Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ

บทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ

Published by loung10, 2018-07-05 04:13:54

Description: อาจารย์กิตติศักดิ์ หลวงพันเทา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี

Search

Read the Text Version

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๓. การบรกิ ารสขุ ภาพระดบั ปฐมภมู ิ ทตุ ิยภมู แิ ละตติยภูมิ จุดอ่อน

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่ัวไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๓. การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ทุติยภมู ิและตติยภมู ิ ผลกจุดระอท่อบน นโยบาย Medical Hub of Asia ตอ่ ระบบสาธารณสุข ไทย

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๓. การบรกิ ารสขุ ภาพระดบั ปฐมภมู ิ ทตุ ิยภมู แิ ละตติยภูมิ จุดอ่อน

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทวั่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๓. การบริการสุขภาพระดบั ปฐมภูมิ ทุติยภมู ิและตติยภูมิการบริการทตุ ิยภูมิ (Secondary Care) เป็นบรกิ ารท่ใี ช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ในระดับท่ีสูงข้ึนเนจ้นดุ กอา่อรนบรกิ ารรักษาพยาบาลโรคทีย่ าก ซบั ซอ้ นมากข้ึนไดแ้ ก่ โ่ รงพยาบาลชุมชนในระดบั อำเภอ โรงพยาบาลท่วั ไปในระดบั จงั หวัด และโรงพยาบาลในสงั กัดกระทรวงกลาโหม

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทั่วไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๓. การบรกิ ารสุขภาพระดับปฐมภูมิ ทุตยิ ภูมแิ ละตติยภมู ิการบรกิ ารตติยภูมแิ ละศูนยก์ ารแพทยเ์ ฉพาะทาง (Tertiary Care and Excellent Center)จดุ ออ่ น เป็นการบริการท่ีใช้เทคโนโลยที าง การแพทย์ขน้ั สงู มีความสลบั ซับซอ้ นมาก มี บคุ ลากรทางการแพทย์ในสาขาเฉพาะทาง สังกัดกระทรวงสาธารณสุขทเี่ ปน็ โรงพยาบาล ศูนยส์ ถาบันเฉพาะทางตา่ ง ๆ หรอื หรอื สังกดั มหาวทิ ยาลัย เช่น โรงพยาบาลในโรงเรียน แพทย์

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมริกา) นสิ ิตแบง่ กลมุ่ ศึกษาคน้ คว้าระบบบรกิ ารสขุ ภาพจุดอ่ออเนวินียโดดนนีเาซมยี นำเสนอ ฟิลิปปินส์ กลุ่มละ ๕ นาที เยอรมนั สวติ เซอรแ์ ลนด์ แคนนาดา

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่วั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมริกา) การพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) รฐั บาลไทยภายใต้การนำของ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา ต้องการ v เห็นขีดควาสมงั สคามมสาูรงถวยขั สองั ปครมะสเูงทวศยั ในดา้ นสขุ ภาพ vยกระดบั มาตรฐานกับการดแู ลสุขภาพในเชงิ ของ การท่องเที่ยวตอ่ ยอดสกู่ ารสร้างอาชีพ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทัว่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมริกา) การพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) v การเปน็ ศนู ยก์ ลางบริการเพ่ือส่งเสรสมิ งัสคขุ ภมาสพูงหวยรั อืสงัWคeมllสneูงsวsยั Hub ที่เป็นการบรกิ ารอย่างครบวงจร vการเปน็ ศูนยก์ ลางบรกิ ารสขุ ภาพ หรอื Medical Service Hub ท่ีตอ่ ยอดกับระบบสปา ระบบการทำงานเพอื่ สร้างสขุ ภาพ รวมถงึ การท่องเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ vการเป็นศนู ย์กลางการศึกษา วชิ าการและงานวจิ ัย หรอื Academic Hub ที่เก่ยี วกบั สขุ ภาพ vเปน็ ศนู ย์กลางยาและผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพ หรือ Product Hub

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๓. การพฒั นาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า) การพฒั นาประเทศไทยให้เปน็ ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ตาราง เปรียบเทียบ ความ ได้เปรยี บใน การแขง่ ขัน ด้านบรกิ าร สุขภาพ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทั่วไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมริกา) การพฒั นาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) การสนบั สนุน จากภาครัฐ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทัว่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา) การพัฒนาประเทศไทยให้เปน็ ศนู ยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จุดเด่น/ กลยทุ ธ์

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทัว่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมรกิ า) การพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศูนยก์ ลางสขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) จุดอ่อน

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่ัวไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) การพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จุดออ่ น สำหรบั ประเทศไทย ภาครฐั เรมิ่ ปทู างสู่การเปน็ ศูนยก์ ลางบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติตัง้ แตป่ ี ๒๕๔๗ โดยจัดทำเป็นยุทธศาสตรข์ องประเทศ ซง่ึ มีการดำเนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนื่องประกอบกบั โรงพยาบาลชน้ั นำของรัฐบาลและเอกชนที่ถือเปน็ ปัจจัยสำคญั ของแผนงานกไ็ ด้พฒั นา และเตรยี มความพรอ้ มทั้งจำนวนสถานท่ี เทคโนโลยี บคุ ลากรและการประชาสมั พนั ธ์เพื่อรองรบั ความต้องการใชบ้ รกิ ารทางการแพทย์ท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศทเ่ี พมิ่ ข้นึ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา) ยทุ ธศาสตรข์ องประเทศไทยในการก้าวเขา้ สู่ Medical Hub of Asia) จดุ อ่อน การสนบั สนุนจากภาครฐั การดำเนินการให้ไทยเปน็ ศนู ย์กลางบรกิ ารสุขภาพนานาชาติซึง่ มีการจัดทำเป็นยุทธศาสตรข์ องประเทศตัง้ แต่ปี ๒๕๔๗ และได้ดำเนนิ การมาอย่างต่อเนอื่ งโดยในปัจจุบนั รฐั บาลได้กำหนดแผนดำเนินการหลกั จำนวน ๒ แผนงานที่สำคญั คือ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา) ยุทธศาสตร์ของประเทศไทยในการก้าวเขา้ สู่ Medical Hub of Asia) ๑. แผนพฒั นาประเทศไทยใหเ้ ป็นศนู ยจุดก์ อล่อานงสุขภาพนานาชาติ (MedicalHub) (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๘) เปน็แผนระยะ ๑๐ ปีได้รบั การอนมุ ัติจากคณะรัฐมนตรีเมอ่ื วันท่ี ๑๓ กนั ยายนพ.ศ. ๒๕๕๙ โดยแบง่ ออกเป็น ๔ผลผลิตหลัก

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่ัวไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า) ยทุ ธศาสตร์ของประเทศไทยในการก้าวเขา้ สู่ Medical Hub of Asia) ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการพฒั นาและส่งเสรมิ ประเทศไทยให้เปน็ ศนู ย์กลางด้าน MedicalandWelจlุดnอesอ่ sนTourism (ระยะเร่งด่วนปพี .ศ. ๒๕๕๙– ๒๕๖๐) ไดแ้ ก่

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่ัวไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา)ยุทธศาสตรข์ องประเทศไทยในการกา้ วเข้าสู่ Medical Hub of Asia) ๑) ชือ่ เสียงดา้ นการบริการสุขภาพของไทยเป็นที่ยอมรบั จากทว่ั โลก โดยปัจจบุ นัจจดุ ุดเดอ่นอ่ น ประเทศไทยมปี ริมาณชาวตา่ งชาติ เข้ามารับการรกั ษาโดยตรง (Medicalหรอื กลยุทธ์ Tourism) และนกั ท่องเทย่ี วตา่ งชาตทิ ีเ่ ดินทางเขา้ มาทอ่ งเทย่ี วเชิงสขุ ภาพท่สี ำคัญ (Wellness Tourism) สงู ทสี่ ุดเป็นอนั ดบั ๑ ของภูมิภาคอาเซยี น

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า) ยุทธศาสตรข์ องประเทศไทยในการก้าวเขา้ สู่ Medical Hub of Asia) ๒) ประเทศไทยมีสถานพยาบาลไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานนานาชาตแิ บบ JCI จจดุ ดุเดอน่ อ่ น (JointCommission International) ในปี ๒๕๕๙ จำนวน ๕๒ แหง่ ซง่ึ มีจำนวนหรอื กลยุทธ์ มากที่สุดในภูมิภาคอาเซียนโดยอยใู่ นกรงุ เพทมหานคร ๒๘ แหง่ และตัง้ อยู่ ใน ท่สี ำคญั ตา่ งจงั หวดั ๒๔ แห่ง

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมรกิ า)ยุทธศาสตร์ของประเทศไทยในการกา้ วเขา้ สู่ Medical Hub of Asia) ๓) ค่ารักษาพยาบาลในประเทศไทยยังถอื วา่ ถกู กวา่ ประเทศอ่นื ๆ พร้อมทัง้จจุดุดเดอ่น่อน มาตราฐานความพร้อมของแพทย์และ สถานพยาบาลท่สี ูงกว่าชาติอื่นทป่ี ระกาศหรือกลยุทธ์ เปน็ เมดิคอลฮบั ประกอบกับประเทศไทยมีแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทสี่ วยงามและทส่ี ำคัญ หลากหลาย และมคี า่ ใช้จา่ ยด้านการทอ่ งเที่ยวถูกกวา่ ทำใหผ้ ู้ป่วยต่างชาติพรอ้ มกบั ครอบครวั เลือกเขา้ มาทำการรักษาในประเทศไทยเปน็ จำนวนมาก

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) ยุทธศาสตรข์ องประเทศไทยในการกา้ วเขา้ สู่ Medical Hub of Asia) ๕) ชาวตา่ งชาติให้ความสำคญั ต่อการเขา้ มาลงทนุ ในธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนของ จจดุ ดุเดอน่ ่อน ไทยมากขึ้น โดยเฉพาะหลังการ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) ที่อนุญาติหรือกลยุทธ์ ใหส้ ัดส่วนผู้ถอื หุ้นในธรุ กจิ บรกิ ารท่ีมีสญั ชาตอิ าเซียนสูงถึงร้อยละ ๗๐ ท่ีสำคญั

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทั่วไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) ยทุ ธศาสตร์ของประเทศไทยในการก้าวเข้าสู่ Medical Hub of Asia) ๕) ความตอ้ งการใช้บรกิ ารสปา/นวดไทยและผลติ ภัณฑม์ จี ำนวนสูงข้นึ ทัง้ ลูกค้า จจดุ ดุเดอน่ อ่ น ในประเทศและกล่มุ นักท่องเทยี่ ว ชาวตา่ งชาติโดยในปี ๒๕๕๘ การให้บรกิ ารสปา/หรือกลยุทธ์ นวดไทยและการจำหน่ายผลติ ภณั ฑ์มมี ูลค่า ๓๑,๐๐๐ ลา้ นบาท และมีมลู คา่ การ ทส่ี ำคญั ส่งออกประมาณ ๒,๒๔๐ ล้านบาท (ข้อมลู จากสำนักสง่ เสรมิ และจัดการสนิ คา้ เกษตร ปี ๒๕๕๘ และบรษิ ัทศนู ยว์ จิ ัยกสกิ ร ไทยจำกัด, วนั ที่ ๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘)

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมรกิ า)ยทุ ธศาสตร์ของประเทศไทยในการกา้ วเขา้ สู่ Medical Hub of Asia)อุปจสดุรรอคอ่ ทนี่ “ความไม่เพยี งพอของบคุ ลากรทางการแพทย”์ ถ้านำหลักการทางเศรษฐศาสตร์สำคญั ทสี่ ุด ทว่ี ่าดว้ ยเรอื่ งของอปุ สงคแ์ ละอุปาทานเขา้ มาอธบิ ายแล้ว จะพบวา่ อุปาทานของ การรักษาพยาบาลในประเทศไทย ยงั ไม่สอดคล้องกบั อุปสงคข์ องการรับบรกิ าร จากผูป้ ่วยตา่ งชาติในหลายๆ ประเดน็

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่วั ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา) ยุทธศาสตร์ของประเทศไทยในการก้าวเขา้ สู่ Medical Hub of Asia) ๑. ผลกระทบต่ออตั รากำลังของบุคลากรด้านสาธารณสขุ ของประเทศผลกจุดระอทอ่ บน ๒. ผลกระทบตอ่ การบริการผปู้ ่วยในโรงพยาบาลภาครัฐ เน่ืองจากการลาออกนโยบายMedical ของบคุ ลากรดา้ นสาธารณสุขHub of ๓. ผลกระทบตอ่ การผลติ นิสิตนกั ศึกษาแพทย์ และแพทยเ์ ชี่ยวชาญเฉพาะทางในAsia ต่อ โรงเรียนแพทย์ ระบบ ๔. ผลกระทบตอ่ คา่ ตอบแทนแพทย์และค่าบรกิ ารทางการแพทย์สาธารณสขุไทย

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมรกิ า) เมียนมา เมื่อ ๕๐ ปที ี่ผา่ นมาองค์การอนามยั โลก (World Health Organization: WHO) จุดอ่อน ไดจ้ ดั อนั ดบั ระบบสาธารณสุข เปน็ ประเทศสุดทา้ ยจาก ๑๙๐ ประเทศ ท่ีเรียกว่า \"ประสิทธิภาพของระบบสขุ ภาพโดยรวม ใช้งบประมาณในการดูแลสุขภาพและ ความยากจนเพยี งรอ้ ยละ ๒ ของ GDP ปัจจบุ ันการดูแลสขุ ภาพก็ยังมปี ญั หาในการใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชน ซ่งึ ตามหลักการของการปกครองประเทศ สงั คมนิยมตามแบบอุดมการณข์ องเมยี นมา ประชาชนในประเทศทกุ คนจะไดร้ ับการรักษาพยาบาลแบบใหเ้ ปล่า แตเ่ มอ่ื นำมาเปรยี บเทียบกบั งบประมาณท่กี ระทรวงสาธารณสขุ ได้รบั กับสิ่งอำนวยความสะดวกในการ รักษาพยาบาลและอนามยั ทีร่ ัฐบาลตอ้ งจัดหาใหต้ ามโครงการควบคมุ และป้องกนั โรคติดต่อ เนอื่ งจากรัฐบาลมี งบประมาณทจี่ ำกัด จึงจำเปน็ ที่จะต้องขอความช่วยเหลอื จากตา่ งประเทศและองคก์ ารอนามัยโลก แต่กย็ ังไมค่ อ่ ย จะยอมรับความชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทัว่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า)เมยี นมา การบรกิ ารสาธารณปู โภค ตง้ั แตก่ ารเปล่ียนแปลงการปกครองออกมาส่รู ะบบจุดออ่ น สังคมนิยม รฐั บาลสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาได้ยดึ กิจการของชาวต่างชาติ มาเป็นของรัฐ และเข้าดำเนินการเองตามความต้องการของประชาชนจำนวนประชาชนท่ีว่างงานในเมืองตา่ งออกไปทำงานตามชนบทมากข้ึน รฐั บาลไดจ้ ดั สรรเงินเพอ่ื พัฒนาด้านสาธารณูปโภค และสขุ าภบิ าลในชนบทให้ทดั เทยี มกับในเมอื ง เพอ่ื ลดชอ่ งว่างความแตกต่างกันระหวา่ งคนในเมืองกับคนในชนบท และยงั ตอ้ งการให้ประชาชนทอี่ ยใู่ นชนบทไม่เขา้ มาหางานทำในตัวเมือง

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทั่วไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) เมยี นมา ปี พ.ศ.๒๕๕๖ การดแู ลสุขภาพชาวเมียนมายังไม่ตา่ งกับเมอื่ ๕๐ ปที ผ่ี า่ นมา จุดออ่ น ทำให้รัฐบาลได้อนมุ ตั งิ บประมาณจำนวนสูงถงึ ๔๕๐,๐๐๐,๐๐๐ ดอลลารส์ หรฐั ในการใช้จ่ายดา้ นการรักษาพยาบาล ซึง่ ส่วนใหญจ่ ะจัดสรรใหก้ ับยา ซงึ่ เปน็ สว่ นหน่งึ ของแผนท่ีจะจัดใหม้ ียาแห่งชาติขยายไปยังโรงพยาบาลของรฐัตามแผนท่ปี ระกาศจะเพ่มิ การใชจ้ ่ายเกย่ี วกบั ยาจาก ๐.๒๐ ดอลลาร์สหรฐั ต่อคนตอ่ ปเี ปน็ ๒ ดอลลารต์ ่อคนตอ่ ปีและอกี สองปีขา้ งหนา้ สำหรบั บัญชยี าจะมีงบประมาณถึง ๑๒๕ ลา้ นดอลลาร์ ซ่ึงหมายถึงร้อยละ ๒๗.๔ ของงบประมาณด้านการรักษาพยาบาลในปี พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๖ (ค.ศ.2012-2013) นอกจากแบ่งส่วนหนงึ่ ของงบประมาณทีจ่ ะใชใ้ นการเพ่มิ จำนวนแพทยจ์ ากโรงเรยี นในท้องถ่นิ รวมถึงโครงการรเิ ริ่มอน่ื ๆ ท่นี ำไปสูก่ ารปรบั ปรุงระบบการแพทย์ของประเทศ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทัว่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา) เมยี นมา มีการเพิ่มการใชจ้ า่ ยในการดูแลสุขภาพในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ดา้ นการรักษาพยาบาล จุดออ่ น ทรี่ อ้ ยละ ๙.๓ ของงบประมาณทง้ั หมดของประเทศแนวโน้มของเงินรวมทง้ั หมดทีจ่ ัดสรรใหก้ ับการดูแลสขุ ภาพเพ่ิมขึ้นแต่ในขณะเดยี วกันเมยี นมากย็ งั คงเปน็ หนง่ึ ในประเทศท่อี ยู่ในเกณฑ์ต่ำสุดของโลกในแง่ของการดูแลระบบสุขภาพ ซึง่ จากการเปรียบเทียบการใช้จ่ายของประเทศแลว้ งบประมาณทางทหารยังคงสงู ซง่ึ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑.๒๐ของงบประมาณทง้ั หมดของประเทศ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทั่วไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า)เมยี นมาจดุ อ่อน ข้อสังเกต การได้รบั งบประมาณแล้วมีความท้าทายหลายประการต้ังแตต่ อ้ งมกี ระบวนการ ตรวจสอบเงนิ ที่เกดิ จากการทจุ ริต การสรา้ งระบบการดูแลสุขภาพขาดตัวช้ีวัดสุขภาพทนี่ า่ เชื่อถือมขี อ้ จำกดั ในการ จัดกิจกรรมดา้ นสขุ ภาพ มีความยากในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู อย่างถูกต้องเพ่อื นำเสนอ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา) สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ในปจั จุบัน สปป.ลาว มีการดำเนินการดา้ นสาธารณสุขตามแผนพัฒนาสาธารณสุข จดุ ออ่ น แหง่ ชาตฉิ บับที่ ๘ มีระยะเวลาการดำเนนิ งาน ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓) ซงึ่ จะ มกี ารปรบั ปรงุ และขยายบริการดา้ นสขุ ภาพ โดยระดมทรพั ยากรต่าง ๆ และพฒั นา ศกั ยภาพที่มีอยูใ่ นประเทศ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทว่ั ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า) สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว แผนพฒั นาสาธารณสขุ แหง่ ชาติฉบับที่ ๘ จุดออ่ น ๑. การสรา้ งหมูบ่ ้านสาธารณสุขตวั อยา่ ง ๒. การลดการตายของมารดาทใ่ี ห้กำเนดิ บตุ ร และเพ่ิมการรอดชีวติ ของเดก็ แรกเกดิ ๓. การเตรียมความพร้อมการปอ้ งกัน การจดั การกบั ความอดอยาก การขาดแคลนน้ำและสารอาหาร ๔. การควบคุมการระบาดและการตดิ ต่อของโรค ๕. การพัฒนาและยกระดับคุณภาพบุคลากร ๖. ความปลอดภัยของอาหารและยา ๗. การปรับปรุงกลไกกฎหมาย และแผนงานขององคก์ าร ๘. การพฒั นาระบบการเงินเพอ่ื สุขภาพให้มีความย่งั ยืน ๙. ความช่วยเหลอื ความร่วมมือ และการลงทุนกบั องค์การในภูมภิ าคอาเซยี นและนานาชาติ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมริกา) กัมพชู า พ.ศ. ๒๕๓๔ ปฏริ ปู ระบบสาธารณสขุ ภายใต้โครงการสร้างความเข้มแขง็ จดุ ออ่ น ใหร้ ะบบสาธารณสุข (Strengthening Health Systems Project) โดยองค์การ อนามัยโลก (WHO) ระยะแรกในปี พ.ศ.๒๕๓๔- ๒๕๓๗ ระยะทส่ี องในชว่ งปี พ.ศ.๒๕๓๘- ๒๕๔๐ ระยะท่ีสามในชว่ งปี พ.ศ.๒๕๔๑- ๒๕๔๓ วางแผนการใหม้ สี ถานบริการทางการแพทย์ (Clinic) ประจำทุกตำบล และมโี รงพยาบาลประจำตัวอำเภอ ปญั หาของการดำเนินงาน ๑. บคุ ลากรทางการแพทย์ขาดทกั ษะดา้ นวิชาชพี ๒. ความขาดแคลนอุปกรณท์ างการแพทย์ ยารักษาโรค และเครื่องมือในการผ่าตัด

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทว่ั ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมริกา) กมั พชู า พ.ศ. ๒๕๓๖ ตั้งกระทรวงสาธารณสุข (MOH) จดุ อ่อน องค์การอนามยั โลกสนับสนุนจัดตง้ั เครือขา่ ยศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ และโรงพยาบาล ประชาชนกมั พชู ายังรักษาตามคติความเชือ่ แบบดงั้ เดิม และใช้ยาแผนโบราณ โดยมีครเู ขมรพอ่ หมอ หรือแม่หมอ เปน็ ผูท้ ำหน้าทีร่ กั ษาโรค

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่ัวไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมริกา) กมั พูชา ปัจจุบนั มจี ุดมงุ่ หมายตามแผนยทุ ธศาสตร์ด้านสุขภาพ คือ จุดออ่ น การพัฒนาบรกิ ารสุขภาพดา้ นงบประมาณและบคุ ลากร เพอ่ื ประชาชนกัมพชู าจะ ไดร้ ับบริการดา้ นสุขภาพอย่างท่ัวถงึ และเปน็ ธรรม ตามแผนสุขภาพเชิงกลยุทธ์ทมี่ ่งุ เน้น ๓ โปรแกรมสขุ ภาพ ได้แก่ ภาวะเจริญพันธ์ุ มารดาและทารกแรกเกดิ สขุ ภาพเด็ก โรคตดิ ต่อ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา) กัมพูชา จดั ทำแผนพัฒนาสุขภาพแรงงาน ให้ความสำคัญกบั จดุ อ่อน การรกั ษาพยาบาลของผใู้ ช้แรงงาน การสรา้ งหลกั ประกนั สขุ ภาพถว้ นหน้า ปจั จบุ นั คอื การดูแลด้านสขุ ภาพรอบดา้ นและสรา้ งเสรมิ สุขภาวะที่ดี และใหป้ ระชาชนได้รบั บริการด้านสาธารณสุขอย่างท่วั ถงึ และเป็นธรรมดว้ ยบรกิ ารท่ีมีคณุ ภาพเพ่ือสุขภาพ และความ เปน็ อย่ทู ่ีดีข้ึนของประชาชน

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทัว่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) กมั พูชา สถานบรกิ ารทางการแพทยใ์ นกัมพชู า ปจั จุบันแบ่งออกเปน็ ๔ ประเภท จดุ อ่อน ๑) หนว่ ยปฏิบัตกิ ารประจำตำบล (Operational District-OD) เปน็ สถานบรกิ ารทางการแพทย์ ทใ่ี ห้บริการประชาชนในระดบั ตำบลมจี ำนวนทง้ั สน้ิ ๗๗ แห่งท่วั ประเทศ ๒) โรงพยาบาล (Referral Hospital) มขี อบเขตความรับผดิ ชอบครอบคลมุ ประชากร ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐-๒๐๐,๐๐๐ คน มจี ำนวนท้งั สิ้น ๗๔ แหง่ ทว่ั ประเทศ ๓) ศนู ย์อนามยั (Health Center) มีขอบเขตความรบั ผดิ ชอบครอบคลมุ ประมาณ ๘,๐๐๐- ๑๒, ๐๐๐คน มีจำนวนท้งั สนิ้ ๙๕๗แหง่ ทัว่ ประเทศ ๔) สถานอี นามัย (Health Post) มจี ำนวน ๙๕ แห่งทว่ั ประเทศ

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทวั่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมริกา) สงิ คโปร์ จัดต้ังระบบประกันสังคม เพื่อเปน็ สวสั ดิการใหแ้ ก่ประชาชนในการดแู ลสขุ ภาพ จดุ ออ่ น และเปน็ กองทุนสำรองเลี้ยงชพี เม่อื เข้าส่วู ัยสูงอายุ โดยระบบประกันสงั คมของ สงิ คโปรแ์ บ่งออกเปน็ ๓ ระดบั คอื ๑. การใช้บญั ชีออมสุขภาพ (Medisave) ซ่งึ เปน็ ภาคบังคบั ท่ีประชาชนใช้เงนิ ออมในบญั ชีของตนเอง ๒. ระบบประกนั สุขภาพสมัครใจ (Medishield) เปน็ ระบบที่ครอบคลมุ โรคท่ีมคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู โดยจะ สามารถหกั เงนิ จากบญั ชีออมเพ่อื สุขภาพมาซอ้ื ประกันในสว่ นนี้ได้ ๓. ระบบสงั คมสงเคราะห์ (Medifund) เป็นระบบบริการของรฐั บาลในกรณีที่ประชาชนไมม่ เี งินพอ เม่ือเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ จะนำเงินจากบัญชเี งินออมสุขภาพมาจ่ายให้กับโรงพยาบาล ในกรณีที่ เจ็บป่วยดว้ ยโรคค่าใชจ้ า่ ยสูงหากซ้ือประกันแบบสมคั รใจ ประกันสขุ ภาพสมคั รใจกจ็ ะรับผดิ ชอบคา่ ใชจ้ ่ายทัง้ หมด แตห่ ากคา่ รกั ษาพยาบาลสงู มากไมส่ ามารถจา่ ยไดก้ ็จะสามารถขอสงั คมสงเคราะห์ไดต้ ามลำดบั

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) สิงคโปร์ ประเทศทไี่ ด้รับการยกยอ่ งในดา้ นการสาธารณสขุ เน่ืองจากมีความก้าวหน้า จดุ อ่อน เป็นอยา่ งมากโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ระบบประกันสขุ ภาพต่าง ๆ WHO ยกยอ่ งให้เป็นประเทศท่มี กี ารสาธารณสุขเปน็ อนั ดับ ๖ Bloomberg จัดอันดบั ให้ประเทศทม่ี รี ะบบประกนั สุขภาพเป็นอันดับ ๑ ของโลกใน ดา้ นความมปี ระสิทธภิ าพในการดำเนินงานด้านระบบประกนั สุขภาพ ระบบประกันสขุ ภาพของสงิ คโปร์เปน็ ระบบการตั้งกองทุนออมทีผ่ ู้เข้าร่วมต้องจ่ายเงนิ ออมเขา้ กองทุนโดยหักเงนิ ค่าจ้างเขา้ กองทนุ ทีม่ หี ลายกองทุนเป็นหลกั ซึง่ วิธีดงั กล่าวทำใหค้ า่ รกั ษาพยาบาลไมส่ ูงมากนัก

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า)สิงคโปร์ ระบบประกนั สุขภาพในยคุ เรมิ่ ต้นจดุ ออ่ น พ.ศ. ๒๕๒๖ วางแผนการพัฒนาระบบสาธารณสขุ ของประเทศด้วยการประกาศแผนบรหิ าร ประเทศ ๒๐ ปี เป้าหมายของแผน คือ การรักษามาตรฐานระบบสาธารณสขุ ใหอ้ ยใู่ น ระดับสงู เพ่อื เตรียมพรอ้ มรองรบั การเข้าสูส่ งั คมผู้สงู อายุ การดำเนนิ งานจะใช้รปู แบบการ ร่วมมอื กนั ระหว่างรฐั กบั เอกชนโดยรัฐบาลจะมบี ทบาทนำในการประสานงานเพื่อให้เกิดการ จัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสทิ ธภิ าพเริ่มแรกได้จัดสรา้ งโรงพยาบาลชุมชนข้นึ ในโครงการทอี่ ยู่อาศัยใหม่ โดยจะเนน้ ให้ความสำคัญกับการรกั ษาอาการท่วั ไปไมใ่ ช่เฉพาะด้าน จึงไดส้ ร้างโรงพยาบาลสำหรับการรักษาโรคเฉพาะด้านไวต้ า่ งหาก นอกจากน้ีสร้างคลินิกขึ้นในโครงการทอ่ี ย่อู าศัยใหมเ่ พ่ือรักษาโรคทวั่ ไปแบ่งเบาภาระจากโรงพยาบาล และได้เพม่ิ เวลาทำงานชว่ งเยน็ เพอื่รักษาผู้ป่วยนอก และสดุ ท้ายสร้างมาตรฐานกลางในกรณที ี่ให้ผ้ปู ่วยต้องรกั ษาท่โี รงพยาบาล

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทั่วไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมรกิ า)สิงคโปร์ การดำเนินโครงการประกนั สขุ ภาพ โครงการ Medisaveจุดออ่ น เร่มิ ดำเนินการเมือ่ วนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๗ ใช้วิธกี ารบริหารงบประมาณโครงการ ประกันสุขภาพโดยใหล้ กู จ้างเป็นผู้รว่ มจ่ายเงินโดยผ่านกองทนุ ท่ีรฐั บาลได้ตง้ั ข้ึน ต่างจาก ระบบประกันสขุ ภาพของประเทศไทยทใ่ี ชร้ ะบบการต้งั งบประมาณจากภาษีทเ่ี ก็บได้ตอ่ ปี๑.การใชว้ ธิ รี ว่ มจา่ ยเงนิ มขี นึ้ เพ่ือแกไ้ ขปัญหาคา่ ใช้จ่ายในการรกั ษาพยาบาล๒.การดำเนนิ งาน Medisave ใช้วธิ ีแบง่ เงนิ จาก Central Provident Fund (CPF) ซงึ่ เป็นกองทนุ ทลี่ กู จ้างทุกคนต้องจ่ายเงินเขา้ ทุกเดือน เพ่ือใช้เป็นคา่ รกั ษาพยาบาลโครงการฯ จะครอบคลุมค่าใชจ้ ่ายในกรณีที่เป็นผูป้ ว่ ยในรวมถงึ ต้องผ่าตดั และในกรณผี ปู้ ว่ ยนอกจะครอบคลมุในบางกรณี การครอบคลุมรวมถงึ สมาชิกในครอบครวั ดว้ ย และเงินในสว่ นของ Medisave สามารถใชเ้ พ่อื เพิม่ความคุ้มครองในโครงการอ่ืนอกี เช่น Medishield และประสุขภาพของบรษิ ทั เอกชน

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา)สงิ คโปร์ การดำเนนิ โครงการประกันสขุ ภาพ โครงการ MediShieldจุดอ่อน เป็นโครงการเสรมิ ในระบบประกนั สุขภาพ โดยผู้ที่สามารถเข้าร่วมโครงการได้ คือ ประชาชนสงิ คโปร์ และผมู้ ถี ิน่ ที่อยู่ถาวรในสงิ คโปร์ ๑.คมุ้ ครองในกรณีเจบ็ ป่วยโรครา้ ยแรง ๒.ใหส้ ิทธิผปู้ ว่ ยด้วยโรครา้ ยแรงจ่ายคา่ รักษาพยาบาลทเ่ี กดิ ข้นึ เช่น ค่านอนพกั รักษาท่โี รงพยาบาล ในกรณีของผปู้ ว่ ยนอกได้รบั สทิ ธิในค่ารกั ษาพยาบาลการเจบ็ ป่วยท่ีร้ายแรงได้ ๓.การคำนวณเงนิ ทจี่ ะตอ้ งจ่ายเขา้ โครงการจะขนึ้ อยู่กบั อายุของผ้เู ขา้ รว่ ม หากเข้ารว่ มตั้งแต่อายยุ งั นอ้ ยก็จะจา่ ยเงนิ เขา้ ในจำนวนน้อยกวา่ ท้ังน้ี โครงการจะคุ้มครองถึงแค่อายุ ๘๕ ปี

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่ัวไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมริกา)สงิ คโปร์ การดำเนนิ โครงการประกันสุขภาพ โครงการ ElderShieldจุดออ่ น โครงการทีจ่ ดั ทำขึ้นเฉพาะประชาชนในกลมุ่ ผู้สูงอายแุ ละผู้พิการ จะตอ่ ยอดจากโครงการ Medisave โดยผูท้ เี่ ขา้ ร่วม Medisave เมอื่ อายุ ๔๐ ปี จะเขา้ ร่วมโครงการ ElderShield โดยอัตโนมตั ิทง้ั น้ี การทจ่ี ะได้เบ้ยี ยังชีพไดต้ ้องมกี ารประเมนิ วา่ ผูน้ ั้นไม่สามารถทีจ่ ะดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ได้ดว้ ยตวั เดยี วเชน่ ไม่สามารถทานอาหาร อาบนำ้ แตง่ ตวั เปล่ยี นอริ ยิ าบถ เข้าหอ้ งนำ้ เดนิ หรอื เคลื่อนทีไ่ ด้ เม่อื มอี าการดังกลา่ วครบ ๓อาการ ผ้เู ข้ารว่ มจะได้รบั เบยี้ ยงั ชพี เป็นจำนวนเงิน ๔๐๐ดอลลาร์สิงคโปร์ต่อเดือนเปน็ เวลา ๖ ปี

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทวั่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า)สิงคโปร์ การดำเนินโครงการประกนั สุขภาพ โครงการ Medifundจดุ อ่อน วัตถปุ ระสงคเ์ พื่อประชาชนหรอื ผู้มถี ิ่นทอ่ี ยู่ถาวร ผมู้ ีสิทธิตามโครงการได้ คอื ประชาชนทเี่ งนิ ในโครงการ Medisave และ Medishield มไี มเ่ พียงพอท่ีจะจ่ายคา่ รกั ษาพยาบาลได้ โดยการดำเนนิ งานจะใชว้ ิธกี ารจดั ตง้ั เป็นกองทนุ โดยที่รฐั บาลจะเป็นผ้ดู ูแลและจา่ ยเงินเข้ากองทุนเมื่อรัฐบาลจัดทำงบประมาณแบบเกินดลุ การพิจารณาผู้ทจ่ี ะไดร้ บั สิทธจิ ะเป็นการพิจารณารายกรณีโดยMediFund-approved Institutions (MFI)

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทั่วไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมริกา)สงิ คโปร์จดุ ออ่ น เปน็ ประเทศทม่ี รี ะบบประกนั สขุ ภาพประสบความสำเร็จมากทส่ี ดุ ๑. การใชร้ ะบบให้ประชาชนจ่ายเงินเขา้ กองทนุ ฯ ทุก เดอื นและมกี ารวางแผนอย่างเป็นระบบ ๒. มีการวางแผนโครงการทอี่ ยู่อาศัยพรอ้ มกับ โรงพยาบาลทำใหผ้ ้ปู ว่ ยไมต่ อ้ งเดินทางไกลและมกี ารสรา้ ง คลินกิ เพื่อแบ่งเบาภาระของโรงพยาบาล ๓. ระบบสงิ ค์โปรไ์ ด้แบ่งการคุ้มครองเป็นหลายระดบั ทำให้สามารถบริหารเงินได้มีประสิทธิภาพย่งิ ขึน้ ๔. รัฐบาลได้สง่ เสริมใหป้ ระชาชนใช้ชวี ติ ประจำวนั โดย คำนงึ ถงึ สขุ ภาพในอนาคต

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทัว่ ไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยโุ รป อเมรกิ า) มาเลเซยีจุดออ่ น ระบบสุขภาพของประเทศมาเลเซยี แต่ก่อนถูกพัฒนามาเพ่ือตอบสนอง ความตอ้ งการของข้าราชการพลเรือน ละพนกั งานของรัฐ และคอ่ ย ๆ พัฒนา บรกิ ารขยายไปใหบ้ รกิ ารกับประชาชนในเมืองและเขตพืน้ ที่ส่วนใหญ่ หลังจากสงครามโลกครัง้ ทสี่ องไดม้ กี ารพฒั นาจากเดิมโดยใหบ้ รกิ ารแก่ ประชาชนในพืน้ ท่ชี นบทดว้ ย ตอ่ มาได้มกี ารศกึ ษารปู แบบบรกิ ารสุขภาพของประเทศไต้หวนั และมี การพฒั นารูปแบบประกนั สขุ ภาพมาจนถึงปจั จุบนั

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซยี น ยุโรป อเมรกิ า) มาเลเซยีจุดอ่อน รูปแบบระบบประกันของประเทศมาเลเซีย ๑. Employees Provident Fund (EPF) เป็นหลกั ประกนั ดา้ นการเงิน เมื่อเกษยี ณจากการทำงานเมอื่ เจ็บปว่ ย และเดอื ดรอ้ นเรื่องท่อี ยู่อาศัยใชก้ ลไกการบงั คบั ออม (Compulsory savings scheme) และร่วมสมทบโดยนายจ้าง ๒. Social Security Organization (SOCSO) สำหรบั ลูกจา้ งหรือแรงงานทมี่ รี ายได้ตำ่ (ไมเ่ กิน๒,๐๐๐ ริงกติ ต่อเดือน)เปน็ ประกันสงั คมแบบบังคบั ใหผ้ ลประโยชนแ์ กล่ กู จ้างในกรณีเกิดอบุ ัติเหตหุ รือการเจบ็ ปว่ ยหรือพกิ ารอันเนอื่ งมาจากการทำงาน ๓. ประกนั สุขภาพเอกชน สำหรบั ผทู้ ไี่ ม่มีประกนั สุขภาพ สามารถใชบ้ รกิ ารทรี่ ัฐจดั ใหโ้ ดยไมเ่ สียค่าบรกิ าร

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขท่ัวไปบทท่ี ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมรกิ า) มาเลเซยี เป็นแบบพหุลักษณ์ (Pluralistic Health Care Systems) จดุ ออ่ น มีแหลง่ ท่ีมาของการเงินแบบผสม ๔ แหลง่ ๑. ภาษีโดยตรง (Direct Taxation) ๒. การประกันสังคม (Social Insurance) ๓. การประกันสุขภาพสว่ นบคุ คล (Private Health Insurance) ๔.การจ่ายส่วนตัว (Out-of-Pocket Payments)

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ท่วั ไปบทที่ ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบรกิ ารสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า) มาเลเซยี การใหบ้ ริการแบบครอบคลุมทั้งหมดโดยภาครัฐและเอกชน (Universal จุดออ่ น Provision by Public and Private Sectors) เหมอื นประเทศอนื่ ๆ ใน เครือจกั รภพ (Commonwealth) ภาครฐั เนน้ การใหบ้ ริการสาธารณสุขและการป้องกนั โรค รวมท้ังการรกั ษาต้ังแตร่ ะดับปฐมภูมิจนถึงตตยิ ภมู ิ ภาคเอกชนมบี ทบาทในการใหบ้ รกิ ารรักษาทั้งสามระดับ การให้บริการดา้ นการรักษาพยาบาลของรฐั จัดโดยเครอื ข่ายโรงพยาบาลที่สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานตา่ ง ๆ ของรฐั โดยเป็นการให้บริการแบบครอบคลมุ (Comprehensive) ทปี่ ระชาชนโดยท่วั ไปไม่ ต้องจา่ ยคา่ รักษาพยาบาลหรือหากตอ้ งเสยี กจ็ ่ายในราคาทตี่ ำ่ มาก เพราะรฐั ใหก้ ารสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายส่วนใหญ่

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทัว่ ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบริการสุขภาพนานาชาติ (อาเซียน ยุโรป อเมรกิ า)มาเลเซียจุดออ่ น นโยบายด้านสาธารณสขุ มีสังคมแบบพหุลักษณ์ (Plural Society) ประกอบด้วย มาเลย์รอ้ ยละ ๖๐ จีนร้อยละ ๓๐ และอินเดียร้อยละ ๑๐ จากความไม่เทา่ เทียมทางเศรษฐกิจระหว่างชาวจนี และมาเลย์ในช่วงต้น หลังการไดร้ ับเอกราชกอ่ ใหเ้ กดินโยบายเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Policy) เร่ิมตน้ ในชว่ งทศวรรษ 1970 (พ.ศ.๒๕๑๓) มวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ กำจดั ความยากจนและปรับโครงสร้างทางสังคมใหม่ใหม้ กี ารกระจายรายได้ ไม่ใหก้ ลไกทางเศรษฐกจิ อยู่ในการควบคมุ ของชาวจีนเทา่ นน้ั ส่งผลต่อการพฒั นาระบบสาธารณอยา่ งมากในชว่ งสองทศวรรษแรกของการดำเนินงาน มีการพัฒนาธรุ กจิ และอุตสาหกรรมอยา่ งมากทำใหใ้ ห้บรรลเุ ปา้ หมายทางเศรษฐกจิ และสังคมท่กี ำหนดไว้

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสุขทว่ั ไปบทที่ ๒ ระบบการบรกิ ารสขุ ภาพ๔. การพัฒนาระบบการบรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมริกา) มาเลเซยี ทศวรรษ 1990 (พ.ศ.๒๕๓๓) นโยบายการพัฒนาใหม่ (New Development Policy) จดุ ออ่ น วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือใหเ้ กดิ การพัฒนาที่สมดลุ อันจะนำไปสสู่ งั คมทเ่ี ปน็ เอกภาพและเปน็ ธรรม นายกรฐั มนตรีไดก้ ำหนดนโยบายที่เรยี กว่า วิสัยทศั น์ พ.ศ.๒๕๖๓ (Vision 2020) เมื่อเดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๔ ความวา่ \"ในปี พ.ศ.๒๕๖๓ (ค.ศ.2020) มาเลเซียเป็นชาติที่มคี วามพร้อมเพรียงมีความเชอ่ื มน่ั ในสังคมชาว มาเลเซยี ที่มคี วามเหนย่ี วแนน่ โดยความเข้มแขง็ ของศลี ธรรม คุณคา่ จริยธรรมที่ดำรงอยูใ่ นระบบประชาธปิ ไตย เสรีนิยมและความอดทน เอ้ืออาทร เศรษฐกจิ ยตุ ธิ รรม เที่ยงธรรม กา้ วหน้าและเจริญรงุ่ เรอื งมั่งค่ังทางเศรษฐกิจท่ี มกี ารแขง่ ขัน มีความเคลือ่ นไหวมีความแข็งแกร่งและยืดหยุ่น

๕๓๒๒ ๒๑๗ การสาธารณสขุ ทั่วไปบทท่ี ๒ ระบบการบริการสุขภาพ๔. การพฒั นาระบบการบริการสขุ ภาพนานาชาติ (อาเซียน ยโุ รป อเมรกิ า)มาเลเซียจดุ อ่อน กระทรวงสาธารณสุขได้เนน้ การสง่ เสริมแนวคิดสขุ ภาพทีห่ มายถึง ภาวะความสมบูรณท์ ั้ง ร่างกาย จติ ใจ และการดำรงอยู่ในสงั คมอย่างสขุ ซ่งึ โอกาสของการเขา้ สสู่ ภาวะสขุ ภาพนี้ จะตอ้ งได้รบั อย่างเทา่ เทยี มกันในหมพู่ ลเมืองทัง้ หมดของประเทศกลยุทธท์ จ่ี ะทำใหอ้ ุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพ(Health Care Industry) บรรลุตามเปา้ หมายปี พ.ศ.๒๕๖๓ (ค.ศ.2020) คือ การให้ความเป็นอิสระและการแปรรูป (Liberalisation andPrivatisation) รวมทง้ั การใหโ้ อกาสภาคเอกชนเขา้ มามีบทบาท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook