Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20101-2009 งานวัดละเอียดช่างยนต์

20101-2009 งานวัดละเอียดช่างยนต์

Published by ADACSOFT CO.,LTD., 2021-03-09 02:27:06

Description: 20101-2009 งานวัดละเอียดช่างยนต์

Search

Read the Text Version

รหสั วิชา 20101-2009งานวดั ละเอยี ดหนงั สือหมวดวชิ าสมรรถนะวชิ าชพี ช่างยนต์ (Auto-mechanic Precision Measurements Job) หนงั สือเลม่ นี้เรยี บเรยี งตามจุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำาอธิบายรายวิชา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 ของสาำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เหมาะแกก่ ารเรยี นรเู้ พอ่ื นาำ ไปประกอบอาชพี รองศาสตราจารยอ์ า� พล ซอ่ื ตรง ค.อ.บ. (เครอื่ งกล), ค.อ.ม., Meister (Kfz.) รองผอู้ ำ� นวยกำรฝำ่ ยวชิ ำกำร ศนู ยส์ ง่ เสรมิ วชิ ำกำร (สำขำชำ่ งอตุ สำหกรรม) 98.00

งานวดั ละเอยี ด ช่ างยนต์ สงวนลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติ หา้ มทา� ซา้� ดดั แปลง ออกจา� หนา่ ย แจกจา่ ย และกระทา� โดยประการอนื่ ในตอนใดตอนหนง่ึ ของหนงั สอื เลม่ นี้ ไมว่ า่ จะเปน็ ข้อความ หรอื สิ่งอน่ื ใด ดว้ ยวธิ กี ารเรยี งพมิ พ์ พมิ พ์ส�าเนา หรอื ดว้ ยวธิ อี น่ื ใดทกุ กรณี หากผใู้ ดละเมดิ ลขิ สทิ ธจิ์ ะถกู ดา� เนนิ คดที างกฎหมายทบ่ี ญั ญตั ไิวข้ น้ั สงู สดุ เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั ความยนิ ยอม เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรจาก สำ� นกั พมิ พศ์ นู ยส์ ง่ เสรมิ วชิ ำกำร ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�านกั หอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data อำ� พล ซื่อตรง. งำนวดั ละเอียดชำ่ งยนต.์ -- กรุงเทพฯ : ศูนยส์ ง่ เสริมวิชำกำร, 2562. 178 หนำ้ . 1. เคร่ืองยนต-์ -กำรวดั . 2.รถยนต์--กำรตรวจสภำพ. I. ชื่อเร่อื ง. 629.282 ISBN 978-616-418-126-7 ปีที่พมิ พ์ : 2562 พิมพ์ครงั้ ท่ี 1 : 3,000 เล่ม รำคำ 98 บำท บรรณาธกิ ารวชิ าการ สาขาช่างอตุ สาหกรรม รองศาสตราจารยอ์ �าพล ซื่อตรง ค.อ.บ. (เครื่องกล), ค.อ.ม., Meister (Kfz.) จารณุ ี กาญจะโนสถ ค.บ., ค.ม. (การบริหารการศกึ ษา) บรรณาธิการบรหิ าร รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ ศกั ดิ์ อมรรตั นศกั ดิ์ กศ.บ., กศ.ม., ค.ด. (วดั ผลการศกึ ษา) Cert. in Informatic for Research กรรมการผู้จัดการ จติ รา มนี มณี พ.ม., กศ.บ.

กำรศึกษำเรียนรู้ประโยชน์ วิธีกำรใช้ และกำรอ่ำนค่ำเครื่องมือวัดละเอียดช่ำงยนต์ มี ควำมส�ำคัญมำก จะเห็นจำกคู่มือซ่อมรถยนต์ทั่วไป ต้องใช้เคร่ืองมือวัดละเอียดเป็นตัวช่วยตัดสินใจ ในกำรตรวจสภำพชิ้นส่วนท่ีหลวมคลอนหรือสึกหรอ กำรเป็นช่ำงยนต์ต้องรู้จักน�ำเครื่องมือวัด ละเอียด มำประยุกต์ใช้ในงำนบริกำรช่ำงยนต์ เพื่อให้สำมำรถตรวจสอบช้ินส่วนต่ำง ๆ หลังจำกได้ ใช้งำนไประยะเวลำหน่ึงช้ินส่วนมีกำรช�ำรุด สึกหรอ หรือคลำดเคล่ือน ควำมโตของขนำดได้ เปล่ียนแปลงไป ควรถอดเปลี่ยนซ่อมชิ้นส่วนนั้น ๆ ให้ดีขึ้น หำกปล่อยทิ้งไว้โดยไม่มีกำรดูแลรักษำ จำกเสียเพียงเล็กน้อย อำจเกิดกำรเสียหำยจนแก้ไขไม่ได้ ท�ำให้สูญเสียเงินและเวลำมำก ในกำร ซ่อมบริกำร โดยควำมประมำท วิชำงานวัดละเอียดช่างยนต์ เป็นงำนทฤษฎี + ปฏิบัติ กำรจัดกำรเรียนกำรสอน ควรจัด เป็นห้องเรียนงำนวัดละเอียดช่ำงยนต์เฉพำะ มีเครื่องมือวัดละเอียดและช้ินส่วนรถยนต์จัดเตรียมไว้ อย่ำงเป็นระบบ อุปกรณ์ประกอบกำรวัดละเอียดบำงอย่ำง หรือเคร่ืองมือบำงอย่ำงสร้ำงข้ึนเองได้ โดยแจกเป็นงำนโครงงำน เช่น แท่นทดสอบลิ้น แท่นทดสอบก้ำนสูบ เพื่อประสิทธิภำพกำรเรียนกำรสอน ควรมีอุปกรณ์กำรตรวจวัด หรือวัสดุฝึกหลำย ๆ ชุด เพ่ือให้ผู้เรียนได้หมุนเวียนปฏิบัติงำนในกลุ่ม กลุ่มละ 2-4 คน ฝึกหลำย ๆ ครั้ง หลำย ๆ แบบ เพื่อให้เกิดทักษะ ตำมคติโบรำณที่ว่ำ 10 ปำกรู้ไม่สู้ตำเห็น 10 ตำเห็นไม่เท่ำมือคล�ำ 10 มือคล�ำไม่ เท่ำช�ำนำญ เพรำะค�ำว่ำท�ำได้นั้นไม่พอ ต้องท�ำให้เกิดทักษะที่แท้จริง กำรเรียบเรียงได้รวบรวมเน้ือหำท่ีส�ำคัญในทำงทฤษฎี และมีใบตรวจวัดเป็นใบงำนให้ใช้ เครื่องมือวัดละเอียดที่จ�ำเป็นในงำนบริกำรรถยนต์ โดยได้แปลและรวบรวมจำกต�ำรำหลำยเล่ม รวมทั้งเอกสำรเผยแพร่ต่ำง ๆ จึงขอขอบคุณท่ำนเจ้ำของต�ำรำ และผู้สนับสนุนจำกส�ำนักพิมพ์ ศูนย์ส่งเสริมวิชำกำรทุกท่ำน หวังว่ำคงเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษำและค้นคว้ำต่อไป (รองศาสตราจารยอ์ �าพล ซ่ือตรง) ในนำมผู้จัดทำ�

รหสั งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 1-3-2 20101-2009 (Auto-mechanic Precision Measurements Job) จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพ่ือให้ 1. เข้ำใจหลักกำรอ่ำน กำรใช้และบ�ำรุงรักษำเคร่ืองมือวัดละเอียด 2. สำมำรถใช้เคร่ืองมือวัดละเอียดตรวจสอบช้ินส่วนในงำนช่ำงยนต์ 3. มีกิจนิสัยที่ดีในกำรท�ำงำน รับผิดชอบ ประณีตรอบคอบ ตรงต่อเวลำ สะอำด ปลอดภัย และรักษำสภำพแวดล้อม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงควำมรู้เก่ียวกับหลักกำรและวิธีกำรใช้เครื่องมือวัดละเอียดในงำนช่ำงยนต์ 2. ปรับต้ัง บ�ำรุงรักษำเครื่องมือวัดละเอียดในงำนช่ำงยนต์ 3. ตรวจวัดช้ินส่วนในงำนช่ำงยนต์ 4. วิเครำะห์สภำพของชิ้นส่วนในงำนช่ำงยนต์ตำมคู่มือ ค�าอธิบายรายวิชา ศึกษำและปฏิบัติเก่ียวกับกำรใช้เครื่องมือวัดละเอียด กำรอ่ำนค่ำ กำรตรวจวัดและ วิเครำะห์สภำพช้ินส่วน กำรบ�ำรุงรักษำเครื่องมือวัดละเอียดในงำนช่ำงยนต์

หนว่ ยท่ี 1 ระบบการวัดและพื้นฐานเคร่ืองมือวัดละเอียด ............................................................................. 1 บทนำ ........................................................................................................................................................... 2 1.1 ระบบการวัดและหน่วยการวัด .................................................................................................... 3 1.2 เครอ่ื งมอื วดั ละเอียดแบบมีสเกล ................................................................................................. 6 1.3 เครอ่ื งมือวดั ละเอียดแบบไมม่ สี เกล ............................................................................................ 9 1.4 ความคลาดเคล่ือนจากการวัดด้วยเคร่อื งมอื วดั ละเอียด ...................................................... 10 แบบฝึกกิจกรรมท ี่ 1 ........................................................................................................................ 11 หน่วยท่ี 2 เวอรเ์ นียรอ์ เนกประสงค์ ................................................................................................................... 13 บทนำ ........................................................................................................................................................ 14 2.1 หน้าท่แี ละส่วนประกอบของเวอร์เนยี ร์ .................................................................................. 15 2.2 หลกั การอา่ นคา่ สเกลเวอรเ์ นียร์ ................................................................................................. 17 2.3 เทคนิคการใชเ้ วอร์เนียร์วดั ชนิ้ งาน ........................................................................................... 19 2.4 ลักษณะและการวัดดว้ ยเวอร์เนียรว์ ัดลึก ................................................................................ 24 2.5 เวอร์เนียรว์ ดั ความหนาและวดั ความลกึ รอ่ งล่ิมเพลา .......................................................... 26 ใบตรวจวัดที่ 2.1-2.3 ............................................................................................................... 27-29 แบบฝึกกิจกรรมท่ี 2 ..................................................................................................................... 30 หนว่ ยที่ 3 เวอร์เนยี ร์แบบนาฬิกาวดั และแบบดจิ ติ อล ................................................................................ 33 บทนำ ........................................................................................................................................................ 34 3.1 เวอรเ์ นียรแ์ บบนาฬิกาวัด ............................................................................................................ 35 3.2 เวอรเ์ นียร์แบบดจิ ิตอล ................................................................................................................. 37 ใบตรวจวัดท่ี 3.1-3.2 .............................................................................................................. 41-42 แบบฝกึ กิจกรรมที่ 3 ..................................................................................................................... 43 หน่วยท่ี 4 ไมโครมิเตอร์ ...................................................................................................................................... 45 บทนำ ........................................................................................................................................................ 46 4.1 ไมโครมิเตอรว์ ดั นอก .................................................................................................................... 47 4.2 ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ใน ....................................................................................................................... 53 4.3 ไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ ...................................................................................................................... 55 4.4 ไมโครมิเตอร์ดจิ ติ อล 2 หน้า ..................................................................................................... 57 ใบตรวจวัดที่ 4.1-4.7 .............................................................................................................. 58-64 แบบฝึกกิจกรรมท ี่ 4 ..................................................................................................................... 65

หน่วยที่ 5 นาฬกิ าวดั ............................................................................................................................................ 67 บทนำ ........................................................................................................................................................ 68 5.1 ส่วนประกอบและการอ่านคา่ นาฬกิ าวัด ................................................................................. 69 5.2 แทน่ ยดึ และความจำเปน็ ต้องใช้แทน่ ยึดนาฬกิ าวดั .............................................................. 71 5.3 การตรวจสอบและกฎการใชน้ าฬิกาวดั .................................................................................. 72 5.4 การตรวจระยะยกลกู เบยี้ วและการบำรงุ รกั ษานาฬิกาวดั .................................................. 73 ใบตรวจวัดท ่ี 5.1-5.7 .............................................................................................................. 74-80 แบบฝึกกิจกรรมที่ 5 ..................................................................................................................... 81 หนว่ ยท ่ี 6 เกจวัดรูขนาดเลก็ ................................................................................................................................ 83 บทนำ ........................................................................................................................................................ 84 6.1 เกจวัดแบบนาฬิกาวัด 2 ขา ........................................................................................................ 85 6.2 เกจวดั รแู บบยดื หด ....................................................................................................................... 86 6.3 เกจวัดรแู บบหวั มน ...................................................................................................................... 87 6.4 เปรียบเทยี บความละเอยี ดเคร่ืองมอื วัดละเอียด .................................................................... 88 ใบตรวจวดั ที่ 6.1-6.3 .............................................................................................................. 90-92 แบบฝกึ กิจกรรมท่ี 6 ..................................................................................................................... 93 หนว่ ยท ี่ 7 เกจวัดกระบอกสูบ ............................................................................................................................. 95 บทนำ ........................................................................................................................................................ 96 7.1 ส่วนประกอบและการเลือกขนาดเกจวัดกระบอกสูบ ....................................................... 97 7.2 การตรวจวดั และการบำรุงรักษาเกจวดั กระบอกสูบ .......................................................... 98 ใบตรวจวัดที่ 7.1-7.2 .......................................................................................................... 99-100 แบบฝกึ กจิ กรรมท่ี 7 ................................................................................................................... 101 หน่วยท ี่ 8 ฟลี เลอรเ์ กจ ........................................................................................................................................ 103 บทนำ ...................................................................................................................................................... 104 8.1 หน้าทีแ่ ละประเภทฟีลเลอร์เกจ .............................................................................................. 105 8.2 การตรวจวัดและการทดสอบความฝดื สมั ผสั ดว้ ยฟลี เลอรเ์ กจ ....................................... 106 8.3 ผลกระทบจากการใช้และการบำรงุ รักษาฟลี เลอร์เกจ ...................................................... 107 ใบตรวจวดั ที่ 8.1-8.5 ......................................................................................................... 108-112 แบบฝกึ กจิ กรรมที่ 8 ................................................................................................................... 113 หนว่ ยท ่ี 9 เกจวัดเกลยี ว ...................................................................................................................................... 115 บทนำ ...................................................................................................................................................... 116 9.1 มาตรฐานเกลยี วเมตริกและเกลยี ววิตเวริ ์ต .......................................................................... 117 9.2 ลำดบั การใช้และการบำรุงรกั ษาเกจวัดเกลียว .................................................................... 118 ใบตรวจวดั ที่ 9.1-9.2 ........................................................................................................ 119-120 แบบฝกึ กจิ กรรมท่ี 9 ................................................................................................................... 121

หน่วยท ่ี 10 เกจสอบรัศม ี ................................................................................................................................... 123 บทนำ ...................................................................................................................................................... 124 10.1 เทคนิคการใช้และวิธตี รวจสอบด้วยเกจสอบรัศมี ........................................................... 125 10.2 การตรวจสอบรศั มเี พลาและกฎการใชเ้ กจสอบรศั มี ...................................................... 126 ใบตรวจวัดที่ 10.1-10.2 .................................................................................................. 127-128 แบบฝึกกิจกรรมท่ ี 10 .............................................................................................................. 129 หนว่ ยท ่ี 11 พลาสตกิ เกจ .................................................................................................................................... 131 บทนำ ...................................................................................................................................................... 132 11.1 ลำดบั การตรวจสอบระยะห่างหลอ่ ลื่นและการบำรุงรักษาพลาสตกิ เกจ .................. 133 11.2 การอา่ นระยะหา่ งหลอ่ ลืน่ ดว้ ยพลาสติกเกจ ..................................................................... 134 ใบตรวจวัดท่ี 11.1-11.2 .................................................................................................. 135-136 แบบฝึกกจิ กรรมท่ี 11 .............................................................................................................. 137 หน่วยท ่ี 12 ประแจทอร์กในงานชา่ งยนต์ ..................................................................................................... 139 บทนำ ...................................................................................................................................................... 140 12.1 ประเภทประแจทอรก์ ชนิดขนั แนวนอน 3 แบบ ............................................................. 141 12.2 กำหนดขนาดประแจทอร์กและความสำคญั การขันแน่นตามพิกัด ............................ 142 12.3 การเลอื กขนาดและการตรวจสอบความเทยี่ งประแจทอรก์ ......................................... 143 12.4 ความแขง็ แรงและคา่ ความแข็งแรงสกรู ............................................................................ 145 12.5 การขนั สกรูแนน่ แบบตายตัวและแบบเกนิ จดุ ยืดตวั ....................................................... 147 ใบตรวจวดั ท่ี 12.1-12.3 .................................................................................................. 150-152 แบบฝกึ กิจกรรมท ่ี 12 .............................................................................................................. 153 หน่วยท ่ี 13 ฉากและแทน่ ตรวจสอบสปรงิ ล้นิ ............................................................................................. 155 บทนำ ...................................................................................................................................................... 156 13.1 คุณลกั ษณะและการหดตวั อย่างรวดเรว็ ของสปรงิ ล้ิน .................................................. 157 13.2 ลักษณะแท่นตรวจสอบและการทดสอบสปรงิ ล้ิน ......................................................... 158 ใบตรวจวดั ท่ี 13.1-13.2 .................................................................................................. 159-160 แบบฝึกกจิ กรรมท ่ี 13 .............................................................................................................. 161 หน่วยท ่ี 14 แทน่ ตรวจสอบศูนยก์ ้านสูบเครือ่ งยนต์ .................................................................................. 163 บทนำ ...................................................................................................................................................... 164 14.1 ผลกระทบจากก้านสูบเสยี ศูนย์ ........................................................................................... 165 14.2 การตรวจสอบและการดัดก้านสูบ ....................................................................................... 166 ใบตรวจวัดที่ 14.1-14.2 .................................................................................................. 167-168 แบบฝึกกิจกรรมท ่ี 14 .............................................................................................................. 169



1 งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 1 ระบบการวดั และ พน้ื ฐานเครอ่ื งมอื วดั ละเอยี ด สาระการเรยี นรู้ 1.1 ระบบการวัดและหน่วยการวดั 1.2 เครอ่ื งมือวัดละเอยี ดแบบมีสเกล 1.3 เครอ่ื งมอื วดั ละเอียดแบบไม่มีสเกล 1.4 ความคลาดเคลื่อนจากการวัดดว้ ยเครอ่ื งมอื วัดละเอยี ด ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั 1. อธบิ ายระบบการวดั และหนว่ ยการวัดได้ 2. แนะนำการใช้เครอ่ื งมือวดั ละเอียดแบบมสี เกลได้ 3. แนะนำการใชเ้ ครือ่ งมือวดั ละเอียดแบบไมม่ สี เกลได้ 4. แนะนำการใชค้ วามคลาดเคลื่อนจากการวดั ด้วยเครือ่ งมอื วัดละเอียดได้ 5. เพื่อให้มกี จิ นสิ ยั ในการทำงานด้วยความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย ประณตี รอบคอบและตระหนกั ถึงความปลอดภัย

2 งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 1 ระบบการวดั และพ้ืนฐาน เครอ่ื งมอื วัดละเอยี ด บทนำ ระบบการวัด หมายถึงระบบการวัดที่ใช้งานกันแพร่หลาย เช่น ระบบอังกฤษ ที่วัดความยาวเป็น นิ้วหรือเป็นฟุต ระบบเมตริก วัดความยาวเป็นเซนติเมตรหรือเป็นเมตร เคร่อื งมือวดั ละเอียด หมายถงึ เคร่ืองมอื สำหรับตรวจสอบขนาด สดั สว่ น รูปร่างหรือความเรียบรอ้ ย ของชิ้นงานในอุตสาหกรรมการผลิตที่ต้องผลิตชิ้นส่วนเป็นจำนวนมาก ๆ จำเป็นต้องมีการตรวจสอบและ ควบคุมขนาดให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือวัดละเอียด เพื่อทำการ คัดแยกชิ้นงานที่ผ่านกระบวนการผลิตมาแล้ว แต่คุณภาพงานไม่ได้มาตรฐานออกจากกลุ่ม เป็นการ ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นหลักประกันว่า ชิ้นส่วนที่ผลิตสำเร็จออกมาสามารถใช้สำหรับเป็น ชิ้นส่วนสับเปลี่ยนทดแทนกันได้ หรือเมื่อเกิดการชำรุด ก็สามารถที่จะสับเปลี่ยนหรือสามารถที่จะสวม ประกอบเปลี่ยนเข้ากันได้อย่างพอดี งานวัดละเอียดมีความสำคัญมากต่องานช่างยนต์ ซึ่งจะเห็นในคู่มือซ่อมรถยนต์ทั่วไป ต้องมีการ ใช้เครื่องมือวัดเป็นตัวช่วยตัดสินใจในการตรวจสภาพชิ้นงานว่าหลวมคลอนหรือสึกหรอ อยู่ในพิกัด หรือ เกนิ พิกดั แล้ว งานช่างยนตเ์ ปน็ งานซอ่ ม จึงตอ้ งใชบ้ รรทดั เหล็กตรวจความโก่งงอของหน้าฝาสูบ หรือหน้าเสื้อสูบ ใช้เวอร์เนียรแ์ ละไมโครมิเตอรว์ ัดขนาดภายนอก ภายใน และวัดลึก ใช้เกจวัดกระบอกสูบ วัดรูกระบอกสูบ ใช้เกจวัดรูขนาดเล็ก วัดรูปลอกก้านลิ้น เป็นต้น ดังน้นั งานวัดละเอยี ดดว้ ยเครื่องมอื วัดตา่ ง ๆ จงึ มีความสำคัญและจำเป็นสำหรับงานอุตสาหกรรมและงาน ซอ่ มรถยนต ์ โดยผเู้ ปน็ ชา่ งจะตอ้ งศกึ ษาการใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ของแต่ละชนิดที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะสามารถวัดหาขนาด ของชิ้นงานได้ถูกต้อง รูปที่ 1.1 เกจวัดรูเป็นเครื่องมือวัดละเอียดอย่างหนึ่ง

งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 3 1.1 ระบบการวัดและหน่วยการวัด 1 1.1.1 ระบบการวัด ความจำเป็นท่ผี ปู้ ฏิบัติงานในเร่ืองการวดั โดยใช้เคร่ืองมอื วัดทีม่ ีอย่ใู นกระบวนการผลิตของอตุ สาห- กรรมต่าง ๆ การวัดและการควบคุมกระบวนการส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับเรื่องขนาด ปริมาณ คณุ สมบตั ิ และคณุ ภาพอน่ื ๆ จำเป็นต้องใช้อปุ กรณ์เครือ่ งมือวัดทม่ี ีความแมน่ ยำ ละเอยี ดและมปี ระสิทธิภาพสงู เพือ่ ให ้ ไดผ้ ลผลิตที่ดตี ามความต้องการ ระบบและหนว่ ยของการวดั ทีใ่ ชก้ นั แพร่หลายมี 3 ระบบ คอื 1. ระบบองั กฤษ (English or Imperial System) ระบบองั กฤษเกดิ ขึน้ ทปี่ ระเทศองั กฤษ โดยทั่วไปเรียกว่าระบบนิ้ว มหี น่วยย่อยเปน็ เศษส่วนของนิ้ว คือ 1/2″, 1/4″, 1/8″, 1/16″, 1/32″, 1/64″ และ 1/128″ ส่วนหนว่ ยวดั ความยาวจะเปน็ นวิ้ ฟตุ หลา ไมล์ ระบบอังกฤษเป็นระบบการวดั แบบเก่าท่ไี มค่ อ่ ยนยิ มนกั แต่ก็ยังมกี ารใชก้ นั อย่บู า้ งในประเทศไทย มีหน่วยวัดเปน็ นิ้ว และอาจจะวดั เปน็ เศษส่วนธรรมดา เช่น 1/2″(4 หุน) 1/4″ (2 หนุ ) 1/8″ (1 หุน) และ 1/16″ (ครงึ่ หนุ ) เป็นตน้ หรืออาจวดั เป็นทศนยิ ม เชน่ 0.1″, 0.01″, 0.001″ เปน็ ต้น 2. ระบบเมตริก (Metric System) ระบบเมตริกเกิดขึ้นที่ประเทศเยอรมนี เป็นระบบที่ทั่วโลกยอมรับและนิยมใช้กันแพร่หลาย สามารถอ่านค่าได้รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ ไม่คลาดเคลื่อน เครื่องมือวัดปัจจุบันจะใช้ระบบเมตริกเกือบ ทั้งสิ้น หน่วยในการวัดเป็นมิลลิเมตร เซนติเมตร เมตร กิโลเมตร 3. ระบบ SI (SI Unit) เน่อื งจากประเทศฝรั่งเศสจัดประชมุ นานาชาติเก่ยี วกับระบบนำ้ หนกั และการวดั เมอ่ื ปี พ.ศ. 2503 ทป่ี ระชมุ ไดส้ รปุ เหน็ ควรนำระบบ SI มาใชแ้ ทนระบบเมตรกิ ทก่ี ำลงั ใชอ้ ย ู่ SI ยอ่ มาจาก System Interna- tional Units หรือ System International of Units หน่วยเป็น MKSA (เมตร กิโลกรัม วินาที และแอมแปร)์ ประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ จะใช้ระบบ SI ตามทีป่ ระชุมนานาชาติได้มมี ติไว้ ซง่ึ มาตรฐานความยาว เป็นเมตร

4 งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 1.1.2 หน่วยการวดั และการแปลงหน่วยการวัด หนว่ ยการวดั ระบบเมตรกิ มหี น่วยเปน็ มิลลิเมตร เซนตเิ มตร เมตร กิโลเมตร ฯลฯ ดงั แสดงในรูป ตารางตอ่ ไปน้ี ตารางท ่ี 1.1 การแบ่งหนว่ ยระบบเมตรกิ m = เมตร dm = เดซเิ มตร cm = เซนติเมตร mm = มิลลเิ มตร m = ไมโครเมตร 1 m 1 10 100 1000 1 000 000 1 dm 0.1 = 1/10 1 10 100 100 000 1 cm 0.01 = 1/100 0.1 = 1/10 1 10 10 000 1 mm 0.001 = 1/1000 0.01 = 1/100 0.1 = 1/10 1 1 000 1 m 0.000 0001 = 1/1 000 000 0.000 01 = 1/100 000 0.0001 = 1/10 000 0.001 = 1/1000 1 1) การวดั ขนาดในอตุ สาหกรรมมคี วามละเอยี ดสงู 0.001 มม. ความละเอียดขนาดนเ้ี รียกวา่ ไมครอน (Micron) 2) 1,000 ม. = 1 กโิ ลเมตร = 0.621 ไมล ์ หรอื 1 ไมล์ = 1.609 กิโลเมตร ตารางที ่ 1.2 การแปลงหนว่ ยมลิ ลิเมตรเป็นน้วิ มม. 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 0- น้วิ 1 0.0394 0.00394 0.00787 0.0118 0.0157 0.0197 0.0236 0.0276 0.0315 0.0354 2 0.0787 0.0433 0.0472 0.0512 0.0551 0.0591 0.0630 0.0669 0.0709 0.0748 3 0.1181 0.0827 0.0866 0.0906 0.0945 0.0984 0.1024 0.1063 0.1102 0.1142 4 0.1575 0.1220 0.1260 0.1299 0.1339 0.1378 0.1417 0.1457 0.1496 0.1535 5 0.1969 0.1614 0.1654 0.1693 0.1732 0.1772 0.1811 0.1850 0.1890 0.1929 6 0.2362 0.2008 0.2047 0.2087 0.2126 0.2165 0.2205 0.2244 0.2283 0.2323 7 0.2756 0.2402 0.2441 0.2480 0.2520 0.2559 0.2598 0.2638 0.2677 0.2717 8 0.3150 0.2795 0.2835 0.2874 0.2913 0.2953 0.2992 0.3031 0.3071 0.3110 9 0.3543 0.3189 0.3228 0.3268 0.3307 0.3346 0.3386 0.3425 0.3465 0.3504 10 0.3937 0.3583 0.3622 0.3661 0.3701 0.3740 0.3780 0.3819 0.3858 0.3898 11 0.4331 0.3976 0.4016 0.4055 0.4094 0.4134 0.4173 0.4213 0.4252 0.4291 12 0.4724 0.4370 0.4409 0.4449 0.4488 0.4528 0.4567 0.4606 0.4646 0.4685 0.4764 0.4803 0.4843 0.4882 0.4921 0.4961 0.5000 0.5039 0.5079 สำหรับค่า 10 เท่า ให้เลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวา 1 ตำแหน่ง ตัวอย่าง 74 มม. เท่ากับกี่นิ้ว จากตาราง 7.4 มม. = 0.2913 นวิ้ ดังนัน้ 74 มม. = 2.913 นว้ิ

งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 5 ตารางท ี่ 1.3 การแปลงหนว่ ยนิ้วเป็น มม. (Inch - Millimeter) 1 น้วิ 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 มม. 0 - 2.540 5.080 7.620 10.16 12.70 15.24 17.78 20.32 22.86 1 25.40 27.94 30.48 33.02 35.56 38.10 40.64 43.18 45.72 48.26 2 50.80 53.34 55.88 58.42 60.96 63.50 66.04 68.58 71.12 73.66 3 76.20 78.74 81.28 83.82 86.36 88.90 91.44 93.98 96.52 99.06 4 101.60 104.14 106.68 109.22 111.76 114.30 116.84 119.38 121.92 124.46 5 127.00 129.54 132.08 134.62 137.16 139.70 142.24 144.78 147.32 149.86 6 152.40 154.94 157.48 160.02 162.56 165.10 167.64 170.18 172.72 175.26 7 177.80 180.34 182.88 185.42 187.96 190.50 193.04 195.58 198.12 200.66 8 203.20 205.74 208.28 210.82 213.36 215.90 218.44 220.98 223.52 226.06 9 228.60 231.14 233.68 236.22 238.76 241.30 243.84 246.38 248.92 251.46 10 254.00 256.54 259.08 261.62 264.16 266.70 269.24 271.78 274.32 276.86 11 279.40 281.94 284.48 287.02 289.56 292.10 294.64 297.18 299.72 302.26 12 304.80 307.34 309.88 312.42 314.96 317.50 320.04 322.58 325.12 327.66 13 330.20 332.74 335.28 337.82 340.36 342.90 345.44 347.98 350.52 353.06 14 355.60 358.14 360.68 363.22 365.76 368.30 370.84 373.38 375.92 378.46 15 381.00 383.54 386.08 388.62 391.16 393.70 396.24 398.78 401.32 403.86 16 406.40 408.94 411.48 414.02 416.56 419.10 421.64 424.18 426.72 429.26 17 431.80 434.34 436.88 439.42 441.96 444.50 447.04 449.58 452.12 454.66 18 457.20 459.74 462.28 464.82 467.36 469.90 472.44 474.98 477.52 480.06 19 482.60 485.14 487.68 490.22 492.76 495.30 497.84 500.38 502.92 505.46 20 508.00 510.54 513.08 515.62 518.16 520.70 523.24 525.78 528.32 530.86 น้ิว 0.00 0.001 0.002 0.003 0.004 0.005 0.006 0.007 0.008 0.009 มม. 0.00 - 0.01 0.254 0.0254 0.0508 0.0762 0.102 0.127 0.152 0.178 0.203 0.229 0.02 0.508 0.279 0.305 0.330 0.356 0.381 0.406 0.432 0.457 0.483 0.03 0.762 0.533 0.559 0.584 0.610 0.635 0.660 0.686 0.711 0.737 0.04 1.016 0.05 1.270 0.787 0.813 0.838 0.864 0.889 0.914 0.940 0.965 0.991 0.06 1.524 1.041 1.067 1.092 1.118 1.143 1.168 1.194 1.219 1.245 0.07 1.778 1.295 1.321 1.346 1.372 1.397 1.422 1.448 1.473 1.499 0.08 2.032 0.09 2.286 1.549 1.575 1.600 1.626 1.651 1.676 1.702 1.727 1.753 1.803 1.829 1.854 1.880 1.905 1.930 1.956 1.981 2.007 2.057 2.083 2.108 2.134 2.159 2.184 2.210 2.235 2.261 2.311 2.337 2.362 2.388 2.413 2.438 2.464 2.489 2.515 ตัวอย่าง การหาค่า 4.312 นวิ้ จากตารางข้างบนเปน็ มม. จะไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี จากตารางบน ค่า 4.3 นิ้ว = 109.22 มม. จากตารางล่าง คา่ 0.012 น้ิว = 0.305 มม. ∴ 4.312 นิ้ว = 109.525 มม.

6 งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 1.2 เครื่องมอื วดั ละเอยี ดแบบมสี เกล เครื่องมือวัดละเอียดแบบมีสเกล เป็นเครื่องมือวัดที่ใช้มาตราส่วนในการเทียบเคียงการวัดขนาด ความกวา้ ง ความยาวและความหนาของงาน เชน่ บรรทดั เหลก็ วงเวยี น เวอรเ์ นยี ร ์ ไมโครมเิ ตอร ์ นาฬกิ าวดั ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี รูปที่ 1.2 บรรทัดเหล็กอย่างหนาระบบเมตรกิ ใชว้ ัดความโกง่ หน้าฝาสูบและหน้าเสอ้ื สบู 1.2.1 บรรทดั เหล็ก (Steel Rule) บรรทัดเหล็กเป็นเครื่องมือวัดงานแบบหยาบ มีหลายขนาด ตั้งแต่ความยาว 25 มม. จนถึงขนาด 1,800 มม. แต่ขนาดที่นยิ มใชง้ านทว่ั ไปได้แก่ขนาด 300 มม. (1 ฟุต) บรรทัดเหลก็ ทำจากเหล็กกล้าไร้สนิม (Stainless Steel) โดยมีขีดวัดอยบู่ นผวิ หน้าของบรรทดั ซ่งึ อาจมีขดี วัดอย่ดู ้านเดียว ดังรูปที่ 1.2 หรือ 2 ด้าน ดังรปู ท ี่ 1.3 บรรทดั เหลก็ ระบบเมตริก ขดี วดั แบ่งออกเปน็ มลิ ลเิ มตร บรรทดั เหล็กระบบองั กฤษ การแบ่งขีดวดั บนบรรทัดเหลก็ อาจแบง่ เปน็ 1/8 ส่วนหรือ 1/16 ส่วนใน 1 นว้ิ ดังนน้ั คา่ ความละเอียดของบรรทัดเหลก็ ใน ระบบอังกฤษคือ 1/8 นวิ้ หรอื 1/16 นว้ิ รูปที่ 1.3 บรรทัดเหล็กมสี เกล ซม. (CM) และน้ิว (INCH) พร้อมแสดงการอา่ นสเกลนิว้

งานวดั ละเอียดช่างยนต์ 7 1.2.2 วงเวยี นวดั นอกและวงเวยี นวดั ใน 1 วงเวียน (Calipers) เป็นเครื่องมือวัดขนาดของชิ้นงานที่ไม่มีขีดสเกลในตัวเอง จำแนกเป็นวงเวียน วัดนอกและวงเวียนวัดใน การวัดขนาดของงานทำได้โดยกางขาวงเวียนออกให้มีระยะใกล้เคียงกับขนาด ของงาน ปรับขาของวงเวียนให้สัมผัสกับผิวขอบข้างของงาน และตั้งฉากกับผิวงานที่จะวัด โดยอาศัย ประสบการณค์ วามร้สู ึกของผวู้ ัด แลว้ นำระยะทวี่ ดั ได้มาเทยี บกับบรรทดั เหล็กหรอื เวอรเ์ นียร์ จดุ หมุน จดุ หมนุ ขาวงเวียนวัดนอก ขาวงเวียนวดั ใน ปากวัดนอก ปากวดั ใน รปู ท่ี 1.4 ส่วนประกอบวงเวียนวัดนอก รูปท่ี 1.5 ส่วนประกอบวงเวยี นวัดใน 1. วงเวยี นวดั นอก (Outside Calipers) วงเวยี นวดั นอกเปน็ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการถา่ ยทอดขนาด การอา่ นคา่ ทว่ี ดั ไดต้ อ้ งนำไปเทยี บกบั เครอ่ื งมอื วดั ชนดิ อน่ื เชน่ บรรทดั เหลก็ หรอื เวอรเ์ นยี ร ์ ปกตใิ ชใ้ นการวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางภายนอก วดั ความหนา และวดั ความกวา้ งของชน้ิ งาน เปน็ ตน้ เล่ือนสมั ผัสลงด้วยนำ้ หนัก ยึดอย่กู ับที่ วงเวยี นเอง รูปที่ 1.6 ตรวจขนาดเพลาด้วยวงเวียนวัดนอก โดยขาขวา ยึดอยกู่ ับที่ เลอ่ื นขาซ้ายข้นึ ลงหาขนาดโตท่สี ดุ รูปท่ี 1.7 เทยี บขนาดวงเวยี นวดั นอกดว้ ยเวอรเ์ นียร์

8 งานวัดละเอยี ดช่างยนต์ 2. วงเวียนวัดใน (Inside Calipers) วงเวยี นวัดในเป็นเคร่ืองมือวดั ละเอียดท่ีใช้ในการถ่ายทอดขนาดเชน่ เดยี วกบั วงเวยี นวัดนอก ปกตใิ ช้ ในการวดั ขนาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลางภายในของรูหรือวดั ระยะห่างของงาน เล่อื นสัมผัส ยดึ รปู ที่ 1.8 ตรวจขนาดรูด้วยวงเวียนวัดใน โดยขาลา่ งยึดอยู่กับท่ี เล่ือนขาบนหาขนาดทแ่ี คบสดุ ถกู เพ่มิ ข นาด ผดิ รปู ที่ 1.9 วัดขนาดรู 4 เหลย่ี ม และเทยี บขนาดดว้ ยเวอรเ์ นยี ร์ 3. การปรบั ขนาดปากวงเวยี น การปรบั ขนาดปากวงเวยี น เปน็ การ ปรับให้ได้ขนาดใกล้เคียงด้วยการเคาะด้านใน หรอื ดา้ นนอกขาวงเวยี นบนขอนไม ้ อยา่ ใช้ ปากวงเวยี นเคาะ ถูก ลดขน าด ผิด รูปท่ี 1.10 ปรับขนาดปากวงเวยี นให้เพิม่ ขึน้ หรอื ลดลงด้วยขอนไม้

งานวัดละเอียดชา่ งยนต์ 9 1.3 เครอ่ื งมอื วดั ละเอยี ดแบบไมม่ ีสเกล 1 เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีสเกล เช่น บรรทัดคมมีด ฉากตาย ฉากเป็น เกจวัดรัศมี เกจวัดเกลียว เกจทรงกระบอก เกจแท่ง เกจก้ามปู เป็นเครื่องมือวัดที่ต้องอาศัยความชำนาญ ความรู้สึกและการตัดสินใจ ของผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนว่า ชิ้นงานที่นำมาวัดหรือตรวจสอบมีความสมบูรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ ซึ่งการใช้เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกลทำการวัดหรือตรวจสอบ อาจจะเกิดผิดพลาดได้ รปู ท่ี 1.11 บรรทัดคมมีดบนเหล็กตัว U 1. บรรทดั คมมดี (Striagh Edge) หรือ เรยี กว่าบรรทดั เสน้ ผม บรรทัดเส้นผมมลี ักษณะเป็นแท่ง 4 เหล่ียมผืนผ้า ขอบสันด้านหนง่ึ ปรบั แตง่ ให้บาง คลา้ ยคมมดี ซง่ึ มคี วามละเอยี ดเทย่ี งตรง บรรทดั คมมีดใชต้ รวจสอบความเรยี บของผวิ งาน โดย วางบนผวิ หนา้ งานท่ีต้องการตรวจสอบ แล้ว สงั เกตจดุ สมั ผสั ระหวา่ งผวิ สมั ผสั บรรทดั คมมดี โดยอาศยั แสงทล่ี อดผา่ นระหวา่ งผวิ สมั ผสั บรรทดั เส้นผม 2. ฉากตาย (Solid Square) ประกอบดว้ ยตวั ฉากและใบฉาก ผา่ น กระบวนการขึ้นรูปและเจียระไนปรับแต่งผิว ใหเ้ รยี บและไดฉ้ าก ฉากตายเปน็ เครอ่ื งมอื สำหรบั ใชต้ รวจสอบการต้งั ฉากของผิวงาน และยงั ใช้ ตรวจสอบความเรียบของผิวงานได้เช่นเดียวกับ บรรทัดคมมดี รูปท่ี 1.12 ฉากตายวัดช้นิ งาน 3. เกจวัดเกลียว (Pitch Gauge) รูปที่ 1.13 เกจวดั เกลยี ว เกจวัดเกลียวใช้สำหรับวัดตรวจสอบ ความถูกต้องของฟนั เกลยี ว วดั ระยะพติ ช์ของ เกลียวหรอื จำนวนเกลียวต่อนวิ้ ใช้เป็นข้อมูล เบอ้ื งตน้ เพือ่ ให้รขู้ นาดของนอตสกร ู หรอื การ ทำเกลยี วดว้ ยมอื เพอ่ื การเลอื กดอกตดั เกลยี วใน (Tap) หรือแป้นตดั เกลียวนอก (Die) ตอ่ ไป

10 งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 1.4 ความคลาดเคลอ่ื นจากการวดั ดว้ ยเครอ่ื งมอื วดั ละเอยี ด ความคลาดเคลื่อนจากการวัดขนาดชิ้นงานเป็นค่าที่วัดได้ที่ผิดไปจากขนาดจริง ทั้งนี้สาเหตุอาจ เนื่องมาจาก 1. ตำแหน่งวางเครื่องมือวัด แนวแกนของเครื่องมือวัดจะต้องทับหรืออยู่ในแกนเดียวกันกับแนวแกนของชิ้นงาน ค่าที่วัดได้ จึงจะถูกต้อง ถ้าวางเครื่องมือวัดเอียงเป็นมุมกับแนวเส้นแกนของชิ้นงานแทนที่จะอยู่ในแนวเดียวกัน ค่าที่ วัดได้จะเป็นค่าที่ไม่ถูกต้อง jk 2. ตำแหน่งการมองสเกล l การดูสเกลเมื่ออ่านค่าวัด จะต้องมองให้ตรงกับสเกล รปู ท่ี 1.14 ตำแหน่งในการมองสเกล ไม่เช่นนั้นจะได้ค่าวัดที่ผิดพลาด ดังรูปที่ 1.14 ถ้าผู้วัดมองใน ทิศทางที่ j (ทางซ้าย) จะเห็นเข็มชี้เลยเลขศูนย์ไปทางขวา ในทำนองเดียวกันถ้ามองตำแหน่งที่ k จะเห็นว่าเข็มจะชี้เลย จากเลขศูนย์ไปทางซ้าย และถ้ามองในตำแหน่งที่ l จะเห็น เข็มชี้ที่เส้นศูนย์พอดี ซึ่งเป็นตำแหน่งมองที่ถูกต้อง 3. แรงกดที่จุดสัมผัสต้องพอเหมาะ เครื่องมือวัดบางชนิดมีปากสัมผัสเลื่อนวัด เช่น เวอร์เนียร์ ไมโครมิเตอร์ ขณะวัดถ้าออกแรงกด มากเกนิ ไป ค่าท่วี ดั ได้อาจคลาดเคลือ่ น เพราะเป็นการวัดแบบกดดัน ดงั นน้ั แรงกดในการวดั จึงตอ้ งควบคุม ด้วยแรงสปริงหรือด้วยน้ำหนักอื่น ๆ เพื่อจะได้มีแรงกดสำหรับวัดที่พอเหมาะ 4. ความหลวมคลอนของเครื่องมือวัด เครื่องมือวัดที่หลวมหรือคลอนจะทำให้การวัดได้ค่าที่ไม่แน่นอน สามารถตรวจสอบความหลวม คลอนได้ โดยเลื่อนให้หน้าสำหรับวัดสัมผัสกัน แล้วตั้งสเกลของเครื่องมือวัดไว้ที่ตำแหน่งศูนย์ จากนั้น ใช้นิ้วเคาะตามตำแหน่งต่าง ๆ ของเครื่องมือวัด แล้วสังเกตดูที่ขีดสเกล ซึ่งจะเป็นตัวชี้บอกว่าเครื่องมือวัด นั้นหลวมคลอนหรือไม่ 5. เนื่องจากบุคคลหรือตัวผู้วัด ค่าที่วัดได้จะเป็นค่าที่ถูกต้อง ตัวผู้วัดจะต้องมีความสามารถในการใช้เครื่องมือวัดเป็นอย่างดี รู้ วิธีการวัด การอ่านค่าวัดที่ถูกต้อง และจะต้องปราศจากบุคคลหรือสภาพสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ รบกวนอีกด้วย

งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 11 แบบฝกึ กจิ กรรมท ่ี 1 เรื่อง ระบบการวดั และพน้ื ฐานเคร่อื งมือ 1 วดั ละเอียด ตอนท ่ี 1 จงเตมิ คำในช่องว่างตอ่ ไปน้ี 1. ระบบอังกฤษ วัดความยาวเป็นอะไร ...................................................................................................................................................................................................... 2. ระบบเมตริก วัดความยาวเปน็ อะไร ...................................................................................................................................................................................................... 3. เพราะเหตุใดงานอุตสาหกรรมต้องใช้เครอื่ งมือวดั ละเอยี ด ...................................................................................................................................................................................................... 4. เพราะเหตใุ ดงานซ่อมรถยนตต์ อ้ งใชเ้ ครื่องมือวัดละเอียด ...................................................................................................................................................................................................... 5. ระบบองั กฤษใชห้ นว่ ยวดั ความยาวเป็น 4 หน่วย คืออะไรบ้าง ...................................................................................................................................................................................................... 6. ระบบเมตริกใชห้ นว่ ยวัดความยาวเปน็ 4 หนว่ ยคืออะไรบ้าง ...................................................................................................................................................................................................... 7. ระบบ SI ใช้หน่วยวดั เปน็ MKSA หมายถงึ อะไร ...................................................................................................................................................................................................... 8. ไมครอน (Micron) ในงานวัดละเอยี ดหมายถึงอะไร ...................................................................................................................................................................................................... 9. จงเขยี นตวั อย่างเครื่องมือวดั ละเอียดแบบมสี เกลมา 3 ชือ่ ...................................................................................................................................................................................................... 10. จงเขียนตวั อยา่ งเครื่องมือวดั ละเอียดแบบไม่มสี เกลมา 3 ชื่อ ...................................................................................................................................................................................................... ตอนท ่ี 2 จงทำเครื่องหมายถูก ( P) ลงหนา้ ข้อความทถ่ี ูกต้องทส่ี ุด 1. ความยาว 1 ซม. เท่ากบั กไี่ มโครเมตร ก. 1,000 ไมโครเมตร ข. 5,000 ไมโครเมตร ค. 10,000 ไมโครเมตร ง. 50,000 ไมโครเมตร

12 งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 2. ความยาว 1 ไมโครเมตรเทา่ กับก่ี มม. 7. ทำไมต้องทำความสะอาดชิน้ งานก่อนวดั ก. 1/100 มม. ข. 1/1,000 มม. ก. เพอ่ื ป้องกันการลื่น ค. 1/10,000 เมตร ง. 1/100,000 มม. ข. เพ่ือป้องกนั เกิดอนั ตราย 3. ความยาว 10 นว้ิ เป็นก่ี มม. ค. เพอ่ื ผลกระทบการอา่ น ก. 254.00 มม. ข. 383.54 มม. ง. เพ่อื ผลกระทบเครอ่ื งมอื วัด ค. 447.04 มม. ง. 497.84 มม. 8. ทำไมห้ามวัดช้นิ งานขณะร้อน 4. ความยาว 0.054 นว้ิ เป็นก่ี มม. ก. อนั ตรายเครอ่ื งมือ ก. 0.838 มม. ข. 1.295 มม. ข. อนั ตรายชิน้ งาน ค. 1.372 มม. ง. 1.686 มม. ค. ผลการวัดจะเล็กกวา่ เป็นจรงิ 5. การอา่ นค่าบรรทดั เหล็กได้ 2 หุนคืออะไร ง. ผลการวัดจะโตกว่าเปน็ จรงิ ก. ขนาด 1/2″ ข. ขนาด 1/4″ 9. ทำไมหา้ มวางเคร่ืองมอื วัดละเอียดปนเคร่ืองมืออน่ื ค. ขนาด 1/8″ ง. ขนาด 1/16″ ก. ต้องระวังความเท่ียงตรง 6. วงเวียนวดั นอกใช้วัดขนาดอะไร ข. ต้องรกั ษาความเทย่ี งตรง ก. เพลากลม ข. เพลาราว ค. เลือกใชย้ าก ค. รูกลม ง. รลู กึ ง. ป้องกนั เสยี หาย 10. เครอ่ื งมือวัดละเอยี ดจะเท่ียงตรงเสมอควรทำอย่างไร ก. ระวงั รกั ษาใหด้ ี ข. ไม่ให้ถูกกระแทก ค. ไม่ใหถ้ กู ความรอ้ น ง. ไมใ่ ห้เป็นสนมิ ตอนท ี่ 3 จงตอบคำถามตอ่ ไปนใี้ หไ้ ด้ใจความสมบูรณ์ 1. จงเขยี นคำอธบิ ายการใช้วงเวียนวัดขนาดช้ินงาน 2. จงเขยี นความคลาดเคล่ือนการวดั ขนาดชนิ้ งานเนอ่ื งจากบคุ คลมา 3 ข้อ 3. จงเขียนกฎการใชเ้ ครอื่ งมือวัดละเอยี ดมา 5 ข้อ 4. จงเขยี นการระวังรักษาเคร่ืองมอื วัดละเอียดมา 5 ขอ้ 5. จงสเกตช์ภาพการเทยี บขนาดวงเวียนวดั ใน วงเวยี นวัดนอก ขนาด 1 ซม. โดยตั้งบรรทดั แนวดิง่ วงเวียนอยู่ด้านขวาของบรรทัดแนวนอนอย่างละภาพ

2 งานวัดละเอยี ดช่างยนต์ 13 เวอรเ์ นยี รอ์ เนกประสงค์ สาระการเรียนรู้ 2.1 หน้าทแ่ี ละส่วนประกอบเวอร์เนยี รอ์ เนกประสงค์ 2.2 หลักการอา่ นคา่ สเกลเวอร์เนยี ร์ 2.3 เทคนิคการใช้เวอร์เนยี รว์ ดั ชิ้นงาน 2.4 ลักษณะและการวัดด้วยเวอรเ์ นยี รว์ ดั ลกึ 2.5 เวอร์เนียรว์ ดั ความหนาและความลกึ รอ่ งลม่ิ เพลา ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั 1. อธิบายหน้าท่แี ละส่วนประกอบเวอรเ์ นยี ร์อเนกประสงค์ได้ 2. อธิบายหลักการอ่านค่าสเกลเวอรเ์ นยี ร์ได้ 3. ตรวจวัดด้วยเวอร์เนยี รว์ ัดชนิ้ งานได้ 4. ตรวจวัดดว้ ยเวอรเ์ นียร์วดั ลกึ ได้ 5. ตรวจวัดดว้ ยเวอร์เนยี รว์ ดั ความหนาและความลกึ รอ่ งลิ่มเพลาได้ 6. เพ่อื ให้มกี ิจนิสยั ในการทำงานด้วยความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย ประณตี รอบคอบและตระหนักถงึ ความปลอดภยั

14 งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 2 เวอรเ์ นยี รอ์ เนกประสงค์ บทนำ เวอรเ์ นยี ร์คาลิเปอร์ (Vernier Caliper) หรอื มกั เรียกเพียงสัน้ ๆ วา่ เวอรเ์ นยี ร ์ จำแนกตามการใชง้ าน ได ้ 3 แบบ ดงั ต่อไปน้ี 1. เวอร์เนยี ร์อเนกประสงค์ (Universal Vernier Calipers) 2. เวอร์เนียร์วดั ความลึก (Depth Vernier Calipers) 3. เวอรเนียร์วัดความหนา (Thick Vernier Calipers) เวอร์เนยี ร์อเนกประสงค์ หรอื เรียกสั้น ๆ ว่าเวอร์เนียร์ เวอรเ์ นยี รว์ ัดลกึ เวอร์เนยี รว์ ัดความหนา สเกลหลัก สเกลเลอ่ื น สเกลหลัก สเกลเลื่อน สะพานวดั สะพานวัด รปู ท่ี 2.1 เวอรเ์ นยี ร์อเนกประสงค์ เวอร์เนียร์วัดลกึ และเวอรเ์ นยี ร์วดั ความหนา

งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 15 2.1 หนา้ ทแ่ี ละสว่ นประกอบเวอรเ์ นยี รอ์ เนกประสงค์ 2 1. ประโยชน์เวอร์เนยี ร ์ เวอรเ์ นียรส์ ามารถวดั งานได้ 3 ลักษณะ คอื 1) วัดความโตของงานด้านนอก (Outside Caliper) 2) วัดความโตของงานดา้ นใน (Inside Caliper) 3) วดั ความลกึ ของรงู านหรอื บ่างาน (Depth Caliper) ช้นิ งาน ชนิ้ งาน ปากไขวว้ ัดใน ตวั เลอื่ น สเกลน้วิ ปากไขวเ้ ลอ่ื น สเกลหลัก สเกล มม. สเกลเลอื่ น ตวั ล็อก ปากวดั นอก แกนวัดลกึ (อยู่กับท่)ี ปากวัดนอก (ปากเลอ่ื น) ชิน้ งาน รปู ที่ 2.2 เวอร์เนยี รอ์ เนกประสงค์สำหรบั วดั ขนาดภายใน วัดขนาดภายนอกและวัดลึก 2. ส่วนประกอบเวอรเ์ นียร์ (Part of the Vernier Caliper) 1) ปากวัดนอก (External Jaws) ใช้วัดขนาดของชิ้นงานด้านนอก เช่น ความโตของเพลา 2) ปากวัดใน (Internal Jaws) เป็นส่วนที่สัมผัสภายในของชิ้นงาน ใช้ในการวัดขนาดความโตของรู ภายในช้นิ งาน 3) แกนวัดลึก (Depthgage) เป็นส่วนที่ติดอยู่กับด้านหลังของตัวเลื่อน มีหน้าที่วัดความลึกของชิน้ งาน 4) สเกลหลัก (Main Scale) เป็นขีดสเกลที่อยู่บนตัวเวอร์เนียร์ มีทั้ง 2 ระบบ คือระบบเมตริก และ ระบบอังกฤษ 5) สเกลเลอ่ื น (Vernier Scale) เป็นสเกลท่ชี ว่ ยในการอ่านคา่ ให้ละเอียดยง่ิ ขึน้ 6) ตวั ลอ็ กสกรูล็อกตำแหน่ง (Lock Screw) ใชล้ อ็ กปากวัดในตำแหนง่ ทต่ี ้องการ

16 งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ แบบตวั อยา่ ง 3. เวอรเ์ นียร์วัดนอก 4 รูปแบบ ปากบนวดั นอก ชื่อ/วธิ ใี ช้ ปากเล่ือน ชน้ิ งาน เวอรเ์ นียรท์ ี่มปี าก ปากกลางวัดนอก วัดนอกและวดั ใน ปากล่างวดั ใน ปากบนวัดนอก เวอรเ์ นียร์ทมี่ ีปาก ปากวดั ใน ปากเลือ่ น ก้านวัดลกึ วดั นอก วดั ในและ ชนิ้ งาน กา้ นวัดลกึ วดั ลกึ ปากไขว้วดั ใน เวอรเ์ นียร์ทม่ี ปี าก วดั นอก วดั ในและ ปากเลอื่ น วัดลกึ คมปากวดั นอก สกรลู ็อก เวอรเ์ นยี ร์ทีม่ ีปาก สกรปู รับวดั ละเอียด วัดนอก วัดในและ ปากเลือ่ น สกรูปรบั วดั ละเอียด ชิน้ งาน 1) สเกลศนู ยต์ อ้ งตรงกันพอดเี มอ่ื ขาเวอรเ์ นยี รท์ ง้ั สองแนบตดิ กนั โดยไม่มแี สงลอดไดข้ ณะขันสกรูล็อก 2) ความห่างระหว่างปากที่ต้ังวัดไว้จะต้องไมข่ ยับเคลอื่ นออกได้

งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 17 2.2 หลักการอ่านค่าสเกลเวอรเ์ นยี ร์ 2.2.1 การอ่านค่าเวอร์เนียร์วดั ละเอียดได ้ 1 ใน 10 มม. (0.10 มม.) 2 1. เวอร์เนยี รแ์ บ่งสเกลวัดละเอยี ด 3 แบบ สเกลเล่ือนม ี 10 ขีด (มม.) 1) วัดละเอียดได้ 1 ใน 10 หรือ 0.10 มม. ท่ีสเกลเล่ือนมี 10 ขดี ดังรปู ท่ี 2.3-2.6 รปู ที่ 2.3 เวอร์เนยี รว์ ัดละเอียด 1 ใน 10 มม. สเกลหลักแบง่ เป็นขีดเล็ก 10 ขดี ขดี ละ 1 มม. 2) วัดละเอียดได้ 1 ใน 20 หรือ 0.05 มม. สเกลเลื่อนมีขีด 10 ขีด เป็นแบบใช้ แพร่หลาย หน่วยการเรียนนี้จึงเน้น เฉพาะแบบนี้ 3) วัดละเอียดได้ 1 ใน 50 หรือ 0.02 มม. ใชส้ ำหรบั งานผลิต จะไม่มรี ายละเอยี ด 2. การอา่ นคา่ เวอรเ์ นยี รว์ ดั ละเอยี ดได้ 1 ใน 10 มม. 1) สเกลหลกั (Main Scale) สเกลหลักแบง่ เปน็ ขีดเลก็ 1 มม. ดงั น้นั 10 ขดี = 1 ซม. รปู ท่ี 2.4 แตกตา่ ง (มม.) 2) สเกลเล่ือน (Vernier Scale) สเกลเลอื่ นเมื่อเลื่อนให้เลข 0 ตรงกัน สเกลเลื่อนยาว 9 มม. แบ่งเป็น 10 ขีด รปู ที่ 2.4 สเกลหลกั และสเกลเลอื่ น (ภาพขยาย) 1 ขดี วัดไดเ้ ป็นค่า 9/10 = 0.90 จึงอา่ นค่าได้ ละเอียดเทา่ กบั 1.00-0.90 = 0.10 มม. สเกลหลกั 3) หมายเลข 1 ทั้งสองสเกลตรงกนั 0.1 มม. สเกลเลือ่ น เมอ่ื เลอ่ื นสเกลเลอ่ื นไปทางขวาจนกระทง่ั ขีดที่ 1 ตรงกบั ขดี ที่ 1 บนสเกลหลัก ดงั รปู ที่ 2.5 จะทำให้เกิดช่องว่างขนาด 0.1 มม. ทางดา้ นซา้ ยมอื ผลการอา่ น = 0.1 มม. รปู ท่ี 2.5 หมายเลข 1 ทัง้ สองสเกลตรงกัน (ภาพขยาย) 4) หมายเลข 5 ท้งั สองสเกลตรงกัน สเกลหลัก เมอ่ื สเกลเลอ่ื นเคลอ่ื นตอ่ ไปทางดา้ นขวา 0.5 มม. สเกลเลื่อน จนกระทัง่ หมายเลข 5 ตรงกบั หมายเลข 5 รปู ที่ 2.6 หมายเลข 5 ท้ังสองสเกลตรงกนั (ภาพขยาย) บนสเกลหลัก ผลของชอ่ งว่างทางด้านซา้ ย จะเท่ากับ 0.5 มม. ผลการอา่ น = 0.5 มม.

18 งานวดั ละเอียดช่างยนต์ รปู ที่ 2.7 เวอรเ์ นียรว์ ัดละเอียด 1 ใน 20 มม. 2.2.2 หลักการอา่ นค่าเวอรเ์ นยี รว์ ัดละเอียด 1 ใน 20 มม. และ 1 ใน 50 มม. 1 มม. สเกลหลกั 1. เวอรเ์ นยี ร์วดั ละเอียด 1 ใน 20 มม. สเกลเล่ือน 0.05 มม. 1) สเกลหลัก แบ่งเป็นขีดเลก็ 1 มม. ขีดใหญเ่ ทา่ กบั 1 ซม. รูปที่ 2.8 การอา่ นคา่ บนสเกลหลกั 2) สเกลเลือ่ น สเกลหลัก สเกลเลื่อนยาว 19 มม. แบ่งเป็น 20 ขีด 1 ขีด สเกลเลอื่ น วดั ไดค้ า่ เปน็ 19/20 = 0.95 มม. จงึ อา่ นคา่ ไดล้ ะเอยี ด รปู ที่ 2.9 การอา่ นค่าบนสเกลเลอ่ื น เท่ากับ 1.00-0.95 = 0.05 มม. 3) การอา่ นค่าบนสเกลหลัก สเกล มม. ดูขดี เลขบนสเกลหลกั อา่ นค่าออกมาเปน็ หนว่ ย รูปท่ี 2.10 สเกลเวอรเ์ นียร์วัดละเอยี ด 1 ใน 50 มม. เอาไวเ้ ปน็ คา่ หนา้ จดุ ทศนยิ ม จากรปู ท่ี 2.9 คา่ บน สเกลหลัก = 26.00 มม. (ตามลูกศรหมายเลข j) 4) การอ่านค่าบนสเกลเล่อื น ดขู ดี บนสเกลเลอ่ื นตรงกบั ขดี บนสเกลหลกั อา่ น ค่าบนสเกลเลื่อนออกมาเป็นหนว่ ย มม. เอาไวเ้ ปน็ หลังจดุ ทศนิยม จากรูปที่ 2.9 คา่ บนสเกลเลื่อน = 0.4 มม. (ตามลกู ศรหมายเลข k) ค่าของเวอร์เนียร์ = ค่าบนสเกลหลัก + ค่าบนสเกลเลื่อน = 26.00 + 0.4 = 26.4 มม. ในกรณขี ดี ท่ี 4 บนสเกลเลอ่ื นไมต่ รงพอดกี บั ขดี บนสเกลหลัก แต่ขีดถัดไปตรง จะอ่านค่าบนสเกล เลื่อนได้ = 0.45 มม. เพราะฉะนั้น ค่าของเวอร์เนียร์ = 26.00 + 0.45 = 26.45 มม. ขอ้ ควรจำ เวอรเ์ นยี รอ์ า่ นคา่ ไดล้ ะเอยี ดเพยี ง 2 ตำแหนง่ หลงั จดุ ทศนิยม 2. เวอรเ์ นยี รว์ ดั ละเอยี ด 1 ใน 50 มม. 1) สเกลหลกั แบง่ เปน็ ขดี 1 มม. ดงั 2 แบบทกี่ ล่าวแล้ว 2) สเกลเลอ่ื น ยาว 49 มม. แบ่งเป็น 50 ขีด 1 ขีด วัดได้ค่าเป็น 49/50 = 0.98 มม. จึงอ่านค่าได้ละเอียดเท่ากับ 1.00-0.98 = 0.02 มม.

งานวัดละเอยี ดช่างยนต์ 19 2.3 เทคนิคการใชเ้ วอรเ์ นยี รว์ ดั ชิน้ งาน 2.3.1 ลำดบั การวัดขนาดช้ินงาน 2 1. การเตรยี มการวดั ดว้ ยเวอร์เนียร์ 1) ก่อนตรวจวัดชิ้นงาน ให้ทำความสะอาดทั้ง ชนิ้ งานและเวอรเ์ นียร์ดว้ ยผ้าสะอาด 2) กอ่ นใชง้ านตรวจว่าสเกลเวอรเ์ นียร์เคล่อื นตัว ไดอ้ สิ ระ และขดี 0 ของสเกลเวอรเ์ นยี รต์ รงกนั 3) ตรวจสภาพปากเวอรเ์ นยี รส์ มั ผสั กนั แนบสนทิ แสงลอดไมไ่ ด้ รูปท่ี 2.11 ขีด 0 ของสเกลเวอรเ์ นยี รต์ รงกนั 2. การวดั ขนาด เมอ่ื ตอ้ งการวดั ขนาดชน้ิ งานดว้ ยเวอรเ์ นยี รใ์ ห้ เล่ือนปากเวอร์เนียร์เข้าสัมผัสกับชิ้นงานด้วยความดัน ที่กดลงบนชิ้นงาน ต้องไม่สูง เพียงใช้แรงหัวแม่มือ จากน้นั ลอ็ กกนั เลอื่ นให้อยู่คงท ี่ แล้วอ่านค่าบนสเกล การดนั ตวั เลอ่ื นใหเ้ คลอ่ื นโดยจบั ตวั เวอรเ์ นยี ร์ ดว้ ยมอื ขวา แลว้ ใชห้ วั แมม่ อื ดนั ตวั เลอ่ื นใหเ้ คลอ่ื นทไ่ี ป ยงั ตำแหน่งทต่ี ้องการสัมผัสช้นิ งาน รปู ท่ี 2.12 จบั ชิน้ งานไวร้ ะหวา่ งเวอร์เนียร์ 3. การลอ็ กตัวเล่อื น รูปท่ี 2.13 ดนั ตวั เล่ือนเขา้ สัมผสั ชน้ิ งาน ล็อกตัวเลื่อนในตำแหน่งที่ต้องการ ด้วย หัวแม่มือและนิ้วชี้มือขวา โดยถือตัวเวอร์เนียร์ด้วยนิ้ว อื่นท่เี หลอื ของมือขวาและจับปากของคานด้วยมอื ซ้าย 4. ความดนั ในการวัดชิ้นงาน แรงกระทำกับตัวเลื่อนเพ่ือให้ปากเวอร์เนียร์ สมั ผสั กับชิน้ งานท่ีเหมาะสมคือ ปากเวอร์เนยี ร์จะตอ้ ง สมั ผัสกับชน้ิ งาน โดยให้ชนิ้ งานเคลอ่ื นท่ขี นานปาก เวอร์เนียรไ์ ด ้ ในกรณีทวี่ ดั ด้านนอก และพอหมุนไปมา ไดใ้ นกรณีทว่ี ดั ดา้ นใน

20 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 2.3.2 เทคนิคการวดั ดว้ ยเวอรเ์ นยี ร์ เล่ือน ไมถ่ กู เพอ่ื ลดความผดิ พลาดในการอ่านสเกล เวอร์เนยี ร ์ ตอ้ งอา่ นในแนวต้ังฉากกบั สเกล ณ จดุ ซึ่งขีดสเกลตรงกัน

งานวัดละเอียดชา่ งยนต์ 21 2 2.3.3 เทคนิคการใชเ้ วอรเ์ นยี ร์ วัดร่องลึกและบา่ ลึก 1. ใช้แต่คมปากวัดนอกวัดรอ่ งแคบและลกึ 2. อยา่ ใหป้ ากวดั เลอ่ื นสมั ผสั ผวิ งานไปมาขณะ วัดและอ่านค่า ต้องอยู่นิ่ง ๆ เพื่อป้องกัน ปากวดั สกึ หรอ 3. ใหใ้ ชค้ มของปากสว่ นปลายของปากวดั นอก วดั เฉพาะผวิ งานทเ่ี ปน็ ผวิ โคง้ กลมของรหู รอื รอ่ งกับผวิ งานท่อี ยใู่ นร่องแคบเทา่ น้นั 4. อยา่ ดงึ เวอรเ์ นยี รอ์ อกมาอา่ นคา่ นอกชน้ิ งาน จะทำให้ปากวัดชำรุด เว้นแต่การวัดลึก เท่านัน้ 1. ถกู ตอ้ ง แกนวดั ลึกหลบบ่าเพลา 2. ผิด แกนวดั ลึกชนขอบบา่ เพลา 3. ผิด แกนวดั ลึกอยู่ห่างบ่าเพลา 4. ผิด แกนวดั ลึกเอียง



2.3.5 เทคนิคการใช้เวอร์เนยี ร์วดั นอกวดั ภายนอกชิน้ งาน งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 23 2 เม่อื เร่มิ ต้นวัด ขณะทำการวดั วิธวี ดั ขนาดร่องกลม ส่วนทวี่ ัดผิด ถูก ผดิ ผดิ ปากวดั ปากวดั ใช้ปากวัดตื้นเกนิ ไป ผลการวดั ผิดพลาด การวัดร่องแคบ ๆ เช่น ขนาดวดั ผ่านศูนย์กลางประมาณ 80 มม. ควรวัดด้วยเวอรเ์ นียรท์ ่มี ปี ากเป็น คมมดี รอ่ งแคบ การวัดช้ินงานใดท่ียดึ ไว้แนน่ แลว้ ควรจบั เวอร์เนยี ร ์ วัดด้วยมือทงั้ สองขา้ ง

24 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 2.4 ลกั ษณะและการวดั ดว้ ยเวอรเ์ นยี รว์ ดั ลกึ 2.4.1 ลกั ษณะและลำดับการวดั ดว้ ยเวอรเ์ นียร์วัดลึก 1. ลกั ษณะเวอรเ์ นียรว์ ดั ลกึ แกนวัดลกึ มสี เกลหลกั เวอร์เนียร์วัดลึกมีรูปร่างแตกต่างจาก เวอรเ์ นียร์วัดนอกท่ีกล่าวมาแล้ว มสี ว่ นประกอบ หลักคือ แกนวดั ลกึ และสะพานเลือ่ นมสี เกลหลกั และสเกลเลอ่ื นเหมอื นกบั เวอรเ์ นยี รท์ ก่ี ลา่ วมาแลว้ สเกลเลือ่ น 2. ลำดบั การวดั ดว้ ยเวอร์เนียรว์ ดั ลึก สกรลู อ็ ก 1) ทาบสะพานเลื่อนเวอร์เนียร์วัดลึก บน ขอบชน้ิ งาน สะพานเลอ่ื น 2) ออกแรงกดให้ผิวหน้าของสะพานเลื่อน ยันแนบสนทิ กบั ผวิ งาน ปลายแกนวัดลึก ผวิ แนบงาน 3) ดนั บรรทดั กา้ นวดั ลกึ จนปลายกา้ นวดั ลกึ สัมผัสกับผิวหรือความลึกของงานด้วย รูปท่ี 2.14 ส่วนประกอบเวอร์เนียรว์ ัดลกึ แรงดันที่พอเหมาะ ข้อควรจำ แรงดนั ทพ่ี อเหมาะ คอื ขนาดแรงกดใหเ้ ปน็ จดุ ดว้ ยดนิ สอดำบนแผน่ กระดาษ 1. วดั ความลึกร่องลึก X 2. วัดความลกึ ร ู X 3. วดั ความลึกบ่าเพลา X รปู ที่ 2.15 ลกั ษณะงานทวี่ ดั ด้วยเวอรเ์ นยี รว์ ัดลึก 1. เลอ่ื นแกนวดั A ใหส้ น้ั กวา่ ความลกึ B 2. วางสะพานเวอรเ์ นยี ร ์ สมั ผสั แนบผวิ ชน้ิ งาน 3. เลอ่ื นแกนวดั ลงตำ่ สดุ แลว้ ขนั สกรลู อ็ กแนน่ รูปที่ 2.16 ลำดบั การวดั ลกึ ดว้ ยเวอร์เนยี ร์วดั ลกึ

งานวัดละเอียดชา่ งยนต์ 25 2 2.4.2 กฎการวดั ดว้ ยเวอรเ์ นียรว์ ัดลกึ เพอ่ื ลดความผดิ พลาดตา่ ง ๆ ทอี่ าจจะ เกิดขึ้นจากการใช้เวอร์เนียร์วัดลึก การวัดจะ ต้องระมัดระวัง สามารถพิจารณาได้ดังนี้ รอยเยิน 1. ลักษณะงานท่ไี มไ่ ด้ลบรอยเยนิ ต่าง ๆ ให้ รปู ท่ี 2.17 งานทีไ่ ม่ไดล้ บรอยเยนิ เรียบรอ้ ย กอ่ นวดั จะตอ้ งลบรอยเยนิ ตา่ ง ๆ ดว้ ย ตะไบหรอื กระดาษทราย มฉิ ะน้นั แลว้ รอยเยนิ จะหนุนผิวแนบงาน ทำใหค้ ่าวัดทีอ่ า่ นไดม้ าก กวา่ ความลกึ จริง รูปท่ี 2.18 ออกแรงกดมากเกนิ ไป 2. ออกแรงกดทีม่ ากเกินไป ตอ้ งอาศยั ความรสู้ กึ สัมผสั ว่า เมอ่ื ใด ปลายวดั งานสมั ผัสกบั ผวิ งานแลว้ และแรงกด ระหว่างปลายวัดงานกับผิวงานจะตอ้ งพอดี ซึ่ง ถ้ามากเกินไปจะทำให้ผิวแนบงานของสะพาน ลอยตวั สูงขึ้น วิธฝี ึกใหเ้ กดิ แรงกดท่ีพอเหมาะ ใชฝ้ กึ วดั กับงานที่ทราบคา่ ความลึก จนวัดได้ค่า ความลึกท่ถี ูกต้อง 3. ผวิ สะพานไม่แนบกบั ผิวงาน ต้องออกแรงกดสะพานให้แนบสนิท กับผิวงานจริง ๆ จากรูปที่ 2.19 ผิวสะพาน ซา้ ยมอื ไม่แนบสนิทกบั ผิวงาน ทำใหค้ ่าวดั ท่ไี ด้ ผดิ ไป รูปท่ี 2.19 ผวิ สะพานไม่แนบกับผิวงาน

26 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 2.5 เวอรเ์ นยี รว์ ดั ความหนาและวดั ความลกึ รอ่ งลม่ิ เพลา แกนเวอรเ์ นยี ร์ สะพานเลอ่ื น 1. ลกั ษณะงานทว่ี ดั ดว้ ยเวอรเ์ นยี รว์ ดั ความหนา ตะขอวัดความหนา ลักษณะของช้ินงานทว่ี ดั ด้วยเวอรเ์ นียรว์ ัด ความหนา มีลักษณะเป็นขั้นหรือบ่า เช่น ลักษณะ ของงานกลึงลดบ่าและบ่าลึก 2. ลำดบั การวัดด้วยเวอร์เนียรว์ ดั ความหนา 1) ใหเ้ ลอ่ื นตะขอวดั ความหนาลงใตบ้ า่ ชน้ิ งาน ที่ต้องการวัดความหนา ในแนวขนานกับ เส้นศูนย์กลางชิ้นงาน 2) ทาบสะพานเลื่อนแนบสนิทกับผิวงาน 3) ดึงแกนเวอร์เนียร์ขึ้น โดยให้ตะขอวัด ความหนาสมั ผสั กับใตบ้ ่าช้นิ งาน ด้วยแรง ดึงเบา ๆ 4) อ่านสเกลเวอร์เนียร์วัดความหนา รูปท่ี 2.20 เวอรเ์ นียร์วดั ความหนา ตัวเลอื่ น รปู ที่ 2.21 เวอรเ์ นียร์วัดความลึกร่องล่ิมเพลา 3. วิธีใช้เวอร์เนียร์วัดความลึก 1) ตั้งขีดศูนย์บนตัวเลื่อน โดยตั้งจากเพลาด้านตรงข้ามร่องลิ่มเสียก่อน 2) วางเวอร์เนียร์วัดลึกให้ตั้งฉากกับร่องลิ่ม แล้วจึงหย่อนก้านวัดลึกลงวัด 3) อ่านสเกลเวอร์เนียร์

งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ 27 ใบตรวจวัดท่ี จงตรวจวดั ขนาดชิน้ งานตัวอย่างตามแบบทก่ี ำหนดให้ด้วย 2 เวอร์เนยี รอ์ เนกประสงค ์ แลว้ กรอกผลในตาราง 2.1 ลำดบั ผลการวัด (มม.) ลำดบั ผลการวดั (มม.) AF BG CH DJ EK การประเมินผล ชอ่ื ................................................................ วันที่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมนิ ....................................................

28 งานวัดละเอียดช่างยนต์ ใบตรวจวัดท่ี จงเขียนแบบชิน้ งานตามแบบท่ีกำหนดให ้ แล้วกำหนดขนาดตาม การวัดดว้ ยเวอร์เนยี รอ์ เนกประสงค์ มาตราสว่ น 1:1 ใต้แบบท่ี 2.2 กำหนดให้ หรอื ทำตารางตรวจวดั เหมอื นใบตรวจวดั ที่ 2.1 การประเมนิ ผล ชื่อ ................................................................ วนั ท ่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผู้ประเมิน ....................................................

งานวดั ละเอียดช่างยนต์ 29 ใบตรวจวดั ท่ี 1. จงอ่านรหสั ขนาดจานเบรกทีต่ อกไวภ้ ายในจานเบรก 2 2. จงตรวจสภาพรอยสัมผสั ผ้าเบรกท่ีจานเบรกแลว้ กรอกผลในชอ่ งว่าง 2.3 3. จงตรวจวัดขนาดจานเบรกดว้ ยเวอร์เนยี รแ์ ล้วกรอกผลในตาราง เส้นผ่านศูนยก์ ลาง สูงสดุ j k 1. รหัสจานเบรก MAX. DIA. 201 MM = ............................................................................................................ = ............................................................................................................ = ............................................................................................................ = ............................................................................................................ 2. สภาพรอยสัมผสั ผา้ เบรกทจ่ี านเบรก ............................................................................................................ 3. ตรวจวัดจานเบรกดว้ ยเวอรเ์ นียร์ แนว j = ...................................... มม. แนว k = ...................................... มม. ข้อควรจำ เส้นผ่านศนู ยก์ ลางจานเบรกสึกไดไ้ ม่เกนิ ............................................ มม. การประเมนิ ผล ชอื่ ................................................................ วันที่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผ้ปู ระเมิน ....................................................

30 งานวดั ละเอียดช่างยนต์ เรือ่ ง เวอร์เนยี ร์อเนกประสงค์ แบบฝกึ กจิ กรรมท ่ี 2 ตอนท ่ี 1 จงเตมิ คำในช่องว่างตอ่ ไปน้ี 1. จงเขียนชื่อส่วนประกอบเวอรเ์ นียรต์ ามเส้นกำหนดตอ่ ไปน้ี 2. สเกลหลักเขยี นคำองั กฤษอยา่ งไร แต่ละขีดมคี ่าเทา่ ไร ................................................................................................................................................................................................. 3. สเกลเลือ่ นเขียนคำอังกฤษอย่างไร แบบวดั ละเอียดได้ 1 ใน 20 แบง่ เป็นก่ขี ีด ................................................................................................................................................................................................. 4. ต้องใช้แรงกระทำกับตวั เลื่อนเพยี งใดเพ่ือให้ปากเวอรเ์ นยี รส์ ัมผัสกบั ช้นิ งาน ................................................................................................................................................................................................ 5. กอ่ นตรวจวัดชน้ิ งานดว้ ยเวอร์เนียร ์ ต้องทำอะไรกอ่ น ................................................................................................................................................................................................ 6. ก่อนใช้งานเวอร์เนยี ร์ควรตรวจเวอรเ์ นยี ร์ 2 ตำแหน่ง คอื อะไร ................................................................................................................................................................................................ 7. เวอรเ์ นียร์วัดลึกมีสเกลหลักและสเกลเวอรเ์ นียร์ตา่ งกบั ของเวอรเ์ นยี รอ์ เนกประสงคอ์ ย่างไร ................................................................................................................................................................................................ 8. เวอรเ์ นียรว์ ัดความหนาใช้ประโยชนอ์ ะไร ................................................................................................................................................................................................





3 งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 33 เวอรเ์ นยี รแ์ บบนาฬกิ าวดั และแบบดจิ ติ อล สาระการเรียนรู้ 3.1 เวอร์เนยี รแ์ บบนาฬกิ าวดั 3.2 เวอรเ์ นียร์แบบดจิ ติ อล 3.3 กฎการใช้และการบำรุงรกั ษาเวอรเ์ นียร์ทุกประเภท ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั 1. ตรวจวัดดว้ ยเวอรเ์ นียร์แบบนาฬิกาวดั ได้ 2. ตรวจวดั ดว้ ยเวอร์เนยี ร์แบบดิจติ อลได้ 3. ปฏบิ ตั ิการใช้และการบำรุงรักษาเวอรเ์ นยี ร์ทกุ ประเภทได้ 4. เพอื่ ใหม้ ีกจิ นิสยั ในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ประณีต รอบคอบและตระหนกั ถงึ ความปลอดภัย

34 งานวดั ละเอยี ดชา่ งยนต์ 3 เแวลอะรแเ์ นบยบี รดแ์ จิ บติ บอนลาฬกิ าวดั บทนำ สบื เนอ่ื งมาจากมกี ารพฒั นาระบบกลไกและระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ขา้ มาใชใ้ นการวดั ทำใหเ้ วอรเ์ นยี ร ์ อ่านค่าได้ง่ายและค่าวัดละเอียดมีความเที่ยงตรงสูง เช่น การอ่านค่าบนหน้าปัดแบบนาฬิกาวัด (Dial) หรือ อ่านค่าบนหน้าปัดแบบดิจิตอล (Digimatic) เวอร์เนียร์ที่นำระบบตัวเลขมาใช้แทนสเกล ทำให้อ่านค่าวัด ละเอียดได้สูงถึง 0.01 มม. บางตัวออกแบบให้สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถเก็บข้อมูล และคำนวณค่าเฉลี่ยต่าง ๆ เกี่ยวกับการวัดและพิมพ์ข้อมูลได้ด้วย รูปที่ 3.1 เวอร์เนียร์แบบนาฬิกาวัด (Dial Calipers) รูปที่ 3.2 เวอร์เนียร์แบบดิจิตอล (Digimatic Calipers)

งานวัดละเอียดชา่ งยนต์ 35 3.1 เวอร์เนียร์แบบนาฬกิ าวัด 3.1.1 กลไกการขบั เคลือ่ นและสว่ นประกอบเวอร์เนียร์แบบนาฬกิ าวัด 1. กลไกการขับเคลื่อนเวอรเ์ นยี ร์แบบนาฬกิ าวดั (Dial Caliper) 3 เวอร์เนยี ร์แบบนใี้ ชก้ ารแปลงผลการอา่ นคา่ ความละเอยี ดจากสเกลเลอื่ น (Vernier Scale) เปน็ การ อา่ นท่ีหน้าปัดนาฬิกาวดั โดยกลไกการขบั เคลื่อน ใชร้ ะบบการขับเคลื่อนดว้ ยเฟอื งสะพานและเฟืองฟนั ตรง ตวั เลก็ แสดงค่าวดั ละเอียดทเ่ี ขม็ วัด 62 2. สว่ นประกอบเวอรเ์ นียร์แบบนาฬิกาวดั j สเกลวงกลมปรับได้ k เขม็ วัด 10 มม. l เข็มวดั 1/20 มม. m เฟืองสะพานและราง n ตัวเลื่อนและกลไกวัด o สกรูลอ็ ก 13 5 4 รูปท่ี 3.3 เวอร์เนยี รแ์ บบนาฬิกาวัด รูปท่ี 3.4 สว่ นประกอบเวอร์เนยี รแ์ บบนาฬกิ าวดั n ตวั ตัง้ 0 p สกรูลอ็ ก o สเกลหลัก q แกนวัดลกึ j เฟืองสะพาน l เขม็ นาฬิกาวดั k เฟอื งฟนั ตรง m หนา้ ปัด

36 งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 3.1.2 การอ่านค่าเวอรเ์ นียร์ แบบนาฬกิ าวดั รปู ที่ 3.5 แบบสเกลหน้าปัด 1/20 มม. รูปที่ 3.6 แบบสเกลหน้าปดั 1/50 มม. 1. แบบสเกลหนา้ ปดั 1/20 มม. รูปท่ี 3.7 แบบสเกลหน้าปัด 2 เข็ม 1) สเกลหลกั อา่ น 15 มม. 2) สเกลหนา้ ปดั อา่ น 23 ขดี แตล่ ะขดี หา่ ง กนั 0.05 มม. 3) สเกลรวม = 23 x 0.05 = 1.15 มม. 4) ผลการวดั = 15 + 1.15 = 16.15 มม. 2. แบบสเกลหนา้ ปดั 1/50 มม. 1) สเกลหลกั อา่ น 17 มม. 2) สเกลหน้าปัดอ่าน 26 ขีด แต่ละขดี หา่ ง กนั 0.02 มม. 3) สเกลรวม = 26 x 0.02 = 0.52 มม. 4) ผลการวดั = 17 + 0.52 = 17.52 มม. 3. แบบสเกลหนา้ ปัด 2 เข็ม 1) สเกลในสงู สดุ ใชไ้ ดส้ งู สดุ 100 มม. 2) หน้าปัดตัวในขีดแบ่ง 10 มม. เข็มชี ้ 140 มม. (4 ขีด x 10 มม. + 100 มม. = 140 มม.) 3) หนา้ ปดั ตวั นอกขดี แบง่ 1/20 มม. เขม็ ช ้ี 6.75 มม. (135 ขีด x 0.05 มม. = 6.75 มม.) 4) ผลการวัด = 140 + 6.75 = 146.75 มม.



38 งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ 2) แสดงตัวเลขเมื่อแบตเตอรี่มีไฟ และ สภาพแบตเตอรี่ดี หากแบตเตอรี่ มไี ฟ ไฟหมด ประจไุ ฟ (Charge) แบตเตอร่ี ไมม่ ไี ฟหรอื ขัดข้อง แล้ว จะใช้ได้ประมาณ 8 ชั่วโมง รปู ท่ี 3.10 รูปบนแบตเตอรีม่ ีไฟ รปู ล่างไม่มไี ฟ 3) ถ้าแบตเตอรไ่ี ม่ดหี รอื ไฟหมด ไฟตวั รปู ที่ 3.11 ตำแหน่งต้ัง 0 E จะติดเหมือนกับการใช้เวอร์เนียร์ แบบดจิ ติ อลไม่ถกู ต้อง p สวิตช์ต้ัง 0 r สวิตชแ์ สดงผล 3.2.2 การอา่ นคา่ เวอรเ์ นยี รแ์ บบดจิ ติ อล รูปท่ี 3.12 ตำแหนง่ แสดงผล 1. ตำแหนง่ ตง้ั 0 7 สวติ ชต์ ง้ั 0 10 สวติ ช ์ ON-OFF 11 สวติ ชเ์ ลอื กหนว่ ยวดั เปน็ มม.หรอื นว้ิ ข้อควรจำ หลังเลิกใช้งานให้ทำความสะอาด และตรวจตั้ง 0 เสมอ 2. ตำแหนง่ แสดงผล 1) เมื่อกดสวิตช์แสดงผล หน้าปัดอาจ แสดงผลเดิม อย่างไรก็ตาม ให้กด สวิตช์แสดงผลเป็นครั้งที่ 2 ตัวเลข จะข้นึ บนหน้าปัดทีว่ ัดถูกต้อง 2) เพื่อตรวจความถูกต้อง อาจทบทวน การวัดด้วยการกดสวิตชต์ ัง้ 0 แลว้ กด สวติ ชแ์ สดงผลเพอ่ื ยนื ยนั ความถกู ตอ้ ง ขอ้ ควรจำ วธิ วี ดั เชน่ นเ้ี หมาะสำหรบั การตรวจ ความเบี้ยวและความเร็วของเพลา

งานวัดละเอยี ดช่างยนต์ 39 3. ผลการวัดเกิดความแตกต่าง 3 แสดงผลการวัด 1) ก่อนอื่นต้องเตรียมพร้อมการวัด การต้งั 0 โดยทำความสะอาดขาเวอรเ์ นียร์ รูปที่ 3.13 แสดงผลการตรวจวดั เพลา เลอ่ื นปากเวอรเ์ นยี รใ์ หช้ นกนั แลว้ ตรวจการตง้ั 0 รูปที่ 3.14 แสดงผลวดั เกินจรงิ 2) กอ่ นตรวจวดั ชน้ิ งาน ตอ้ งเตรยี ม การตรวจวดั โดยกดสวติ ชต์ ง้ั 0 รูปที่ 3.15 แสดงผลน้อยกว่าจริง เพื่อตรวจการเริ่มการตรวจวัด ชิ้นงานที่แม่นยำ 3) การตรวจวดั ชน้ิ งาน (เพลา) ขนาด 3.70 มม. ความเที่ยงตรงควร อยู่ท่ี 3.70 มม. 4) การตรวจวัดชิ้นงานบางครั้งอาจ เกิดค่าเบี่ยงเบนได้จากการตั้ง 0 หรอื การตรวจวดั ถ้าผลการตรวจวัดโตกว่า ช้ินงานทีก่ ำหนดให ้ จะแสดงผล ทห่ี นา้ ปดั เชน่ 0.05 มม. เรยี กวา่ ผลการวดั เกินจริง 5) ในทำนองเดียวกันกับผลการวัด เกินจริง แต่กลับแสดงผลเป็น ตรงข้าม คือเป็นค่าติดลบ เรียก ว่า ผลการวดั นอ้ ยกว่าจริง เชน่ - 0.02 มม.

40 งานวัดละเอียดช่างยนต์ 4. การบนั ทึกตรวจวัดความยาวช้ินงาน หลายขัน้ หน้าตัด 1) การตรวจวดั ความยาวช้ินงานหลายขัน้ ตาม รปู ที่ 3.16 ขนาดชิ้นงานหลายข้นั แบบรูปท่ี 3.16 ดว้ ยเวอรเ์ นยี รแ์ บบดจิ ิตอล สามารถทำได้รวดเร็ว ลัดขั้นตอนที่ต้อง แสดงผลการวดั ตรวจวัดและการคำนวณ ตามการวัดด้วย การต้งั 0 เวอร์เนียร์ธรรมดา รูปท่ี 3.17 แสดงผลการวัด 15.00 มม. 2) หลงั การทำความสะอาด เร่มิ ตรวจวดั จาก ด้านหน้าตัดชิ้นงาน ช่วงแรกวัดได้ 15.00 มม. ท่หี นา้ ปดั กดตง้ั 0 ท่ีสวติ ช์ตั้งศูนย์ เพอ่ื ลบตวั เลข 15.00 มม. ตัวเลขหน้าปัดจะขึ้น 0.00 มม. แทน ดงั รปู ที่ 3.17 3) ตรวจวัดความยาวบา่ ที่ 2 ได ้ 5.00 มม. แลว้ กดต้ัง 0 ที่สวิตช์ตั้ง 0 อย่างขอ้ 2) ตวั เลข หน้าปัดขน้ึ 0.00 มม. ดงั รปู ท่ี 3.18 4) ตรวจวัดความยาวบ่าที่ 3 ได้ 49.70 มม. อยา่ งข้อ 3) ดงั รูปท ่ี 3.19 แสดงผลการวัด รูปท่ี 3.19 แสดงผลการวัด 49.70 มม. การตงั้ 0 รปู ที่ 3.18 แสดงผลการวัด 5.00 มม.

งานวดั ละเอียดชา่ งยนต์ 41 ใบตรวจวัดที่ จงตรวจวัดขนาดช้นิ งานตัวอย่างตามแบบทีก่ ำหนดใหด้ ้วยเวอร์เนียร์ แบบนาฬิกาวดั หรอื แบบดิจติ อล แลว้ กรอกผลในตาราง 3.1 มาตราสว่ น 1:1 3 ลำดับ ผลการวดั (มม.) ลำดับ ผลการวัด (มม.) AF BG CH DJ EK การประเมนิ ผล ช่อื ................................................................ วนั ท่ี ............................................................. คะแนน ....................................................... ผปู้ ระเมิน ....................................................

42 งานวัดละเอยี ดชา่ งยนต์ ใบตรวจวดั ท่ี จงเขยี นแบบช้ินงานตามแบบท่ีกำหนดให ้ แล้วกำหนดขนาดตามการ วัดด้วยเวอร์เนียร์แบบนาฬิกาวัดหรือแบบดิจิตอล มาตราส่วน 1:1 3.2 ใตแ้ บบทกี่ ำหนดให้หรอื ทำตารางตรวจวัดเหมือนใบตรวจวดั ท่ี 3.1 การประเมนิ ผล ชื่อ ................................................................ วันท ี่ ............................................................. คะแนน ....................................................... ผปู้ ระเมิน ....................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook