Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1135005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป1-Update

1135005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป1-Update

Published by Cupasong02, 2021-08-20 02:35:55

Description: 1135005AN-เฉลยมมฐ-ดนตรีนาฏศิลป์-ป1-Update

Search

Read the Text Version

๒. การเคลื่อนไหวจงั หวะเพลงกราว จังหวะเพลงกราว เปนจังหวะพ้ืนฐานของนาฏศิลปไทย มักจะใชประกอบ กิริยาอาการของตวั ละครทแ่ี สดงอาการรา เรงิ การยกทพั หรอื การเดนิ ทางทสี่ นกุ สนาน เครอื่ งดนตรที ี่ใชก าํ กบั จงั หวะเพลงกราว โดยทว่ั ไปใชก ลองทดั มาเปน เครอื่ งกาํ กบั จงั หวะ นักเรยี นฝกเคลื่อนไหวรางกายใหเขากบั จังหวะเพลงกราวได โดยเรม่ิ จากเรียนรู จังหวะเพลงกราว ดงั น้ี ¨Ñ§ËÇÐà¾Å§¡ÃÒÇ ÁÅÕ ¡Ñ ɳдѧ¹éÕ¤ÃѺ ตุม ตุม ตุม ตมุ การฝก เคลอ่ื นไหว ใหเ รมิ่ จากฟง เสยี งกลองแลว เคลอ่ื นไหวรา งกายตามตวั อยา ง เฉฉบลับย ดงั น้ี ๑. ฝก คนเดยี ว ใหท าํ ทา ยกเทา ยกั คอ พยกั หนา ตบเขา หรอื อน่ื ๆ ใหเ ขา กบั จงั หวะ ๒. ฝกหลายคน ใหเขาแถวตอน คนหนายนื เทาสะเอว คนทอี่ ยูลําดับตอ ๆ มา ยกมอื จบั บา คนหนา จากนนั้ ใหทกุ คนยกเทาย่าํ อยูกบั ท่ีใหเขากับจังหวะ ฝกคนเดียวโดยการเอียงหนา ฝกหลายคนโดยการยา่ํ เทาอยกู ับท่ี ๓๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

๓. การเคลื่อนไหวจังหวะอินเดียนแดง จังหวะอินเดียนแดง เปนจังหวะการเตนรําของชาวอินเดียนแดง ซ่ึงเปน ชนพ้ืนเมืองท่ีอยูในทวีปอเมริกาเหนือ การเตนจังหวะอินเดียนแดง เปนการเตนท่ี ไมเ นนทา ทาง แตจะเนนความหนกั เบาของจังหวะ คอื จงั หวะเบา ๓ คร้ัง จังหวะหนัก ๑ ครง้ั การฝก เคลอ่ื นไหวจงั หวะอนิ เดยี นแดง สามารถทาํ ไดโ ดยการกา วเทา และกระโดด ตามจงั หวะหนักเบา ดังนี้ ¡ÒÃà¤ÅÍ×è ¹äËǨ§Ñ ËÇÐÍÔ¹à´ÂÕ ¹á´§ ÁÕ ô ¨Ñ§ËÇÐ ´§Ñ ¹éÕ ตงึ ตงึ ตึง ตึง หมายถึง จงั หวะเบา หมายถึง จังหวะหนัก ñò เฉฉบลับย จังหวะท่ี ๑ จงั หวะท่ี ๒ กาวเทา ซาย กาวเทาขวา ó ô จังหวะที่ ๓ จังหวะที่ ๔ กาวเทา ซาย ยกเทาขวาและกระโดด ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ ๓๙

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò แบงกลมุ ฝก เคล่ือนไหวตามจังหวะมารช จังหวะเพลงกราว และจงั หวะอินเดียนแดง จากนน้ั ออกมาแสดงหนา ชนั้ เรียนและบนั ทึกขอ มลู ๑. นักเรียนใชเ วลาฝก ซอมการเคลอ่ื นไหวตามจงั หวะตางๆ เปน เวลา ❍ ๑-๒ วัน ❍ ๓-๔ วัน ❍ มากกวา ๔ วัน ๒. การฝกเคล่อื นไหวทีย่ ากที่สุด คือ การฝก เคลอ่ื นไหวจงั หวะ ……………………………………………………………………….. ขน้ึ อยูกับดุลยพนิ ิจของผูส อนเพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. จงั หวะเคลื่อนไหวทีน่ กั เรียนชอบมากทสี่ ุดคือ จงั หวะ ………………………………………………………………………………………. เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡Òä´Ô »ÃШӺ··Õè ò มฐ./ตัวช้วี ัด ๑. แบงกลุม ฝกการเคล่ือนไหวตามเสียงนกหวีด โดยคิดทาทางการเคลื่อนไหวเอง จากนั้น บันทกึ ขอมลู (เสียงนกหวดี ควรเปา ดงั -เบา ชา -เร็ว) ศ2.1 (4) เฉฉบลบั ย ๑. รูปแบบจงั หวะทเี่ ลือกในการเคล่อื นไหว ใชแ บบ ❍ เคล่อื นไหวตามเสียงดงั -เบา ของการเปานกหวดี ❍ เคลอ่ื นไหวตามความชา-เรว็ ของการเปา นกหวดี ๒. นักเรยี นใชเวลาฝก ซอ มการเคล่อื นไหวเปน เวลา ❍ ๑-๒ วนั ❍ ๓-๔ วัน ❍ มากกวา ๔ วัน ๓. ทา ท่คี ดิ คน ในการฝก มที ้ังหมด ……………………………………… แบบ ไดแก ……………………………………………………………………. ข้นึ อยกู ับดลุ ยพินิจของผสู อน……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔. นกั เรยี นพอใจกบั การแสดงการเคลอ่ื นไหวตามจงั หวะชดุ นหี้ รอื ไม ❍ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๔๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

๒. แบงกลุม เลือกรองเพลงและเคาะจังหวะตามเพลงท่ีกําหนดให จากน้ันออกมาแสดงทา มศฐ2./.ต1วั ช(4ี้ว)ัด ประกอบเพลงหนา ชน้ั เรียน เพลง ไตรรงค เน้ือรอ ง-ทาํ นอง สุเทพ โชคสกลุ สนีแํา้ เดงงนิ ไคตหือรมรชงาาคยตขว้ึนิ ธาองไยทูกยบั ดุลยเพพินลิจงขขอีม่งาผแสู ของน ปลวิ ไสว สวยงามสงา สขี าว ศาสนา พระมหากษัตรยิ ไทย (ซ้าํ ) เนื้อรอง สกุ รี ไกรเลิศ วง่ิ ควบกนั มา ทาํ นอง ไมทราบนามผแู ตง เฉฉบลบั ย วิ่งไลใหทัน วิ่งควบกนั ไป กบั กับ กบั๊ กบั ข่ีขบั มา ไปตามกนั วิ่งไลใหท นั วงิ่ ไลใหดี เธอกับฉนั ลองดซู ี กบั กบั กบั๊ กบั ว่งิ กับก๊บั ตามมาซี ว่งิ ไลใหด ี วง่ิ ไมม วี ันจะทัน เพลง อินเดียนแดง เพา วาว วาว เนื้อรอง-ทาํ นอง ไมทราบนามผแู ตง เพา วาว วาว แขง เตน รําและรอ งวูวู เพา วาว วาว เราชาวอนิ เดียนแดง เพา วาว วาว เพา วาว วาว เราน้ีลว นกลาแกรง ตา งฟง จังหวะกลอง ตุม ตมุ เพา วาว วาว เราชาวอินเดยี นแดง ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ ๔๑

แบบทดสอบที่ ๒ กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด ๑. เพลงใดทมี่ ีการรอ งเอ้ือน ๖. ขอ ใดเปน จังหวะเพลงมารช ก. ตงึ ตงึ ตงึ ตงึ ✗ก. เพลงไทย ข. ตุม ตุม ตุม ตมุ ข. เพลงไทยสากล ✗ค. แตร็ก แตรก็ ตะระแตร็ก ค. เพลงพระราชนิพนธ ๒. หากตอ งการรองเพลงไทย ๗. จงั หวะอินเดยี นแดง มีกจี่ ังหวะ ตองรองเพลงใด ก. ๒ จังหวะ ข. ๓ จังหวะ ✗ก. เพลงนกนอย ✗ค. ๔ จงั หวะ ข. เพลงพรปใหม ค. เพลงรักเมอื งไทย ๘. จงั หวะอนิ เดยี นแดง จงั หวะท่ี ๔ ๓. เพลงพรปใหม กลาวถึงเรือ่ งใด ปฏิบัตอิ ยางไร เฉฉบลบั ย ก. การชนื่ ชมธรรมชาติ ✗ก. ยกเทา ขวากระโดด ✗ข. การอวยพรวนั ปใหม ข. กาวเทาขวา ค. กาวเทาซาย ค. การทาํ ความดีของคนเรา ๔. การรองเพลงไทย ควรสังเกตจงั หวะ ๙. จงั หวะอินเดียนแดง “จังหวะหนกั ” หมายถึงขอใด จากเคร่อื งดนตรีใด ก. จังหวะท่ี ๒ ข. จังหวะท่ี ๓ ✗ก. ฉง�ิ ✗ค. จงั หวะที่ ๔ ข. ฉาบ ค. กลอง ๑๐. เคร่อื งดนตรขี อใด ใชบ รรเลง ๕. การฝก เคลื่อนไหวรา งกายใหเ ขากบั ประกอบจังหวะอนิ เดียนแดงได จังหวะเปนหมู ขอ ใดสาํ คัญทส่ี ดุ ก. แตร ✗ก. ความพรอ มเพรียง ✗ข. กลอง ข. ความสวยงาม ค. ขลยุ ค. ความถูกตอ ง ๔๒ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

¡Ô¨¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÌҧÊÃä ๑. แบงกลุม แลวฝกรองเพลงที่ไดยินอยูทั�วไป (เลือกมา ๑ เพลง) จากน้ันออกมาแสดง หนาช้ันเรยี นโดยใหมีคนรอ ง ๑ คน และคนท่ีเหลือปรบมอื ตามจังหวะ (บันทึกเน�้อเพลง) เพลง …………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ข้นึ อยกู บั ดลุ ยพินจิ ของผสู อน................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... เฉฉบลบั ย ๑. เพลงท่รี องจดั อยูในประเภท ❍ เพลงไทย ❍ เพลงไทยสากล ❍ อื่นๆ ………………………………………………………………………………………………… ๑) มเี สยี งรอ ง……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………. ๒) มเี สียงรอง……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………. ๓) มีเสียงรอ ง……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………. ๒. เพลงที่รอ งจดั เปนเพลงที่มจี งั หวะ ❍ เรว็ ❍ ชา ๓. เนอ้� หาเพลงกลา วถงึ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. เหตุผลท่เี ลอื กรอ งเพลงน้� เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. นกั เรียนพอใจกบั การรองเพลงของกลมุ หรอื ไม ❍ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ ๔๓

๒. แบง กลมุ คดิ ทา ประกอบเพลงกายบรหิ าร แลว ออกมาแสดงหนาช้ันเรียน (ใหนักเรียน เลอื กเพลงเอง) ๑. เพลงท่เี ลือก คือ เพลง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (…เน…้อ� …เพ…ล…ง…)…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เฉฉบลับย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ท๒๑า)) ประกอบที่ใช ไดแ ขกึ้น อยกู บั ดุลยพนิ จิ ของผูสอน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. นกั เรยี นคิดวา ทาประกอบเหมาะสมกับจงั หวะเพลงหรือไม ❍ เหมาะสม ❍ ไมเหมาะสม เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. นกั เรยี นพอใจกบั การฝกการเคล่ือนไหวครง้ั นหี้ รอื ไม ❍ พอใจ ❍ ไมพอใจ เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕. ส่งิ ทค่ี วรปรับปรุงในการฝก คร้ังตอไป คอื ……………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔๔ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

ä´¤Œ Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµçÁ ñð แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ประจาํ หนวยการเรียนรทู ่ี ๒ กา ✗ คําตอบที่ถูกที่สุด ๑. “แตรก็ ตะระแตร็ก” เปนจังหวะ ๖. ขอ ใดเปนจังหวะของเพลงกราว เฉฉบลบั ย ของเพลงใด ก. แตร็ก ตะระแตรก็ ✗ก. จงั หวะมารช ✗ข. ตุม ตุม ตุม ตุม ข. จังหวะเพลงกราว ค. ตงึ ตงึ ตงึ ตึง ค. จงั หวะอนิ เดียนแดง ๒. จังหวะมารช นิยมนําไปใชก บั ๗. การเคล่ือนไหวจงั หวะอนิ เดียนแดง เพลงประเภทใด ตองกระโดดที่จงั หวะใด ก. เพลงไทย ก. จงั หวะที่ ๒ ข. จังหวะที่ ๓ ✗ข. เพลงปลกุ ใจ ✗ค. จังหวะท่ี ๔ ค. เพลงพน้ื เมอื ง ๓. จงั หวะมารช นิยมนาํ ไปใชประโยชน ๘. ขอ ใดเปนการทอ งกลอนใหไพเราะ ก. อา นเสียงดงั ๆ ในเรอื่ งใด ✗ข. อา นใหถ ูกตอ งตามจงั หวะ ก. การรับรางวัล ✗ข. การเดินแถว ค. อา นไปรอ งไปตามวรรคตอน ค. การฟอ นรํา ๔. เครื่องดนตรีขอใด เกีย่ วของกบั ๙. ขอ ใดไมใ ชการขบั รองเพลงท่ีดี จงั หวะมารช ✗ก. รอ งดวยเสียงดงั ๆ ก. กลองสองหนา ข. กลองยาว ข. รองถกู วรรคตอน ค. รอ งถูกจังหวะทํานอง ✗ค. กลองแตร็ก ๑๐. การขบั รองเพลง จะตองระวงั ๕. จงั หวะเพลงกราวเกยี่ วขอ งกบั ขอใด ในเร่อื งใดมากทีส่ ดุ ก. การแสดงสหี นา ทาทาง ✗ก. การยกทพั ของตัวละคร ✗ข. การรอ งผิดเน้�อเพลง ข. การกําเนดิ ของตัวละคร ค. ความเศรา โศกของตวั ละคร ค. การใชเ สียงดัง ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๔๕

Ẻº¹Ñ ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШÒí ˹Nj  รายการวดั ประเมนิ ผลตามเปา หมายการเรยี นรู ประจาํ หนว ยท่ี ๒ คําชี้แจง : ๑. ครูกําหนดคะแนนเต็มของกิจกรรมที่ตอ งการวดั ผลเพ่ือเก็บสะสม ๒. ครนู าํ คะแนนจากการวัดผลดานความรู (K) / ทักษะกระบวนการ (P) / คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค (A) ของนักเรียนแตละคน กรอกลงในตาราง และสรปุ ผลการประเมนิ ๓. ชิน้ งานที่มีเครอ่ื งหมาย * ใหใชประกอบการประเมินการอา น คิดวิเคราะห และเขียนสอ่ื ความ รายการประเมิน รายการเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูของนกั เรยี น คะแนนรวมดา น ดานความรู (K) ดา นทักษะ/กระบวนการ (P) ดานคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค (A) K/P/A ตัวชวี้ ดั ชน้ั ป.๑ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได - ก. พัฒนาการคิด ประเมนิ ผลสัมฤทธิด์ าน K / P / A ศ ๒.๑ (๓) ทองบทกลอน บทที่ ๑ ขอ ๑ ฝกอาน - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน รองเพลงงายๆ บทกลอนที่กําหนดให ศิลปะ คุณลักษณะ และวาดภาพประกอบ ที่พึงประสงค - ก. พัฒนาการคิด บทที่ ๑ ขอ ๒ แบงกลุม ฝกรองเพลงไทย หรือ เพลงไทยสากล แลว ออกมารองหนาชั้นเรียน เฉฉบลบั ย ศ ๒.๑ (๔) มีสวนรวม - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน ในกิจกรรมดนตรีอยาง บทที่ ๒ ขอ ๑ แบงกลุม ศิลปะ คุณลักษณะ สนุกสนาน ฝกการเคลื่อนไหวตาม ที่พึงประสงค เสียงนกหวีด โดยคิด ทา ทางการเคลอ่ื นไหวเอง - ก. พัฒนาการคิด บทที่ ๒ ขอ ๒ แบงกลุม รองเพลง เคาะจังหวะ และแสดงเพลงทา ประกอบ สวนท่ี ๑ คะแนนจากการประเมินดา นผลการเรียนตามตัวชว้ี ดั สว นท่ี ๒ คะแนนจากการประเมนิ ตนเองของนักเรียน ผลงานกิจกรรมบรู ณาการฯ ที่นักเรียนเลือก ชื่องาน ............................................................................................. สวนที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธิผลประจาํ หนวย การทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ประจําหนวยที่ ๒ สรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเรียนรูประจําหนว ย ผาน ไมผาน ๒ พอใช ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ผานเกณฑประเมิน ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ......................................................................................................................................... ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครสู ามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครูหรือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ๔๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ

´¹µÃ¡Õ ºÑ ªÇÕ µÔ ó˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙ·Œ Õè เฉฉบลับย แผนผังความคิดประจําหนวยการเรยี นรูท ี่ ๓ เปา หมายการเรยี นรูประจาํ หนวยที่ ๓ เม่อื เรียนจบหนว ยน้� ผเู รยี นจะมีความรคู วามสามารถตอไปน้� ดนตรกี ับชีวติ ๑. บอกความเก่ยี วของของเพลงที่ใชใ นชีวติ ประจาํ วัน ๒. เลาถึงเพลงในทอ งถน�ิ เพลงในชีวติ ประจําวัน บทเพลงทอ งถน�ิ ๓. ระบสุ ิ�งท่ีชืน่ ชอบในดนตรที องถ�ิน ดนตรีพนื้ เมอื ง คุณภาพท่ีพงึ ประสงคข องผเู รยี น เพลงกลอมเดก็ ทอ งถิ�นตา งๆ ๑. รแู ละเขา ใจความหมาย ความสาํ คญั ของบทเพลงใกลต วั ท่ีไดย นิ บทเพลงประกอบ ๒. มีสว นรวมกบั กิจกรรมดนตรีในชีวิตประจําวัน ๓. รูแ ละเขา ใจเอกลักษณของดนตรีในทอ งถ�นิ การละเลน เพลงสาํ คัญ และมคี วามชนื่ ชอบในดนตรที องถน�ิ เพลงชาติไทย เพลงสรรเสริญพระบารมี ๔๗ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

๑ à¾Å§ã¹ªÇÕ Ôµ»ÃШíÒÇѹ ขอบขายสาระการเรียนรแู กนกลางรายวชิ า ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ศลิ ปะ ป.๑ ¹ÍŒ §æ Åͧà¢Õ¹ªÍ×è ÊÔ觢ͧ ตัวช้วี ัด áÅÐÍÒªÕ¾·àÕè ¡ÕÂè Ç¢ŒÍ§¡ºÑ àÊÕ§à¾Å§ มฐ. ศ ๒.๑ (๕) บอกความเก่ยี วของของเพลงท่ีใช ในชีวติ ประจาํ วนั ÁÒÍ‹ҧÅÐ õ ¢ŒÍ ÊÔ¤ÃºÑ สาระพืน้ ฐาน ● เพลงที่ใชในชวี ติ ประจาํ วัน - เพลงกลอ มเด็ก - บทเพลงประกอบการละเลน - เพลงสาํ คญั (เพลงสรรเสรญิ พระบารมี เพลงชาตไิ ทย) เฉลยฉบับ ความรูฝงแนน ตดิ ตวั ผเู รียน บทเพลงมสี ว นเกย่ี วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของคนเรา และบางเพลงมคี ณุ คาทางวัฒนธรรม ควรแกการ อนุรักษไว สงิ่ ของ อาชีพ (ตวั อยา ง) (ตัวอยา ง) ๑) โทรทัศน…………………………………………………………………………………….. ๑) นักจัดรายการวิทยุ……………………………………………………………………………………….. ๒) โทรศัพท…………………………………………………………………………………….. ๒) นกั รอง……………………………………………………………………………………… ๓) คอมพิวเตอร…………………………………………………………………………………….. ๓) นกั ดนตรี……………………………………………………………………………………….. ๔) นากิ าปลกุ…………………………………………………………………………………….. ๔) นกั เตน……………………………………………………………………………………….. ๕) นากิ าขอมือ…………………………………………………………………………………….. ๕) นักแสดง……………………………………………………………………………………… ๔๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

à¾Å§·ãèÕ ªŒã¹ªÇÕ Ôµ»ÃШíÒÇ¹Ñ ▲ เพลงกลอ มเด็กเปนภมู ปิ ญ ญาของคนในทองถนิ่ ¹ŒÍ§æ ÃŒÙäËÁ¤ÃÑºÇ‹Ò ดนตรีหรือเพลงมีความเก่ียวของ กับชวี ติ เรามานาน อาจกลา วไดว า เกย่ี วขอ ง à¾Å§¡Å‹ÍÁà´¡ç ᵋÅз͌ §¶¹èÔ ตง้ั แตค นเราเกดิ เลยกว็ า ได เรมิ่ ตงั้ แตแ รกเกดิ ãªÀŒ ÒÉÒáÅÐÁàÕ ¹Í×é ËÒµ‹Ò§¡Ñ¹ ในวัยทารก พอแมคือนักรองคนแรกท่ีคอย ขบั รอ งเพลงกลอ มเดก็ ใหล กู ฟง เมื่อคนเราโตข้ึน ก็จะรูจักการรอง การเตน ตลอดจนนําเพลงมาทํากิจกรรม ตางๆ เพื่อทําใหเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เชน การแสดงเตนรําบนเวที การแสดงทาทางประกอบเพลง เปนตน เฉฉบลับย ▲ การแสดงทา ประกอบเพลง เปนกจิ กรรมที่ใชเ พลงมาสรา งสรรคใหเ กดิ ประโยชน เม่ือคนเราโตขึ้นก็มักจะเอาเพลงหรือดนตรีมาใชประโยชนมากขึ้น โดยเฉพาะ การนํามาใชประโยชนในดานการพักผอน การผอนคลายอารมณและจิตใจ เชน การฟง เพลง การขบั รองเพลงคาราโอเกะ เปนตน ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๔๙

บางครั้งดนตรีหรือเพลงก็เขาไปเก่ียวของกับพิธีกรรมตางๆ ท่ีปรากฏในชีวิต ประจําวันต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน เชน การทําบุญบาน งานบวชนาค งานแตงงาน งานศพ เปน ตน à¾Å§·íÒãËàŒ ¡´Ô ¤ÇÒÁʹ¡Ø ʹҹ 㹡Ò÷íÒ¡¨Ô ¡ÃÃÁµÒ‹ §æ ▲ การนาํ ดนตรเี ขาไปมีสว นรวมในงานทาํ บุญ ชว ยใหผ ูรวมงานสนุกสนานเพลดิ เพลิน นอกจากเพลงจะเกยี่ วขอ งกบั เราในเรอ่ื งการดาํ เนนิ ชวี ติ และพธิ กี รรมตา งๆ แลว เฉฉบลบั ย ในปจ จบุ นั จะพบวา เพลงมบี ทบาทสาํ คญั กลายเปน สว นหนง่ึ ของสงั คม ดงั จะเหน็ ไดจ าก สภาพแวดลอมรอบๆ ตัว เชน สื่อโฆษณาตางๆ ท่ีใชเสียงเพลงเปนสื่อ โทรศัพท เคล่อื นทท่ี ีม่ เี สียงเรยี กเขาเปนเสยี งดนตรี เปน ตน ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ เลาประสบการณหรือความประทบั ใจเก่ียวกบั เพลงหรือดนตรีที่พบเห็นในชวี ติ ประจาํ วัน แลว ตอบคาํ ถาม ๑. นักเรียนมคี วามรูส กึ ❍ ชอบ ❍ ไมชอบเสียงดนตรี ๒. นักเรยี นคดิ วา มคี วามเกย่ี วของกับดนตรี ❍ มาก ❍ ปานกลาง ❍ นอย เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ประโยชนข องเสียงเพลงหรอื เสยี งดนตรีมีอะไรบา ง (บอกมา ๓ ขอ ) ๑) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๒) ขึน้ อยกู ับดลุ ยพนิ ิจของผูส อน……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

à¾Å§·àÕè ¡ÕèÂǢ͌ §¡ºÑ ªÕÇµÔ àÃÒ ๑. เพลงกลอ มเดก็ เปนเพลงที่มีเน้ือรองสั้นๆ ขับรองงาย ใชรองเพื่อกลอมเด็กเล็กใหนอนหลับ คนสมัยกอน นิยมขับรองเพลงกลอมเด็กกันมาก เน่ืองจากในสมัยกอนไมมีเครื่อง อาํ นวยความสะดวก เชน เครอ่ื งเลน เทป เครอ่ื งเลนแผน CD ในปจจบุ นั ยงั มีการรอง เพลงกลอ มเดก็ อยูบา งตามชนบท เพลงกลอมเด็กภาคกลาง เพลง นกขมิ้น เจานกขม้ินเหลืองออนเอย คาํ่ แลวจะนอนที่ตรงไหน จะนอนไหนก็นอนได สมุ ทมุ พมุ ไมก ็เคยนอน ลมพระพายชายพดั มาออ นออน เจาเคยจรมานอนรงั เอย ท่มี า ศ. กุหลาบ มัลลิกะมาส, คติชาวบาน เพลงกลอ มเดก็ ภาคเหนอื เพลง อ่อื จาจา เฉฉบลับย อือ่ จา จา หลบั สองตาอยา ไห แกว แกนไท แมจ ะอื่อ จา จา นายไหอยากก�ินจนิ๊ บอ มไี ผไปหา นายไหอ ยากก�นิ ปลา บม ีไผไปสอน มขี าวเยน็ สองสามกอ น กินแลวลวดหลับไป อื่อ อื่อ ออื๋ อ๊ี ออื จา จา ท่มี า มณ� พยอมยงค, ประวัติและวรรณคดลี านนา, ๒๕๑๓ ¤ÇÒÁËÁÒ¤ÇÃÃÙŒ เปนเสียงเอ้ือนทํานอง ไผ หมายถงึ ผใู ด เดก็ สอน หมายถงึ ชอน (ปลา) อ่ือจา หมายถึง กนิ ลวด หมายถงึ เลย นาย หมายถงึ เนอ้� , ชน้ิ เน้อ� ก�ิน หมายถึง จ๊ิน หมายถงึ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๕๑

เพลงกลอ มเด็กภาคอสี าน เพลง นอนสาเดอ นอนสาแมเยอ หลับตาสาแมเยอ นอ นอูผา นอนสาแมเ ยอ แมไปไฮ กะคีควยเขาลา แมไ ปนา กะคีควยเขาตู ขาน่งึ คู ขานึ่งลอ งซอ ย ที่มา จารุณี กองพลพรหม, คุณคา ชาวบานหมูบานเมอื งเกา ¤ÇÒÁËÁÒ¤ÇÃÃÙŒ คี หมายถึง ข่ี คว ย หมายถึง ควาย สา หมายถงึ เสีย นา หมายถงึ นา ตา หมายถงึ ตา ลอ งซอ ย หมายถึง เหยยี ดตรง อผู า หมายถงึ อูผา เฉฉบลับย ไฮ หมายถงึ ไร เพลงกลอมเด็กภาคใต เพลง ชานอง นกเขยี วเหอ เกาะเรยี วไมพกุ พอ แมอยหู นุก โลกไปใชน าย ขนตกฟารอง พอแมเ ขาอยหู นุกบาย โลกไปใชนาย น่งั กินแตน ํ้าตา ที่มา สุทธวิ งศ พงศไพบูลย, คตชิ าวบานภาคใต ¤ÇÒÁËÁÒ¤ÇÃÃÙŒ ไมผ ุ ใช หมายถงึ รบั ใช สนกุ สบาย ขน หมายถงึ ฝน ไมพกุ หมายถงึ ลูก หนุกบาย หมายถึง สนกุ สบาย หนุก หมายถงึ โลก หมายถงึ ๕๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò แบง กลมุ รอ งเพลงกลอ มเดก็ หนา ชนั้ เรยี น มา ๑ เพลง และบนั ทกึ ขอมูล ๑. เพลงทีข่ บั รอง คือ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. เปน เพลงกลอมเดก็ ทองถ่ิน ❍ ภาคเหนือ ❍ ภาคกลาง ❍ ภาคอสี าน ❍ ภาคใต ๓. เพลง ………………………………………………………………………………….. (บนั ทกึ เน้อ� เพลง) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เฉฉบลบั ย ขนึ้ อยูกบั ดลุ ยพินจิ ของผสู อน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. แปลความหมายเพลงเปน ภาษากลาง ไดด งั น้ี ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕. ความรูสกึ ทมี่ ีตอการขับรอ งเพลงของกลุม ❍ พอใจ ❍ ไมพอใจ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๕๓

๒. เพลงประกอบการละเลน การละเลนเปนกิจกรรมท่ีใชเลนในยามวาง หรือในโอกาสตางๆ การละเลนของ เดก็ ไทยมหี ลายอยาง เชน โพงพาง ซอนหา จา้ํ จี้ เปน ตน และการละเลนของเดก็ ไทย ก็อาจแตกตา งกนั ไปตามสภาพทองถิ่นตางๆ การละเลนของเด็กไทยบางทองถิ่น อาจมีเพลงประกอบการเลน ซ่ึงทําให เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลนิ และฝกการใชภาษาของเด็กไดดีข้นึ เชน เพลง รีรีขาวสาร รรี ขี าวสาร สองทะนานขาวเปลอื ก เลือกทอ งใบลาน เกบ็ เบ้ยี ใตถนุ รา น คดขาวใสจ าน พานเอาคนขา งหลังไว เฉฉบลับย เพลง งูกินหาง แมง เู อย กินนาํ้ บอไหน กินนาํ้ บอทราย ยายไปก็ยายมา กินนํา้ บอโศก โยกไปก็โยกมา กินนํ้าบอหนิ บนิ ไปกบ็ นิ มา กินหัวกินหาง กินกลางตลอดตวั ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ๑แ๓บ.. งวชกิธื่อลีกกมุาารรเเลลละนนเลก(นาอรยลาขะง้ึนเยลออน)ยทูกม่ี เีับพดลงุลปยระพกินอบิจมขาอง๑๒๔ผ..อูสเคยพวอาลางนมงทแรลสูี่ใชะกึ นปทาํร่ีไเะดสกจนอาอบกขกกอาามรรเเูลลลหนนนา ชัน้ เรียน ดงั นี้ ๕๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

๓. เพลงสําคัญ เพลงท่ีมีความสําคัญในชีวิตประจําวันมีหลายเพลง ซึ่งนักเรียนควรฝกฟงและ รองใหได โดยใชวิธีฝกรอ งเหมือนเพลงท่ัวไป เพลงสําคญั ท่ีควรฝกรอ ง เชน ๑. เพลงชาตไิ ทย เพลงชาติไทย เปนเพลงท่ีแสดงถึงความเปนเอกราชของชาติไทย บงบอก ถึงความสามัคคี ความเสียสละ และความกลาหาญของคนในชาติ ที่ทําใหชาติไทย ดํารงอยูไดจนถึงทุกวันน้ี เม่ือไดยินเพลงชาติเราตองยืนตรง เพ่ือเปนการแสดงความ เคารพ เเพพลลงง ชชาาตตไิ ไิ ททยย ทํานอง พระเจนดุรยิ างค เคนํา้อ�รรอ องง พพ.อ.อ. .หหลลววงงสสาารราานนุปุปรระพะพนั นั ธธ  เฉฉบลบั ย ปปรระะเเททศศไทไทยรยวรมวเลมอื เดลเือนด้ือเชนาต้ือิเชาอ้ื ตไทเิ ชยือ้ ไทย เเปปนน ปปรระชะชาราฐั รัฐไผทไผขทองขไอทยงทไทกุ สยวทนกุ สว น ออยยูดดู ําาํรรงคงคงไงวไไ วดไทด้ังทมวัง้ ลมวล ดสเไเเสเไดถออถททลวลว กลยกลยะยยะริงเนไรงิเลนาปไทลร้ีาปชทือรร้ียกัชือจระดยักลสเะจะดททวงลสไเะกุทบนมศทวงไหหใุกบนมศหยมหแชหใใาาแตหคชายดมยตถรตใเาาาขปิไงึคตรถดทยรมนกัริไึงเบยขชสขปทรไรที่าามมบนยักวตมขขไีทชสพิคั ลม่ีาาควมลาขตมีีีชีดมลพิัยัคาีชคลชดัยีีโยชโย ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ ๕๕

๒. เพลงสรรเสรญิ พระบารมี เพลงสรรเสรญิ พระบารมเี ปน เพลงประจาํ องคพ ระมหากษตั รยิ  เนอื้ เพลงกลา วถงึ พระบารมขี องพระมหากษตั รยิ ท ท่ี รงปกครองปวงชนชาวไทยใหอ ยดู ว ยความรม เยน็ เปน สขุ ตลอดมา เพลง สรรเสรญิ พระบารมี เนอ้� รอง พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา อยูห ัว (รชั กาลท่ี ๖) เรยี บเรียงเสียงประสาน พระเจนดรุ ิยางค และสมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอ เจาฟา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ขาวรพุทธเจา เอามโนและศริ ะกราน นบพระภมู บิ าล บญุ ดิเรก เอกบรมจกั รนิ เฉฉบลับย พระสยามินทร พระยศยง่ิ ยง เย็นศิระเพราะพระบรบิ าล ผลพระคณุ ธ รกั ษา ปวงประชาเปน สุขศานต ขอบันดาล ธ ประสงคใด จงสฤษดดิ์ งั หวังวรหฤทัย ดุจถวายชัย ชโยฯ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ô แบง กลมุ ฝก รอ งเพลงชาตไิ ทยและเพลงสรรเสรญิ พระบารมแี ลว ออกมารอ งหนา ชนั้ เรยี น ขน้ึ อยูกับดุลยพินิจของผสู อน ๕๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ··èÕ ñ วาดภาพในหวั ขอ เสียงเพลงกับชวี ติ ประจําวนั แลวออกมานาํ เสนอหนาชนั้ เรียน ข้ึนอยูกับดลุ ยพินจิ ของผสู อน เฉฉบลบั ย ๑. นักเรยี นชอบเสียงเพลงหรือไม ❍ ชอบ ❍ ไมช อบ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. นักเรียนคิดวาเพลงมปี ระโยชนหรอื โทษตอคนเรา ❍ มีประโยชน ❍ มีโทษ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๕๗

แบบทดสอบที่ ๑ กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด ๑. ส่งิ ของขอ ใด เกยี่ วของกบั ดนตรี ๖. ดนตรเี กีย่ วขอ งกบั บคุ คลใดนอยที่สุด ก. หมอหุงขา ว ✗ก. พระภิกษุ ✗ข. วิทยุ ข. นักรอ ง ค. เตารดี ค. ครู ๒. อาชีพใดทีเ่ ก่ียวของกบั ดนตรีมากทส่ี ดุ ๗. จุดประสงคในการรองเพลงกลอ มเดก็ คือขอใด ก. นกั มายากล ก. ใหเ ดก็ อารมณด ี ข. นกั มวย ข. ใหเด็กสนกุ สนาน ✗ค. นกั รอ ง ✗ค. ใหเดก็ งวงนอน ๓. เพลงใดทมี่ ักไดยินเวลา ๑๘.๐๐ น. ๘. เพลงกลอมเดก็ แตละทองถิ่นตางกัน ในเรอื่ งใด ✗ก. เพลงชาตไิ ทย ✗ก. ภาษา เฉฉบลบั ย ข. เพลงไทยรวมกําลงั ข. เน้อ� รองสัน้ ค. เพลงสรรเสริญพระบารมี ค. จดุ ประสงค ๔. ขอใดเปนกจิ กรรมที่เกยี่ วของกับ ๙. การละเลน ใด ไมใช เพลงประกอบ ก. จ้าํ จ้ี ดนตรีมากท่ีสดุ ก. งานศพ ✗ข. หมากเกบ็ ข. งานบวช ค. รีรีขา วสาร ✗ค. งานวัด ๑๐. เพลงใดมคี วามสําคัญมากทีส่ ุด ๕. ในโรงภาพยนตรเรามกั ไดย นิ เพลงใด ก. เพลงหนอนผีเสอ้ื กอ นเรมิ่ ฉายหนงั ข. เพลงสมตํา ✗ก. เพลงสรรเสริญพระบารมี ✗ค. เพลงชาตไิ ทย ข. เพลงสามคั คชี มุ นมุ ค. เพลงชาติไทย ๕๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ

๒ º·à¾Å§·ÍŒ §¶èÔ¹ ขอบขา ยสาระการเรียนรูแกนกลางรายวชิ า ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ศิลปะ ป.๑ ¹ÍŒ §æ ´ÀÙ Ò¾ áÅÇŒ Åͧ·Ò ตัวช้วี ดั ´ÙÇ‹Ò໚¹Ç§´¹µÃ¾Õ ¹×é àÁ×ͧ มฐ. ศ ๒.๒ (๑) เลา ถงึ เพลงในทองถ่นิ มฐ. ศ ๒.๒ (๒) ระบุส่ิงท่ชี น่ื ชอบในดนตรีทอ งถ่ิน ¢Í§·ŒÍ§¶¹èÔ ã´ สาระพน้ื ฐาน ● ทมี่ าของบทเพลงในทอ งถ่ิน เฉฉบลับย ● ความนา สนใจของบทเพลงในทอ งถนิ่ ความรูฝง แนน ติดตวั ผูเ รียน เพลงพื้นเมืองเปนเพลงที่คนในทองถิ่นสรางสรรค ข้ึนมา มีเอกลักษณที่แตกตางกันไปตามทองถิ่น และมคี ุณคาทางวฒั นธรรมควรแกก ารอนุรกั ษไว ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ ๕๙

·èÕÁҢͧº·à¾Å§·ÍŒ §¶Ôè¹ ดนตรีพื้นเมืองเปนวัฒนธรรมทองถิ่นรูปแบบหน่ึง ท่ีเกิดข้ึนจากการประดิษฐ คิดคนของคนในทองถิ่นเอง โดยใชวัสดุในทองถิ่นผสมผสานกับวัฒนธรรมประเพณี ในทอ งถ่ิน ทาํ ใหเ กิดเปนดนตรีพ้ืนเมอื งท่เี ปนเอกลกั ษณของทองถนิ่ ตนเองขน้ึ มา ๑. ดนตรีพน้ื เมอื งภาคเหนอ� ในทองถ่ินภาคเหนือมีสภาพ ภูมิอากาศท่ีคอนขางเย็นสบายและ มีอากาศดี ดังนั้นคนทองถ่ินจึงมัก มีอารมณดี การสรางสรรคดนตรี และเสียงเพลง จึงมีลักษณะเปน ทาํ นองชา ๆ นมุ นวลเปน สว นมากฟง ▲ เพลงพืน้ เมอื งภาคเหนอื มที ว งทาํ นองชา ๆ และมเี อกลักษณเปน ของตวั เอง เฉฉบลับย แลวเกดิ ความไพเราะ ๒. ดนตรีพ้นื เมอื งภาคอสี าน ภาคอีสานเปนพ้ืนที่ที่มีสภาพภูมิอากาศแหงแลง อากาศรอน คนทองถ่ินนี้ จึงมีชีวิตท่ีตองดิ้นรน กระตือรือรน การสรางสรรคทางดนตรี จึงมีลักษณะทํานอง สนุกสนานเปนสว นมาก ▲ ทว งทํานองท่สี นุกสนานของเพลงพืน้ เมืองภาคอีสาน ทําใหก ารแสดงดนตรีมสี สี นั นา ชม ๖๐ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

๓. ดนตรีพ้นื เมอื งภาคกลาง ผูคนทางภาคกลางสวนมาก ประกอบอาชีพทํานา เพราะมีพื้นท่ี อุดมสมบูรณ เมื่อยามวางจากการ ปลูกขาว บางกลุมก็มาสรางสรรค ผลงานทางดนตรีจนมีชื่อเสียง เชน เพลงลําตัด เพลงเกี่ยวขาว เปนตน ▲ ดนตรีภาคกลางถกู ยกใหเปน ดนตรีประจาํ ชาตทิ ี่มีเอกลักษณ เฉพาะตวั ๔. ดนตรีพนื้ เมอื งภาคใต ภาคใตมีพื้นท่ีติดกับทะเลและติดประเทศเพ่ือนบานทางใต ทําใหไดรับอิทธิพล ทางวัฒนธรรม ศาสนา จากประเทศเพ่ือนบาน ดังนั้นจะเห็นวาการดําเนินชีวิตคนใต เฉฉบลับย สวนใหญจึงแตกตางจากคนเหนืออีสาน การสรางสรรคทางดนตรี สวนใหญออกไปใน ทางสนุกสนาน มีทาํ นองจังหวะเร็ว เราใจ เชน การแสดงลเิ กฮลู ู เปนตน ▲ การแสดงลเิ กฮลู ู เปน การแสดงดนตรีทม่ี ีลกั ษณะเฉพาะตวั ของคนภาคใต ๖๑ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ตแบามง๑๓กห..ลัวเชมุขค่ืออรวหอื่ งดางดภังดนนานตพ้ี ตรหรี ทีรแอื ี่ใลชวะาเทลดอนภงขาถึน้ พน่ิ อกทยาีก่ รกู ําแบัเสนดดิดงลุ ดยนพตนิรีพิจ้ืนขเอมง๔๒อื ผ..งูสทโปอออรกะงนาวถสตัิน่ ใิคตนวากางามๆรเแปแสนลดมวงชาวยกันจัดปา ยนิเทศ ¤ÇÒÁ¹Ò‹ ʹ㨢ͧº·à¾Å§·ÍŒ §¶è¹Ô ดนตรีพ้ืนเมืองมักถูกนํามาใชในกิจกรรมของทองถ่ิน โดยเฉพาะเกี่ยวกับงาน ประเพณีเทศกาลหรือพธิ ีการตา งๆ ของทองถน่ิ เชน งานทําบุญตกั บาตร เปนตน เฉฉบลบั ย ▲ การแสดงราํ กลองยาวในประเพณีทําบญุ ตกั บาตร จ.อุทยั ธานี ชวยทาํ ใหงานมสี ีสันและนาสนใจขน้ึ ดนตรีพื้นเมืองในปจจุบันไดมีวิวัฒนาการใหทันยุคทันสมัยขึ้น เพื่อสามารถ อยูในสังคมตอไปได แตยังคงความเปนดนตรีพ้ืนเมืองอยู การวิวัฒนาการและปรับตัว ของดนตรีพื้นเมืองมีหลายวิธี เชน แตงเพลงพื้นเมืองเปนเรื่องราวปจจุบัน แตใชทวง ทํานองและภาษาพ้ืนเมือง เคร่ืองดนตรีบางชนิดสามารถดัดแปลงเปนแบบใชไฟฟาได เชน พณิ ไฟฟา เปนตน ๖๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ตดิ ภาพการเลน ดนตรพี ้นื เมืองที่ชน่ื ชอบในกรอบ แลวบันทกึ ขอมลู (ตดิ ภาพ) ขนึ้ อยกู บั ดุลยพนิ ิจของผูสอน เฉฉบลบั ย ๑. ภาพนเี้ ปน การเลน ดนตรพี นื้ เมอื งทเ่ี รยี กวา ………………………………………………………………………………………………………………….. และเปนดนตรีพืน้ เมืองของทอ งถ่ิน ❍ ภาคเหนือ ❍ ภาคอีสาน ❍ ภาคกลาง ❍ ภาคใต ๒. นกั เรียนชืน่ ชอบการเลนดนตรีพน้ื เมอื งในภาพ เพราะวา ❍ ชอบภาษาท่ีใชขบั รอง ❍ ชอบเสยี งเคร่อื งดนตรี ❍ ชอบลีลาการแสดงของนักดนตรีและนักรอ ง ❍ อ่นื ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. นักเรยี นเคยไปชมการแสดงดนตรีพืน้ เมืองในภาพหรือไม ❍ เคย ❍ ไมเคย เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………….. ถา เคย นกั เรยี นรสู กึ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๖๓

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾²Ñ ¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ··Õè ò ๑. วาดภาพดนตรีทอ งถิ่น แลวเลา ถงึ ท่ีมาของเพลงในทองถ่นิ อยางยอๆ หนาชน้ั เรยี น เฉฉบลับย ขึ้นอยกู บั ดุลยพินจิ ของผสู อน ๒. รอ งเพลงทองถน่ิ ๑ เพลง และเลา ถงึ สงิ่ ทชี่ นื่ ชอบหรือประทับใจในเพลงท่รี อ ง ข้ึนอยูก บั ดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน ๖๔ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ

แบบทดสอบที่ ๒ กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด ๑. เพลงพืน้ เมอื ง คืออะไร ๖. ขอใดเกีย่ วของกับดนตรีพนื้ เมือง ก. เพลงท่นี ิยมเลนกนั ทัว� ไป ของภาคอสี าน ✗ข. เพลงทเี่ ลน เฉพาะทอ งถน�ิ ก. ลเิ ก ✗ข. หมอลํา ค. เพลงท่ีใชเ ครอ่ื งดนตรีไทยเลน ค. หนงั ตะลุง ๗. ซึง เปนเครอ่ื งดนตรีพนื้ เมอื ง ๒. ดนตรีพนื้ บา น มคี ณุ คาในดานใด เฉฉบลบั ย มากทส่ี ุด ของภาคใด ก. ใหคตสิ อนใจ ก. ภาคกลาง ข. ภาคอีสาน ข. ใหค วามเพลิดเพลิน ✗ค. ภาคเหน�อ ✗ค. บง บอกวฒั นธรรมประเพณ� ๘. การฟงเพลงพืน้ เมืองในทองถิน่ ตน ของคนในทองถิน� น้ันๆ มีประโยชนอยางไร ๓. ขอใดเปน เครอ่ื งดนตรีพ้นื เมือง ✗ก. ชว ยอนุรกั ษเ พลงพ้นื เมือง ✗ก. แคน ข. กตี าร ค. กลองชดุ ข. ทําใหค นอ่ืนรวู าอยทู อ งถิน� ใด ค. เปน ทีร่ กั ใครของคนในทอ งถนิ� ๔. จากภาพ เปน ๙. ก. ภาคใต เครื่องดนตรี ของทอ งถนิ� ใด จากภาพ เปน วงดนตรีพ้ืนเมือง ✗ค. ภาคอีสาน ข. ภาคกลาง ของภาคใด ๕. ขอ ใดเปน ลักษณะเดนของ ก. ภาคเหน�อ ✗ข. ภาคกลาง เพลงพน้ื เมือง ก. มจี งั หวะเรว็ ค. ภาคใต ๑๐. ขอใดไมใชเคร่ืองดนตรพี ืน้ บา น ✗ข. ใชภ าษาถนิ� ในการรอ ง ก. ซึง ข. แคน ค. ผูรอ งแตง กายสวยงาม ✗ค. กีตาร ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ ๖๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä ๑. สาํ รวจเพลงทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ชีวิตประจาํ วนั แลว เลือกเพลงที่ประทับใจมารอ งหนาชั้นเรยี น และบันทึกขอ มลู เพลง(เขียนเนอื้ เพลง) …………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เฉฉบลับย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขึน้ อยกู ับดลุ ยพนิ ิจของผูสอน……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. เพลงทรี่ อ งเปน เพลงประเภท ❍ เพลงกลอ มเดก็ ❍ เพลงประกอบการละเลน ❍ เพลงสาํ คญั ตา งๆ ❍ อนื่ ๆ ………………………………………………………………………………………………….. ๒. นกั เรยี นประทบั ใจเพลงน้ี เพราะ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. เพลงท่ีสาํ รวจมาไดส ว นมากเปนเพลง ❍ เพลงไทย ❍ เพลงไทยสากล ❍ เพลงพน้ื เมอื ง ❍ อน่ื ๆ ………………………………………………………………………………………………….. ๔. นักเรียนคิดวา เพลงมีความสําคัญตอชีวิตคนเราหรือไม ❍ สําคัญ ❍ ไมสําคัญ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

๒. แบง กลมุ สาํ รวจวงดนตรพี นื้ เมอื งในทอ งถน่ิ แลว บนั ทกึ ขอ มลู และนําเสนอหนาชัน้ เรียน (ครชู วยแนะนําในการคน ควาและบนั ทกึ ขอมูล) ๑. วงดนตรีพ้ืนเมอื ง ชอ่ื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เปน วงดนตรที อ งถิ่น ❍ ภาคเหนือ ❍ ภาคอีสาน ❍ ภาคกลาง ❍ ภาคใต ๒. สมาชิกของวง ประกอบดวย ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. เคร่อื งดนตรีที่ใช …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (วาดภาพประกอบ) ขนึ้ อยูกับดุลยพินจิ ของผูสอน เฉฉบลับย ๔. ประวตั กิ ารกอ ตงั้ วงดนตรี (อยา งยอ) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕. โอกาสทแี่ สดงดนตรี คอื ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๖๗

ä´¤Œ Ðá¹¹ ¤Ðá¹¹àµçÁ ñð แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ ประจาํ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๓ กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด ๑. ในวันปใหม เรามักไดย ินเพลงใด ๖. ขอใดเปนเครอื่ งดนตรพี ้ืนเมอื ง มากท่ีสดุ ภาคใต ก. เพลงสรรเสริญพระบารมี ก. ซึง ข. เพลงชาตไิ ทย ข. โปงลาง ✗ค. เพลงพรปใหม ✗ค. ฆอ งคู ๒. การเตน กายบรหิ ารประกอบเพลง ๗. ขอ ใด ไมใ ช ประโยชนของการฟง เปนการนาํ ดนตรมี าใชใ นดา นใด ดนตรพี ้ืนเมือง ก. การประกอบอาชีพ ✗ก. เรยี นหนงั สอื เกง ข้นึ ✗ข. การออกกําลังกาย ข. มอี ารมณแจมใส เฉฉบลบั ย ค. การรกั ษาโรค ค. ไดรบั ความเพลิดเพลิน ๘. เพลงใดเปนเพลงพ้นื เมอื ง ๓. ขอ ใดคือลกั ษณะเฉพาะของ ดนตรีพ้ืนเมอื ง ✗ก. เพลงลาํ ตดั ก. คนเลนแตงกายทนั สมัย ข. ใชเ ครื่องดนตรีทท่ี ันสมยั ข. เพลงเขมรไทรโยค ค. เพลงแฮปปเ บริ ทเดย ✗ค. เน้อ� รอ งเปนภาษาทอ งถิน� ๙. ใครเปน นักรอ งเพลงพน้ื เมอื ง ก. เขตต ฐานทพั ๔. วงหมอลาํ ใชภาษาใดในการขบั รอง ✗ข. จรัล มโนเพชร ก. ภาษาเหน�อ ✗ข. ภาษาอสี าน ค. ธงไชย แมคอนิ ไตย ค. ภาษาใต ๑๐. ทาํ ไมจึงตองอนรุ กั ษดนตรี ๕. จากภาพ เปน พ้นื เมอื งไว เครื่องดนตรชี นดิ ใด ก. เพราะเปน ความรู ข. เพราะเปนประเพณ� ✗ก. โปงลาง ข. ฆองวงเลก็ ✗ค. เพราะเปนสิ�งท่มี คี ณุ คา ค. ระนาดเอก ๖๘ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

ẺºÑ¹·¡Ö ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШÒí ˹Nj  รายการวัดประเมินผลตามเปาหมายการเรียนรู ประจําหนว ยท่ี ๓ คาํ ช้แี จง : ๑. ครกู าํ หนดคะแนนเตม็ ของกิจกรรมทีต่ องการวัดผลเพอื่ เก็บสะสม ๒. ครูนาํ คะแนนจากการวดั ผลดานความรู (K) / ทกั ษะกระบวนการ (P) / คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค (A) ของนกั เรยี นแตล ะคน กรอกลงในตาราง และสรุปผลการประเมนิ ๓. ชิน้ งานที่มีเครอ่ื งหมาย * ใหใชป ระกอบการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี นส่อื ความ รายการประเมนิ รายการเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูของนักเรยี น คะแนนรวมดา น ดา นความรู (K) ดานทักษะ/กระบวนการ (P) ดานคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค (A) K/P/A ตัวชีว้ ดั ช้นั ป.๑ หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได หลักฐาน/ชิ้นงาน เต็ม ได เต็ม ได ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิดา น K / P / A ศ ๒.๑ (๕) บอกความ - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน เกี่ยวของของเพลงที่ใช บทที่ ๑ วาดภาพใน ศิลปะ คุณลักษณะ ในชีวิตประจําวัน หัวขอ “เสียงเพลงกับ ที่พึงประสงค ชีวิตประจําวัน” ศ ๒.๒ (๑) เลาถึงเพลง - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน ในทองถิ่น บทที่ ๒ ขอ ๑ วาดภาพ ศิลปะ คุณลักษณะ ดนตรีทองถิ่น แลวเลา ที่พึงประสงค ถึงที่มาของเพลง ในทองถิ่น ศ ๒.๒ (๒) ระบสุ งิ่ ทชี่ นื่ ชอบ - ก. พัฒนาการคิด - แบบประเมินทักษะ - แบบประเมิน เฉฉบลับย ในดนตรีทองถิ่น บทที่ ๒ ขอ ๒ รองเพลง ศิลปะ คุณลักษณะ ทองถิ่นมา ๑ เพลง ที่พึงประสงค และเลาถึงสิ่งที่ชื่นชอบ หรือประทับใจในเพลง ที่รอง สว นท่ี ๑ คะแนนจากการประเมินดานผลการเรียนตามตัวช้ีวัด สวนที่ ๒ คะแนนจากการประเมินตนเองของนกั เรยี น ผลงานกิจกรรมบรู ณาการฯ ที่นักเรียนเลือก ชื่องาน ............................................................................................. สว นที่ ๓ คะแนนจากการทดสอบสมั ฤทธผิ ลประจาํ หนว ย การทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ประจําหนวยที่ ๓ สรปุ ผลการประเมินพัฒนาการเรียนรูป ระจาํ หนวย ผาน ไมผาน ๒ พอใช ขอเสนอแนะ ............................................................................................................... ระดับคุณภาพ ๔ ดีมาก ๓ ดี ผานเกณฑประเมิน ๑ ควรปรับปรุง ➠ ซอมเสริมแลว ➠ ......................................................................................................................................... ลงชื่อ ........................................................................................................ ผูประเมิน ................... / ................... / ................... ☞ หมายเหตุ ครูสามารถใชแบบบันทึกนี้เพื่อบันทึกผลการเรียนแตละหนวยของนักเรียนเปนรายบุคคล หรือบันทึกลงในแบบบันทึกอื่น ที่ครหู รือสถานศึกษาจัดทําขึ้นก็ได ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ ๖๙

ô ¹Ò¯ÈÅÔ »¾Š ¹é× °Ò¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹÷ŒÙ Õè เฉฉบลับย แผนผงั ความคดิ ประจําหนว ยการเรียนรทู ่ี ๔ เปาหมายการเรียนรปู ระจําหนวยท่ี ๔ เมือ่ เรยี นจบหนวยนี้ ผเู รยี นจะมีความรคู วามสามารถตอ ไปนี้ นาฏศลิ ปพ น้ื ฐาน ๑. เลยี นแบบการเคลื่อนไหว ๒. แสดงทาทางงายๆ เพ่ือส่อื ความหมายแทนคําพูด การแสดงบทบาทสมมุติ ภาษาทา คุณภาพท่พี ึงประสงคข องผูเรียน การเคลื่อนไหว ๑. สรา งสรรคการเคล่ือนไหวในรูปแบบตา งๆ การใชภาษาทาและการ ๒. สามารถแสดงทาประกอบจังหวะเพลงตามรูปแบบนาฏศลิ ป เลยี นแบบธรรมชาติ ประดษิ ฐทาประกอบเพลง การเคลอ่ื นไหว เลียนแบบ การแสดงประกอบเพลงท่ี เก่ียวกบั ธรรมชาตสิ ตั ว คน สตั ว ส�ิงของ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๗๐

๑ ¡ÒÃáÊ´§º·ºÒ·ÊÁÁØµÔ ขอบขายสาระการเรยี นรแู กนกลางรายวิชา ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ศิลปะ ป.๑ ¹ŒÍ§æ ¨Ñº¤áÙ‹ ÅÇŒ ·íÒ·Ò‹ ตวั ชีว้ ัด àÅÕ¹ẺµÒí ÃǨ´ÙÊ¤Ô Ð มฐ.ศ ๓.๑ (๑) เลยี นแบบการเคลอ่ื นไหว ã¤Ã¨Ð·Òí ä´ŒàËÁ×͹ÁÒ¡·èÕÊØ´ สาระพ้ืนฐาน เฉฉบลับย ● การเคลื่อนไหวลักษณะตา งๆ - การเคลือ่ นไหวเลยี นแบบธรรมชาติ - การเคลื่อนไหวเลียนแบบคน สัตว ส่ิงของ ความรฝู งแนนติดตวั ผเู รียน การเคลอื่ นไหวเลยี นแบบสง่ิ ตา งๆ เปน พนื้ ฐาน การฝก แสดงละครและนาฏศลิ ป ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ ๗๑

การแสดงบทบาทสมมุติ เปนการเคล่ือนไหวรางกายเลียนแบบส่ิงตางๆ เชน เลียนแบบธรรมชาติ เลียนแบบพฤติกรรมของคน เปนตน ดังนั้น การแสดงบทบาท สมมตุ จิ ึงเปน พ้นื ฐานเบอ้ื งตนของการแสดงละคร และการฝกใชจ นิ ตนาการ นอกจากนี้ ยังชวยพัฒนาการเคล่ือนไหวของรางกาย และทําใหเกิดความเพลิดเพลินอีกดวย บทบาทสมมุติทนี่ ักเรยี นสามารถฝก แสดงได มดี ังนี้ ¡ÒÃà¤Å×Íè ¹äËÇÅѡɳеҋ §æ ๑. การเลียนแบบสัตว เปนการเคล่ือนไหวรางกายท่ีเลียนแบบทาทางหรือพฤติกรรมของสัตว เชน เลียนแบบกระตายยืน ไกข นั เปนตน เฉฉบลบั ย การเลยี นแบบมา การเลยี นแบบกบ การเลียนแบบลงิ การเลียนแบบกวาง ๗๒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ ฝกแสดงทา เลียนแบบสตั วข า งลา ง แลวออกมาแสดงหนา ชั้นเรียนใหเพื่อนทาย ๑. สัตวที่เลือกแสดงทา ไดแก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. สัตวที่แสดงทาเลียนแบบไดงายท่ีสุด คือ ……………………………………………………………………………………………………………… สัตวที่แสดงทาเลียนแบบไดยากท่ีสุด คือ ………………………………………………………………………………………………………. เฉฉบลับย ๓. ผลการประเมินการแสดง (ใหครหู รอื เพือ่ นประเมนิ ) สตั วท่เี ลยี นแบบ ผลการประเมนิ สมบทบาท ไมส มบทบาท ๔๒๑๓)))) ขึน้ อยกู บั ดุลยพนิ ิจของผูสอน……………………………………………………………………………….. …………………………………………………… ……………………………………………………. ……………………………………………………………………………….. …………………………………………………… ……………………………………………………. ……………………………………………………………………………….. …………………………………………………… ……………………………………………………. ……………………………………………………………………………….. …………………………………………………… ……………………………………………………. ลงช่อื ผปู ระเมนิ…………………………………………………………………………. ๔. ความรูสกึ ทม่ี ตี อการแสดงของตนเอง ❍ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ ๗๓

๒. การเลียนแบบคน เปนการเคลื่อนไหวรางกายเลียนแบบพฤติกรรมของคนในลักษณะตางๆ เชน เลยี นแบบคนกําลงั ถพู ื้น ดายหญา กวาดหยากไย รองเพลง เปนตน การเลียนแบบคนรองเพลง การเลยี นแบบคนถพู ืน้ เฉฉบลับย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò แบงกลุม ออกมาแสดงทาทางเลียนแบบพฤติกรรมคนหนาชั้นเรียน โดยใหคิดทาทางเอง แลว ใหเ พอ่ื นทายและแสดงความคดิ เหน็ (ใหแ ตล ะกลมุ ประเมนิ ผลงานตนเอง หรอื ใหเ พอื่ นกลมุ อ่นื ประเมนิ ) พฤตกิ รรมทเี่ ลียนแบบ ผลการประเมิน สมบทบาท ไมสมบทบาท ๒๓๑๔)))) ข้นึ อยูก ับดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………. …………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………. ……………………………………………………. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………. ……………………………………………………. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………. ……………………………………………………. ๕) ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………. ……………………………………………………. ลงช่ือ ผูประเมนิ…………………………………………………………………………….. ๗๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

๓. การเลยี นแบบธรรมชาติ การเลียนแบบลมพดั เปนการเคลื่อนไหวรางกายเลียนแบบ ธรรมชาติลักษณะตางๆ เชน ลมพัด ฝนตก พระจันทร ตนขาว เปนตน ซึ่งในทางนาฏศิลป สามารถแสดงได ดงั ตวั อยา ง การเลยี นแบบลมพดั สามารถทําไดโ ดย การจีบสะบัดเปนวง แลวโบกไปโบกมา ใหเ หมอื นกบั การเคลอื่ นไหวของลม การเลียนแบบตนขาว สามารถทําได เฉฉบลบั ย โดยยกแขนท้งั ๒ ขาง โบกไปโบกมา เหมอื นตนขาวไหวไปตามลม การเลียนแบบตนขาว การเลยี นแบบฝนตก สามารถทาํ ได โดยจีบหงายขางลําตัว ประพรมลง มาคลา ยกบั ฝนตก การเลียนแบบฝนตก ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ó ขึ้นอยกู บั ดุลยพินิจของผสู อน แบง กลมุ แสดงเลียนแบบธรรมชาติตา งๆ หนาชน้ั เรยี น ใหเ พ่ือนทายและแสดงความคิดเห็น ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ ๗๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒäԴ»ÃШӺ··Õè ñ มฐ./ตวั ชวี้ ัด ๑. แบง กลมุ แสดงบทบาทสมมตุ เิ ลยี นแบบธรรมชาติ (พชื สตั ว) และพฤตกิ รรมของคน โดยเลอื กและออกแบบทา ทาง แลวใหเพอ่ื นกลมุ อื่นแสดงความคดิ เห็นและประเมินผล ศ3.1 (1) การเลยี นแบบธรรมชาติ ผลการประเมนิ สมบทบาท ไมส มบทบาท ๑) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ๒๓)) ขน้ึ อยกู ับดลุ ยพินจิ ของผสู อน………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ๔) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ๕) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. เฉฉบลบั ย การเลยี นแบบพฤตกิ รรมของคน ผลการประเมิน สมบทบาท ไมสมบทบาท ๑) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ๒) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ๓) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ๔) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ๕) ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………….. ……………………………………………………. ลงชอ่ื …………………………………………………………………………….. ผปู ระเมนิ กลุมที่ ……………………………… มฐ./ตวั ชว้ี ัด ๒. คดิ และแสดงทา ทางทก่ี าํ หนดให แลว ผลดั กนั ออกมาแสดงหนา ชนั้ เรยี น จากนนั้ ใหแ ตล ะคน แสดงความคดิ เหน็ และตอบคําถาม ข้ึนอยูก บั ดลุ ยพินจิ ของผูสอน ศ3.1 (1) กิน ว่ิง เหน่อื ย ใช ไมใช เสียใจ ดีใจ ตกใจ โกรธ ไมส นใจ ๗๖ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ

แบบทดสอบที่ ๑ กา ✗ คาํ ตอบที่ถูกที่สุด ๑. การทําทาไกขนั เปน การแสดงแบบใด ๖. “กา บ กาบ” เปนการใชเสยี ง ก. เลียนแบบคน ประกอบการแสดงเปนขอใด ✗ข. เลยี นแบบสัตว ก. ไก ✗ข. เปด ค. เลียนแบบคนดัง ค. นก ๒. ขอใดเลยี นแบบพฤติกรรมคน ๗. เลียนแบบตวั หนอน ใชทาทางใด ก. ทําทา มา ว�ิง ข. ทําทา สนุ ขั เหา ก. วง�ิ ข. เดนิ ✗ค. ทําทารองเพลง ✗ค. คลาน ๓. การเลยี นแบบนก แสดงอยางไร ๘. การแสดงบทบาทสมมุตเิ ปน การ เฉฉบลบั ย ก. โบกมอื ไปมา สงเสรมิ ดานใด ข. ซอยเทาอยกู บั ท่ี ✗ก. ความคดิ สรา งสรรค ✗ค. กางแขนขยบั ขึน้ ลง ข. ความเออ้ื เฟอเผือ่ แผ ๔. การชู ๒ นิ้ว ไวข างหทู ั้งสองขาง ค. ความรับผดิ ชอบ เปน การเลียนแบบสตั วใด ก. หนู ๙. สิ�งใดมีความสําคัญในการแสดง ข. สิงโต บทบาทสมมุติจากนทิ าน ก. จํานวนผแู สดง ✗ค. กระตาย ✗ข. จนิ ตนาการของผูแสดง ๕. ขอ ใดเปนการทําทา ตํารวจจราจร ค. การแตงกายของผูแสดง ✗ก. ทาํ ทา เปานกหวดี โบกรถ ๑๐. การแสดงบทบาทสมมุติประกอบ ข. ทาํ ทาวง�ิ ซิกแซก เรื่องราว มีประโยชนอยางไร ค. ทาํ ทาขับรถ ก. ทําใหร า เรงิ ข. ทาํ ใหต นื่ เตน ✗ค. ทาํ ใหสนุกสนาน ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๗๗

๒ ÀÒÉÒ·‹Ò ขอบขา ยสาระการเรียนรแู กนกลางรายวิชา ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ศลิ ปะ ป.๑ ¹ÍŒ §æ ª‹Ç¡ѹ¤Ô´ÊÔ¤ÃÑºÇ‹Ò ตวั ช้ีวดั ËÒ¡¡ÒÃáÊ´§â¢¹äÁ‹ÁÕÀÒÉÒ·‹Ò มฐ.ศ ๓.๑(๒) แสดงทา ทางงา ยๆ เพอ่ื สอ่ื ความหมาย แทนคําพูด ¨Ð໚¹Í‹ҧäà สาระพน้ื ฐาน ● การใชภาษาทา และการประดิษฐทาประกอบ เพลง ● การแสดงประกอบเพลงที่เก่ียวกับธรรมชาติสตั ว ความรฝู งแนนติดตัวผูเ รยี น ภาษาทา เปน ทกั ษะพ้นื ฐานในฝก การแสดง เฉลยฉบับ นาฏศลิ ปและการแสดงละคร ๗๘ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ

ÀÒÉÒ·‹Ò การแสดงละครหรือการฟอนรําประเภทตางๆ มักมีการทําทาทางประกอบที่เรา เรียกวา ภาษาทา เพ่ือใชในการบอกอารมณ ความรูสึก หรือการกระทําของตัวละคร แทนการใชค ําพูด ภาษาทาท่ีใชในการแสดงนาฏศิลปไทย เปนภาษาทาท่ีดัดแปลงมาจากทาทาง ตามธรรมชาติของคนเรา และมีการปรับปรุงทาทางใหดูงดงามออนชอยย่ิงข้ึนโดยใช การรา ยรําเบอ้ื งตน เขา มาผสมผสาน เชน ยม้ิ รองไห ดีใจ เรียก เชญิ เปนตน ทา ฉันตามปกติ เฉฉบลบั ย ทาฉันทางนาฏศลิ ป ทาอายตามปกติ ทา อายทางนาฏศิลป ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๗๙

กิรยิ าทาทางตา งๆ ท่ีแสดงออกมาเปนภาษาทา แบง เปน ๓ ประเภท ดังน้ี ๑. ใชแ ทนคาํ พดู เชน ตอบรบั ปฏเิ สธ ส่ัง เรียก เปนตน ๒. แสดงกิรยิ าอาการ เชน ยืน นง่ั เดิน ไป เปนตน ๓. แสดงอารมณ เชน รัก โกรธ ดีใจ เศรา เปน ตน ภาษาทา ทางท่ีควรรแู ละควรฝกแสดง มดี ังน้� เฉฉบลบั ย ทาเรยี ก ทา ปฏเิ สธ ทายืน ทา โกรธ ๘๐ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ñ แบงกลุม แสดงภาษาทาท่ีเรียนมาหนาช้ันเรียน จากน้ันใหเพื่อนกลุมอ่ืนแสดงความคิดเห็น และประเมินผล ภาษาทา ผลการประเมิน ควรปรบั ปรงุ ดี พอใช ................................................. ................................................. ๓๕๒๔๑))))) ขึ้นอยกู บั ดุลยพินิจของผสู อน......................................................................................................... ................................................. ................................................. ................................................. ......................................................................................................... ................................................. ................................................. ................................................. ......................................................................................................... ................................................. ................................................. ................................................. ......................................................................................................... ................................................. ................................................. ......................................................................................................... ................................................. ................................................. ลงชื่อ ……………………………………………………………….. ผปู ระเมนิ เฉฉบลบั ย กลมุ ท่ี ……………………………….. ¡ÒÃà¤Å×Íè ¹äËÇ»ÃСͺà¾Å§ การเคลื่อนไหวประกอบเพลง เปนการแสดงทาทางการเคลื่อนไหวใหเขากับ จังหวะและความหมายของเพลง ซ่ึงนกั เรยี นอาจจะเรม่ิ ฝกจากทางา ยๆ ดงั น้ี เพลง กา ภาพประกอบ [ปรบมอื ] กา กา กา การแสดงทาประกอบเพลง กา [นกบนิ ] บนิ รอ ง กา กา ใชท าประกอบ ๒ ทา คือ ทา ปรบมอื และทานกบิน ออกไปหากนิ [ปรบมือ] เชา ตรทู งิ้ รงั ไปส้ิน (ซ้าํ ) [นกบนิ ] ออกไปหากิน บินรอง กา กา ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ ๘๑

มาวง่ิ กบั กับ เพลง มา วิ่ง มา วิ่งเร็วไว มาว่งิ เรว็ รี่ เด๋ยี วเดยี วลับตาเราไป เรว็ ทันใจควบกบั กบั กับ ดซู หี ายไป ว่ิงไว ควบกับ กับ กับ ยืนตรง กํามือยกข้ึนระดับอก แลว ยกขาขา งหนึง่ ขน้ึ พรอมกับงอเขา ในขณะรองเพลงมาว่ิง ใหทําทา มาวิ่งไปดวย โดยว่ิงกระโดดสลับเทาซาย- เทาขวา ไปขางหนาใหเ ขากบั จังหวะเพลง เฉฉบลบั ย ทา มา ในสระใหญ เพลง ปลา แลไปเหน็ ปลา สที องโออา ตาสดใส ครีบกางหางโบกวองไว โลดไล เลนน้าํ ดําลง ทาปลา ยืนตรง ทํามือประกบกันแบบไหว อยรู ะดบั เอว ยนื่ มอื ทป่ี ระกบไวไ ปจนสดุ แขน ๘๒ แลวสายมือไปมา เดินเคลื่อนที่ไปขางหนา ตามจังหวะของเพลง ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ Õè ò ทําทาประกอบ เพลงกา เพลงมาวิง่ และเพลงปลา แลวบันทึกขอ มูล และวาดภาพประกอบ ๑. นักเรยี นรองเพลงกา เพลงมา วิง่ และเพลงปลาไดคลองหรือไม ❍ คลอ ง ❍ ไมค ลอง เพลงทร่ี อ งไมคอ ยได คอื เพลง ………………………………………………………………… เพราะ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. นกั เรยี นสามารถปรบมือเขา กับจงั หวะเพลงไดห รือไม ❍ ได ❍ ไมไ ด เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. เพลงท่นี กั เรียนทําทา ประกอบไดส วยที่สุด คือ เพลง ………………………………………………………………………………………… เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ขึน้ อยกู ับดุลยพินิจของผูส อน๔. เพลงทีน่ ักเรียนทําทา ประกอบไดไมคอยสวย คอื เพลง …………………………………………………………………………………… เฉฉบลบั ย เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕. นักเรียนสามารถคดิ ทาประกอบเพลงใหมไ ด คอื เพลง ……………………………………………………………………………………. (ภาพวาดและออกไปแสดงหนา ช้ันเรียน) ทาประกอบเพลง ……………………………………………………………………………………………….. ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๘๓

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡Òä´Ô »ÃШӺ··Õè ò มฐ./ตัวชีว้ ัด แบงกลุม แลว คดิ ทาทางประกอบเพลงท่กี ําหนดให จากนั้นออกมาแสดงหนาชั้นเรยี น ศ3.1 (2) ๑. เพลง ไตรรงค ไตรรงค ธงไทย เนื้อรอง-ทาํ นอง สเุ ทพ โชคสกุล สแี ดง คอื ชาติ น้าํ เงนิ หมายวา ปลวิ ไสว สวยงามสงา สีขาว ศาสนา พระมหากษัตรยิ ไทย (ซํา้ ) เฉลย ๒๑.. เคทพวาราทาม่แี ะรสสู ดกึ งตปอกระากรแอสบดดงวขยองกลุม พอขนึ้ใจอยูกับดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ไมพอใจฉบับ ❍ ❍ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. เพลง ข่ีมาแขง ทาํ นอง ไมท ราบนามผูแตง เนื้อรอ ง สกุ รี ไกรเลศิ วงิ่ ควบกนั มา ขีข่ ับมาไปตามกัน วิ่งไลใหทนั เธอกับฉนั ลองดูซี วิ่งควบกนั ไป กบั กบั กับ๊ กับ วง่ิ กับกบ๊ั ตามมาซี วงิ่ ไลใหทนั วง่ิ ไลใหด ี วิ่งไมม ีวันจะทัน กบั กบั กบั๊ กบั วงิ่ ไลใหดี ๑. ทาท่แี สดง ประกอบดวย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ความรูสกึ ตอการแสดงของกลมุ ❍ พอใจ ❍ ไมพอใจ เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๘๔ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

แบบทดสอบที่ ๒ กา ✗ คําตอบที่ถูกที่สุด ๑. การฝก เคลอ่ื นไหวรา งกายใหเ ขา จงั หวะ ๖. จากภาพเลียนแบบ ควรเริ�มฝก ทา ใดกอ น สตั วในขอ ใด ก. งู ✗ก. ปรบมอื ✗ข. กบ ข. เขาแถว ค. กาวเดนิ ค. ชาง ๒. ทา นคี้ วรใช ๗. จากภาพเลยี นแบบ ประกอบเพลงใด สตั วในขอ ใด ก. เพลงกา ก. เพลงกา เฉฉบลับย ✗ข. เพลงมาวิ่ง ✗ข. เพลงปลา ค. เพลงปลา ๓. “เชาตรูทิง้ รงั ไปส้ิน” ควรแสดง ค. เพลงมา วง�ิ ทาอยา งไร ๘. กระตา ย ควรเลียนแบบอยางไร ✗ก. ปรบมือ ข. กางแขน ✗ก. ชู ๒ นิ้ว ระดบั หู ค. กระโดด ข. กางแขนยกขึน้ -ลง ๔. การกางแขนขยบั ข้ึนลง ใชประกอบ ค. กํามอื ชูไปขางหนา เพลงใด ๙. อวยั วะใดเกย่ี วของกบั ทา นกบนิ ก. คอ ✗ก. เพลงกา ✗ข. แขน ข. เพลงมา วิ�ง ค. เพลงปลา ค. ขา ๕. จากภาพใช ๑๐. การแสดงทา ประกอบเปน กลมุ ประกอบเพลงใด ควรเนน เร่ืองใด ก. เพลงกา ก. ความแปลกใหม ข. ความหนักแนน ✗ข. เพลงปลา ✗ค. ความพรอ มเพรียง ค. เพลงมาว�งิ ๘๕ ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÔŻРñ

¡¨Ô ¡ÃÃÁºÙóҡÒÃÊÃÒŒ §ÊÃä ๑. แบง กลมุ ใหแ สดงบทบาทสมมตุ จิ ากสถานการณท ค่ี รกู าํ หนดให จากนน้ั ใหอ อกมาแสดง หนาชั้นเรียน แลวบนั ทึกขอ มลู (ครูใหคาํ แนะนาํ บทละครและการแสดงบทบาทสมมุต)ิ กลมุ ที่ ……………………………………………… ๑. สถานการณท่ีไดแสดง คอื …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ตัวละครทเี่ ลน ประกอบดวย …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑) แสดงเปน………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….. ๒) แสดงเปน………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….. ๓) แสดงเปน………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….. ๔) แสดงเปน………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………. เฉฉบลบั ย ๕) แสดงเปน………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….. ๓. บทละครท่ีแสดง มีเรอื่ งยอ ขดึน้ังนอี้ ยูกบั ดลุ ยพนิ จิ ของผสู อน……………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. นกั เรยี นพอใจกับการแสดงบทบาทสมมตุ คิ รง้ั นห้ี รอื ไม ❍ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๘๖ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔŻРñ

๒. แบง กลุม เลอื กเพลงเกยี่ วกบั ธรรมชาตหิ รือสัตวม า ๑ เพลง แลวคดิ ทา ทางแสดง ประกอบเพลง จากนั้นออกมาแสดงหนาชัน้ เรียน ๑. เพลงที่ใชแ สดง คอื เพลง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………. มเี นอื้ เพลง ดงั นี้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เฉฉบลับย ๒. ทาท่ีใชประกอบ คือ ทา …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขนึ้ อยูก ับดลุ ยพินจิ ของผูสอน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๓. ผูท่ีแสดงไดส วยทสี่ ุดในกลุม คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………… เพราะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ผทู ค่ี ิดทาประกอบ คอื …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๕. นักเรยี นพอใจการแสดงครัง้ น้ขี องตนหรือไม ❍ พอใจ ❍ ไมพ อใจ เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ´¹µÃ-Õ ¹Ò¯ÈÅÔ »Š ñ ๘๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook