Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1435005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป4-Update

1435005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป4-Update

Published by Cupasong02, 2021-07-06 06:01:50

Description: 1435005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป4-Update

Search

Read the Text Version

แบบทดสอบที่ ๓ : กา ✗ คาํ ตอบทถ่ี กู ท่สี ุด ๑. เพลงฟอ นเงยี้ ว เปนเพลงทองถน�ิ ใด ๖. ขอ ใดเปนทา ราํ ที่ใชในเคล่อื นไหวจงั หวะฟอ นเง้ยี ว ✗ก. ภาคเหนอ� ข. ภาคอีสาน ✗ก. ทา สอดสรอ ยมาลาแปลง ค. ภาคกลาง ง. ภาคใต ข. ทา ชักแปง ผดั หนา ๒. ขอ ใดเปน จงั หวะของเพลงฟอ นเงย้ี ว ค. ทา ผาลาเพียงไหล ก. กอก กงึ กงึ ง. ทารําสา ย ข. ปะ โทน ปะ ๗. เพลงรองเง็ง เปน เพลงทอ งถ�นิ ใด ค. ฉ�งิ ฉบั ฉงิ� ฉบั ก. ภาคเหน�อ ✗ง. มงแซะ มงแซะ ข. ภาคอีสาน ๓. การเคลอ่ื นไหวจงั หวะเพลงฟอนเง้ียว ค. ภาคกลาง ตองยกเทาขวาในจงั หวะใด ✗ง. ภาคใต ก. จงั หวะท่ี ๑ ๘. การเคลอ่ื นไหวจงั หวะรองเง็ง เร�มิ จากขอ ใด ผฉูสบอบั น ข. จังหวะท่ี ๒ ก. ผชู ายเดนิ ออกมาหนาเวที ข. ผูหญิงเดนิ ออกมาหนาเวที ✗ค. จงั หวะที่ ๓ ง. จังหวะที่ ๔ ✗ค. ผูชายเดินเขา ไปโคง ผูหญงิ ๔. การเคล่ือนไหวจังหวะฟอนเงย้ี ว ง. ผหู ญิงเดนิ เขา ไปโคงผูช าย มกี ีจ่ ังหวะ ๙. จังหวะรองเง็ง ตองเดินออกมาหนาเวทกี ี่จังหวะ ก. ๑ จงั หวะ ก. ๕ จังหวะ ข. ๒ จงั หวะ ✗ข. ๖ จังหวะ ค. ๓ จังหวะ ค. ๗ จังหวะ ✗ง. ๔ จงั หวะ ง. ๘ จงั หวะ ๕. การเคลื่อนไหวเพลงฟอ นเงยี้ วเริ�มจากขอ ใด ๑๐. การเลนเทาเปนชดุ ตองราํ กี่ทา ก. กา วเทาขวา ก. ๑ ทา ✗ข. กา วเทาซาย ข. ๒ ทา ค. ยกเทาขวา ✗ค. ๓ ทา ง. ยกเทาซา ย ง. ๔ ทา ๘๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

º··èÕ ô ¹Ò¯ÈÔÅ»äŠ ·Â ขอบขา ยสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวิชาศลิ ปะ ชั้น ป.๔ ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป สาระพน้ื ฐาน ความรฝู งแนน ติดตวั ผูเ รยี น มฐ.ศ ๓.๑ (๔) แสดงนาฏศลิ ปเปน คแู ละหมู ● การแสดงนาฏศิลปป ระเภทคแู ละหมู ● การแสดงนาฏศิลปประเภทคูและหมู ตองใชลลี าออ นชอย และมีความ พรอมเพรียง จงึ จะดูสวยงาม ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Óʋ١ÒÃàÃÕ¹ ผฉสู บอับน ¹ŒÍ§æ à¤ÂáÊ´§¿‡Í¹ÃíÒ¡ºÑ à¾èÍ× ¹æ ºÒŒ §ËÃÍ× äÁ‹ ÍÍ¡ÁÒàÅÒ‹ ¤ÇÒÁÃŒÙÊ¡Ö Ë¹ÒŒ ª¹Ñé àÃÂÕ ¹ ãËàŒ ¾Íè× ¹¿˜§ä´äŒ ËÁ¤ÃºÑ ๘๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

¡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÅÔ »Š»ÃÐàÀ·¤‹ÙáÅÐËÁ‹Ù การแสดงนาฏศลิ ปไทย เปน การแสดงทม่ี ีเอกลักษณแสดงถงึ ความเปนไทย โดยเฉพาะ ลีลาทา รําทอี่ อนชอยงดงาม นกั เรียนจงึ ควรฝกการแสดงนาฏศิลปไว โดยอาจจะเริม่ ฝกจากการ แสดงเปนคแู ละหมู ดงั น้ี ๑. การราํ ประกอบเพลงหญิงไทยใจงาม การแสดงชุดน้ีเปนการแสดงในชุดรําวงมาตรฐานชุดหน่ึง ซ่ึงผูแสดงสามารถรําทีละคู ชายหญิง หรือทีละหลายๆ คูได ทารําเพลงหญิงไทยใจงามใช ๒ แบบ คือ ทาพรหมสี่หนา และทา ยงู ฟอนหาง เพลงหญงิ ไทยใจงาม เดอื นพราวดาวแวววาวระยบั แสงดาวประดบั สงใหเ ดอื นงามเดน ดวงหนา โสภาเพียงเดือนเพ็ญ คุณความดีที่เห็นเสริมใหเ ดน เลศิ งาม ผฉูสบอับน ขวัญใจหญงิ ไทยสงศรีชาติ รูปงามพลิ าศใจกลากาจเรอื งนาม เกยี รตยิ ศกอ งปรากฏทวั่ คาม หญงิ ไทยใจงามยิง่ เดอื นดาวพราวแพรว ทาประกอบเพลงหญงิ ไทยใจงาม ทาพรหมส่ีหนา จีบควํ่าสองมอื ขา งตัวระดับเอว หมุนจีบขึน้ แลวปลอยจีบเปนแบมือหงายท้ังสองมือสูงระดับศีรษะ หันปลายนิ้ว ออกขางศรี ษะ ทาพรหมสหี่ นา ทายงู ฟอนหาง ทายูงฟอนหาง แทงปลายมอื ทตี่ งั้ อยูขางศีรษะลง สง มอื ไปขา งหลัง แขนตงึ ฝา มอื ควาํ่ ปลายน้วิ เชิดขนึ้ ๙๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

ทารําประกอบเพลงหญิงไทยใจงาม ใชทาพรหมสี่หนาและทายูงฟอนหาง โดยเริ่ม ทาํ ทา พรหมสห่ี นา กอน แลว ตอดว ยทา ยูงฟอนหาง สลับกนั ตอเนอื่ งไปเรอื่ ยๆ การกา วเทาจะมี ๔ จงั หวะ ใหก าวเทาตามจงั หวะท่ี ๑-๔ ตอ เน่ืองกนั ไปเขากบั จังหวะ เพลงโดยเริม่ ตน เทาขวา ดงั นี้ จงั หวะที่ ๑ วางเทา หลัง (เทา ซา ย) เตม็ เทา ¡Ò÷íÒ·‹Ò¾ÃËÁÊÕËè ¹ÒŒ áÅÐ ยกเทา หนา (เทา ขวา) ขน้ึ ·‹Ò§٠¿‡Í¹ËÒ§ ¤Ç÷íÒãËŒ แลว วางเทา ลง ÊÍ´¤ÅÍŒ §¡Ñº¡ÒáҌ Çà·ÒŒ จังหวะท่ี ๒ กา วเทาซา ย ¨Ö§¨ÐáÅ´Ê٠ǧÒÁ¤Ð‹ จงั หวะที่ ๓ กาวเทา ขวา จังหวะท่ี ๔ กระทงุ เทา ซาย ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ ผฉสู บอับน แบง กลมุ แสดงทา ประกอบเพลงหญงิ ไทยใจงาม แลว ใหเ พือ่ นกลุมอนื่ ประเมนิ ผลการแสดง รายการประเมิน ผลการประเมนิ ๑) ความถกู ตอ งของทา ทาง ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ ๒) ความสอดคลอ งกับจงั หวะ ๓) ความพรอ มเพรยี ง ขึน้ อยกู ับดลุ ยพนิ ิจของผสู อน……………………………….. …………………………….. …………………………… ๔) ความสวยงามในการเคลอื่ นไหว ๕) ความมีอารมณรวมในการแสดง ……………………………….. …………………………….. …………………………… ……………………………….. …………………………….. …………………………… ……………………………….. …………………………….. …………………………… ……………………………….. …………………………….. …………………………… ลงช่ือ …………………………………………………………….. ผปู ระเมิน กลุมที่ ………………………………………………………. ๙๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

๒. การแสดงประกอบเพลงระบาํ ดอกบัว การแสดงระบาํ เปน การแสดงนาฏศิลปไทยประเภทหนงึ่ ซึง่ เนนการแสดงเปน หมคู ณะ และความพรอมเพรยี งของผแู สดง ซึง่ นกั เรยี นสามารถฝกแสดงได ดงั น้ี ทา ประกอบเพลงระบาํ ดอกบวั ทาประกอบเพลงระบําดอกบัว เปนทารําท่ีแสดงออกถึงความสนุกสนานราเริงโดยใช การเคลื่อนไหวมือและลําตัว การแสดงทาประกอบเพลงระบําดอกบัวควรทําใหพรอมเพรียง เปน หมคู ณะ จึงจะเกิดความสวยงาม เนื้อรอง มนตรี ตราโมท เพลงระบําดอกบวั ทาํ นอง เพลงสรอ ยโอลาวของเกา เหลา ขา คณาระบํา รองราํ กันดว ยเรงิ รา ฟอ นสา ยใหพิศโสภา เปน ทีทาเยอ้ื งยาตรนาดกราย ผฉสู บอับน ดว ยจติ จงรกั ภกั ดี มมิ จี ะเหนื่อยแหนงหนา ย ขอมอบชวี ิตและกาย ไวใ ตเบอ้ื งพระบาทยคุ ล เพ่ือทรงเกษมสราญ และชน่ื บานพระกมล ถวายฝา ยฟอนอุบล ลว นวิจิตรพศิ อาํ ไพ อนั ปทุมยอดผกา ทัศนาก็วไิ ล งามตระการดาลหทัย หอมจรุงฟงุ ขจร คลา ยจะยวน เยา ภมร บนิ วะวอน ฟอนสคุ นั ธ ภมร เปนคาํ เรียก แมลงผึ้ง แมลงภู มกั ใชในงานเพลงหรอื บทกลอน ÍØ»¡Ã³· Õãè ªŒã¹¡ÒÃáÊ´§ ¤Í× ´Í¡ºÇÑ ËÃÍ× ´Í¡ºÇÑ ¡ÃдÒÉ «èÖ§¹¡Ñ àÃÕ¹ÊÒÁÒö¹Òí ÁÒ»ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§ä´¹Œ ФР๙๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

à¾Íè× ¹æ ÁÒ½¡ƒ ·‹ÒÃíÒ»ÃСͺ à¾Å§ÃкÒí ´Í¡ºÇÑ ¡¹Ñ à¶ÍÐ¤ÃºÑ เน�้อรอ ง ทา ประกอบเพลง เหลา ขา คณาระบํา ➜ ยนื กา วเทาตามจงั หวะ มอื ขา งหน่งึ อยรู ะหวา งอก รองราํ กันดวยเริงรา อีกมือหน่งึ เหยยี ดแนบออกขางตวั เอียงศรี ษะขาง ฟอนสายใหพ ศิ โสภา เปนทที าเย้ืองยาตรนาดกราย ที่มอื เหยยี ดสลบั ซา ยและขวา ดวยจิตจงรักภักดี ➜ มอื ขางหน่งึ ยกสูงระดบั ศรี ษะ มอื อีกขา งเหยยี ดตรง มิมี แขนตึง ระดบั ไหล เอียงศรี ษะขา งทมี่ อื เหยียด จะเหนอ่ื ยแหนงหนา ย สลับซา ยและขวา ผฉูสบอบั น ขอมอบชวี ติ และกาย ➜ ยอ ตวั ลงคุกเขา ตง้ั เขาไวข างหนง่ึ รวมมอื ทง้ั สอง ไวใตเ บ้อื งพระบาทยคุ ล มาไวทีอ่ ก เพ่ือทรงเกษมสราญ และชน่ื บานพระกมล ➜ เหมอื นทา ดว ยจติ จงรักภักดี และสน่ั ศีรษะเลก็ นอย ถวายฝายฟอ นอุบล ลว นวจิ ติ รพศิ อําไพ ➜ แยกมอื ทร่ี วมออกไปขางตวั เหยียดแขนใหตงึ ระดับเอวทัง้ สองมือ ➜ เหมอื นทา ดวยจิตจงรักภักดี ➜ รวมมอื เขาดว ยกัน สง มือไลกนั ออกไปหา งตวั เล็กนอ ย ใหอ ยูในระดบั ใบหนา ➜ ยนื กา วเทา ตามจงั หวะ และแยกมอื ท่ีรวมออกไป ขา งตวั เหยยี ดแขนตงึ ระดับเอวท้ังสองมือ ➜ ยนื กาวเทาตามจังหวะ รวมมือทั้งสองมาไวทีอ่ ก ➜ เหมอื นทา ฟอนสายใหพ ศิ โสภา เปน ทีทาเยื้องยาตร นาดกราย ๙๓´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

เน้�อรอ ง ทา ประกอบเพลง อันปทุม ➜ หนั หนาเขาหาคู รวมมอื ทง้ั สองเขา หากนั สูงระดบั ใบหนา ยอดผกา ทัศนา ➜ แยกมือออกจากกนั สงู ระดับไหลท้ังสองขาง ก็วไิ ล ➜ เหมือนทา อันปทุม งามตระการ ➜ เหมือนทา ยอดผกา ดาลหทัย ➜ เหมือนทา อนั ปทมุ หอมจรงุ ➜ เหมอื นทา ยอดผกา ฟุงขจร ➜ เหมอื นทา อันปทมุ คลายจะยวน ➜ เหมือนทา ยอดผกา เยา ภมร ➜ เหมือนทา เหลาขา คณาระบาํ รองราํ กันดวยเรงิ รา บินวะวอน ฟอนสคุ ันธ ➜ เหมอื นทา เหลา ขา คณาระบํา รองรํากันดวยเริงรา ➜ หมุนรอบตวั และทาํ เหมอื นทา ฟอ นสายให ผฉูสบอับน พศิ โสภา เปนทีทา เยื้องยาตรนาดกราย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò แบง กลมุ แสดงระบาํ ดอกบัวหนาชน้ั เรียนใหเพอ่ื นกลุม อ่ืนประเมินผล และบันทกึ ขอมลู รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ดี พอใช ควรปรับปรุง ๑) ความถูกตอ งของทาทาง ข้นึ อยกู ับดลุ ยพนิ ิจของผูสอน……………………………….. ……………………………… ……………………………. ๒) ความสอดคลอ งกับจังหวะ ๓) ความพรอ มเพรียง ……………………………….. ……………………………… ……………………………. ๔) ความสวยงามในการเคล่ือนไหว ……………………………….. ……………………………… ……………………………. ๕) ความมอี ารมณร ว มในการแสดง ……………………………….. ……………………………… ……………………………. ……………………………….. ……………………………… ……………………………. ลงช่อื ………………………………………………………….. ผูประเมิน กลุมที่ ……………………………………………… ๙๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô »ÃШӺ· ๑. จับคูกบั เพอ่ื น แสดงนาฏศิลปแบบคมู า ๑ ชดุ หนาชน้ั เรยี น แลว ใหเพ่ือนประเมนิ ผล มศฐ3./.ต1วั ช(4้วี )ดั รายการประเมนิ ผลการประเมิน ดี พอใช ควรปรบั ปรุง ๑) ความถูกตอ งของทา ทาง ขึ้นอยกู ับดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน………………………………… …………………………….. ……………………………. ๒) ความสอดคลอ งกบั จงั หวะ ๓) ความพรอมเพรียง ………………………………… …………………………….. ……………………………. ๔) ความสวยงามในการเคล่อื นไหว ………………………………… …………………………….. ……………………………. ๕) ความมอี ารมณร วมในการแสดง ………………………………… …………………………….. ……………………………. ………………………………… …………………………….. ……………………………. ผฉสู บอบั น ลงชือ่ ……………………………………………………………. ผูประเมิน ๒. แบงกลุม แสดงนาฏศิลปประเภทระบํากลุมละ ๑ ชุด หนาช้ันเรียน แลวใหเพ่ือนกลุมอ่ืน มฐ./ตัวช้ีวัด ประเมินผล ศ3.1 (4) รายการประเมิน ผลการประเมนิ ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ ๑) ความถกู ตอ งของทา ทาง ขนึ้ อยกู บั ดุลยพินจิ ของผูส อน………………………………… …………………………….. ……………………………. ๒) ความสอดคลองกับจังหวะ ๓) ความพรอ มเพรียง ………………………………… …………………………….. ……………………………. ๔) ความสวยงามในการเคลือ่ นไหว ………………………………… …………………………….. ……………………………. ๕) ความมอี ารมณรวมในการแสดง ………………………………… …………………………….. ……………………………. ………………………………… …………………………….. ……………………………. ลงชือ่ ……………………………………………………………. ผปู ระเมนิ กลมุ ท่ี ………………………………………………………. ๙๕´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

แบบทดสอบท่ี ๔ : กา ✗ คาํ ตอบที่ถกู ทีส่ ดุ ๑. ขอ ใดเปนการรําคูชายหญิง ๖. “ดวยจิตจงรักภักด”ี แสดงทาใด ก. ราํ สนี วล ข. ราํ มโนราห ก. ยนื ตรง เหยียดแขนตรง ค. ระบําดอกบวั ✗ง. รําวงมาตรฐาน ✗ข. คุกเขา รวมมอื ไวท ี่อก ๒. ขอ ใดเปนทาประกอบเพลงหญงิ ไทยใจงาม ค. กา วเทา ไปขา งหนา ✗ก. พรหมสีห่ นา ง . หนั หนา เขา หาคู ข. ชางประสานงา ๗. ขอใดทาํ เหมอื นทา “ยอดผกา” ค. ชักแปงผดั หนา ก. เยาภมร ง. สอดสรอยมาลา ✗ข. ดาลหทัย ๓. เพลงหญงิ ไทยใจงาม ตองใชทาราํ กที่ า ค. อนั ปทมุ ก. ๑ ทา ง. ทัศนา ✗ข. ๒ ทา ๘. ระบําดอกบัวตอ งหนั หนาเขา หาคชู ว งใด ผฉูสบอับน ค. ๓ ทา ✗ก. อนั ปทมุ ง. ๔ ทา ข. ก็วิไล ๔. การรําประกอบเพลงหญิงไทยใจงาม ค. ดาลหทยั ตองกระทุงเทา ในจังหวะใด ง . ฟงุ ขจร ก. จังหวะท่ี ๑ ๙. “ขอมอบชวี ติ และกาย” ทําทาเหมือนขอ ใด ข. จงั หวะที่ ๒ ก. จะเหนื่อยแหนงหนา ย ค. จงั หวะท่ี ๓ ข. ลว นวจิ ิตรพศิ อําไพ ✗ง. จังหวะที่ ๔ ค. ถวายฝา ยฟอนอบุ ล ๕. อปุ กรณใดใชประกอบการแสดงระบําดอกบวั ✗ง. ดวยจติ จงรักภกั ดี ก. ฉิง่ ๑๐. การแสดงเปนหมเู นน ขอ ใด ข. ธปู เทยี น ก. ความสวยงาม ค. เชือก ข. ความออ นชอ ย ✗ง. ดอกบวั ✗ค. ความพรอมเพรยี ง ง. ความกระฉับกระเฉง ๙๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

º··èÕ õ ¡ÒÃÅФÃàº×éͧµ¹Œ ขอบขายสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวชิ าศลิ ปะ ช้นั ป.๔ ตัวชวี้ ัดชน้ั ป สาระพ้นื ฐาน ความรูฝ งแนน ตดิ ตวั ผูเรยี น มฐ.ศ ๓.๑ (๕) เลาส่ิงที่ชื่นชอบในการแสดง ● การเลาเรื่องจากนิทาน ● การแสดงละครขัน้ พน้ื ฐานนั้น จะตอง โดยเนนจุดสําคัญของเร่ืองและลักษณะเดน ของตัวละคร เขาใจเนื้อเรือ่ งที่แสดง และสามารถ บอกจดุ สาํ คัญของเรอ่ื ง และลกั ษณะเดน ของตวั ละครได ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊ‹¡Ù ÒÃàÃÂÕ ¹ นิทาน เรอ่ื งหมาจ้งิ จอกกบั นกกระสา ผฉสู บอบั น หมาจงิ้ จอกตัวหนงึ่ กางปลาตดิ คอ จึงไปวาจางนกกระสา ใหชว ยเอาจะงอยปากลวงลงไปคาบเอากา งปลาออกจากคอ เม่ือนกกระสาคาบเอากา งปลาขน้ึ มาจากคอหมาไดแ ลว จงึ ทวงคา จา ง ฝา ยขางหมาจิ้งจอกกลบั ทาํ เปนโกรธขบเข้ียวเค้ยี วฟน คาํ รามวา “ชะ ชะ เอง็ น่ี กําเรบิ นักทีเดยี วเม่ือจะงอยปากเอ็งเขา ไปอยูใ นคอของขา ถา ขา งบั เอง็ กต็ ายเปลา ท่ีปลอ ยใหเ อง็ เอาปากออกมาไดเ ชนน้ี คุณของขา ยังไมเ ปน คา จางพอแลวหรือ” นกกระสาก็ไมร จู ะเอาคา จางอยางไรแกหมาจง้ิ จอก ¨Ò¡¹Ô·Ò¹ ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¤Ô´Ç‹Ò ËÁÒ¨é§Ô ¨Í¡áÅй¡¡ÃÐÊÒÁÅÕ ¡Ñ ɳÐà´‹¹ÍÂÒ‹ §äà ๙๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

¡ÒÃàÅ‹ÒàÃ×Íè §¨Ò¡¹·Ô Ò¹ ในการแสดงละครขั้นพน้ื ฐานนกั เรียนตองรูจ กั เน�้อเรือ่ งทแี่ สดง โดยสามารถเลา เรอื่ งที่ แสดงไดว า มีจุดสําคัญอยา งไร และตัวละครแตละตวั น้ันมลี กั ษณะเดน อยา งไร การฝกเลา เรอื่ ง ที่ใชแสดง อาจจะฝกจากการอานนิทาน แลววิเคราะหใหเห็นจุดสําคัญของเรื่อง ลักษณะเดน ของตวั ละคร เชน นิทานเรอ่ื ง ราชสหี ก บั หนู ราชสีหตวั หน่ึงนอนหลับอยูใตตนไม ในเวลาน้ัน หนูตวั หนง่ึ ขนึ้ มาไตขามตัวราชสหี  ราชสหี ร ูส กึ ตัว ต่นื ขึน้ กระโดดตะครุบเอาหนู ไวไ ด ราชสีหน กึ โกรธจะขย้าํ หนูตัวนั้นเสีย หนจู งึ รอ งวงิ วอนวา “ขา พเจา ขอชวี ิตไวส กั ครงั้ หนงึ่ เถิด อยา เพ่ิงฆาขา พเจา เลย ถาทา นปลอ ยขา พเจาไป ขา พเจา จะมิลืมคุณของทา นเลย” ผฉูสบอับน ราชสีหหัวรอแลววา “ตัวเองเล็กเทานี้ จะมาตอบแทนคุณเรา อยางไรได” วาแลวก็ปลอยหนูไป ตอมาไมนานนักราชสีหตัวน้ันไปติด บวงแรวที่นายพรานเขาดักไว จะด้ินรนเทาไรก็ด้ินไมหลุด ราชสีหส้ิน ปญญาลงรองครวญครางกองไปทั้งปา ฝายหนูตัวนั้นไดยินเสียงราชสีห บวงแรว เปน รองก็จําได จึงว่ิงมาปนขึ้นไปบนคันแรว เอาฟนแทะเชือกขาด ทําให เครอื่ งมอื ชนิดหน่งึ ใชสาํ หรับดักจับสัตว ราชสหี ห ลุดรอดพนจากความตายไปได มีลักษณะเปน บวง หนูจึงรองบอกราชสีหวา “แตเดิมทานก็ไดหัวเราะเยาะขาพเจา ใชส ําหรับคลอง ขาสตั ว เอ็งตัวเล็กเพียงเทานี้ จะแทนคุณทานอยางไรได มาบัดน้ีขาพเจาก็ได แทนคุณของทานซึ่งเปนสัตวใหญและมีกําลังมาก ใหเห็นประจักษแก ตาทานอยเู องแลว” ๙๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

จากตัวอยางนิทานเรื่อง ราชสีหกับหนู มีจุดสําคัญของเรื่อง และลักษณะเดนของ ตวั ละคร ดงั น�้ จดุ สาํ คญั ของเรอ่ื ง ลกั ษณะเดนของตวั ละคร คอื การทร่ี าชสีหแสดงความดถู กู หนทู ี่ ในนิทานเรือ่ งนี้มีตัวละครอยู ๒ ตวั คือ ตัวเล็กกวาวา ไมสามารถชวยเหลืออะไร ๑.ราชสีห : มีลักษณะเปนสิงโตตัวใหญ ตนได แตห นกู ็สามารถชวยชีวติ ราชสหี ได แข็งแรง และมีความทระนงตัววา ตนเอง เปนผยู ่งิ ใหญ จงึ ดถู ูกสตั วตวั เล็กกวา ๒.หนู : มีลักษณะเปนสัตวตัวเล็ก รูจัก สํานกึ บญุ คุณ ไมห ยงิ่ ทระนง ดังนั้นการแสดงละคร นักเรียนจะตองเขาใจจุดสําคัญของเร่ือง เพ่ือรูถึงความเปนมา เปนไปของเรื่องราวและจุดมุงหมายของเร่ือง และรูลักษณะเดนของตัวละคร เพ่ือสามารถ ผฉสู บอับน แสดงไดสมบทบาทและส่ือใหผชู มไดเขา ใจยง่ิ ขึน้ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ แบงกลมุ แลวสง ตวั แทนออกมาเลานทิ านหนาช้ันเรียนกลมุ ละ ๑ เรื่อง จากน้ันเขียนจุดสาํ คัญ ของเรื่อง ลักษณะเดนของตวั ละคร ในเรอื่ งที่ชน่ื ชอบ ๑. นิทานทชี่ ่นื ชอบ เรื่อง …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ……จต……ุดัว……ลส……ะาํ ค…ค…ร…ญั…ม……ขที……อ…้ัง…งห……เร…ม…อื่……ดง……………ค………อื …………………………………………………………….………. ………ต………ัว………แ………ล………ะ………ม………ีล………ัก………ษ…………ณ……………ะ………เด………น………………ด………ัง………นข………นึ้ี้ ………อ………ย………ูก………บั ………ด………ุล………ย………พ………นิ ………จิ………ข………อ………ง………ผ………ูส ………อ………น……………………………………………………………… ๓. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. นักเรยี นชอบนิทานเร่อื งน้ี เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๙๙´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ· แบง กลมุ แสดงละครจากนทิ านกลมุ ละ ๑ เรือ่ ง จากนน้ั เลอื กนทิ านเรือ่ งทีก่ ลมุ อน่ื แสดง ๑ เร่ือง มฐ./ตัวชว้ี ดั แลว บนั ทกึ ขอ มูลตามทีก่ ําหนด ศ3.1 (5) (เน้�อเรือ่ งยอ) เรอ่ื ง ………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................................................................................ ข้นึ อยกู บั ดลุ ยพินจิ ของผูสอน............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... ผฉสู บอบั น ............................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................... ๑. การแสดงชุดนีม้ ีจดุ สําคญั ของเร่ือง คือ …………………………………………………………………………………………………………… ๒. ลกั ษณะเดน ของตวั ละครที่ชื่นชอบ (ยกตวั อยา งมา ๒ ตัว) ตัวละครท่ี ๑ คอื ………………………………………………….. มีลักษณะเดน ………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตัวละครท่ี ๒ คอื …………………………………………………. มลี ักษณะเดน ………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. ภาษาทา และทา ทางการแสดงที่สังเกตได คอื ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. นกั เรียนคิดวา การทจ่ี ะฝกการแสดงไดอยา งน้ี ตอ งฝกทกั ษะในเรอ่ื งใดบาง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. นกั เรียนชอบการแสดงชุดน้ีหรือไม ❍ ชอบ ❍ ไมชอบ เพราะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๐๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

แบบทดสอบที่ ๕ : กา ✗ คาํ ตอบท่ีถูกที่สุด ๑. การฟงนทิ าน ผูฟงควรพจิ ารณาขอใด ๖. ผแู สดงควรรูล ักษณะเดนของตวั ละคร มากทส่ี ุด เพราะเหตุใด ก. ชอ่ื เรอ่ื ง ก. เพือ่ นาํ มาประยุกตท าทางแสดง ข. ฉาก ข. เพอื่ ใหจัดเวทไี ดเหมาะสม ค. ภาษา ✗ค. เพ่ือแสดงไดส มบทบาท ✗ง. เนือ้ เรอื่ ง ง. เพือ่ หาดนตรีประกอบ ๒. การแสดงละครจากนิทาน ควรใหค วามสําคญั ๗. หากนกั เรียนแสดงเปน เตา จะแสดง ในขอ ใดมากที่สุด ทา ทางอยา งไร ✗ก. ตัวละคร ข. คาํ บรรยาย ✗ก. คลานสีข่ า ค. ฉาก ง. เวที ข. กระโดดไปมา ๓. ลกั ษณะเดนของตัวละคร ควรพจิ ารณา ค. ชูนิว้ ๒ นิ้ว บนหัว จากขอ ใด ง. กางแขนยกข้นึ ยกลง ผฉสู บอับน ก. ช่อื ข. การพดู ๘. การดูลักษณะเดน ของตวั ละคร สังเกตจากขอ ใด ✗ค. บุคลกิ ง. สีหนา ก. การรายราํ ๔. ตัวละครทีเ่ ปน ชาวนา ควรแตง กายอยางไร ✗ข. การแตง กาย ก. สวมหมวกกนั น็อก ค. การใชภาษาพดู ✗ข. สวมงอบ ถือเคียว ง. การแสดงสหี นา ค. ใสเสอ้ื แขนยาวตามแฟชัน่ ๙. ขอ ใดเปน ลกั ษณะเดน ของตวั ละครที่เปนยักษ ง. ถอื ไมเ ทา และใสเ สือ้ มอหอม ก. มี ๒ หนา ข. มี ๔ มอื ๕. จุดสาํ คญั ของเรือ่ งสงั เกตจากขอใด ค. มีหางยาว ✗ง. มเี ขี้ยวใหญ ก. การแสดงของตัวละคร ๑๐. “มหี างยาว” นา จะเปนลักษณะเดนของ ข. ดทู า ทางของผูแสดง ตัวละครใด ✗ค. การดําเนนิ เร่ือง ก. ทศกัณฐ ข. พระราม ง. เสยี งพากย ✗ค. หนมุ าน ง. พระลักษมณ ๑๐๑´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä ๑. แบงกลุม แสดงทาประกอบเพลงมา ๑ เพลง โดยเลือกเพลงและคดิ ทาประกอบเอง ๑. เพลงที่เลอื ก คอื เพลง ……………………………………………………………………………………………………………………………………… (เขยี นเน้อ� เพลง) เพลง ………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ผฉสู บอบั น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ข้นึ อยกู ับดุลยพินิจของผูส อน……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. ทาประกอบเพลง มีดังนี้ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ความรูส กึ ท่มี ีตอ การแสดง พอใจ ไมพอใจ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. แบง กลมุ แสดงทา ประกอบจงั หวะพืน้ เมืองของทอ งถนิ� ตนเอง ๑ ชุด โดยเลือก เครื่องดนตรพี ้นื เมืองมา ๑ ชน้ิ มาบรรเลงประกอบ ขึ้นอยูก บั ดลุ ยพินจิ ของผสู อน ๑๐๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

กา ✗ คําตอบที่ถูกที่สุด แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ๓ประจําหนวยการเรยี นรทู ี่ ä´¤Œ Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµÁç ñð ๑.การเลยี นแบบเม่ือไดก ลิน่ เหมน็ ควรทาํ ทาทาง ๖. การแสดงทาประกอบเพลงปลุกใจ อยา งไร ควรแสดงทา ทางอยางไร ✗ก. เอามือบีบจมกู ก. ออ นชอย ข. เชื่องชา ข. สูดหายใจลกึ ๆ ✗ค. เขมแขง็ ง. รวดเรว็ ค. จามเสียงดัง ๗. ขอ ใดเปนจงั หวะเพลงฟอนเง้ยี ว ง. เอาปดปาก ก. ตุม-ตุม-ตมุ ✗ข. มง-แซะ-มง ๒. การแสดงสีหนา บง้ึ ตงึ แสดงถึงอารมณใด ค. ปะ -เทง -ปะ ง. โหมง-โหมง ก. ดีใจ ข. ตกใจ ๘. ลักษณะเดนตัวละคร สังเกตจากขอใด ✗ค. โกรธ ง. เสยี ใจ ก. การเลน ดนตรปี ระกอบ ๓. จากภาพ เปน ภาษาทา ใด ข. การใชทา ทาง ผฉูสบอับน ก. รัก ✗ข. ดีใจ ค. การใชคาํ พดู ค. มา ง. เดิน ✗ง. การแตง กาย ๔. จากภาพขอ ๓. เปน การเลยี นแบบขอ ใด ๙. จากภาพ เปนนาฏศลิ ปใน ก. ทาทางธรรมชาติ ขอใด ✗ข. อารมณ ความรสู กึ ก. รําคู ค. สิ่งในธรรมชาติ ข. ระบํามาตรฐาน ง. สตั วตา งๆ ค. ฟอ นแบบเมอื ง ๕. จากภาพ เปน การ ✗ง. ราํ วงมาตรฐาน เลยี นแบบสตั วในขอ ใด ๑๐. ทาราํ ประกอบเพลงหญิงไทยใจงามมกี จ่ี ังหวะ ก. นก ข. ชา ง ก. ๒ จังหวะ ✗ข. ๔ จังหวะ ค. ลิง ✗ง. มา ค. ๖ จังหวะ ง. ๘ จงั หวะ ๑๐๓´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

Ẻº¹Ñ ·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÒí ˹Nj  รายการวดั ประเมินผลตามเปา หมายการเรยี นรู ประจําหนวยท่ี ๓ คําชีแ้ จง : ๑. ครกู ําหนดคะแนนเตม็ ของกจิ กรรมที่ตองการวดั ผลเพ่อื เก็บสะสม ๒. ครูนาํ คะแนนจากการวัดผลดา นความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค (A) ของนกั เรยี นแตละคน กรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมนิ ๓. ชิ้นงานทมี่ เี คร่ืองหมาย * ใหใ ชประกอบการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขียนสือ่ ความ รายการประเมิน รายการเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูของนกั เรียน คะแนนรวมดาน ดานความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P) ดา นคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค (A) K/P/A ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป.๔ หลกั ฐาน/ช้นิ งาน เตม็ ได หลักฐาน/ช้นิ งาน เตม็ ได หลักฐาน/ชน้ิ งาน เตม็ ได เตม็ ได ประเมนิ ผลสัมฤทธดิ์ าน K / P / A พแศคลวื้น๓าะฐมก.า๑าหนรมท(ล๑าาะ)ยงรคนแะรลาบทฏะุที่ใอศชักาิลสษรปื่อะม ณ - ภกบผ.าาทนษพทปาัฒี่ ๑ทรนะาแสาแสกาลทดาระสงคนอัมิดอาผฏกัสยทศั้งัพ๕ท - ทแบักบษปะศระิลเปมะิน - แคทบุณี่พบึงลปปักรรษะะณสเมงะินค ศแทถลาา๓ยงะลนท.๑ะาอคฏด(๒รยเรง)ศื่อาใัพชยงรภๆทาใาหวนษรกือาาศทรัพา ท - เบเนกแพพส.าทลลฏดพทงงงยัฒี่พปภ๒ศลรนาัพะุกษแารทใบกาาจปางทชหรรกนาะรคลแิพือกิดุมลนอะธบ - ทแบักบษปะศระิลเปมะิน - แคทบุณี่พบึงลปปักรรษะะณสเมงะินค - กจแบสัง.ทหดพทวงัฒี่ ะท๓พนาปื้นแาบกเรมะางือกรกคงอลิดบุม - ทแบักบษปะศระิลเปมะิน - คทแบุณี่พบึงลปปักรรษะะณสเมงะินค ผูสอนฉบับ ศเตคาล๓งื่อๆ.๑นตไา(หม๓วค)ใแวนสาจดมังงคหกิดวาะขรองตน - บกกแบั.บทบพเทพคัฒี่ ื่อ๔ู นน๑ขแาชกอสุดาด๑รงคนจิดาับฏคศู ิลป - ทแบักบษปะศระิลเปมะิน - ทแคบุณี่พบึงลปปักรรษะะณสเมงะินค เศปน๓ค.๑ูแล(ะ๔ห)แมสู ดงนาฏศิลป - บแกรนะบ.าทบฏงพทํากศัฒี่ มล๔ิลานุมปขาแป๑กอลราวชะ๒รแเุดคภสิดทดง - บแคลตกล.ะอิดทควบพเทหแรคัฒี่ ็นจส๕ําาแนดถกลชางานคะกมมิทวาการาาคมนริดแส*ดง - ทแบักบษปะศระิลเปมะิน - ทแคบุณี่พบึงลปปักรรษะะณสเมงะินค ศลใสนัํกาก๓คษา.ัญณ๑รแขะ(สอเ๕ดดง)นเเงรลขื่อโาอดงสงแยิ่งตลเทนัวะี่ชลนื่นะจชคุดอรบ สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมนิ ดานผลการเรียนตามตวั ชว้ี ดั สว นที่ ๒ คผละงแานนนกจิจากกรรกมาบรูรปณระาเกมานิรฯตนทเี่นอักงเขรียอนงนเลักือเกรียน ชื่องาน ............................................................................................. สว นที่ ๓ คกาะรแทนํานแจบาบกทกดาสรอทบดวสัดอผลบสสัมมั ฤฤททธธิ์ปผิระลจปํารหะนจวํายหทนี่ ว๓ย สรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการเรียนรูประจาํ หนว ย ผาน ไมผาน ๒ พอใช ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ผานเกณฑประเมิน ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ......................................................................................................................................... ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๑๐๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

˹Çè ¡ÒÃàÃÕ¹ÃéÙ·èÕ ๔¹Ò¯ÈÔÅ»ìä·Â Áô¡ä·Â ผฉสู บอบั น แผนผงั ความคดิ ประจาํ หนว ยการเรียนรูที่ ๔ เปาหมายการเรยี นรูประจาํ หนวยที่ ๔ นาฏศลิ ปนารู เมอ่ื เรยี นจบหนวยนี้ ผูเ รียนจะมคี วามรคู วามสามารถตอไปน้ี ๑. อธบิ ายประวัติความเปนมาของนาฏศลิ ปหรือชุดการแสดงอยา งงา ยๆ ความเปน มาของนาฏศิลป ๒. เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลปกบั การแสดงทมี่ าจากวฒั นธรรมอน่ื การไหวครู ๓. อธิบายความสําคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและ นมาฏรดศกิลปไทไ ทยย การแสดงนาฏศลิ ป ๔. ระบุเหตุผลที่ควรรกั ษาและสบื ทอดการแสดงนาฏศิลป ความสาํ คัญของนาฏศลิ ปไทย คณุ ภาพทพี่ งึ ประสงคของผูเ รียน การสบื ทอดนาฏศิลป ๑. รแู ละเขาใจความสัมพนั ธแ ละประโยชนของนาฏศิลปแ ละการละคร หลกั การชมนาฏศลิ ป ๒. สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทตา งๆ ของไทยในแตละ คุณคานาฏศลิ ปไทย ทอ งถิน่ ๓. เหน็ คุณคาการรักษาและสบื ทอดการแสดงนาฏศิลปไทย ๑๐๕´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

º··Õè ñ ¹Ò¯ÈÔÅ»ì¹èÒÃÙé ขอบขา ยสาระการเรยี นรแู กนกลาง รายวิชาศลิ ปะ ชน้ั ป.๔ ตัวช้ีวัดช้ันป สาระพน้ื ฐาน ความรฝู งแนนติดตวั ผเู รยี น มฐ.ศ ๓.๒ (๑) อธบิ ายประวัติความเปน มา ● ความเปน มาของนาฏศิลป ● นาฏศลิ ปไทยมีความเปน มาตัง้ แตโบราณ ของนาฏศลิ ปหรอื ชุดการแสดงอยา งงา ยๆ ● การไหวครู มฐ.ศ ๓.๒ (๓) อธบิ ายความสาํ คัญของการ โดยถกู คดิ คนและสรางสรรคจากศิลปน แสดงความเคารพในการเรยี น และการแสดง สมัยกอนจนเปนเอกลกั ษณแ สดงถึงความ นาฏศิลป เปน ไทย ดงั นน้ั กอ นเรยี นและกอนการ แสดง จงึ ตองมีการไหวค รูเพอ่ื เปน การ แสดงความกตัญกู ตเวทตี อ ครูบาอาจารย และบรรพชนที่ไดค ิดคน ขึ้นมา ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹Óʋ١ÒÃàÃÕ¹ ผฉูสบอับน ´ÙÀÒ¾áŌǺ͡ÇÒ‹ ¡ÒÃáÊ´§àËŋҹéÕ à»š¹¢Í§·ŒÍ§¶Ô¹è ã´ ๑๐๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

ñ. ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ¹Ò¯ÈÅÔ »ÁŠ ·Õ èÁÕ Ò¨Ò¡ ò áËÅ‹§ ¤Í× ÁÒ¨Ò¡¸ÃÃÁªÒµáÔ ÅÐÁÒ¨Ò¡¡ÒÃૹ‹ ºÇ§ÊÃǧ¾ÃÐà¨ŒÒ ๑. มาจากธรรมชาติ คอื มนษุ ยเลียนแบบการเคลือ่ นไหวตามธรรมชาติ เชน ลมพดั ดอกไมบ าน หรอื การเคล่อื นไหวทีแ่ สดงความรูสกึ เชน การกระโดดโลดเตน การรองไห การปรบมอื แสดงความดีใจ เปนตน ๒. มาจากการเซนบวงสรวงพระเจา สมัยกอนมนุษยตองอาศัยลัทธิความเชื่อเปน เครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ จึงแสดงกิริยาอาการตางๆ เพ่ือเปนการแสดงความเคารพบูชา เพื่อ ทําใหเ ทพเจา พึงพอใจ เชน การถวายอาหาร การสวดออ นวอน สรรเสรญิ เปนตน และตอ มาก็ มีการฟอนรําถวาย ¹Ò¯ÈÅÔ »Šä·Â ÁÕ»ÃÐÇѵ¤Ô ÇÒÁ໚¹ÁÒÂÒǹҹ ผฉสู บอับน Êѹ¹ÔɰҹNjҹҋ ¨ÐÁáÕ Ëŧ‹ ¡Òí à¹Ô´ÁÒ¨Ò¡ ô áËÅ‹§ ´Ñ§¹éÕ ๑. มาจากการละเลนของชาวบานในทองถิ่น เนื่องจากชาวบานแตละทองถิ่นไดมี กิจกรรมรองรําทําเพลงในเวลาวางหลังจากเสร็จจากการทํางานหรือทํานาทําไร ตอมาจึง พัฒนาเปนการแสดงนาฏศลิ ปข้ึน เชน การรําโทน การเตน กําราํ เคยี ว เปน ตน ๒. มาจากการแสดงที่เปนแบบแผน ในสมัยกอนนาฏศิลปไทยที่เปนมาตรฐาน มักมี แหลงกาํ เนดิ ในวงั หลวง โดยผฝู กเปน อาจารยทางนาฏศลิ ปส อนใหแ กศษิ ยท อี่ ยูในวงั ๓. มาจากรับอารยธรรมของอินเดีย ประเทศอินเดียมีอารยธรรมเกาแก และมีการ ละครท่ีเจริญรุงเรืองมาก นอกจากน้ียังเปนตนกําเนิดของพระอิศวร เทพเจาซึ่งเปนราชาแหง การรา ยราํ ความเชอื่ และตาํ ราการฟอ นรําบางสว นจึงเขา มามบี ทบาทตอ วงการนาฏศลิ ปข องไทย ๔. มาจากการเลียนแบบธรรมชาติ เปนการแสดงที่สรางสรรคมาจากทาทางตาม ธรรมชาติของมนุษย โดยอาจจะมีการปรับเปล่ียนทาทางใหสวยงามกวาทาทางธรรมชาติบาง แตก็สามารถสอ่ื ความหมายใหผ ูอื่นเขาใจได ๑๐๗´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

ทีม่ าของชุดการแสดง นอกจากการกําเนิดของนาฏศิลปไทยท่ีกลาวไวในขางตนแลว นักเรียนควรศึกษา เกีย่ วกับทม่ี าชดุ การแสดงตางๆ เพ่อื ใหเ กดิ ความรคู วามเขาใจในการแสดงชดุ น้นั ๆ เชน ๑. ฟอนเล็บ เปนการแสดงนาฏศิลปพ้ืนเมืองภาคเหนือ ในสมัยกอนมักนําออกมา แสดงประกอบในงานสาํ คัญๆ และผูแสดงเปนเจา นาย โดยเฉพาะการฟอ นของคุมเจา หลวงท่ีมี ลีลาออนชอยสวยงาม การฟอนเล็บเปนท่ีรูจักมากข้ึนในครั้งที่พระราชชายา เจาดารารัศมีทรงใหเจานายและ หญิงสาวฝายในฟอนถวายรับเสด็จฯ รัชกาลท่ี ๗ คราวเสด็จประพาสภาคเหนือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ และเปนทรี่ ูจักในกรุงเทพฯ เมอื่ มกี ารนาํ การฟอ นเล็บมาแสดงในงานสมโภชพระเศวต- คชเดชดิลกชางเผือก ในรัชกาลที่ ๗ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐ ตอมาจึงไดมีการฟนฟูและสงเสริม ใหม ีการฝก สอนสบื ตอ กนั มา และยงั มีใหชมในปจ จบุ ัน ผฉสู บอับน ▲ การฟอนเล็บมีกาํ เนดิ มาต้งั แตส มัยโบราณ เปน การแสดงนาฏศลิ ปท คี่ นทางเหนอ� มคี วามภาคภมู ิใจ ในภูมปิ ญ ญาบรรพบรุ ุษตนเองเสมอมา ๑๐๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

สวงิ เปน เครือ่ งมอื หาปลาชนิดหน่งึ ถักเปน รางแห ลักษณะเปนถงุ มักใชไ มห รอื หวายทําขอบปาก ๒. เซิ้งสวิง เปนการแสดงนาฏศิลปพื้นเมืองภาคอีสาน โดยเฉพาะจังหวัดกาฬสินธุ เปนการแสดงที่มีความสนุกสนาน ทารําดัดแปลงมาจากการออกหาปลาของชาวบาน โดยมี อปุ กรณทเ่ี รยี กวา สวิง มาประกอบ เซิ้งสวงิ มกี ารประยกุ ตแ ละปรับปรุงมาเรอ่ื ยๆ ในป พ.ศ. ๒๕๑๕ ทางกรมศลิ ปากรได ปรับปรุงทารําทองถิ่นเดิมใหมีทวงทากระฉับกระเฉงข้ึน และแสดงใหเห็นถึงการออกไปหาปลา การชอ นปลา การจับปลา ผแู สดงฝายหญงิ จะเปนผถู อื สวิงไปชอนปลา สว นผูแสดงฝายชายจะ ของ เปน เคร่อื งมอื ชนดิ หนง่ึ เปน เคร่ืองจกั สาน นาํ ของไปคอยใสป ลาทฝ่ี า ยหญงิ จบั ได ทําดวยไมไ ผ ใชสําหรับใสปลาหรือสัตวอ่ืน ผฉูสบอบั น ▲ เซงิ้ สวงิ เปน การแสดงที่สนุกสนาน และสะทอ นใหเ ห็นวิถีชีวติ ของคนในทองถิ�น ÊÇ§Ô à»¹š ÍØ»¡Ã³ÊÒí ËÃѺËÒ»ÅÒ à¾×Íè ãªãŒ ¹¡ÒôÒí çª¾Õ ¢Í§¤¹ã¹·ŒÍ§¶Ôè¹ÀÒ¤ÍÕÊÒ¹ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ แบงกลมุ สบื หาประวัติความเปนมาของชุดการแสดงที่มีอยูในทองถิ�นตา งๆ มา ๑ ชุด จากน้ันออกมานาํ เสนอหนาชนั้ เรยี น และใหเพือ่ นแสดงความคิดเหน็ ขึน้ อยูกบั ดุลยพนิ จิ ของผูสอน ๑๐๙´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

ò. ¡ÒÃäËÇŒ¤ÃÙ การไหวครูเปนวัฒนธรรมไทยอีกอยางหนึ่ง ซ่ึงถือวาเปนขนบธรรมเนียมอันดีงาม ของคนไทยทแี่ สดงถงึ การมกี ริ ยิ ามารยาท สมั มาคารวะ ตอ ครบู าอาจารย การไหวค รหู มายถงึ การแสดงความเคารพกตเวที การยอมรับนับถือ และการแสดงถึงความสํานึกที่ดีงามตอครู อาจารยทป่ี ระสทิ ธ์ปิ ระสาทวชิ าให การไหวครูเปนประเพณีท่ีมีมาตั้งแตสมัยโบราณ และถือวาเปนพิธีสําคัญของคนไทย อยางหน่ึง โดยเฉพาะการไหวครูกอนเรียนและกอนการแสดงนาฏศิลป เพราะนาฏศิลปเปน วชิ าทสี่ ืบทอดความเช่ือมาต้ังแตโ บราณ จึงมคี ณุ คาตอวัฒนธรรมและจติ ใจ การไหวค รจู ะทําให ผเู รียนเกิดความเช่อื มั่นในการแสดงนาฏศิลปไ ดด ีและประสบความสาํ เร็จในการแสดง ผฉูสบอับน ▲ การไหวค รทู างนาฏศลิ ป ถอื เปน ประเพณท� ด่ี งี าม แสดงถงึ ความกตญั กู ตเวทตี อ ครู อาจารย การไหวค รูในการแสดงนาฏศลิ ป เปน พธิ ที ่ีมีวัตถปุ ระสงค ดังนี้ ๑. เพื่อเปน การแสดงความกตญั กู ตเวทตี อครู อาจารย ๒. เพื่อสรา งขวญั กาํ ลังใจใหแ กล ูกศษิ ย ใหม จี ติ ที่มนั่ คง แนวแน ๓. เพื่อสรางความสามัคคใี หเกิดขน้ึ ในหมูลูกศิษย ศิลปน ครู อาจารย ๔. เพื่อธํารงไวซ ึง่ ศลิ ปวฒั นธรรมอันดงี ามของไทย นอกจากน้ียังเปนการสงเสริมใหเกิดความนอบนอมและความเคารพนับถือตอ คณาจารยท้ังทเ่ี ปน ครเู ทพเจา ครทู ี่ลว งลับไปแลว และครทู ย่ี งั มชี วี ติ อยู ๑๑๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò เขียนเลา ประสบการณการไหวครแู ละความรสู ึกในการทําพิธีไหวครู พรอมกับติดภาพประกอบ (ติดภาพ) ขนึ้ อยูก บั ดลุ ยพนิ ิจของผสู อน ผฉสู บอบั น ๑. ประสบการณไหวค รูของฉัน มีดังน้� ...................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. ความรสู ึกท่มี ตี อ การไหวครู คอื .................................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. คดิ วา พธิ ไี หวค รูมปี ระโยชน คอื ............................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๑๑´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ· ๑. แบงกลมุ สบื คน ขอ มูลประวัตคิ วามเปน มาของการแสดงนาฏศลิ ปในภาพ แลวตอบคําถาม มศฐ3./.ต2ัวช(1้ีว)ัด ผฉูสบอบั น ๑. ชื่อการแสดงนาฏศลิ ปในภาพ คือ โขน.......................................................................................................................................................... ๒. ประวัติความเปนมาโดยยอ มดี ังน�้...............(..ต....ว.ั ..อ....ย...า...ง...)......โ..ข...น....เ..ป....น.....น....า...ฏ....ศ....ลิ....ป....ช...น้ั....ส.....งู...ข...อ...ง....ไ..ท....ย.......ม...กี....าํ...เ..น....ดิ............. ม....า...ต....้ัง...แ....ต....พ....ุท....ธ....ศ....ต....ว...ร....ร...ษ.....ท....่ี.....๒....๐........โ..ด.....ย...ป....ร....ับ....ป.....ร...ุง....ม...า...จ....า...ก....ก....า...ร....เ..ล....น.........๓.........ป....ร....ะ..เ..ภ....ท.........ไ...ด....แ...ก.........ช...ัก....น.....า...ค....-....... ด....กึ....ด....าํ...บ.....ร...ร....พ.......ห....น.....งั ...ใ...ห....ญ..... ......แ...ล....ะ...ก....ร...ะ...บ....ก่ี....ร....ะ...บ....อ...ง.......เ..ร...อื่....ง...ท....แ่ี...ส.....ด....ง...ค....อื....เ..ร...อ่ื....ง......ร....า...ม...เ..ก....ยี....ร...ต....หิ์....ร....อื....ร...า...ม....า..ย....ณ.....ะ....... ท....ีแ่....ต....ง ...โ...ด....ย...พ.....ร...ะ.........ษ....วี...า...ล....ม....กิ ....ิ ...เ.ม....ือ่....ห....ล....า...ย...ป....ก.....อ...น........ช...า...ว...อ...ิน.....เ..ด....ีย....ส....ม....ยั ...โ...บ....ร....า...ณ.....เ..ช...อื่....ว...า......ก....า...ร...ไ...ด....อ....า..น.......................... หรอื ฟง เรื่อง รามเกยี รติ์ สามารถลา งบาปได.......................................................................................................................................................................................................................................... ๓. นักเรยี นชอบการแสดงชุดน้ห� รอื ไม ❍✓ ชอบ ❍ ไมช อบ เพราะ …๑…. …เ.ค....ร....อื่ ...ง....แ...ต....ง...ก.....า..ย....ม....ีค....ว...า...ม...ส.....ว...ย...ง....า..ม....แ...ล....ะ...ม....ีก....า...ร...ร....า...ย...ร....าํ...ท....อ่ี...อ....น.....ช...อ....ย.................................................................. ....................๒..........เ.น.....้ือ....เ.ร....อื่....ง...ม....คี ....ว...า...ม...ส.....น....ุก.....ส....น.....า..น........ด....แู...ล....ว...ท.....าํ ..ใ...ห....ร....สู....ึก....ส.....น....กุ....แ....ล....ะ...เ.พ.....ล....ดิ ....เ..พ....ล....นิ............................................. .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... ๑๑๒ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

๒. แบงกลมุ ศึกษาคน ควาการไหวครูของการแสดงนาฏศลิ ปใ นทองถ�ินและบันทกึ ขอ มลู มศฐ3./.ต2วั ช(3้ีว)ัด จากน้นั ผลดั กันนําเสนอหนา ชนั้ เรยี นและเปรยี บเทียบขอ มูลกับเพือ่ น ผฉสู บอับน ๑. ขอ มลู ที่ไปคน ควา มาเปนการไหวค รขู องการแสดง................................................................................................................. เปน นาฏศลิ ปประเภท ❍ รํา ❍ ระบาํ ❍ ฟอน ๒. อุปกรณทน่ี ํามาไหวค รู ไดแ ก.................................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. บุคลากรทส่ี าํ คญั ในการไหวครูชดุ น�้ ไดแ ก...................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ขน้ึ อยูกับดลุ ยพนิ ิจของผสู อน๔. ขน้ั ตอนในการไหวครู มดี งั น้� (อยา งยอ ) ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕. นักเรียนคดิ วา การไหวค รมู คี วามสําคญั ตอ การแสดงนาฏศลิ ปหรือไม สาํ คัญ ไมส าํ คญั เพราะ❍ ❍ ........................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๑๓´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

แบบทดสอบท่ี ๑ : กา ✗ คาํ ตอบทีถ่ ูกทสี่ ดุ ๑. นาฏศิลป คืออะไร ๖. การไหวครูเก่ียวขอ งกับขอใด ✗ก. การรา ยราํ ✗ก. การฝากตัวเปนศิษย ข. การขบั รอง ข. การฝากตัวเปนลูก ค. การมอง ค. การขอพรใหสมหวงั ง. การพดู ง. การแสดงความรัก ๒. การรายรําตอหนาเทพเจาทําเพอ่ื อะไร ๗. ขอ ใดไมเ กย่ี วของกับการไหวค รู ก. แกบ น ก. โขน ข. แสดงตน ข. มโนราห ค. ความสนกุ ค. ละครนอก ✗ง. ขอใหส มหวัง ✗ง. มวยสากล ๓. นาฏศิลปไทยมลี กั ษณะเดนในขอใด ๘. คุณธรรมขอ ใดเกยี่ วขอ งกบั การไหวค รู ผฉูสบอับน ก. หาวหาญ เขมแขง็ ✗ก. ความกตญั ูกตเวที ✗ข. ออนชอ ย งดงาม ข. ความวริ ยิ ะอตุ สาหะ ค. นุมนวล เชือ่ งชา ค. ความเออ้ื เฟอ เผื่อแผ ง. รวดเร็ว ฉบั ไว ง. ความอดทน ๔. ขอใดเปนนาฏศลิ ปไทยที่มาจาก ๙. ความเชอ่ื ใดเก่ยี วขอ งกบั การไหวครู ภาคอีสาน ก. เชอื่ วาจะเปนครูได ก. โขน ข. เชอื่ วาจะไดด ีกวาครู ✗ข. เซงิ้ สวงิ ค. เชื่อวา จะเกงเหมือนครู ค. รําฉยุ ฉาย ✗ง. เช่ือวา จะประสบความสาํ เร็จในการแสดง ง. ละครนอก ๑๐. ขอใดไมใชประโยชนข องการไหวครู ๕. ฟอ นภูไท เปน การแสดงทม่ี าจาก ก. เพอ่ื แสดงความกตัญูกตเวที ทอ งถนิ่ ใด ✗ข. เพอื่ สรางความศรทั ธาใหแ กค รู ก. ภาคใต ข. ภาคกลาง ค. เพอ่ื สรางความสามัคคีในหมลู ูกศิษย ✗ค. ภาคอีสาน ง. ภาคเหนือ ง. เพื่อรกั ษาศิลปวฒั นธรรมดงี ามของไทย ๑๑๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

º··èÕ ò ¤Ø³¤‹Ò¹Ò¯ÈÔÅ»äŠ ·Â ขอบขา ยสาระการเรียนรแู กนกลาง รายวชิ าศลิ ปะ ช้นั ป.๔ ตัวช้วี ัดชน้ั ป สาระพ้ืนฐาน ความรูฝ ง แนนติดตวั ผูเรียน มฐ.ศ ๓.๒ (๒) เปรียบเทยี บการแสดง ● ความสาํ คญั ของนาฏศิลปไทย ● นาฏศิลปไทยเปนมรดกทางวัฒนธรรม นาฏศิลปกบั การแสดงที่มาจากวัฒนธรรมอื่น ● การสบื ทอดนาฏศิลป มฐ.ศ ๓.๒ (๔) ระบุเหตผุ ลทค่ี วรรกั ษา ● หลกั การชมนาฏศิลป แสดงถึงความเปนไทยและมีคุณคาควรแก และสบื ทอดการแสดงนาฏศลิ ป การอนรุ ักษและสบื ทอด และการชม การแสดงที่หลากหลาย จะชวยใหผูชม รูจกั การแสดงจากท่ีตางๆ มากข้นึ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹Óʡً ÒÃàÃÕ¹ ผฉสู บอบั น ´ÀÙ Ò¾¡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÔÅ»Šä·Â¢ŒÒ§º¹áÅÇŒ ºÍ¡ä´ŒäËÁÇ‹ÒÁÕ¤ÇÒÁÊǧÒÁÍÂÒ‹ §äà ๑๑๕´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

ñ. ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¹Ò¯ÈÅÔ »Šä·Â นาฏศิลปไทย เปนศิลปะการแสดงที่มีความเปนเอกลักษณของชาติ เพราะการแสดง นาฏศิลปไทยแตละชุด จะสรางสรรคจากจินตนาการและแนวความคิดท่ีอิงอยูบนพื้นฐานของ ความเชื่อ คา นยิ ม วฒั นธรรมประเพณี และวถิ ชี ีวิตของคนในทองถ่นิ นั้นๆ ดังน้นั การไดไ ปชม การแสดงนาฏศิลปไทยในชดุ หนึง่ ๆ ผูชมจะไดร บั ความรูและความบนั เทิงควบคูกนั ไป นาฏศิลปม เี อกลักษณแ สดงถงึ ความเปน ไทย ดงั น้ี ๑. ทา รํา เปน เอกลกั ษณเ ฉพาะตัวไมเหมือนใคร มลี ีลาเคลือ่ นไหวออนชอยสวยงาม ๒. ดนตรี มจี งั หวะทาํ นองโดดเดน มีเอกลักษณข องตวั เอง และใชเ ครือ่ งดนตรีไทย ในการบรรเลงประกอบการแสดง ๓. เนอ้ื เพลง สว นมากเปน คําประพนั ธป ระเภทกลอนแปด ผสู อนหรอื ผรู าํ มกั กาํ หนด ทา รําไปตามเน้อื รอ ง ๔. เคร่ืองแตงกาย มีลักษณะเปนเอกลักษณเฉพาะตัว สวยงามมาก โดยเฉพาะการ ผฉูสบอับน แสดงนาฏศิลปช ุดใหญ คุณคา ของนาฏศลิ ปไทย สามารถแสดงเปน แผนภมู ิได ดังนี้ ¡Òú٪Òà·¾à¨ÒŒ Ç¸Ô Õ¡ÒÃáµ§‹ ¡Ò ¨ÒÃµÕ ¢Í§¡ÒÃáÊ´§ ¤ÇÒÁ¡µÑސ١µàÇ·Õ ªØ´¡ÒÃáÊ´§ »ÃÐà¾³Õ ¾Ô¸¡Õ ÃÃÁµ‹Ò§æ µÒÁà¹Í×é àÃèÍ× § µÍ‹ ¤ÃÙ ÍÒ¨ÒÏ ¤Ò‹ ¹ÂÔ Á »ÃÐà¾³Õ ¤ÇÒÁàª×Íè ¹Ò¯ÈÅÔ »Šä·Â ÀÁÙ »Ô ˜ÞÞÒä·Â »ÃÐÇѵÈÔ ÒʵÏ ¡Òû˜¡à¤Ã×Íè §áµ‹§¡ÒÂ Ç¸Ô Õ¡ÒÃᵋ§¡ÒÂÂ×¹à¤Ã×èͧ¾Ãйҧ ¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧªØ´¡ÒÃáÊ´§ ¡ÒúÃèطӹͧà¾Å§ ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ෾਌ҵҋ §æ ¡ÒÃᵋ§¡ÒÂã¹ÊÁѵҋ §æ »ÃÐÇѵԺؤ¤ÅÊÓ¤ÑÞ·Ò§¹Ò¯ÈÅÔ »áŠ ÅÐ ´¹µÃÕ ๑๑๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ แบงกลุม หาภาพการแสดงนาฏศิลปที่แสดงถึงความเปนไทย แลวออกมานําเสนอหนาช้ันโดยแสดง ความคดิ เห็นวา การแสดงนาฏศลิ ปในภาพนัน้ มีคณุ คาอยา งไร ข้นึ อยูกบั ดุลยพนิ ิจของผูส อน ò. ¡ÒÃÊº× ·Í´¹Ò¯ÈÅÔ »Š นาฏศิลปเปนผลงานที่มนุษยเราสรางสรรคข้ึน เพื่อสนองตอบไปในสิ่งที่เห็นวาดีงาม มีความสุข มีความบันเทิง คุณคาของนาฏศิลปสามารถนําไปสูความรูสึกนึกคิดของจิตใจและ สงผลใหเกิดพลงั ในการดําเนินชวี ิต การแสดงนาฏศิลปจงึ มีวตั ถปุ ระสงคสําคัญๆ ดงั นี้ ๑. เพื่อนําคุณคา ทางสนุ ทรยี ศิลปม าปรงุ แตงในชวี ิตใหสมบรู ณข้ึน ๒. เพอ่ื ศึกษาประวัติความเปนมา พัฒนาการ และเนื้อหาสาระของนาฏศิลป ๓. เพอื่ เรียนรูนาฏศลิ ปซ ่งึ เปนวฒั นธรรมของมนษุ ยชาติ ผฉูสบอับน ๔. เพือ่ เปนการปลูกฝง และสงเสริมนิสยั ทางศลิ ปะ ๕. เพื่อสงเสริมและอนรุ กั ษวฒั นธรรมของชาติใหค งอยสู บื ไป ๖. เพื่อฝกการทํางานรวมกับคนอ่ืน กลาแสดงออก สามารถนําความรูไปใชในการ ประกอบอาชีพ หรือเพ่ือศกึ ษาตอตามถนัดของแตละบุคคล จะเห็นไดวานาฏศิลปมีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตของผูคนในสังคม และเปน มรดกวัฒนธรรมอันดีงามที่บรรพบุรุษไดสรางสรรคขึ้นมา ดังน้ันนักเรียนจึงควรรักษาและ สืบทอดตอไป ซงึ่ สามารถปฏิบตั ิได ดงั นี้ ๑. ศึกษาคนควาเรื่องราวเก่ียวกับนาฏศิลปท่ีสนใจ เพ่ือเก็บเปนขอมูลในการศึกษา เรียนรูเกีย่ วกบั นาฏศลิ ปตอไป ๒. เขารวมกิจกรรมท่เี กย่ี วกบั นาฏศลิ ป เพือ่ ชน่ื ชมและหาประสบการณท างนาฏศิลป ใหม ากขึ้น ๓. ฝก เรียนการแสดงนาฏศลิ ปท่ีสนใจจนเกิดความชํานาญ ๔. รวมสงเสริมและเผยแพรก ารแสดงนาฏศลิ ปในชมุ ชนใหผูอ่นื ไดร จู กั ๑๑๗´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò แบง กลมุ ใหหาภาพการแสดงนาฏศลิ ปท ี่ชนื่ ชอบแลว นาํ มาตดิ ลงในกรอบ และบันทกึ ขอ มูล (ติดภาพ) ขนึ้ อยูกับดุลยพินิจของผสู อน ผฉสู บอบั น ๑. จากภาพ เปน การแสดง .................................................................................................................................................................................. ๒. เปน นาฏศลิ ปประเภท ❍ ราํ ❍ ระบาํ ❍ ฟอ น อ่นื ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. นักเรยี นคดิ วา การแสดงนาฏศิลปชุดน้ม� คี ณุ คาอยา งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. หากเราไมม นี าฏศิลปไทยใหช ่ืนชมนักเรียนจะรูสึกอยา งไร ❍ ไมภมู ิใจ ❍ เฉยๆ ❍ อยากมีเหมอื นประเทศอน่ื ❍ อืน่ ๆ ………………………………………………………………………………….. ๕. นกั เรยี นมวี ธิ ชี ว ยอนรุ กั ษน าฏศลิ ปไทยไดอ ยา งไร……………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑๑๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

ó. ËÅ¡Ñ ¡ÒêÁ¹Ò¯ÈÔŻРการชมนาฏศิลปใหไดรับความรูและความเพลิดเพลิน นักเรียนตองรูหลักการชมดวย โดยเฉพาะเมอ่ื ชมการแสดงนาฏศลิ ปชดุ ตา งๆ ควรรจู กั พิจารณาเปรียบเทยี บการแสดงท่มี าจาก ทองถิ่นตางๆ วามีความแตกตางและเหมือนกันอยางไรบาง ซึ่งจะทําใหนักเรียนไดความรูและ ประสบการณจ ากการชมการแสดงมากขนึ้ การพิจารณาเปรยี บเทยี บการแสดงชุดตา งๆ อาจใชหลกั การสงั เกต ดงั นี้ ๑. สังเกตทาราํ ควรดูวา การแสดงนาฏศิลปที่ชมน้นั มลี กั ษณะการเคลื่อนไหวอยางไร เชน รวดเรว็ วองไว ออนชอ ย งดงาม เปน ตน นอกจากน้ีพจิ ารณาดวู า มคี วามแตกตา งหรือ คลายกบั การแสดงนาฏศลิ ปท่ีมาจากท่อี ่นื หรอื ไม ๒. สังเกตดนตรีประกอบ เพราะดนตรีเปนสวนหนึ่งของการแสดงนาฏศิลปชุดตางๆ ใหนักเรียนพิจารณาวา เครื่องดนตรีท่ีใชประกอบการแสดง มีเคร่ืองดนตรีชนิดใดบาง และมี การบรรเลงคลา ยหรอื แตกตางจากการแสดงทมี่ าจากทองถ่ินอ่ืนอยางไร ๓. สังเกตเนอื้ รองประกอบ การสังเกตเนื้อรองใหพิจารณาวา จังหวะและทํานองมีผฉสู บอบั น ลักษณะอยา งไรมีความหมายหรือตอ งการสอ่ื ถงึ เรื่องใด แลว ดวู าคลา ยกนั หรอื แตกตา งจากการ แสดงนาฏศิลปจ ากทองถ่ินอื่นอยางไร ๔. สังเกตการแตง กาย การแสดงนาฏศลิ ปท่มี าจากทองถิน่ ตา งๆ มกั มกี ารแตงกาย ไมเหมือนกัน ใหพิจารณาวาผูแสดงของนาฏศิลปแตละชุดแตละทองถ่ินมีการแตงกาย อยางไรมีองคประกอบและอุปกรณในการแสดงอะไรบาง แลวเปรียบเทียบกับการแสดงชุดอ่ืน วา มีความแตกตางและความเหมอื นกนั อยา งไร หากนักเรียนมีโอกาสไดชมการ แสดงนาฏศิลป โดยเฉพาะนาฏศลิ ปทมี่ าจาก ทองถ่ินตางๆ ใหลองพิจารณาเปรียบเทียบดู ซึ่งจะทําใหไดรับความรู และไดประโยชน จากการชมการแสดงมากข้นึ ▲ การชมการแสดง ควรรจู กั สงั เกตและเปรยี บเทยี บ ๑๑๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

การแสดงนาฏศิลปข องทองถนิ่ การแสดงชุด ฟอนเง้ยี ว ฟอนเงี้ยวเดิมเปนการแสดงของชาวไทยเผาหน่ึงทางภาคเหนือ ตอมาไดมีการนํามาปรับปรุง ทา รําใหเ ปน แบบฉบับนาฏศิลปไทย มลี ักษณะ ดงั นี้ ๑. เพลงรอง เน้ือเพลงฟอนเง้ียวมีลักษณะเปนบทอวยพร โดยยึดคุณพระศรีรัตนตรัย เปนที่ต้ัง โดยอาราธนาพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ เทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายใหมาปกปก รักษา อวยชยั ใหพร เพ่ือความเปนสวสั ดมิ งคลสืบไป เพลงฟอ นเงี้ยว ขออวยชัยพทุ ธไกรชว ยคาํ้ ทรงคุณเลศิ ลาํ้ ไปทุกท่วั ตวั ตน จงไดรบั สรรพมง่ิ มงคล นาทา นนา ขอเทวาชว ยรักษาเถอะ ขอใหอ ยูส ุขา โดยธรรมานุภาพเจา เทพดาชว ยเราถอื เปน ม่งิ มงคล ผฉูสบอับน สงั ฆานุภาพเจาชว ยแนะนาํ ผล สรรพมงิ่ ทว่ั ไปเทอญ มงคลเทพดาทกุ แหง หน ขอบันดลชว ยคํา้ จุน (บทรองของเกา ) ๒. เครือ่ งดนตรี เครื่องดนตรีท่ีใชป ระกอบการแสดงฟอนเง้ียว คือ วงปพ าทย อาจจะเปน วง ปพ าทยเครอื่ งหา เคร่ืองคู หรือเครอื่ งใหญก็ไดตามความเหมาะสม ๓. การแตงกาย ฟอนเงย้ี วเปนการราํ คชู ายหญิง การแตงกายทง้ั ชายและหญงิ แตง กายแบบ พน้ื เมืองภาคเหนือ คือ แตง กายแบบชาวเงย้ี ว อุปกรณท ี่ใชประกอบการแสดง คอื กิ่งไม ๔. ทารํา ฟอนเงี้ยวเปน การราํ คูชายหญิง ดงั นนั้ ทา รําจะมีความสัมพันธก ันระหวางชายหญิง แลวตีบทตามบทรอง โดยใชทา ทางเพ่ือส่ือความหมายแทนคาํ พดู ดว ยทา ทางธรรมชาติ เอกลักษณข องทาราํ ฟอ นเง้ียว คือ การกา วเทา ๓ จงั หวะ และถอยเทา ๓ จังหวะ แลวแตะเทา สวนทาราํ จะเลียนแบบทา ราํ ของชาวเง้ียวโดยยนื ยอ เขาโนม ตัวไปขา งหนา ยกั เอวสา ยไปมา ๑๒๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

การแสดงชดุ ราํ เหยอ ย เปนศิลปะการแสดงพ้ืนบานของทองถ่ินภาคกลาง ซึ่งกรมศิลปากรไดนํามาเผยแพรใหเปนที่ รจู ัก มีลักษณะ ดังนี้ ๑. เพลงรอ ง เนอื้ เพลงเหยอ ยจะเปนกลอนงา ยๆ มสี ัมผัสเพยี งทา ยวรรคที่ ๒ เทานน้ั ทาํ นอง ก็ไมยาก และมีลูกคูรองซํ้าเหมือนท่ีผูรองรองทุกครั้ง โดยท่ัวไปถาพิจารณาดูเน้ือรองเพลงเหยอยแลว จะเห็นวามีทั้งบทเกร่นิ เกี้ยว สขู อ ลักหาพาหนี ลา อยูครบถว น เพลงเหยอ ย ชาย มาเถดิ หนาแมม า มาเลนพาดผา กันเอย ที่ตัง้ วงไวท า อยา นิ่งรอชา เลยเอย ท่ตี ง้ั วงไวค อย อยาใหว งกรอยเลยเอย หญิง ใหพ ่ยี ืน่ แขนขวา เขา มาพาดผา เถดิ เอย ชาย พาดเอยพาดลง พาดที่องคนอ ยเอย หญิง มาเถดิ พวกเรา ไปราํ กบั เขาหนอยเอย ๒. เคร่ืองดนตรี ฯลฯ ไดแก กลองยาว ฉ่ิง ฉาบ กรับ โหมง ตอมา ผฉสู บอบั น ที่ใชในการเลนเพลงเหยอย กรมศิลปากรไดเพิ่มปช วาเขาไปอกี อยางหนงึ่ ๓. การแตงกาย ผูแสดงมีท้ังผูชายและผูหญิง ไมจํากัดจํานวนผูแสดง โดยการแตงกายนั้น หญงิ นุง โจงกระเบน ใสเสื้อคอกลมแขน ๓ สวน หรือแขนยาวก็ได เอาชายเสอ้ื ไวในผา โจงกระเบน มีผา สไบคลองบา หรือแตงแบบพื้นบานของคนในทองถิ่นน้ันๆ ชายนุงโจงกระเบน ใสเส้ือคอกลมแขนส้ัน มีผา ขาวมาคาดเอว ผูแสดงจะมีผาสไบ ๑ ผืน เอาไวสําหรับคลองกันไปมาในระหวางแสดงดว ย ๔. ทารํา ของเพลงเหยอยจะไมมีแบบฉบับที่แนนอน สุดแทแตผูใดถนัดท่ีจะรําแบบไหนก็รํา ไดต ามใจชอบ แตกอนจะราํ นั้นจะตองมีการเรมิ่ ตนดวยการประโคมหรือโหมโรงดวยกลองยาว จากนนั้ ผเู ลน ฝา ยชายจะเร่มิ ราํ ออกไปกอ น สองมือถือผาของตนไปดว ย และจะรําเขา ไปหาแถวฝายหญงิ ซง่ึ อยู ฝงตรงขาม แลวใชผาคลองหรือสงใหฝายหญิง สวนฝายหญิงก็จะรําออกมาและรองโตตอบกันเปน ทํานองเก้ียวพาราสีกัน เม่ือรองรํากันพอสมควรแลว ฝายหญิงก็จะนําผาไปคลองใหฝายชายคนตอไป ชายคนแรกก็คอ ยๆ รํากลบั ท่ีเดมิ เลนสลับกนั อยา งน้เี รอื่ ยไป จะเลน ทลี ะคกู ็ได แตถ าเลนหลายคูหรอื ทลี ะหลายคู ตองมคี นรอ งตา งหาก ๑๒๑´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ó ดูภาพ แลว พจิ ารณาเปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศิลปท้ังสองภาพ แลวตอบคําถาม ñ ชื่อการแสดง……ร…ํา…ก…ล…อ…ง…ย…า…ว……………………………………….. เปนการแสดงนาฏศลิ ปท องถ�ิน ❍ ภาคเหน�อ ❍ ภาคอีสาน ❍✓ ภาคกลาง ❍ ภาคใต ò ช่อื การแสดง……ร…าํ …เซ…้ิง…………………………………………………….. ผฉูสบอบั น เปนการแสดงนาฏศลิ ปท องถ�นิ ❍ ภาคเหน�อ ❍✓ ภาคอสี าน ❍ ภาคกลาง ❍ ภาคใต ๑. ใหเปรียบเทียบการแสดงทง้ั สองภาพ ดงั น้� ❍ คลาย ❍✓ แตกตาง ๑) ทารํา ❍ คลาย ❍✓ แตกตาง ๒) เครอื่ งดนตรปี ระกอบ ❍ คลา ย ❍✓ แตกตาง ๓) เนอ้� รอ งประกอบ ❍ คลาย ❍✓ แตกตาง ๔) การแตง กาย ๒. ลกั ษณะเดน ของการแสดงท้งั สองชุด มีดังน้� ๑) ภาพที่ ๑..........แ...ต....ง....ก....า...ย...แ...บ.....บ....ช...ุด.....ไ..ท....ย....แ...บ.....บ....ผ....ชู ...า...ย......ม....ีก....ล....อ....ง...ย....า..ว...ป.....ร...ะ...ก....อ....บ....ก....า...ร....แ...ส....ด....ง.......................................... .................................................................................................................................................................................................................................. ๒) ภาพท่ี ๒ แตงกายแบบพ้นื เมืองภาคอสี าน............................................................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................................. ๓. นกั เรยี นชอบการแสดงในภาพใดมากกวา กัน ❍✓ ภาพท่ี ๑ ❍ ภาพท่ี ๒ เพราะ...........ช....อ...บ.....ก....ล....อ....ง...ย....า..ว...ท.....่ใี ..ช...ป....ร....ะ...ก....อ....บ....ก....า...ร...แ....ส....ด....ง.......ม...จี....ัง...ห....ว...ะ...ส....น.....ุก....ส.....น....า...น.................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................... ๑๒๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ· ๑. แบงกลุม ใหแตละกลุมฝก การแสดงนาฏศิลปมา ๑ ชุด จากนัน้ ใหออกมาแสดงหนา ชน้ั เรยี น มฐ./ตัวชี้วัด และบนั ทกึ ขอมลู ศ3.2 (4) ๑. ชื่อชดุ การแสดง...................................................................................................................................................................................................... ๒. ทา ทางการรายราํ ประกอบดว ย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขน้ึ อยูกบั ดุลยพินจิ ของผูสอน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ผฉูสบอับน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. นกั เรยี นชอบการแสดงชุดนห้� รือไม ❍ ชอบ ❍ ไมชอบ เพราะ............................................................................................................................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. นักเรียนคิดวา การฝกการแสดงนาฏศิลปเปนการชวยรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลปไทย ไดห รือไม ❍ ได ❍ ไมไ ด เพราะ............................................................................................................................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕. นกั เรยี นคิดวา เพราะเหตุใดเราจงึ ควรรกั ษาและสบื ทอดการแสดงนาฏศิลป ๑) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๒๓´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

มศฐ3./.ต2ัวช(2ี้ว)ดั ๒. ตดิ ภาพนาฏศลิ ปไทยกบั นาฏศลิ ปทองถิน� แลว เปรียบเทียบความเหมอื นและความแตกตาง บนั ทกึ ขอ มลู นาฏศลิ ปไ ทย (ตดิ ภาพ) ขึ้นอยูก ับดลุ ยพนิ ิจของผูสอน ๑) ทา รํา…………………………………………………………………….. ๓) เนอื้ รอ ง………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ๒) ดนตรีประกอบ ………………………………………………….. ผฉูสบอับน ๔) การแตง กาย ……………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. นาฏศิลปท องถิน� (ติดภาพ) ขน้ึ อยูกบั ดลุ ยพินจิ ของผสู อน ๑) ทา ราํ …………………………………………………………………….. ๓) เนอ้ื รอ ง………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ๒) ดนตรีประกอบ ………………………………………………….. ๔) การแตงกาย ……………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ๑๒๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

แบบทดสอบที่ ๒ : กา ✗ คําตอบทีถ่ กู ท่ีสดุ ๑. ขอใดเปนลกั ษณะทา รํานาฏศิลปไทย ๖. การแตง กายของนาฏศลิ ปช ดุ ใดแสดงถงึ ก. ทา ราํ กระฉับกระเฉง ภมู ิปญญาของการออกแบบมากที่สุด ข. ทา รําแข็งกระดา ง ✗ก. โขน ข. เซ้ิงสวงิ ค. ทาราํ แปลกตา ค. ฟอ นเล็บ ง. ราํ เหยอย ✗ง. ทาราํ ออ นชอ ย ๗. ทาํ ไมจึงตองมกี ารอนรุ ักษน าฏศิลปไทย ๒. นาฏศลิ ปไทยไมไดมคี ุณคาในดานใด ก. เพราะเปนสิง� สวยงาม ก. คา นิยม ข. เพราะเปน สิง� ตองหาม ✗ข. เศรษฐกจิ ค. เพราะเปน การแสดงท่หี าดูยาก ค. ประวัติศาสตร ✗ง. เพราะเปนมรดกทางวฒั นธรรม ง. ประเพณ�วฒั นธรรม ๘. ขอ ใดเปน การอนรุ กั ษน าฏศิลปไทยไดด ที ่สี ดุ ๓. ขอ ใดเกย่ี วกบั วิถชี วี ิตของคนในชมุ ชน ก. สืบคน ความเปน มา ✗ก. เซงิ้ สวิง ข. ระบาํ กรับ ✗ข. การฝก แสดงนาฏศิลป ผฉูสบอบั น ค. ระบาํ ลพบุรี ง. รําแมบท ค. สะสมภาพการแสดงนาฏศลิ ป ๔. ขอใดเปน ประโยชนข องนาฏศิลปดาน ง. ติดตามการชมการแสดงทุกโอกาส ประวัตศิ าสตร ๙. นาฏศลิ ปทองถนิ� เก่ียวขอ งกบั คนในทอ งถิ�น ก. พิธกี รรมตางๆ ตามเน้อ� เรอ่ื ง ขอใด ข. การแตงทํานองเพลง ✗ก. มสี วนรวมในกจิ กรรมทางวฒั นธรรม ✗ค. การแตงกายสมยั ตางๆ ข. ชวยยึดเหน�ยวจิตใจของทุกคน ง. จารตี ของการแสดง ค. ชวยพัฒนาจิตใจของคน ๕. เซ้ิงสวงิ เกี่ยวขอ งกับวิถีชวี ิตของคนใน ง. สง เสรมิ ธรุ กจิ ในชุมชน ทอ งถ�ินเรือ่ งใด ๑๐. การฝกเรยี นนาฏศิลปม ีประโยชนในขอ ใด ก. การลา สตั ว ก. ทําใหเรียนเกง ✗ข. การหาปลา ข. ทาํ ใหเ ปน คนดี ค. การเก่ียวขา ว ค. ทําใหเ พือ่ นยกยอง ง. การทาํ บุญ ✗ง. ทาํ ใหก ลา แสดงออก ๑๒๕´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä ๑. แบง กลุม สาํ รวจการแสดงนาฏศลิ ปท องถน�ิ ตนเองมา ๑ ตัวอยาง และบนั ทกึ ขอ มลู ๑. ชื่อการแสดง คอื ..................................................................................................................................................................................................... ๒. ประวตั คิ วามเปน มา มดี งั น�้ ............................................................................................................................................................................. ขน้ึ อยูกับดุลยพินิจของผสู อน............................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................... ๓. โอกาสในการแสดง คือ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................... ผฉสู บอับน ๔. ลักษณะการแสดง ทา ราํ เนอ้� รอ ง................................................................................................................................ ........................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ดนตรีประกอบ การแตงกาย..................................................................................................... ........................................................................................................... ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................ ๒. แบงกลุม จัดปายนิเทศแนะนําการแสดงนาฏศิลปทองถิ�นของนักเรียนชุดตางๆ และเสนอแนวทาง การอนรุ ักษและสง เสริม ขึ้นอยกู ับดลุ ยพนิ ิจของผูสอน ๑๒๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด ๔แปบรบะทจดําหสนอวบยวกัดาผรลเสรัมยี นฤทรูทธี่์ิ ä´¤Œ Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµÁç ๑. ขอใดถอื เปนแหลง กําเนดิ นาฏศลิ ป ñð ก. มาจากผูมีอาํ นาจในสมัยน้นั ๆ ข. มาจากพระมหากษตั รยิ  ๖. การไหวครเู กย่ี วขอ งกับคณุ ธรรมขอ ใด ค. มาจากพอมดหมอผี ✗ก. ความกตญั กู ตเวที ✗ง. มาจากธรรมชาติ ข. ความเออื้ เฟอ เผือ่ แผ ๒. นาฏศิลปไทยไมไ ดม าจากขอใด ค. ความขยนั หม�นั เพยี ร ✗ก. พิธกี รรมทางศาสนา ง. ความอดทน ข. การเลยี นแบบธรรมชาติ ๗. ขอใดคือลกั ษณะของนาฏศิลปไทย ค. การแสดงที่เปน แบบแผน ✗ก. ทา รําออ นชอ ย ง. การละเลนในทอ งถิน� ๓. เทพเจาองคใด เปน เทพแหงการรา ยราํ ข. เครอ่ื งแตง กายสีฉูดฉาด ก. พระพรหม ✗ข. พระอศิ วร ค. ไมมเี พลงประกอบการแสดง ค. พระนารายณ ง. พระพิรุณ ง. ใชเ คร่ืองดนตรีสากลบรรเลงประกอบ ผฉูสบอบั น ๔. การแสดงนาฏศลิ ปข อ ใด มถี �นิ กาํ เนิดทาง ๘. ขอใดเปน การอนรุ ักษก ารแสดงนาฏศลิ ป ภาคเหน�อ ก. วาดรปู การแสดงนาฏศิลป ✗ก. ฟอ นเลบ็ ข. ฟอนภูไท ข. ทาํ ของทีร่ ะลึกทางนาฏศลิ ป ค. เซ้งิ สวงิ ง. รองเงง็ ๕. เซง้ิ สวิง มีถ�นิ กาํ เนดิ ทท่ี องถน�ิ ใด ค. ขายสินคา ทางนาฏศิลป ✗ง. เขา รว มกิจกรรมทางนาฏศลิ ป ก. ภาคเหนอ� ข. ภาคกลาง ๙. ขอใดไมใชห ลกั ในการชมนาฏศลิ ป ✗ข. เวทีแสดง ✗ค. ภาคอีสาน ก. ทารํา ง. ภาคใต ค. การแตง กาย ง. ดนตรีประกอบ ๑๐. ขอใดเปน เครื่องดนตรปี ระกอบการแสดง ราํ เหยอ ย ก. ซงึ ข. สะลอ ✗ค. กลองยาว ง. ระนาดเอก ¤Ã٨Ѵ·´Êͺ»ÅÒÂÀÒ¤ â´Â㪢Œ ÍŒ Êͺ㹷ŒÒÂàÅ‹Á¹Õé ๑๒๗´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШíÒ˹‹Ç รายการวดั ประเมินผลตามเปาหมายการเรยี นรู ประจําหนวยท่ี ๔ คําช้แี จง : ๑. ครกู ําหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมทีต่ องการวดั ผลเพอื่ เกบ็ สะสม ๒. ครนู าํ คะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค (A) ของนกั เรยี นแตล ะคน กรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมิน ๓. ช้นิ งานทม่ี เี ครอ่ื งหมาย * ใหใ ชประกอบการประเมินการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นสอ่ื ความ รายการประเมิน รายการเครอื่ งมอื วัดและประเมินผลการเรยี นรูของนกั เรียน คะแนนรวมดา น ดา นความรู (K) ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ดานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค (A) K/P/A ตัวช้ีวัดช้ัน ป.๔ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมินผลสมั ฤทธด์ิ า น K / P / A ศ ๓.๒ (๑) อธิบายประวัติ - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน ความเปนมาของนาฏศิลป บทที่ ๑ ขอ ๑ แบงกลุม ศิลปะ คุณลักษณะ หรอื ชดุ การแสดงอยา งงา ยๆ สืบคนขอมูลประวัติ ที่พึงประสงค ความเปนมาของ การแสดงโขน ศ ๓.๒ (๒) เปรยี บเทยี บการ - ก. พัฒนาการคิด* - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน แสดงนาฏศลิ ปก บั การแสดง บทที่ ๒ ขอ ๒ ศิลปะ คุณลักษณะ ที่มาจากวัฒนธรรมอื่น เปรียบเทียบนาฏศิลป ที่พึงประสงค ไทยกับนาฏศิลป ทองถิ่น ผฉูสบอับน ศ ๓.๒ (๓) อธิบายความ - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน สาํ คญั ของการแสดงความ บทที่ ๑ ขอ ๒ ศิลปะ คุณลักษณะ เคารพในการเรียนและ แบงกลุมศึกษาคนควา ที่พึงประสงค การแสดงนาฏศิลป การไหวครขู องการ แสดงนาฏศิลปทองถิ่น แลวนํามาเสนอหนาชั้น ศ ๓.๒ (๔) ระบเุ หตผุ ลทคี่ วร - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน รกั ษาและสบื ทอดการแสดง บทที่ ๒ ขอ ๑ ศิลปะ คุณลักษณะ นาฏศิลป แบงกลุมแสดงนาฏศิลป ที่พึงประสงค แลวตอบคําถามเกี่ยวกับ การอนุรักษนาฏศิลปไทย สว นที่ ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรยี นตามตวั ชีว้ ัด สว นท่ี ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรยี น ผลงานกิจกรรมบูรณาการฯ ที่นักเรียนเลือก ชื่องาน ............................................................................................. สวนท่ี ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธิผลประจําหนวย การทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ประจําหนวยที่ ๔ สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการเรยี นรูประจําหนวย ผาน ไมผาน ๒ พอใช ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ผานเกณฑประเมิน ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ......................................................................................................................................... ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๑๒๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ»ÃÐàÁ¹Ô ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃÍÒ‹ ¹ ¤Ô´ÇàÔ ¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×Íè ¤ÇÒÁ ªéÔ¹·Õè ñ อา นบทความตอไปนแ้� ละตอบคาํ ถาม วงดนตรี กทม. กรุงเทพมหานครไดมีการจัดต้ังวงดนตรีไทยขึ้น ซ่ึงบทบาทหนาท่ีของดนตรีไทยวงนี้ คือ บรรเลงในงานพิธี หรือพระราชพิธี ตามวาระโอกาสตางๆ และจัดการแสดงเผยแพรแกประชาชน ทว่ั ไป โดยจะผลัดเปลยี่ นหมนุ เวยี นกับฝา ยดนตรสี ากลไปบรรเลงใหค วามบนั เทงิ แกผ ูไปพกั ผอ นตาม สาธารณะ หรือการบรรเลงเผยแพรออกอากาศสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย และสถานี วทิ ยุ ปชส.๗ นอกจากน้ันยังสงเสริมแลวสนับสนุนการเรียนการสอนวิชาดนตรีไทยใหแกเยาวชนใน สถาบนั ตางๆ รวมไปถงึ ครแู ละนักเรยี นในโรงเรยี นสงั กัดกรงุ เทพมหานคร จนกระทัง่ สามารถนําเดก็ นักเรียนชั้นประถมศึกษาจาํ นวน ๓๖ โรงเรยี นขึ้นเวทีรว มกนั ในรายการ “ดนตรไี ทยประถมศกึ ษา” ท่ี จัดเปนคร้ังแรก เพ่ือสนองพระราชดําริในการอนุรักษดนตรีไทยของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปจจุบันสํานักงานสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานครไดจัดใหมีการสอนดนตรีไทยและ ผฉสู บอบั น ดนตรีสากลเบ้ืองตน ใหกับผูสนใจในทุกเยน็ วันทําการ ปรากฏวา ไดร บั ความสนใจมาก มเี ด็กมาเรียน เต็มทกุ วัน โดยเฉพาะชว งภาพยนตรเรื่อง “โหมโรง” ดงั ผูปกครองพาเด็กมาเรียนกนั มากโดยเฉพาะ เคร่อื งดนตรรี ะนาดเอก เพราะสว นใหญอ ยากเปนเหมือนพระเอกในเรื่อง นอกจากนย้ี งั มผี ูสูงอายุให ความสนใจต้ังเปน ชมรมเลน ดนตรไี ทยกันอยางสนกุ สนาน ซึง่ ในอนาคตจะมีการต้ังเปน โรงเรยี นสอน ดนตรไี ทยและสากล สงั กัดกรุงเทพมหานคร ตามนโยบายของนายอภริ ักษ โกษะโยธิน ผวู าฯ กทม. บทความจาก นสพ.ขาวสด ฉบบั วนั จันทรท ี่ ๑๓ ม.ิ ย. ๒๕๔๘ (ตวั อยาง) ๑. นักเรยี นเห็นดว ยหรอื ไม กับการจัดตัง้ กจิ กรรมทางดนตรไี ทยของกรุงเทพมหานคร เพราะเหตุใด .เ.ห....น็....ด....ว...ย......เ.พ....ร...า...ะ..เ..ป....น....ก....า..ร...อ....น....รุ ...กั....ษ....ด ...น.....ต...ร...ีไ...ท....ย.....แ...ล....ะ..ส....ง...เ..ส....ร...มิ....ก...า...ร...เ..ล...น.....ด...น....ต....ร...ไี...ท...ย....ใ..ห....เ .ป....น....ท....ีน่....ิย...ม....ม...า...ก...ข...้นึ............................ .................................................................................................................................................................................................................................................. ๒. นักเรียนคิดวา การเรียนดนตรไี ทยหรือดนตรีสากล มีประโยชนห รือไม อยา งไร .ม...ีป....ร....ะ..โ...ย...ช...น.....ม...า...ก........เ..พ....ร...า...ะ...น....อ....ก....จ...า...ก....จ...ะ...ไ..ด....ค....ว...า...ม...ส....น.....ุก....ส....น....า...น....เ..พ....ล....ิด....เ..พ....ล....ิน....แ...ล....ว.......ย....ัง...ไ...ด...ฝ....ก....ส....ม...า...ธ...ิ.....แ...ล....ะ..เ..ป....น....ก....า...ร... .ใ..ช...เ..ว...ล....า...ว..า...ง...ใ...ห....เ.ป....น.....ป...ร....ะ..โ...ย...ช...น.........น....อ....ก...จ....า...ก...น.....้ีย...ัง...ไ...ด....ค....ว...า..ม....ร...ูแ...ล....ะ...ป...ร....ะ..ส....บ....ก....า...ร...ณ......ก...า...ร....เ.ล....น....เ..ค....ร...ื่.อ...ง...ด....น....ต....ร...ี.ช...น....ิด....ต....า..ง....ๆ.. .ร...ว...ม...ถ....งึ ...ก...า...ร...ท....ํา..ง...า...น....ร...ว...ม...ก....ับ....ค....น....อ...่นื............................................................................................................................................................................ ๑๒๙´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁ»ÃÐàÁÔ¹¤ÇÒÁÊÒÁÒö¡ÒÃÍÒ‹ ¹ ¤Ô´ÇàÔ ¤ÃÒÐˏ áÅÐà¢Õ¹Ê×èͤÇÒÁ ªé¹Ô ·Õè ò อานบทความตอไปน้�และตอบคําถาม พอ หนานมา ยอดคาํ ปา นาย ยอดคําปา หรือพอหนานมา ชายวยั ๗๐ ป ชาวบานมวงโตน ต.แมฮอ ยเงนิ อ.ดอยสะเกด็ จ.เชียงใหม ใชเวลานานถึง ๗ ป ในการคิดหาวิธีรวมเคร่อื งดนตรลี า นนาจาํ นวนเกอื บ ๒๕ ชน้ิ ประกอบตดิ ตัง้ ไวท ชี่ องบรรทกุ ของ พรอมดัดแปลงวงเคร่ืองดนตรีเหลาน้ีใหเลนไดดวยคนเพียงคนเดียว โดยนําออกแสดงใหชาวบานไดรับฟงในงานตางๆ อาทิ งานแหค รวั ทาน งานปอยหลวง และงานบุญตางๆ ในพน้ื ที่ อ. ดอยสะเก็ด และอําเภอใกลเคียง พอหนานมาเรยี กเครอื่ งดนตรีท่นี ํามาผสมปนเปรวมกันวา “วงฆอ งกลองประยุกต” ซึ่งประกอบดวยเครือ่ งดนตรี พ้ืนเมอื งเหนือที่ใชเลนแหต ามงานบญุ ตา งๆ ดังนี้ ฆอง ๑๔ ใบ ฉาบ ๗ คู และกลองแตกตางกนั ไป ๔ ใบ มาตดิ ตัง้ รวมกัน ในชวงแรกก็ลองผิดลองถูกขยับไปขยับมา จนในท่ีสุดสามารถประสานเสียงดนตรีออกมาใหเปนวงเดียวกันได เลนเปนจงั หวะเหมอื นวงดนตรลี านนาท่วั ไป ประมาณป พ.ศ.๒๕๔๓ พอ หนานมาบวชจาํ พรรษาที่ วดั พระธาตุดอยสะเก็ด เจา อาวาสทา นเหน็ เปนคนขยันจึง มอบใหดูแลพิพิธภัณฑสะสมของเกา ก็ไดเห็นฆอง กลอง ท่ีไมใชประโยชนมีอยูนับ ๑๐๐ ช้ิน จึงมีแนวคิดจัดรวมวง ดนตรีพ้ืนเมืองท่ีใชสําหรับเลนตามงานตางๆ ของลานนา ซึ่งมีความแตกตางกัน เร่ิมแรกทดลองประยุกตเคร่ืองดนตรี พื้นเมอื งนาํ กลอง ๒ ใบ ฉาบ ๒ คู ฆอ ง ๕ ใบ มาประกอบกันเพื่อใหค นเขา ชมพพิ ธิ ภณั ฑไดลองเลน การประสานเคร่ืองดนตรีเหลาน้ีก็ตองใชกลไกมาประกอบดวยอาทิ ลูกปน เพลา และสายสลิงโยงเปนสายดึง พรอมทําคียบอรดคลายแบบเปยโน โดยสลิงจะดึงเพลาใหหมุนเพื่อใหคอนตีฆองและตีกลองตามจังหวะ คนเลนตองรู ผฉูส บอับน วา ถาจะตฆี อ งตองกดคยี ไหน หรือตฉี าบตอ งกดคียไหน ซึ่งผลงานที่สรางขึน้ เปน ช้ินแรก ยงั เก็บอยภู ายในพพิ ธิ ภัณฑ วัดพระธาตดุ อยสะเกด็ พอหนานมายอมรับดวยวา การประกอบแตละคร้ังจะมีปญหาเรื่องเงินทุน แตนั่นไมอาจละลายความฝนตัวเอง จึงตองเก็บหอมรอมริบกันใหม โดยขายวัวไปและนําเงินที่ไดไปซ้ือเครื่องดนตรีเก็บสะสมเอาไว จนกระท่ังไดตามท่ี ตองการก็ประกอบขึ้นใหม กวาจะเปนฆองกลองประยุกตใหเห็นและเลนได ตองแลกดวยหยาดเหงื่อ น้ําตา ทุมเททั้ง เวลา เงินทอง และทุกสิ่งทุกอยา งในชวี ติ แถมคนในครอบครัวไมเขาใจทะเลาะเบาะแวงกนั เปน ประจํา จนเมียและลกู ตองยา ยไปอยอู ีกที่ ปลอ ยใหอยอู ยา งโดดเดีย่ ว บทความจาก นสพ.มตชิ น ฉบับวันเสารท ี่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๑ ๑. นักเรียนคดิ วา สง�ิ ทีพ่ อ หนานมา ยอดคาํ ปา ทาํ เปน ประโยชนหรือไม เพราะอะไร (ตัวอยา ง) ..เ.ป....น....ป....ร...ะ...โ..ย...ช...น....เ..พ....ร...า...ะ..เ..ป...น....ก....า...ร...อ...น....ุร....กั ...ษ....ส....บื....ส....า...น....ด....น....ต...ร....พี ....้นื ....เ.ม....ือ...ง...ภ....า..ค....เ.ห....น....ือ....ใ..ห....ค....ง...อ...ย...ูต....อ ...ไ..ป.......เ.พ....ื่อ....ใ..ห....ค...น.....ร...นุ ....ล....ูก.............. ..ร...นุ....ห....ล....า..น....ไ...ด...เ..ห....็น....เ..ค...ร....่อื ...ง...ด....น....ต....ร...ี ..ไ...ด...ฟ....ง...ก....า...ร...บ....ร...ร...เ..ล....ง...ด...น.....ต...ร...ีท....อ...ง....ถ...นิ่.......แ...ล....ะ..เ..ก...ิด....ค....ว..า...ม...ภ....ูม...ใิ..จ....ใ..น....ภ....มู...ิป....ญ....ญ.....า..ท....อ....ง...ถ...ิน่........ ๒. นกั เรยี นคิดวา พอหนานมา ยอดคําปา มคี ณุ ธรรมขอ ใดทชี่ วยใหท ํางานไดสาํ เร็จ .๑........ค....ว..า...ม...อ...ด....ท....น.......-.....พ....อ...ห....น....า...น....ม...า...ม...คี....ว..า...ม...อ....ด...ท....น....ต....อ...อ...ุป....ส....ร...ร....ค...ต....า...ง...ๆ.....ไ...ม...ว..า...จ...ะ...เ.ป....น....เ..ร...่อื...ง...ช...วี...ิต....ค....ร...อ...บ....ค....ร...ัว...ห...ร....อื ...เ.ง....นิ ....ท....ุน.... .๒........ค....ว...า..ม....ม...ุง...ม...นั่.......-......พ...อ....ห...น.....า..น....ม....า..ม...คี....ว...า..ม....ม...งุ...ม...น่ั.....ใ..น....ก....า..ร....ท...ํา...เ..ค...ร....ื่อ...ง...ด....น....ต...ร....ี ..ไ...ม...ท....อ...แ...ท.... ..ไ...ม...ห....ม...ด....ห...ว...งั........................................... .๓........ค....ว...า..ม....ม...า...น....ะ..อ...ตุ....ส....า...ห...ะ.....-......พ....อ...ห....น....า..น.....ม...า..ม....ีค...ว...า...ม...ม...า...น....ะ..อ....ุต...ส....า...ห....ะ.....ใ..น....ก....า...ร...พ....ย...า..ย....า..ม...ป....ร...ะ...ก....อ...บ....เ.ค....ร...อื่....ง...ด...น.....ต...ร....ี .................. .............................................................โ...ด...ย....ก...า...ร...ล....อ...ง...ผ...ดิ....ล....อ...ง...ถ....กู ......จ...น.....ท...าํ...ไ..ด....ส....าํ..เ..ร...จ็.............................................................................................. ๑๓๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

â¤Ã§§Ò¹ÈÔŻРการแสดงทา ทางประกอบเพลง ประเภทของโครงงาน : ประเภทพัฒนาหรอื ประดิษฐ ระยะเวลาในการทาํ โครงงาน : ๑-๒ สัปดาห วิธที าํ ๑. เลอื กเพลงที่จะทําทา ประกอบ ๒. คดิ ทาทางประกอบโดยใชป ระสบการณในเน�้อหามาประยกุ ตใช ๓. สรุปทา ทางท่จี ะตองใชแ สดงประกอบเพลง พรอมทง้ั บนั ทึกไว ๔. นําเสนอผลงานในรปู แบบการแสดง ตัวอยา งแบบบันทกึ การแสดง ชอ่ื เพลง…………………………………………………………………………………………………………………………… เนอ้� เพลง ทา ทางประกอบเน้�อเพลง ผฉสู บอับน .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... ๑๓๑´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРô

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃàÈÃɰ¡Ô¨¾Íà¾Õ§ กิจกรรม เคร่อื งแตง กายประยุกต จุดประสงค จดั ทําเคร่ืองแตงกายในการแสดงนาฏศิลปแ ละละครจากวัสดุที่เหลือใชห รอื ไมใชแ ลว ภาระงาน ๑. แบง กลมุ จัดหารวบรวมวสั ดแุ ละอปุ กรณทีเ่ หลือใชและไมใชแลวจากทอ งถนิ่ ตนเอง เชน เส้ือผา เกาที่ไมใชแลว ๒. คัดเลือกวัสดแุ ละอุปกรณ โดยแยกประเภทตา งๆ เชน - ประเภทเสื้อผา - ประเภทอปุ กรณป ระกอบการแสดง - ประเภทอุปกรณป ระกอบฉากหรือเวที ฯลฯ ๓. ทาํ การซอ มแซมหรอื ดดั แปลงวัสดแุ ละอปุ กรณเ พือ่ ใชในการแสดงนาฏศิลปหรือละคร ผฉูสบอับน ๔. จัดเกบ็ วสั ดุและอุปกรณท่ีใชในการแสดง ¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ กิจกรรม การแสดงนาฏศลิ ป จุดประสงค จดั การแสดงนาฏศิลปพ ้นื เมอื งหรอื นาฏศิลปไทยในโอกาสตางๆ ในท่ี สาธารณชนเพอ่ื เผยแพรแ ละรกั ษาการแสดงนาฏศลิ ป ภาระงาน ๑. แบงกลมุ ฝกการแสดงนาฏศิลปพ น้ื เมืองหรือนาฏศลิ ปไทยจากศลิ ปน ในทองถิน� หรือผเู ชี่ยวชาญ ๒. หาโอกาสแสดงในงานสาํ คัญตา งๆ เชน งานวนั ลอยกระทง งานวนั สงกรานต เปน ตน (ใหค รแู ละทางโรงเรียนเปนผตู ิดตอ ประสานงานกบั ทางชมุ ชน) ๓. จดั การแสดงนาฏศิลปต ามความเหมาะสมของทางโรงเรียน ๔. ประเมินการแสดงทุกชุด เพอื่ ใชในการปรบั ปรงุ ในการแสดงครัง้ ตอ ไป ๑๓๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРô

รทาํ งานสําหรับ…ค ¾๑àÔ ÈÉ ูค ืมอกา รผู สู อน ๑ ๒ ๓ เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ใชพฒั นา ใชพ ัฒนา ใชพฒั นา การเรียนการสอน คุณภาพการปฏบิ ัติงาน ผลการเรียนรขู องผูเรยี น ขอ สอบปลายภาค การเทียบเคียงตรวจสอบ พรอ มเฉลยอยางละเอยี ด มาตรฐานการศึกษาฯ มาตรฐานตัวชี้วัดชั้นปและ เฉผพสู าะอฉนบบั สาระการเรียนรูแกนกลาง ดนตรี-นาฏศิลป ป.๔ ความรูเสรมิ สําหรบั ครู ตวั อยางการกรอก เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน แบบบนั ทกึ ผลการประเมิน แบบรายงานผลการพัฒนา คณุ ภาพผเู รียนรายบคุ คล (ปพ.๖) ๔».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๑ 㪾Œ Ѳ¹Ò¡ÒÃàÃÂÕ ¹¡ÒÃÊ͹เฉพาะสําห ัรบ…ค ูรผูสอน ¾๒àÔ ÈÉ ¢ÍŒ Êͺ»ÅÒÂÀÒ¤ ÇÔªÒ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻР».๔ คาํ ช้ีแจง ๑. แบบทดสอบนม้� ี ๒ ชดุ เปนแบบเลอื กตอบมี ๔ ตวั เลอื ก ●ขอสอบชดุ ท่ี ๑ มี ๕๐ ขอ ●ขอ สอบชดุ ท่ี ๒ มี ๕๐ ขอ ๒. ใหน ักเรยี นเลอื กคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ งท่ีสดุ เพียงคําตอบเดยี ว แลว กา ✗ ทบั ตวั อักษรตรงกบั ตวั เลอื กทต่ี องการ ชุดท่ี ๑ เวลาทําขอ สอบ ๖๐ นาที ๑. ขอใดไมใ ชองคประกอบทางดนตรเี บ้อื งตน ๗. เครือ่ งดนตรีในขอ ใดทใ่ี ชปากเปาทําให ก. ทาํ นอง ข. ทาประกอบเพลง เกดิ เสยี ง ค. จังหวะ ง. ประโยคเพลง ก. ซออู ข. แคน ค. จะเข ง. ฆองวงใหญ ๒. เพลงใดเหมาะสาํ หรับใชกลอมเดก็ ก. ระบาํ ชาวเกาะ ข. เพลงชา ง ๘. ขอ ใดไมจัดอยูใ นเคร่ืองดนตรปี ระเภทคียบอรด เฉผพูส าะอฉนบับ ค. เพลงนกขมิน้ ง. เพลงแมงอนี ูน ก. แอค็ คอรเดียน ข. เปยโน ค. ไซโลโฟน ง. ออรแกน ๓. ภาพใด เปนจงั หวะแบบคู ข. ๑ ๒ ๓ ๔ฺ ๙. เหตใุ ดจงึ ควรปลดเชือกทีร่ อ ยผืนระนาดลงมา ก. ๑ ๒ ขา งหนึง่ กอนจัดเก็บ ก. เพือ่ ลดนํา้ หนกั ไมใหต ะขอหลดุ งาย เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ค. ๑ ๒ ๓ ง. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ข. เพือ่ ใหถือไดสะดวกขน้ึ ค. เพือ่ ปอ งกนั การสูญหาย ๔. ขอ ใดเปน การเคลื่อนท่ีของทาํ นองแบบเสียง ง. เพ่อื ความสวยงาม เรยี งติดตอ กันแบบขนั้ บนั ได ๑๐. เครอ่ื งดนตรชี นดิ ใด ตอ งทาํ ความสะอาดลมิ่ นว้ิ หลงั ก. ม-ี ฟา-ซอล ข. โด-มี-ลา ค. ฟา-ม-ี โด ง. ซอล-มี-มี ใชง านทกุ ครงั้ ก. ทิมพะนี ข. กีตารโ ปรง ๕. กีตารเปนเคร่อื งดนตรีที่เลน โดยวิธีการใด ค. ทรัมเปต ง. เปยโน ก. กดล่ิมนวิ้ ข. มือตี ค. คนั ชกั สี ง. นว้ิ ดีด ๑๑. จากภาพ มีอัตราความยาวเสียง อยา งไร ๖. ใครดแู ลรกั ษาเครอ่ื งดนตรีไมถกู ตอง ก. ครง่ึ หน่ึงของเขบต็ หนง่ึ ชัน้ ก. มาลเี กบ็ ฉงิ่ ไวในกลอง ข. คร่งึ หนงึ่ ของเขบต็ สองช้นั ข. กมลใชผา เชด็ ทาํ ความสะอาดระนาด ค. ครง่ึ หนงึ่ ของตัวกลม ค. วชิ ยั นํากลองไปแชนา้ํ กอ นผง่ึ ใหแหง ง. คร่งึ หนงึ่ ของตวั ขาว ง. แสวงเก็บระนาดในทท่ี ี่ไมโดนแสงแดด ๔».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๑๒. ตัวโนตในขอ ใดมีอัตราความยาวของเสียงยาวทีส่ ดุ ๑๙. เครื่องหมายกําหนดจงั หวะเขียนไวตอนใด ก. ข. ของบทเพลง ¾๓àÔ ÈÉ ค. ง. ก. ตอนใดกไ็ ด ข. ตอนเรม่ิ ตน ค. ตอนกลางเพลง ง. ตอนทาย ๒๐. เคร่ืองหมายพกั เสียง “หยดุ ตวั เขบต็ หนึ่งชั้น” ๑๓. หองโนตเพลงไทย นิยมแบงกชี่ องใน ๑ บรรทัด คอื ขอ ใด ก. ๑๐ ชอ ง ก. ข. เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ข. ๘ ชอ ง ค. ๖ ชอง ง. ๔ ชอ ง ค. ง. ๑๔. ขอ ใดเปนเครอื่ งกํากบั จงั หวะ ๒๑. เพลงไทย มขี อแตกตา งจากเพลงไทยสากล ก. กลอง ข. นกหวีด อยางไร ค. กรบั ง. ฉง่ิ ก. เน้อื รอง ข. ผูขบั รอง ๑๕. หวั กุญแจประจําหลกั ซอลในบรรทัด ๕ เสน ค. น้าํ เสยี ง ง. การเอ้ือน ตอ งอยูในตําแหนงใด ก. ระหวา งเสน ที่ ๓ ๒๒. เพลงหนา เดิน จดั เปนเพลงประเภทใด ก. เพลงไทย ข. เพลงลกู ทุง เฉผพูสาะอฉนบบั ค. เพลงปลกุ ใจ ง. เพลงลูกกรงุ ข. ระหวางเสนที่ ๒ ๒๓. เพลงพรปใหม เปนเพลงพระราชนพิ นธใ น ค. คาบเสนที่ ๒ รชั กาลใด ง. คาบเสนท่ี ๓ ก. รัชกาลที่ ๙ ข. รัชกาลท่ี ๗ ค. รชั กาลที่ ๕ ง. รชั กาลท่ี ๑ ๑๖. จากภาพ คือขอใด เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ก. หยุดตวั เขบ็ตสามชนั้ ๒๔. เพลงพระราชนิพนธส ว นใหญจ ะมี ข. หยุดตัวเขบ็ตสองชัน้ ลกั ษณะตอไปนีย้ กเวน ขอ ใด ค. หยุดตวั ดาํ ก. เตอื นสตใิ หค ดิ ง. หยดุ ตวั ขาว ข. ชมธรรมชาติ ค. ปลุกใจใหรักชาติ ๑๗. เพลงไทย ๑ หอ งเพลง กําหนดตัวโนตกี่ตัว ง. รณรงคเรือ่ งสุขภาพ ก. ๒ ตวั ข. ๔ ตัว ค. ๖ ตวั ง. ๘ ตัว ๒๕. “หอมกลิ่นเกสร เกสรดอกไม” เปนของเพลงใด ก. เพลงลาวเสีย่ งเทียน ๑๘. เพลงชน้ั เดยี ว เปน เพลงไทยในลกั ษณะใด ข. เพลงลาวดวงเดอื น ก. จงั หวะชา เนอื้ เพลงนอยมกี ารเอือ้ นมาก ข. จังหวะปานกลาง มีการเอื้อนบา ง ค. จังหวะเร็ว มกี ารเออ้ื นนอ ย ค. เพลงวิหคเหนิ ลม ง. จงั หวะเร็ว มีการเอ้อื นมาก ง. เพลงหนา เดนิ ๔».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š

๒๖. เพลงชนดิ ใดมจี งั หวะปานกลาง และมกี ารเออ้ื นบา ง ๓๓. ขอ ใดกลา วถงึ ดนตรพี ืน้ เมอื งไดอยางถูกตองท่ีสุด ก. เพลงโหมโรง ข. เพลงชั้นเดยี ว ก. มีเน้ือรองเปนภาษาอังกฤษ ๔¾àÔ ÈÉ ค. เพลงสองชั้น ง. เพลงสามช้ัน ข. มีผขู ับรอ งเปน คนตางชาติ ค. ใชเคร่ืองดนตรีสากลในการบรรเลง ๒๗. ขอ ใดไมใชเพลงบรรเลง ง. ใชเ ครื่องดนตรีพ้ืนเมอื งในการบรรเลง ก. เพลงออกภาษา ข. เพลงตบั ค. เพลงโหมโรง ง. เพลงหนาพาทย ๓๔. ขอ ใดไมใ ชเ ครื่องดนตรีพน้ื เมืองของภาคอีสาน ก. แคน ข. สะลอ เฉพาะสําห ัรบ…ค ูรผูสอน ๒๘. การเอ้ือนในขณะขับรองเพลงไทย มีประโยชน ค. พิณ ง. โปงลาง อยา งไร ก. ชว ยใหเกดิ ความไพเราะมากข้นึ ๓๕. ขอ ใดเปน เพลงพื้นเมอื งของภาคเหนอื ก. เพลงฉอ ย ข. เพลงหมอลาํ ข. ชวยใหเ กิดความกระชับมากขน้ึ ค. เพลงซอ ง. เพลงอีแซว ค. ชว ยใหผูขับรอ งไดพกั หายใจ ง. ชว ยใหผฟู งจดเนอ้ื เพลงไดทนั ๓๖. วงกันตรมึ จดั เปน วงดนตรีประเภทใด ก. วงดนตรีพ้นื เมือง ข. วงดนตรีไทย ๒๙. ขอ ใดบรรยายความหมายของบทเพลง ค. วงดนตรีสากล ง. วงดนตรีแบบผสม ลาวเสย่ี งเทียนไดถูกตองทสี่ ดุ ก. ความรักชาตยิ ง่ิ ชีพ ข. ความผิดหวังจากความรัก ๓๗. ขอใดกลาวถงึ วงปพ าทยชาตรี ไดถ ูกตองท่ีสุด เฉผพูสาะอฉนบับ ค. ความรกั ของชายหนมุ ทีม่ ตี อ หญิงสาว ก. เปน วงดนตรแี ตเ ดมิ ของภาคเหนือ ง. ความศรัทธาในพระศาสดาของชาวพทุ ธ ข. เปน วงดนตรีพ้นื เมืองภาคใตที่แตเ ดมิ เปน ของภาคกลาง ค. เปนวงดนตรีพื้นเมอื งภาคอีสานที่แตเดิมเปน ๓๐. รชั กาลท่ี ๙ ทรงพระราชนิพนธเพลงตอไปนี้ขน้ึ ของภาคกลาง ง. เปน วงดนตรพี นื้ เมอื งภาคใตท แี่ ตเดิมเปน เฉพาะ ํสาหรับ…ครูผูสอน ยกเวนเพลงใด ก. เพลงเราสู ของภาคเหนอื ข. เพลงสายฝน ค. เพลงพรปใหม ๓๘. ขอ ใดเปน เครอ่ื งดนตรพี นื้ เมอื งภาคอสี าน ก. สะลอ ข. ฆอ งวง ง. เพลงไทยรวมกําลงั ค. ซึง ง. โปงลาง ๓๑. ขอ ใดไมมคี วามสําคัญในการขบั รองเพลง ๓๙. วงปพ าทยน างหงสน ยิ มใชบรรเลงในโอกาสใด ก. ความถกู ตองของเน้อื รอ ง ข. ความถูกตอ งของจงั หวะและทาํ นอง ก. งานศพ ข. งานบวช ค. ความชัดเจนของเสยี งอกั ขระพยญั ชนะ ข. งานแตง งาน ง. ความสวยงามของเครอ่ื งแตง กายผขู ับรอง ง. งานรื่นเริงตางๆ ๓๒. เพลงเก่ยี วขาว จดั เปน เพลงพื้นเมืองของ ทองถน่ิ ใด ๔๐. ขอใดเปน เคร่ืองดนตรพี ้ืนเมืองภาคอสี านทงั้ หมด ก. โปงลาง ซอ ข. สะลอ ซงึ ก. ภาคกลาง ข. ภาคใต ค. แคน โหวด ง. ระนาด ฉง่ิ ค. ภาคเหนือ ง. ภาคอสี าน ๔».´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

๔๑. การแสดงบทบาทเปน แมคา ตองมบี คุ ลิกใด ๔๖. นาฏศิลปข อใด ใชภาษาทามากท่สี ุด ก. ทะมดั ทะแมง พูดจาฉะฉาน ก. โขน ข. รํา ค. ระบํา ง. ฟอ น ¾๕ÔàÈÉ ข. ทาทางใจดี สุภาพเรียบรอ ย ค. ทาทางสํารวม พดู จานา เชอ่ื ถอื ๔๗. การแสดงภาษาทา เพ่อื จุดมงุ หมายขอ ใด เฉผพูสาะอฉนบบั ง. พดู เกง จายเงนิ ทอนเงนิ คลองแคลว ก. เพื่อใหเกยี รตศิ ิลปน ผคู ดิ คน ข. เพ่อื สอดคลองกบั จังหวะทาํ นอง ๔๒. การตง้ั วงใหส วยงาม ตอ งทําอยางไร ค. เพื่อความสวยงามของการแสดง เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ก. ต้ังลาํ แขนโคงเปนรูปคร่งึ วงกลม ง. เพอ่ื สื่อความรสู กึ ของผูแสดง ข. หักปลายน้ิวเขาหาตัวมากๆ ค. ตั้งลําแขนขนานกบั พ้นื ๔๘. การเคลื่อนไหวตามจังหวะเปนการเคลอื่ นไหว ง. มือเหยยี ดตรงไมต อ งงอ อยางไร ก. เคลื่อนไหวอยางอิสระ ๔๓. การแสดงเปน ตาํ รวจจราจร อาจตอ งใชอ ปุ กรณใด ข. เคลอื่ นไหวอยา งสมํา่ เสมอ ก. ปนพกของเลน ข. นกหวดี ค. เคลอื่ นไหวอยางชา ๆ ค. ไมพลอง ง. เชอื ก ง. เคลือ่ นไหวอยางเรว็ ๆ ๔๔. การแสดงเปนทหาร ควรแสดงทา ทางอยางไร ๔๙. การไหวค รู ไมเ กี่ยวของกับขอใด ก. ทา ทางขึงขงั ดดุ นั ก. โขน ข. ละครนอก ข. พูดเกง ยิ้มแยม แจม ใส ค. แอโรบิก ง. ละครใน ค. หันซา ยขวา คอยระวังตัว ง. ทะมัดทะแมง เดนิ สงาผาเผย ๕๐. ขอใดเปนวธิ อี นุรักษนาฏศลิ ปไ ดด ีทีส่ ดุ ก. การสะสมภาพนาฏศลิ ป ๔๕. การเคลอ่ื นไหวประกอบจังหวะเปน หมเู นนขอใด ข. การไปใหก าํ ลงั ใจผแู สดง ก. ความขึงขัง ข. ความคิดสรา งสรรค ค. การไปชมนาฏศลิ ปบ อ ยๆ ค. ความออ นชอ ย ง. ความพรอ มเพรยี ง ง. การฝก แสดงนาฏศลิ ปชุดตา งๆ ชดุ ที่ ๒ เวลาทาํ ขอ สอบ ๖๐ นาที เฉพาะสาํ หรับ…ครผู ูสอน ๕๑. ประโยคเพลง หมายถงึ ขอ ใด ๕๓. ขอใดไมใชรปู แบบของจงั หวะ ก. ชือ่ เพลง ก. จังหวะแบบคู ข. จังหวะทํานองเพลง ข. จังหวะแบบค่ี ค. เนือ้ เพลงกลุมหนึ่ง ค. จังหวะก่ึงกลาง ง. เน้อื เพลงทั้งหมด ง. จังหวะแบบคู แบบผสม ๕๒. ประโยคเพลง สังเกตจากขอใด ๕๔. รูปแบบจงั หวะใด มี ๓ จังหวะ ก. การแบงวรรคตอนเนอื้ เพลง ก. จังหวะแบบคู ข. การข้ึนตน ของเพลง ข. จังหวะแบบคี่ ค. การจดั วางเน้อื เพลง ค. จงั หวะแบบค่ี แบบผสม ง. การจบเพลง ง. จงั หวะแบบคู แบบผสม ๔».´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook