Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา

Published by siwakorn099, 2021-05-23 02:45:48

Description: หลักสูตรสถานศึกษาการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 1

ความเป็นมาของการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ทตี่ ้องการจัดการศึกษา ให้ทั่วถึง และพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้คู่คุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรม รวมถึงการเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ อย่างมีความสุข สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจึงได้ดำเนินการจัดทำ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ขึ้น และกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๑๘ กนั ยายน ๒๕๕๑ แลว้ เพ่อื ให้ใชแ้ ทนหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เป็นไปตามหลักการและปรัชญาการศึกษานอกโรงเรียน นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั พ.ศ.๒๕๕๑ และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกลมุ่ ผเู้ รียนท่ีอย่นู อกระบบ เพือ่ ให้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มสี ตปิ ญั ญา มีศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศกึ ษาตลอดชีวิต ดำรงชีวิตอยู่ ในครอบครัว ชมุ ชน สังคม ได้อยา่ งมีความสขุ โดยสถานศึกษาต้องนำสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีกำหนด ในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไปพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ ของผู้เรียน ชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของสถานศกึ ษานน้ั ๆ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรอิง มาตรฐาน (Standards-based curriculum) คือ เป็นหลกั สูตรท่ีมาตรฐานเป็นเป้าหมายหรือส่ิงที่คาดหวังใน การพฒั นาผู้เรยี น โดยกำหนด โครงสร้าง เนอื้ หา กิจกรรมการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล ทสี่ ะทอ้ นถงึ สิ่งท่ี ต้องการพัฒนาผู้เรียนที่ระบุไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาจะต้องเช่ื อมโยง มาตรฐานการเรียนรู้ ดังนั้น เพื่อให้การใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บรรลุถึงหลักการและจุดหมายที่กำหนดไว้ตามหลักสูตรดังกล่าว รวมทั้งสาระสำคัญที่ กำหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่นำไปสกู่ ารประกาศใชห้ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บริบทของสถานศึกษาซึ่งสถานศึกษาแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันจึงต้องจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตาม สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาจากส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหา ความ ตอ้ งการของผู้เรยี น ชุมชน สังคม นอกจากนี้ หลกั สูตรสถานศกึ ษาต้องคำนึงถึงการเปล่ียนแปลงของโลก เพื่อ เตรยี มคนใหส้ ามารถปรบั ตวั และดำรงชวี ิตอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข หลกั สูตรสถานศึกษา กศน.อาเภอลาทบั –ระดบั ประถมศึกษา 1

การปรับปรุงและเพ่ิมเตมิ หลักเกณฑก์ ารดำเนินงาน ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ.๒๕๖๔ ……………………………………………… ความเปน็ มาและแนวคิด เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนามนุษย์ นานาประเทศ ต่างก็พัฒนาคนในชาติของตนเองผ่านระบบการศึกษาเช่นเดยี วกัน แต่เมื่อเวลาผา่ นไปประเทศประสบปญั หา เช่น ปัญหาความยากจน ปัญหาความแตกต่างกันทางด้านความคิด ปัญหาการใช้ความรุนแรง ปัญหาสังคม เด็กติดเกมส์ สารเสพติด และการพนันต่าง ๆ เป็นต้น ปัญหาดังกล่าวสะท้อนถึงระบบการจัดการศึกษาของ ประเทศวา่ การศกึ ษาได้ทำหน้าทีข่ องการเป็นเครื่องมือในการพฒั นามนุษยไ์ ด้เพียงใด ในอีกด้านหนึ่ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ กำหนดเปา้ หมายให้ปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยเพ่ิมข้นึ เปน็ ๑๒ ปี แต่จากการสำรวจภาวการณ์การมีงานทำ ของประชากร พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า แรงงานไทยอายุระหว่าง ๑๕-๕๙ ปี จำนวน ประมาณ ๒๕.๐๘ ล้านคน จากจำนวนทง้ั สน้ิ ประมาณ ๓๔.๘๕ ลา้ นคน เป็นผู้ที่ยงั ไม่จบการศึกษาข้ันพื้นฐาน จากเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับดังกล่าวกับผลการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับการศึกษาของ ประชาชนในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ เฉพาะประชากรวัยแรงงาน ที่ยังไม่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๒ ปี รัฐบาลยังมี ภาระที่ต้องยกระดับการศึกษาของประชากร อีก ๒๕ ล้านคน ซึ่งเป็นความยากที่จะให้บรรลุเป้าหมายตาม แผน ด้วยเหตุปัจจัยดังกล่าวข้างต้น สะท้อนให้เห็นว่าการศึกษายังไม่สามารถช่วยให้ประชาชน บางส่วนมีความรู้ มีความสามารถและมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นได้ รวมถึงการพัฒนาจิตใจและจิตสำนึกในความ เป็นคนดีได้ และเด็กและเยาชนส่วนหนึ่งต้องออกจากระบบการศึกษาเข้าสู่ตลาดแรงงานทำงานในสถาน ประกอบการทั้งๆท่ีไม่มีทกั ษะฝีมือในการทำงาน และอีกส่วนหน่ึงปฏิเสธระบบการศึกษา ไปอยู่ในสถานทีส่ ่มุ เสย่ี งต่อการสรา้ งปัญหาทางสังคมตามมา สำนักงาน กศน. มีบทบาทในการพัฒนาประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียน จึงหามาตรการ ที่จะทำให้การจัดการศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนามนุษย์ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง และสามารถยกระดับการศึกษา ของแรงงานดังกล่าว เพื่อให้จำนวนประชากรของชาติมีระดับการศึกษาเฉลี่ยสูงขึ้น โดยจะนำหลักการแ ละ แนวคิดในการจดั การศกึ ษานอกระบบมาใชใ้ ห้เป็นรปู ธรรม หลกั การและแนวคิดดังกลา่ วมีดว้ ยกัน ๕ ประการ คอื ๑) หลักความเสมอภาค ๒) หลกั การพฒั นาตนเองและการพึ่งตนเอง ๓) หลักการบรู ณาการกับวถิ ีชวี ติ ๔) หลกั ความสอดคล้อง ๕) หลกั การเรยี นรู้รว่ มกนั และการมสี ว่ นรว่ มของชุมชนสังคม โดยจะปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำเนินงานการศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐานในบางเรื่อง ให้สามารถ ดำเนินการเพื่อยกระดับการศึกษาของประชากรไทยให้ได้ และมุ่งจัดการศึกษาที่ตอบโจทย์ของประชาชน ชุมชนและสังคม ยึดผู้เรียนเป็นเป้าหมาย โดยจะจัดให้มีโปรแกรมการเรียนที่หลากหลาย สอดคล้องกับการ ทำงาน การประกอบอาชพี ของผูเ้ รียนเพ่ือพัฒนาและยกระดับการทำงาน และการประกอบอาชีพของตนเอง หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศึกษา หนา้ 2

หรือตอ่ ยอดการงานอาชีพ ด้วยแนวคิดและความจำเปน็ ดังกล่าว จงึ ปรับปรุงหลกั เกณฑ์การจดั การศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของผู้เรียนและบริบทของชมุ ชน สังคมมากยงิ่ ข้นึ ๒. เพ่ือเรง่ รดั การยกระดบั ปีการศกึ ษาเฉลีย่ ของประชาชน หลกั เกณฑก์ ารดำเนนิ งานทปี่ รบั ปรงุ เพอื่ ให้สามารถจดั การศกึ ษาตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ บรรลุตามหลักการของหลักสูตรมากยิ่งขึ้น จึงปรับปรุงและเพิ่มเติมหลักเกณฑ์การ ดำเนนิ งาน ในเรอื่ งต่าง ๆ ดงั น้ี ๑. โครงสรา้ งหลักสตู ร โครงสร้างหลกั สูตร หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จำนวนหนว่ ยกิต ที่ สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย วิชาบงั คบั วิชาเลือก วชิ าบงั คบั วชิ าเลอื ก วิชาบังคับ วชิ าเลือก ๑ ทกั ษะการเรยี นรู้ ๕ ๕ ๕ ๒ ความร้พู น้ื ฐาน ๑๒ ๑๖ ๒๐ ๓ การประกอบอาชพี ๘ ๘ ๘ ๔ ทักษะการดำเนนิ ชีวิต ๕ ๕ ๕ ๕ การพฒั นาสังคม ๖ ๖ ๖ รวม ๓๖ ๑๒ ๔๐ ๑๖ ๔๔ ๓๒ ๔๘ นก. ๕๖ นก. ๗๖ นก. กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ๒๐๐ ชม. ๒๐๐ ชม. ๒๐๐ ชม. โครงสรา้ งหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ คงใช้ โครงสร้างเดิม แต่จะปรบั รายละเอยี ดภายใน ซง่ึ ไมก่ ระทบต่อมาตรฐานและสาระการเรียนรู้ในหลักสูตร ดงั นี้ 1.1วิชาบงั คับ ๑.๑.๑ ปรับเนือ้ หาบางรายวิชาใหม้ คี วามทันสมัยและทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง ๑.๑.๒ วิเคราะห์เนื้อหาที่ต้องรู้ในรายวิชาบังคับ และจัดทำสื่อเผยแพร่ให้สถานศึกษาและ ผเู้ รยี นนำไปใชใ้ นการเรียน ๑.๒ วชิ าเลอื ก วชิ าเลอื กจะแบง่ เป็น ๒ สว่ น คอื วชิ าเลือกบังคบั และวิชาเลือกเสรี โดยกำหนด สัดส่วนดงั น้ี หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 3

ที่ สาระการเรยี นรู้ ประถมศึกษา จำนวนหน่วยกิต มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เลือกบงั คับ เลือกเสรี มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เลอื กบงั คับ เลอื กเสรี ๑ ทกั ษะการเรยี นรู้ เลอื กบังคับ เลือกเสรี ๒ ความรู้พ้ืนฐาน - - - ๓ การประกอบอาชีพ ๒ ๓ ๓ ๔ ทกั ษะการดำเนินชีวติ - - - ๕ การพัฒนาสังคม ๒ ๓ ๓ - - - รวม ๔๘ ๖ ๑๐ ๖ ๒๖ ๑๒ นก. ๑๖ นก. ๓๒ นก. ๑.๒.๑ วชิ าเลอื กบังคับ เปน็ วชิ าท่พี ัฒนาขน้ึ ตามนโยบายของประเทศ และเพื่อแกป้ ญั หาวิกฤต ของประเทศในเรื่องตา่ งๆ ในช่วงแรก จะพัฒนาจำนวน ๔ วิชา ทั้ง ๓ ระดับ คือ วิชาพลังงานไฟฟ้า การเงิน เพอื่ ชวี ติ ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และ การเรียนรู้สภู้ ัยธรรมชาติ ๑.๒.๒ วิชาเลือกเสรี เปน็ วิชาที่สถานศกึ ษาพฒั นาขนึ้ เอง โดยให้ยดึ หลักการในการพฒั นา คือ ๑) พัฒนาโปรแกรมการเรียน เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางและเป้าหมายทางการเรียน ของผ้เู รยี น สถานศกึ ษาจึงต้องวเิ คราะหค์ วามต้องการ ความจำเป็น และความสนใจของผู้เรยี น เพ่ือออกแบบ โปรแกรมการเรยี น ภายในโปรแกรมการเรียนจะประกอบไปดว้ ยรายวิชาตา่ งๆ ทีผ่ ้เู รียนจะตอ้ งเรยี นรู้ ๒) การพัฒนารายวิชาในโปรแกรมการเรียน สถานศึกษาควรดำเนินการร่วมกับผู้เรียน และภูมิปัญญา ผู้รู้ หรือผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องนั้นๆ จัดทำโปรแกรมการเรียนและพัฒนา รายวชิ าต่างๆ ๒. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ๒.๑ ครู กศน. เป็นผู้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเป็นรายกลุ่มใหญ่ กลุ่ม ย่อย และ รายบุคคล ( Individualized Education Program /Plan) ในขณะเดียวกันครูและผู้เรียนต้อง รว่ มกันในการอภิปราย แลกเปล่ยี นความร้แู ละประสบการณ์และสรปุ ผลการเรยี นรู้รว่ มกัน อนั จะทำให้ได้องค์ ความรูใ้ หมๆ่ ๒.๒ ผู้เรียนใช้วิธีการเรียนรู้หลายวิธีผสมกันทั้งการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบ ทางไกล การพบกลุ่ม การเข้าค่าย การสอนเสริม หรือ การเรียนโดยโครงงาน การเรียนรู้ที่หลากหลายวิธี จะต้องมีแผนการเรียนรู้ โดยครูและผู้เรียนจัดทำสัญญาการเรียนรู้รว่ มกัน และครูจะเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุน และกำกบั ให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเปน็ ไปตามแผนและบรรลเุ ปา้ หมาย ๓. สื่อ ๓.๑ สื่อวชิ าเลอื กบงั คบั กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัดทำ ตน้ ฉบับ ๓.๒ สื่อรายวิชาเลือกเสรี สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรรายวิชาเลือกเสรี แล้วเสนอให้ คณะกรรมการของ สำนักงาน กศน.จังหวดั พิจารณา ตรวจสอบสอดคล้องของรายวิชากับโปรแกรมการเรยี น หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 4

สอดคล้องกบั มาตรฐานของกลุ่มสาระในแตล่ ะระดบั การศึกษา จากน้ัน สำนกั งาน กศน.จึงขอรหัสรายวชิ าเลือกจากระบบ โปรแกรมรายวชิ าเลือก ทั้งนี้ ไมอ่ นุญาตให้พฒั นารายวิชาเลอื กทเ่ี รียนได้ทุกระดับการศึกษา ๓.๓ รูปแบบของสื่อ มี ๒ รูปแบบ คือ แบบชุดวิชาและแบบเรียนปลายเปิดโดยให้ พจิ ารณาตามธรรมชาตขิ องวชิ า ๓.๔ การจัดทำสื่อเสริมการเรียนรู้ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย และศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ร่วมกันผลิตสื่อเสริมการเรียนรูใ้ นเนื้อหาที่ยาก เพื่อเสริมความรู้ ความเข้าใจในการเรยี นรายวชิ าตา่ งๆ ๔. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมนิ ผลจะแบง่ เป็น ๒ ส่วน คือ ๔.๑ วิชาบังคับ สำนักงาน กศน.กำหนดสัดส่วนการวัดผลระหว่างภาคเรียนและปลาย ภาคเรยี น เปน็ ๖๐ : ๔๐ โดยวดั ผลในเน้อื หาทตี่ ้องรู้ และจัดทำ Test Blueprint เฉพาะเนอ้ื หาที่ต้องรู้ Test Blueprint ดงั กลา่ ว จะสอดคลอ้ งกับการสอบ N-net ดว้ ย ๔.๒ วิชาเลือกบงั คบั กำหนดสัดส่วนการวัดผลระหว่างภาคและปลายภาค คือ ๖๐ : ๔๐ โดยกลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบจะเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดทำ Test Blueprint และจัดทำ แบบทดสอบ ทั้งนี้ เพอ่ื ให้การจัดการเรยี นการสอนและการวดั ประเมินผลมีมาตรฐานเดยี วกนั ทัว่ ประเทศ ๔.๓ วิชาเลือกเสรี สถานศึกษาปรับปรุงระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี น โดยเพม่ิ เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล ๕. การเทยี บโอนผลการเรียน สำนกั งาน กศน. มีนโยบายใหด้ ำเนินการเทยี บโอนผลการเรียนโดยใช้วธิ ีการต่าง ๆ คอื 5.1ปรับแนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสูตรต่างๆ ของการศึกษาในระบบให้ สามารถ เทียบโอนเขา้ สกู่ ารศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 5.2พัฒนาเกณฑ์การเทยี บโอนกลุ่มอาชพี เชน่ กลุ่มอาชพี นวดแผนไทย กลมุ่ อาชพี พนกั งาน รักษาความปลอดภัย เป็นต้น 5.3พฒั นาเกณฑก์ ารเทยี บโอนจากหลกั ฐานการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ท่หี น่วยงานต่างๆ เป็นผู้ ประเมิน เชน่ กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรอื กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกีฬา ท่ีมรี ะบบ การประเมินคุณวฒุ วิ ชิ าชีพให้กบั ผู้ประกอบอาชีพ เพื่อมาจัดทำหลักเกณฑ์การเทียบโอนคุณวฒุ ิวชิ าชีพตา่ งๆ เหลา่ นร้ี ว่ มกัน ๖. แผนการลงทะเบียนเรยี น ๔ ภาคเรียน การลงทะเบยี นเรยี นในช่วงแรก สำนกั งาน กศน.กำหนดแผนการลงทะเบียนให้เป็นแนว เดยี วกัน หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หนา้ 5

บรบิ ทพ้ืนฐาน ข้อมูลท่ัวไปของอำเภอลำทบั ทต่ี ั้งและอาณาเขต อำเภอลำทับตง้ั อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับเขตการปกครอง ข้างเคยี งดงั ตอ่ ไปนี้ • ทศิ เหนอื ติดตอ่ กับอำเภอเขาพนม และอำเภอทุ่งใหญ่ (จงั หวัดนครศรธี รรมราช) • ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อกับอำเภอบางขัน (จังหวัดนครศรีธรรมราช) • ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อำเภอบางขัน (จังหวัดนครศรธี รรมราช) อำเภอวงั วิเศษ (จังหวัด ตรัง) และอำเภอคลองท่อม • ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั อำเภอคลองท่อม การปกครองส่วนภมู ิภาค อำเภอลำทบั แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ตำบล 28 หมบู่ า้ น ได้แก่ ท่ี ตำบล จำนวน ๑. ลำทบั (Lam Thap) 10 หมูบ่ ้าน ๒. ดนิ อุดม (Din Udom) 7 หมบู่ า้ น ๓. ทุง่ ไทรทอง (Thung Sai Thong) 5 หมบู่ ้าน ๔. ดนิ แดง (Din Daeng) 6 หม่บู า้ น การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ท้องที่อำเภอลำทบั ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 5 แห่ง ได้แก่ • เทศบาลตำบลลำทับ ครอบคลมุ พื้นที่หมู่ท่ี 5 และบางสว่ นของหมู่ที่ 1–3, 10 ตำบล ลำทบั และบางสว่ นของหมู่ที่ 3 ตำบลทงุ่ ไทรทอง • องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลลำทบั ครอบคลมุ พื้นทต่ี ำบลลำทับ (ยกเวน้ หมู่ที่ 5 และ บางส่วนของหมู่ที่ 1–3, 10) • องค์การบริหารส่วนตำบลดินอุดม ครอบคลุมพื้นท่ตี ำบลดินอุดมท้ังตำบล • องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลทุ่งไทรทอง ครอบคลมุ พื้นทตี่ ำบลทงุ่ ไทรทอง (ยกเว้น บางสว่ นของหมู่ที่ 3) • องค์การบรหิ ารส่วนตำบลดินแดง ครอบคลมุ พื้นที่ตำบลดินแดงทง้ั ตำบล หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 6

ข้อมลู สถานศึกษา ประวตั ิศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอลำทับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ ได้จัดตั้งตามประกา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕37 เป็นสถานศึกษาในระดับอำเภอ อยู่ในความดูแลของ สำนักงานการศึกษานอกโรงเรยี นจังหวดั กระบี่ โดยขึน้ ตรงตอ่ กรมการศึกษานอกโรงเรยี น ในขณะน้ัน และได้ แต่งตั้งให้ นางกัญจนา รักษ์เมือง เป็นผู้บริหารสถานศึกษาคนแรก เมื่อวันที่ ๑1 เมษายน ๒๕๓๗ และ ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๓ กรมการศึกษานอกโรงเรียน (ขณะนั้น) ได้มีคำสั่งแต่งต้ัง นายสุทธิพงษ์ วงษ์สุวรรณ เป็นหัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอลำทับ นางชุติมา ทองสี แก้ว เป็นผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ - กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ นายยงยุทธ์ ไกรมุ่ย เป็นผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อำเภอ ลำทบั กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ - ตลุ าคม ๒๕๕๕ นายสุชาติ ปัจฉิมเพช็ ร ผู้อำนวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคลองท่อม รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ ตุลาคม ๒๕๕๕- สิงหาคม ๒๕๕๖ นายนุ กูลกิจ เดชดำนิล เป็นผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ สิงหาคม 2556 - กนั ยายน 2558 วา่ ทร่ี อ้ ยตรี วุฒิชัย สังข์พงษ์ เป็นผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอลำทับ กันยายน – พฤศจกิ ายน 2558 นายสุชาติ ปัจฉิมเพ็ชร ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคลองท่อม รักษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ พฤศจิกายน 2558 – กุมภาพันธ์ 2562 และ นางสาวไซเราะ จะปะกิยา เป็นผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั อำเภอลำทบั กมุ ภาพนั ธ์ 2562-พฤศจกิ ายน 2563 ปัจจุบัน นางโสภา สมหวัง เป็นผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอลำทับ โดยใช้อาคารห้องสมุดประชาชนอำเภอลำทับ เปน็ สถานท่ีทำงานของศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอลำทับ และเป็นสถานทจี่ ัดกจิ กรรมการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอลำทับให้ สอดคล้องกบั ความต้องการของกลุม่ เป้าหมายและครอบคลมุ ทุกพน้ื ที่เขตอำเภอลำทบั ๒๖ มนี าคม ๒๕๕๑ ไดเ้ ปลีย่ นชื่อสถานศึกษา จากศูนยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรยี นอำเภอ ลำ ทับ เป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ มีชื่อย่อว่า \"กศน.อำเภอลำ ทับ\" ตามพระราชบัญญตั ิสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.๒๕๕ และประกาศ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง บัญชรี ายชอื่ สถานศึกษาฯ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๖๐ ง หนา้ ๑ ลงวันท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๑ และแนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี ๒๓๔ หน้าที่ ๘ และมีอำนาจและหน้าที่ตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศกึ ษา ประกาศในราชกิจจา นเุ บกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๖๐ ง หน้า ๒ และ หน้า ๓ ลงวนั ท่ี ๒๕ มนี าคม ๒๕๕๑ สงั กดั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ สังกัด สำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวัดกระบี่ สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศกึ ษา หน้า 7

บคุ ลากร ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอลำทับ ๑. นางโสภา สมหวงั ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย ๒. นายพรพล พุทธวโิ ร ตำแหน่ง ครูผ้ชู ่วย ๓. นายศิวกร แสงแกว้ ตำแหนง่ ครูอาสาสมคั ร ๔. นายพิชยั ตรกี ลุ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลทุ่งไทรทอง ๕. นายวิชัย จำนงคร์ ัตน์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลดนิ อุดม ๖. นายสุวิทย์ แสงศรี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลลำทับ ๗. นายเสรมิ วทิ ย์ มณโี ชติ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลดินแดง ๘. นางวิรมล ชูโลก ตำแหนง่ ครู ศนู ย์การเรยี นชมุ ชนบ้านลำทบั ๙. นายมนตรี วรนิ ทรเวช ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ๑๐. นางสาวกาญจนา นาวารี ตำแหน่ง พนกั งานบริการ ๑๑. นางสาวสุภาวดี ไชยสน ประธานกรรมการ คณะกรรมการสถานศึกษา กรรมการ ๑. นายทบ นวลสมศรี กรรมการ ๒. นายคมสัน พรหมแสง กรรมการ ๓. นางสาวสุชัญญานมาศ สุขาพนั ธ์ กรรมการ ๔. นายพิศิษฎ์ เป็ดทอง กรรมการ ๕. ร.ต.อ.สมศกั ดิ์ เอง่ ฉว้ น กรรมการ ๖. นายสมนึก ศรีวิเชยี ร กรรมการ ๗. นายอำมรศักดิ์ ศรสี ขุ กรรมการและเลขานุการ ๘. นายสมศักดิ์ เปด็ ทอง ๙. นางโสภา สมหวงั หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 8

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอลำทบั มกี ศน.ตำบล จำนวน 5 แห่ง 1 ศนู ย์การเรียนชุมชน ดงั นี้ ท่ี ชอ่ื สถานทต่ี ้ัง ๑ กศน.ตำบลลำทับ หมทู่ ่ี ๕ บ้านลำทับ ตำบลลำทับ อำเภอลำทับ จงั หวดั กระบี่ ๒ กศน.ตำบลทงุ่ ไทรทอง หมู่ที่ ๓ บ้านทุ่งทับควาย ตำบลทุ่งไทรทอง อำเภอลำทับ จังหวัด กระบ่ี ๓ กศน.ตำบลดินอุดม หมูท่ ี่ ๓ บ้านป่าใหม่ ตำบลดินอุดมอำเภอลำทับ จังหวดั กระบ่ี ๔ กศน.ตำบลดนิ แดง หมทู่ ่ี ๓ บา้ นควนลูกรัง ตำบลดนิ แดง อำเภอลำทบั จงั หวดั กระบี่ ๕ ศนู ย์การเรียนชุมชนบา้ นลำทับ หมู่ท่ี ๕ บ้านลำทบั ตำบลลำทับ อำเภอลำทบั จังหวัดกระบ่ีอำเภอลำ ทบั จังหวดั กระบ่ี ปรัชญา กศน.อำเภอลำทบั “สรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ พัฒนาสูค่ ุณภาพ บนพืน้ ฐานคุณธรรมจรยิ ธรรม” วิสยั ทัศน์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลำทับ จัดกระบวนการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต และการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําที่มีคุณภาพไดทุกที่ทุกเวลาอย่างทั่วถึง และเทาเทียมกัน เพื่อใหเกิด สงั คมฐานความรู การมีอาชพี และการมคี วามสามารถเชงิ การแขงขนั ในประชาคมอาเซียนอยางยง่ั ยืน อตั ลกั ษณ์ “ใฝเ่ รียนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง” เอกลักษณ์ “สถานศกึ ษาพอเพยี ง” พันธกจิ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอลำทบั เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษา ให้แกป่ ระชาชนในอำเภอลำทับโดย ๑. จัดและสงเสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยทม่ี ีคณุ ภาพ พัฒนาอาชีพ คณุ ภาพชวี ิตและสังคม และเตรยี มความพรอมในการเขาสูประชาคมอาเซียน ๒. สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมในการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ของภาคเี ครือขาย ๓. สงเสริมการนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช ในการยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 9

๔. สงเสริมกระบวนการเรยี นรูตลอดชีวิตของชุมชน และการสงเสรมิ บทบาทของภูมปิ ญญาทองถน่ิ ในการจัดการศกึ ษาในรูปแบบตางๆ ๕. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหสามารถดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั เพื่อสงเสรมิ การศึกษาตลอดชวี ิตไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ทิศทางการจดั การศกึ ษานอกระบบขั้นพืน้ ฐาน จากการที่ศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เอกสารประกอบหลักสูตร และข้อมูลความต้องการพัฒนาของจังหวัด อำเภอ ชุมชน จึงนำสิ่งที่ได้ศึกษา เหล่านี้ มาพิจารณากำหนดทิศทางการจัดการศึกษานอกระบบของสถานศึกษา โดยกำหนดโครงสร้าง ทศิ ทางการจดั ศึกษา ไว้ดังนี้ ปรัชญา “คดิ เปน็ ” ปรชั ญา “คิดเป็น” มแี นวคิดภายใต้ความเช่อื ท่ีว่า “คนเราสามารถพัฒนาการคิด การตัดสินใจ ให้มีประสทิ ธิภาพสูงขน้ึ ได้ ด้วยการฝกึ ทกั ษะการใช้ข้อมลู ท่ีหลากหลายทั้งด้านตนเอง สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม และ วิชาการมาวิเคราะห์ เชื่อมโยง สัมพันธ์ สร้างสรรค์ เป็นแนวทาง วิธีการ สำหรับตนเอง แ ล้วประเมินตีค่า ตดั สินใจเพือ่ ตนเอง และชุมชน สังคม ซ่งึ เปน็ ลกั ษณะของคน “คดิ เป็น” หลักการ 1. เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และ การ จัดการเรียนร้โู ดยเน้นการบูรณาการเนื้อหาให้สอดคล้องกับวิถชี ีวิต ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และชุมชน สังคม 2. ส่งเสริมให้มีการเทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยตระหนักว่า ผู้เรียนมคี วามสำคัญ สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ 4. ส่งเสริมใหภ้ าคีเครือข่ายมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา จดุ หมาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนา ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและการ เรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการ จงึ กำหนดจดุ หมายดังตอ่ ไปนี้ 1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทด่ี งี าม และสามารถอยู่ร่วมกันในสงั คมอย่างสันตสิ ุข 2. มีความรู้พนื้ ฐานสำหรบั การดำรงชีวิต และการเรียนรตู้ ่อเนอ่ื ง หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 10

3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพ ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด และตามทันความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง 4. มีทักษะการดำเนินชีวิตที่ดี และสามารถจัดการกับชีวิต ชุมชน สังคม ได้อย่างมี ความสขุ ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. มีความเข้าใจประวัติศาสตร์ชาติไทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ความเป็นพลเมืองดี ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ยึด ม่นั ในวถิ ชี วี ติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข 6. มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษ์ และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 7. เป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ มที กั ษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถึง แหล่งเรียนรู้ และบูรณาการความร้มู าใช้ในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทัว่ ไปทีไ่ มอ่ ย่ใู นระบบโรงเรียน หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศึกษา หนา้ 11

กรอบโครงสรา้ ง ระดบั การศกึ ษา ระดับประถมศกึ ษา สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ประกอบดว้ ย ๕ สาระ ดังนี้ 1. สาระทกั ษะการเรียนรู้ เปน็ สาระเกีย่ วกบั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การใช้แหล่งเรยี นรู้ การจดั การความรู้ การคิดเป็น และการวจิ ยั อยา่ งง่าย 2. สาระความรู้พื้นฐาน เป็นสาระเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเกี่ยวกับการมองเห็นช่องทาง และการตัดสินใจ ประกอบอาชพี ทักษะในอาชีพ การจัดการอาชีพอยา่ งมคี ุณธรรม และการพัฒนาอาชพี ให้ม่นั คง 4. สาระทักษะการดำเนินชีวิต เป็นสาระเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สุขภาพ อนามัยและความปลอดภยั ในการดำเนินชีวิต ศิลปะและสุนทรยี ภาพ 5. สาระการพัฒนาสังคม เป็นสาระที่เกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าที่พลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม มาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนด มาตรฐานการเรยี นรู้ ตามสาระการเรยี นรู้ท้งั ๕ สาระ ทีเ่ ปน็ ขอ้ กำหนดคณุ ภาพของผู้เรยี น ดังน้ี ๑. มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็น มาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละสาระการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนเรียนจบหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ เป็นมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละสาระการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนเรียนจบในแต่ละระดับ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หนา้ 12

➢เวลาเรยี น ในแต่ละระดับใช้เวลาเรียน ๔ ภาคเรียน ยกเว้นกรณีที่มีการเทียบโอนผลการเรียน ผู้เรียนต้อง ลงทะเบียนเรยี นในสถานศึกษาอย่างน้อย ๑ ภาคเรยี น ➢หน่วยกติ ใชเ้ วลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง มคี า่ เทา่ กบั ๑ หน่วยกิต ๑. โครงสรา้ งหลกั สตู ร โครงสรา้ งหลกั สตู ร หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จำนวนหน่วยกติ ท่ี สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา วิชาบังคับ วชิ าเลือก ๑ ทักษะการเรยี นรู้ ๕ ๒ ความรพู้ ้ืนฐาน ๑๒ ๓ การประกอบอาชีพ ๘ ๔ ทกั ษะการดำเนินชีวิต ๕ ๕ การพัฒนาสังคม ๖ รวม ๓๖ ๑๒ ๔๘ นก. กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ๒๐๐ ชม. โครงสรา้ งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คงใช้ โครงสรา้ งเดมิ แต่จะปรับรายละเอยี ดภายใน ซึ่งไมก่ ระทบตอ่ มาตรฐานและสาระการเรียนรูใ้ นหลกั สตู ร ดังนี้ 1.1วิชาบังคบั ๑.๑.๑ ปรับเนอ้ื หาบางรายวิชาให้มคี วามทนั สมัยและทันตอ่ การเปล่ียนแปลง ๑.๑.๒ วิเคราะห์เนื้อหาที่ต้องรู้ในรายวิชาบังคับ และจัดทำสื่อเผยแพร่ให้สถานศึกษาและ ผู้เรยี นนำไปใชใ้ นการเรียน ๑.๒ วิชาเลือก วิชาเลือกจะแบ่งเป็น ๒ ส่วน คอื วชิ าเลือกบงั คับ และวชิ าเลือกเสรี โดยกำหนด สัดสว่ นดังนี้ จำนวนหน่วยกิต ท่ี สาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา เลือกบงั คับ เลือกเสรี ๑ ทกั ษะการเรยี นรู้ - ๒ ความรพู้ น้ื ฐาน ๒ ๓ การประกอบอาชีพ - ๔ ทักษะการดำเนินชวี ติ - ๕ การพฒั นาสังคม 6 รวม 84 ๑๒ นก. หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศึกษา หน้า 13

๑.๒.๑ วิชาเลอื กบังคับ เปน็ วชิ าท่ีพฒั นาขน้ึ ตามนโยบายของประเทศ และเพอ่ื แกป้ ัญหาวกิ ฤต ของประเทศในเรื่องตา่ งๆ ในช่วงแรก จะพัฒนาจำนวน 4 วิชา ทั้ง ๓ ระดับ คือ วิชาพลังงานไฟฟ้า การเงิน เพื่อชีวติ ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย และ การเรยี นรู้สู้ภัยธรรมชาติ ๑.๒.๒ วิชาเลือกเสรี เป็นวชิ าท่ีสถานศกึ ษาพัฒนาข้นึ เอง โดยใหย้ ึดหลกั การในการพฒั นา คือ ๑) พัฒนาโปรแกรมการเรียน เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางและเป้าหมายทางการเรียน ของผู้เรยี น สถานศกึ ษาจงึ ต้องวิเคราะห์ความต้องการ ความจำเปน็ และความสนใจของผเู้ รยี น เพื่อออกแบบ โปรแกรมการเรียน ภายในโปรแกรมการเรยี นจะประกอบไปด้วยรายวิชาต่างๆ ท่ีผูเ้ รียนจะต้องเรยี นรู้ ๒) การพัฒนารายวิชาในโปรแกรมการเรียน สถานศึกษาควรดำเนินการร่วมกับผู้เรียน และภูมิปัญญา ผู้รู้ หรือผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องนั้นๆ จัดทำโปรแกรมการเรียนและพัฒนา รายวิชาต่างๆ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ประกอบด้วยสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. สาระทกั ษะการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย ๕ มาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ ๑.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทด่ี ตี ่อการเรยี นรู้ด้วยตนเอง มาตรฐานท่ี ๑.๒ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีต่อการใช้แหลง่ เรียนรู้ มาตรฐานที่ ๑.๓ มีความร้คู วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทดี่ ตี อ่ การจัดการความรู้ มาตรฐานที่ ๑.๔ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ีดีตอ่ การคิดเป็น มาตรฐานที่ ๑.๕ มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ี่ดีต่อการวจิ ยั อย่างง่าย ๒. สาระความรพู้ ้ืนฐาน ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานที่ ๒.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะพืน้ ฐานเกีย่ วกบั ภาษาและการสือ่ สาร มาตรฐานที่ ๒.๒ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ๓. สาระการประกอบอาชพี ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ ๓.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทางและตัดสินใจ ประกอบอาชพี ไดต้ ามความตอ้ งการ และศักยภาพของตนเอง มาตรฐานท่ี ๓.๒ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพทตี่ ดั สินใจเลือก มาตรฐานท่ี ๓.๓ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการอาชพี อยา่ งมีคุณธรรม มาตรฐานที่ ๓.๔ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการพฒั นาอาชีพใหม้ คี วามมัน่ คง ๔. สาระทกั ษะการดำเนินชีวิต ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ ๔.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดีเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มาตรฐานที่ ๔.๒ มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเจตคติทีด่ เี กี่ยวกับการดูแล ส่งเสรมิ สุขภาพอนามัย และความปลอดภยั ในการดำเนินชีวติ หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศึกษา หน้า 14

มาตรฐานท่ี ๔.๓ มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเจตคติทด่ี ีเกย่ี วกบั ศิลปะและสนุ ทรียภาพ ๕. สาระการพฒั นาสังคม ประกอบด้วย ๔ มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ ๕.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงคว ามสำคัญเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถนำมาปรับใชใ้ นการดำรงชีวติ มาตรฐานที่ ๕.๒ มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรมประเพณี เพ่ือ การอย่รู ว่ มกันอยา่ งสันติสขุ มาตรฐานท่ี ๕.๓ ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธปิ ไตย มจี ิตสาธารณะเพ่ือความสงบสุขของ สงั คม มาตรฐานที่ ๕.๔ มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนา ตนเอง ครอบครวั ชุมชน/สงั คม หมายเหตุ สาระการเรียนรู้ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานที่ ๒.๑ มีความรู้ความเข้าใจทักษะพื้นฐาน เกี่ยวกบั ภาษาและการส่อื สาร ซึ่งภาษาในมาตรฐานนห้ี มายถงึ ภาษาไทย และภาษาตา่ งประเทศ หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศึกษา หนา้ 15

สาระทกั ษะการเรียนรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดผล การ เรียนรู้ที่คาดหวังที่เป็นข้อกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ โดยมีรายละเอียดเป้าหมายการเรียนรู้ในแต่ละระดับ การศึกษา ดังนี้ ระดับประถมศกึ ษา การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง 1. บอกความหมาย วิธีการ และกำหนดวิธีการแสวงหาความรู้ 2. ยอมรบั ตั้งใจร่วมกิจกรรมอย่างเห็นคณุ คา่ 3. ทำตาม ปฏิบตั ิการแสวงหาความรูไ้ ด้อยา่ งถูกต้อง การใช้แหลง่ เรยี นรู้ 1. บอกประเภท คุณลักษณะของแหล่งเรยี นรู้ และเลอื กใช้แหล่งเรยี นรไู้ ดต้ ามความเหมาะสม 2. ใชแ้ หล่งเรียนรู้อย่างเหน็ คุณค่า 3. สงั เกต ทำตามกฎ กติกา และขนั้ ตอนการใช้แหลง่ เรยี นรู้ การจดั การความรู้ ๑. อธิบายความหมาย กระบวนการชมุ ชนปฏิบัติการ กำหนดขอบขา่ ยความรู้จากความสามารถหลัก ของชุมชน และวิธกี ารยกระดับขอบขา่ ยความร้ใู หส้ ูงขนึ้ ๒. รว่ มกันแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และสรปุ ผลการเรียนรูท้ บ่ี ่งชี้ถึงคณุ ค่าของกระบวนการจัดการความรู้ ๓. สามารถสังเกต และทำตามกระบวนการจดั การความร้ชู มุ ชน การคดิ เปน็ ๑. อธิบาย ปรัชญาคิดเปน็ และยกตวั อย่างกระบวนการคดิ เป็น รวมทงั้ ใชก้ ระบวนการคดิ เป็นในการ แก้ปญั หา ๒. ยอมรบั และเหน็ ความสำคัญของกระบวนการคดิ เปน็ ๓. ใช้ขอ้ มลู ด้านตนเอง ดา้ นสังคม สิ่งแวดล้อม และดา้ นวิชาการ วเิ คราะหต์ ัดสินใจแก้ปัญหา การวิจัยอย่างง่าย ๑. อธิบายความหมาย ความสำคัญ และขั้นตอนในการทำวิจัย ค้นหาความรู้ความจริง และใช้ กระบวนการวิจยั ในการแก้ปญั หา หรือส่ิงที่ต้องการรู้ ๒. ยอมรบั และเห็นความสำคัญของกระบวนการวิจัย ๓. ปฏิบตั กิ ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการหาความรูค้ วามจริง มาตรฐานสาระการเรียนรู้ระดบั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง มาตรฐานท่ี ทร ๑.๑ มคี วามรูค้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นรู้ด้วยตนเอง หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศึกษา หนา้ 16

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ๑. อธบิ ายคำจำกัดความของการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง และเขา้ ใจวิธกี ารแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง ๒. เหน็ คุณค่าของกิจกรรมการแสวงหาความรู้ ๓.มีทกั ษะใน การแสวงหาความรู้ มาตรฐานท่ี ทร ๑.๒ มีความรูค้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทดี่ ีต่อการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั รูจ้ กั เหน็ คุณค่า และใชแ้ หล่งเรียนรู้ถูกต้อง ๑. บอกประเภท คุณลกั ษณะของแหล่งเรยี นรู้ใน ชุมชน และเลอื กใชแ้ หลง่ เรียนร้ไู ด้ตามความ เหมาะสม ๒. ใชแ้ หล่งเรยี นร้อู ยา่ งเหน็ คุณคา่ ๓. ทำตามกฎ กตกิ า และขั้นตอนการใช้แหล่งเรียนรู้ มาตรฐานที่ ทร ๑.๓ มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ และเจตคตทิ ด่ี ตี ่อการจัดการความรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั เขา้ ใจความหมายกระบวนการชมุ ชน ปฏบิ ตั กิ าร และ ๑. อธบิ ายความหมาย กระบวนการชุมชนปฏิบัตกิ าร ทำตามกระบวนการจัดการความรชู้ มุ ชน กำหนดขอบเขตความรจู้ ากความสามารถหลักของ ชุมชน และวิธีการยกระดบั ขอบเขตความรู้ให้สงู ขน้ึ ๒. รว่ มกันแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และสรุปผลการเรียนรู้ ทบี่ ง่ ช้ีถงึ คุณคา่ ของกระบวนการจดั การความรู้ ๓. สามารถสงั เกต และทำตามกระบวนการ การจัดการความร้ชู มุ ชน มาตรฐานท่ี ทร ๑.๔ มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทดี่ ีต่อการคิดเปน็ มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรูท้ คี่ าดหวัง สามารถอธบิ ายปรชั ญาคดิ เป็น และกระบวนการ ๑. อธิบาย และเชอ่ื มโยงความเชอื่ พื้นฐานทาง คิดเปน็ ในการแก้ปัญหา การศกึ ษาผู้ใหญ/่ การศึกษานอกระบบ ส่ปู รัชญา คดิ เปน็ ๒. เขา้ ใจความหมายและความสำคัญของปรชั ญา คดิ เปน็ สามารถอธิบายถงึ ขั้นตอนและ กระบวนการแก้ปัญหาของคนคดิ เป็น หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศึกษา หน้า 17

๓. เข้าใจลักษณะของขอ้ มลู ด้านวิชาการ ตนเอง และสงั คม สง่ิ แวดล้อม และสามารถเปรียบเทียบ ความแตกตา่ งของข้อมลู ทั้งสามประการ มาตรฐานท่ี ทร ๑.๕ มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และเจตคตทิ ่ีดตี ่อการวจิ ยั อย่างงา่ ย มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ่คี าดหวัง เขา้ ใจความหมายเหน็ ความสำคัญ และปฏบิ ัติการ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสำคญั และขั้นตอนใน รวบรวมขอ้ มลู วิเคราะห์ขอ้ มูลและสรปุ ผลการหา การทำวิจยั อยา่ งงา่ ย ค้นหาความรคู้ วามจรงิ ความรู้ ความจรงิ ๒. เหน็ ความสำคญั ของการค้นหาความรู้ ความจริง ๓. ปฏบิ ัตกิ ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการหาความรู้ความจริง หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศกึ ษา หน้า 18

คำอธิบายรายวิชาบังคับ สาระทกั ษะการเรียนรู้ (รายวชิ าบังคับ) มาตรฐานท่ี รหสั รายวิชา ระดบั ประถมศกึ ษา หน่วยกติ ทร ๑.๑ – ๑.๕ ทร ๑๑๐๐๑ ช่ือวิชา ๕ ทกั ษะการเรียนรู้ รวม ๕ หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศึกษา หนา้ 19

คำอธบิ ายรายวิชา ทร ๑๑๐๐๑ ทกั ษะการเรียนรู้ จำนวน ๕ หนว่ ยกิต ระดับประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั ๑. ความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ๒. รู้จกั เหน็ คณุ คา่ และใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ถูกต้อง ๓. เข้าใจความหมาย กระบวนการชมุ ชนปฏิบตั ิการและทำตามกระบวนการจัดการความรู้ชุมชน ๔. ความสามารถในการอธิบายปรัชญาคิดเป็น และทักษะในการใช้กระบวนการคิดเป็นใน การ แก้ปญั หา ๕. เขา้ ใจความหมาย เห็นความสำคญั และปฏบิ ตั ิการรวบรวมขอ้ มลู วิเคราะหข์ ้อมลู และสรปุ ผล การ หาความรู้ ความจรงิ ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกย่ี วกับเรอื่ งดังตอ่ ไปนี้ ๑. การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ความหมาย ความสำคญั ของการเรียนรดู้ ้วยตนเอง การกำหนดเป้าหมาย และวางแผนการเรียนรดู้ ้วย ตนเอง โดยคิดริเริ่มการเรียนดว้ ยตนเอง วิเคราะห์ กำหนดเปา้ หมาย หาแหล่งความรู้ กำหนด เลือกใช้วิธีการ เรยี นรู้ การเสรมิ แผนการเรยี นรู้ และการประเมนิ ผลการเรียนของตนเอง ฝกึ ทักษะพนื้ ฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาและเทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้านการอ่าน การฟัง การสงั เกต การจำ และการจดบันทกึ เจตคติ/ปจั จยั ทท่ี ำใหก้ ารเรียนรดู้ ว้ ยตนเองประสบความสำเรจ็ การเปดิ รบั โอกาสการเรยี นรู้ การ คดิ ริเรม่ิ และเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง การสรา้ งแรงจงู ใจ การสร้างวินัยในตนเอง การคดิ เชงิ บวก ความคิดสร้างสรรค์ ความรกั ในการเรยี น การใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี น และความรบั ผิดชอบ ๒. การใช้แหล่งเรียนรู้ ศกึ ษาความหมาย ความสำคัญ ของแหลง่ เรียนรู้ โดยทว่ั ไป เชน่ กลมุ่ บรกิ ารข้อมูล กลุ่มศลิ ปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ กลมุ่ ขอ้ มลู ท้องถิน่ กลุ่มสื่อ กลมุ่ สันทนาการศึกษา สำรวจ แหลง่ เรียนรู้ ภายในชุมชน จัดกล่มุ ประเภท และความสำคญั ศึกษาเรียนรกู้ บั ภูมปิ ญั ญา ปราชญ์ ผรู้ ู้ในท้องถ่ิน การเขา้ ถึงและเลอื กใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ ห้องสมดุ ประชาชน สถานศึกษา และ ศูนย์การเรยี นชมุ ชน (ศรช.) ศึกษาบทบาทหน้าที่และการบริการของแหล่งเรียนรู้ด้านต่าง ๆ กฎ กติกา เงื่อนไขต่าง ๆ ในการไปขอใช้ บริการ ฝกึ ทกั ษะการใชข้ อ้ มลู สารสนเทศจากห้องสมดุ ประชาชนให้สอดคล้องกับความต้องการ ความจำเป็น เพ่ือนำไปใชใ้ นการเรยี นร้ขู องตนเอง ๓. การจดั การความรู้ ศกึ ษาความหมาย ความสำคัญ หลักการของการจดั การความรู้ กระบวนการจดั การความรู้ การ รวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพฒั นาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม การจัดทำสารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้ ฝึกทกั ษะ กระบวนการจัดการความรู้ดว้ ยตนเองและด้วยการรวมกลุ่มปฏบิ ตั ิการ โดยการกำหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ ระบคุ วามรู้ท่ีต้องใช้ การแสวงหาความรู้ สรปุ องค์ความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ แลกเปลยี่ นความรู้ การรวมกลุ่ม หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 20

ปฏบิ ตั ิการเพ่ือตอ่ ยอดความรู้ การพฒั นาขอบขา่ ยความรู้ของกลุ่ม สรุปองคค์ วามรูข้ องกลุ่ม จัดทำสารสนเทศ องค์ความร้ใู นการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ๔. การคดิ เป็น ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ของการคดิ เป็น การรวบรวมสภาพปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวเิ คราะห์ โดยใช้ขอ้ มลู ด้านตนเอง ดา้ นวชิ าการ และด้านสงั คมสิ่งแวดล้อม มากำหนดแนวทาง ทางเลือกท่หี ลากหลายในการแก้ปัญหาอย่างมเี หตุผล มีคณุ ธรรม จริยธรรม และมีความสุข ดา้ นตนเอง เปน็ การพิจารณาข้อมูลของตนเองเกีย่ วกับจุดอ่อน จุดแขง็ ลกั ษณะนิสยั ค่านิยม ความต้องการ ความรู้พืน้ ฐาน ทรพั ยากร สงิ่ แวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี และจารีตประเพณขี องตนเอง ก่อน ตดั สินใจทำส่ิงใด ด้านวิชาการ เป็นความรู้หลกั วิชาการที่มคี นคิดสะสมไวแ้ ลว้ และมคี วามเกี่ยวข้องกบั การแกป้ ญั หา สามารถนำมาพิจารณาประกอบในการแกป้ ัญหาได้ ดา้ นสงั คม ส่งิ แวดล้อม เป็นการพจิ ารณาการกระทำใด ๆ ของตนเองที่จะมผี ลกระทบต่อ คนอนื่ และ สิ่งแวดล้อมอย่างไรบา้ ง ๕. การวิจัยอยา่ งงา่ ย ศึกษา / ฝึกทักษะ ความหมาย ความสำคญั ของ การวจิ ัยอยา่ งง่าย กระบวนการและขนั้ ตอนของ การดำเนนิ งาน ได้แก่ การระบุ / กำหนดปัญหา ท่ีต้องการหาความรู้ ความจรงิ หรือสิ่งต้องการพฒั นา การแสวงหาความรู้จากการศึกษาเอกสาร ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ภมู ิปัญญาท้องถิ่น แหล่งความรู้ ตา่ ง ๆ เพื่อกำหนด แนวคำตอบเบ้ืองต้น การเก็บรวบรวมข้อมลู โดยการ สอบถาม สำรวจ / สมั ภาษณ์ / ทดลอง การนำข้อมูลที่ ได้มาวเิ คราะห์หาคำตอบท่ตี ้องการ การเขียนรายงานสรปุ ผล และการนำความรู้ไปปฏิบัติจรงิ การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ๑. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ควรจัดในลักษณะของการบรู ณาการทักษะตา่ ง ๆ ไปพร้อมกับการสรา้ งสถานการณ์ในการเรยี นรู้อยา่ ง สร้างสรรค์ เพ่ือ ๑) ฝกึ ใหผ้ ู้เรียนไดก้ ำหนดเป้าหมาย และวางแผนการเรียนรู้ ๒) เพิม่ พูนให้มีทกั ษะพน้ื ฐานใน การอา่ น ฟงั สังเกต จำ จดบันทกึ ๓) มีเจตคติทด่ี ตี ่อการเรยี นรดู้ ้วยตนเองที่ทำใหก้ ารเรียนรูด้ ว้ ยตนเองประสบ ผลสำเรจ็ และนำความรไู้ ปใช้ในวถิ ชี ีวติ ใหเ้ หมาะสมกับตนเอง และชุมชน/สงั คม ๒. การใช้แหลง่ เรียนรู้ ต้องให้ผเู้ รียนทุกคนไปศึกษาห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ ทำความเข้าใจบทบาท หนา้ ท่ี กฎ กตกิ า เง่ือนไข การให้บริการ เพื่อใช้ห้องสมุดประชาชนใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการ ความจำเปน็ ในการนำไปใช้ ในการเรยี นรูข้ องตนเอง รวมทง้ั มอบหมายใหผ้ ู้เรยี นไปศกึ ษาจากแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆ เช่นภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ แหลง่ เรยี นรชู้ ุมชน ๓. การจัดการความรู้ ศกึ ษาคน้ ควา้ หลกั การ และกระบวนการของการจดั การความรู้ การฝึกปฏิบัตจิ ริงโดยการรวมกลมุ่ ปฏบิ ัตกิ าร/ชมุ ชนปฏบิ ตั ิการ (Community of practice = Cops) สรปุ องคค์ วามรู้ของกลุม่ และจัดทำ สารสนเทศเผยแพร่ความรู้ หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 21

๔. การคดิ เปน็ ควรจดั ให้ผูเ้ รียนได้ฝึกการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในการแกป้ ญั หาอย่างมีเหตผุ ล และหลกั การทีซ่ บั ซ้อนจากสภาพจรงิ หรือเรื่องเกีย่ วกับชีวิตจริงของตนเอง หรือ สถานการณจ์ รงิ หรือ กรณศี ึกษา ท่ีใช้แกป้ ญั หาและตดั สินใจ อยา่ งมเี หตผุ ล มีคุณธรรม จริยธรรม และมคี วามสุข ๕. การวจิ ยั อย่างง่าย จัดให้ผเู้ รยี นได้ศึกษา ค้นควา้ เอกสารที่เกีย่ วข้อง ฝกึ ทกั ษะการสงั เกตและคน้ หาปัญหาท่ีพบใน ชีวิตประจำวนั / ในสาระที่เรียน การตง้ั คำถาม การแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ ับเพ่ือน / ผู้รู้ การคาดเดาคำตอบอย่าง มเี หตุผล การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารเขียนโครงการวิจัยงา่ ย ๆ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การสรปุ ข้อมูลและเขียนรายงาน ผลอย่างง่าย ๆ การวดั และประเมนิ ผล ๑. การเรียนรูด้ ้วยตนเอง ใช้การประเมนิ จากสภาพจรงิ ของผู้เรยี นท่ีแสดงออกเกยี่ วกับ การกำหนดเปา้ หมาย และวางแผน การ เรยี นรู้ รวมทักษะพื้นฐานและเทคนิคในการเรียนรตู้ ่าง ๆ ตลอดจนปัจจัยทที่ ำใหก้ ารเรยี นรปู้ ระสบ ความสำเร็จ ๒. การใช้แหลง่ เรียนรู้ ข้อมูลจากการนำเสนอ ซึง่ เปน็ ผลจากการศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรูใ้ นรปู แบบต่างๆ เชน่ การเขียน รายงาน การรว่ มกันอภปิ ราย การนำในการพบกลุ่ม เป็นต้น ๓. การจัดการความรู้ จากการสังเกต ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม การให้ความร่วมมือในกลุ่ม ปฏบิ ตั ิการ ผลงาน/ช้นิ งานจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ใชว้ ธิ กี ารประเมินแบบมสี ว่ นรว่ มระหว่างครู ผู้เรียนและ ผู้เกี่ยวข้องร่วมกันประเมินตีค่าความสามารถ ความสำเร็จกับเป้าหมายที่วางไว้ และระบุข้อบกพร่องที่ต้อ ง แกไ้ ข ส่วนที่ทำได้ดแี ล้วกพ็ ฒั นาใหด้ ียง่ิ ขึ้นต่อไป ๔. การคิดเปน็ วดั จากการเก็บรวบรวมข้อมูล การคดิ วเิ คราะห์ การตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาจากข้อมูลตามขอ้ เท็จจริง ๕. การวิจยั อยา่ งง่าย จากการสังเกต ความสนใจ การมีส่วนร่วม ความร่วมมือ จากผลงาน / ชิ้นงานที่มอบหมายให้ฝึก ปฏบิ ัติ ในระหว่างเรียนและการสอบปลายภาคเรยี น หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศึกษา หนา้ 22

คำอธบิ ายรายวชิ าเลอื ก สาระทกั ษะการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ รหัสรายวิชา ระดบั ประถมศกึ ษา หน่วยกติ ๑ ทร13033 รายวชิ า 3 โครงงานพฒั นาทกั ษะการเรยี นร้1ู ๓ รวม หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 23

คำอธิบายรายวชิ า ทร13033 โครงงานพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ 1 สาระทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา จำนวน 3 หน่วยกิต (120 ช่วั โมง) มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ 1. ความสามารถในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 2. รู้จกั เห็นคณุ คา่ และใชแ้ หล่งเรียนรู้ถูกต้อง 3. เขา้ ใจความหมาย กระบวนการชุมชน ปฏบิ ตั ิการและทำตามกระบวนการจดั การความรู้ชมุ ชน 4. ความสามารถในการอธบิ ายปรชั ญาคดิ เป็นและทักษะในการใชก้ ระบวนการคดิ เป็นในการ แก้ปญั หา 5. เข้าใจความหมาย เหน็ ความสำคัญ และปฏิบตั ิการรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ข้อมลู และสรุปผล การหาความรู้ ความจริง ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกีย่ วกบั เร่ืองต่อไปนี้ ความหมาย ความสำคญั หลกั การ และแนวคิดของโครงงาน ประเภทของโครงงาน การเตรียม และจดั ทำโครงงานพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ ทกั ษะและกระบวนการท่จี ำเปน็ ในการทำโครงงาน การ สะท้อนความคดิ เห็นตอ่ โครงงาน การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ 1. วางแผนการเรยี นรู้ 2. ศึกษาเอกสาร หนงั สือ และสอื่ อื่นๆ เชน่ อินเตอรเ์ นต็ แหลง่ เรียนรู้ 3. ศกึ ษา ทดลอง และฝกึ ปฏิบัตจิ ริง 4. ทดลองใช้ บันทึกผลการทดลองใช้ 5. รวมกล่มุ อภิปรายปัญหา และหาแนวทางพัฒนา ติดตามผล และแกไ้ ขปัญหารว่ มกนั การวดั และประเมินผล ใชก้ ารประเมินจกรายงาน ขึน้ งน ผลงานและการมีสว่ นร่วมในกระบวนการทำโครงงาน หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 24

สาระความรู้พ้ืนฐาน วชิ าภาษาไทย สาระความรพู้ ื้นฐาน เป็นสาระเกีย่ วกับภาษาและการสือ่ สาร คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ ๒.๑ มคี วามรูค้ วามเข้าใจ และทักษะพน้ื ฐานเกยี่ วกบั ภาษาและการสือ่ สาร มาตรฐานที่ ๒.๒มคี วามรู้ความเข้าใจ และทกั ษะพื้นฐานเก่ียวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วชิ าภาษาไทย เป้าหมายการเรยี นรู้ ๑. เข้าใจความสำคัญ และจุดมุ่งหมาย การฟัง การสังเกต การอ่าน พูด เขียน จับประเด็นและ การถ่ายทอดประสบการณ์ ๒. ยอมรบั และเห็นคุณคา่ การใช้ภาษาไทยและวรรณคดี วรรณกรรมท้องถน่ิ ๓. มีทกั ษะในการส่ือสาร ตามหลักการใชภ้ าษาไทย ท่ใี ชใ้ นชวี ิตประจำวัน มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง มาตรฐานท่ี ๒.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะพ้นื ฐานเก่ียวกับภาษาและการส่ือสาร ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั การฟงั การดู ๑. เหน็ ความสำคญั ของการฟัง และดู ๑. ร้แู ละเขา้ ใจหลักการ ความสำคัญและจุดมงุ่ หมายของ ๒. สามารถจับใจความ และสรปุ ความจากเรื่องที่ฟังและ การฟังและดู ดู ๒. จบั ใจความสำคญั และสรุปความจากเรื่องที่ฟงั และดู ๓. มีมารยาทในการฟัง และดู ๓. ปฏิบัติตนเปน็ ผูม้ ีมารยาทในการฟังและดู การพดู ๑. เข้าใจความสำคัญ และลักษณะการพดู ท่ีดี ๑. เหน็ ความสำคญั และลักษณะการพูดทีด่ ี ๒. พดู แสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ กึ ได้อยา่ งเหมาะสม ๒. สามารถพูดแสดงความรู้ ความคดิ ความรสู้ กึ ใน ๓. ปฏิบตั ติ นเป็นผมู้ ีมารยาทในการพูด โอกาสต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม หนา้ 25 ๓. มมี ารยาทในการพดู การอ่าน หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศึกษา

๑. เห็นความสำคญั ของการอ่าน ท้งั การอ่านออกเสียง ๑. เข้าใจความสำคัญ หลกั การ และจุดมุ่งหมายของ และอา่ นในใจ การอ่านทงั้ อ่านออกเสยี งและอา่ นในใจ ๒. สามารถอา่ นได้อยา่ งถกู ต้อง และอ่านได้เร็ว เข้าใจ ๒. อา่ นออกเสยี งคำ ขอ้ ความ บทสนทนา เรอื่ งสัน้ ความหมายของถ้อยคำ ข้อความ เนอ้ื เรอ่ื งทีอ่ ่าน บทรอ้ ยกรอง และบทร้องเลน่ บทกล่อมเดก็ ๓. มมี ารยาทในการอา่ นและนสิ ยั รักการอา่ น ๓. อธิบายความหมายของคำและข้อความทอี่ ่าน ๔. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผ้มู ีมารยาทในการอ่านและมีนิสัยรกั การอา่ น การเขียน ๑. เหน็ ความสำคัญของ การเขียนและประโยชน์ของ ๑. เข้าใจหลกั การเขียน และเหน็ ความสำคญั ของการเขยี น การคดั ลายมือ ๒. รจู้ กั อกั ษรไทย เขียนสะกดคำ และรู้ความหมายของคำ ๒. สามารถเขียนคำ คำคลอ้ งจอง ประโยค และเขียน คำคล้องจอง และประโยค บนั ทึกเรื่องราว สือ่ สาร เหตุการณ์ในชีวิตประจำวันได้ ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ๓. มีมารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน ๓. เขียนสื่อสารในชีวิตประจำวัน จดบนั ทึก โดยใช้คำ ถูกต้อง ชัดเจน ๔. เขยี นเรยี งความ ย่อความ จดหมาย ไดต้ ามรูปแบบ ๕. เขยี นรายงาน การค้นควา้ สามารถอ้างองิ แหล่ง ความรู้ ๖. กรอกแบบรายการต่าง ๆ ๗. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผ้มู ีมารยาทในการเขียนและมีการจด บนั ทกึ อย่างสม่ำเสมอ หลักการใชภ้ าษา ๑. สามารถสะกดคำ โดยนำเสยี งและรปู อักษรไทย ๑. อธิบายการใช้เสยี ง และรปู อกั ษรไทย อกั ษร ๓ หมู่ ประสมเป็นคำอา่ นและเขยี นไดถ้ กู ต้องตามหลกั การ และการผันวรรณยุกต์ได้ ใช้ภาษา ๒. อธิบายเกยี่ วกับคำ การสะกดคำ พยางค์ และประโยคได้ ๒. สามารถใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอนได้ถูกตอ้ งและ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม ๓. ใช้เคร่ืองหมายวรรคตอนและอกั ษรย่อได้ถูกต้อง ๓. เขา้ ใจลกั ษณะของคำไทย คำภาษาถิ่น และ คำภาษา ๔. บอกประโยชน์การใชพ้ จนานุกรม ต่างประเทศที่ใช้ ในภาษาไทย ๕. บอกความหมายของสำนวน คำพังเพย สุภาษิต คำราชาศพั ท์ คำสภุ าพ และนำไปใช้ได้ถกู ต้อง เหมาะสม หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศึกษา หน้า 26

๖. บอกลักษณะคำไทย คำภาษาถิ่น และคำ ภาษาตา่ งประเทศทม่ี ี ใชใ้ นภาษาไทย วรรณคดี วรรณกรรม ๑. อธบิ ายถงึ ประโยชน์ และคณุ ค่าของนทิ าน ๑. สามารถค้นคว้าเรื่องราว ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของ นทิ านพน้ื บ้าน วรรณกรรมและวรรณกรรมในองถ่นิ นทิ าน นิทานพ้นื บ้าน วรรณกรรมและวรรณกรรม ท้องถ่ิน หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศกึ ษา หนา้ 27

คำอธบิ ายรายวิชาบังคบั สาระความรพู้ ืน้ ฐาน วิชาภาษาไทย มาตรฐานที่ รหสั รายวิชา ระดับประถมศึกษา หน่วยกิต ๒.๑ พท ๑๑๐๐๑ รายวชิ า ๓ ภาษาไทย ๓ รวม คำอธบิ ายรายวชิ า พท๑๑๐๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๓ หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานท่ี ๒.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพ้นื ฐานเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร การฟงั การดู ๑. เห็นความสำคญั ของการฟัง และดู ๒. สามารถจับใจความ และสรปุ ความจากเร่ืองท่ีฟังและดู ๓. มมี ารยาทในการฟงั และดู การพูด ๑. เห็นความสำคญั และลักษณะการพดู ทดี่ ี ๒. สามารถพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ ึกในโอกาสต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓. มีมารยาทใน การพูด การอ่าน ๑. เห็นความสำคัญของการอ่าน ท้ังการอา่ นออกเสยี งและอา่ นในใจ ๒. สามารถอา่ นได้อยา่ งถูกต้อง และอา่ นได้เร็ว เข้าใจความหมายของถอ้ ยคำ ขอ้ ความ เนอ้ื เรือ่ งที่อา่ น ๓. มมี ารยาทในการอ่านและนสิ ัยรกั การอ่าน การเขยี น ๑. เหน็ ความสำคัญของ การเขยี นและประโยชน์ของการคัดลายมอื ๒. สามารถเขียนคำ คำคล้องจอง ประโยค และเขียนบนั ทึกเรื่องราว ส่อื สาร เหตุการณ์ ในชวี ิตประจำวันได้ ๓. มมี ารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรกั การเขียน หลักการใช้ภาษา ๑. สามารถสะกดคำ โดยนำเสยี งและรปู อักษรไทยประสมเป็นคำอ่านและเขยี นได้ถกู ต้อง ตามหลักการใช้ภาษา ๒. สามารถใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอนได้ถูกต้องและเหมาะสม หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศกึ ษา หนา้ 28

๓. เขา้ ใจลักษณะของคำไทย คำภาษาถิ่น และ คำภาษา ต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย วรรณคดี วรรณกรรม ๑. สามารถค้นคว้าเรื่องราว ประโยชน์และคุณค่าของนิทาน นิทานพื้นบ้าน วรรณกรรมและ วรรณกรรมท้องถิ่น ศึกษาและฝกึ ทักษะเกย่ี วกับเรอื่ งดังต่อไปน้ี การฟัง การดู หลกั การ ความสำคัญ จดุ มุ่งหมาย การสรุปความ และมารยาทของการฟังและดู การพูด ความสำคัญ ลกั ษณะการพูดท่ีดี และมารยาทในการพดู การอ่าน หลักการ ความสำคญั จดุ มุง่ หมาย ของการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ บทรอ้ ยแกว้ บทรอ้ ยกรองและ มารยาทของการอ่าน การเขยี น หลักการ ความสำคัญของการเขียน การคัดลายมือ การเขียนสื่อสารในชีวิตประจำวันด้วยวิธีการ เขียนประเภทตา่ งๆ และการกรอกแบบรายการต่างๆ ตลอดจนมีมารยาทในการเขียน หลักการใชภ้ าษา การใช้เสียงและรปู อักษรไทย อักษร ๓ หมู่ การผนั วรรณยุกต์ ความหมายของคำ คำไทย คำภาษาถิ่น คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย การสะกดคำ พยางค์และประโยค การใช้เครื่องหมาย วรรคตอน พจนานกุ รม และความหมายของสำนวน คำพงั เพย สุภาษิต คำราชาศพั ท์ คำสุภาพ วรรณคดี และวรรณกรรม ประโยชน์และคุณค่าของนทิ าน นิทานพน้ื ฐาน และวรรณกรรมในท้องถนิ่ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริงเป็น รายบุคคลหรือใชก้ ระบวนการกลุม่ เกี่ยวกับทักษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขียน และหลักการใช้ ภาษา การวัดและประเมินผล การสงั เกต การฝกึ ปฏบิ ตั ิ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมินชน้ิ งานในแตล่ ะกจิ กรรม หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 29

ภาษาตา่ งประเทศ เป้าหมายการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดมาตรฐาน การเรียนรู้ตามสาระความรู้พื้นฐาน วิชาภาษาต่างประเทศ ที่เป็นข้อกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ โดยมี รายละเอยี ดเปา้ หมายการเรียนรวู้ ิชาภาษาตา่ งประเทศในแต่ละระดบั การศึกษา ดังนี้ ระดับประถมศกึ ษา 1. เขา้ ใจ เกยี่ วกับการฟงั พูด อ่าน เขยี น เพ่ือการสอ่ื สารในชีวิตประจำวนั 2. ยอมรบั และเห็นคุณคา่ ภาษาต่างประเทศเพอื่ การส่อื สารในชีวิตประจำวนั 3. มีทกั ษะท่ีถูกต้องในการสื่อสารตามหลักภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง มาตรฐานที่ ๒.๑ มคี วามรู้ความเขา้ ใจ และทักษะพืน้ ฐานเกีย่ วกบั ภาษาและการสื่อสาร มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวัง มีความร้คู วามเขา้ ใจ ทักษะและเจตคติ เกีย่ วกับการ ๑. เขา้ ใจเกย่ี วกบั การฟงั พูด อา่ น เขียน เพอ่ื การ ฟัง พดู อา่ น เขยี น ภาษาต่างประเทศ เพ่อื การ สอ่ื สารในชวี ิตประจำวัน สอ่ื สารในชีวิตประจำวนั ได้ถูกตอ้ งตามหลักภาษาและ ๒. ยอมรบั และเห็นคุณค่าภาษาต่างประเทศ เพอ่ื วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา การสอ่ื สารในชีวิตประจำวนั ๓. มีทกั ษะทถ่ี ูกตอ้ งในการสื่อสารตามหลักภาษาและ วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา คำอธบิ ายรายวิชาบังคบั หนา้ 30 หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศึกษา

สาระความรู้พนื้ ฐาน (ภาษาต่างประเทศ) มาตรฐาน รหสั รายวิชา ระดับประถมศกึ ษา หนว่ ยกติ ท่ี พต ๑๑๐๐๑ รายวิชา ๓ ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน ๓ พต ๒.๑ รวม หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 31

คำอธิบายรายวิชา พต ๑๑๐๐๑ ภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน จำนวน ๓ หนว่ ยกติ ระดับประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติเกี่ยวกับ การฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาต่างประเทศ เพื่อ การส่อื สารในชวี ิตประจำวนั ไดถ้ กู ต้องตามหลักภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ศกึ ษาและฝึกทักษะเก่ียวกับเรื่องดังตอ่ ไปนี้ ๑. วิธีการทกั ทาย (Greeting) การแนะนำ (Introduction) ตวั เองและผอู้ ่ืน และการกล่าวลา (Leave Taking) รวมทั้งการตอบรับทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการที่ถูกต้องตามหลักภาษาและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ๒. การอา่ น เขยี น และออกเสียงพยญั ชนะ สระ และการประสมคำภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง การใช้จำนวน นบั ลำดับที่ และการใชค้ ำศพั ท์ รวมทัง้ สัญลักษณต์ ่าง ๆ ท่ีพบในชีวติ ประจำวนั โดยท่ัวไป ๓. การใช้ประโยคขอร้อง คำสั่ง และขอโทษที่ถูกต้องตามกาลเทศะ โครงสร้างของประโยคความเดยี ว ( Simple Sentence) ใ น Present Simple Tense, Present Continuous Tense แ ล ะ Future Simple Tense การใช้ประโยคคำถามและคำตอบงา่ ย ๆ รวมท้งั การใช้คำสรรพนาม คำบุพบท และคำคณุ ศัพทพ์ ืน้ ฐาน การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ๑. ฝึกฟงั พูด อา่ น เขยี นในการทักทาย แนะนำ และ กล่าวลา ทส่ี ามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ ๒. ฝึกฟงั พดู อ่าน เขยี น ให้ถกู ต้องและเหมาะสมกบั สถานการณ์ ๓. ฝกึ การใช้ประโยคต่าง ๆ คำสรรพนาม คำบุพบท และคำคณุ ศัพท์ได้สอดคลอ้ งกบั ชวี ิตประจำวนั และการประกอบอาชพี การวัดและประเมินผล ๑. ตรวจสอบดว้ ยวิธีการท่ีเหมาะสมและแสดงให้เหน็ ว่าสามารถนำไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้ ๒. ตรวจสอบการอ่านคำศัพท์ จำนวนนับ ลำดับที่ และสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง และอธิบายความหมาย ของคำศัพท์ จำนวนนบั ลำดบั ที่ และสัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ๓. ตรวจสอบการใช้ประโยค คำสรรพนาม คำบพุ บท และคำคณุ ศัพท์ใหถ้ กู ต้องตามสถานการณ์ หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศึกษา หนา้ 32

วชิ าคณติ ศาสตร์ สาระความรพู้ ้นื ฐาน เป็นสาระเกีย่ วกบั ภาษาและการสอ่ื สาร คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ๒.๑ มคี วามรูค้ วามเข้าใจ และทกั ษะพืน้ ฐานเก่ียวกับภาษาและการสอ่ื สาร มาตรฐานที่ ๒.๒มีความรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะพืน้ ฐานเกย่ี วกับคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี เปา้ หมายการเรยี นรู้ 1. อธิบายความคิด กระบวนการ และเหตุผลคณิตศาสตร์ เพื่อนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน 2. เหน็ คุณค่าของการคดิ อยา่ งมรี ะบบ มรี ะเบียบและเปน็ รากฐานของวทิ ยาการหลายๆสาขา 3. ฝึกทักษะการคดิ กระบวนการและเหตุผลตามแบบฝึกได้ มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวงั มาตรฐานที่ ๒.๒ มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั คณติ ศาสตร์ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั จำนวนและตัวเลข ๑. ระบุหรอื ยกตัวอยา่ งเก่ยี วกบั จำนวนและ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละการวดั เรขาคณิต การดำเนินการ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ สถิตแิ ละความน่าจะเปน็ เบื้องตน้ การวัด เรขาคณิต สถติ ิ และความนา่ จะเปน็ เบ้ืองตน้ ได้ ๒. สามารถคิดคำนวณและแก้โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั จำนวนนบั เศษสว่ น ทศนยิ ม ร้อยละ การวัด เรขาคณิตได้ หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศึกษา หนา้ 33

คำอธิบายรายวชิ าบังคับ สาระความรู้พื้นฐาน (คณิตศาสตร)์ มาตรฐานท่ี รหัสวชิ า ระดบั ประถมศึกษา หน่วยกติ ๒.๒ พค ๑๑๐๐๑ รายวิชา ๓ คณิตศาสตร์ ๓ รวม หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศกึ ษา หนา้ 34

คำอธิบายรายวชิ า พค๑๑๐๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๓ หนว่ ยกิต ระดับประถมศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๒.๒ มีความรูค้ วามเข้าใจ และทกั ษะพืน้ ฐานเกีย่ วกบั คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับจำนวนและการดำเนนิ การ เศษสว่ น ทศนิยม และร้อยละ การวดั เรขาคณติ สถิติและความนา่ จะเปน็ เบ้ืองตน้ ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกย่ี วกับเรอ่ื งดังตอ่ ไปนี้ จำนวนและการดำเนนิ การ การอา่ นและเขียนตวั เลขแทนจำนวน การเขียนในรูปการกระจาย การเปรียบเทยี บจำนวน การเรยี งลำดบั การประมาณค่า สมบัตขิ องจำนวน การบวก ลบ คูณ หาร การ แกโ้ จทยป์ ัญหาตามสถานการณ์และตวั ประกอบของจำนวนนบั เศษส่วน การอา่ นและเขียนเศษสว่ น การเปรียบเทียบเศษส่วน การบวก ลบ คูณ หาร และการแก้ โจทยป์ ญั หาตามสถานการณ์ ทศนยิ ม การอา่ นและเขยี นทศนิยม การเขยี นในรปู การกระจาย การเปรียบเทียบทศนยิ ม การเรยี ง ลำดับ การประมาณค่า ความสัมพันธร์ ะหว่างทศนิยมกับเศษสว่ น การบวก ลบ คูณ หาร และการแกโ้ จทย์ปญั หาตาม สถานการณ์ ร้อยละ ความหมายของร้อยละและการใชส้ ญั ลกั ษณเ์ ปอร์เซ็นต์ (%) ความสัมพันธ์ระหว่าง เศษสว่ น ทศนิยม และรอ้ ยละ โจทยป์ ญั หา การคูณ หาร (บัญญัติไตรยางศ)์ และการประยกุ ต์ การวัด การวัดความยาวและระยะทาง การช่งั การตวง การหาพ้นื ที่ ปรมิ าตรและความจุ ทศิ และ แผนผัง เงนิ เวลา อุณหภูมิ การคาดคะเน ทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจำวนั เรขาคณติ ชนิดของรปู เรขาคณติ สามมิติ ลกู บาศก์ การประดษิ ฐ์รูปเรขาคณติ สองมติ ิหรอื สามมติ ิ สถิติ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การจำแนกข้อมูลโดยการสงั เกตและการสำรวจ การอา่ นและเขียน แผนภูมิรปู ภาพ แผนภูมิแทง่ เปรยี บเทียบกราฟเสน้ และแผนภูมริ ูปวงกลม ความนา่ จะเป็นเบื้องตน้ โอกาสและเหตกุ ารณ์ท่จี ะเกิดขนึ้ แนน่ อนหรืออาจจะเกิดข้ึน หรอื อาจจะไม่ เกดิ ข้นึ หรือเปน็ ไปไม่ได้ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จดั ประสบการณ์หรอื สถานการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั ใหผ้ ูเ้ รียนได้ศึกษาคน้ คว้า โดยการปฏบิ ัติจริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคดิ คำนวณ การแกป้ ัญหา การใหเ้ หตุผล การสือ่ ความหมาย ทางคณิตศาสตร์และนำประสบการณด์ า้ นความรู้ ความคดิ ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่งิ ตา่ งๆ และใชใ้ นชวี ติ ประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทงั้ เห็นคณุ คา่ และมีเจตคตทิ ่ดี ีต่อคณติ ศาสตร์ สามารถทำงานอยา่ ง เป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมคี วามเชือ่ มั่นในตนเอง การวัดและประเมินผล ใชว้ ธิ ีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจรงิ ใหส้ อดคล้องกบั เนอ้ื หาและทักษะท่ีต้องการวัด หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 35

วชิ าวทิ ยาศาสตร์ สาระความรพู้ ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ สาระความรู้พ้ืนฐาน เป็นสาระเก่ียวกับภาษาและการส่อื สาร คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ ๒.๑ มีความร้คู วามเขา้ ใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกบั ภาษาและการส่ือสาร มาตรฐานที่ ๒.๒ มคี วามรูค้ วามเข้าใจ และทกั ษะพื้นฐานเก่ยี วกบั คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. เขา้ ใจกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยสี ิ่งมีชีวิตและส่งิ แวดล้อม สารเพื่อชีวิต แรงและ พลงั งานเพื่อชวี ิต ดาราศาสตร์เพื่อชวี ิต ๒. ยอมรับและเหน็ คุณค่าของกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในการดำเนนิ ชีวติ ๓. มีความสามารถตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการตดั สินใจนำความรไู้ ปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวัง มาตรฐานที่ ๒.๒ มคี วามรู้ความเขา้ ใจและทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มคี วามรู้ ความเข้าใจและเห็นคุณคา่ เกยี่ วกับ ๑. ใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ใน กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สง่ิ มชี วี ิต การดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ระบบนิเวศทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ในชมุ ชน ๒. จำแนกส่ิงมีชีวิตในแหลง่ ท่ีอยู่ อธบิ ายความสัมพนั ธ์ และท้องถิน่ สาร แรง พลังงาน กระบวนการ ของกล่มุ ส่ิงมีชวี ิตในระบบนิเวศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง เปลี่ยนแปลงของโลก และดาราศาสตร์ สภาพแวดลอ้ มกบั การดำรงชีวิตของส่ิงมชี วี ติ ในชุมชน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์และนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการ และท้องถิ่น ดำเนินชวี ิต ๓.อธิบายความหมายประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ การใชแ้ ละการดแู ลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ มในชุมชนและทอ้ งถนิ่ ได้ ๔.อธิบายเก่ยี วกับปรากฏการณท์ างธรรมชาติ และ การพยากรณ์ทางอากาศ หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศึกษา หน้า 36

๕. อธบิ ายเกยี่ วกบั สมบตั ิของสาร การแยกสารใน ชวี ติ ประจำวันและการเลือกใชส้ ารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย ๖. อธิบายเก่ียวกับประเภทของแรง ผลที่เกิดจากการ กระทำของแรง ความดนั แรงลอยตวั แรงดงึ ดูดของโลก แรงเสยี ดทาน และการนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ๗. อธิบายเกยี่ วกบั พลงั งานในชีวติ ประจำวนั ๘. อธบิ าย ความสัมพนั ธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทรไ์ ด้ หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 37

รายวิชาบังคบั สาระความรู้พ้ืนฐาน (วิทยาศาสตร์) มาตรฐานท่ี ประถมศกึ ษา ๒.๒ รหัสรายวชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต ๓ พว ๑๑๐๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓ รวม หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 38

คำอธบิ ายรายวิชา พว๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จำนวน ๓ หน่วยกิต ระดบั ประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในชุมชนและท้องถิ่น สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก และดารา ศาสตร์ มจี ิตวิทยาศาสตรแ์ ละนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในการดำเนินชวี ิต ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเกยี่ วกับเรอ่ื งต่อไปนี้ 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2. สง่ิ มีชีวิตและส่งิ แวดล้อม สิ่งมีชวี ิต ระบบนเิ วศ ทรพั ยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ มและการอนรุ กั ษ์ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ 3. สารเพ่อื ชวี ิต สมบัติของสาร การแยกสาร สารในชีวิตประจำวัน การเลือกซื้อและการเลือกใช้ได้อย่าง ถกู ต้องเหมาะสมและปลอดภัย 4. แรงและพลังงานเพ่อื ชีวิต แรงและการเคล่ือนท่ีของแรง พลังงานในชวี ติ ประจำวนั และการอนรุ ักษพ์ ลังงาน 5. ดาราศาสตร์เพือ่ ชวี ติ ความสมั พนั ธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ เพื่อให้ผูเ้ รียนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคดิ และทักษะ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ นำความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ให้ผู้เรียน ศึกษา ค้นคว้า สำรวจ ตรวจสอบ ทดลอง จำแนก อธิบาย อภิปราย นำเสนอด้วยการ จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการพบกลุ่ม การสอนเสริม การเรียนรู้ด้วยตนเอง การรายงาน การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์ตรงโดยใชส้ ถานการณจ์ รงิ ปรากฏการณธ์ รรมชาติ และประสบการณจ์ ากผเู้ รียน การวัดและประเมนิ ผล ประเมินจากการสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบัติ รายงานการทดลอง การมี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมนิ การนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศึกษา หน้า 39

คำอธบิ ายรายวิชาเลือกบังคบั สาระความรพู้ ้นื ฐาน (วทิ ยาศาสตร์) มาตรฐานที่ ระดบั ประถมศกึ ษา รหัสรายวิชา รายวชิ า หน่วยกติ ๒ ๑ พว ๑๒๐๑๐ การใช้พลังงานไฟฟ้าในชวี ิตประจำวัน ๑ ๒ รวม หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศึกษา หน้า 40

คำอธบิ ายรายวชิ า พว๑๒๐๑๐ การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในชีวิตประจำวนั ๑ จำนวน ๒ หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเห็นคณุ ค่าเกีย่ วกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งมชี วี ติ ระบบนิเวศ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ในท้องถน่ิ สาร แรง พลงั งาน กระบวนการเปล่ียนแปลงของ โลกและดาราศาสตร์ มจี ิตวิทยาศาสตร์และนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดำเนินชีวติ ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกับเร่อื งดังตอ่ ไปนี้ ๑. รจู้ ักโรงไฟฟา้ ความหมายและความสำคัญของไฟฟา้ ประวตั ิความเปน็ มาของไฟฟ้าในประเทศไทย ประเภทของ ไฟฟ้า ๒. พลงั งานไฟฟ้าของประเทศไทย สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องด้านพลงั งานไฟฟา้ ในประเทศไทย ๓. อปุ กรณไ์ ฟฟ้าและวงจรไฟฟา้ ๔. การประหยดั พลงั งานไฟฟ้า การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ใหผ้ เู้ รียน ศึกษา คน้ คว้า สำรวจ ตรวจสอบ ทดลอง จำแนก อธิบาย อภิปราย นำเสนอด้วยการจดั กระบวนการเรียนร้ดู ว้ ยการพบกลุ่ม การสอนเสริม การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การรายงาน การศกึ ษาจากแหลง่ เรียนรู้ ประสบการณ์ตรงโดยใช้สถานการณ์จรงิ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และประสบการณจ์ ากผ้เู รียน การวัดและประเมนิ ผล ประเมินจากการสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏบิ ตั ิ รายงานการทดลอง การมีส่วนรว่ ม ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมิน การนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศึกษา หนา้ 41

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา พว๑๒๐๑๐ การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในชีวติ ประจำวนั ๑ จำนวน ๒ หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเห็นคณุ คา่ เกีย่ วกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่งิ มีชวี ิต ระบบนิเวศ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ในท้องถิ่น สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลยี่ นแปลงของ โลกและดาราศาสตร์ มจี ิตวทิ ยาศาสตรแ์ ละนำความรูไ้ ปใช้ประโยชนใ์ นการดำเนินชีวติ ท่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) ๑ ความหมายและ ๑. บอกความหมายของไฟฟา้ ๑. ความหมาย และความสำคัญ ๔ ความสำคญั ของไฟฟา้ ๒. บอกประโยชนข์ องพลังงาน ของไฟฟ้า ไฟฟ้า ๒. ประโยชนแ์ ละผลกระทบของ ๓. บอกผลกระทบจากการขาด พลังงานไฟฟา้ แคลนพลังงานไฟฟา้ ๒.๑ ประโยชนแ์ ละ ผลกระทบของพลังงานไฟฟา้ ด้านคมนาคม ๒.๒ ประโยชนแ์ ละ ผลกระทบของพลงั งานไฟฟา้ ด้านอุตสาหกรรม ๒.๓ ประโยชนแ์ ละ ผลกระทบของพลังงานไฟฟ้า ด้านเศรษฐกิจ ๒.๔ ประโยชนแ์ ละ ผลกระทบของพลงั งานไฟฟา้ ด้านเกษตรกรรม ๒.๕ ประโยชนแ์ ละ ผลกระทบของพลังงานไฟฟ้า ด้านคณุ ภาพชวี ติ ๒.๖ ประโยชนแ์ ละผลกระทบของ พลงั งานไฟฟา้ ด้านบริการ ๒ ประวตั ิความเป็นมาของ บอกประวตั คิ วามเปน็ มาของ ประวตั ิความเปน็ มาของไฟฟ้าใน ๓ ไฟฟ้าในประเทศไทย ไฟฟ้าในประเทศไทย ประเทศไทย ๓ ประเภทของไฟฟา้ บอกประเภทของไฟฟ้า ๑. ประเภทของไฟฟา้ ๓ ๑.๑ ไฟฟ้าสถติ หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศึกษา หน้า 42

ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ชวี้ ัด เนือ้ หา จำนวน (ชัว่ โมง) ๔ สถานการณ์พลังงาน ไฟฟา้ ของประเทศไทย ๑.๒ ไฟฟา้ กระแส ๕ หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง ๑.๒.๑ ไฟฟ้ากระแสตรง ดา้ นพลังงานไฟฟ้าใน ประเทศไทย ๑.๒.๒ ไฟฟ้ากระแสสลบั ๖ อปุ กรณ์ไฟฟา้ และ ๒. การกำเนิดของไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า ๒.๑ ไฟฟา้ ทเี่ กิดจากการเสยี ด สีของวตั ถุ ๒.๒ ไฟฟ้าท่เี กดิ จากการทำ ปฏิกิรยิ าทางเคมี ๒.๓ ไฟฟา้ ท่เี กดิ จากพลงั งาน แสงอาทิตย์ ๒.๔ ไฟฟ้าทเี่ กิดจากพลงั งาน แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า ๑. บอกสดั สว่ นเชอ้ื เพลงิ ทใี่ ช้ใน ๑. สดั ส่วนการผลิตไฟฟ้าจาก ๑๕ การผลติ ไฟฟ้าของประเทศไทย เชอื้ เพลงิ ประเภทต่าง ๆ ๒. บอกการใช้ไฟฟ้าในแต่ละ ๒. การใชไ้ ฟฟ้าในแตล่ ะชว่ งเวลา ชว่ งเวลาในหนึง่ วัน ในหน่งึ วัน ๓. อธบิ ายสถานการณ์พลงั งาน ๓. สภาพปจั จบุ นั และแนวโนม้ การ ไฟฟา้ ของประเทศไทย ใชพ้ ลังงานไฟฟ้า ๑. ระบชุ ือ่ และสงั กัดของ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องดา้ นพลังงาน ๕ หน่วยงานที่เกยี่ วข้องด้าน ไฟฟ้าในประเทศไทย ไดแ้ ก่ พลงั งานไฟฟา้ ในประเทศไทย ๑. คณะกรรมการกำกับกจิ การ ๒. บอกบทบาทหน้าท่ีของ พลังงาน (กกพ.) หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องดา้ น ๒. การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ พลงั งานไฟฟ้า ประเทศไทย (กฟผ.) ๓. การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ๔. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ๑. บอกชอื่ และหน้าท่ขี อง ๑. อปุ กรณ์ไฟฟ้า ๓๐ อปุ กรณ์ไฟฟา้ ๑.๑ สายไฟ ๒. อธิบายการตอ่ วงจรไฟฟ้า ๑.๒ ฟวิ ส์ แบบตา่ ง ๆ ๑.๓ อุปกรณ์ตดั ตอนหรอื เบรก เกอร์ หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 43

ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ดั เน้ือหา จำนวน (ชั่วโมง) ๗ การประหยดั พลังงาน ๑.๔ สวติ ซ์ ไฟฟา้ ๒๐ ๑.๕ เครอื่ งตดั ไฟฟ้าร่วั ๑.๖ เตา้ รบั เต้าเสยี บ ๒. วงจรไฟฟา้ ๒.๑ แบบอนกุ รม ๒.๒ แบบขนาน ๒.๓ แบบผสม ๓. สายดินและหลักดนิ ๓.๑ สายดิน ๓.๒ หลกั ดิน ๑. บอกกลยทุ ธ์การประหยัด ๑. กลยทุ ธ์การประหยัดพลงั งาน พลังงานไฟฟา้ ไฟฟ้า ๓ อ. ๒. จำแนกฉลากเบอร์ ๕ ของแท้ ๑.๑ กลยทุ ธ์ อ. ๑ อุปกรณ์ กบั ของลอกเลียนแบบ ประหยัดไฟฟ้า ๓. เลือกใชเ้ คร่อื งใช้ไฟฟา้ ได้ ๑.๒ กลยุทธ์ อ. ๒ อาคาร เหมาะสมกบั สถานการณ์ท่ี ประหยดั ไฟฟ้า กำหนดให้ ๑.๓ กลยทุ ธ์ อ. ๓ อุปนสิ ัย ๔. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้ประหยัด ประหยดั ไฟฟ้า พลังงานไฟฟา้ ในครวั เรอื น ๒. แนวปฏบิ ตั ิการประหยดั พลังงานไฟฟ้าในครัวเรือน หลกั สตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดบั ประถมศกึ ษา หนา้ 44

สาระการประกอบอาชพี เป้าหมายการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา การงานอาชีพ ๑. อธิบายความหมาย ความสำคัญ วเิ คราะหล์ ักษณะงาน ขอบขา่ ยการงานอาชพี ในชมุ ชนประเทศ และโลก เพ่ือการเขา้ สู่อาชีพ ๒. อธบิ ายเหตุปัจจัยความจำเป็นในการตัดสนิ ใจเลือกอาชีพท่ีเหมาะสมกบั ศักยภาพของตนเอง ๓.ยอมรับและเห็นคุณคา่ ในอาชพี ที่ตดั สนิ ใจเลือก ๔. ปฏิบัติการวิเคราะห์ตดั สนิ ใจเลือกอาชพี ทักษะในอาชพี ๑. ระบุผลิตภัณฑ์ หาตลาด จัดการทุน จัดขัน้ ตอนการผลิตและระบบการจดั การเพ่ือการเขา้ สู่อาชพี ๒. ยอมรับการเหน็ คุณค่าในการฝกึ ทักษะการเข้าสู่อาชพี ๓. ปฏบิ ัตกิ ารวเิ คราะหท์ กั ษะในอาชีพทต่ี ดั สนิ ใจเลือก จดั การในอาชีพ ๑. เข้าใจการจัดทำแผนธุรกิจ การจัดการทรัพยากรดำเนินงาน การจัดการความเสี่ยง การจัดการ การผลติ การจัดการการขาย การจัดการการตลาด และการขับเคล่อื นสร้างธุรกจิ ๒.ยอมรับและเห็นคณุ คา่ ในการจัดการเข้าสูธ่ ุรกิจอย่างมีคุณธรรม ๓. ปฏบิ ัติการจัดทำแผนงานและโครงการเข้าสกู่ ารสร้างธุรกิจได้ พฒั นาอาชีพ ๑. อธบิ ายศกั ยภาพธรุ กิจ การตลาด การผลติ /บริการ แผนธุรกิจ เพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจใหม้ ีอยู่มี กิน ๒.ยอมรบั และเห็นคุณค่าในการพฒั นาอาชีพใหม้ ีอยู่มีกิน ๓. ปฏบิ ตั ิการทำแผนและโครงการพัฒนาอาชพี ใหม้ ีอยู่มกี นิ มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวัง มาตรฐานท่ี ๓.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติที่ดใี นงานอาชพี มองเหน็ ช่องทาง และตัดสินใจประกอบ อาชีพได้ตามความต้องการ และศกั ยภาพของตนเอง ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติที่ดใี นงานอาชีพ ๑. อธิบายความหมาย ความสำคัญ วิเคราะหล์ ักษณะ วเิ คราะห์ ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชพี ใน งาน ขอบขา่ ยการงานอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ ชมุ ชน/สังคมประเทศ และโลกที่เหมาะสมกับ และโลก เพ่ือการเขา้ สอู่ าชีพได้ ศักยภาพของตนเพื่อการเขา้ สู่อาชพี หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศึกษา หน้า 45

๒. อธิบายเหตปุ จั จัย ความจำเปน็ ในการตดั สินใจเลือก อาชีพท่เี หมาะสมกับศกั ยภาพของตนได้ ๓. ยอมรบั และเห็นคุณค่าในอาชพี ทตี่ ดั สนิ ใจเลือก ๔. ปฏบิ ัติการวเิ คราะห์ตดั สินใจเลอื กอาชพี ได้ มาตรฐานท่ี ๓.๒ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชพี ท่ตี ัดสินใจเลอื ก ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนร้ทู ค่ี าดหวงั มีความรู้ ความเขา้ ใจทักษะในอาชีพทต่ี ัดสนิ ใจ ๑. อธิบายทักษะท่ีเกี่ยวกบั กระบวนการผลติ เลือกบนพนื้ ฐานความรู้ กระบวนการผลติ กระบวนการตลาดท่ีใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี ใน กระบวนการตลาด ท่ใี ช้นวัตกรรม/เทคโนโลยีท่ี อาชีพทตี่ ัดสินใจเลือกได้ เหมาะสม ๒. ยอมรับและเห็นคุณค่าในการฝึกทกั ษะการเข้าสู่ อาชพี ๓. ปฏิบัติการวิเคราะหท์ กั ษะในอาชพี ทต่ี ดั สนิ ใจเลือก มาตรฐานที่ ๓.๓ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการอาชีพอย่างมีคุณธรรม ระดับประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง มคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงาน ๑. อธิบายความหมาย ความสำคญั ของการจดั การ และโครงการธรุ กิจ เขา้ ส่ตู ลาดการแข่งขนั ตาม อาชพี ได้ แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ การมีอยู่ ๒. ดำเนินการจัดทำแผนธุรกิจดา้ นการจัดการการผลิต มีกิน หรือการบริการ และดา้ นการจัดการการตลาด และ การขับเคล่ือนธรุ กิจ ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้ ๓. ยอมรับและเหน็ คุณคา่ ในการจัดการเขา้ สู่ธรุ กิจ อย่างมีคุณธรรม ๔. ปฏิบัตกิ ารจัดทำแผนและโครงการเขา้ สอู่ าชีพได้ หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทับ –ระดับประถมศกึ ษา หนา้ 46

มาตรฐานที่ ๓.๔ มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่นั คง ระดบั ประถมศกึ ษา มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง มีความรู้ ความเข้าใจในการพฒั นาอาชีพใหม้ ี ๑. อธิบายความหมาย ความสำคญั ความจำเปน็ ใน ผลติ ภัณฑ์ / บรกิ าร สรา้ งรายได้พอเพียงต่อการ การพฒั นาอาชพี ใหม้ ผี ลิตภัณฑ์หรอื งานบริการ สร้าง ดำรงชวี ติ รายไดพ้ อเพยี งต่อการดำรงชีวิต ๒. วเิ คราะห์ศกั ยภาพธรุ กจิ กาตลาด การผลิตหรือ การบรกิ าร แผนธรุ กิจ เพ่ือสร้างธรุ กิจให้มอี ยู่มกี ิน ๓. ยอมรบั และเหน็ คุณค่าในการพฒั นาอาชีพให้มีอยู่ มกี ิน ๔. ปฏบิ ตั ิการทำแผนและโครงการพฒั นาอาชีพให้ มีอยู่มีกิน หลักสตู รสถานศึกษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดบั ประถมศกึ ษา หน้า 47

คำอธิบายรายวิชาบังคบั สาระการประกอบอาชพี มาตรฐานที่ รหัสรายวิชา ระดับประถมศกึ ษา หนว่ ยกิต อช๑๑๐๐๑ รายวชิ า ๒ ๓.๑ ๓.๒ ช่องทางการเข้าสู่อาชพี ๔ ๓.๔ อช๑๑๐๐๒ ทกั ษะการประกอบอาชีพ ๒ ๘ อช๑๑๐๐๓ พฒั นาอาชีพใหม้ ีอยมู่ ีกิน รวม หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศกึ ษา หน้า 48

คำอธิบายรายวิชา อช๑๑๐๐๑ ช่องทางการเขา้ สู่อาชีพ จำนวน ๒ หนว่ ยกติ ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ่ีดีในงานอาชพี วเิ คราะห์ลกั ษณะงาน ขอบขา่ ยงานอาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และโลกที่เหมาะสมกับศกั ยภาพของตนเพอ่ื การเข้าสู่อาชพี ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับช่องทางการเขา้ สู่อาชีพ ดังนี้ คอื ความหมาย ความสำคัญและความจำเป็นของการประกอบอาชีพ วิเคราะห์ลักษณะขอบข่ายการงาน อาชีพ กระบวนการทำงาน การบริหารจัดการของอาชพี ตา่ งๆ ในชุมชน สังคม ประเทศ และโลก เพื่อการเข้าสู่ อาชพี จากการงานอาชพี ดงั น้ี งานบ้าน เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับงานบ้านและชีวิตความเป็นอยู่ในบ้าน ผ้าและเครื่องแต่งกาย อาหารและโภชนาการ โดยเน้นการแก้ปัญหาในการทำงาน มีความรับผิดชอบ สะอาด มีระเบียบ ประหยัด อดออม อนรุ กั ษ์พลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ ม เพ่ือนำไปสกู่ ารสรา้ งงานอาชพี งานเกษตร เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และการประมง ตามกระบวนการผลิต และ การจัดการผลผลิต มีการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเพิ่มผลผลิต ปลูกฝังความรับผิดชอบ การอนุรักษ์ พลังงานและสิง่ แวดล้อมเพ่อื นำไปสู่การสร้างงานอาชพี งานช่าง เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการทำงานตามกระบวนการของงานช่าง ซึ่งประกอบด้วย การบำรุงรักษา การตดิ ต้งั การประกอบ การซอ่ มและการผลิตเพอ่ื นำไปส่กู ารสรา้ งอาชีพ งานประดิษฐ์ เป็นการวิเคราะห์เกี่ยวกับการทำงานด้านการประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องใช้ที่เน้นความคิด สร้างสรรค์ โดยเน้นความประณีต สวยงามตามกระบวนการงานประดิษฐ์และเทคโนโลยี การอนุรักษ์และ สืบ สานศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ตามภูมิปัญญาท้องถิ่นและสากล เพื่อนำไปสู่การสร้างงาน อาชีพ งานธุรกิจ เป็นการวิเคราะห์งานหรือกิจกรรมที่เป็นการนำเอาทรัพยากรต่างๆ มาใช้ร่วมกัน หรือ เปลี่ยนสภาพเพือ่ ทีจ่ ะก่อใหเ้ กิดคณุ ค่าที่สูงกวา่ เดิม โดยที่ผูซ้ ่ึงเปน็ เจา้ ของหรือผู้จัดการหวังวา่ สิ่งที่ตนทำนั้นจะ ยงั่ ยืน และเจรญิ ก้าวหนา้ ตอ่ ไปในอนาคต โดยในงานหรอื กิจกรรมทางธรุ กจิ จะกล่าวถงึ งานการตลาด งานการ ผลติ หรือบริการ งานการเงนิ และบญั ชี และงานทรพั ยากรมนุษย์ ความหมาย ความจำเป็นในการมองเห็นช่องทางในการเข้าสู่อาชีพในชุมชน สังคม ที่เหมาะสมกับ ตนเอง วิเคราะห์ความเป็นไปไดต้ ่างๆ ได้แก่ การลงทุน การตลาด กระบวนการผลิต การขนส่ง การบรรจุหีบ ห่อ การแปรรูป และผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ความรู้ความสามารถของตนเองต่ออาชีพนั้นๆ การ ลำดับความสำคัญของอาชีพที่มีความเป็นไปได้ เพื่อนำข้อมูลที่วิเคราะห์ไว้นำไปปรึกษาผู้รู้ การตัดสินใจเลือก อาชพี ท่เี หมาะสมกับตนเอง โดยวิเคราะหค์ วามพร้อมของตนเอง ความตอ้ งการของตลาด เทคนคิ ความรู้ ทักษะ ในอาชพี และความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลำทบั –ระดับประถมศึกษา หนา้ 49