Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ

บทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ

Published by loung10, 2018-07-05 04:13:54

Description: อาจารย์กิตติศักดิ์ หลวงพันเทา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี

Search

Read the Text Version

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา)มาเลเซียจุดออ่ น ระบบบรกิ าร ทางเลอื กใชบ้ ริการของผ้บู รโิ ภค การเข้าสรู่ ะบบ และการส่งตอ่ - โดยหลกั การ ผปู้ ่วยต้องขอรบั บริการตามข้นั ตอนของระบบการสง่ ตอ่ - โดยทางปฏบิ ตั ิ ผูป้ ว่ ยสามารถเลือกใชบ้ ริการจากสถานพยาบาลใดกไ็ ดท้ ัง้ รฐั และเอกชนผใู้ ห้บรกิ าร - ภาครัฐและเอกชนให้บรกิ ารทกุ ระดบั - สถานบริการปฐมภูมขิ องภาคเอกชนมากกว่าภาครฐั - สถานบรกิ ารทตุ ยิ ภูมิ และตตยิ ภมู ิ ภาครัฐมากกวา่ ภาคเอกชน

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทวั่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมรกิ า)มาเลเซยีจดุ อ่อน เปรียบเทียบกบั ระบบประกนั สุขภาพของประเทศไทย ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย มีระบบประกันสุขภาพถว้ นหนา้ ไม่มีระบบหลักประกนั สขุ ภาพถ้วนหนา้ ระบบประกนั สงั คมแบบบงั คบั สำหรับ ระบบประกนั สงั คมครอบคลมุ ลูกจา้ ง ลูกจา้ งหรือแรงงานทมี่ ีรายได้ต่ำ หรอื แรงงานทกุ คน ผทู้ ่ีไม่มปี ระกันสุขภาพสามารถใช้ ผดู้ ้อยโอกาสไม่เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการเขา้ บรกิ ารที่รัฐจัดให้โดยไมเ่ สียค่าบรกิ าร รบั บรกิ าร

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่ัวไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา) องั กฤษ ระบบสุขภาพประเทศองั กฤษ เปน็ ระบบระบบสาธารณสขุ แบบเบ็ดเสร็จ จุดออ่ น (Comprehensive Health System) หรือสวัสดกิ ารเตม็ รูปแบบ พลเมอื งทุกคนไดร้ ับการรักษาพยาบาลฟรีและเสมอภาคกันหมด ภายใตก้ ารดแู ลของ กระทรวงสาธารณสุข และสำนกั งานหลกั ประกันสขุ ภาพ (National Health Service, NHS) ใช้เงนิ จากการเกบ็ ภาษที ่วั ไป แยกผซู้ อ้ื ออกจากผู้ให้บรกิ าร บรกิ ารปฐมภูมถิ ูกแยกจากบริการสุขภาพระดบั ทุติยภูมอิ ยา่ งชัดเจน

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทั่วไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมรกิ า) องั กฤษ มีการนำเอากลไกการขึน้ ทะเบยี นมาใช้ คือ จดุ ออ่ น ๑) ขึ้นทะเบียนในลกั ษณะแบ่งพน้ื ที่โดยรัฐโดยมที มี งานใน Health Centre รับผดิ ชอบประชาชนทกุ คนในเขตพ้นื ทต่ี ามท่รี ฐั กำหนด ๒) ขนึ้ ทะเบยี นกับแพทย์เวชศาสตร์ครอบครวั (General Practitioner, GP หรอื Family Physician, FP) โดยใหป้ ระชาชนมีสิทธใิ นการเลือกผู้ใหบ้ ริการ สามารถ เปลีย่ นสถานบริการและเครอื ข่ายได้ตามความสมัครใจ ภายในระยะเวลาทีก่ ำหนด

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) อังกฤษ Primary Care Trust (PCTs) ทำหน้าท่ีคล้ายๆ ผู้ซ้ือบริการ โดย PCTs จดุ ออ่ น จดั สรรงบให้หน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิแบบเหมาจ่ายรายหัวตามจำนวนประชากรผูม้ สี ิทธิ ปรับดว้ ยโครงสร้างอายุและปัจจัยอื่น ๆ ในกรณ“ี Surgery” หรือ “GP Practice” ลักษณะคล้าย ๆ Polyclinic ซง่ึ เป็น หนว่ ยบริการปฐมภูมิ คือ มแี พทย์เวชศาสตร์ครอบครวั หลายคนชว่ ยกันใหบ้ รกิ าร มที ง้ั แบบ Full-time และ Part-time หน่วยบริการปฐมภมู ิท่ีจะได้รับจัดสรรเงนิ จาก PCTs จัดสรรงบใหห้ น่วยบริการปฐม ภูมแิ บบเหมาจา่ ยรายหวั

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) อังกฤษ ผใู้ ห้บริการสขุ ภาพในระดบั ปฐมภูมิจะเปน็ ทีมสขุ ภาพหลากหลายสาขา จดุ ออ่ น โดยมแี พทยเ์ วชศาสตร์ครอบครัว เป็นผบู้ รหิ ารจดั การและทำหน้าที่เปน็ ผทู้ ่ีคอยดูแลคนไข้ วา่ ปว่ ยมากน้อยอย่างไร กอ่ นทีจ่ ะไดร้ ับการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลหากจำเปน็ (Gate Keeper) รว่ มกับ พยาบาล และพยาบาลผดงุ ครรภ์จะให้การดูแลเกยี่ วกับการส่งเสริมสขุ ภาพและการป้องกนั โรค การใช้บรกิ ารทางการแพทย์และโรงพยาบาลทั้งแผนกผู้ป่วยนอกและผูป้ ว่ ยในไมเ่ สียค่าใช้จา่ ยใด ๆ ผปู้ ่วยร่วมจา่ ยคา่ ยาตามใบสัง่ (ยกเวน้ เด็ก คนชรา และผูป้ ่วยบางกลุ่ม) มีระบบการเช่ือมคุณภาพบรกิ ารทางคลินกิ กับคา่ ตอบแทนของแพทยเ์ วชปฏบิ ัตคิ รอบครัว (Quality Outcome Framework, QOF) ดว้ ยการวดั คณุ ภาพออกมาเปน็ คะแนน สำหรับรายได้ทเ่ี กิดจาก การให้บรกิ ารตาม QOF เป็นรายไดข้ องสถานบรกิ าร ไม่ใชร่ ายได้ของรายบุคคล

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา) องั กฤษ ปี 2003 ระบบบริการสุขภาพของประเทศอังกฤษกลบั สู่ระบบการตลาด จดุ ออ่ น ปัจจุบันปฏริ ปู ระบบบรกิ ารสขุ ภาพครั้งใหญ่ คือ มีการรวมตวั กนั ของแพทย์ GP เปน็ หน่วยงานใหม่ ทเ่ี รียกว่า Clinical Commission Group (CCGs) แทนหนว่ ยงาน PCTs CCGs โครงสรา้ งและระบบหน้าทีก่ ารทำงานสว่ นใหญ่เหมอื นเดมิ แต่ทแี่ ตกตา่ งไป คือ จะเปิดโอกาสใหแ้ พทย์ GP สามารถเข้าไปทำงานในบอร์ดบริหารขององค์กรได้มากข้นึ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า) ฝรง่ั เศส ระบบการประกันสังคมของฝรั่งเศสได้รับการยอมรับท่ัวโลกวา่ มีประสิทธิภาพสงู จดุ อ่อน นักศึกษาฝร่งั เศสและนักศกึ ษาต่างชาตไิ ด้รบั ประโยชนจ์ ากระบบการประกันสังคมท่ีชัดเจน เพ่อื ท่ีจะไดร้ บั สทิ ธขิ องประกันสงั คมนกั ศกึ ษาน้นั จำเปน็ ต้อง ลงทะเบยี นเป็นนกั ศกึ ษาในสถาบนั อุดมศึกษาทไ่ี ด้รบั การรับรอง มีอายนุ ้อยกว่า ๒๘ ปใี นวนั ที่ ๑ ตุลาคมของปกี ารศกึ ษาปจั จบุ ัน การเขา้ เป็นนกั ศึกษาตามสถาบันการศกึ ษาโดยสมบรู ณ์เม่ือมีการลงทะเบยี นเรยี นเรียบร้อยแล้ว คา่ ลงทะเบียน ต่อปีอยู่ท่ีประมาณ ๒๐๐ ยูโร **นักเรยี นทนุ ไดร้ บั การยกเวน้ การจดั เก็บน้ี

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทัว่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา) ฝรง่ั เศส สถาบนั อุดมศึกษา จุดออ่ น มี \"บริการระหว่างมหาวทิ ยาลัยด้านเวชศาสตรป์ อ้ งกนั และการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ\" การบริการ คอื แพทย์ พยาบาล นักจติ วิทยามาเย่ียมเยยี น ให้คำแนะนำ ให้ คำปรกึ ษาขอ้ มูลทางการแพทยต์ ่าง ๆ แกน่ กั ศกึ ษาตลอดท้ังปี

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทัว่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมรกิ า) ฝรงั่ เศส บตั รสวสั ดกิ ารสขุ ภาพ ประชาชนทกุ คนจะข้ึนทะเบยี นบตั รทเ่ี ป็นระบบออนไลนท์ ว่ั ประเทศ จดุ อ่อน ในบัตรจะฝงั ชปิ สำหรบั เกบ็ ประวตั คิ นไข้ และสามารถขอบตั รสวัสดิการสหภาพยุโรปได้ ต้องไปขึ้นทะเบียนกบั แพทย์ทวั่ ไป ทันตแพทย์ถือเป็นแพทยเ์ ฉพาะทางไมส่ ามารถไปพบดว้ ยตนเองไดต้ อ้ งมใี บสง่ ตวั จาก แพทยท์ ั่วไป ถ้าไม่มีใบส่งตวั ไปจะต้องจา่ ยเงนิ เอง ๘ ยโู ร

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา)ฝรง่ั เศสจดุ อ่อน บัตรประกันสขุ ภาพเอกชน ประชาชนสามารถซอื้ เพอื่ อำนวยความสะดวกอืน่ ๆ รฐั บาลจะรว่ มจ่ายให้ การรว่ มจา่ ยนีค้ ดิ เป็นรอ้ ยละ ประกันสขุ ภาพเอกชนแบ่งออกเป็น ๓ ระดบั คอื ๑, ๒ และ ๓ โดยประเภท ๓ จะดีที่สดุ และแพงทสี่ ดุ ตัวอย่างแบบที่ ๒ รฐั จะร่วมจา่ ย ดงั นี้ ค่ายาในบญั ชยี าหลกั ร้อยละ ๓๕ ค่ายานอกบัญชยี าหลัก รอ้ ยละ ๖๕ ค่าตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร รอ้ ยละ ๔๐ คา่ ตรวจของแพทย์ รอ้ ยละ ๓๐ ค่าบรกิ ารสง่ ต่อ รอ้ ยละ ๓๕ คา่ แวน่ สายตา ถา้ อายนุ อ้ ยกวา่ ๑๘ ปี จา่ ย รอ้ ยละ ๓๕ ถา้ อายมุ ากกวา่ ๑๘ ปีรว่ มจ่าย ร้อยละ ๔๕

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมรกิ า) ฝรั่งเศส การรกั ษากับแพทยท์ ัว่ ไปทข่ี น้ึ ทะเบยี นไวแ้ ละไปรกั ษาตามระบบบริการจะรักษาฟรี จดุ ออ่ น แตต่ ้องออกค่าใชจ้ ่ายไปก่อน แพทยท์ วั่ ไปจะเปดิ คลินกิ เวลา ๘.๓๐-๑๒.๐๐ น.และ ๑๔.๐๐-๑๙.๐๐ น. คา่ บริการในการพบแพทย์เพือ่ ตรวจรกั ษาและขอคำปรกึ ษา ๑ ครง้ั ประมาณ ๒๐ ยูโร แตถ่ า้ เป็นแพทยเ์ ฉพาะทางคิด ๖๐-๑๐๐ ยโู ร ถา้ มีใบส่งตัวรัฐจะจา่ ยคืนใหท้ ง้ั หมดแตต่ ้องสำรองจา่ ยไปก่อน แพทย์ทค่ี ลินิกเขยี นใบส่ังยาใหไ้ ปซื้อยาทร่ี า้ นขายยาของเภสชั กร ถา้ ตอ้ งฉีดยาต้องซอื้ ยาไปแลว้ โทรนัดใหพ้ ยาบาลอิสระมาฉดี ยาให้ที่บา้ นพรอ้ มจา่ ยค่าบรกิ ารให้ ระบบบรกิ ารจะเปน็ ระบบนัดหมายทงั้ หมด มีการตรวจสุขภาพทุกปีโดยบริษทั หรือนายจา้ งจา่ ยเงินให้ทง้ั หมด

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทัว่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา) สหรฐั อเมรกิ า มีหลายหนว่ ยงานและความเป็นนิตบิ ุคคล (Legal Entities) ทีม่ ีส่วนรับผดิ ชอบดา้ นสุขภาพอนามัย จุดออ่ น เพราะระบบการปกครองของเขาเปน็ แบบกระจายอำนาจ รัฐบาลกลาง (Federal Government) รฐั บาลของรัฐ (State Governments) รัฐบาลท้องถิ่น (Local Governments) ปรัชญาการปกครองต้ังแต่ต้งั ประเทศ ใหค้ วามสำคญั ในสทิ ธิสว่ นบคุ คลและความเป็นทุนนยิ มเสรี รฐั บาล จะต้องไมเ่ ข้าไปแทรกแซงในกิจการของเอกชน อะไรเอกชนทำไดใ้ นระบบแขง่ ขันเสรีได้ รัฐบาลจะไมเ่ ขา้ ไป เก่ยี วขอ้ ง หรือแขง่ ขันกบั เอกชน การดแู ลสขุ ภาพต่างจากประเทศในกลุ่มยุโรปตะวันตกทม่ี ีพื้นฐานการปกครองแบบสงั คมนยิ ม ประชาธิปไตย และประเทศในค่ายคอมมวิ นสิ ตเ์ ดมิ ท่กี เ็ นน้ ระบบรัฐสวสั ดิการเปน็ เปา้ หมายสูงสดุ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่ัวไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) สหรัฐอเมรกิ า การใช้เงินเพื่อดแู ลด้านสขุ ภาพอนามัยสงู ทส่ี ดุ ในโลก จดุ ออ่ น เม่ือเปรยี บเทยี บกับอตั ราส่วนของรายได้ประชาชาติ หรอื ท่เี รียกว่า Gros Domestic Production (GDP) คือประมาณร้อยละ ๑๖ ของ GDP สงู ท่ีสดุ ในชาติก้าวหนา้ ในตะวันตก สัดสว่ นคา่ ใช้จา่ ยดา้ นสขุ ภาพ มแี นวโนม้ สูงยง่ิ ขน้ึ คาดว่าจะถงึ ประมาณรอ้ ยละ ๑๙.๕ ของเงินรายได้ประชาชาติ หรอื จะเปรียบได้วา่ เงนิ ทีบ่ คุ คลแตล่ ะคนจะหาไดต้ ลอดชีวิตน้นั ประมาณหน่งึ ในห้าจะใชเ้ พื่อการดแู ลดา้ นสขุ ภาพอนามยั

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า) สหรฐั อเมรกิ า ระบบการดแู ลสขุ ภาพของสหรัฐมีปัญหาใชเ้ งนิ มาก จุดออ่ น และมผี ลกระทบไปถงึ การลดความสามารถในการแขง่ ขัน เพราะค่าดูแลสุขภาพจะถกู บวกเข้าไปใน ค่าใชจ้ า่ ยด้านการผลติ และบริการต่าง ๆ ของคนในประเทศ ปัญหาดา้ นการดูแลสขุ ภาพ ไม่ได้อยทู่ ว่ี ทิ ยาการ เพราะคณะแพทยศาสตร์และการดูแลสุขภาพดา้ นต่าง ๆ ยงั เปน็ ความก้าวหน้าอย่างมากในโลกนี้ แพทยเ์ กง่ ๆจากท่ัวโลก อยากมาเป็นคณาจารย์ เป็นนกั วจิ ัยในสหรฐั อเมริกา

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมริกา)สหรฐั อเมรกิ าจุดอ่อน ปัญหาด้านการดูแลสขุ ภาพ อยทู่ ่รี ะบบการเมอื ง ตลอดจนปรัชญาความเชอ่ื ในแบบทนุ นิยมเสรใี นบางดา้ นท่มี ีลกั ษณะเกินเหตุ อำนาจทางการเมือง การชักจงู อิทธิพลทางการเมอื งอยใู่ นมอื ของ บริษทั ยา บริษทั ที่ดำเนินการดา้ นประกนั สขุ ภาพ สมาคมวชิ าชีพทางดา้ นการแพทยแ์ ละสุขภาพอนามยั คนระดบั สงู ทีม่ ีขีดความสามารถในการซื้อบริการได้ทำให้บรกิ ารด้านสุขภาพเปน็ เรือ่ งทีข่ าดหลักประกันสำหรบั คนยากจน คนที่เปน็ คนต่างดา้ วคนทำงานอิสระแบบหาเช้ากินค่ำท่ีไมม่ ีรายไดพ้ อท่จี ะไปซื้อบริการประกนั สขุ ภาพท่ีราคาแพง ตอ้ งยอมเส่ียงมีชีวิตอยอู่ ย่างไม่มีหลักประกนั หากเจบ็ ป่วยขึน้ มาในระดับท่ตี ้องพง่ึ บริการสขุ ภาพก็ต้องยอมตกอยู่ในฐานะล้มละลาย

ID Line : hs7bpje-Mail : [email protected] Tel. 08-943-0151


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook