Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore warut5

warut5

Published by warut020639, 2017-06-26 00:35:02

Description: warut5

Search

Read the Text Version

การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ ผศ. ดร. จิตรกร โพธง์ิ าม

หลกั การ ของการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ โดยปกตแิ ลว้ ในการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ จะมี อยู่ 2 หลกั การใหญ่ ๆ คือ 1. การพัฒนาคณุ คา่ จากภายใน 2. การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มภายนอก

หน่วยวเิ คราะห์1. การพัฒนาคณุ คา่ จากภายใน เดิมใชจ้ ารตี ประเพณี คาสอน ความเชอ่ื ทางศาสนา การขดั เกลาทางสงั คม2. การสรา้ งสภาพแวดล้อมภายนอก ปัจจบุ นั เชอ่ื วา่ สภาพแวดลอ้ มมีอทิ ธพิ ลตอ่ การพัฒนาบคุ คล และกลมุ่ บคุ คล โดยเฉพาะปจั จยั ทางเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง ตลอดจนคา่ นยิ มในยคโลกาภวิ ตั น์

 คาถามทถี่ ามกนั มากในสมยั นค้ี อื “ทิศทางการพฒั นาสังคมนา่ จะเปน็ อยา่ งไร ในทศวรรษหนา้ ? และบคุ ลกิ ภาพของทรพั ยากรมนษุ ยท์ พ่ี งึ ประสงค์ ควรจะเป็นอยา่ งไร ?”

 แนวคิดเกย่ี วกบั การพฒั นาสงั คม เชือ่ วา่ มี ทางเลือก 3 รปู แบบ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. มีการพัฒนาภายใตส้ มมุตฐิ านว่าไมม่ ีอะไรเปลยี่ นแปลงเลย นนั้ ก็ คือ ปญั หาสะสมมากขน้ึ (กฎแหง่ ววิ ฒั นาการ) 2. มกี ารปฏริ ปู บางสว่ นของปญั หาใหญ่ ๆ เชน่ ปฏิรปู ทด่ี นิ ปฏริ ูป สวัสดกิ าร ปฏริ ปู ภาษี และปฏริ ปู การศึกษา ฯลฯ (การปฏริ ปู สงั คม) 3. มีการพัฒนาสงั คมทเี่ นน้ การเปลยี่ นแปลงระบบ นัน่ คอื มภี าพ สงั คมใหม่ มีเป้าหมายใหม่ มีค่านยิ มใหม่ มีการปรบั เปลยี่ นระบอ ย่างกวา้ งขวางแบบถอนรากถอนโคน (การปฏวิ ตั สิ งั คม)

การพัฒนาสงั คม และการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ในระยะหลัง ๆ ในทฤษฎีสงั คมและการพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คมมกี ารเนน้ เรอ่ื ง “การพฒั นามนษุ ย์” (Human Development) มากขน้ึ ท้ังนี้เพราะในระยะท่ีผา่ นมา เราพดู ถงึ แตเ่ รอื่ งระบบและโครงสรา้ ง แต่เราไมม่ องตวั มนษุ ย์ การพฒั นามนษุ ย์ แทจ้ รงิ แลว้ กค็ อื การพฒั นาความเปน็ มนษุ ย์ใหเ้ กดิ ขึ้นในชวี ติ มนษุ ย์ หมายความวา่ เราจะตอ้ งสรา้ งเงอ่ื นไขทนี่ าไปสคู่ วามเปน็ มนษุ ยน์ ่ันเอง

 ในระบบสงั คมสมยั ใหม่ไม่ว่าจะเป็นโลก ตะวนั ตกของทนุ นยิ มหรือโลกตะวนั ออก ของสังคมนิยม (ก่อนลม่ สลาย) ปรากฏวา่ มีหลายสิ่งหลายอยา่ งทเ่ี หมอื นกนั นั่นคอื

 1. ทง้ั 2 ระบบเนน้ ความสาเรจ็ ทางดา้ นวตั ถุ เนน้ โลก ภายนอก ไม่มองโลกภายในจติ ใจ 2. ปจั เจกชนท่ีอยใู่ นระบบจงึ มีแนวโนม้ ท่จี ะต้องการ วตั ถแุ ละเนน้ คา่ นยิ มในการบรโิ ภควตั ถเุ ทา่ นนั้ 3. ท้งั 2 ระบบเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยีและวทิ ยาการ สมัยใหมเ่ พ่ือกอ่ ใหเ้ กดิ ความกา้ วหนา้ มากขนึ้ 4. มนษุ ยข์ องทงั้ 2 ระบบ ไดก้ ลายเปน็ เครอ่ื งจกั ร

ท่ามกลางวกิ ฤตกิ ารณใ์ นสงั คมกระแสหลกั ซึง่หมายถงึ กระแสท่กี าลงั ดาเนนิ อยู่ทวั่ โลก ปรากฏวา่ มีความพยายามเกดิ ขน้ึ ทางทฤษฎแี ละอุดมการณเ์ พอ่ืสรา้ งแบบจาลองขนึ้ มาใหม่ ท่เี รียกวา่ แนวคดิ แบบ“มนุษยนยิ ม” (Humanism)ซงึ่ เป็นการนามนษุ ยก์ ลบั มาสศู่ ูนยก์ ลางของระบบแนวมนษุ ยนยิ มมีหลายแนว เช่น แนวของครสิ ต์ศาสนา พุทธปรชั ญา แนวมารก์ ซสิ ต์ แนวคานธี และแนวจติ วทิ ยาแบบมนษุ ยนยิ ม (HumanisticPsychology)

ปรัชญาแนวจติ วทิ ยามนษุ ยนยิ ม (Humanistic Psychology) ทฤษฎนี ้ีจะเนน้ เรอ่ื งใหญ่ ๆ 3 เรือ่ งด้วยกนั คอื เรื่อง ประสบการณ์ เรื่องความเขา้ ใจ และเรอ่ื งการพัฒนา มนุษย์ ทางด้านประสบการณ์ ยา้ วา่ เราควรมวี ิธกี ารสัมผสั โลก ด้วยวธิ กี ารใหม่ ๆ ไมใ่ ช่เนน้ วทิ ยาศาสตรแ์ บบกลไก หรอื เนน้ วชิ าการ เราไม่เนน้ เหตผุ ล แต่เนน้ การพฒั นา ความรสู้ กึ ลงไปในจติ ใจมนษุ ย์ โดยไมใ่ ห้มนษุ ย์ยดึ ถอื กับโลกภายนอก

 ทางดา้ นความเขา้ ใจ หมายความวา่ เราควรจะ มองโลกดว้ ยสายตาทกี่ วา้ งไกล มองโลกไมแ่ ยก เปน็ สว่ น ๆ มจี ิตสานกึ มโี ลกทศั นท์ กี่ วา้ งขนึ้ ทางดา้ นการพฒั นา เราจะใช้แนวทางทส่ี นอง ความตอ้ งการของมนษุ ย์ทมี่ หี ลายระดบั จาก ความตอ้ งการพน้ื ฐานไปถงึ การพฒั นาทางดา้ น จิตใจและคา่ นยิ มในระดบั ปจั เจกชน

ปัญหาและข้อจากัดของแนวคดิ อย่างไรกต็ าม ทางดา้ นสงั คมมหภาค แนวคดิ นอี้ าจมีปญั หา เพราะระบบโครงสรา้ งอานาจยงั เหมอื นเดมิ เราไมอ่ าจเปลยี่ นแปลงได้ ระบบโครงสรา้ งอานาจและระบบเศรษฐกจิ ทุนนยิ มสมยั ใหมย่ งั มี อิทธิพลตอ่ จติ ใจและชวี ติ ของผคู้ นสว่ นใหญ่ อยา่ งไรกต็ าม ส่วนดขี องแนวคดิ มนษุ ยนยิ มคอื เรามปี รชั ญา ใหม่ ๆ ข้ึนมา เราเรยี กวา่ “ปรชั ญาทเี่ นน้ การพัฒนามนษุ ยเ์ ปน็ ศูนยก์ ลางของการพฒั นาสงั คม”

 ปรชั ญาที่เนน้ การพฒั นามนษุ ยเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางของการ พฒั นาสงั คม มีหลักการใหญ่ ๆ อยู่ 5 หลกั การด้วยกนั คือ 1. การพัฒนาตอ้ งเนน้ ความเสมอภาคของสงั คม 2. การพฒั นาตอ้ งเนน้ ความหลากหลายและความเปน็ อสิ ระของการพัฒนาตนเอง ไมม่ กี ารครอบงา 3. การคดิ คานงึ ถงึ อนาคตและระบบนเิ วศเปน็ เรอื่ งที่ สาคัญยง่ิ 4. ไม่ลืมทจ่ี ะแกไ้ ขปญั หาของผยู้ ากไร้ 5. ตอ้ งส่งเสรมิ การปกปอ้ งเสรภี าพ และการสรา้ งสรรค์ ชีวติ ของมนษุ ยใ์ ห้มีความหมาย

ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาแนวพุทธ : กรณี “สรรโวทยั ” ในศรีลงั กา มีการนาเอาแนวคดิ บางอยา่ งของชาวพทุ ธมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม คือ มกี ารแบง่ ปนั ทรพั ยากรใหแ้ กเ่ พอื่ นมนษุ ย์ในชมุ ชน ใชห้ ลักเศรษฐศาสตรแ์ หง่ ความรกั ทางานเพอ่ื ชว่ ยกนั ทางเศรษฐกจิ ยึดหลักความเสมอภาคทางสงั คม

 หลักการพฒั นาแบบพทุ ธ จะมลี กั ษณะดังต่อไปนี้ ยุทธศาสตรห์ ลกั เนน้ ที่ “ความเปน็ มนษุ ย์” มากกวา่ “ความปรารถนาทจี่ ะครอบครองวตั ถุ” เน้นเรอ่ื งความสามคั คี (Solidarity) ใช้หลกั การมีส่วนรว่ ม (Participation) การพฒั นาไมใ่ ชเ่ รอื่ งของการสงเคราะห์ แตเ่ ปน็ เรอ่ื ง ของการปลดปลอ่ ยและหลดุ พน้ (Liberation)

 มนษุ ยแ์ ละความเป็นมาของมนุษย์ คาสอนของศาสนาครสิ ต์ กลา่ ววา่ มนุษยส์ บื เชอื้ สายมาจากบรรพบรุ ษุ คู่ แรกของโลก ชอ่ื อาดมั และอวี า นกั บวชชอื่ เซนต์ ออกสั ตนิ (ค.ศ.354-430) คาดคะเนวา่ พระเจา้ สรา้ ง มนษุ ยค์ นู่ เ้ี มอ่ื ประมาณ 6,000 ปีกอ่ นครสิ ตศกั ราช ในคาสอนของพทุ ธศาสนา ไม่ระบถุ งึ กาเนดิ โลกและจกั รวาล มเี พยี ง รอ่ งรอยปรากฏในพระคมั ภรี เ์ ปน็ บาลบี ทหนง่ึ วา่ “ปฐมงั กลลงั โหติ” แปลวา่ ในเบอ้ื งแรกของโลกนน้ั มแี ตส่ ตั วเ์ ซลเดยี ว

ต่อมานกั ชวี วทิ ยาชาวสวเี ดนชอื่ Carl Von Linne (มีวติ อยรู่ ะหวา่ งปีค.ศ.1708-1778) และเปน็ ทร่ี จู้ กั กนั ดใี นนามภาษาละตนิ วา่ ลินเนยี ส (Linneaus)ไดจ้ ัดระบบสง่ิ มชี วี ติ ไวใ้ นหนงั สอื ของเขาชอื่ Systema naturae (System ofNature) และเปน็ บคุ คลแรกทจี่ ดั กลมุ่ Homo Sapiens ไวใ้ นกลมุ่ เดยี วกบั ลงิและวานรอนื่ ๆ เขาเรยี กกลมุ่ สตั วเ์ หลา่ นว้ี า่ “ไพรเมตส”์ (primates) แนวคดิ ของ ลนิ เนยี ส เหน็ วา่ แมค้ นและวานรจะมลี กั ษณะทางสรรี ะคลา้ ยกนั แตก่ ม็ ไิ ดห้ มายความวา่ จะมบี รรพบรุ ษุ รว่ มกนั หมายความวา่ วานรชนดิตา่ ง ๆ อาจมกี ารแตกสาขาพเิ ศษและหยดุ การววิ ฒั นาการเพียงแคน่ นั้ นกั ธรรมชาตวิ ทิ ยาในสมยั ศตวรรษท่ี 18 หลายทา่ น ต่างกเ็ สนอความคิดเหน็ ในลกั ษณะเดยี วกนั อาทิ ยอรจ์ บัฟฟอน (Gorges Buffon, 1770-1778)จนี ลมั มารค์ (Jean lamarck, 1744-1829) และ เอรสั มสั ดารว์ นิ (ErasmusDarwin, 1731-1802) ซ่ึงคนหลงั สดุ นเ้ี ปน็ ปขู่ อง ชารล์ ส์ ดารว์ นิ (CharlesDarwin)

ในปี ค.ศ.1859 ชารล์ ส์ ดารว์ นิ เขยี นหนงั สอื ชอื่ 0n the Originof Species by Means of Natural Selection ในหนงั สอื เลม่น้ีกลา่ วถงึ หลกั ฐานการววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี วี ติ และแนวคดิ เกย่ี วกบั การเลอื กสรรตามธรรมชาติ และตอ่ มาเขาไดเ้ ขยี นหนงั สอื ชอื่ The Decent of Man ซง่ึกลา่ วถงึ ววิ ฒั นาการของมนษุ ยชาตอิ ยา่ งละเอยี ด หนงั สอื เลม่ นไ้ี ดเ้ ปลย่ี นโฉมหนา้ ของวทิ ยาศาสตรค์ รง้ั สาคญั ทส่ี ดุ ครง้ั หนง่ึ ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ดเ้ จรญิ ขน้ึ มาตามลาดบั มีการคน้ พบหลกั ฐานอวยั วะตา่ ง ๆ (fossil) และพฒั นาวธิ กี ารทานายอายอุ วยั วะเหลา่ นน้ั ตลอดจนมกี ารทานายอายขุ องโลก และรปู แบบของการววิ ฒั นาการของพชื และสตั วช์ นดิ ตา่ ง ๆ ขอ้ คน้ พบเหลา่ นไี้ ดท้ าใหค้ ากลา่ วของนกั บวชชอื่ เซนต์ ออกัสตนิ มีผ้เู ชอ่ื ถอื นอ้ ยลง

 วิวฒั นาการของมนษุ ยชาติ นักมานษุ ยวทิ ยาอธบิ ายวา่ มนุษยชาตมิ วี วิ ฒั นาการมาตามลาดบั ดังน้ี 1. มนษุ ยม์ บี รรพบรุ ษุ ทวี่ วิ ฒั นาการมาจากสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนมชนดิ หนง่ึ ชื่อ ลิงเอป (Apes) หรอื ลงิ คน ซง่ึ มชี วี ติ อยเู่ มอ่ื ประมาณ 25 ล้านปมี าแลว้ 2. มนษุ ยม์ บี รรพบรุ ษุ มาจาก รามาพทิ คิ สุ (Ramapithecus) ค้นพบใน ประเทศอนิ เดยี เมอ่ื ปี ค.ศ.1939 และพบอกี ในแอฟรกิ าและยโุ รป สตั วช์ นดิ นมี้ ี ขากรรไกรและฟนั ใกลเ้ คยี งกบั มนษุ ยม์ าก เชื่อกนั วา่ มชี วี ติ อยรู่ ะหวา่ ง 14 - 8 ล้านปมี าแลว้ 3. มนุษยม์ บี รรพบรุ ษุ มาจากลงิ ใหญช่ อ่ื ออสตราโลพทิ คิ สุ (Astralopithecus) พบในแถบแทนซาเนยี ในแอฟรกิ าใต้ สามารถยนื ตวั ตรง คลา้ ยมนษุ ย์ คาดวา่ จะมชี วี ติ อยเู่ มอื่ ประมาณ 2 ลา้ นปี – 5 แสนปี

4. มนุษยม์ บี รรพบรุ ษุ มาจาก โฮโม อีเรคตุส (Homo Erectus) มลี กั ษณะเปน็ คนท่ยี นื ตัวตรง ซากของมนษุ ย์เผ่าพนั ธนุ์ พี้ บในแถบชวา และประเทศจีน จงึ เรยี กว่ามนษุ ยช์ วา และมนษุ ยป์ กั ก่งิ คาดวา่ มอี ายอุ ยเู่ ม่ือประมาณ 1.7 ล้านปี – 1 แสนปมี าแลว้มนุษยโ์ ฮโม อีเรคตสุ รู้จักทาเครอ่ื งมอื หนิ และเรมิ่ ใชไ้ ฟแลว้ 5. กลมุ่ มนุษย์ นแี อนเดอรธ์ ัล (Neanderthal Man) ค้นพบทหี่ บุ เขานแี อนเดอร์ธัลในเยอรมันนี ต่อมาพบตามถ้าหลายแหง่ ในยโุ รป มนษุ ยน์ แี อนเดอรธ์ ลั มีรปู รา่ งใหญ่เปน็ นักลา่ สตั วแ์ ละรจู้ กั ใชไ้ ฟเป็นอย่างดี นอกจากนย้ี งั ค้นพบเครอื่ งมือตา่ ง ๆ ฝงั รวมอยู่กบั ศพ สันนษิ ฐานวา่ มนษุ ยก์ ลมุ่ นร้ี จู้ กั ทาพธิ ฝี งั ศพและมสี านกึ ทางสงั คมและศาสนาเชอ่ื กนั วา่ มชี วี ติ อยรู่ าว 1.5 แสนปี – 40,000 ปีมาแล้ว 6. กลมุ่ มนษุ ย์ โฮโม ซาเปยี นส์ (Homo Sapiens) นักมานษุ ยวทิ ยาเชอ่ื วา่มนษุ ย์นแี อนเดอรธ์ ลั ววิ ฒั นาการมาเป็น โฮโม ซาเปียนส์ หรอื มนษุ ยป์ ัจจุบนั โฮโม ซาเปยี นส์ชดุ แรกสดุ คอื มนษุ ยโ์ ครมันยอง (Cromagnon) ค้นพบทป่ี ระเทศฝรงั่ เศส มีอายุอย่รู ะหวา่ ง 4 – 2.5 หม่นื ปี และเชอื่ วา่ โครมันยอง เป็นมนษุ ยพ์ วกแรกท่ีออกมาจากถ้าเพอ่ื สรา้ งบ้าน เรมิ่ ทาการเพาะปลกู และเลย้ี งสตั ว์ ซ่ึงเรยี กวา่ ยุคแหง่ การปฏวิ ตั เิ กษตรกรรม โดยนบั ยอ้ นหลงัไปประมาณ 20,000 ปี

 เช้อื ชาตเิ ผ่าพันธุ์มนุษย์ การเปลย่ี นแปลงเชงิ ววิ ฒั นาการซง่ึ จาแนกมนษุ ยแ์ ตล่ ะกลมุ่ มคี วามแตกตา่ งกนั เกิดจากปจั จยั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เกิดจากการเลอื กสรรทางธรรมชาติ 2. เกดิ จากการผา่ เหลา่ 3. เกิดจากการแยกอยอู่ ยา่ งโดดเดยี่ ว 4. เกิดจากการเลอื กสรรทางเพศ 5. เกิดจากการเลอื กสรรทางสงั คม 6. เกิดจากการผสมเปน็ พนั ธ์ใุ หม่

ธรรมชาติและความตอ้ งการของมนษุ ย์ ทัศนะทางพทุ ธศาสนา เห็นวา่ ธรรมชาตแิ ละความตอ้ งการของมนษุ ย์มี 2 ดา้ น คือ 1. ความตอ้ งทางดา้ นรา่ งกายหรอื วตั ถุ คือ ปจั จยั 4 ได้แก่ อาหาร ท่ีอยอู่ าศยั เครอื่ งนงุ่ หม่ และยารกั ษาโรค 2. ความตอ้ งการทางดา้ นจติ ใจหรอื นามธรรม ความตอ้ งการของมนุษยใ์ นลกั ษณะนมี้ แี ทรกอยใู่ นพระไตรปฏิ ก หมวดอรยิ สจั 4 หมวดอิฏฐารมณ์ 4 และมแี ทรกอยใู่ นตอนทา้ ยของบทสสวดมนตข์ องพระสงฆ์แบง่ เปน็ 3 กลุ่มคอื กล่มุ แรกคอื ตณั หา ได้แก่ กามตณั หา ภวตณั หา และวภิ วตณั หา กลุ่มทส่ี องคอื อฏิ ฐารมณ์ ได้แก่ ลาภ ยศ สรรเสรญิ และ สขุ กลมุ่ ทสี่ ามคอื คาใหพ้ รของพระสงฆ์ ได้แก่ อายุ วรรโณ สขุ ัง พลัง

ทัศนะของนกั จติ วทิ ยา เห็นวา่ ธรรมชาตขิ องมนษุ ยม์ คี วามตอ้ งการอยู่2 ด้านดว้ ยกนั คอื 1. ความตอ้ งการทางรา่ งกาย (Organic Needs) ประกอบดว้ ยความตอ้ งการอาหาร น้า อากาศหายใจ การพกั ผอ่ น การขบั ถา่ ย ท่อี ยอู่ าศยั ความตอ้ งการทางเพศ เครอ่ื งนงุ่ หม่ และยารกั ษาโรค 2. ความตอ้ งการทางจติ ใจ (Psychological Needs) หรือความต้องการทางสงั คมอนั เปน็ ความตอ้ งการขน้ั สงู ของมนษุ ย์ ประกอบดว้ ย ความต้องการใหผ้ อู้ น่ื ยอมรบั ความตอ้ งการให้ผอู้ น่ื ยกยอ่ ง สรรเสรญิ นับถอื และชมเชย ตลอดจนความตอ้ งการประสบความสาเรจ็

 สภาพฒั นาการโพน้ ทะเล ยเู นสโก สรปุ เกณฑค์ ณุ ภาพชวี ติ ไวด้ งั น้ี 1. อัตราการตายของเดก็ ทารก (in-font mortality Rate) จานวน 1,000 คน ต่อหนง่ึ ปี ดชั นชี ใี้ หเ้ หน็ ถงึ ความสามารถของประชากรในการจดั สรร ปจั จยั พน้ื ฐานทจี่ ะทาใหช้ วี ติ ดารงอยไู่ ด้ 2. อายขุ ัยเฉลยี่ (life expectancy) ของประชากร 3. ระดบั การศกึ ษาหรอื การอา่ นออกเขยี นไดข้ องประชากร ในขณะท่ี คณะกรรมการประเมนิ ผลโครงการพฒั นาชนบท นยิ ามวา่ ประเทศ ไทยเปน็ ประเทศกาลงั พฒั นาและยกระดบั มาตรฐานการดารงชวี ติ ของ ประชากร ดังนน้ั กระทรวงมหาดไทยจงึ กาหนดเกณฑพ์ จิ ารณาความจาเปน็ พน้ื ฐาน (จปฐ.) เพ่ือถอื เปน็ เกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพของคนไทยในระดบั พนื้ ฐาน ดงั นี้

1. การกนิ อาหารใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะในปรมิ าณทเี่ พียงพอ 2. มที ่ีอยอู่ าศยั และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสม 3. มงี านทาอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสม 4. ได้รบั บรกิ ารพน้ื ฐานทจี่ าเปน็ 5. มคี วามปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ 6. มผี ลผลติ ทเ่ี พยี งพอ 7. มสี ่วนรว่ มในการปกครองทอ้ งถนิ่ 8. สามารถควบคมุ ชว่ งเวลาในการมบี ตุ รและจานวนบตุ ร 9. ประพฤตติ ามขนบธรรมเนยี มประเพณี หลกั ธรรมทางศาสนา และรกั ษาสง่ เสรมิ กจิ กรรมวฒั นธรรม จากทกี่ ลา่ วมาจะเหน็ ไดว้ า่ มผี ู้วางเกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพชวี ติ ไวต้ า่ งกนัอยา่ งไรกด็ กี ารกาหนดความตอ้ งการของมนษุ ยย์ อ่ มขน้ึ อยกู่ บั ความเชอ่ื ค่านยิ มการใหค้ ณุ คา่ และการใหค้ วามหมายตอ่ ชวี ติ ของแตล่ ะบคุ คล ทง้ั นยี้ อ่ มขน้ึ อยกู่ บัการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมในแตล่ ะชว่ งดว้ ย

ความเชอ่ื คา่ นยิ มและศักด์ศิ รีของความเป็นมนุษย์ ทกุ สงั คมจะมรี ะบบความเชอ่ื ของตนเอง ความเชอ่ื เปน็ ระบบทตี่ อบสนองความต้องการและความจาเปน็ ทางดา้ นจติ ใจเปน็ สาคญั ประชาชนในภาคอสี านมคี วามเชอื่ อยู่ 2 ระบบคือ ความเชื่อในเรอ่ื งไสยศาสตร์ และความเชอื่ ในเรอ่ื งโชคลาง1. ความเชอ่ื ในเรอ่ื งไสยศาสตร์ไสยศาสตร์ หมายถงึ อานาจลกึ ลับของส่ิงศกั ดสิ์ ิทธิ์ เครอ่ื งรางของขลงั นา้ มนต์และเวทมนตค์ าถา โดยปกตไิ สยศาสตรม์ วี ตั ถุประสงคท์ ีส่ าคญั อยู่ 3 ประการคือ 1.1 เพ่ือการผลติ หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ผลผลติ เชน่ ทาใหเ้ กิดฝนตก ให้ได้กาไรจากการคา้ ปลูกพืช 1.2 เพ่ือปอ้ งกัน เช่น ป้องกนั โรคภยั ไขเ้ จบ็ ให้ปลอดภยั ในการเดนิ ทาง 1.3 เพอ่ื การทาลาย เช่น ทาใหศ้ ตั รถู งึ แกค่ วามตาย หรือพา่ ยแพ้

ไสยศาสตร์ ประกอบดว้ ยองค์ 5 ประการ คือ 1. มนตห์ รอื คาถาอาคม (the spell) คอื ข้อความอนั ศกั ดสิ์ ทิ ธซิ์ งึ่ ประพนั ธ์ขึน้ สาหรบั บรกิ รรม หรือสวดขบั เพอ่ื ออ้ นวอนสง่ิ ทมี่ อี านาจเหนอื ธรรมชาติ(Super-nature) มีผสี างเทวดา ฯลฯ 2. พธิ ี (Rite) การใชเ้ วทมนตต์ อ้ งมพี ธิ กี รรม เชน่ เสก เปา่ สวดบรกิ รรม 3. เงอ่ื นไขของผปู้ ฏบิ ตั ิ (Condition of Performance) เนื่องจากการใช้เวทมนต์ คาถา ตอ้ งมพี ธิ กี รรม แตผ่ ลจะเกดิ ขน้ึ หรอื ไมข่ น้ึ อยกู่ บั ผปู้ ฏบิ ตั นิ นั้ดว้ ย เช่น ข้อห้าม หรือตอ้ งละเวน้ ทานอาหารบางอยา่ ง 4. อปุ กรณพ์ ธิ ี ในการประกอบพธิ กี รรมทางไสยศาสตร์ อุปกรณใ์ นการทาพธิ ีถอื วา่ มคี วามสาคญั และจาเปน็ มาก เชน่ อุปกรณเ์ กยี่ วกบั อาหาร ภาชนะใสอ่ าหาร เครอ่ื งบชู า และทต่ี งั้ อปุ กรณ์ 5. วันประกอบพธิ ี ขึน้ อยกู่ บั พธิ ไี สยศาสตรท์ จี่ ะทา วา่ สมควรจะทาในวนัไหน เชน่ วันเสารห์ า้ เปน็ ตน้

2. ความเชอื่ เรอื่ งโชคลาง โชคลาง หมายถงึ เครอ่ื งหมายทป่ี รากฏใหเ้ หน็ อนั บอกเหตรุ า้ ยหรอื ดีสงั คมไทยโดยเฉพาะสงั คมอสี านมคี วามยดึ มน่ั ในเรอ่ื งโชคลางจนกลายเปน็ประเพณปี ฏบิ ตั ใิ นสงั คม เครอื่ งหมายโชคลางบอกรา้ ยหรอื ดี มดี ังนี้ 2.1 นามธรรมของสง่ิ ทม่ี ชี วี ติ และไมม่ ชี วี ติ ได้แก่ ชอ่ื คน สัตว์สง่ิ ของและสถานท่ี 2.2 รูปธรรมของสง่ิ มชี วี ติ และไมม่ ชี วี ติ ได้แก่ รูปรา่ งลกั ษณะของคน สัตว์ ส่ิงของและสถานที่ 2.3 ความฝนั ถอื กนั วา่ “ความฝนั ” เปน็ การสะทอ้ นโชคลาง ในปจั จบุ นั ความฝนั มกั ไดร้ บั การตคี วามหมายเกย่ี วกบั การเสยี่ งโชคในเรอ่ื งเลขท้ายลอ็ ตเตอร่ี 2.4 ประสบการณ์ เช่น เห็นขบวนศพเปน็ “โชคลาง” อย่างหนงึ่ 2.5 ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ ถอื เปน็ โชคลางอยา่ งหนง่ึ 2.6 พธิ ีการ เชน่ การปทู นี่ อนใหแ้ กค่ สู่ มรส

ความเชอ่ื เก่ียวกบั สขุ ภาพและสวสั ดภิ าพสังคมชนบททีอ่ ย่หู า่ งไกลจากโรงพยาบาล เวลาเจบ็ ป่วยบางรายไปพบแพทย์ บางรายรกั ษากบั หมอยากลางบ้าน บางรายใหห้ มอแผนโบราณโดยวธิ กี ารเสกเปา่ คาถากบั หมากพลู การรักษาแบบไสยศาสตรจ์ ะมขี อ้ หา้ มเก่ียวกบั สุขภาพและสวสั ดภิ าพ ดังนี้ การปฏิบตั ขิ องสตรมี ีครรภ์ เช่น หา้ มรับประทานมะเขอื พวง เพราะเชอื่ วา่ จะทาใหเ้ กดิพรายคืออาการนอนไมห่ ลบั มีจดุ คล้าตามตวั สตรมี ีลกู ออ่ นหา้ มรบั ประทานของเผด็เปรยี้ วและมนั หา้ มใชส้ บเู่ หลวเวลาอาบนา้ เพราะจะทาใหผ้ ิดสาแดง ผูเ้ ปน็ มารดาให้อาบน้ารอ้ น ถา้ อาบน้าเยน็ จะทาใหเ้ ลอื ดขน้ึ สมอง ห้ามทางานหนกั ให้เขา้ นอนแตห่ วั ค่าใหด้ ื่มนา้ ขา้ วที่ไดจ้ ากการหงุ ขา้ วโดยผสมเกลอื เลก็ นอ้ ย ถา้ เด็กนอนสะดงุ้ ใหเ้ อามอื จบั หวัเด็ก อาการสะดงุ้ จะหาย เวลาเจ็บป่วยตอ้ งเรยี กขวญั และเชอื่ วา่ นา้ มะพรา้ วลา้ งหนา้ ศพรักษาคนท่ีนอนกดั ฟนั ใหห้ ายได้

การฝงั รกเดก็ ตอ้ งฝงั หรอื เผาภายใน 3 วนั ควรฝงั นอกบรเิ วณบา้ นโดยขดุ หลมุ เอาแกลบวางบนหลมุ เอาไฟจดุ ขา้ งบน ถา้ ไมเ่ ผาเชอื่ วา่ จะทาให้เดก็ มอี าการคนั ตามตวั ห้ามฝงั ในบรเิ วณเพราะจะทาใหเ้ ดก็ เจบ็ ปว่ ยบอ่ ย การปลกู ขา้ ว หา้ มปลกู ขา้ วเจา้ ลอ้ มขา้ วเหนยี ว หรอื ขา้ วเหนยี วลอ้ มขา้ วเจา้ เพราะเชอ่ื วา่ จะทาใหเ้ กดิ ภยั พบิ ตั ิ และเกดิ การเจบ็ ปว่ ยภายในครอบครวั ขอ้ ห้ามในการรบั ประทานอาหาร สาหรบั คนปกตหิ า้ มยนื เดิน นอนรบั ประทานอาหาร คนเกดิ วนั พฤหสั บดหี า้ มรบั ประทานเนอื้ ควาย ของเผด็ หรอืภรรยาตอ้ งใหส้ ามรี บั ประทานอาหารกอ่ น 3 คา แลว้ จงึ รบั ประทานตาม สตรีมีครรภห์ า้ มรบั ประทานหวั ปลแี ละมะละกอ ห้ามรบั ประทานเสยี งดงั ห้ามคยุ เวลาเดินทางไกลหา้ มรบั ประทานเนอื้ สตั วแ์ ละขนมจนี หา้ มรบั ประทานผลเพการวมกับไขเ่ ปด็ หรอื ไขไ่ ก่ เพราะเชอื่ วา่ จะทาให้เสยี สขุ ภาพ

ข้อห้ามเกยี่ วกบั การเดนิ ห้ามเดนิ เสยี งดงั ห้ามเดนิ บนทสี่ งู หา้ มเดนิ ผา่ นหนา้ ผใู้ หญ่ หา้ มเดนิ กระทบื เทา้ เสยี งดงั หา้ มสตรอี มุ้ ลกู บอ่ ยเดก็ จะเคยตวั หา้ มสตรเี ดนิ แกวง่ แขน ห้ามเดนิ เหยยี บขน้ั บนั ไดเสยี งดงั จะไมม่ ใี ครขอแตง่ งานเพราะถอื เปน็ เรอื่ งจญั ไร หา้ มเดนิ ลอดราวตากผา้ ห้ามเกบ็ ของตก เวลาเดนิทางไกลหา้ มเดนิ ขา้ มไมค้ านหาบนา้ หา้ มเดนิ ผวิ ปากตอนกลางคนื ห้ามเดนิข้ามครกหรอื สากตาขา้ ว ห้ามเดนิ เอาเทา้ ขูดพนื้ จนเสยี งดงั ห้ามเดนิ แรงจนได้ยนิ เสยี งผา้ ถงุ ดงั พบึ พบั ขอ้ หา้ มเกย่ี วกบั การนง่ั ห้ามนง่ั คา้ ศรี ษะผใู้ หญ่ หา้ มนง่ั ชนั เขา่ ห้ามนงั่เอากน้ กระแทกพนื้ เสยี งดงั หา้ มนง่ั บนเตาไฟ สตรหี า้ มนง่ั ขดั สมาธิ ห้ามนง่ัไขว่หา้ ง ห้ามนงั่ แกวง่ ขา สตรหี า้ มนง่ั ยอง ๆ ห้ามนงั่ บนครกตาขา้ ว ผชู้ ายไม่เคยบวชหา้ มนง่ั สมาธิ หา้ มนงั่ อมุ้ ลกู บนครกตาขา้ ว จะทาใหเ้ ดก็ รอ้ งไหไ้ มห่ ยดุ

ขอ้ ห้ามเกย่ี วกบั การนอน สตรหี า้ มนอนหงาย ห้ามนอนควา่ ให้นอนตะแคง ห้ามนอนสลบั หวั เทา้ กนั ห้ามนอนเสมอสามี ห้ามนอนเอาศรี ษะไปทางทศิ ตะวนั ตก เดนิ ทางไกลหา้ มนอนกา่ ยหนา้ ผาก ขอ้ ห้ามเกยี่ วกบั การยนื หา้ มยนื ใกลผ้ ใู้ หญ่ หา้ มยนื ถา่ งขา ห้ามยนื เทา้สะเอว ห้ามยนื ใกลส้ ามี หา้ มยนื ใกลบ้ อ่ นา้ ห้ามยนื ใตส้ ะพาน ห้ามยนื ขวางประตู หา้ มยนื ขวางในบา้ น ขอ้ หา้ มอน่ื ๆ เช่น หา้ มหวั เราะเสยี งดงั ในเวลากลางคนื ห้ามแตง่ กายไม่สภุ าพไปทาบญุ ห้ามปลกู เรอื นครอ่ มตอ ห้ามดา่ สามี ห้ามทาไมค้ านหกั ห้ามทาครกตานา้ พรกิ แตก ฯลฯ

ทฤษฎีทางประชากร ความหมายของประชากร ในทศั นะของนกั สงั คมศาสตร์ ประชากร หมายถงึ คน ซ่งึ จาแนกเปน็ เพศชาย และเพศหญงิ เท่านนั้ ในทศั นะของนกั ชวี วทิ ยา ประชากร หมายถงึ คน พชื และสตั ว์ ในทศั นะของนกั สถติ หิ รอื นกั วจิ ยั ประชากร หมายถงึ คน พชื สัตว์ และยงั หมายรวมถงึ สงิ่ อนื่ ๆ ท่ีสามารถเปน็ หนว่ ยในการนบั ได้

ทฤษฎที างประชากร 1. ทฤษฎปี ระชากรลทั ธพิ าณชิ ยน์ ยิ ม นกั ทฤษฎใี นกลมุ่ นี้ ไดแ้ ก่ บาเทโร(Batero) แทมเบอร์ (Tamber) และ สเปนเจอร์ (Spenger) ทฤษฎนี เี้ ชอื่ วา่ ยง่ิประชากรมาก ยิ่งเปน็ ผลดตี อ่ เศรษฐกจิ 2. ทฤษฎปี ระชากรดา้ นวฒั นธรรม นักคดิ กลมุ่ นเี้ ชอ่ื วา่ อัตราการเกดิ ของประชากรถกู กาหนดโดยวฒั นธรรม อยา่ งเชน่ ดูม็องค์ (Dumont) ชาวฝรงั่ เศสไดต้ ้ังทฤษฎี Social Capillarity เสนอวา่ บุคคลทต่ี อ้ งการความสาเรจ็ ควรอยเู่ ปน็โสด ส่วน เบรนทาโน (Brentano) เชอื่ วา่ อัตราการเกดิ จะลดหรอื เพม่ิ ขนึ้ อยกู่ บัจิตใจเปน็ สาคญั ในขณะท่ี สเตรนเบอรก์ (Ungern Strenberg) เสนอวา่ ชนชน้ั สงู มกั มบี ตุ รนอ้ ย ขณะทค่ี นงานกรรมกรจะมบี ตุ รมาก ดงั นนั้ หากคนจนตอ้ งการสรา้ งฐานะของตนเอง จึงตอ้ งพยายามจากดั ขนาดของครอบครวั

3. ทฤษฎปี ระชากรดา้ นชวี วทิ ยา นกั ทฤษฎกี ลมุ่ นเ้ี ชอ่ื วา่ ปัจจยั ทางชีววทิ ยากาหนดอตั ราเพิม่ หรอื ลดประชากร ดังเชน่ แซดเลอร์ (MichaelThomas Sadler) นกั เศรษฐศาสตรช์ าวองั กฤษ สรปุ กฎของเขาวา่ ภาวะเจรญิพันธจ์ุ ะผนั แปรเปน็ ปฏภิ าคกลบั กบั ความหนาแนน่ แระชากร และอตั ราตายและอตั ราเกดิ จะผนั แปรตามกนั ดบั เบลิ เดย์ (Doubleday) ทาการทดลองกบั พชื โดยนาพชื ชนดิ เดยี วกนั ไปแยกปลกู

















โลกาภวิ ัตน์ศึกษา Globalization------------------ --------------------- ผศ. ดร. จิตรกร โพธง์ิ าม

Post-Structuralism or Nothing

ประเดน็ ศึกษา บทท่ี 1 ความรเู้ บือ้ งตน้ เกยี่ วกบั โลกาภิวตั น์ บทท่ี 2 ลกั ษณะของโลกาภวิ ตั น์ บทที่ 3 แนวคิดโลกาภวิ ตั น์ บทท่ี 4 โลกาภวิ ตั นก์ บั สงั คมไทย บทท่ี 5 เศรษฐกจิ ไทยในยคุ โลกาภวิ ตั น์

บทที่ 1 ------------------ ---------------------ความรเู้ บื้องตน้ เกีย่ วกบั โลกาภวิ ตั น์ ผศ. ดร. จติ รกร โพธง์ิ าม

ความหมายของโลกาภิวัตน์ 1. ชดุ ของคาที่มคี วามหมายเดยี วกนั ไดแ้ ก่ คาว่า โลกยุคคลนื่ ลกู ทีส่ าม ยุคแห่งการปฏวิ ตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสาร ยคุ สารสนเทศหรอื ยคุ ไอที ยคุ ทุนนิยมตอนปลาย ยคุ โลกาภวิ ตั น์ ยุคหลงั ทนั สมัยหรอื ยคุ หลงั โครงสรา้ งนยิ ม และยคุ หลงั อตุ สาหกรรม เปน็ ต้น 2.ความหมายทเ่ี ลอ่ื นไหลในบรบิ ทสังคมไทย ในแวดวงวชิ าการใชห้ ลายคา เช่น โลกานวุ ตั ร โลกาภวิ ฒั น์ โลกไรพ้ รมแดน โลก สันนิวาส แตร่ าชบณั ฑติ ยสถานกาหนดใหใ้ ชค้ าวา่ “โลกาภวิ ตั น์” เพอ่ื ใหเ้ ปน็ บรรทดั ฐาน เดียวกนั โลกาภวิ ตั น์ ตรงกบั คาภาษาองั กฤษว่า “Globalization” เริ่มใชก้ นั ตงั้ แตท่ ศวรรษท่ี 1960 และตอ่ มา ในทศวรรษท่ี 1980 จงึ เป็นท่รี จู้ กั กนั อย่างกวา้ งขวาง โดยมคี วามหมายวา่ “การกลาย ลักษณะเปน็ สากล” “การแผข่ ยายไปทว่ั โลก” ดงั นนั้ โลกาภวิ ตั น์ จึงถอื เป็นปรากฏการณ์ สากล

Globalization ในความหมายของตะวนั ตก Jame N. Rosenau เสนอวา่ Globalization คือ การที่ คน กิจกรรม บรรทัดฐาน ความคดิ สนิ คา้ บริการ เงนิ ตรา ฯลฯ ลดบทบาทที่เคยอยใู่ นความจากดั ของขอบเขตทาง ภมู ิศาสตร์ หรอื เคยมวี ธิ ปี ฏบิ ตั ดิ ง้ั เดมิ ทแี่ ตกตา่ งกนั ใหม้ าอยรู่ วมกนั ในขอบเขตระดบั โลก และมวี ธิ ปี ฏบิ ตั อิ ย่างเดยี วกนั Susan Strange เสนอว่า Globalization หมายถึง การมสี ินคา้ ในตลาดโลก การเปลย่ี น โครงสรา้ งทางการเงนิ ระหวา่ งประเทศ รวมท้ังการเปลย่ี นแปลงความแตกตา่ งทาง ความคิด ความเชอื่ ทศั นคติ รสนยิ ม ใหเ้ ข้ามารวมเปน็ แบบเดยี วในระดบั โลก Martin Albrow เสนอวา่ Globalization หมายถงึ กระบวนการท่ีประชาชนในโลกมา รวมกันอยภู่ ายในสังคมเดยี วกนั คอื สังคมโลก Zdravko Mlinar พยายามแจกแจงความหมายในระดบั ลกึ และกวา้ งวา่ Globalization คือ สภาวะทโ่ี ลกอยูใ่ นสภาพทตี่ อ้ งพง่ึ พาตอ่ กนั (independence) ลกั ษณะดงั กลา่ วทาให้ Globalization คอื เผด็จการของ Globalizers

 Martin Carnoy เสนอวา่ องคป์ ระกอบของกระแสโลกาภวิ ตั น์ คอื ระบบ เศรษฐกจิ การเคลอื่ นตวั ของทนุ การแขง่ ขนั ในตลาดโลก การพฒั นาระบบขอ้ มลู ขา่ วสาร รวมทง้ั เทคโนโลยดี า้ นการตดิ ตอ่ สอ่ื สารและการคมนาคม และ วัฒนธรรมในการซอ้ื การขายและการบรโิ ภค Robertson เสนอวา่ Globalization เปน็ ชดุ ของมโนทศั นท์ ใี่ ชใ้ นการทาความ เขา้ ใจปญั หาของระเบยี บโลก Canadian Unitarian Council เสนอวา่ Globalization เป็นกระบวนการทแ่ี สดง ถงึ การพฒั นาทางเศรษฐกจิ สงั คมของระบบทนุ นยิ ม ตามทศั นะของ นกั เศรษฐศาสตรต์ ะวนั ตก เสนอวา่ Globalization หมายถงึ การ ขยายขอบเขตกจิ กรรมดา้ นเศรษฐกจิ ระหวา่ งพรมแดนของรฐั ชาติ โดยการ ขยายระบบเศรษฐกจิ ให้เปดิ กวา้ ง การพง่ึ พาทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งกนั และการ รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ทั้งระดบั ภมู ภิ าคและในระดบั โลก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook