้ ดยผ่านกระบวนการแขง่ ขนั ไมต่ ่างจากการทำธุรกิจท่วั ไปทต่ี ้องหาลกู คา้ ทำการตลาด สรา้ งผลิตภัณฑ์หรือ บริการเพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของผู้บรโิ ภค ถือเป็นความท้าทายสองด้านที่ผ้ปู ระกอบกิจการเพื่อสงั คมตอ้ ง พบเจอ

55 #ความนา่ จะเรยี น ไปเรียนทำ Social Enterprise กันเถอะ สำหรบั ใครก็ตามท่ีต้องการจะทำงานดา้ น social enterprise มีความฝันอันสูงสุดว่าอยากจะเป็นผปู้ ระกอบการ กจิ การเพ่อื สังคม เราได้ทำการรวบรวมหลกั สูตรที่นา่ สนใจที่จะทำใหท้ กุ ทา่ นไดเ้ รียนรเู้ รอ่ื งราวของกจิ การเพ่ือสงั คม แบบร้ลู กึ ร้จู รงิ โดยแบ่งออกเป็นหลักสตู รการเรียนการสอนทง้ั ในรปู แบบออนไลน์ ออฟไลน์ เรียนในต่างประเทศ และในประเทศ ขอเชิญทุกทา่ นไปทำการจับจ่ายซ้ือคอร์สเรยี นอย่างมีความสขุ กันไดเ้ ลย คอรส์ เรยี นภาษาองั กฤษแบบออนไลน์ 1. หลักสูตร Social Entrepreneurship โดย Wharton, University of Pennsylvania หลักสตู รนเ้ี หมาะสำหรับผู้สมัครเรยี นทัง้ ประเภทบคุ คลทวั่ ไปและบคุ คลจากองค์กรท่ีต้องการสรา้ งความ เปลี่ยนแปลงทางสังคม สมัครเรยี น: https://www.coursera.org/learn/wharton-social-entrepreneurship ระยะเวลาในการเรียน: 5 ชั่วโมง คา่ เรียน: ฟรี! 2. หลกั สูตร Social Entrepreneurship Specialization โดย Copenhagen Business School (CBS) หลักสตู รนมี้ ีการแนะนำเบื้องตน้ ให้ผูเ้ รียนไดร้ ู้จักกบั ธุรกิจเพื่อสงั คมและการสร้างองค์กรเพ่ือตอบโจทย์ในการแกไ้ ข ปัญหาทางสงั คมหรือส่ิงแวดลอ้ ม การเรยี นในหลักสตู รนจี้ ะมีกิจกรรมกลุ่มทใ่ี ห้นักศึกษาช่วยกันศึกษาเรยี นรู้ถึง ปัญหา หาโอกาสและไอเดยี ในการแก้ไขปัญหานนั้ สมคั รเรยี น: https://www.coursera.org/specializations/social-entrepreneurship-cbs ระยะเวลาในการเรยี น: 4 ชัว่ โมง ค่าเรยี น: ฟรี! หลกั สูตรภาษาอังกฤษระดับปริญญาโท 1. MSt in Social Innovation โดย Cambridge Judge Business School, University of Cambridge, สหราชอาณาจกั ร หลักสตู รปรญิ ญาโทดา้ นนวัตกรรมสงั คม ถือเป็นหลกั สตู รการเรยี นการสอนระดบั ปรญิ ญาโททีน่ ่าสนใจมาก อยา่ งไร ก็ตามหลักสูตรนจ้ี ะเป็นการเรียนการสอนแบบ part- time เทา่ นัน้ ไม่มีการเรยี นการสอนแบบเต็มเวลา

56 ระยะเวลาในการเรียน: 2 ปี คณุ สมบตั ิ: ทำงานมาแล้ว 2 ปี/ มคี ะแนน IELTS ท่ี 7.5 และไม่มีคะแนนดา้ นใดท่ตี ่ำกวา่ 7 คา่ เรยี น: ราคาจะขน้ึ ในทุกปกี ารศึกษา ในส่วนของปี 2019 ค่าเล่าเรยี นอยูท่ ่ีปลี ะ 16,200 ปอนด์ (ประมาณ 630,000 บาท ตอ่ ปี) 2. BA in Global Studies and Social Entrepreneurship และ MA in Social Innovation and Sustainability (MAS) โดย The School of Global Studies, มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทยเองก็มีหลกั สตู รการเรยี นการสอนทางดา้ นการเป็นผูป้ ระกอบการเพ่อื สังคมและนวตั กรรมสงั คมโดย ตรงที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเรยี นการสอนเป็นภาษาอังกฤษและผูเ้ รียนสามารถเลือกเข้าเรยี นได้ท้ังในระดับ ปรญิ ญาตรแี ละปริญญาโท ระยะเวลาในการเรียน: 4 ปี สำหรับปริญญาตรี/ 1 ปสี ำหรับปรญิ ญาโท คุณสมบตั ิ: ปรญิ ญาตรี: จบการศึกษาระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ มผี ลสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ ข้นึ ไป/ เกรดเฉลี่ยไม่ตำ่ กว่า 2.5/ มี Statement of Purpose และ Portfolio ปรญิ ญาโท: จบการศึกษาในระดับปรญิ ญาตรี/ มผี ลสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ขึ้นไป/ มี Statement of Interest/ CV คา่ เรียน: ปรญิ ญาตรี เทอมละ 72,000 บาท/ ปริญญาโท 257,710 บาทต่อปี ดรู ายละเอยี ดเพม่ิ เติมได้ท่ี: https://sgs.tu.ac.th/

57 ตปู้ นั สุขกับแรงจูงใจในการบริจาค? ผลกระทบจากพิษโควิด – 19 ทำใหป้ ระชาชนชาวไทยจำนวนหนง่ึ ดำรงชพี ผ่านไปในแต่ละวันอย่างยากลำบาก ขอ้ มลู เชงิ สถิติพบว่าในปี พ.ศ. 2560 ธนาคารในประเทศไทยมีจำนวนบัญชเี งนิ ฝากกว่า 80.2 ลา้ นบัญชี โดยใน จำนวนนี้เป็นบัญชีประเภทบัญชเี งนิ ฝากสว่ นบคุ คล 37.9 ลา้ นบญั ชี หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 47.25 ของบัญชีเงินฝาก ท้ังหมด แม้จะเป็นสญั ญาณที่ดวี ่าประชากรไทยจำนวนมากมีบัญชีเงินฝากเปน็ ของตวั เอง แตเ่ มื่อดจู ากสถิติยอดเงิน ฝากพบวา่ คนจำนวน 12.2 ล้านคนมีเงนิ ติดอยู่ในบญั ชีเงินฝากไม่ถงึ 500 บาท โดยในจำนวนนี้ กวา่ 4.7 ล้านบญั ชีที่ มีเงนิ อยู่ในธนาคารไม่ถงึ 50 บาท! (สถาบนั วจิ ยั เศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์, 16 ธันวาคม 2562) เมอ่ื เกดิ อบุ ัตภิ ยั ที่ส่งผลใหป้ ระชากรจำนวนหน่ึงไมส่ ามารถหางานทำได้ หรอื ไม่มงี านทำ จะสง่ ผลใหผ้ ู้ทมี่ ี เงินออมนอ้ ยได้กลายมาเปน็ กลมุ่ เสย่ี งในทันที จากขอ้ มูลของกระทรวงการคลงั พบวา่ ในชว่ งเวลาทร่ี ัฐบาลเปดิ มาตรการเยยี วยาให้ความชว่ ยเหลอื แกป่ ระชาชนทป่ี ระสบปัญหาในกรณีของโควดิ – 19 มผี ูล้ งทะเบียนเพอ่ื รบั ความ ชว่ ยเหลอื เปน็ จำนวนถงึ 22.3 ล้านราย (ไทยรฐั ออนไลน์, 23 พฤษภาคม 2563) ถงึ แม้วา่ ในความเป็นจรงิ จะมีผู้ไม่ ผา่ นเกณฑ์การรบั เงินเยียวยาจากภาครัฐ แต่ปฏเิ สธมไิ ดว้ ่า ประชาชนจำนวนไม่นอ้ ยในประเทศคือผู้เปราะบางทาง เศรษฐกจิ จากผลกระทบของสถานการณ์โควดิ – 19 ได้ก่อใหเ้ กิดนวัตกรรมทางสังคมโดยประชาชนทำการชว่ ยเหลือ ประชาชนด้วยกนั ผ่าน “ตปู้ ันสุข” หลกั การของต้ปู ันสขุ ไมม่ ีอะไรทซ่ี ับซ้อน สามารถทำเลียนแบบกันได้ และใช้ เงนิ ทุนไม่สูงในการเร่ิมตน้ อุปกรณ์หลักสำหรับโครงการตู้ปันสขุ ไดแ้ ก่ ตู้ท่ีต้งั ได้ในทส่ี าธารณะและอาหารหรือของ อปุ โภคเพื่อใชใ้ นการบรจิ าค พอมีตซู้ ึ่งมีคุณสมบัตแิ หง่ การเป็นพน้ื ทใี่ นการเกบ็ ของ จึงเปน็ ความสะดวกแก่ผทู้ ี่อยาก ให้และผทู้ ปี่ ระสงคจ์ ะรับสิ่งของ ข้อแตกตา่ งในประเด็นของตู้ปันสขุ เมื่อเปรยี บเทียบกบั การบรจิ าค คอื สิทธใิ นการเลอื กของผู้รบั บริจาค เปรียบเทียบอยา่ งง่าย เมื่อเราไปบริจาคส่งิ ของ หนว่ ยงานหรอื ผู้รบั บรจิ าคจะเป็นผ้รู บั สิ่งของบริจาคท้ังหมดนั้น และ นำมาคดั แยกอีกทอดหนงึ่ ทำให้ในบางโอกาสผรู้ ับบรจิ าคไม่มีสิทธทิ ่ีจะเลือกของรับของบริจาค ในทางตรงกันข้าม ตู้ ปนั สุขให้เอกสทิ ธิแ์ กผ่ รู้ ับบรจิ าคในการคดั เลอื กรบั สง่ิ ของ ณ จดุ บริจาค ถอื เปน็ การรบั แบบมีสทิ ธิในการเลือกภายใต้ ระยะเวลาที่จำกัด เอกสิทธใิ์ นการเลอื กขน้ึ อยกู่ บั จำนวนของคนทรี่ อรบั บริจาคและข้อตกลงรว่ มกันของผู้รับบริจาค หากผู้รับบรจิ าคมีการตกลงกันในการคดั เลือกสง่ิ ของอย่างเปน็ ระเบียบ เชน่ มีกฎรว่ มกันว่าสามารถเลือกได้ไมเ่ กนิ คนละ 2 ชนิ้ มีการต่อแถวเข้าควิ ในการเลอื กของบรจิ าค จะสง่ ผลให้จำนวนผไู้ ดร้ ับของบรจิ าคมจี ำนวนมากกวา่ ใน กรณีที่ไม่มีการต้งั กฎเกณฑ์รว่ มกนั

58 ในทางเศรษฐศาสตร์ เบอ้ื งหลังการบริจาคมวี ตั ถปุ ระสงค์ทแ่ี ตกต่างกนั โดยแบง่ ลักษณะของการบริจาค ออกเปน็ 2 กลมุ่ กลุ่มแรกคือการบรจิ าคแบบ impulsive - กลมุ่ นีม้ แี รงกระตนุ้ ในการท่จี ะบริจาคดว้ ยความรวดเรว็ เพอ่ื ตอบสนองต่อผลเชงิ บวกแบบทนั เหตกุ ารณ์ ตวั อยา่ งเช่น เกิดเหตุแผ่นดนิ ไหว มผี ู้คนล้มตายจำนวนมากเกิด สภาวะการขาดแคลนอาหาร เสอ้ื ผ้า การบรจิ าคในลักษณะท่ีต้องตอบสนองต่อสถานการณ์อย่างฉับพลนั จะอยใู่ น กลุ่ม impulsive ผบู้ รจิ าคมีแนวโนม้ ทจ่ี ะไมไ่ ด้คิดถงึ ผลของการบรจิ าคในระยะยาว เปน็ เสมือนการบรจิ าคเฉพาะ หนา้ ผลที่ไดจ้ ากการบรจิ าคคือการตอบสนองทางอารมณ์ในเชงิ บวกแบบ “งา่ ยและเร็ว” ในทางตรงกนั ขา้ ม การ บริจาคแบบกลุ่มท่ีสอง คือ deliberate เปน็ การบรจิ าคแบบจงใจ มีความตระหนักก่อนท่จี ะบริจาคและมีการคิดถึง ผลจากการบริจาคในระยะทย่ี าวกว่าแบบ impulsive (Karlan, Tantia, & Welch, 2019) ทนี ี้ เราลองมาวิเคราะห์กนั ว่า การบริจาคผ่านตูป้ นั สุข ถอื เป็นการบริจาคแบบ impulsive หรือแบบ deliberate ในกรณีของประเทศไทย โครงการตปู้ ันสขุ ถูกจดั ข้ึนมาเพ่ือตอบสนองต่อผลกระทบทางเศรษฐกิจอัน เกิดจากวกิ ฤตโควดิ – 19 โดยตรง จะเหน็ ว่าตปู้ ันสขุ ไม่ไดเ้ กิดขึ้นเม่ือโรคโควดิ – 19 ได้มีการแพรร่ ะบาดในประเทศ ไทย แต่เกิดขน้ึ หลงั จากท่ีภาครฐั มีการออกระเบยี บในการงดเว้นการเปดิ ให้บริการของสถานทีส่ าธารณะ โรงเรียน ห้างรา้ น และออกระเบยี บมใิ หป้ ระชาชนเดนิ ทางนอกเคหสถานในยามวิกาล สง่ ผลใหป้ ระชาชนจำนวนหน่ึงต้องถูก พักงานและกลายเป็นผ้วู ่างงานชว่ั คราว การเกดิ ขนึ้ ของตู้ปันสขุ ถือเป็นการตอบสนองต่อสถานการณแ์ บบเร่งดว่ น จงึ ถูกนบั ว่าเปน็ การบริจาคแบบ impulsive ชีวติ ของคนเรามที างเลือกหลายทาง เราลองมาพิจารณากันดวู ่า แท้จริงแล้วเราคือคนทช่ี อบบริจาค เพอื่ ทีจ่ ะมีความสุขแบบทนั ทีทนั ใด หรอื เราเปน็ ผูบ้ ริจาคทตี่ ระหนักถึงผลกระทบในระยะยาวและชอบความสขุ ท่ี เกิดจากการพยายามมากกวา่ ความสขุ ทบ่ี ริโภคได้แบบฉีกซองตม้ น้ำสามนาที

59 The People’s Supermarket เม่ือคนไทยไดร้ ่วมเป็นเจ้าของรา้ นซเู ปอร์มารเ์ กต็ ในลอนดอน ในสหราชอาณาจักรนัน้ มีร้านคา้ แบบซเู ปอร์มารเ์ กต็ ระดบั แบรนดข์ นาดใหญ่อย่หู ลายแหง่ ได้แก่ Tesco (ทส่ี ห ราชอาณาจักรเรียกวา่ Tesco เฉย ๆ ไมม่ ีคำว่า Lotus ต่อทา้ ยเหมือนที่ไทย), Asda, Sainsbury’s, Waitrose, Morrisons, และ Aldi (Sweney, 2 April 2019) ผลของการเกดิ ขนึ้ ของซเู ปอรม์ าร์เกต็ ทม่ี หี ลากหลายสาขา ทำให้ รา้ นเหล่านี้ สามารถทำการต่อรองราคาผลิตภัณฑ์จากผูป้ ระกอบการได้ เพราะซื้อสินคา้ ทลี ะจำนวนมาก กระบวนการต่อรองราคานี้ ยงั รวมไปถึงการคดั เลือกสนิ ค้าทางการเกษตร สินคา้ ทางการเกษตรหลายชนิดถกู คดั ออกจากระบบคลังสนิ ค้า เพียงเพราะมขี นาดทไ่ี ม่ได้มาตรฐาน รูปทรงไม่สวยงาม เช่น มนั ฝรง่ั ทไ่ี ม่ไดม้ ีผิวเรยี บ กลว้ ย หวที ่มี ีขนาดเล็ก ฯลฯ ประมาณการวา่ อาหารทีข่ ายในสหราชอาณาจกั รผ่านทางซเู ปอร์มาร์เก็ตมีส่วนแบ่งทาง การตลาดสงู ถึงร้อยละ 96 (People of London, 2015) The People’s Supermarket หรือซเู ปอรม์ ารเ์ ก็ตของประชาชน ถือกำเนดิ ข้ึนในปี ค.ศ. 2010 โดย Arthur Dawson เชฟร้านอาหารและเจ้าของรา้ นอาหาร Dawson กลา่ วว่าทุก 1 แคลอร่ขี องอาหารท่ีทานใน องั กฤษ จะมาจากการใช้กำลังการผลิตถงึ 10 แคลอรี่ ดังน้นั อตุ สาหกรรมอาหารถือเป็นอุตสาหกรรมทก่ี ่อให้เกิด ความส้ินเปลอื งพลงั งานเป็นอย่างมาก Dawson มีความสนใจในการสร้างรา้ นอาหารที่ประหยัดพลังงาน โดยร้าน ของเขาใช้พลังงานนำ้ เป็นหลัก นอกจากน้รี า้ นอาหารของเขามีเปา้ หมายทีจ่ ะลดขยะทุกประเภท มีการนำผลิตภณั ฑ์ รไี ซเคิลกลบั มาใชใ้ หม่ เช่น ในร้านมียางรถยนตท์ ีใ่ ชแ้ ล้วนำกลับมาใชเ้ ปน็ กระถางตน้ ไมท้ ปี่ ลูกผลไม้ในรา้ นอาหาร เศษอาหารท่เี หลอื ถกู นำไปทำเป็นปุย๋ อย่างไรก็ตาม Dawson ต้องการที่จะขยายขอบเขตของการเปลยี่ นแปลงไป มากกวา่ แค่พน้ื ทใ่ี นรา้ นอาหารของเขา โครงการ The People’s Supermarket จงึ ถือกำเนิดขน้ึ (TED, 2010) เงินทุนในการกอ่ ตัง้ The People’s Supermarket มาจากการท่ี Dawson จัดงานขายม้ืออาหารเปน็ คอรส์ ใหก้ บั ลูกคา้ โดยอาหารทำมาจากสนิ ค้าท่ีถงึ กำหนดวนั หมดอายแุ ละไม่สามารถขายต่อได้ในซูเปอร์มาร์เก็ต (Channel 4, 4 March 2011) ร้าน The People’s Supermarket ตง้ั อยู่ในบรเิ วณ Bloomsbury อนั เปน็ ย่านท่ี แวดลอ้ มไปดว้ ยสถานศกึ ษาอยา่ ง University College London (UCL) และ London School of Economics and Political Science (LSE) และอันท่จี รงิ แล้วสถานท่ีตั้งอยู่ไมห่ ่างไกลจาก Tesco และ Waitrose The People’s Supermarket สามารถดงึ ประชาชนท่ีอาศยั อยูแ่ ละผู้ท่ที ำงานในย่าน Bloomsbury เขา้ มาเป็นสมาชกิ จำนวนหนึ่ง บุคคลผปู้ ระสงคจ์ ะเขา้ มาเปน็ สมาชิกต้องทำการจา่ ยค่าสมาชิก รา้ นแห่งนม้ี ีเพียง พนกั งานคิดเงินท่ไี ดร้ บั เงินเดือน นอกจากนน้ั แล้ว เปน็ หน้าท่ขี องสมาชิกทจ่ี ะต้องหมนุ เวียนผลัดเปล่ยี นมาเป็น อาสาสมคั รช่วยงานในร้านเพื่อแลกกับการไดร้ ับสว่ นลดราคาสินคา้ 10 เปอรเ์ ซ็นต์ (ผู้เขียนเคยเป็นสมาชกิ และได้ทำ การอาสาสมัครให้กับร้าน The People’s Supermarket ในชว่ งปี 2011) งานอาสาสมัครมีตัง้ แต่จัดวางสนิ ค้า ไป

60 จนถึงมสี ่วนชว่ ยเหลอื ในการทำอาหาร ผลไม้ ผกั และเน้ือสัตว์ ทางรา้ นนำมาขายโดยผ่านการซอ้ื ขายโดยตรงจาก เกษตรกร ราคาอาหารอาจไม่ถูกนกั เมอ่ื เปรยี บเทียบกับซเู ปอรม์ ารเ์ ก็ตใกล้เคียง แต่คุณคา่ ท่ีผซู้ อ้ื ไดร้ บั กลบั ไปคือการ ไดส้ นับสนนุ เกษตรกรสหราชอาณาจักรโดยตรง สำหรับอาหารสด ผัก ผลไม้ ท่ใี กลจ้ ะหมดอายุและไม่สามารถขาย ได้ จะถูกแปรเปลย่ี นไปเปน็ อาหารกลางวัน หรือชดุ อาหารเยน็ โดยในแต่ละวนั รายการอาหารจะไม่ซ้ำกัน เป็น เพราะขึ้นอยู่กบั ทางร้านวา่ มอี าหารสดประเภทใดบา้ งท่ยี ังขายไม่หมดในแต่ละวัน ทางร้านจะทำการขน้ึ ปา้ ยสถิตวิ า่ สามารถลดของเหลือจากอาหารไปได้กกี่ ิโลกรมั ในแตล่ ะสปั ดาห์ เปา้ ประสงค์สงู สดุ ของโครงการ The People’s Supermarket คือการลดเศษขยะที่เกิดจากอาหารใหเ้ หลือ 0 เปอร์เซ็นต์ และการสนับสนนุ การมสี ่วนรว่ มของคน ในชุมชน ปจั จบุ นั The People’s Supermarket มีอายุยืนยาวมากกว่า 10 ปี มสี ว่ นในการช่วยลดขยะทเ่ี กิดจาก อาหารในทุก ๆ วัน The People’s Supermarket ถอื เป็นสหกรณช์ มุ ชนของประชาชนย่าน Bloomsbury เป็น ร้านอาหาร และเปน็ ซเู ปอร์มาร์เกต็ ทย่ี งั คงยนื หยดั อยู่ไดท้ ่ามกลางการแขง่ ขนั กบั ซูเปอรม์ ารเ์ ก็ตขนาดใหญ่รายอ่ืน

61 Poverty, Inc. เมื่อเราถูกฆา่ ดว้ ยความสงสาร ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง Poverty, Inc. (2014) ไดส้ ง่ แรงสะท้อนใหเ้ ราได้คดิ ในมุมกลบั ถึงเรือ่ งราวทค่ี นทวั่ ไปมักคิด ว่า การบรจิ าคสง่ิ ของเงินทองให้กับผู้ทีเ่ ดือดร้อน คือเร่ืองราวดีดที เ่ี ราสามารถทำได้ทุกท่ี ทำได้ตลอดเวลาเพอื่ เพ่ือน มนษุ ย์ และส่ิงทีเ่ ราทำไปนั้น ยอ่ มส่งผลดตี ่อผู้ได้รับเสมอ สารคดเี ร่ืองนส้ี ะท้อนใหเ้ ราได้เห็นอีกมุมหนึ่งว่า การ บริจาคแบบไม่บนั ยะบันยงั อาจสง่ ผลในแงล่ บตอ่ ธุรกจิ SMEs ภายในประเทศได้ สารคดเี รือ่ งน้ีกำกบั โดย Michael Matheson Miller นอกจากการเปน็ ผู้กำกับภาพยนตร์แล้ว เขายังเคย เปน็ อาจารยส์ อนด้านรัฐศาสตรแ์ ละปรัชญาท่ี Ave Maria College ประเทศนกิ ารากวั (Poverty, Inc., n.d.) ในการ ดำเนินเรื่องของ Poverty, Inc. ผู้กำกับได้แสดงใหเ้ ราเหน็ ถึงจำนวนปริมาณอนั มหาศาลของสิง่ บรจิ าค องค์กร จำนวนมากไดเ้ ข้าไปชว่ ยเหลอื ประเทศกำลังพฒั นาโดยเนน้ การชว่ ยเหลือดว้ ยการบริจาค แตไ่ ม่ไดเ้ น้นไปที่การ พฒั นาในศักยภาพของมนุษย์ ผลที่เกดิ ขึน้ กค็ ือ เม่ือประชาชนรบั รูว้ า่ ถงึ อยา่ งไรกจ็ ะมีของมาบริจาคให้กับพวกเขา ไมว่ ่าจะเปน็ อาหารแห้ง เสื้อผา้ รองเท้า ทำให้ประชาชนเลือกทจี่ ะเป็นผรู้ อรบั ส่ิงของบริจาคและไมซ่ ้ือสนิ คา้ จาก ผู้ประกอบการรายย่อยในประเทศ ผลในระยะยาวคือ การทำลายการเตบิ โตของธุรกิจประเภท SMEs ในประเทศ กำลงั พฒั นาผา่ นการทำดีดว้ ยการบริจาคโดยประเทศโลกท่ี 1 ในสารคดีนำเสนอเร่ืองราวของรองเทา้ ย่หี ้อ TOMS ซึ่งมีคติประจำแบรนด์ว่า “buy-one-give-one” ท่ี ผา่ นมา TOMS ไดบ้ ริจาครองเทา้ ไปแลว้ ถึงเกือบ 100 ล้านคู่ (Marquis & Park, 2014, p. 28; TOMS, n.d.) ผล จากการเกดิ ขนึ้ ของ TOMS และการประสบความสำเรจ็ จากยอดขายทข่ี ายสนิ ค้าผ่านเร่ืองราวทีเ่ นน้ คณุ คา่ ทที่ ำใหผ้ ู้ ซ้อื รองเท้าร้สู ึกว่าตนเองไดม้ อบอะไรกลบั คืนแก่สังคมผ่านรองเท้า 1 คู่ ส่งผลใหบ้ รษิ ัทอื่น ๆ ทำการลอกเลยี นแบบ โมเดลธุรกิจของ TOMS เช่น Warby Parker บริษทั ขายแวน่ ทำการบรจิ าคแวน่ ตาไปแล้วกวา่ แสนคู่ Soapbox Soaps และ Two Degrees Food ใช้โมเดลเดยี วกันนีใ้ นการซอื้ 1 บริจาค 1 ให้แก่ผทู้ ี่มีสุขอนามัยที่ไม่ดแี ละเด็กผู้ ขาดแคลนอาหาร (Marquis & Park, 2014, p. 28) งานวจิ ยั จาก Marquis & Park (2014) แสดงใหเ้ ห็นว่าคนรนุ่ มลิ เลนเนียล ให้ความสำคญั กบั คุณคา่ ทางสงั คม และดว้ ยโมเดลทางธุรกิจท่ีไมไ่ ดม้ อี ะไรซับซอ้ นแต่กลบั ส่งผลดีต่อ การส่ือสารทางการตลาด ทำให้บริษทั หลายแหง่ หันมาใหค้ วามสำคญั กับการสร้างคุณค่าทางสังคม อยา่ งไรก็ตาม การบรจิ าคส่ิงของให้กบั กลุ่มคนท่ีถูกนยิ ามวา่ เป็นคนจนอาจก่อใหเ้ กิดผลเสยี หลายประการ Hawthorne, 2017 ใหค้ วามเห็นถงึ ข้อเสยี 5 ประการอันเกิดจากการบรจิ าคว่า 1. ชุมชนไม่สามารถอย่ไู ด้อย่างย่ังยืนดว้ ยการพ่ึงพิงเพยี งส่ิงบริจาค 2. การบรจิ าคไม่ได้แก้ไขปัญหาที่แทจ้ รงิ 3. วธิ ีการแก้ไขปญั หาเพอื่ ความยั่งยืนไม่ได้ถูกทำการพัฒนา

62 4. ผบู้ ริจาคไม่มีแผนการท่ยี ่ังยนื 5. การบริจาคเปน็ การฆา่ เศรษฐกจิ ชุมชน ภาพยนตรส์ ารคดเี รื่องนี้ มีข้อความจากคนในประเทศผรู้ บั การบรจิ าค ท่ีนำเสนอต่อผูช้ มใหฉ้ ุกคดิ วา่ การที่ เราคดิ ว่าเรากำลงั ทำดี แท้ท่ีจรงิ แล้ว ไดไ้ ปทำให้ใครเดอื ดรอ้ นหรอื ไม่ ผู้ใหส้ มั ภาษณส์ องรายในภาพยนตรส์ ารคดี กลา่ วว่า “ไม่มใี ครอยากเป็นขอทานตลอดชีวิต” และ “ผมรู้จกั ประเทศทีร่ ่ำรวยจากการค้าขาย...แต่ผมไมร่ ูจ้ กั ประเทศใดที่เม่อื ได้รับการช่วยเหลือเป็นจำนวนมากแล้วกลายเป็นประเทศโลกที่ 1” (PovertyCure, 24 October 2014) สดุ ทา้ ยแล้ว ไม่มใี ครทอี่ ยากจะเปน็ ผู้รับตลอดกาล เราทุกคนต่างอยากทจ่ี ะมคี ุณค่าในตวั เอง และอยากรสู้ ึก ภาคภมู ิใจในการพัฒนาศักยภาพที่มีอยู่

63 เรายงั โชคดกี ว่าคนเป็นพนั ลา้ นบนโลก: คณุ คา่ ของเงิน 175 บาท ถ้าหากว่าคุณมีรายไดม้ ากกว่า 175 บาทต่อวนั หรอื มากกว่า 5,250 บาทต่อเดือน นน่ั แปลว่า คณุ มรี ายไดม้ ากเกิน กวา่ คนเกือบครึง่ หนึ่งบนโลกใบน้ี ขอ้ มลู จากธนาคารโลกพบวา่ ร้อยละ 46 ของประชากรโลกมชี วี ติ อยดู่ ว้ ยเงินจำนวนนอ้ ยกวา่ 5.5 เหรียญ สหรฐั ต่อวัน (175 บาท) เปา้ หมายของธนาคารโลกที่ขีดเส้นไวใ้ นปี ค.ศ. 2030 คือการกำจัดความยากจนขั้นรนุ แรง โดยมีการใชเ้ สน้ แบ่งความยากจนข้ันรุนแรงอยู่ที่ 1.9 เหรยี ญสหรฐั ตอ่ วัน หรอื ราว 60 บาท (The World Bank, 2018) ภาพยนตร์สารคดเี ร่ือง Living on One Dollar เล่าถึงเร่ืองราวของนกั ศกึ ษาชาวอเมริกัน 4 รายท่ีตดั สินใจ เดินทางไปยังประเทศกวั เตมาลาเปน็ ระยะเวลา 8 สปั ดาห์ โดยอาศยั อยู่ดว้ ยเงินวันละ 1 เหรียญสหรฐั ตอ่ คน ซงึ่ ณ ขณะเวลาท่ีพวกเขาทำการทดลอง มีประชากรบนโลกราว 1.1 พนั ล้านคนทใี่ ชช้ วี ิตอยู่ด้วยเงินน้อยกว่า 1 เหรียญ สหรัฐ ส่งิ ท่เี กดิ ขึ้นกับนักศกึ ษาท้ัง 4 รายหลงั จากที่ทดลองใชช้ วี ติ อยู่ในกวั เตมาลาไปซักพักหนงึ่ พบว่านักศึกษาเริ่ม มีอาการผ่นื แพ้ มีอาการนอนหลบั ไมส่ นิทและมีนำ้ หนักตวั ท่ีลดลงอยา่ งเห็นไดช้ ดั (TEDx Talks, 2011) สารคดเี รื่องนีแ้ สดงใหเ้ ห็นถงึ ความยากลำบากในการใช้ชวี ติ ท่ามกลางความยากจน ซ่งึ นกั ศึกษาชนชนั้ กลางในสหรฐั อเมริกาไม่เคยพบเจอ พวกเขาทัง้ 4 คน ได้ทำการทดลองเปน็ เกษตรกร นอนบนพน้ื ดินอนั วา่ งเปลา่ และเรมิ่ ทำการวจิ ยั ผ่านการสัมภาษณ์ชาวบา้ นท่ีอยใู่ นพ้นื ท่ีบริเวณใกล้เคียง จากการเก็บขอ้ มูลทำให้พวกเขาเข้าใจ สภาวะของความยากจนที่แท้จรงิ มากขึ้น หลงั จาก 8 สปั ดาห์ผ่านไป นกั ศกึ ษาทั้ง 4 รายมีนำ้ หนักลดลงรวมกนั ถึง 18 กิโลกรมั จากการวิจัยพบวา่ คนยากจนในกวั เตมาลาท่ีพวกเขาสัมภาษณ์ มักคดิ ถงึ เรื่องเงินอย่ตู ลอดเวลา คือคิดวา่ จะทำอยา่ งไรใหม้ เี งนิ พอใชไ้ ด้ทงั้ ในระยะสน้ั และระยะยาว ชาวบ้านมกี ารรวมกลมุ่ ช่วยเหลอื กนั เองผา่ นนวตั กรรมที่ คิดข้นึ เช่น จดั ตั้งชมรมออมเงนิ ซ่งึ แท้จรงิ แลว้ คือการรวมกลมุ่ กนั เล่นแชรน์ ัน่ เอง โดยทุกเดอื น สมาชิกในชมรมจะ ทำการส่งเงินเข้าไปยงั ส่วนกลาง และทุกคนจะผลัดกนั ไดร้ ับเงนิ กอ้ นเพ่ือนำไปใช้จา่ ย อย่างไรกต็ ามวธิ ีการนี้มีความ เสีย่ งมากทสี่ มาชิกในชมรมจะสญู เสียเงนิ ในกรณีทส่ี มาชิกปฏิเสธทจ่ี ะจ่ายเงนิ หรอื เกิดการขโมยเงนิ สว่ นกลางข้ึน วิธีการหนง่ึ ที่ชว่ ยเหลือประชาชนผู้ยากจนคอื การปลอ่ ยเงินกู้โดยสถาบันทางการเงนิ โดยเปน็ การปล่อยเงนิ กู้ด้วย เงินจำนวนไมม่ ากต่อราย แต่มากพอทจ่ี ะทำใหผ้ ู้ก้สู ามารถลงทุนในกจิ การขนาดย่อมของตนเอง เชน่ ลงทนุ ซ้ือผา้ ดบิ มาเพ่ือนำมาทอเปน็ ลวดลายขาย (TEDx Talks, 2011) วธิ กี ารนี้เรียกวา่ Microfinance (ไมโครไฟแนนซ์) จะเหน็ ได้ ว่าวธิ ีการน้ีเป็นวิธีการเดยี วกนั กับท่ธี นาคารกรามีนในบังคลาเทศใช้ ผลคือธนาคารกรามนี ไดเ้ ปิดโอกาสใหส้ ตรี จำนวนมากได้มาเป็นผู้ประกอบการรายยอ่ ย (Grameen Foundation, n.d.)

64 ภาพยนตรส์ ารคดีเรื่อง Living on One Dollar ได้ก่อให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงแกช่ าวกวั เตมาลาจำนวนหน่งึ โดยสตรชี าวกัวเตมาลา ไดร้ ับเงนิ กู้เพื่อธรุ กจิ เปน็ จำนวน 6,242 ราย กวา่ 500 หลังคาเรอื นมนี ้ำสะอาดไว้บรโิ ภค นักเรียนชาวกวั เตมาลากว่า 110 คนไดร้ ับทุนการศึกษาตอ่ และเกิดโรงเรยี นและศนู ยโ์ ภชนาการแห่งใหม่ (Optimist, n.d.) ทา้ ยทส่ี ดุ แลว้ จากโครงการวิจัยและถ่ายทำภาพยนตรส์ ารคดีของนักศึกษามหาวิทยาลัยจำนวน 4 คน ได้ กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง ท้ังในแง่ของชวี ติ ผทู้ ำสารคดี ซึ่งตอ่ มาได้กลายเป็น influencer ในการทำสารคดีเพ่ือ สังคม การเปลีย่ นแปลงของชาวบ้านกัวเตมาลาทเ่ี หลา่ นักศึกษาชาวอเมริกนั ได้พบเจอและทำความรูจ้ ัก ไปจนถึง การเปลย่ี นแปลงในความรสู้ ึกนึกคดิ ของผูช้ มสารคดีเรอ่ื งนี้จากทัว่ ทุกมุมโลก

65 Eatable City: เมืองกนิ ได้ โครงการเมืองกนิ ได้ (Eatable City) ถอื กำเนิดขน้ึ ในปี ค.ศ. 2010 ณ เมือง Andernach ประเทศเยอรมนี โครงการ Eatable City มีจุดประสงคท์ ีจ่ ะสร้างพืน้ ที่สีเขียวให้แก่เมอื ง โดยการสร้างเมอื งกนิ ไดเ้ ปน็ ไปเพื่อการสนบั สนนุ ระบบ นเิ วศน์ เศรษฐกิจ และสนุ ทรียะของเมือง (Connective Cities, n.d.) โครงการ Eatable City เกิดจากการรว่ มมือกนั ระหวา่ งรฐั บาลทอ้ งถิ่น, NGOs, และภาคประชาชน หลักการของ Eatable City คอื การปลูกพืชแปลงผกั ชนดิ กินไดใ้ นพื้นท่สี าธารณะของเมือง โดยประชาชนสามารถ เขา้ มาเก็บพืชผกั เพื่อนำกลบั ไปเปน็ ส่วนประกอบของมื้ออาหารได้ ท้งั นี้ ในแตล่ ะปจี ะมีการเน้นการปลูกพชื ชนดิ ท่ี แตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ ในปี 2010 มีการปลูกมะเขือเทศ 101 สายพันธุ์, ปี 2011 มีการปลูกถว่ั 100 สายพนั ธุ์, ปี 2012 มีการปลกู หัวหอม 20 สายพันธ์ุ, และปี 2013 เน้นไปทีก่ ารปลกู กะหล่ำปลี (Connective Cities, n.d.) นอกจากการปลูกพชื กนิ ไดแ้ ล้ว Eatable City ยงั มกี ารปลกู ผลไมแ้ ละของกนิ ชนดิ อ่ืน ๆ เชน่ ลกู พลับ, มะเด่ือ, อัลมอนด์, และส้มขม ซง่ึ ท้งั หมดล้วนมีที่มาจากบริเวณทะเลเมดิเตอรเ์ รนียน นอกจากนีย้ งั มีการนำเอาผลไม้ ท้องถิน่ ทป่ี ัจจุบนั เปน็ ผลไมห้ ายากมาปลูกเพิม่ เตมิ เช่น ควนิ ซ์ (ผลไมท้ ม่ี ีลักษณะเหมือนแอปเปลิ ผสมกบั ลูกแพร)์ , เมดลาร์ (ผลไม้คลา้ ยแอปเปลิ ), และ เชอร์รีคอรเ์ นเลยี น (Connective Cities, n.d.) ทีผ่ า่ นมาโครงการ Eatable City ได้ช่วยใหค้ นว่างงานได้มีงานทำ โดยทำหนา้ ทใ่ี นการดูแลพืชผกั ผลไมข้ อง โครงการ นอกจากนี้โครงการยงั ได้ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของนักเรียนต้งั แต่ระดบั ประถมศึกษาขึน้ ไป โรงเรยี นทำการ เรียนการสอนดา้ นการเกษตรแบบยง่ั ยืน, การบรโิ ภคตามหลกั โภชนาการเพื่อสขุ ภาพ, การพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน, และ นกั เรียนได้มโี อกาสในการดูแลสวนพืชผักของโรงเรียน (Connective Cities, n.d.) ในปี 2018 โครงการ Edible Cities Network – Integrating Edible City Solutions for social, resilient and sustainably productive cities (EdiCitNet) ไดถ้ อื กำเนิดข้นึ ภายใตก้ ารสนับสนุนทนุ โดยสหภาพ ยุโรป โครงการ EdiCitNet สนบั สนุนการปลกู พืชในพืน้ ท่ีเมือง ซ่ึงในปัจจบุ ันมีเครือข่ายร่วมกันกว่า 11 เมือง ใน ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์, เยอรมนี (Andernach ถือเปน็ หนึ่งในเมืองเครือขา่ ย), นอร์เวย์, สเปน, สหราชอาณาจกั ร, สโลวีเนีย, ตูนิเซีย, โตโก, อรุ กุ วัย, และควิ บา (Edible Cities Network, n.d.) หนง่ึ ในโครงการท่ีมชี ื่อเสยี งมากของ EdiCitNet เกดิ ขึ้นท่ีเมืองรอตเตอรด์ ัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยบรษิ ทั ช่อื Rotterzwam ไดท้ ำการปลูกเหด็ ใน บรเิ วณทเ่ี คยเปน็ สระวา่ ยนำ้ โดยใช้ปุ๋ยท่ที ำมาจากกากกาแฟ เหด็ ทปี่ ลกู ไดจ้ ะนำไปขายต่อใหก้ บั รา้ นอาหารท้องถิ่น (Berlin University Alliance, 2019)

66 ในอนาคตเราอาจจะไดเ้ ห็นเมืองกินได้ ในหลาย ๆ พื้นทมี่ ากขน้ึ ข้อดีที่เห็นได้ชัดเจนของเมืองกินได้ คือการ ใช้พื้นทีอ่ ันว่างเปลา่ ให้เปน็ ประโยชน์ พลเมอื งในเมืองกินได้สามารถเรียนรใู้ นการทำการเกษตรผ่านการเป็น อาสาสมคั รและการทานผักและผลไมท้ ีป่ ราศจากการใช้ยาฆา่ แมลงยังส่งผลให้ผ้คู นในเมืองมีสขุ ภาพทีด่ ใี นระยะยาว

67 เรอ่ื งราวของ Olio สตาร์ทอพั กู้โลกผ่านการกิน องค์การอาหารและการเกษตรแหง่ สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations – FAO) คาดการณว์ ่า ในทุก ๆ ปี โลกได้สูญเสยี ปริมาณอาหารไปในระหว่างกระบวนการผลิตและการ บริโภคประมาณ 1 ใน 3 โดยการสญู เสยี อาหารแบ่งออกเป็นการสญู เสยี แบบ food loss และ food waste โดย food loss คือการสูญเสียอาหารในระหวา่ งกระบวนการผลติ และเพาะปลูก ส่วน food waste คอื การสูญเสีย อาหารหลงั ข้ันตอนการผลิตเสร็จส้ินแล้ว ตัวอย่างเช่น ผลผลิตทางการเกษตรบางสว่ นถูกคดั ทิง้ ไปไมถ่ งึ มือผูบ้ ริโภค เพราะขนาดของสนิ ค้าไม่ได้มาตรฐานตามที่กำหนด เช่น ลกู แพร์ท่ีผลเล็ก มะมว่ งท่ีผวิ ไมเ่ รียบ ในประเด็นน้ีจะเห็นได้ วา่ มิไดม้ ีความผดิ ปกติอันใดในเชิงคุณคา่ ของอาหาร, อาหารบางส่วนท่ใี กลว้ ันหมดอายหุ รอื เขา้ สเู่ กณฑว์ ันหมดอายุท่ี ร้านค้านำลงจากชั้นวางสินค้า, และอาหารที่เหลือจากการบรโิ ภค (Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2019; n.d.) บรเิ วณที่โลกไดส้ ูญเสียปริมาณอาหารมากที่สดุ อยู่ทเ่ี อเชียกลางและเอเชียใต้ในอตั ราร้อยละ 20.7 อันดับที่ 2 ทวีปอเมริกาเหนือและยุโรป (รอ้ ยละ 15.7), และอันดับที่ 3 แอฟริกาใตส้ ะฮารา (ร้อยละ 14) บรเิ วณท่มี ีการ สญู เสียปรมิ าณอาหารน้อยท่ีสุดได้แก่ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ (ร้อยละ 5.8) สำหรบั ปรมิ าณอาหารท่มี ีการ สูญเสยี มากทสี่ ดุ ได้แก่ อนั ดบั ที่ 1 พชื ผลทมี่ รี าก, หัว, และ พชื ผลที่มีน้ำมัน (ร้อยละ 25.3), อันดบั ท่ี 2 ผักและผลไม้ (ร้อยละ 21.6), และอันดับที่ 3 เนอื้ สตั ว์ (ร้อยละ 11.9) ในสว่ นของประเภทอาหารท่ีมีอัตราการสญู เสยี น้อยทส่ี ดุ คือ ธญั พชื และถวั่ (ร้อยละ 8.6) (Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2019) เพ่ือเป็นการลดปัญหาของ food waste ในสหราชอาณาจักร Tessa Clarke และ Saasha Celestial- One จึงได้ร่วมกันก่อต้งั สตาร์ทอัพท่มี ชี อ่ื วา่ Olio ในปี 2015 Olio เปิดใหผ้ ูใ้ ชบ้ รกิ ารสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเค ชันซึ่งภายในแอปฯ ผใู้ ชบ้ ริการสามารถโพสต์รปู ภาพอาหารท่ไี ม่ต้องการทาน แต่อาหารเหล่านยี้ ังอยู่ในสภาวะท่ี สามารถส่งตอ่ ได้ โดยผู้ใชบ้ ริการสามารถทำการมอบอาหารเหลา่ นนั้ ให้กับผู้ใช้บรกิ ารแอปพลิเคชันในบริเวณ ใกล้เคยี ง ทผี่ ่านมา Olio มีผู้ใชง้ านจำนวนท้งั ส้ิน 2 ล้านคนและมกี ารสง่ ต่ออาหารระหว่างกนั ไปแลว้ 4.6 ล้านครง้ั ใน 50 ประเทศ (O’Hear, 2018; Olio, n.d. [a], [b]) ผู้เขยี นไดท้ ำการทดลองดาวน์โหลดแอปพลิเคชนั Olio มาเพ่อื ทดลองใช้ วธิ กี ารใช้งานของแอปฯค่อนขา้ ง สะดวก ทง้ั น้ี Olio ไม่ได้ใหบ้ ริการการส่งต่ออาหารแต่เพยี งเทา่ นน้ั แต่ยงั ขยายการให้บรกิ ารออกเปน็ สิ่งของทไ่ี ม่ใช้ แล้ว หากต้องการส่งต่ออาหารหรอื สง่ิ ของ สามารถทำไดโ้ ดยการโพสตร์ ปู ภาพของอาหาร/ส่งิ ของและเขยี นอธบิ าย คร่าว ๆ โดยผ้ใู ช้บริการแอปฯจะมีการระบุท่ีอยสู่ ำหรับการรับสง่ิ ของ ทั้งนี้ Olio ได้ทำการเขยี นกฎระเบียบไวอ้ ย่าง ละเอียดวา่ หา้ มมกี ารซื้อขายสินค้าผ่านระบบ ไมม่ ีการแลกเปล่ยี นส่งิ ของระหวา่ งกนั ไม่มีการบริจาค และของทกุ

68 อยา่ งทีโ่ พสต์ในระบบจะต้องไมม่ ีค่าใชจ้ ่าย ในประเด็นของการบริจาคและข้อแตกต่างระหว่างการบรจิ าคและการ สง่ ตอ่ ผเู้ ขียนมีความเหน็ วา่ Olio ต้องการคงมาตรฐานของคำวา่ “สง่ ตอ่ ” โดยการส่งต่อส่ิงของหรืออาหารนจี้ ะ สามารถทำไดต้ ่อเม่ือซ้ือมาแต่ไม่มีโอกาสได้ใช้ ซือ้ อาหารมาแต่ไม่สามารถบรโิ ภคได้ทันและใกล้วนั หมดอายุ หรอื ซอ้ื อาหาร/สนิ ค้ามาในปรมิ าณที่มากเกินความต้องการ ซ่ึงในประเดน็ เหล่านี้ Olio จะทำการสอบถามผู้ใช้บริการเม่ือ เข้าสรู่ ะบบเป็นครง้ั แรกวา่ เพราะเหตุใดถงึ ต้องการสง่ ต่ออาหาร/สงิ่ ของให้แก่ผ้รู บั แต่ถ้าหากวา่ เป็นการบริจาค นน่ั หมายความวา่ ผบู้ ริจาคอาจจงใจซอื้ สนิ ค้าอปุ โภคบรโิ ภคมาเพือ่ มอบใหผ้ รู้ บั บริจาคครง้ั ละเป็นจำนวนมาก โดยท่ี ตนเองอาจไมไ่ ด้มีความต้องการในการบริโภคสินค้านน้ั ตั้งแต่แรก ทำใหห้ ลักการของการบรจิ าคไปขดั ต่อ วัตถปุ ระสงค์ของ Olio ที่ก่อตั้งขึน้ มาเพอ่ื ลดปัญหา food waste อย่างไรกต็ าม เมอื่ ผเู้ ขยี นได้ทดลองใช้ Olio เปน็ ครั้งแรกในวนั ท่ี 10 มิถุนายน 2563 พบว่ายงั ไม่สามารถส่ง ตอ่ หรือรับอาหาร/สงิ่ ของได้ เพราะผู้ใช้บริการที่อยูใ่ กล้เคยี งกบั ผู้เขียนมากทีส่ ดุ อยู่ไกลออกไปถงึ 8,984 กโิ ลเมตร หรอื อยู่ไกลถงึ ลอนดอน

69 Green School: โลกสีเขียวในบาหลี ในขณะทปี่ ระเทศไทยและทวั่ โลกกำลังเข้าแข่งขันกันเพ่ือที่จะทำให้ผลคะแนนสอบของนักเรียนสูงขนึ้ รวมไปถึง แข่งขนั ให้อันดับมหาวิทยาลยั มีการขยับสูงขึน้ ยังมีโรงเรียนแหง่ หนงึ่ ในบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ท่ีเลอื กทางเดนิ ท่ี แตกต่างจากโรงเรยี นส่วนใหญแ่ ละมีเปา้ ประสงค์ในการมอบประสบการณ์ท่ไี มไ่ ดเ้ ป็นไปตามกระแสโลกใหแ้ ก่ นกั เรียน Green School (โรงเรียนสีเขียว) ได้รบั การยอมรับจาก World Economic Forum ให้เปน็ โรงเรยี นท่มี ี ความกา้ วหนา้ ในการเปน็ โรงเรียนตน้ แบบทีส่ ร้างหลกั สูตรการเรยี นการสอนด้านความยง่ั ยนื และสร้างผู้นำทางดา้ น ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในอนาคต โรงเรียนแห่งนี้ต้งั อยู่ท่ามกลางพื้นท่ีทางธรรมชาติในบาหลี กอ่ ตง้ั ขน้ึ เมอ่ื ปี ค.ศ. 2008 ในปัจจุบนั มนี ักเรยี นราว 800 คน ทำการเรียนการสอนตง้ั แตร่ ะดับชนั้ ก่อนเขา้ อนบุ าลไปจนถึงมัธยมศึกษา ตอนปลาย (3 – 18 ปี) (Ho, 2020; World Economic Forum, 2020, p. 15) เอกลักษณเ์ ฉพาะตัวของโรงเรียนสีเขยี ว คอื โครงสรา้ งอาคารทั้งหมดทำมาจากไม้ไผ่ ตั้งแต่หอ้ งเรียน หอ้ ง ประชมุ ไปจนถงึ ห้องนอน ในแตล่ ะปีโรงเรยี นสามารถลดคาร์บอนฟตุ พรนิ ต์ไปได้ถงึ 4 ตัน โดยการใช้รถ BioBus ที่ ใช้พลงั งานจากน้ำมันปรงุ อาหาร ถงึ แมจ้ ะเปน็ โรงเรียนที่อยู่ท่ามกลางสภาวะทางธรรมชาติ แตห่ ลกั สูตรการเรยี น การสอนมีความทนั สมยั และส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ของนกั เรียนเปน็ อยา่ งมาก โรงเรียนมีหอ้ งไม้สำหรบั ให้ นักเรียนประดิษฐส์ ง่ิ ของ มเี ครอื่ งพมิ พส์ ามมติ แิ ละเคร่ืองเลเซอรเ์ พอื่ ให้นักเรยี นสรา้ งโมเดลจำลอง (World Economic Forum, 2020, p. 15) นอกเหนือไปจากการเรียนการสอนในห้องเรยี น นกั เรยี นจะได้สมั ผัสกับธรรมชาตทิ ่แี ตกต่างไปจากโรงเรียน อื่น ๆ ภายในบรเิ วณโรงเรยี นมีแมน่ ำ้ ไหลผ่าน นักเรียนได้เรียนรใู้ นการทำการเกษตรและการทำอาหารโดยใช้ ผลผลติ ท่เี พาะปลกู ไดภ้ ายในโรงเรยี น ในปกี ารศึกษา 2017 – 2018 โรงเรียนสามารถผลติ อาหารเองได้ถึงเดือนละ ราว 150 กโิ ลกรมั (World Economic Forum, 2020, p. 15) ผู้เขียนไดม้ โี อกาสเดินทางไปเยีย่ มชม Green School ในปี พ.ศ. 2562 และไดท้ ดลองทานอาหารของ โรงเรียน ปรากฏว่าในม้ืออาหารนั้นไม่มเี นื้อสตั ว์ มแี ตผ่ กั ผลไม้ และขา้ วเป็นสว่ นประกอบหลกั โดยภาชนะทีใ่ ส่ อาหารจะมจี านรองข้าวเปน็ ใบกลว้ ย หอ้ งเรียนไม่มีเครอ่ื งปรบั อากาศและอาศยั ลมตามธรรมชาตเิ ป็นเคร่ืองทำความ เยน็ โครงสรา้ งของอาคารทำจากไม้ไผท่ ม่ี ีขนาดใหญ่ทำให้อาคารมีความแขง็ แรงคงทนและรองรับคนได้เป็นจำนวน มากแม้ในหอ้ งเรยี นทีม่ ีขนาดเล็ก โรงเรยี นใหค้ วามสำคญั กับความเปน็ สว่ นตัวของนักเรียนเป็นอยา่ งมาก สงั เกตได้ จากการท่ีห้ามผูเ้ ข้าเยีย่ มชมโรงเรยี นทำการถ่ายรูปนักเรยี นและเม่ือมีผ้ลู ะเมดิ กฎทางเจา้ หนา้ ทจี่ ะขอให้ลบรปู ภาพ นนั้ ทนั ที

70 สำหรบั ใครที่สนใจจะนำบุตรหลานของท่านไปเขา้ ศึกษาต่อ ณ โรงเรยี นสเี ขยี ว ค่าเลา่ เรยี นต่อปกี ารศึกษา สำหรับเดก็ เล็กจะอยู่ท่ีราว 375,000 บาท และสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจะอยู่ที่ราว 750,000 บาท (Green School, n.d.)

71 Lush: งามอยา่ งสายกรีน Lush ถือกำเนดิ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1995 ณ เมือง Poole สหราชอาณาจักร Lush ถือเปน็ บริษัทขายเครอ่ื งสำอางท่ีผลติ ดว้ ยมือ ผลติ ภัณฑข์ อง Lush มที ้งั ผลติ ภัณฑด์ ูแลผิว, หนา้ , ร่างกาย, ไปจนถงึ แชมพู, สบู่, และครมี นวดผม ความ พเิ ศษของ Lush คือบริษทั มีเปา้ ประสงคใ์ นการสนบั สนุนการลดใช้พลาสตกิ อย่างจริงจัง ผลติ ภัณฑ์ทำมาจากส่งิ ทม่ี ี อยูต่ ามธรรมชาตเิ ป็นสว่ นใหญ่ ไม่มีการทดลองผลติ ภณั ฑ์กับสัตว์ และบริษทั เนน้ การทำธุรกิจแบบมจี รยิ ธรรม (Lush, n.d. [a]; Teather, 2007) ถา้ หากลองเดนิ เข้าไปยังรา้ น Lush สง่ิ ท่ีสงั เกตไดค้ ือ ผลติ ภัณฑ์จำนวนหน่ึงถูกวางกองลงตามตะกร้าโดยไม่ มีพลาสตกิ ห่อห้มุ Lush เรียกสนิ ค้าประเภทนวี้ ่า สนิ ค้าแบบ “เปลอื ย” โดยผลิตภัณฑร์ าวรอ้ ยละ 35 จะถกู ขายแบบ เปลือย ในสว่ นของขวดพลาสตกิ ที่ใชห้ ่อห้มุ ผลิตภัณฑส์ ามารถนำไปรีไซเคิลได้ ตัง้ แตป่ ี 2012 บรษิ ทั มีการใชข้ วด พลาสติกท่ีมขี นาดบางลงในอัตราร้อยละ 10 นอกจากนี้ยงั มีการใชส้ งิ่ ห่อหมุ้ ทดแทนพลาสตกิ ที่ทำมาจากพชื และ สามารถยอ่ ยสลายได้ (Lush, n.d. [b]) Lush มกี ารพฒั นาผลติ ภัณฑ์ใหม่ ๆ อยูเ่ สมอ หนงึ่ ในผลติ ภัณฑ์ท่ไี ด้รบั ความ นิยมมากคือ Soap Paper หรือสบู่ทมี่ ีขนาดบางเท่าแผ่นกระดาษและเล็กเท่ากับนามบัตร โดย Soap Paper สามารถใช้ได้กับการทำความสะอาดร่างกายและใชส้ ระผม (Lush, 2017) นอกเหนือไปจากผลติ ภณั ฑ์แนวรกั ษ์ธรรมชาติแล้ว สงิ่ ทบ่ี ริษทั ไดใ้ ห้ความสำคัญอกี ประการคอื การคืน รายไดส้ ว่ นหนงึ่ สสู่ ังคม ช่วงปี 2007 บรษิ ัทบริจาคกำไรราวร้อยละ 2 ให้กับองค์กรการกุศล และในปจั จบุ นั Lush มี โครงการ Charity Pot ท่ีให้ผบู้ ริโภคสามารถร่วมบรจิ าคเงินผ่านการซอื้ สินค้าประเภทเครอื่ งสำอางทาผิว โดยรายได้ จากการขาย Charity Pot ทงั้ หมดจะมอบให้กบั องค์กรขนาดเลก็ ในทวีปอเมรกิ าเหนือและทัว่ โลกทที่ ำงานสนบั สนุน ด้านสทิ ธิมนษุ ยชน, สัตว์, และสงิ่ แวดล้อม และอีกหน่งึ กจิ กรรมของ Lush คือการมอบผลติ ภัณฑข์ อง Lush ให้แก่ องค์กรขนาดเล็กท่ีทำงานสนับสนนุ ดา้ นสทิ ธิมนุษยชน, สตั ว์, และส่ิงแวดลอ้ ม (Teather, 2007; Lush, n.d. [c]) เป็นเวลากวา่ 25 ปีท่ี Lush ได้สง่ มอบผลิตภัณฑจ์ ากธรรมชาติใหแ้ ก่ลกู ค้า และเป็นองค์กรทเ่ี น้นดา้ นการ ทำธุรกจิ แบบมีจริยธรรม ในปัจจุบัน Lush มีรายได้กวา่ ปีละ 1 พนั ลา้ นเหรยี ญสหรัฐ ถึงแมว้ ่าราคาสนิ คา้ ของ Lush คอ่ นข้างสงู แต่การเนน้ ย้ำแบรนดว์ ่าเปน็ แบรนด์ทีม่ ีจริยธรรมสง่ ผลให้ลกู คา้ บางสว่ นเลือกทีจ่ ะซ้ือสนิ ค้าของ Lush ตอ่ ไป (Financial Times, 2019)

72 Hackathon เรว็ กวา่ ไดพ้ รา้ งาม Hackathon มที ม่ี าจากคำว่า Hack และ Marathon โดยคำวา่ hack หมายถึง การค้นคว้าสอบสวนการเขยี น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กระบวนการ Hackathon เกิดขึ้นครง้ั แรกในปี ค.ศ. 1999 โดยการรวมตัวกันของนักพัฒนา ซอฟตแ์ วร์ระบบการดำเนนิ งานคอมพวิ เตอร์ OpenBSD (Briscoe & Mulligan, 2014, p. 2) การ hackathon เป็นไปเพื่อการรวมตวั กนั พัฒนาหรือแก้ไขปัญหาบางสิง่ บางอย่างโดยใชว้ ธิ ีการแบบมาราธอน คือการใช้ระยะเวลา ร่วมกันโดยมีเวลาเปน็ ตวั กำหนด นอกจากคำวา่ hackathon ในบางครงั้ มกี ารใชค้ ำวา่ hackfest ซง่ึ มที ่ีมาจากคำวา่ hacking festival (Briscoe & Mulligan, 2014, p. 3) งาน Hackathon ในปจั จุบนั ไดข้ ยายขอบเขตจากการรวมตัวกนั แกไ้ ขปญั หาซอฟตแ์ วรโ์ ดยนักพฒั นา ซอฟตแ์ วร์ ไปเปน็ กจิ กรรมหลากหลายประเภท งาน hackathon ไม่ได้ต้องการแค่เพียงนักพฒั นาซอฟต์แวร์ หรอื บคุ คลที่สามารถเขยี นโค้ดคอมพิวเตอร์ แต่ยงั ต้องการดีไซเนอร์ และผู้ท่ีเชี่ยวชาญด้านธรุ กิจ ผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะด้าน รวมไปถงึ นักการตลาดมาช่วยกนั แก้ไขปัญหา ทงั้ นีก้ ลุ่มผู้จัดงาน hackathon ในปัจจุบนั มตี งั้ แต่บรษิ ัทเอกชน, หน่วยงานรฐั บาล, ไปจนถงึ องคก์ รระหว่างประเทศ กระบวนการของงาน hackathon จะเรม่ิ ตน้ ขึน้ ดว้ ยการต้ังโจทย์เพือ่ ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มงานทราบวา่ จะต้องแก้ไข ปัญหาหรือนำเสนอไอเดยี ในด้านอะไร เช่น hackathon ดา้ นการศึกษา, hackathon ดา้ นการท่องเที่ยว, hackathon ดา้ นสุขภาพ การรบั สมคั รคนเขา้ รว่ มงานจะมกี ารจดั แบง่ ออกเป็น 1. developer ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นการใชค้ อมพวิ เตอรส์ าย coding 2. designer ผู้ทส่ี ามารถทำงานดา้ นกราฟิกดีไซน์ สามารถใช้โปรแกรมตา่ ง ๆ ในการออกแบบแอปพลเิ คชนั 3. business ผเู้ ชย่ี วชาญในด้านการออกไอเดยี เชิงธรุ กิจ/การตลาด สามารถใชท้ กั ษะในการนำเสนองานของ กลมุ่ สู่สาธารณชนได้ โดยทวั่ ไปของงาน hackathon จะใชเ้ วลาตงั้ แต่ 24 – 72 ช่วั โมงในการรว่ มกนั แก้ไขปัญหา ผเู้ ข้ารว่ มงาน มักต้องใช้เวลามากกว่าวันละ 8 ชวั่ โมงในการร่วมกนั ทำงานแกไ้ ขปญั หา ดังนน้ั สถานทจี่ ัดงาน hackathon ใน หลาย ๆ กรณจี ะมีการเปิดทำการ 24 ชวั่ โมง เพราะกระบวนการทำงานแบบไมเ่ ปน็ ไปตามเวลาเขา้ งานปกติ ทำใหผ้ ู้ จดั งาน hackathon สว่ นหนึ่งเลอื กทีจ่ ะจดั งานในชว่ งเวลาวนั ศกุ ร์ - วนั อาทิตย์ เพ่อื ให้ผู้ทำงานประจำสามารถใช้ เวลาว่างของตนเองเข้าร่วมงานได้

73 ในปจั จบุ นั มกี ารจัดงาน hackathon เพอ่ื แก้ไขปัญหาสงั คมมากขนึ้ การ hackathon เพ่อื แก้ไขปัญหา สงั คม ได้เปลยี่ นประเภทผเู้ ข้าร่วมงานจากทเี่ คยเนน้ ไปทก่ี ารแกไ้ ขปญั หาเพื่อเพิ่มโอกาสทางธรุ กิจไปเป็นเพื่อสงั คม สง่ ผลใหจ้ ากกลุ่มผเู้ ข้ารว่ มงานสายธรุ กิจและการตลาดเปล่ยี นมาเป็นผเู้ ข้าร่วมงานตามธีมของงาน hackathon เชน่ งาน hackathon ดา้ นการศกึ ษา จะมีนักการศึกษา, คร,ู อาจารย์, ผู้แทนจากหน่วยงาน NGOs ดา้ นการศกึ ษา มา เข้ารว่ ม hackathon ในฐานะผ้มู องเหน็ ปญั หาของการศึกษาและต้องการแก้ไขปัญหาบางอย่างทตี่ นเองหรอื หน่วยงานกำลังเผชญิ อยู่ ผู้เขียนเคยมสี ่วนในการเข้ารว่ มงาน hackathon ทัง้ สายธุรกจิ และ งาน hackathon เพื่อแก้ไขปัญหาทาง สังคม วิธกี ารดำเนนิ งาน hackathon ไม่มคี วามแตกตา่ งกันมาก ผ้เู ขา้ รว่ มงานสามารถรวมกล่มุ กนั มาก่อน หรอื มา รวมตัวกนั ได้ทีง่ าน hackathon โดยเรมิ่ ต้น หากไม่มีทมี มาก่อน ผู้จัดงานจะใหผ้ ู้เข้าร่วมงานทำการ pitching - นำเสนอไอเดยี เรื่องท่ตี นเองสนใจ เชน่ งาน hackathon ด้านการท่องเทยี่ ว ผเู้ ขา้ ร่วมงานอาจมีไอเดียในการแก้ไข ปัญหาของแพ็กเกจทัวรท์ ี่ขายไม่หมด ด้วยการลดราคาทวั ร์ทีข่ ายไมไ่ ด้ และทำการนำเสนอเฉพาะทัวรร์ าคาถูกจาก บริษทั ทัวรท์ ย่ี ังมที ี่วา่ งอยู่ใหแ้ ก่ลกู ค้า และหลงั จากการนำเสนอไอเดยี จะมีการทำการโหวตว่าผเู้ ข้าร่วมงานแต่ละ คนชอบไอเดียของใคร เมื่อผลโหวตออกมา ผทู้ ่ีไดร้ บั คะแนนโหวตเกินขัน้ ตำ่ ทผี่ ้รู ว่ มงานกำหนด จะไดน้ ำเอาไอเดยี นัน้ ไปแก้ไขปัญหา โดยผ้รู ว่ มงานทเ่ี หลือจะมีโอกาสไปเขา้ ร่วมทีมกับเจา้ ของไอเดียท่ีไดร้ ับการคดั เลือก หลงั จากนัน้ กระบวนการ hackathon ตอ่ ไปคอื การคิดหาทางแกไ้ ขปัญหา ผู้ทีส่ ามารถเขียนโคด้ ได้ อาจเร่มิ ทำการเขยี น โปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ บ้ืองต้น ผู้ท่เี ชย่ี วชาญดา้ นการออกแบบจะทำการออกแบบ presentation ท่ีเตรยี มนำเสนอ ส่วนผูเ้ ชยี่ วชาญด้านธุรกจิ /การตลาด หรือ ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นสงั คมประเภทอ่นื มกั มีบทบาทในการนำเสนอทางแก้ไข ปัญหาในเชงิ ลึก คดิ หาวธิ ีการดึงดดู ลูกคา้ หาหนว่ ยงานในการสร้างความร่วมมือ และเป็นผู้นำเสนองานของทมี กระบวนการสดุ ท้ายของงาน hackathon คอื การนำเสนอผลงาน กระบวนการนำเสนอมกั จะมีรปู แบบท่ีคล้ายกัน คือเริ่มต้นดว้ ยการนำเสนอปัญหา (pain point) และเสนอวิธกี ารแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหาผ้เู ขา้ ร่วมงานอาจทำ เป็นชน้ิ ผลงาน (prototype) เช่น กลุ่มแก้ไขปัญหาหมอกควนั ผลติ ช้นิ งานเป็นเคร่ืองดูดฝุ่นทีม่ ีคณุ สมบตั ดิ ดู ควนั (ไม่ ตอ้ งผลติ เครื่องจรงิ ออกมา แตเ่ ป็นตวั ตน้ แบบจำลอง), นำเสนอผา่ นการเขียนโปรแกรมเบือ้ งต้น, หรือการนำเสนอ ผา่ น presentation ในชว่ งการนำเสนองาน จะมีกรรมการผทู้ รงคณุ วุฒเิ ป็นผู้พจิ ารณาการนำเสนอ และอาจมีการ ตง้ั คำถามจากประเดน็ ทสี่ งสยั สดุ ทา้ ย ทีมทีม่ คี ะแนนสงู สดุ ตงั้ แต่ 1 – 3 อนั ดบั แรก จะมีโอกาสได้รบั รางวัลจากผู้จดั งานในรูปแบบของเงนิ รางวัล/ของรางวัล ในบางกรณี รางวัลทไี่ ดร้ บั จะเปน็ ประกาศนยี บัตร/โล่ห์รางวลั ข้อดีของงาน hackathon คอื การสร้างกระบวนการระดมไอเดยี ความคดิ ในการแก้ปัญหาภายใต้เงอื่ นไข ขอ้ จำกัดของเวลา ซงึ่ ในหลายกรณีสามารถนำไปปรบั ใช้จรงิ ได้ ในสว่ นของข้อเสียของงาน hackathon คอื ในหลาย ครง้ั ผลของการจัดงานมิได้กอ่ ให้เกดิ การแก้ไขปัญหาจรงิ เป็นเพียงการระดมความคิดเบื้องต้น และไม่ได้มีการ

74 นำเอาการแก้ไขปญั หาท่ีไดน้ ำเสนอไปพัฒนาต่อ จงึ เปน็ การจดั งานท่สี ิ้นเปลอื งทรัพยากร โดยไม่สามารถวัดผลของ ความสำเร็จได้

75 มหาวิทยาลัย จะไปทางไหนต่อ? ในปี ค.ศ. 2020 สถาบนั อดุ มศึกษาขนาดเล็กในอังกฤษท่ีมีชือ่ ว่า School of Oriental and African Studies (SOAS) ตกเปน็ ขา่ ววา่ ได้กลายเป็นสถานศกึ ษาท่ีมปี ญั หาทางการเงนิ ท้ังนใ้ี นปี 2020 จากเหตกุ ารณโ์ ควดิ – 19 ยิ่ง จะสง่ ผลใหฐ้ านะทางการเงนิ ของ SOAS แยล่ งไปมากกวา่ เดมิ เพราะรายได้ท่ีมาจากนักศึกษาต่างชาตลิ ดลง ประมาณการว่ารายรับจากคา่ เล่าเรยี นในสว่ นของนกั ศกึ ษาต่างชาตอิ าจลดลงไปถงึ ร้อยละ 50 ท่ีผ่านมา ผู้บรหิ าร มหาวทิ ยาลยั ไดท้ ำการขายอาคารสถานที่ของมหาวทิ ยาลยั เพอื่ แกป้ ัญหาทางการเงิน อย่างไรก็ตามรายได้จากการ ขายอาคารไม่ได้แกป้ ัญหาทางการเงนิ ใหก้ ับมหาวทิ ยาลัยในระยะยาว และท้ายทส่ี ดุ แล้วการลดจำนวนของพนักงาน มหาวทิ ยาลยั อาจเป็นเร่ืองท่หี ลกี เลย่ี งไม่ได้ ทั้งนีผ้ ้บู รหิ ารมหาวิทยาลยั มแี ผนทำการทบทวนว่าหลักสตู รใดยงั สามารถทำรายไดแ้ ละอาจต้องทำการปิดหลักสูตรทข่ี าดทนุ (McKie, 2020) จากสถานการณข์ อง SOAS ทำให้เกดิ คำถามต่อสภาวะทางการเงินของมหาวทิ ยาลัยในสหราชอาณาจักร วา่ ยังมีมหาวิทยาลยั อีกหลายแหง่ หรือไม่ที่กำลังเผชิญสภาวะความเสี่ยงทจ่ี ะกลายเป็นมหาวทิ ยาลัยทีเ่ ขา้ สสู่ ภาวะ ล้มละลาย ในปี 1998 ถอื เป็นปีแรกทีร่ ฐั บาลนำโดย Tony Blair นายกรฐั มนตรสี หราชอาณาจักรริเริ่มให้นกั ศึกษาใน ระดบั อดุ มศึกษาจ่ายคา่ เลา่ เรียนในอัตราปลี ะ 1,000 ปอนด์ ตอ่ มาในปี 2006 อตั ราค่าเล่าเรียนในองั กฤษเพ่มิ ข้นึ เปน็ 3,000 ปอนด์ และนบั ตั้งแต่ปกี ารศกึ ษา 2012 เป็นต้นมา ได้มีการเปล่ียนแปลงคา่ เลา่ เรียนจาก 3,000 เป็น 9,000 ปอนด์ (Ball, 2014) ถงึ แมจ้ ะมีการข้ึนค่าเล่าเรียนถึงสามเท่าตัวในปี 2012 แต่กลบั มอี ตั ราร้อยละของผู้เข้า เรยี นต่อในระดับอุดมศึกษามากยงิ่ ขึ้น โดยในปี 2018 ถือเป็นปแี รกทช่ี าวอังกฤษทม่ี ีอายุต้งั แต่ 18 – 30 ปี จำนวน เกินก่ึงหนึ่งเข้าศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษา (Turner, 2019) ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจวา่ สรุปแลว้ มหาวิทยาลยั ในสหราชอาณาจกั รถอื เป็นมหาวทิ ยาลยั รัฐหรือ มหาวิทยาลยั เอกชน ทงั้ นี้จดุ กำเนดิ ของมหาวิทยาลัยถือเป็นมหาวิทยาลัยเอกชน และไมเ่ คยตกอยูภ่ ายใต้การ ควบคมุ ของภาครฐั จนกระทง่ั ปี 1919 มกี ารก่อต้ัง University Grant Committee (UGC) โดย UGC ถือเป็น ชอ่ งทางหน่งึ ในการท่ีรฐั บาลจะสามารถช่วยเหลอื มหาวิทยาลยั โดยการกนั งบประมาณภาครัฐกระจายไปยัง มหาวิทยาลยั ต่าง ๆ (Shattock & Berdahl, 1984) ในภาพรวม มิอาจกลา่ วได้ว่ามหาวทิ ยาลัยเหลา่ น้ีเปน็ มหาวทิ ยาลยั ของรฐั แตเ่ ป็นมหาวทิ ยาลัยทไี่ ดร้ ับการช่วยเหลือทางด้านงบประมาณอุดหนุนเพยี งบางส่วนจากรัฐ ทงั้ น้ีขอยกตวั อย่างงบประมาณในภาพรวมของมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจกั รในชว่ งปกี ารศึกษา 2014 – 2015 มาพอสังเขป ในปกี ารศึกษาดงั กลา่ วมีสถานศึกษาท่ที ำการเรยี นการสอนในระดบั อุดมศกึ ษาได้รบั งบประมาณ อดุ หนุนจากรัฐบาลจำนวนท้ังสน้ิ 164 แห่ง โดยรายรับของมหาวทิ ยาลัยมาจากภาครฐั บาลรอ้ ยละ 26 หรือเพยี งราว

76 1 ใน 4 ของรายไดท้ ง้ั หมด ในขณะท่ีรอ้ ยละ 44 ของรายได้มหาวทิ ยาลัยมาจากการเก็บค่าธรรมเนยี มการเรยี นการ สอน ซึง่ ถือเปน็ รายได้หลักของมหาวทิ ยาลัย (Universities UK, 2016, p. 3) ถ้าหากพจิ ารณาเฉพาะในส่วนของรายได้ของมหาวิทยาลัยจากการเรยี นการสอน พบวา่ ร้อยละ 47 ของ รายรับมาจากค่าเลา่ เรยี นในระดบั ปริญญาตรีของนักศึกษาจากสหราชอาณาจักรและสหภาพยโุ รป และร้อยละ 23 มาจากค่าเลา่ เรยี นของนักศกึ ษานอกสหราชอาณาจักรและสหภาพยโุ รป (Universities UK, 2016, p. 4) ในกรณที ่ีมหาวทิ ยาลัยขาดรายไดจ้ ากนักศึกษาต่างชาตเิ พราะเหตุการณ์โควดิ - 19 ถา้ หากเปรียบเทยี บโดย การอา้ งอิงปีการศึกษา 2014 – 2015 พบวา่ รายได้กวา่ 1 ใน 4 มาจากนักศึกษาต่างชาตินอกสหภาพยโุ รป ซง่ึ ต้อง จา่ ยค่าเล่าเรียนในอตั ราท่แี พงกวา่ อัตราค่าเล่าเรยี นของนกั ศึกษาจากสหราชอาณาจักรและสหภาพยุโรป ทั้งนีข้ อ เปรียบเทียบในกรณีของ University College London (UCL) ปีการศึกษา 2020 – 2021 คา่ เล่าเรยี นสำหรบั นกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรภี ายในประเทศและสหภาพยุโรปอยู่ท่ี 9,250 ปอนด์ ในขณะที่นักศึกษาตา่ งชาติทีเ่ หลอื มี ค่าเลา่ เรียนตงั้ แต่ปลี ะ 19,720 – 28,610 ปอนด์ (UCL, n.d. [a], [b]) การขาดรายไดจ้ ากนกั ศึกษาต่างชาติ แม้มิใช่ รายได้หลักของมหาวทิ ยาลยั แต่ปฏิเสธไม่ไดว้ า่ ประเดน็ โควดิ – 19 มีความสำคญั มากต่อรายได้โดยรวมของ มหาวทิ ยาลัยในสหราชอาณาจกั ร SOAS ถือเป็นสถานศึกษาทม่ี ีการเรยี นการสอนแบบเฉพาะทาง กล่าวคือ SOAS มกี ารเน้นการเรยี นการ สอนด้านสงั คมศาสตรท์ ่เี นน้ area studies ในเอเชยี ตะวนั ออกกลาง และ แอฟริกา และถอื เป็นมหาวิทยาลยั ที่มี นกั ศึกษาต่างชาตสิ ูงถงึ รอ้ ยละ 56 โดย SOAS มีนกั ศกึ ษาต่างชาติมากกว่าค่าเฉลยี่ ของมหาวทิ ยาลัยทั่วโลกถึง 5 เทา่ (SOAS, n.d.) เพราะการเรยี นการสอนเฉพาะทางและจำนวนนกั ศกึ ษาต่างชาตจิ ำนวนมาก ทำให้ SOAS กลายเปน็ สถาบันอดุ มศกึ ษาท่ีมีความเส่ียงในการเผชิญกบั สภาวะลม้ ละลายในอนาคต สุดท้ายแลว้ สถาบนั อุดมศกึ ษาที่มกี ารเรยี นการสอนเฉพาะทาง มจี ำนวนคณะและนกั ศกึ ษาไม่มาก อาจมี ทางเลอื กในการอย่รู อดไมม่ ากนกั ทางเลือกหนงึ่ คือการถกู ควบรวมไปเปน็ ส่วนหน่ึงของมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ ดงั เชน่ กรณขี อง University College London ท่ีควบรวม Institute of Education ในปี 2014 (UCL, 2014) ทางเลือกประการถดั ไปคือส่งิ ที่ SOAS กำลังทำอยู่ นั่นกค็ ือการลดค่าใช้จ่าย ตัดหน่วยงานท่ีไม่ทำกำไรทิ้ง ในส่วน ของทางเลอื กสดุ ทา้ ย ที่ไม่มีใครอยากใหเ้ กดิ ข้นึ เพราะไม่ใช่ทางรอดแต่เปน็ ทางเลกิ กจิ การของสถาบนั อดุ มศึกษา แหง่ น้ี

77 บทที่ 3 การเปน็ พลเมอื งกบั การเรยี นรแู้ ละการดำรงตนในพหุวัฒนธรรมและความหลากหลายทางสังคม หวั ข้อ • ความหมายของคำว่าพหุวัฒนธรรม • ความยุตธิ รรมและการไม่เลอื กปฏบิ ัติ • ความหลากหลายทางวฒั นธรรม • ความหลากหลายทางศาสนา • ความหลากหลายทางชนชาติ • ความหลากหลายทางเพศ วตั ถุประสงค์ • นักศึกษาเรยี นรทู้ ่ีจะปฏบิ ตั ติ ่อผูอ้ น่ื ด้วยความเสมอภาคอย่างปราศจากอคติ • นักศึกษาสามารถเรียนรถู้ ึงความหลากหลายทางวฒั นธรรมที่ปรากฏอยู่ในสังคมยุคปัจจบุ ัน • นกั ศึกษาสามารถเรียนรถู้ งึ ความหลากหลายทางศาสนา ความเชอื่ ทีป่ รากฏอยใู่ นสงั คมยุคปจั จบุ ัน • นกั ศกึ ษาสามารถเรียนรู้ถึงความหลากหลายทางชนชาติทีป่ รากฏอยูใ่ นสังคมยุคปจั จุบนั • นักศึกษาสามารถเรียนรู้ถึงความหลากหลายทางเพศทีป่ รากฏอย่ใู นสงั คมยุคปจั จุบนั เกริน่ นำ หลังจากท่ีเราไดเ้ รยี นร้ถู งึ สิทธิของพลเมือง ปัญหาที่เกิดข้ึนรอบตัวเรา รวมไปถึงปญั หาระดบั ประเทศและ ระดบั นานาชาติ ในบทท่ี 3 จะเปน็ การเรียนรู้ทีต่ า่ งออกไป ในบทท่ี 1 และ บทที่ 2 นัน้ เนน้ ไปทก่ี ารเรียนรเู้ กยี่ วกับ ตัวเราและหน้าทขี่ องเรา คือ เป็นการเรียนทเี่ น้นเอาตวั เราเปน็ จุดศนู ย์กลาง แตส่ ำหรบั บทท่ี 3 เราจะไดเ้ รยี นรถู้ ึงคำ วา่ “พหุวฒั นธรรม” ซึ่งจะเป็นการให้นักศึกษาพจิ ารณาถึงบุคคลอืน่ ในรูปแบบท่เี ขาเป็น ในบทน้ี เราเรียนรู้ท่ีจะนำ ผู้อ่ืนมาเปน็ จดุ ศูนยก์ ลางและลดความเปน็ ตวั เองลง ในโลกปัจจบุ นั นักศึกษาจะได้เห็นถึงความหลากหลายและความเปล่ียนแปลง ท่เี กิดขึ้นในสงั คมของเรา ตลอดเวลา ถ้าเปน็ เมื่อประมาณ 10 ปีท่ีแล้ว ในจังหวัดเชียงใหม่ มักมีแต่นักท่องเท่ยี วชาวไทยและนกั ทอ่ งเท่ียว

78 ชาวตา่ งชาตทิ ีเ่ ราเรียกเขาวา่ ฝร่ังเดนิ ทางมาทอ่ งเที่ยว แต่ในปัจจุบัน มนี ักท่องเที่ยวจากประเทศจีนเดินทางเขา้ มา ทอ่ งเทีย่ วในจงั หวดั เชียงใหม่เปน็ จำนวนมาก สง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงภายในจงั หวดั เป็นอย่างมาก ผู้ประกอบการชาวไทยจำนวนมากสามารถพดู ภาษาจนี ได้ ท้งั น้ี เราในฐานะบุคคลทเ่ี รียนอยใู่ นจังหวดั เชียงใหม่ ได้ เรยี นรทู้ ่จี ะปรับตวั เขา้ กับพหุวัฒนธรรมอยา่ งไรบ้าง? ความหมายของคำว่าพหุวัฒนธรรม พหวุ ัฒนธรรม เกดิ มาจากคำ 2 คำ คือ พหุ และ วัฒนธรรม ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 พหุ หมายความวา่ “มาก” สว่ นคำว่าวฒั นธรรม หมายความวา่ “สิ่งท่ที ำความเจรญิ งอกงามให้แกห่ มู่คณะ เชน่ วฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถชี ีวติ ของหมคู่ ณะ เช่น วัฒนธรรมพ้ืนบา้ น วัฒนธรรมชาวเขา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ฯ ไมป่ รากฏของความหมายคำว่า พหุวัฒนธรรม แต่เมื่อรวมความหมายจากคำสอง คำเข้าดว้ ยกนั พหวุ ัฒนธรรม คือ ส่งิ ทที่ ำความเจริญงอกงามใหแ้ ก่หมู่คณะในลักษณะท่ีหลากหลาย หรือ วฒั นธรรม อนั หลากหลาย อยา่ งไรก็ตาม คำว่า วฒั นธรรม หรือ Culture ในภาษาอังกฤษ ไม่ไดม้ ีความหมายเปน็ ไปในเชิงบวกทัง้ หมด เชน่ ในสหรัฐอเมริกา มีวัฒนธรรมทีเ่ รยี กว่า Rape Culture ซ่งึ เป็นคำท่ีเร่ิมมกี ารถกู พูดถึงตั้งแต่ชว่ ง 1970s เป็นต้น มา Rape Culture คือ วฒั นธรรมท่มี ีความเชื่อว่าการใชค้ วามรุนแรงท่ีกระทำโดยผชู้ ายต่อผู้หญงิ ถือเปน็ ความเปน็ จรงิ ในชวี ติ อยา่ งหน่ึง และการใชค้ วามรุนแรงนีเ้ ชื่อมโยงกบั เรือ่ งทางเพศ โดยถือว่าเปน็ สทิ ธิของผู้ชายที่จะมี เพศสมั พนั ธ์กับผูห้ ญงิ (Phipps, Ringrose, Renold, & Jackson, 2018) ดงั จะเห็นไดจ้ ากตัวอยา่ งในความหมาย ของ Rape Culture การแปลคำว่าวฒั นธรรม จงึ หลีกเลย่ี งการแปลว่า “ส่งิ ท่ีทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ” แต่เป็น “ส่งิ ที่นิยมประพฤติ – ความเช่ือในหมูค่ ณะ” แทน ดงั นัน้ ความหมายของคำว่าพหวุ ัฒนธรรม คอื “ส่งิ ทีน่ ิยม ประพฤติ – ความเช่อื ในหมคู่ ณะในลักษณะทห่ี ลากหลาย” หรือ “วฒั นธรรมอนั หลากหลาย” ทำไมเราถึงต้องศึกษาเรยี นรู้เรอื่ งพหวุ ัฒนธรรม? น่ันเป็นเพราะว่า ในสงั คมปัจจุบนั ไดป้ รากฏความ หลากหลายมากข้ึน เนือ่ งด้วยความสะดวกในการเขา้ ถึงการขนส่งทง้ั ทางบก ทางทะเล และทางอากาศ การเขา้ ถงึ การสื่อสารทปี่ ราศจากขอ้ จำกัด ส่งผลให้ผู้คนจากต่างถน่ิ สามารถเห็นวถิ ีชวี ติ ของผูค้ นท่ีมีวิถีชวี ติ ทแ่ี ตกต่างออกไป ทงั้ น้ี เราสามารถเห็นความหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรม วถิ ชี วี ิต โดยการสงั เกตผ่านทางอนิ เตอรเ์ น็ต, โซเชยี ล มีเดยี , และการประสบกับความหลากหลายดว้ ยตนเอง การศึกษาเรยี นรู้เรื่องพหวุ ฒั นธรรม จะทำใหเ้ ราเรยี นรทู้ ีจ่ ะ เข้าใจและยอมรบั ในความแตกตา่ งอยา่ งปราศจากอคติ

79 ความยุติธรรมและการไม่เลอื กปฏิบตั ิ ความยุติธรรมคืออะไร? Michael J. Sandel ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยฮารว์ ารด์ ผสู้ อนวิชาความ ยุติธรรม ได้ตง้ั คำถามกับนักศึกษาฮาร์วารด์ เอาไวว้ า่ กรณที ่ี 1 นักศึกษาไปอยู่ในสถานการณท์ ่ีเปน็ ผู้บงั คบั รถราง แต่ปรากฏว่าสญั ญาณเบรคไม่ สามารถทำงานได้ แต่ในโชครา้ ยยงั มคี วามโชคดอี ยู่ นั่นคือ พวงมาลัยรถสามารถใช้งานได้ ถ้า หากนักศกึ ษาเลือกที่จะไมท่ ำอะไรเลย รถจะต้องชนคนงานทงั้ 5 คน ทอ่ี ยูต่ รงหนา้ และคนงาน เหล่าน้นั จะต้องเสยี ชวี ิตท้ังหมด แต่ถ้าหากนักศกึ ษาหมนุ พวงมาลัยไปทางขวา คนทง้ั 5 คนนน้ั จะรอดชีวิต แตเ่ มอ่ื หมุนพวงมาลยั ไปทางขวา ยังคงมีคนงาน 1 คนท่ีอยู่บริเวณรางรถ และเขา จะตอ้ งเสยี ชวี ิตแทนคนทัง้ 5 คนนั้น คำถามคอื คณุ จะหมนุ พวงมาลยั ไปทางขวา เพอื่ ใหค้ น 1 คน เสียชีวติ และคนท้งั 5 คน รอดชีวติ หรอื ไม่? (Sandel, 2009)24 จากคำถามท่ี Sandel ตั้ง ปรากฏวา่ นกั ศึกษาสว่ นใหญ่ในหอ้ งเรยี นเลือกท่จี ะหมุนพวงมาลัยไปทางขวา ด้วยจุดประสงคท์ จ่ี ะชว่ ยเหลอื ให้คนทง้ั 5 คน รอดชีวิต ถึงแมว้ า่ จะตอ้ งมใี ครคนใดคนหน่ึงเสียชีวติ ในกรณีนี้ก็ตาม อย่างไรกต็ ามเมือ่ เปลยี่ นแนวคำถามกลบั พบว่านักศึกษาแทบท้ังหมดในห้องเรียนกลับตัดสินใจไปในทางตรงข้าม; กรณที ี่ 2 สมมตวิ ่าคณุ เปน็ แพทย์ และมคี นไขใ้ นความดูแลถึง 5 รายทต่ี อ้ งการอวยั วะทีส่ ำคญั หากไมไ่ ด้รบั การผ่าตดั เปลยี่ นอวัยวะเหล่าน้ี คนไขจ้ ะถงึ แก่ความตายได้ อย่างไรกต็ าม ไม่มีคนมา บริจาคอวัยวะ โดยอวยั วะที่คนไขต้ อ้ งการ ได้แก่ หัวใจ ปอด ไต ตับ และตบั ออ่ น และในขณะที่ คนไขท้ ัง้ 5 กำลงั นอนรอความตายอยนู่ ัน้ ในห้องคนไข้หอ้ งถดั ไป เกดิ มีชายคนหนง่ึ ทมี่ สี ุขภาพดี เยี่ยม เข้ามาตรวจสุขภาพทัว่ ไป ในระหว่างท่ีเขารอตรวจสุขภาพน้นั เขากำลงั นอนหลบั อยู่ คำถามคอื จะมใี ครเลือกที่จะฆ่าผู้ชายคนน้ี เพ่ือรกั ษาชีวติ ของคนไข้ท่เี หลอื ทัง้ 5 คนบ้าง? (Sandel, 2009)25 ในโจทย์คำถามทมี่ ีความคล้ายคลงึ กนั คือ ทงั้ กรณที ี่ 1 และ 2 มจี ำนวนคนท่ีเท่ากนั คือ กลมุ่ A มี 1 คน และกลุ่ม B มี 5 คน ถา้ หากเราไม่ลงมือทำอะไร คนทงั้ 5 จากกลุม่ B คนจะต้องเสียชีวิต แตห่ ากเราเลอื กที่จะ ชว่ ยเหลอื คนทง้ั 5 คน จะตอ้ งทำให้คน 1 คน จากกลุม่ A เสยี ชวี ิต ทำไมมนษุ ย์ถงึ เลือกที่จะตัดสนิ ใจไปในทิศทางท่ี แตกต่างกัน? 24 ไมไ่ ด้เปน็ การถอดคำพูดแบบคำแตค่ ำแต่เป็นการสรปุ ดว้ ยภาษาของผูแ้ ปลเอง 25 ไมไ่ ดเ้ ปน็ การถอดคำพดู แบบคำแตค่ ำแตเ่ ป็นการสรปุ ด้วยภาษาของผู้แปลเอง

80 คำตอบคือ เรามีวิธกี ารใชเ้ หตุผลทางศีลธรรมทแี่ ตกต่างกัน การใช้เหตุผลทางศลี ธรรม แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ Consequentialist Moral Reasoning (เหตุผลทางศีลธรรมเชงิ ผลลัพธ์) คอื เรานำพาศลี ธรรมไป ผกู เอาไว้กบั ผลทจี่ ะเกดิ ข้นึ จากการกระทำ และ Categorical Moral Reasoning (เหตุผลทางศีลธรรมเชิงเด็ดขาด) คอื เราวางเสน้ ศลี ธรรมไวท้ ห่ี น้าทแี่ ละสทิ ธิ โดยไม่ได้คำนึงถงึ ผลลพั ธ์ของการกระทำ (Sandel, 2009) โดยในกรณีท่ี 1 เมอ่ื นักศึกษาสว่ นใหญเ่ ลอื กทีจ่ ะเบี่ยงพวงมาลัยไปทางขวา เพ่อื ให้คนอีก 5 คนมชี ีวิตรอด การกระทำเชน่ นน้ั ถือ เปน็ การใช้ Consequentialist Moral Reasoning เพราะเนน้ ไปที่ผลลพั ธ์ คือ ชว่ ยชีวติ คนได้ 5 คน ย่อมดีกวา่ 1 ชีวิต ในขณะทใ่ี น กรณที ี่ 2 นกั ศกึ ษาเกือบทั้งหมดในห้องเลอื กท่ีจะไม่ฆาตกรรมคนไข้สุขภาพดี เพอื่ ให้คนไข้อกี 5 คนได้มชี วี ติ รอด ในกรณีนี้นกั ศึกษาสว่ นใหญ่เลือกใช้ Categorical Moral Reasoning คอื ยดึ ถือในความถูกต้อง ของการทำหนา้ ทีข่ องการเป็นแพทย์ ไมล่ ะเมิดสิทธขิ องคนไข้ที่มสี ุขภาพดี ถงึ แม้วา่ ผลลพั ธจ์ ะเปน็ การเสยี ชีวิตของ คน 5 คน ซ่งึ มากกว่าผู้รอดชีวติ 1 คนกต็ าม ความหมายของคำวา่ ยตุ ิธรรม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตฯ คือ “ความชอบด้วยเหตุผล, ความชอบ ธรรม, หรือ ความเท่ียงธรรม” จากกรณตี ัวอยา่ งข้างต้น เราจะเหน็ ได้ว่า ความยตุ ธิ รรมนน้ั เปน็ ผลมาจากการ ตัดสนิ ใจของบุคคล โดยมีพื้นฐานมาจากเหตผุ ลทางศีลธรรม ซง่ึ แตล่ ะบคุ คลจะมวี ธิ กี ารใชเ้ หตผุ ลทางศลี ธรรมท่ี แตกตา่ งกนั เช่นเดยี วกันกับกลุม่ คน, องค์กร, และรฐั ในบางกรณีจะเหน็ วา่ รัฐ หรือองค์กรระหว่างรฐั มีการออก กฎหมายทม่ี ีพนื้ ฐานมาจากเหตผุ ลทางศีลธรรมทีแ่ ตกต่างกัน เชน่ ในปี 2011 European Commission (คณะกรรมาธกิ ารยุโรป) ไดผ้ ่านกฎหมายทใ่ี หส้ ทิ ธิในการที่จะถกู ลืม หรือ “Right to be Forgotten” ภายใต้ แนวคิดนี้ บคุ คลสามารถใช้สิทธใิ นการขอลบข้อมลู สว่ นบุคคลของตัวเองจากระบบขอ้ มูลท่ีมกี ารจัดเก็บไว้ ที่มาของ สทิ ธิในการทจี่ ะถกู ลืมสามารถย้อนไปท่ีกฎหมาย “Le droit à l'oubli” หรือ “Right to Oblivion” ของประเทศ ฝรงั่ เศส ซึ่งถือเป็นกฎหมายที่ใหส้ ิทธิในการทีจ่ ะปฏิเสธในการพิมพเ์ รอ่ื งราวท่ีเกยี่ วข้องกับคดีความที่เคยเกิดข้นึ ของ นักโทษท่เี คยได้ถกู ดำเนินคดแี ละหลดุ พน้ จากการไดร้ บั โทษ (Rosen, 2012: 88-89) สิทธใิ นการท่จี ะถูกลืมมีการ ครอบคลุมทง้ั การขอลบข้อมลู ส่วนบุคคลโดยตรงจากแหล่งข้อมูล เชน่ เว็บไซต์ทเ่ี ผยแพร่ข้อมลู ของเรา หรอื ขอให้ search engine เชน่ Google ให้ทำการลบข้อมูลของเรา ทงั้ นี้ Google ไมส่ ามารถท่ีจะลบข้อมลู ที่มีอยู่ในเว็บไซต์ อ่ืนๆโดยตรงได้ แตส่ ิ่งที่ Google สามารถทำไดค้ ือ ลบผลการค้นหา ลบ links ที่มชี ื่อเราไม่ใหไ้ ปปรากฏอยบู่ น Google (European Union, 2018) ในทางตรงกันข้าม ความยตุ ิธรรมในรูปแบบของสหรัฐอเมริกา คือ การที่ ประชาชนจะไดส้ ิทธิตาม Bill of Rights หรือ บญั ญัตวิ า่ ด้วยสิทธิของพลเมือง ตามรฐั ธรรมนูญ โดยในขอ้ ที่ 1 ที่ ปรากฏอยู่ใน Bill of Rights คือ “Freedom of Religion, Speech, and Press” (National Center for Constitutional Studies, n.d.; Rosen, 2012: 88) พลเมืองอเมรกิ นั มสี ิทธิในการทจี่ ะนับถือศาสนา มเี สรีภาพใน

81 การแสดงออกผา่ นการพูด คิด เขียน และเปิดเสรภี าพในการแสดงออกของสื่อ และเสรีภาพในการเข้าถงึ สือ่ ดงั น้นั ขอ้ มลู ในรปู แบบเดียวกนั เชน่ ประวัติของการตอ้ งคดขี องอาชญากร ถงึ แม้วา่ จะไดร้ บั โทษจนคดีเป็นทส่ี ิน้ สดุ แลว้ ก็ ยงั สามารถบรรจขุ ้อมูลรายละเอยี ดไวใ้ นเว็บไซตไ์ ด้ การไม่เลือกปฏบิ ตั ิ หมายความถึง การกระทำอยา่ งเสมอภาค ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ระบไุ วอ้ ยา่ งชัดเจนในมาตราท่ี 27 วา่ “บคุ คลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย มสี ิทธิและเสรภี าพและได้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมายเทา่ เทยี มกนั ชายและหญงิ มสี ทิ ธเิ ท่าเทียมกนั การเลือกปฏิบตั ิโดยไมเ่ ปน็ ธรรมตอ่ บคุ คล ไม่ว่าดว้ ย ความเหตแุ ตกต่างในเรอ่ื งถน่ิ กำเนดิ เชอื้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรอื สุขภาพ สถานะของบคุ คล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสงั คม ความเชอ่ื ทางศาสนา การศึกษาอบรม หรอื ความคดิ เหน็ ทางการเมืองอนั ไม่ขัดต่อบทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู หรือเหตุอ่ืนใด จะกระทำ มไิ ด้...” (รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐, 2561: 8) พื้นฐานทีท่ ำให้บคุ คลได้รับสทิ ธิและเสรีภาพอยา่ งเทา่ เทียมกัน ไดถ้ ูกระบุไวต้ ามกฎหมาย ถ้ายกตวั อยา่ งท่ี เหน็ ได้ชัดมากข้นึ ในประเดน็ ของการไม่เลือกปฏิบัติต่อบคุ คล ไดแ้ ก่ เจา้ พนักงานทม่ี ีหน้าท่ีในการทำความสะอาด ถนนสาธารณะย่อมจะต้องทำความสะอาดถนนทุกพนื้ ที่ ไม่มกี ารเว้นการทำความสะอาดบริเวณหนา้ บ้านของบุคคล ใดบคุ คลหนึง่ เม่ือมผี ู้ขอเข้าแจง้ ความ เจา้ พนักงานสอบสวนจะตอ้ งทำการรบั เรือ่ งแจง้ ความ ผ่านการทำการบันทึก ไว้เปน็ หลกั ฐาน ไม่มีข้อยกเว้น ถงึ แม้บุคคลผู้น้ันจะเป็นคนต่างดา้ ว นักท่องเทยี่ ว ท่ีอาศยั อย่ใู นประเทศไทย อย่างไรกต็ าม ยงั มีตัวอยา่ งท่ีเกดิ ข้ึนจริง ท่สี ่งผลใหต้ ้องต้ังคำถามในประเดน็ ของการไม่เลือกปฏบิ ัติ ใน ประเทศสหรฐั อเมริกา มีนโยบายทเี่ รยี กวา่ Affirmative Action26 ซึง่ เปน็ นโยบายเพ่ือชว่ ยเหลอื ผดู้ ้อยโอกาส นโยบายนี้ให้สทิ ธิพิเศษแก่ บุคคลบางชาติพันธ์ุ สิทธพิ เิ ศษแกบ่ ุคคลท่มี ีรายได้ในระดบั ต่ำ และ สทิ ธิพิเศษในการจ้าง งานแกบ่ ุคคลท่มี ีลักษณะบางประการ เชน่ ถกู จา้ งงานเพราะเป็นเพศหญิง ถูกจ้างงานเพราะเปน็ เพศทางเลือก คำถามคือนโยบาย Affirmative Action เปน็ นโยบายทเี่ ลอื กปฏิบตั หิ รือไม่? คำตอบคอื ใช่ เพราะนโยบายเจาะจง ในการให้โอกาสแก่กลมุ่ คนบางประเภทแต่ไม่ใช่ทุกคนในประเทศจะได้รับสิทธนิ ้ัน อยา่ งไรกต็ าม เมื่อเราพจิ ารณาถงึ Affirmative Action เราจะต้องนำเอาประเดน็ “ความเหล่ือมลำ้ ” เข้ามาพจิ ารณาด้วย นั่นคือ โดยธรรมชาติแล้ว บคุ คลไม่ไดเ้ กิดมาด้วยต้นทุนชีวิตทีเ่ สมอกนั บางคนเกดิ มาจากครอบครวั ทีม่ ีฐานะ ย่อมจะส่งผลใหบ้ ุคคลนน้ั ไดร้ บั การดูแลตามสมควร ไม่ขาดแคลนสารอาหาร และสามารถเข้าศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษาตามความสามารถของ 26 ผู้เขยี นแปลคำว่า Affirmative Action โดยองิ จากบทความทีเ่ ขยี นโดย Coate & Loury (1993)

82 ตนเองโดยไม่ขัดสนเงินทองในการชำระเปน็ ค่าเล่าเรียนและคา่ กนิ อยู่ ในกรณตี รงกันขา้ ม บุคคลทีถ่ ือกำเนดิ มา โดย บุพการีอาจหย่าร้างกัน ทำใหต้ อ้ งเติบโตมาภายใต้การเลีย้ งดูของพ่อหรือแม่ ที่อาจไมส่ ามารถสนบั สนนุ ใหบ้ ุตรได้ เรียนตามสมควร ไมส่ ามารถส่งเสียใหล้ ูกไดเ้ รยี นพิเศษ อาหารการกนิ ไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการ ทำใหส้ มองของ บุตรไม่ได้รับการพัฒนาเทา่ ท่ีควรจะเปน็ เม่ือบตุ รมีความตอ้ งการที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย เพราะ ตอ้ งการไดร้ ับการศึกษาที่ดแี ละเช่อื วา่ การมวี ุฒิการศึกษาที่ดีจะสง่ ผลให้สามารถหางานทด่ี ีและมรี ายรบั ท่ีดีได้ ถา้ เยาวชนท่ีมาจากครอบครวั ท่ีมีฐานะดี และเยาวชนท่ีมาจากพืน้ ฐานครอบครัวทย่ี ากจน ต้องมีแข่งขันเพื่อใหไ้ ดร้ บั สทิ ธิในการเข้ามหาวทิ ยาลัยผ่านข้อสอบกลาง ทั้งสองคนนีม้ ีโอกาสท่เี ท่าเทียมกนั ในการนัง่ ทำข้อสอบ แต่ความ เหลอ่ื มล้ำทางฐานะเศรษฐกิจสง่ ผลลบต่อเยาวชนที่มาจากครอบครัวพื้นฐานยากจน ทำใหเ้ ขามโี อกาสนอ้ ยกวา่ ทจี่ ะ สามารถไดส้ ิทธิเข้าเรยี นในมหาวิทยาลยั ทต่ี อ้ งการ การเลือกปฏิบตั ิตอ่ กล่มุ บุคคล ในสถานการณ์บางอยา่ งจะช่วยลดระดบั ความเหลอ่ื มล้ำ ไมว่ ่าจะเป็นความ เหล่ือมลำ้ ทางเศรษฐกจิ หรือสังคม ซง่ึ ในระยะยาวจะส่งผลให้เพมิ่ ศักยภาพในการแขง่ ขันของผู้ด้อยโอกาสมากขนึ้ ถอื เป็นการขยายความเท่าเทียมกนั ในสงั คมได้ในระดับหนง่ึ เชน่ นั้นแล้ว นโยบาย Affirmative Action จึงถือเปน็ นโยบายเลือกปฏิบตั เิ ชงิ บวกสำหรบั ผดู้ ้อยโอกาส ทงั้ นี้ “การเลอื กปฏิบตั เิ ชิงบวกต่อบุคคล” มีศัพทท์ ี่ใชท้ ดแทน เรยี กว่า “Preference for a Person หรือ การให้สทิ ธพิ เิ ศษสว่ นบคุ คล” (คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ, 2558: 93-94) สำหรับการตอบคำถามท่ีวา่ ความยตุ ธิ รรม มีจริงหรือไม่? ตวั อยา่ งจากการรบั นักศกึ ษาเขา้ เรียนต่อใน มหาวิทยาลยั Ivy League ซึ่งเป็นมหาวิทยาลยั ท่ีมีความเกา่ แกแ่ ละมีช่ือเสียง 8 แห่งในสหรัฐอเมรกิ า ได้แก่ Brown University, Columbia University, Cornell University, Dartmouth College, Harvard University, University of Pennsylvania, Princeton University, และ Yale University27 พบว่า มหาวทิ ยาลยั ในเครือ Ivy League สว่ นมากเลอื กทีจ่ ะลดมาตรฐานการรบั นักศึกษาเข้าเรยี นในกรณที ผี่ ปู้ กครองเลอื กที่จะบรจิ าคเงินใหแ้ ก่ มหาวิทยาลัย โดยอตั ราเงนิ บริจาคจะอย่ทู ่ี 5 ล้านเหรียญสหรัฐสำหรับนกั เรยี นทม่ี ีคะแนนในระดบั ท่ีไมต่ า่ งจาก คแู่ ข่งรายอนื่ ๆ และ 10 ลา้ นเหรียญสหรัฐสำหรับผทู้ ่ีมีคะแนนต่ำกว่า (Unz, 2012 as cited in Fingleton, 2012) ทง้ั นี้มหาวิทยาลัยในเครอื Ivy League ถอื เปน็ มหาวทิ ยาลยั เอกชน ที่มีค่าเลา่ เรียนท่ีสงู เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับ มหาวทิ ยาลยั ของรัฐ การลดมาตรฐานการรบั นักศึกษาซ่ึงเปน็ ผลมาจากการบริจาคเงนิ ไม่ถือเป็น Affirmative 27 อา่ นขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ได้ที่ https://www.businessinsider.com/the-ivy-league-schools-ranked-2013-9

83 Action เพราะไมไ่ ด้สนบั สนุนให้กลุ่มคนผู้ด้อยโอกาส ได้รับสทิ ธใิ ห้เข้าเรยี นใน Ivy League แต่เป็นการกันพื้นท่ีไว้ ใหก้ ลุ่มบคุ คลทมี่ ีสถานภาพทางการเงนิ ในระดบั บนได้เข้าศึกษาต่อ จะเห็นไดจ้ ากตัวอย่างของการรับเขา้ นกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลัยเอกชนระดับบนของสหรัฐอเมริกาถึงความ เหลอื่ มลำ้ ทางฐานะทางเศรษฐกจิ ทส่ี ง่ ผลให้กลุม่ คนจำนวนหนึง่ มสี ทิ ธิเหนือกว่าบุคคลอน่ื ดังน้นั หน้าที่ประการหนง่ึ ของรัฐ คือ การสร้างความยุติธรรม ลดความเหลื่อมลำ้ ถึงแมจ้ ะเป็นการลดการเหล่อื มล้ำดว้ ยวธิ ีการเลอื กปฏิบตั ิท่ี เนน้ ผลเชงิ บวก (หรือการใหส้ ิทธิพเิ ศษ) ตอ่ ผู้ด้อยโอกาส ในมุมมองของรฐั บาล การเลือกปฏบิ ตั ิในบางกรณี ถือเปน็ การใหย้ ุติธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรม แบบการเรียนการสอนในประเดน็ ท่เี กี่ยวข้องกับสังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทยในปจั จบุ นั มีการเรยี น การสอนให้นักเรยี นได้รูจ้ ักกับความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม เชน่ ประเด็นการมีคนอาศัยอยู่ในประเทศไทย หลากหลายเชอื้ ชาติ นอกจากน้ียังมกี ารเรยี นการสอนใหน้ ักเรยี นไดเ้ รียนรถู้ ึงวัฒนธรรมยอ่ ย คือ วฒั นธรรมของแต่ ละภาคในประเทศไทย พบว่า เน้ือหาในหลกั สูตรการเรียนการสอนในแบบเรียนเม่ือเปรียบเทยี บกับแบบเรยี นปี พ.ศ. 2520 กบั พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2551 มีความแตกต่างกนั ในการยอมรับถงึ ความหลากหลายทางวฒั นธรรม ตัวอยา่ งเชน่ แบบเรียนในปี 2520 เขยี นถึงคนจนี ทม่ี าอาศยั อยใู่ นประเทศไทยว่าเป็นชาวตา่ งชาติ ในขณะท่ี แบบเรยี นในยุคหลงั จาก พ.ศ. 2520 เปลีย่ นวธิ ีการเรียกจากคำวา่ ชาวต่างชาติ (คนจีน) ว่าเปน็ คนไทยเชอื้ สายจีน (ฐิติมดี อาพทั ธนานนท์, 2556: 120) เราสามารถพบวฒั นธรรมทห่ี ลากหลายได้ตามสถานทีต่ ่างๆในประเทศไทย วัฒนธรรมของคนภาคเหนอื มี ความแตกตา่ งจากวัฒนธรรมของคนภาคใต้ ภาคอีสาน และภาคอืน่ ๆ วัฒนธรรมท่ีแตกตา่ งกนั นี้แสดงออกมา ทางการแตง่ กาย อาหาร ภาษา ประเพณี เชน่ เมื่อพูดถึงส้มตำ ไก่ยา่ ง เราจะนึกถงึ อาหารจากภาคอสี าน เมื่อเรานึก ถึงคำพดู ท้ายประโยคทจ่ี บด้วย “เจา้ ” เราจะนกึ ถงึ คนภาคเหนือ เมื่อนึกถงึ ความรีบเร่ง การต่ืนเชา้ เพอื่ ไปทำงาน เรา มกั จะนึกถึงคนที่อาศัยอย่ใู นกรงุ เทพมหานคร เราไดเ้ รยี นรวู้ ฒั นธรรมจากสงั คมรอบตัวของเรา ท้ังน้ี เม่อื มกี ารเคลื่อนยา้ ยของประชากรมากขึ้น หรือเม่อื เราเดนิ ทางไปยงั ทตี่ ่างๆ เราจะประสบพบเจอกบั วฒั นธรรมความเชื่อที่แตกต่างกัน เมื่อเราเอาคำว่าวฒั นธรรมไป เชอื่ มกับคำอื่นๆ เชน่ วฒั นธรรมการทำงาน วฒั นธรรมคน Gen Y เราจะย่งิ พบกบั ความหลากหลายมากข้ึน ใน ประเดน็ ของวฒั นธรรมการทำงาน ประเทศญ่ีปุ่นมวี ัฒนธรรมการทำงานท่หี นกั พนักงานต้องทำงานในจำนวน

84 ชั่วโมงท่ยี าวนานในแต่ละสปั ดาห์ และโดยเฉลย่ี แลว้ คนญ่ีปุน่ ทำงานถงึ 2,000 ชั่วโมงต่อปี จำนวนช่วั โมงการทำงาน ทยี่ าวนานเช่นนี้ แทบจะไม่ได้มกี ารเปลย่ี นแปลงมานานนับทศวรรษ (Ministry of Health, Labour and Welfare 2015 as cited in Ono, 2018: 35) สำหรบั วฒั นธรรมของคน Gen Y คอื วฒั นธรรมการใช้อินเตอร์เนต็ ในการเปน็ ตัวกลางการสือ่ สาร การหาคำตอบ โดยเฉพาะมีการพึง่ พงิ การคน้ หาความรู้จากอนิ เตอร์เนต็ มากกว่าจากความรใู้ น รูปแบบเดิมทีห่ าไดจ้ ากองคก์ ร (McMahan et al., 2009: 61; Li & Bernoff, 2008: 9 as cited in Lichy, 2012: 102) วฒั นธรรมสามารถเกดิ การเปลีย่ นแปลงจากปัจจยั ภายในประเทศและปจั จัยภายนอกประเทศ ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมของคนอเมริกนั ในระยะแรก ไดร้ บั อิทธิพลมาจากคนองั กฤษ นน่ั เป็นเพราะคนองั กฤษไดย้ า้ ยถ่ินทอี่ ยู่ มายงั สหรัฐอเมริกาและนำเอาวฒั นธรรมด้ังเดิมของตนเองเขา้ มาดว้ ย ในกาลต่อมา คนอเมริกันเริม่ มีการสรา้ ง วัฒนธรรมของตนเองข้นึ มา ท้งั อาหาร การแต่งกาย ฯลฯ และวัฒนธรรมแบบอเมริกันได้สง่ ผา่ นไปยังประเทศต่างๆ จะเหน็ ได้ว่า อาหารประเภท Junk Food ของคนอเมรกิ ันได้กลายมาเปน็ สว่ นหนึง่ ของวัฒนธรรมการกนิ ของคนใน หลายชาติ รูปภาพที่ 5: รูปภาพวัฒนธรรมการแต่งกาย ผู้ท่ีปรากฏอยู่ในภาพคอื อดตี ประธานาธิบดสี หรฐั ฯ John F. Kennedy และภริยา Jacqueline Kennedy ผ้เู ขยี นถ่ายภาพนีท้ ่ี John F. Kennedy Presidential Library and Museum, บอสตนั , สหรัฐอเมริกา เม่ือปี ค.ศ. 2017

85 รูปภาพท่ี 6: ภาพของ China Town ในเมอื ง Newcastle, ประเทศองั กฤษ ผเู้ ขียนถา่ ยภาพน้ี เมือ่ ปี ค.ศ. 2015 รูปภาพท่ี 7: วฒั นธรรมอาหารในกรงุ อิสตันบูล, ประเทศตรุ กี ผเู้ ขียนภาพนีถ้ ่ายเม่อื ปี ค.ศ. 2014 นอกจากการรับรู้ถึงวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย เราควรจะเรียนร้ถู ึงการยอมรับในวัฒนธรรมของผอู้ ่นื ในกรณี ทว่ี ัฒนธรรมนน้ั ไม่ขัดต่อหลกั สิทธิมนษุ ยชน ในประเด็นเรอ่ื งการยอมรบั ในวัฒนธรรมและการอยรู่ ว่ มกันระหว่าง วฒั นธรรมจะขอยกตัวอย่าง กรณีของชนเผ่า Korowai (โคโรไว) ในจังหวดั ปาปัว ประเทศอินโดนเี ซยี ชนเผา่ โคโรไว ด้ังเดมิ นิยมสรา้ งบา้ นให้อยสู่ ูงจากผืนดนิ ไม่ใสเ่ สอื้ ผา้ หาอาหารจากภายในป่า โดยอาหารหลกั ทที่ านได้แก่หนอน และต้นสาคู บ้านทอ่ี ยนู่ นั้ กท็ ำเองจากไม้ ชาวโคโรไวมชี ีวิตความเป็นอยทู่ ี่พอเพยี ง อยา่ งไรกต็ าม เมื่อบุคคลภายนอก

86 ไดใ้ หค้ วามสนใจในวถิ ชี ีวติ ของชาวโคโรไวมากขน้ึ มนี ักข่าวจากตา่ งประเทศเขา้ มาทำข่าวเกีย่ วกบั ชาวโคโรไว และถงึ ขั้นจา้ งชาวโคโรไวใหส้ ร้างบ้านให้และแสรง้ ทำเปน็ ว่าชาวโคโรไวอาศยั ในบ้านหลังใหม่ที่สร้างขน้ึ โดยบ้านหลงั ใหม่มี ขนาดสูงเกินปกตทิ ่ชี าวโคโรไวอาศยั อยู่ สาเหตทุ ี่ต้องสร้างบ้านให้สงู ขนาดน้นั เพราะเมอื่ ถ่ายภาพมาจากทางอากาศ ภาพบ้านและชาวโคโรไวจะดูเดน่ ข้นึ มา ผลจากการเข้ามาของนักข่าวต่างชาติ ทำให้ชาวโคโรไวมวี ิถีชีวิตท่เี ปล่ยี นไป ประกอบกบั รัฐบาลอนิ โดนีเซียต้องการให้ชาวโคโรไวเป็นคนศวิ ไิ ลซ์มากขนึ้ จึงสร้างบ้านสังกะสี และบ้านไม้ ให้ชาว โคโรไวอาศยั อยู่ บ้านเหลา่ นี้อยู่บนพื้นดินท่หี า่ งไกลออกมาจากปา่ ข้อดีคือ ชาวโคโรไวมีที่อยู่เป็นหลกั แหล่งมากขึ้น แตข่ อ้ เสยี คอื รัฐบาลอินโดนีเซยี ปลอ่ ยให้ชาวโคโรไวอาศยั อยู่เช่นนัน้ โดยไม่ได้มมี าตรการอ่นื ในการรองรับการ เปล่ียนแปลงวถิ ีชวี ิตของชาวโคโรไว ทำให้ชาวโคโรไวทีอ่ พยพออกมาอยู่บา้ นบนพืน้ ดนิ ประสบกับความยากจน เพราะไม่มอี าชีพรองรบั ไม่มีความสามารถทำอาชีพท่ีตอ้ งใช้ทกั ษะ และชาวโคโรไววยั กลางคนข้ึนไป ไมไ่ ด้รบั การศึกษา ดังนั้น เมอื่ ใดกต็ ามทนี่ กั ข่าวเข้ามาทำข่าวเกยี่ วกับชาวโคโรไว ชาวโคโรไวจะแสรง้ ว่ายงั คงใชช้ ีวติ อยใู่ นป่า นำนกั ขา่ วไปชมวิถีชีวิต และรบั เงินเสมอื นเป็นคา่ ตวั นกั แสดงจากนักข่าว28 ในภาพรวมของวัฒนธรรม เราได้เรยี นร้วู ่าวัฒนธรรมมีความหลากหลาย แม้ภายในประเทศเดยี วกนั กจ็ ะ เห็นความหลากหลายของวัฒนธรรม การเรยี นรู้ที่จะยอมรับในวฒั นธรรมของกนั และกัน ถือเปน็ ส่ิงทจ่ี ะช่วยให้ มนษุ ยด์ ำรงอยรู่ ่วมกนั ได้ การเขา้ ไปแทรกแซงวฒั นธรรมและก่อใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงอยา่ งกะทันหัน ดังตวั อย่าง การเปลี่ยนแปลงวถิ ีชีวติ ของชาวโคโรไวโดยบุคคลภายนอก ผลกั ดันให้ชาวโคโรไวกลายเปน็ คนชายขอบของ อนิ โดนีเซียทก่ี ลายมาเป็นปญั หาใหก้ ับภาครัฐ วฒั นธรรมมีการเปลยี่ นแปลงจากปัจจัยภายในประเทศและภายนอก ประเทศ มที ้งั ลักษณะของการเปล่ียนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไปและแบบการเปลี่ยนแปลงอย่างฉบั พลนั ความหลากหลายทางศาสนา รัฐธรรมนูญของประเทศไทยปี พ.ศ. 2560 มาตรา 31 ระบุว่า “บุคคลย่อมมเี สรภี าพบรบิ ูรณใ์ นการถอื ศาสนาและย่อมมีเสรีภาพในการปฏบิ ตั ิหรอื ประกอบพธิ ีกรรมตามหลกั ศาสนาของตน แต่ตอ้ งไมเ่ ป็นปฏปิ ักษ์ต่อ หน้าทีข่ องปวงชนชาวไทย ไม่เปน็ อนั ตรายต่อความปลอดภัยของรฐั และไม่ขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรอื ศีลธรรม อนั ดีของประชาชน” (รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐, 2561: 9) จากรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ไมป่ รากฏว่ามขี อ้ ความใดทีร่ ะบใุ ห้ศาสนาพทุ ธเปน็ ศาสนาประจำชาติ ถอื เป็นการแสดงออกทาง กฎหมายถงึ การให้ความสำคัญแก่ทุกศาสนาอย่างเท่าเทียมกัน 28 ทมี่ าจากรายการสารคดี My Year with the Tribe สามารถเขา้ ถงึ สารคดไี ดท้ ่ี https://www.bbc.co.uk/programmes/p065jqfz

87 ถึงแมร้ ัฐธรรมนูญจะไม่ได้เน้นไปทีก่ ารใหค้ วามสำคญั ของศาสนาใดเปน็ พิเศษ เว้นเสยี แต่การระบุในมาตรา 7 ว่า “พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ พทุ ธมามกะ และทรงเปน็ อัครศาสนูปถัมภก” (รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐, 2561: 4) ในบทกาลอนื่ ๆของรัฐธรรมนญู ทเี่ กีย่ วข้องกับประชาชนไทยท่ีเหลือ ไม่ได้มีการ กลา่ วถึงการน้อมนำเอาศาสนาพุทธมาเปน็ หลักแก่ชวี ิต แต่ในเชิงปฏบิ ตั ิกลบั ปรากฏวา่ การเรียนการสอนของ โรงเรียนในประเทศไทยภายใตห้ ลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ กลับมกี ารให้นกั เรยี นเรยี นวิชาท่ีเก่ียวกบั พระพุทธศาสนาเป็นหลัก เช่น ในหลกั สตู รประถมศึกษาปีท่ี 2 นกั เรียนจะได้เรยี นรถู้ ึงพทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ได้ เรยี นรูว้ ่าศาสนาพทุ ธถือเปน็ เอกลักษณ์ของชาติ หลักสูตรครอบคลุมไปถึงการศกึ ษาศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง แตม่ ีเพียง ศาสนกิ ชนผู้นบั ถือศาสนาพุทธทนี่ กั เรียนจะได้ศึกษา เชน่ พระสงั ฆราช สมเด็จพระญาณสงั วร ฯลฯ (สำนักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ, ม.ป.ป.: 7-8) ถงึ แม้ จะมีการสอดแทรกเนื้อหาของศาสนาอ่ืนๆ เชน่ ศาสนาครสิ ต์ อสิ ลาม และ ฮินดู แตเ่ ป็นการสอดแทรกเน้ือหาใน จำนวนทน่ี ้อยมากอยา่ งเทยี บกนั ไมต่ ิดเม่ือเปรยี บเทียบกบั ศาสนาพทุ ธ ในประเทศสหรฐั อเมริกา มกี ารระบุไว้ชัดเจนภายใต้ Bill of Rights ในประเดน็ ของสิทธิส่วนบคุ คลในการ นับถือศาสนา ระบบการศึกษาของสหรัฐฯ ไมม่ ีการเรยี นการสอนศาสนาในโรงเรียนรัฐบาล ยกเวน้ แต่กรณีการสอน ในเชิงประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม และข้อเท็จจริง (Franken, 2016) ดงั น้ันผู้ทต่ี อ้ งการเรียนรู้เรื่องศาสนาในเชงิ ลึก กวา่ แง่มมุ ทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม สามารถเข้าเรยี นได้ในโรงเรียนเอกชน หรอื โรงเรยี นสอนศาสนาโดยตรง ในขณะทป่ี ระเทศไทยมีการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ไปที่พระพทุ ธศาสนา ประเทศสหรฐั อเมริกาไม่มีการสอน ศาสนาในโรงเรยี นรฐั บาล รฐั บาลเบลเยียมเลอื กที่จะรับรู้ถึงการมีอยูข่ องศาสนาบางศาสนาและรฐั บาลให้การ อุปถมั ภ์แก่ศาสนา แต่มเี พียง 6 ศาสนาท่รี ฐั บาลสนับสนุนอย่างเป็นทางการ ไดแ้ ก่ คาทอลิก, โปรแตสแตนต์, ยดู าห์, แองกลคิ ัน, อิสลาม, ครสิ ตอ์ อโธดอ็ กซ์, และ สนบั สนนุ ความเชอ่ื ที่ไม่นบั อยใู่ นศาสนา คือ Non Confessional Freethinkers โดยการสนบั สนนุ ของรัฐมาในรปู แบบเงนิ เดอื นและบำนาญ และเม่ือศาสนาและ ความเชื่อ ได้รบั การสนบั สนนุ ทางการเงินจากรฐั อย่างเปน็ ทางการ นักเรยี นโรงเรียนรัฐบาลสามารถเลอื กที่จะเรียนรู้ เรื่องศาสนาด้วยตนเอง เชน่ นาย Andrew เลอื กศึกษาเฉพาะศาสนาอิสลาม ผทู้ ำการสอนศาสนาอสิ ลามให้แกน่ าย Andrew จะไม่ใชค่ รูอาจารย์ของภาครัฐ แต่เปน็ ผสู้ อนศาสนาเป็นผู้รบั ผดิ ชอบทัง้ ในการสอนและการวางแผนการ สอน (Franken, 2016) จะเหน็ ได้ว่าระบบการเรยี นการสอนเรื่องศาสนาของแตล่ ะรัฐ เมอ่ื นำมาเปรียบเทียบดพู บวา่ มีความ หลากหลาย ท้ังนี้ เราจะเหน็ วิธีการคิดของรัฐทแี่ ตกตา่ งกันในการนำพาเอาศาสนาเข้ามาเกีย่ วขอ้ งกับการดำรงชีวิต

88 สหรัฐอเมริกาถือว่ารัฐไม่ไดม้ ีหน้าทใี่ นการยุ่งเกย่ี วกับศาสนา ในสว่ นของประเทศไทย เน้นไปท่กี ารให้นักเรยี นได้ เรียนร้ถู งึ พระพุทธศาสนาเปน็ หลกั และยอมรับการมีตวั ตนของศาสนาอ่นื แต่ไมไ่ ด้มีการเรยี นการสอนในลักษณะท่ี แยกออกเป็นตวั เลือกใหแ้ กน่ ักเรียน กล่าวคอื เยาวชนภายใต้การเรียนตามระบบกระทรวงศึกษาธิการไม่วา่ จะนบั ถือ ศาสนาใด จะต้องเรียนตามหลักสตู รทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนดไว้ นัน่ แปลว่าการเรยี นรู้เก่ียวกบั ศาสนาอ่นื ในเชิง ลกึ จะเกดิ ขนึ้ ภายนอกชั้นเรยี น ในสว่ นของเบลเยียม นกั เรียนสามารถเลือกเรยี นศาสนาได้ แตถ่ ูกกำหนดไว้ที่ 6 ศาสนากบั 1 ความเชอ่ื เทา่ น้นั ผลจากการเรยี นการสอนตามระบบของกระทรวงศึกษาธิการในแต่ละประเทศ สง่ ผลให้บุคคลมกี ารรบั ร้ตู อ่ ศาสนาในลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกัน เราจะเหน็ ได้ว่าหลงั จากเหตุการณ์การก่อการร้าย 9/11 ในประเทศสหรัฐอเมริกา คนอเมริกันมีความหวาดกลวั ต่อคนมุสลิมมากขึน้ และในบางกรณีเกดิ สภาวะการเหมารวม ภายใตเ้ หตุการณ์ความ ไม่สงบท่เี กิดขน้ึ ในประเทศไทย โดยเฉพาะเหตุการณ์ความไม่สงบในสามจงั หวัดชายแดนภาคใต้ ทำให้ประชากรไทย ส่วนหน่ึงเกิดความหวาดกลวั ต่อการอาศยั อยใู่ นสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คำถามคือ เราควรตดั สนิ บคุ คลจาก ข้อเท็จจริง หรือ จากการเหมารวม? และทำไมถึงเป็นเชน่ นั้น? และในทางปฏิบตั ิ หากเราตดั สนิ บุคคลจากศาสนาท่ี เขานบั ถือ เพราะเขามีพฤติกรรมท่ีแตกตา่ งจากเรา เม่ือมองกลับมาทีต่ วั ตนของเรา เราคิดเชน่ ไรท่ีคนอนื่ ก็อาจตัดสนิ เราจากศาสนาท่ีเรานบั ถือ? ประเทศฝรงั่ เศส ถือเปน็ ประเทศทีม่ ปี ระชากรที่นบั ถือศาสนาอสิ ลามมากที่สุดในยุโรป ประมาณ 4-5 ล้าน คน ในปี ค.ศ. 2004 ฝรง่ั เศสออกกฎหมายห้ามเยาวชนที่เข้าเรยี นโรงเรียนรัฐบาลสวม Hijab (ฮญิ าบ) ในโรงเรยี น (Hamdan, 2007) ในเวลาต่อมากฎหมายได้ครอบคลุมถงึ การหา้ มสวมใส่ Burka29 (บูร์กา) ในทีส่ าธารณะตัง้ แต่ปี 2010 เป็นต้นมาและผู้ท่ีไม่ทำตามกฎหมายจะตอ้ งถูกปรบั เป็นจำนวนเงินสงู ถงึ 150 ยโู ร (Leane, 2011: 1033) 29 สามารถสะกดแทนด้วย Burqa

89 รปู ภาพท่ี 8 (ภาพซา้ ย): ภาพหญงิ สวม Hijab30; รปู ภาพท่ี 9 (ภาพขวา): ภาพหญงิ สวม Burka31 ไม่เฉพาะแตใ่ นประเทศฝรั่งเศสเท่านัน้ ท่มี ีการหา้ มสวมใส่เส้ือผา้ ที่ปกปิดร่างกายแบบมิดชิดตามหลัก ศาสนา ประเทศ บลั แกเรยี 32 (2016) เบลเยียม (2011) เยอรมนี33 (2017) แคนาดาเฉพาะ Quebec34 (2017) และ ออสเตรีย (2017) ตา่ งก็ออกกฎหมายในการห้ามสวมใส่ Burka ในพน้ื ท่สี าธารณะเชน่ กัน โดยเหตผุ ลทภี่ าครัฐชแี้ จ้ง วา่ ทำไมถงึ ต้องออกนโยบายห้ามการสวมใส่เสอื้ ผา้ ลักษณะดังกล่าวน้ัน มีความแตกต่างกันออกไป เชน่ เหตผุ ลทาง ความปลอดภยั (บลั แกเรีย) การดำรงอยู่รว่ มกันและการปกป้องสทิ ธิและเสรีภาพ (เบลเยียม) ฯลฯ (Stack, 2017) การออกกฎหมายห้ามการแต่งกายซ่ึงไปกระทบกบั หลักความเชื่อของศาสนา สง่ ผลให้เกิดการถกเถยี งกนั อย่าง กว้างขวาง ทั้งประเดน็ การละเมิดสิทธใิ นด้านการละเมดิ ความเชอ่ื ทางศาสนา ละเมดิ สิทธิเสรภี าพอนั พึงมีของบุคคล ภายใตส้ งั คมประชาธปิ ไตย ในปจั จบุ นั ศาสนาที่มีคนนับถือมากทส่ี ุด คือ ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 31.2 ของประชากรโลก รองลงมาคือ ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 24.1 อันดบั ทีส่ าม ประชากรท่ีไม่เกี่ยวข้องกับศาสนาใด ร้อยละ 16 อันดับที่ 4 ศาสนาฮินดู รอ้ ยละ 15.1 อนั ดบั ท่ี 5 ศาสนาพทุ ธ รอ้ ยละ 6.9 อันดับที่ 6 คือศาสนาพืน้ บ้าน ซง่ึ เป็นศาสนาของท้องถิ่น ร้อยละ 5.7 อันดับที่ 7 ศาสนาอ่นื ๆ ร้อยละ 0.8 และ ศาสนายดู าห์ร้อยละ 0.2 ของประชากรโลก และในปัจจบุ นั ศาสนาที่มี อตั ราการเตบิ โตของการเขา้ มานบั ถอื มากทสี่ ุด คือ ศาสนาอิสลาม (Hackett & McClendon, 2017) 30 ภาพประกอบจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Hijab#/media/File:Female_hijab_in_Islam.jpg 31 ภาพประกอบจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Burqa#/media/File:Burqa_clad_women_bying_at_a_market.jpg 32 หา้ มเฉพาะสถานที่ราชการ โรงเรยี น และองคก์ รทางวัฒนธรรม 33 กรณีของประเทศเยอรมนี ห้ามสวมใส่ ณ ขณะเวลาขับรถเท่านั้น 34 กรณขี องแคนาดา ผฝู้ า่ ฝืนข้อหา้ มจะไมไ่ ด้รบั การบรกิ ารสาธารณะจากภาครฐั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook