ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ(Decision Support System) จามรกุล เหลา่ เกยี รตกิ ลุ คณะวทิ ยาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม 2556
ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ(Decision Support System) จามรกลุ เหล่าเกียรติกุล ปร.ด.(เทคโนโลยีสารสนเทศ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2556
คานา ตำรำ ระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ น้ี ใช้สำหรับประกอบกำรศึกษำ รำยวิชำระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ หรือรำยวิชำที่มีเนื้อหำเกี่ยวข้องกับ ขบวนกำรตัดสินใจของมนุษย์ ระบบ รูปแบบ และชนิดของระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ ข้อแตกต่ำงของระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ กับระบบประมวลผลสำรสนเทศท่ัวไป กำรสร้ำงระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ เคร่ืองมือช่วยจัดสร้ำง รูปแบบกำรนำเสนอ กำรหำวิธีที่เหมำะสม รูปแบบทำงคณิตศำสตร์เก่ียวข้อง กำรจำลองและแบบจำลองทีเ่ ก่ียวข้อง กำรนำระบบสนับสนุนกำรตัดสนิ ใจไปใช้ประโยชน์ โดยตำรำฉบบั นี้ ได้แบ่งเน้อื หำออกเป็น8 บท โดยมีคำถำมทบทวน เพือ่ ใหไ้ ด้ฝกึ หัด และทบทวนควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจในเน้อื หำ ผู้ จั ด ท ำ ห วั ง เป็ น อ ย่ ำ ง ย่ิ ง ว่ ำ ต ำ ร ำ ฉ บั บ นี้ จ ะ เป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ นั ก ศึ ก ษ ำและผู้สนใจในเร่ืองระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจได้เป็นอย่ำงดี โดยหำกพบข้อบกพร่อง หรือผิดพลำดประกำรใด หรอื มขี อ้ เสนอแนะ ผ้เู ขยี นขอนอ้ มรับดว้ ยควำมยินดี จำมรกุล เหล่ำเกียรติกุล 20 ธนั วำคม 2556
สารบญั (1)คานา หน้าสารบญัสารบัญภาพ (1)สารบญั ตาราง (6) (9)บทที่ 1 การตัดสนิ ใจและกระบวนการแกไ้ ขปญั หา การตดั สินใจ 1 ลกั ษณะปญั หาทสี่ ง่ ผลต่อการตดั สินใจ 1 กระบวนการแก้ไขปัญหา 2 กระบวนการตัดสนิ ใจ 3 ประเภทของการตดั สนิ ใจ 5 สภาพการณ์ในการตดั สินใจ 7 บทสรุป 10 คาถามทบทวน 10 เอกสารอา้ งองิ 11 11บทที่ 2 ความหมาย และองค์ประกอบของระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ ความหมายของระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ 13 ความเป็นมาและววิ ฒั นาการของระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ 13 ลักษณะ และสถาปตั ยกรรมของระบบสนบั สนุนการตัดสินใจ 14 องค์ประกอบของระบบสนับสนุนการตดั สินใจ 16 ส่วนจดั การขอ้ มลู ประกอบการตัดสินใจ 20 ส่วนแบบจาลองสาหรับแก้ไขปัญหา 20 สว่ นจัดการองค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ 21 สว่ นประสานกบั ผูใ้ ชง้ าน 21 ขอ้ แตกตา่ งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจกบั ระบบสารสนเทศอืน่ 22 ประเภทของระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจ 22 ประโยชน์ของระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ 23 บทสรปุ 25 คาถามทบทวน 27 เอกสารอ้างองิ 27 28
สารบญั (ตอ่ ) (2)บทท่ี 3 การพัฒนาระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ หน้า วงจรและกระบวนการพฒั นาระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจ การวิเคราะหร์ ะบบ 29 การออกแบบและพฒั นาระบบ 29 การติดต้งั และนาระบบไปใช้ 29 แนวทางการพฒั นาจากต้นแบบ 30 เคร่ืองมอื สาหรบั พฒั นาระบบสนับสนุนการตดั สินใจ 31 ทมี พัฒนาระบบสนบั สนุนการตัดสินใจ 32 กรณีศึกษาการพัฒนาระบบสนับสนนุ การตดั สินใจ 34 บทสรปุ 39 คาถามทบทวน 41 เอกสารอา้ งองิ 41 42บทท่ี 4 การจัดการขอ้ มูลประกอบการตัดสินใจ 42 องคป์ ระกอบของส่วนจดั การขอ้ มูล ข้อมลู ประกอบการตดั สินใจ 43 เทคโนโลยสี าหรับจดั การข้อมูล 43 ฐานข้อมลู และระบบจดั การฐานขอ้ มูล 45 คลงั ขอ้ มูล 49 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู แบบออนไลน์ 49 เหมอื งขอ้ มูล 57 การแสดงผลข้อมลู ในระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ 66 บทสรุป 69 คาถามทบทวน 72 เอกสารอา้ งอิง 74 75 75
สารบญั (ตอ่ ) (3)บทท่ี 5 แบบจาลองในการแก้ไขปัญหา หนา้ สว่ นจัดการแบบจาลอง ความหมายของแบบจาลอง 77 ประโยชนข์ องแบบจาลอง 77 ประเภทของแบบจาลองในการแกไ้ ขปญั หา 79 การใช้งานแบบจาลองเพอื่ แก้ไขปญั หา 82 แบบจาลองเพอื่ หาทางเลือกท่ีเหมาะสมท่สี ดุ 83 แบบจาลองในรปู แบบอัลกอริทมึ 84 แบบจาลองสถานการณ์ 85 แบบจาลองทางการเงนิ 95 แบบจาลองสินคา้ คงคลัง 107 แบบจาลองฮิวรสิ ติก 115 บทสรปุ 119 คาถามทบทวน 120 เอกสารอา้ งอิง 123 123บทท่ี 6 ส่วนประสานกับผู้ใช้งานระบบสนับสนนุ การตดั สินใจ 124 ความหมายของส่วนส่ือประสานกับผใู้ ชง้ าน องคป์ ระกอบของส่วนสอื่ ประสานกับผ้ใู ช้งาน 125 การออกแบบสว่ นสอื่ ประสานกับผใู้ ช้งาน 125 รูปแบบของสว่ นส่อื ประสานกับผูใ้ ช้งาน 126 ประเดน็ พจิ ารณาในการออกแบบส่วนสอ่ื ประสานกับผใู้ ช้งาน 129 การประเมนิ ส่วนส่อื ประสานกับผใู้ ชง้ าน 132 บทสรุป 138 คาถามทบทวน 140 เอกสารอา้ งองิ 141 141 142
สารบัญ (ตอ่ ) (4)บทท่ี 7 การประยุกต์ใชร้ ะบบสนับสนุนการตดั สินใจ หน้า ระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจส่วนบคุ คล ระบบสนบั สนุนการตดั สินใจแบบกลมุ่ 143 ความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลมุ่ 143 คุณลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจแบบกลุม่ 147 องค์ประกอบของระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจแบบกล่มุ 147 ประโยชนข์ องระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจแบบกลมุ่ 148 ซอฟตแ์ วรส์ นบั สนุนการตัดสินใจแบบกลมุ่ 150 ปัจจัยสูค่ วามสาเรจ็ ของระบบสนบั สนุนการตดั สินใจแบบกลุ่ม 152 ระบบสนบั สนุนการตดั สินใจในระดับองคก์ ร 152 ความหมายของระบบสนับสนุนการตดั สินใจในระดบั องค์กร 158 ประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจในระดับองค์กร 160 คุณลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจในระดบั องค์กร 160 ระบบจดั การหว่ งโซ่แหง่ คณุ ค่าและห่วงโซอ่ ุปทาน 160 ระบบการวางแผนจดั การวตั ถุดิบ 161 ระบบบรหิ ารทรัพยากรองค์กร 163 ระบบบริหารลูกค้าสัมพนั ธ์ 166 แนวโนม้ ของระบบสนบั สนุนการตัดสินใจในระดับองคก์ ร 167 บทสรุป 168 คาถามทบทวน 170 เอกสารอ้างอิง 171 171บทที่ 8 แนวโนม้ และผลกระทบของระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ 172 ผลกระทบของระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ ผลกระทบด้านองคก์ ร 173 ผลกระทบเฉพาะบุคคล 173 ผลกระทบดา้ นการแขง่ ขันทางธรุ กจิ 174 ผลกระทบดา้ นกฎหมาย จรยิ ธรรม และสิทธสิ ว่ นบคุ คล 176 ผลกระทบต่อระดับการจา้ งงาน 177 ผลกระทบทางสังคม 177 การจดั การผลกระทบของระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ 178 179 180
สารบัญ (ตอ่ ) (5) แนวโนม้ ในอนาคตของระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ หน้า บทสรุป 181 คาถามทบทวน 182 เอกสารอา้ งอิง 182บรรณานุกรม 182ดัขนี 185 187
บทที่ 1 การตัดสนิ ใจและกระบวนการแกไ้ ขปัญหา การตัดสินใจ และกระบวนการแก้ไขปัญหาเป็นกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนควบคู่กันเสมอและเกิดข้ึนในทุก ๆ สถานการณ์ ท้ังนี้เนื่องจากการตัดสินใจจะเกิดขึ้นเม่ือมีปัญหาเกิดข้ึนภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีสามารถทาการประเมินได้โดยจะต้องหาวิธีการแก้ไขปัญหาน้ัน ๆ ดังน้ันผู้ตัดสินใจจึงต้องสรรหาหลักเกณฑ์ วิธีการ หรอื เครอ่ื งมือต่าง ๆ เขา้ มาชว่ ยพิจารณาเพอ่ื หาทางเลือกที่ดีท่ีสุดในการตัดสินใจ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง สมเหตุสมผล หรือมีโอกาสผิดพลาดน้อยลงหรือสามารถตดั สนิ ใจได้ถูกตอ้ งมากขน้ึ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงการตัดสินใจและกระบวนการแก้ไขปัญหาน้ัน จึงประกอบด้วยเน้ือหาซึ่งสามารถแบ่งออกได้เปน็ หวั ข้อดงั ต่อน้ี 1. การตดั สินใจ 2. ลักษณะปัญหาทสี่ ่งผลต่อการตดั สินใจ 3. กระบวนการแก้ไขปัญหา 4. กระบวนการตัดสนิ ใจ 5. ประเภทของการตัดสนิ ใจ 6. สภาพการณ์ในการตดั สินใจการตดั สนิ ใจ การตัดสินใจ หมายถึง การพิจารณาเลือกทางเลือก ท่ีมีอยู่มากกว่าหน่ึงทางเลือก เพ่ือให้มีการกระทาในลักษณะเฉพาะใด ๆ เช่นการแก้ไขปัญหา หรือ หมายถึง การตกลงใจเลือกข้อยุติข้อขัดแย้ง หรือ ข้อถกเถียง เพ่ือให้มีการกระทาไปในทางหน่ึงทางใดท่ีได้มีการพิจารณาเลือกหรือตรวจสอบอย่างรอบคอบแล้ว ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่า การตัดสินใจ จึงเป็นการนาหลักเกณฑ์ วิธีการหรือเคร่ืองมือต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการการตัดสินใจเพ่ือทาให้ ผู้ตัดสินใจมีโอกาสผิดพลาดน้อยลงหรือการตัดสินใจได้ถูกต้องมากขึ้น การตัดสินใจที่จะมีข้ึนภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีสามารถทาการประเมินได้ และใช้กฎเกณฑ์หรือ วิธีการ หรือเครื่องมือ นามาพิจารณาเพ่ือหาทางเลือกที่ดีที่สุดในการตัดสินใจดังน้ันการตัดสินใจ จึงถือเป็นกระบวนการสาคัญและเป็นมูลเหตุสาคัญให้เกิดระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจขึน้ ซึ่งอาจสรุปได้ว่า การตัดสินใจ คือ กระบวนการคัดเลือกแนวทางปฏิบัติจากทางเลือกต่าง ๆเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ซ่ึงจะเกิดขึ้นได้ในทุก ๆ เวลา และเกิดขึ้นได้ทั้งเหตุการณ์ที่เป็นเร่อื งเฉพาะบุคคล เช่น การตดั สินใจเลือกวธิ กี ารเดินทาง การตัดสินใจเลือกวิชาเรียน และการตัดสินใจเลือกโปรโมช่ันโทรศัพท์มือถือ หรือ การตัดสินใจในเชิงธุรกิจ หรอื การตัดสินใจที่มีผลกระทบต่อกลุ่มคน หรอื องค์กร ทีเ่ รียกว่า การตัดสินใจเชิงธรุ กจิ จามรกุล เหลา่ เกยี รตกิ ุล
2 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ การตัดสินใจเชิงธุรกิจ (Business Decision Making) คือ การตัดสินใจเพ่ือนาองค์กรไปส่คู วามสาเร็จตามเป้าหมาย ซ่งึ มีลักษณะสาคัญคือ 1. เป็นการตัดสินใจโดยลาพัง เช่น การตัดสินใจของผู้บริหารท่ีมีอานาจสิทธิขาด เช่นการตดั สินใจของเจ้าของกจิ การ หรอื ผมู้ ีอานาจ ในการยกเลิกสัญญา เปน็ ต้น หรอื 2. เป็นการตัดสินใจโดยทีมงาน หรือที่เรียกว่า การตัดสินใจเป็นกลุ่ม เช่นการตัดสินใจของคณะกรรมการ ในการดาเนินการเรื่องใด ๆ ขององคก์ ร 3. การตัดสินใจอาจมีวัตถุประสงค์หลากหลาย และวัตถุประสงค์เหล่าน้ัน อาจมีความขัดแย้งกนั ได้ในบางกรณี 4. มีการกาหนดแนวทาง หรือ แนวปฏิบัติ เพ่ือใช้ประกอบในการพิจารณาทางเลือกเพ่อื ดาเนินการในเรือ่ งนน้ั ๆ เสมอ 5. ผลจากการตัดสินใจในเชิงธุรกิจ มักจะถูกนาไปใช้ประโยชน์เพื่อคาดการณ์ด้านต่าง ๆเช่น การคาดการณ์ผลกาไร หรอื การคาดการณก์ ารใชว้ ัตถดุ ิบ เป็นต้น 6. เปน็ การตดั สินใจมคี วามเสย่ี งแฝงอย่เู สมอ 7. การวิเคราะห์ ทางเลือก และวิธีการแก้ไขปัญ หา จะมีลักษณ ะการวิเคราะห์แบบ “ถา้ ...แล้ว...” (What– if) 8. สภาวะแวดล้อมมผี ลตอ่ การตัดสินใจลักษณะปัญหาที่สง่ ผลต่อการตดั สินใจ ในการตัดสินใจนั้น จะเกิดขึ้นเม่ือพบปัญหา โดยลักษณะของปัญหาอาจมีหลากหลายโดยหากจาแนกลักษณะของปัญหา (Problems) ท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจนั้น อาจแบ่งลักษณะของปัญหาท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจ ออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ ปัญหาแบบมีโครงสร้าง ปัญหาแบบไม่มีโครงสรา้ ง และ ปญั หาแบบกงึ่ โครงสรา้ ง 1. ปัญหาแบบมีโครงสร้าง (Structured Problems) มักเป็นปัญหาที่เกิดข้ึนในแบบซ้า ๆ(Routine) ปัญหาประเภทน้ีมักจะมีข้อมูล และข่าวสาร ท่ีใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจอย่างครบถ้วนดังนั้นการตัดสินใจเพ่ือแก้ปัญหาแบบมีโครงสร้าง จึงเป็นการแก้ไขปัญหาที่สามารถวางแผน กาหนดรูปแบบในการแกไ้ ขปญั หาได้อยา่ ง แนน่ อน ชดั เจน โดยการแกไ้ ขปญั หาแบบมีโครงสร้างนี้อาจเลือกใช้แบบจาลองโดยอาศยั วธิ กี ารทางคณติ ศาสตร์ในการคานวณหาผลลัพธ์ 2. ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Problems) ปัญหาประเภทน้ีเป็นปัญหาในลักษณะมีข้อมูลหรือข่าวสารประกอบการตัดสินใจไม่เพียงพอ ซ่ึงอาจเป็นเพราะสาเหตุจากเป็นปัญหาในลักษณะท่ีไม่เคยพบมาก่อน โดยมักจะเป็นปัญหาท่ีเกิดในลักษณะเฉพาะหน้า หรือแบบปัจจุบันทันด่วน จึงทาให้ไม่มีข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจแก้ไขปัญหา ซ่ึงส่งผลให้ไม่มีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน รวมถึงไม่สามารถใช้แบบจาลองโดยอาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์มาแก้ไขปัญหาได้การแก้ไขปัญหาในลักษณะนี้จึงต้องอาศัยสัญชาติญาณและประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีตนามาใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา จามรกุล เหลา่ เกียรติกลุ
ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ 3 3. ปัญหาแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Problems) เป็นปัญหาที่มีรูปแบบแน่นอนโดยอาจมีลักษณะเฉพาะบางอย่าง หรือบางคร้ังอาจสามารถแก้ปัญหาได้เพียงบางส่วน ท่ีเหลือต้องอาศัยประสบการณ์ และความชานาญในการแก้ไข โดยสามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เพ่ือช่วยสนับสนุนพยากรณ์ผลลัพธ์ในส่วนน้ีได้ สาหรับการตัดสินใจเพ่ือแก้ปัญหาแบบก่ึงโครงสร้างนี้อ า จ อ าศั ย วิ ธี ก าร แ ก้ ไข ปั ญ ห า โด ย ผ ส ม ผ ส า น ร ะ ห ว่ า งวิ ธี ก าร แ ก้ ไข ปั ญ ห า แ บ บ มี โค ร งส ร้ างแ ล ะแบบก่ึงโครงสรา้ งกระบวนการแก้ไขปญั หา กระบวนการแก้ไขปัญหา(Problem Solving Process) อาจทาได้หลายวิธีขึ้นอยู่กับลักษณะของปัญหา ความรู้และประสบการณ์ของผู้แก้ปัญหา กระบวนการในการแก้ไขปัญหาแต่ละข้ันตอนมีความสัมพันธด์ ังแผนภาพท่ี 1-1 ท่ีแสดงถึงขั้นตอนของกระบวนการแก้ไขปัญหา โดยเร่ิมจากการทาความเข้าใจในลักษณะปัญหา ท่ีผู้ตัดสินใจจะต้องทาความเข้าใจกับปัญหาที่พบให้ถ่องแท้ในประเด็นต่าง ๆ คือปัญหาคืออะไรมีข้อมูลใดประกอบการตัดสินใจแล้วบ้าง และมีเงื่อนไขหรือตอ้ งการขอ้ มูลใดเพมิ่ เติมเพ่ือประกอบการตดั สนิ ใจอกี หรือไม่ 1. ก ารท าค ว าม เข้ าใจ ปั ญ ห า เป็ น ก ารวิ เค ราะ ห์ ปั ญ ห าอ ย่ างมี ป ระ สิ ท ธิภ าพโด ย ป ระเมิ น ว่าผู้ ตั ด สิ น ใจมี ค ว าม เข้าใจ ใน ปั ญ ห าม าก น้ อ ยเพี ยงใด ท าได้ โด ยอ าจให้ผู้ตัดสินใจ วิเคราะห์ และเขียนแสดงถึงประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาท่ีต้องตัดสินใจ ซ่ึงจะชว่ ยให้ขัน้ ตอนตอ่ ไป ในกระบวนการแก้ไขปัญหา ดาเนนิ ไปอย่างราบร่นื 2. การวางแผนและออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา ขั้นตอนน้ีจะเป็นการวางแผนและค้นหาวิธีการเพื่อการแก้ปัญหา โดยใช้ข้อมูลจากปัญหาที่ได้วเิ คราะห์ไว้แล้ว ประกอบกับข้อมูลและความรู้ที่เกี่ยวขอ้ งกับปัญหาน้ัน และนามาใชป้ ระกอบการวางแผนแกป้ ญั หา ในกรณที ี่ปญั หาตอ้ งตรวจสอบโดยการทดลอง ข้ันตอนน้ีจะเป็นการวางแผนการทดลอง ซึ่งประกอบด้วยการตั้งสมมติฐาน กาหนดวิธีทดลองหรอื ตรวจสอบและอาจรวมถงึ แนวทางในการประเมนิ ผลการแก้ปญั หา 3. ดาเนินการแก้ปัญหาและประเมินผล ขั้นตอนนี้จะเป็นการลงมือแก้ปัญหาและประเมินว่าวิธีการแก้ปัญหาและผลที่ได้ถูกต้อง หรือได้ผลเป็นอย่างไรถ้าการแก้ปัญหาทาได้ถูกต้องก็จะมีการประเมินต่อไปว่าวิธีการน้นั น่าจะยอมรบั ไปใช้ในการแก้ปัญหาอื่น ๆ หรือไม่ แต่ถ้าพบว่าการแก้ปัญหานั้นไม่ประสบความสาเร็จก็จะต้องย้อนกลับไปเลือกวิธีการแก้ปัญหาอ่ืน ๆ ที่ได้กาหนดไว้แล้วในขั้นที่2 และถ้ายังไม่ประสบความสาเร็จ ผู้แก้ปัญหาจะต้องย้อนกลับไป ทาความเข้าใจปัญหาใหม่ว่ามีข้อบกพร่องประการใด เช่นขอ้ มลู กาหนดให้ไม่เพยี งพอ เพ่ือจะไดเ้ รมิ่ ต้นการแกป้ ญั หาใหม่ 4. ตรวจสอบการแก้ปัญหา เป็นการประเมินภาพรวมของการแก้ปัญหา ท้ังในด้านวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ รวมทั้งการนาไปประยุกต์ใช้ ท้ังนี้ในการแก้ปัญหาใด ๆตอ้ งตรวจสอบถึงผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดว้ ย จามรกุล เหลา่ เกียรตกิ ุล
4 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ Start ปัญหา ทาความเข้าใจปญั หา วางแผนและออกแบบ วธิ กี ารปัญหา ดาเนินการแก้ไขปญั หา ตรวจสอบ การแก้ไขปัญหา นาวิธีการแก้ไขปัญหาไปใช้ End ภาพท่ี 1-1 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา (ประยุกตจ์ าก: http://toeyswu.multiply.com/journal/item/6/6) แมว้ ่าจะดาเนินตามขัน้ ตอนทีก่ ลา่ วมาแล้วก็ตาม ผู้แก้ปัญหายังตอ้ งมีความมน่ั ใจว่าจะสามารถแก้ปัญหาน้ันได้ รวมท้ังต้องมุ่งมั่นและทุ่มเทให้กับการแก้ปัญหา เนื่องจากบางปัญหาต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอยา่ งมาก นอกจากน้ีถ้าเกิดความเหน่ือยล้าจากการแกป้ ัญหา ผูแ้ ก้ปัญหาก็ควรได้มีโอกาสพักผอ่ น จามรกุล เหล่าเกียรติกลุ
ตาราระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 5กระบวนการตัดสนิ ใจ นักวิชาการหลายท่านได้อธิบายขั้นตอนในการตัดสินใจ (Decision Making Process)ซึ่งผู้กล่าวถึงอย่างแพร่หลาย เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้ศึกษาได้ทาความเข้าใจและสามารถนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ โดยเริ่มต้นจากแนวความคิดของ ไซมอน ในปี ค.ศ. 1960ท่ีอธิบายขั้นตอนการตัดสินใจโดยใช้แบบจาลอง (Model) ท่ีประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ประการ(Simon H A, 1960) ดังต่อไปนี้ 1. การใช้ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence) ผู้ตัดสินใจจะรับรู้ถึงโอกาสหรือปัญหาที่เกดิ ขนึ้ จากนน้ั ผ้ทู าการตัดสนิ ใจเรม่ิ เก็บรวบรวมข้อมลู จากทงั้ ตวั ปญั หา ะส่ิงแวดล้อมหรือโอกาสนนั้ 2. การออกแบบ (Design) ผู้ตัดสินใจจะวิเคราะห์และพัฒนาทางต่าง ที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา เพ่ือนาไปใช้ประกอบตัดสินใจเลือกทางเลือกในการปฏิบัติที่เหมาะสม การที่จะประสบความสาเร็จได้ในข้ันตอนนี้ ผู้ทาการตัดสินใจจะต้องมีความเข้าใจในปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์พยายามท่จี ะหาทางออกของปญั หา และตรวจสอบความเป็นไปได้ในปญั หานั้น 3. การคัดเลือก (Choice) ผู้ทาการตัดสินใจจะทาการคัดเลือกแนวทางปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับสถานการณท์ ีส่ ดุ เพื่อท่จี ะนาไปประยกุ ต์ใช้ต่อไป ปกติขั้นตอนการตัดสินใจจะมีการเคลื่อนตัวอย่างต่อเน่ือง จากข้ันตอนแรกจนถึงข้ันตอนตดั สนิ ใจเลือกทางเลือกเพื่อนาไปปฏิบัติ อย่างไรก็ตามอาจจะมีการดาเนินการยอ้ นกลับไปยังข้ันตอนท่ีผ่านมาแล้วในระหว่างที่ข้ันตอนกาลังดาเนินอยู่ เพ่ือปรับปรุงให้การตัดสินใจมีผลสมบูรณ์ขึ้นนอกจากน้ียังมีผู้วิจารณ์ว่าแบบจาลองกระบวนการตัดสินใจของ ไซมอน ในช่วงเริ่มต้นไม่ได้กล่าวเจาะจงถึงกระบวนการต่าง ๆ หลังการคัดเลือกแนวทางปฏิบัติ เช่น การติดตามผลการวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่เกิด ซึ่งต่อมา รูเบนสเตน และ ฮาเบอร์สโตร์ (1965) ได้เสนอแนวความคิดเก่ียวกับขั้นตอนการตดั สินใจวา่ มี 5 ขั้นตอนได้แก่ 1. ผูต้ ดั สนิ ใจรบั รู้ถงึ โอกาสหรอื ปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้น 2. ผู้ตัดสินใจรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา และกาหนดทางเลือกทีเ่ ปน็ ไปไดเ้ พื่อการวิเคราะห์ทางเลือกในการตดั สินใจ 3. ผู้ตัดสินใจจะทาการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่คิดว่าเหมาะสมกับลักษณะของปัญหาและสถานการณเ์ พอ่ื นาไปปฏิบัตติ อ่ ไป 4. ผ้ตู ดั สนิ ใจจะดาเนนิ การเพ่อื นาผลการตัดสนิ ใจไปปฏบิ ตั ิ 5. ภายหลังการนาผลการตัดสินใจไปดาเนินงานต้องทาการตดิ ตามผลของการปฏิบัติ เพื่อตรวจสอบว่าการทางานมปี ระสิทธิภาพเพียงใดและต้องปรบั ใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์อย่างไร ขณะท่ีแนวคิดของ Long (1989) ซ่ึงได้กล่าวไว้ในหนังสือระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการว่าการตัดสินใจแบ่งออกเปน็ 6 ขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. การรบั รูถ้ ึงโอกาสหรือปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ 2. การสารวจขอบเขตและข้อจากดั ของการตดั สินใจ เช่นขอ้ จากัดทางกฎหมาย เศรษฐกิจและการเมือง จามรกลุ เหล่าเกยี รตกิ ุล
6 ตาราระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ 3. การกาหนดทางเลอื กในการตัดสนิ ใจ 4. การรวบรวมสารสนเทศท่ีเหมาะสมเพอื่ นามาใช้ประกอบการตัดสนิ ใจ 5. การวิเคราะหท์ างเลอื กท่ีเป็นไปได้ 6. การเลือกทางเลอื กท่เี หมาะสมและนาไปปฏิบัติ ดังนั้นจากแนวคิดข้างต้นจะเห็นได้ว่า ข้ันตอนการตัดสินใจน้ันจะมีความแตกต่างกันไป ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับลักษณะความเข้าใจ รวมไปถึงแนวทางและเป้าหมายในการอธิบาย ซึ่งจากแนวคิดขั้นตอนการตัดสินใจ จะเห็นว่าส่วนท่ีคล้ายคลึงกันและส่วนที่แตกต่างกันนั้น อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่ากระบวนการในการตัดสนิ ใจ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 4 ข้ันตอนสาคัญ ได้แก่ 1. การระบุทางเลือกท่ีเป็นไปได้ท้ังหมด โดยเร่ิมจากผู้ท่ีทาการตัดสินใจจะต้องทาการระบุทางเลือก ในการตัดสินใจทง้ั หมดท่ีเป็นไปได้ เช่น กรณีการตัดสินใจของฝ่ายวางแผนของบริษัทระบุว่าบรษิ ทั มีทางเลือกในการขยายกาลังการผลิตเพยี ง 3 ทางเลอื กเทา่ น้ันคอื 1) ขยายโรงงาน 2) สรา้ งโรงงานใหม่ 3) จา้ งบรษิ ทั อ่ืน 2. การคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคตทั้งหมดท่ีจะเป็นไปได้ ซึ่งผู้ทาการตัดสินใจจะต้องคาดคะเนเหตุการณ์ท้ังหมด ซึ่งมีความเป็นไปได้จะเกิดขึ้นในอนาคต เหตุการณ์ทั้งหมดที่ระบุในขั้นตอนนี้ผู้ทาการตัดสินใจไม่สามารถที่จะเลือกได้ ไม่สามารถท่ีจะควบคุมได้ หรือไม่สามารถจะกาหนดได้ และเหตกุ ารณ์ท้ังหมดที่ระบนุ ้ีมีเพยี งเหตุการณ์เดียวเท่าน้ันทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ จริง ๆ ซ่ึงอาจเรยี กเรยี กเหตุการณท์ ัง้ หมดน้ีวา่ สภาวการณน์ อกบงั คบั ตามตัวอย่างสถานการณ์นี้ สมมติว่า ผู้ทาการตัดสินใจสามารถคาดคะเนได้ว่าสภาวการณ์นอกบังคับในการตัดสินใจขยายกาลังการผลิตของบริษัทนี้คือ ระดับความต้องการสินค้าของบริษัทในระดบั ตา่ ง ๆ ซ่งึ มคี วามเปน็ ไปได้ 4 สภาวะ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ความตอ้ งการสูง 2) ความต้องการปานกลาง 3) ความต้องการตา่ 4) ไมม่ ีคนนิยม ในการคาดคะเนสภาวการณ์นอกบังคับน้ี ผู้ทาการตัดสินใจจะต้องสามารถคาดคะเนปริมาณความต้องการในรูปตวั เงิน คอื ปริมาณสนิ ค้าทเ่ี กิดขน้ึ ในแตล่ ะสภาวการณไ์ ดด้ ้วย 3. สร้างตารางผลลัพธ์ที่ได้ ในข้ันตอนน้ีผู้ทาการตัดสินใจต้องสร้างตารางผลลัพธ์ท่ีได้ซ่ึงอาจจะอยู่ในรูปของผลกาไร หรือผลประโยชน์ อื่น ๆ ที่เป็นผลลัพธ์จากทางเลือกต่าง ๆ ของแต่ละสภาวการณ์นอกบงั คับ จามรกลุ เหล่าเกียรตกิ ุล
ตาราระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 7ประเภทของการตดั สนิ ใจ ประเภ ท ของการตัดสินใจ (Type of Decisions) สามารถจาแนกได้ 4ลักษ ณ ะคือการ ตั ด สิ น ใจ จ าแน ก ต าม จ าน ว น ผู้ ท าก าร ตั ด สิ น ใจ ก าร ตั ด สิ น ใจ จ าแน ก ต าม ลั ก ษ ณ ะข อ งปั ญ ห าการตัดสินใจจาแนกตามลักษณะขององค์กรและ การตัดสินใจท่ีจาแนกตามผลท่ีได้จากการตัดสินใจดังแสดงการจาแนกประเภทระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ดงั ปรากฏในภาพที่ 1.2 ประเภทของการตดั สินใจ (Type of Decisions) จาแนกตาม จาแนกตาม จาแนกตาม จาแนกตามลักษณะจานวนผทู้ าการ ลักษณะของปญั หา ลกั ษณะขององคก์ ร ผลที่ไดจ้ ากการ ตดั สินใจ ตดั สนิ ใจ การตัดสินใจทส่ี ่งผลการตัดสนิ ใจสว่ นบุคคล การตัดสินใจในปญั หา การตัดสนิ ใจใน กระทบตอ่ ธุรกจิ แบบมีโครงสรา้ ง ระดับปฏิบัติการการตัดสนิ ใจแบบกลุ่ม การตัดสินใจในปญั หา การตดั สนิ ใจใน การตดั สินใจทีส่ ่งผลการตัดสินใจในระดบั แบบไม่มโี ครงสร้าง ระดบั หัวหนา้ งาน กระทบตอ่ บุคคล การตดั สนิ ใจใน องค์กร การตดั สินใจในปญั หา การตัดสินใจทส่ี ง่ ผล แบบก่งึ โครงสร้าง ระดบั ผู้บรหิ าร กระทบต่อผ้บู ริโภค ภาพท่ี 1-2 ประเภทของการตดั สนิ ใจ 1. การตัดสินใจจาแนกตามจานวนผู้ทาการตัดสินใจ หากจะจาแนกการตัดสินใจตามจานวนของผู้ทาการตัดสินใจแล้ว จะสามารถจาแนกออกได้ เป็ น 3 รูป แ บ บ ด้ วย กั น คื อ ก ารตั ด สิ น ใจส่ ว น บุ ค ค ล ก ารตั ด สิ น ใจแ บ บ ก ลุ่ ม แ ล ะการตัดสินใจในระดบั องค์กร 1.1. การตดั สนิ ใจส่วนบุคคล การตัดสินใจส่วนบุคล (Personal Decision) คือ การตัดสินใจท่ีมีผู้ตัดสินใจเพียงคนเดียว โดยอาจหมายรวมไปถึง วิธีการ กฎเกณฑ์ ทางเลือก หรือกระทั่งผลลัพธ์ท่ีได้ จากการตดั สนิ ใจน้ันมผี ลกระทบต่อบุคคลเพียงคนเดียว 1.2. การตัดสินใจแบบกลุ่ม การตัดสินใจแบบกลุ่ม (Group Decision) คือ การตัดสินใจที่มีผู้ตัดสินใจเป็นกลุ่ม หรือคณะทางาน หรือการทางานร่วมกันเป็นทีม ในการตัดสินใจเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งซง่ึ ผลจากการตัดสินใจนั้น ๆ อาจส่งผลต่อบุคคลในบุคคลหนึง่ หรือ ส่งผลกระทบต่อกลุ่มบุคคล หรือสง่ ผลกระทบต่อองคก์ รก็เป็นได้ จามรกุล เหลา่ เกยี รติกุล
8 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ 1.3. การตดั สนิ ใจระดบั องคก์ ร การตัดสินใจระดับองค์กร (Enterprise Decision) คือ การตัดสินใจในลักษณะที่มุ่งประโยชน์ หรือผลลัพธ์ในการดาเนินงานต่อองค์กรเป็นหลัก โดยอาจมีคณะกรรมการในการตัดสินใจซง่ึ อยู่ในรูปแบบคณะทางาน คณะกรรมการบรหิ าร เป็นต้น 2. การตดั สินใจจาแนกตามลกั ษณะโครงสรา้ งของปัญหา การตัดสินใจตามลักษณะโครงสร้างของปัญหานั้น เป็นการจาแนกลักษณะของการตัดสินใจ โดยคานึงถึงโครงสร้างของปัญหาที่พบเป็นหลัก แบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่การตัดสินใจในปัญ หาแบบมีโครงสร้าง การตัดสินใจใน ปัญ หาแบบไม่มีโครงสร้าง และการตัดสินใจในปัญหาแบบกงึ่ โครงสร้าง 2.1. การตดั สินใจในปัญหาแบบมโี ครงสร้าง การตัดสินใจในปัญหาแบบมีโครงสร้าง เป็นการตัดสินใจแก้ไขปัญหา ที่สามารถวางแผนการแก้ไข กาหนดรูปแบบในการแก้ไขปัญหาได้อย่าง แน่นอน ชัดเจน เนื่องจากลักษณะของปัญหาแบบมีโครงสร้างน้ัน มีปัจจัยประกอบการตัดสินใจ รวมไปถึงทางเลือกท่ีแน่นอน ทาให้การพจิ ารณาแกไ้ ขปญั หามขี ั้นตอนชดั เจน 2.2. การตดั สนิ ใจในปัญหาแบบไม่มโี ครงสร้าง การตัดสินใจในปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง คือ การตัดสินใจแก้ไขปัญหา ในปัญหาท่ีไม่เคยพบมาก่อน จึงทาให้ไม่สามารถวางแผนการแก้ไขปัญหา กาหนดปัจจัย หรือทางเลือกสาหรับการตัดสินใจที่ชัดเจนได้ การตัดสินใจในลักษณะนี้ จึงต้องอาศัยแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยการเทียบเคียงจากปัญหาในลักษณะที่ใกล้เคียงกัน หรือ การแก้ไขปัญหาโดยอาศัยสัญชาตญาณ หรือวจิ ารณญาณ ของผูแ้ ก้ไขปญั หานั้น ๆ เอง 2.3. การตัดสินใจในปัญหาแบบกงึ่ โครงสรา้ ง การตัดสินใจในปัญหาแบบก่ึงโครงสร้าง คือ การตัดสินใจแก้ไขปัญหา ในปัญหาท่ีมีแนวทางการแก้ไขปัญหาท่ีแน่นอนส่วนหนึ่ง และมีลักษณะเฉพาะบางอย่างที่อาจต้องอาศัยประสบการณ์และความชานาญในการตัดสินใจ โดยใช้ดุลยพินิจ หรือ การตัดสินใจโดยอาศัยวิจารณญาณส่วนบุคคลร่วมด้วย จึงจะสามารถแก้ปัญหาได้ ดังน้ันการตัดสินใจเพ่ือแก้ปัญหาแบบกง่ึ โครงสร้างนี้ อาจอาศัยวิธีการแกไ้ ขปัญหาโดยผสมผสานระหวา่ งวิธีการแกไ้ ขปัญหาแบบมีโครงสรา้ งและแบบก่งึ โครงสรา้ ง ในการตัดสินใจเพือ่ แก้ไขปญั หา 3. การตัดสนิ ใจจาแนกตามลักษณะการบรหิ ารงานขององค์กร การตัดสินใจจาแนกตามลักษณะการบริหารงานขององค์กร (Organization Decision)แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ตามระดับการบริหารงานองค์กร ได้แก่ การตัดสินใจในระดับปฏิบัติการ การตดั สนิ ใจในระดับหวั หน้างาน และการตัดสินใจในระดับผูบ้ รหิ าร จามรกุล เหล่าเกยี รตกิ ุล
ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ 9 3.1. การตัดสินใจในระดบั ปฏบิ ตั ิการ การตัดสินใจในระดับปฏิบัติการ เป็นการตัดสินใจแก้ไขปัญหา ในงานประจาวันต่าง ๆ ซึ่งอาจมีลักษณะของปัญหาได้ทั้งปัญหาที่สามารถวางแผนการแก้ไขได้ หรือ ปัญหาท่ีเกิดข้ึนเฉพาะหน้าก็ตาม ตัวอย่างของการตัดสินใจในระดับปฏิบัติการ เช่นการตัดสินใจในการจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์ เขา้ สานักงาน เปน็ ตน้ 3.2. การตดั สินใจในระดบั หวั หนา้ งาน การตัดสินใจในระดับหัวหน้างาน คือ การตัดสินใจแก้ไขปัญหา ในงานของระดับหวั หน้างาน ซ่ึงตอ้ งตัดสินใจแกไ้ ขปญั หา เก่ียวกับการวางแผนในระยะสั้น เช่น ผจู้ ัดการฝา่ ยการตลาดที่ตอ้ งตัดสินใจวางแผนกาหนดแผนการตลาดเพอ่ื เพิ่มยอดขายในรายไตรมาสเปน็ ตน้ 3.3. การตัดสินใจในระดับผ้บู รหิ าร การตัดสินใจในระดับผู้บริหาร คือ การตัดสินใจแก้ไขปัญหา ในงานของผู้บริหารระดับสูงขององค์กร ซ่ึงมักจะเป็นการตัดสินใจในเชิงนโยบาย กลยุทธ์ หรือการวางแผนในระยะยาวโดยผลของการตัดสินใจแกไ้ ขปญั หาในระดับผูบ้ รหิ ารนน้ั จะสง่ ผลกระทบตอ่ องค์กรโดยภาพรวม 4. การตัดสนิ ใจจาแนกตามลักษณะของผลที่ได้จากการตัดสินใจ การตัดสินใจจาแนกตามลักษณะของผลที่ได้จากการตัดสินใจ (Outcome Decision)จัดเป็นการจาแนกประเภทการตัดสินใจแก้ไขปัญหาโดยใหค้ วามสาคัญกับบุคคลท่ีได้รบั ผลกระทบจากการตัดสินใจเป็นหลัก ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ การตัดสินใจท่ีส่งผลกระทบต่อธุรกิจ การตัดสนิ ใจทสี่ ่งผลกระทบต่อบคุ คล และการตัดสินใจทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ผูบ้ ริโภค 4.1. การตดั สนิ ใจทส่ี ่งผลกระทบตอ่ ธรุ กิจ การตัดสินใจที่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจ เป็นการตัดสินใจที่มุ่งให้ความสาคัญต่อผลลัพธ์และผลที่ได้ ที่จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจ จัดเป็นประเภทเดียวกับการตัดสินใจในระดบั องคก์ ร 4.2. การตัดสินใจท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ตวั บุคคล การตัดสินใจท่ีส่งผลกระทบต่อตัวบุคคลน้ี คือ การตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่จัดเป็นประเภทเดียวกันกับการตัดสินใจส่วนบุคคล โดยมีผู้ที่ได้รับผลจากการตัดสินใจเพียงคนเดียวซึ่งอาจกล่าวได้ว่า การตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อตัวบุคคลน้ี มักเป็นการตัดสินใจแก้ไขปญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันของมนุษย์นนั่ เอง 4.3. การตดั สินใจท่สี ่งผลกระทบต่อผูบ้ ริโภค การตัดสินใจที่ส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค คือ การตัดสินใจแก้ไขปัญหาโดยท่ีคานึงถึงผลของการตัดสินใจ ส่งผลกระทบหรือให้ความสาคัญกับผู้บริโภคเป็นหลัก ตัวอย่างของการตัดสินใจประเภทนี้ เช่น การตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้า ดังนั้นอาจส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคในฐานะตัวบุคคลที่ตอ้ งการสนิ ค้า หรือองคก์ รธรุ กจิ ท่ีเลอื กซ้อื สนิ ค้าเพ่ือธุรกิจก็ได้ จามรกลุ เหลา่ เกียรตกิ ุล
10 ตาราระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจสภาพการณใ์ นการตดั สินใจ ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในเร่ืองต่าง ๆ นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ซ่ึงนอกเหนือจากสภาพของปญั หา จานวนผูต้ ดั สินใจ ระดบั การตัดสินใจ หรอื ผลท่ีไดจ้ ากการตัดสนิ ใจแล้ว สภาพการณ์หรือ สถานการณ์ ในการตัดสินใจ ก็ส่งผลต่อการตดั สินใจดว้ ย ซึ่งโดยทั่วไปสภาพการณ์ในการตัดสินใจ(Decision Situations) จาแนกได้เปน็ 3 สภาพการณ์ ไดแ้ ก่ 1. การตัดสนิ ใจภายใตค้ วามแน่นอน การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน (Decision under Certainty Condition) เป็นการตัดสนิ ใจทผ่ี ูท้ าการตัดสนิ ใจ อย่ใู นสถานการณ์ท่ีทราบแน่นอนว่าสภาวการณน์ อกบังคบั ใดจะเกิดขึน้ 2. การตัดสนิ ใจภายใต้ความเสย่ี ง การตัดสินใจภายใต้ความเส่ียง (Decision under Risk Condition) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ทาการตัดสินใจอยู่ในสถานการณ์ท่ีไม่สามารถทราบความแน่นอนว่าสภาวการณ์แบบใดจะเกิดข้ึนบ้างในอนาคต แต่มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจเพียงพอต่อการคาดคะเน โอกาสท่ีสภาวการณ์ต่าง ๆจะเกดิ ข้นึ ได้ 3. การตัดสินใจภายใตค้ วามไมแ่ น่นอน การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน (Decision under Uncertainty Condition)จัดเป็นการตัดสินใจอยู่ในสถานการณ์ ท่ีไม่ทราบด้วยความไม่แน่นอนว่าสภาวการณ์นอกบังคับใดจะเกดิ ข้ึนในอนาคต ไมสามารถคาดการณเหตุการณลวงหนาได เชน นา้ ทวม หรือ แผนดนิ ไหวบทสรุป การตัดสินใจ คือ กระบวนการคัดเลือกแนวทางปฏิบัติจากทางเลือกต่าง ๆ เพ่ือให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้องการ ซึ่งจะเกิดข้ึนได้ในทุก ๆ เวลา กระบวนการตัดสินใจในการแก้ไขปญั หา ขน้ึ อยู่กับลักษณะของปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งสามารถแบ่งลักษณะของปัญหาได้เป็น 3 ประเภท คือ1) ปัญหาแบบมีโครงสร้าง (Structured Problems) คือ ปัญหาท่ีสามารถวางแผน กาหนดรูปแบบในการแก้ไขปัญหาได้อย่าง แน่นอน ชัดเจน 2) ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Problems)คอื ปัญหาทีไ่ ม่เคยพบมากอ่ น โดยมกั จะเปน็ ปญั หาทเ่ี กิดในลกั ษณะเฉพาะหน้า จึงมขี อ้ มูลหรือข่าวสารประกอบการตัดสินใจไม่เพียงพอ การแก้ไขปัญหาในลักษณะนี้จึงต้องอาศัยสัญชาติญาณและประสบการณ์ที่ผ่านมาในอดีต นามาใช้ประกอบการแก้ไขปัญหา และ 3) ปัญหาแบบก่ึงโครงสร้าง(Semi-structured Problems) เป็นปัญหาท่ีมีรูปแบบแน่นอน โดยอาจมีลักษณะเฉพาะบางอย่างหรือบางคร้ังอาจสามารถแก้ปัญหาได้เพียงบางส่วน ท่ีเหลือต้องอาศัยประสบการณ์ และความชานาญในการแก้ไข โดยสามารถนาเทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามาใช้เพ่อื ช่วยสนับสนุน พยากรณ์ผลลัพธ์ในส่วนน้ีได้ การแก้ไขปัญหาแบบก่ึงโครงสร้างน้ี อาจอาศัยวิธีการแก้ไขปัญหาโดยผสมผสานระหว่างวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาแบบมีโครงสร้างและแบบก่ึงโครงสร้าง จามรกุล เหล่าเกียรตกิ ลุ
ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ 11 การตัดสนิ ใจยังสามารถจาแนกได้หลายลักษณะ ได้แก่ จาแนกตามจานวนผตู้ ัดสินใจ แบ่งเป็นการตัดสินใจ การตัดสินใจจาแนกตามลักษณะของปัญหา การตดั สินใจจาแนกตามลักษณะขององค์กรและ การตัดสินใจท่ีจาแนกตามผลที่ได้จากการตัดสินใจ โดยสภาพการณ์ในการตัดสินใจ ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน และการตัดสินใจภายใต้ความเส่ียง จะมสี ว่ นและสง่ ผลกระทบตอ่ การตัดสนิ ใจนน้ั ๆ ดว้ ยคาถามทบทวน1. การตดั สินใจ หมายถึง2. จากกรณตี อ่ ไปน้จี ดั เปน็ ปญั หาในลักษณะใด 2.1 การปลูกข้าวในพ้นื ท่ีเชงิ เขา 2.2 การชาระภาษเี งินได้สว่ นบคุ คล 2.3 การเลอื กโปรโมช่ันโทรศพั ท์เคลือ่ นที่3. ประเภทของการตัดสนิ ใจตามลกั ษณะทผี่ ลกระทบต่อการตัดสนิ ใจ จะสามารถจาแนกอยา่ งงไรบ้าง4. สภาพการณใ์ นการตดั สินใจแบ่งออกไดเ้ ปน็ ก่ีสภาพการณอ์ ะไรบา้ ง5. การไมม่ ีขอ้ มลู ขา่ วสารประกอบการตดั สินใจ จัดเปน็ การตัดสินใจภายใต้สภาพการณ์ใดเอกสารอ้างองิDaniel J. Power. (2002).Decision Support System-Concept and Resources for Managers. Quorum Books, London.Daniel J Power. (2004). Decision Support Systems: Frequently Asked Questions. iUniverse, Inc..EFraim Turban and Jay E. Arunson. (2006). Decision Support System and Intelligent Systems (8th Edition). Prentice Hall.George M. Marakas. (2002). Decision Support Systems. Prentice Hall,Mallach, E. G. (1994). Understanding Decision Support and Expert Systems. Burr Ridge, IL: Richard D. Irwin, Inc.Sprague, R.H. and E.D. Carlson. (1982). Building Effective Decision Support Systems. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.Simon, H.A. (1960). The new science of management decision. Harper & Row, New York.กิตติ ภกั ดวี ัฒนะกุล.(2550) คมั ภรี ร์ ะบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจและระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ. เคทพี ี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์. จามรกลุ เหลา่ เกยี รติกลุ
บทท่ี 2 ความหมายและองคป์ ระกอบของระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS) จัดเป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นเพ่ือใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจในรูปแบบต่าง ๆ โดยต้องมีลักษณะการทางานรวมไปถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง เพ่ือให้สามารถใช้ในการสนับสนุนการตดั สินใจแก้ไขปัญหาในระดบั ตา่ ง ๆ ได้ ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงความหมายและองค์ประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้ันจึงประกอบดว้ ยเนอ้ื หา ซง่ึ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็นหัวข้อดงั ต่อนี้ 1. ความหมายของระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจ 2. ความเป็นมาและวิวฒั นาการของระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ 3. ลกั ษณะ และสถาปัตยกรรมของระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ 4. องค์ประกอบของระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 5. ประเภทของระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ 6. ข้อแตกตา่ งของระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจกับระบบสารสนเทศอืน่ 7. ประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจความหมายของระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ Gerrity (1971) ได้ให้ความหมาย ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจไว้ว่า “คือการผสมผสานอย่างเหมาะสมระหว่างความมีเหตุผลของมนุษย์กับเทคโนโลยีสารสนเทศและชุดคาส่ังท่ีนามาใช้โต้ตอบ เพ่ือแก้ปัญหาท่ีมีความซับซ้อน” ซึ่งความหมายน้ีสามารถอธิบายให้เห็นถึงภาพรวม ซึ่งครอบคลมุ ลักษณะพื้นฐานของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ แต่ยังไม่สามารถใหค้ าอธิบายลกั ษณะของปัญหาทจ่ี ะตอ้ งแกไ้ ขโดยอาศัย DSS เขา้ ช่วย หรือใหภ้ าพท่ชี ัดเจนของ DSS ในภายหลัง Kroenke และ Hatch (1994) ได้ปรับปรุงความหมายของระบบสนับสนุนการตั ด สิ น ใจ ให้ มี ค ว าม ห ม าย คื อ “ ระ บ บ โต้ ต อ บ ฉั บ พ ลั น ท่ี ส นั บ ส นุ น โด ย ค อ ม พิ วเต อ ร์ซ่ึงนามาช่วยอานวยความสะดวกในการตัดสินปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง” ซ่ึงต่อมาในภายหลังได้มีนักวิชาการหลายท่านวิจารณ์ และให้ความเห็นไว้ว่าระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้นสมควรที่จะช่วยผู้บริหารในการตัดสินปัญหาท้ังแบบกึ่งโครงสร้างและไมม่ ีโครงสร้าง ไม่เพียงเฉพาะปัญหาแบบใดแบบหนง่ึ เทา่ นัน้ ขณะเดียวกัน Laudon และ Laudon (1994) ให้คาอธิบายเกี่ยวกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจไว้วา่ ระบบสนับสนุนการตดั สินใจ คอื ระบบคอมพวิ เตอรท์ ่นี ามาใช้ในระดับบรหิ ารของแต่ละองค์การ โดยระบบจะประกอบด้วยข้อมูลและแบบจาลองในการตัดสินใจที่ซับซ้อน เพื่อนามาสนับสนุนการตัดสนิ ปญั หาแบบกึ่งโครงสร้างและไมม่ ีโครงสรา้ ง จามรกลุ เหลา่ เกียรติกุล
14 ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ ดังน้ันสามารถสรุปความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้ว่า คือ ซอฟต์แวร์ หรือระบบสารสนเทศทีส่ ามารถโต้ตอบกับผู้ใชโ้ ดยท่ีระบบนจ้ี ะรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบท่ีซับซ้อนรวมถึงแบบจาลองในการตัดสินใจที่สาคัญ โดยประสานการทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ต้ังแต่เร่ิมต้นถึงส้ินสุดขนั้ ตอน เพ่ือช่วยผู้บริหารในการตัดสินปัญหาและหาคาตอบ จากปัญหาท้ังแบบกึ่งโครงสร้าง และไม่มีโครงสรา้ ง ได้อยา่ งงา่ ย สะดวก รวดเร็ว โดยมีหลักการสาคัญของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ คือ การทาหน้าท่ีเป็นเคร่ืองมือสนับสนนุ ทจี่ าเปน็ แก่ผู้บรหิ าร ถูกออกแบบเพ่อื เพิ่มประสิทธภิ าพในการทางานในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ท่ีมีรูปแบบท่ีซับซ้อน ซึ่งไม่เพียงแต่การตอบสนองในเร่ืองความต้องการของข้อมูลเท่านั้น แต่มีวิธีการป ฏิ บั ติ ที่ ยื ด ห ยุ่น น อ ก จากน้ี ระบ บ ก ารส นั บ ส นุ น ก ารตั ด สิ น ใจ จะต้ องป ระก อ บ ด้ ว ยชุดเครื่องมือ ข้อมูล ตัวแบบ (Model) และทรัพยากรอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ท่ีผู้ใช้หรือนักวิเคราะห์นามาใชใ้ นการประเมินผลและแก้ไขปัญหาความเปน็ มาและวิวัฒนาการของระบบสนบั สนุนการตัดสินใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้เริ่มขึ้นในช่วง ปี ค.ศ. 1970 โดยมีหลายบริษัทเริ่มท่ีจะพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือท่ีจะช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างท่ีแน่นอนหรือก่ึงโครงสร้างโดยข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซ่ึงระบบสารสนเทศเดิมท่ีใช้ในลักษณะระบ บ การป ระมวลผลรายการ (Transaction processing System) ไม่สามารถกระท าได้นอกจากนั้น ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อลดแรงงาน ต้นทุนที่ต่าลงและยังช่วยในเรื่องการวิเคราะห์การสร้างตัวแบบ (Model) เพื่ออธิบายปัญหาและตัดสินใจปัญหาต่าง ๆ จนกระท่ังปี ค.ศ. 1980ค ว า ม พ ย า ย า ม ใน ก า รใช้ ร ะบ บ ดั งก ล่ า ว นี้ เพ่ื อ ช่ ว ย ใน ก าร ส นั บ ส นุ น ก าร ตั ด สิ น ใจ ได้ แ พ ร่อ อ ก ไปยังกล่มุ และองค์การตา่ ง ๆ อย่างแพร่หลายจวบจนปัจจุบัน 1. ความเปน็ มาของระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ จากการศึกษาความเป็นมาของระบบสนับสนุนการตัดสินใจพบว่า ในปี ค.ศ. 1978Kean ได้มีการศึกษา และได้กล่าวถึง 2 แนวทางสาคัญของการสนับสนุนการตัดสินใจเกิดขึ้นจากแนวทางแรก เป็นการศึกษาหลักการทฤษฏีของการตัดสินใจในองค์กร โดยสถาบันเทคโนโลยีคาร์เนกี (Carnegie Institute of Technology) เมื่อปลายปี ค.ศ. 1950 และ แนวทางที่สองเป็นการศึกษาและพฒั นาระบบคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือรองรบั การทางานในเชิงเทคนิค โดยสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซต ในปี ค.ศ. 1960 ซึ่งทั้ง 2 แนวทางดังกล่าวเป็นเหตุให้เกิดแนวคิดระบบสนับสนุนการตัดสินใจข้ึนในปี ค.ศ. 1970 นั่นเอง และแนวคิดดังกล่าวได้รับการยอมรับและถูกต่อยอดและพัฒนาเรื่อยมา จนกระท่ังช่วงกลางปี ค.ศ. 1980 แนวคิดระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ถูกนามาใช้ในการพัฒนาเป็นระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information System: EIS)ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (group decision support Systems :GDSS) และ ระบบ จามรกลุ เหล่าเกียรตกิ ุล
ตาราระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 15สนับสนุนการตัดสินใจในระดับองค์กร organizational decision support Systems : ODSS) โดยพัฒนาข้ึนท้ังในรูปแบบการใช้งานแบบผู้ใช้งานเดี่ยว (Single user) และการใช้แบบจาลองในการพัฒนาระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ (Model-oriented) 2. ววิ ฒั นาการของระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ เริ่มต้ังแต่ปี ค.ศ. 1970 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกาเนิดข้ึนภายใต้คานิยาม“ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีช่วยในการตัดสินใจ” และในปีเดียวกันได้มีการปรับเปล่ียนนิยามของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยมุ่งให้ความสาคัญไปท่ี “ระบบท่ีมีการทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์เพ่อื ช่วยทาใหผ้ ู้ตัดสนิ ใจสามารถนาข้อมูล และแบบจาลองต่าง ๆ มาใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื การแก้ไขปัญหาท่ไี ม่มีโครงสร้าง” ในปี ค.ศ. 1980 ได้มีการเพิ่มเติมนิยามของระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ครอบคลุมมากยิ่งข้ึน โดยเพิ่มข้อความ “โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีการปรับปรุงประสิทธิภาพของกิจกรรมการบริหารจัดการอย่างมืออาชีพ\" และในช่วงปลายปีเดียวกัน ระบบสนับสนุนการตัดสินใจตอ้ งเผชิญหน้ากบั ความทา้ ทายครงั้ ใหม่ทาใหต้ ้องมกี ารปรบั ปรุงความสามารถใหส้ ามารถทางานร่วมกับเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรเ์ วริ ก์ สเตชนั รุ่นใหมไ่ ด้ (Sol, 1987) “ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบท่ีถูกเชื่อมโยงกันระหว่างทรัพยากรสมองของมนุษย์ให้ทางานร่วมกับความสามารถของคอมพิวเตอร์ เพ่ือต้องการปรับปรุงคุณภาพของการตัดสินใจให้ดีท่ีสุด คือต้องใช้คอมพิวเตอร์คอยช่วยเหลือ และให้การสนับสนุนเพื่อให้บุคคล ผู้ทาหน้าท่ีตัดสินใจสามารถจัดการกบั ปัญหากง่ึ โครงสร้าง (Semi-structured) ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ” ค.ศ. 1987 บริษัท เท็กซัส อนิ สทรเู มนต์ ได้พฒั นาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อชว่ ยในการลดการล่าช้าของเที่ยวบิน และช่วยในการบริหารจัดการในส่วนงานภาคพื้นดินในสนามบินหลายแห่งให้กับสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ โดยใช้ช่ือว่า Gate Assignment Display System (GADS)(Turban, et al, 2008) ในปี ค.ศ. 1990 คลังข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบออนไลน์ ถูกนามาใช้เป็นส่วนหน่ึงของระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ ในขณะที่แนวโน้มของเทคโนโลยีในขณะนั้นเป็นชว่ งของการเข้าสโู่ ลกแห่งเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ดังน้ันระบบสนับสนุนการตัดสินใจจึงเริ่มพัฒนาขึ้นมาอยู่ในรูปแบบโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ (Web-based analytical applications) หรือที่เรียกว่าระบบสนับสนุนการตัดสินใจบนเว็บ (Web-based DSS) จวบจนกระทงั่ ในปจั จบุ นั จะเห็นได้ว่าการเกิดข้ึนของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ แสดงในเห็นถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาของมนุษย์ และมักจะถูกใช้อยู่ในส่วนการบรหิ ารจัดการในระดับกลาง โดยมตี ัวอย่างในการพัฒนาระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจขึ้นเพื่อประยกุ ต์ใชใ้ นการแก้ไขปัญหาในดา้ นต่าง ๆอย่างมากมาย เช่น ด้านการแพทย์ ตัวอย่างเช่นการพัฒนาโปรแกรมสนับสนุนการตัดสินใจทางการแพทย์ ที่มีชื่อว่า PROMIS ของมหาวิทยาลัย University of Vermont เป็นต้น หรือ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารงานด้านการทหาร ที่ชื่อว่า ZOG/KMS โดย CarnegieMellon เปน็ ตน้ จามรกลุ เหลา่ เกยี รติกลุ
16 ตาราระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจลักษณะ และสถาปัตยกรรมของระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ ลักษณะ และสถาปัตยกรรมของระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น เมื่ออ้างอิงจากมาตรฐาน IEEE 1471-2000 ที่กล่าวถึงข้อกาหนดสถาปัตยกรรมของระบบซอฟต์แวร์น้ัน พบว่าสถาปั ตยกรรมของระบ บ สนั บ สนุ น การตัดสิน ใจ ควรมีองค์ป ระกอ บ ที่ สามารถน าไปใช้ จ ริ งใน ลั ก ษ ณ ะ ที่ ส า ม าร ถ ท าก า ร พั ฒ น าเป็ น โป ร แ ก ร ม ป ร ะ ยุ ก ต์ เพื่ อ ส นั บ ส นุ น ก าร ตั ด สิ น ใจซ่ึงควรจะต้องมีส่วนประกอบท่ีสาคัญ 3 ส่วนได้แก่ ส่วนแรก คือ ส่วนประสานกับผู้ใช้งาน หรือท่ีเรียกว่า อินเตอร์เฟซ (Interface) ส่วนท่ีสอง คือ ฐานแบบจาลอง (Model base) และ ส่วนสุดท้ายคือ ฐานข้อมูล (Data base) ซ่ึงทั้ง 3 ส่วนนั้นจะต้องเชื่อมโยงทางานร่วมกันกับผู้ใช้งานภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ตามหลักการและแนวทางในการออกแบบ และพัฒนาระบบสารสนเทศน่ันเอง นอกเหนือจากมาตรฐาน และแนวคิดดังกล่าวแล้ว Sprague และ Carlson (1982)ได้สรา้ งกรอบแนวคิดด้านสถาปัตยกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวขอ้ งกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ซ่ึงครอบคลุมไปถึงการติดต่อสื่อสารระหว่าง การจัดการฐานข้อมูล การจัดการฐานแบบจาลอง โดยได้จาแนกสถาปตั ยกรรมของระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจออกเปน็ 4 แบบด้วยกัน ไดแ้ ก่ 1. สถาปัตยกรรมระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบเครือข่าย (DSS Network) ท่ีมีการติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงกันระหว่างแบบจาลองหลาย ๆ แบบจาลอง ร่วมกันกับส่วนจัดการฐานข้อมูลและฐานข้อมูล โดยมีการเช่ือมต่อระหว่างกันและสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันโดยผ่านส่วนการทางานท่ีเรียกว่าอินเตอร์เฟซของทัง้ แบบจาลอง และฐานข้อมูล ดงั ภาพท่ี 2-1 ภาพท่ี 2-1 สถาปตั ยกรรมระบบสนบั สนุนการตัดสินใจแบบเครอื ขา่ ย (DSS Network) (ท่ีมา: Sprague และ Carlson,1982) จามรกุล เหล่าเกียรติกุล
ตาราระบบสนบั สนุนการตัดสินใจ 17 2. ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก าร ตั ด สิ น ใจ แ บ บ เช่ื อ ม ต่ อ ( DSS Bridge)เป็นสถาปัตยกรรมท่ีมีลักษณะการแก้ปัญหาหลาย ๆ ปัญหาในระบบเดียวกัน ดังนั้นจึงมุ่งให้ความสาคัญกับการเชื่อมต่อของข้อมูลและแบบจาลองท่ีใช้ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ โดยส่วนประกอบที่เรียกว่า Brigde ซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นสะพานท่ีมีอินเตอร์เฟซมาตรฐานเพ่ือติดต่อกับแบบจาลองและขอ้ มูลทจ่ี าเป็นนั่นเอง ดงั แสดงในภาพที่ 2-2 ภาพที่ 2-2 สถาปัตยกรรมระบบสนับสนุนการตดั สินใจแบบเชื่อมต่อ (DSS Bridge) (ท่มี า: Sprague และ Carlson,1982) 3. ส ถ าปั ต ย ก รรม ระบ บ ส นั บ ส นุ น ก ารตั ด สิ น ใจ แ บ บ แ ซ น วิช (DSS Sandwich)เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมท่ีให้ความสาคัญกับลาดับการโต้ตอบกันกับผู้ใช้งาน โดยกาหนดเป็นส่วนประกอบที่เรียกว่า Dialog Component ซึ่งทาหน้าที่เสมือนส่วนประสานกับผู้ใช้งานและมีส่วนแบบจาลองต่าง ๆ ที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา อยู่ตรงกลางเชื่อมต่อกับส่วนฐานข้อมูลท่ีจัดเก็บข้อมลู ที่จาเป็นตอ่ การใช้งาน ดงั แสดงในภาพที่ 2-3ภาพที่ 2-3 สถาปัตยกรรมระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจแบบแซนวิช (DSS Sandwich) (ท่ีมา: Sprague และ Carlson,1982) จามรกุล เหลา่ เกียรติกุล
18 ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 4. ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร ตั ด สิ น ใจ แ บ บ อ า ค า ร (DSS Tower)โดยรวมแล้วสถาปัตยกรรมลักษณะน้ี มีลักษณะคล้ายคลึงกับสถาปัตยกรรมแบบเครือขา่ ย แต่จะมุ่งให้ความสาคัญและแสดงลักษณะองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องในแนวดิ่ง โดยแบ่งลาดับช้ันเป็น 1)องค์ประกอบข้อมูลท่ีถือเป็นรากฐานของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 2) องค์ประกอบท่ีเป็นแบบจาลองในการแก้ไขปัญหา และ 3) องค์ประกอบการโต้ตอบกันกับผู้ใช้งาน ซึ่งถือเป็นส่วนประสานกบั ผูใ้ ชง้ าน ผ่านทางอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ดงั แสดงในภาพที่ 2-4 ภาพท่ี 2-4 สถาปัตยกรรมระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจแบบอาคาร (DSS Tower) (ท่มี า: Sprague และ Carlson,1982) น อ ก จ า ก น้ี รู ป แ บ บ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร ตั ด สิ น ใจ ท่ี ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น แ ล้ วในปจั จุบนั ยังได้มีการนาเอาแนวคิดในการนาสถาปัตยกรรมตามหลกั การของดไี ซน์แพตเทิรน์ (DesignPattern) มาประยุกต์ใช้กับระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้อีกด้วย โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม คอื MVC Pattern ดงั แสดงในภาพท่ี 2-5 จามรกลุ เหลา่ เกียรตกิ ุล
ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ 19 ภาพท่ี 2-5 MVC Pattern สถาปัตยกรรมตามหลกั การของดไี ซนแ์ พตเทิร์น (ท่มี า: http://developer.chrome.com/apps/app_frameworks.html) MVC Pattern เป็นรูปแบบการพัฒนาโปรแกรมที่ได้กาหนดองค์ประกอบออกเป็น3 ส่วนสาคญั อนั ไดแ้ ก่ M คือ Model หมายถึง แบบจาลอง คือส่วนการทางานในการแก้ไขปัญหาต่างๆ V คือ View หมายถึง ส่วนประสานกับผู้ใช้งาน ได้แก่ หน้าจอการทางานต่าง ๆ และ C คือControllers หมายถึง ส่วนควบคุม ทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางประสานการทางานระหว่าง แบบจาลองและส่วนประสานกบั ผู้ใช้งานนนั่ เอง ขณะที่มอี ีกแนวความคิดในมุมมองเรอื่ งของการจัดการ ท่ีให้นิยามและลักษณะสถาปัตยกรรมของระบบสนับสนุนการตัดสินใจครอบคลุมไปถึงเรื่องของการจัดการองค์ความรู้ (KnowledgeManagement) อีกด้วย นั่นคือแนวคิดของ Robert Bonczek, Clyde Holsapple, และ AndrewWhinston เมื่อปี 1981 ท่ีได้อธิบายถึงกรอบทฤษฎีสาหรับการทาความเข้าใจในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับความรู้ในเชิงการออกแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นประเด็นองค์ประกอบท่ีใช้ในการพิจารณา 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านระบบภาษา (Language System: LS) ที่พิจารณ าว่าระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้นมีความสามารถในการสื่อสารเป็นท่ียอมรับ 2) ด้านระบบการนาเสนอ(Presentation System :PS) ข้อมูลทั้งหมดจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะได้รับการนาเสนอ3) ด้านระบบความรู้ (Knowledge System: KS) ท่ีต้องมีส่วนจัดการท่ีรองรับและครอบคลุมค วาม รู้ท่ี ระบ บ ส นั บ ส นุ น ก ารตั ด สิ น ใจค วรมี แ ล ะ 4) ด้ าน ระบ บ ป ระม ว ล ผ ล ปั ญ ห า(Problem-processing System: PPS) ซ่งึ ถือเป็นกลไกหลกั ของซอฟต์แวร์ ในการค้นหาคาตอบ และแกไ้ ขปญั หาใหก้ บั ผู้ใช้งานระบบสนบั สนุนการตัดสินใจ จะเห็นได้ว่าไม่ว่ามาตรฐาน แนวคิดสถาปัตยกรรมของระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะอยู่รูปแบบในลักษณะใดก็ตาม จะมีองค์ประกอบท่ีสาคัญคือ แบบจาลอง (Modeling Components)ซึ่งถือได้ว่าเป็นหัวใจสาคัญของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ นอกจากน้ียังต้องมีส่วนประกอบอื่น ๆทอี่ าจแตกต่างกันไปตามลกั ษณะสถาปตั ยกรรม จามรกลุ เหลา่ เกียรติกุล
20 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสินใจองค์ประกอบของระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ จากมาตรฐานและแนวคิดสถาปัตยกรรมระบบสนับสนุนการตัดสินใจ และจากกรอบทฤษฎีของ Robert Bonczek, Clyde Holsapple, และ Andrew Whinston ทาให้ สามารถจาแนกองค์ประกอบท่จี าเป็นต่อระบบสนบั สนุนการตดั สินใจออกได้เป็น 4 ส่วนสาคญั ไดแ้ ก่ ส่วนจดั การขอ้ มูลประกอบการตดั สนิ ใจ สว่ นจัดการแบบจาลองในการแก้ไขปัญหา ส่วนจัดการองคค์ วามรู้เพอ่ื สนับสนุนการตดั สนิ ใจ และ สว่ นประสานกบั ผูใ้ ชง้ าน ภาพที่ 2-6 สถาปัตยกรรมและองคป์ ระกอบที่จาเปน็ ต่อระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ (ที่มา: EFraim Turban and Jay E. Arunson, 2008) 1. ส่วนจัดการข้อมูลประกอบการตดั สนิ ใจ ส่ วน จัด ก ารข้ อ มู ล ป ระก อ บ ก ารตั ด สิ น ใจ (Data Management) จัด เป็ น ส่ วน งานหรือระบบงานย่อย ที่ทาหน้าท่ีในการจัดเก็บข้อมูลอันเป็นปัจจัยท่ีสาคัญเพื่อประกอบการตัดสินใจโดยควรจะประกอบด้วย ฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล ส่วนสอบถามข้อมูล สารบัญข้อมูลส่วนการดึงข้อมูล และข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร ทั้งน้ีระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจเช่ือมต่อกับฐานข้อมูลอื่น ๆ ขององค์กร หรือ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีด้านข้อมูลอ่ืน ๆ เช่น คลังข้อมูล (Data Warehouse) หรือ การทาเหมืองข้อมูล (Data Mining)เพ่ือดึงหรือคัดกรองข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ในการตัดสินใจมาใช้ในการแก้ปัญหา และค้นหาคาตอบต่อไป จามรกุล เหล่าเกยี รตกิ ลุ
ตาราระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ 21 2. สว่ นจัดการแบบจาลองสาหรับแก้ไขปัญหา ส่วนจัดการแบบจาลองสาหรับแก้ไขปัญหา (Model Management) ถือเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญ เป็นส่วนการทางานของโปรแกรม หรือ ระบบงานหลัก ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจจัดเป็นกลไกหลักในการแก้ไขปัญหา และค้นหาคาตอบ ซึ่งควรจะประกอบด้วย แบบจาลอง(Model Base) ระบบจัดการฐานแบบจาลอง (Model Base Management Systerm : MBMS)ภาษแบบจาลอง (Model Language) สารบัญแบบจาลอง(Model Directory) ส่วนดาเนินการแบบจาลอง(Model Execution) และ ฐานแบบจาลอง(Model Base) ที่ทาหน้าที่ในการจัดเก็บแบบจาลองต่าง ๆ ท่ีมีความสามารถในการวิเคราะห์ เช่น แบบจาลองทางการเงิน ทางคณิตศาสตร์ทางสถิติ หรือแบบจาลองเชิงปริมาณ เป็นต้น โดยมีระบบจัดการฐานแบบจาลอง ซ่ึงเป็นซอฟต์แวร์ในการสร้างและจัดการแบบจาลองรวมถึงอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้สาม ารถเรียกใช้แบบจาลองที่เหมาะสม สว่ นจดั การฐานแบบจาลองสาหรับแก้ไขปัญหา ควรมีหนา้ ทหี่ ลัก ดงั นี้ 1) สรา้ งแบบจาลองของระบบสนับสนนุ การตดั สินใจไดอ้ ย่างง่ายและรวดเรว็ 2) ให้ผู้ตัดสินใจสามารถจัดการหรือใช้แบบจาลองสาหรับการทดลองหรือวิเคราะห์ถึงการเปล่ยี นแปลงตวั แปรดา้ นปัจจัยนาเข้าวา่ จะส่งผลตอ่ ตวั แปรด้านผลผลติ อยา่ งไร (Sensitivity Analysis) 3) สามารถจดั เก็บและจัดการแบบจาลองต่างชนดิ กนั 4) สามารถเข้าถงึ และทางานร่วมกบั แบบจาลองสาเรจ็ รูปอ่ืนได้ 5) สามารถจดั กลุ่มและแสดงสารบัญของแบบจาลอง 6) สามารถติดตามการใชแ้ บบจาลองและข้อมลู 7) สามารถเช่ือมโยงแบบจาลองต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างเหมาะสม โดยผ่านทางฐานข้อมูลจดั การและบารงุ รกั ษาฐานแบบจาลอง 3. สว่ นจัดการองคค์ วามรเู้ พือ่ สนบั สนุนการตดั สนิ ใจ ส่วนจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) น้ี ถือเป็นส่วนประกอบแบบอิสระไม่ขึ้นกับองค์ประกอบอื่น ๆ อาจเรียกได้ว่า เป็นองค์ประกอบสาหรับระบบสนับสนุนการตัดสินใจขั้นสูง ซึ่งทาหน้าที่ในการช่วยให้ข้อมูลหรือความรู้ ให้แก่ผู้ตัดสินใจ โดยข้อมูลความรู้เหล่านั้นจะถูกจัดเตรียมจากการรวบรวมความรู้ที่ได้จากผู้เช่ียวชาญ (Expert) เพื่อเสริมความรู้ให้แก่ผู้ใช้งานระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจนั้น ๆ น อกจากการเส ริมความรู้ให้ กับระบบส นั บส นุ น การตัดสิ น ใจ ด้วย ส่วน จั ดการองค์ความรู้นี้ แ ล้ ว ยั งอ าจ น าค ว าม รู้จ าก ผู้ เช่ี ย วช าญ ไป พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด ให้ ระบ บ มี ค ว าม ส าม ารถเป็นระบบผู้เช่ียวชาญ (Expert System: ES) หรือระบบฐานความรู้อัจฉริยะ (Intelligent System)ได้อีกด้วย จามรกลุ เหลา่ เกียรติกลุ
22 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ 4. ส่วนประสานกบั ผใู้ ช้งาน ส่วนประสานกับผู้ใช้งาน (User Interface Management) เป็นส่วนจัดการโต้ตอบหรืออาจเรียกว่าส่วนจัดการประสานผู้ใช้งาน ท่ีจะทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางประสานระหว่างผู้ใช้กับระบบเพื่อให้การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานผู้ใช้สามารถควบคุมข้อมูลนาเข้าและรูปแบบจาลองรวมอยู่ในการวิเคราะห์ได้ เช่น การใช้เมาส์การใช้ระบบสัมผัสในการติดต่อกับระบบ การแสดงขอ้ มูลในลักษณะหน้าต่าง (Window) การนาเสนอขอ้ มูลในรายละเอียดเจาะลึก (Drill-down) และการนาเสนอข้อมูลด้วยส่ือประสมหรือมัลติมีเดีย เช่นกราฟิก หรอื รูปภาพขอ้ แตกตา่ งของระบบสนบั สนุนการตดั สินใจกบั ระบบสารสนเทศอื่น จากลักษณะ สถาปัตยกรรม องค์ประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ จะเห็นได้ว่ามีลักษณะเฉพาะท่ีแตกต่างกับระบบประมวลผลสารสนเทศอื่น ๆ โดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะมุ่งให้ความสาคัญกับการนาเอาสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ ในการประกอบการตัดสินใจของผู้ตัดสินใจเป็นประเด็นสาคัญ ซ่ึงไม่ใช่ การรวบรวม หรือ การเรียกใช้ข้อมูล ในงานประจาวันเหมือนกบั ลักษณะการใช้งานของระบบสารสนเทศในระดับปฏิบัตกิ ารอย่าง ระบบประมวลผลรายการ(Transaction Processing System: TPS) หรือแม้กระทั่ง ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ(Management Information System: MIS) ก็ตาม ซึ่งอาจจาแนกได้ว่าระบบสนับสนุนการตัดสินใจนน้ั มีความแตกต่างกับระบบสารสนเทศอ่นื ดงั น้ี 1. ความแตกตา่ งกับระบบประมวลผลรายการ ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System: TPS) เปน็ ระบบท่ีรองรับการปฏิบัตงิ านประจาวัน ของผปู้ ฏิบตั ิงานในระดบั ปฏบิ ัติการ หรอื หัวหน้างานระดับตน้ โดยมลี ักษณะสาคัญคือ การประมวลผลท่ีรวดเร็ว ลดค่าใช้จ่าย และ ทาหน้าท่ีรวบรวม บันทึกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูล และประมวลผลข้อมูลท่ีเกิดจากการทาธุรกรรมและการปฏิบัติงานประจาขององค์กรเพื่อนาไปจดั ทาระบบสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับขอ้ มูลน้ัน ๆ ในขณะที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้นมุง่ ใหพ้ ัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาลักษณะก่ึงโครงสร้าง และไม่มโี ครงสร้าง ซึง่ มักจะเป็นปัญหาของผู้จัดการระดับกลางและผู้บริหารระดับสูง หากแต่ระบบประมวลผลรายการน้ันมีความสาคัญในการสนับสนุนการทางานของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยจดั เป็นระบบท่ีนามาซึ่งข้อมูลต้ังต้น อันจะนาไปสู่การนาไปใช้ในการตดั สินใจในเรอ่ื งต่าง ๆ นัน่ เอง 2. ความแตกต่างกบั ระบบสารสนเทศเพือ่ การจดั การ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS) น้ันเป็นระบบที่รองรบั การทางานของผู้บริหารระดบั ตน้ และระดับกลาง ในลกั ษณะของการจดั ทารายงานในรูปแบบที่แตกต่างกัน ซึ่งอาจมีช่ือเรียกว่า ระบบจัดทารายงาน (Reporting system) ซ่ึงมีลักษณะสาคัญ คือความสามารถในการจัดการรายงานในรูปแบบต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้งาน โดย จามรกุล เหลา่ เกียรติกุล
ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 23อาจเป็น รายงานท่ีจัดทาตามระยะเวลาท่ีกาหนด หรือ รายงานสรุป หรือเป็นรายงานท่ีจัดทาตามเงื่อนไขเฉพาะ ในขณะที่ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้นมีกระบวนการและองค์ประกอบในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และให้ผลลัพธ์ในลักษณะที่สนับสนุนการตัดสินใจ โดยอาจเป็นการสร้างทางเลอื ก หรือระบุผลลัพธ์ท่ีดที ่ีสดุ ใหแ้ ก่ผใู้ ช้ มิใชเ่ พียงการสรา้ งรายงานสรปุ ข้อมลู 3. ความแตกต่างกบั ระบบสารสนเทศสาหรบั ผ้บู รหิ าร ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information System: EIS) นั้นเป็นระบบท่ีรองรับการทางานของผู้บริหารระดับสูงเป็นสาคัญ ในลักษณะของการให้ข้อมูลสารสนเทศท่ีช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้ม สาหรับการวางแผนกลยุทธ์ (Strategicplanning ) ของผู้บริหารโดยต้องรองรับการเข้าถึงสารสนเทศในมุมมองรูปแบบต่าง ๆ ตามความต้องการ เพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้ม และทิศทางขององค์กร เพื่อกาหนดเป้าหมายขององค์กร ดังน้ันระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารน้ี จึงจาเป็นต้องมีความยืดหยุ่นและคล่องตัวสูงซึ่งการได้มาซ่ึงข้อมูลสารสนเทศเหล่านั้น จาเป็นต้องมีระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ทาหน้าที่เป็นเคร่ืองมือช่วยในการวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ ที่จะสอดรับกับมุมมองความต้องการของผู้บริหารที่จะใช้งานข้อมูลสารสนเทศเหล่านั้นผ่านระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร ซึ่งทาให้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้นั ถอื เป็นสว่ นหนง่ึ หรอื สว่ นสาคัญของระบบสารสนเทศสาหรับผบู้ ริหารน่ันเองประเภทของระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ สาหรับการจาแนกประเภทของระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้ัน พบว่ามีการจาแนกประเภทไว้หลายลักษณะด้วยกันโดยเมื่อปี 1977 Donovan และ Madnick ได้จาแนกประเภทของระบบสนับสนุนการตัดสินใจออกเป็น แบบหน่วยงาน (Institutional) ที่สนับสนุนการตัดสินใจในงานประจาท่ีเกิดขึ้น และ แบบเฉพาะกิจ (ad-hoc) ท่ีสนับสนุนการตัดสินใจเฉพาะในงานท่ีมีการรอ้ งขอเป็นกรณี ๆ ไป ขณะท่ี Alter (1980) ได้ศึกษาการใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ในองค์กรต่าง ๆ และได้จาแนกประเภทของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ออกตามคุณสมบัติและระดับการใช้งานออกเป็นกลมุ่ ต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1) File Drawer Systems เป็นระบบท่ีมุ่งเน้นการเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการเพื่อประกอบการตัดสินใจ 2) Data Analysis Systems เป็ น ระบ บ ท่ี ส นั บ ส นุ น เคร่ืองมื อ การวิเค ราะห์ ข้อมู ลแบบเฉพาะเจาะจงตามความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน 3) Analysis Information Systems เป็นระบบที่ให้ความสาคัญกับการวิเคราะห์ข้อมูลจากฐานขอ้ มูลโดยอาศยั แบบจาลองในการแก้ไขปัญหาท่ีไมซ่ บั ซ้อน 4) Accounting Models เป็นระบบที่ใช้แบบจาลองทางการเงิน คือ คณิตศาสตร์ และสถิติท่ีเกยี่ วขอ้ ง มาใชใ้ นการแก้ไขปญั หา จามรกุล เหลา่ เกยี รตกิ ุล
24 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ 5) Representational Models เป็นประเภทของระบบสนับสนุนการตัดสินใจท่ีให้ความสาคญั กับการจาลองสถานการณ์ การแสดงผล เพือ่ ใหผ้ ้ใู ชส้ ามารถวิเคราะหป์ ระเมินได้ 6) Optimization Models เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้แนวทางการแก้ไขปัญหาแบบเฉพาะเจาะจงกับปัญหาทีต่ ้องการ 7) Suggestion Models เป็นระบบท่ีมุ่งนาเสนอข้อมูลในลักษณะการให้คาแนะนาที่นาไปสู่การแกไ้ ขปัญหาต่อไป ในปี 1981 Robert Bonczek, Clyde Holsapple, และ Andrew Whinston ได้จาแนกประเภทของระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจออกเป็นกลุม่ ต่าง ๆ ดังน้ี 1) Text-Oriented DSS คือระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่มีรูปแบบลักษณะการทางานควบคุมและใช้งานโดยคาสัง่ รวมถึงมีการแสดงผลแบบง่าย ๆ โดยเป็นลักษณะข้อความ 2) Database-Oriented DSS เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจท่ีมีการใช้งานฐานข้อมูลและการจัดการข้อมูลเพ่ือประกอบการตัดสินใจ มักพบในระบบที่พัฒนาข้ึนเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในปัญหาท่ตี อ้ งอาศัยขอ้ มูลปรมิ าณมาก ๆ มาประกอบการตดั สนิ ใจ 3) Spreadsheet-Oriented DSS เป็นการประยุกต์ใช้โปรแกรมประเภทสเปรตชีต หรือกระดานคานวณ เช่น Microsoft Excel ในการกาหนดสูตรต่าง ๆ ในแตล่ ะเซลล์ที่เกีย่ วข้อง เพื่อช่วยในการคานวณหาคาตอบในเรือ่ งใดเรื่องหนึ่ง โดยสว่ นใหญม่ กั เกย่ี วข้องกับทางการเงิน 4) Solver-Oriented DSS เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจในลักษณะของการมุ่งค้นหาคาตอบ หรือวิธกี ารในการแก้ไขปัญหาทตี่ ้องการ โดยอาศัยส่วนประสานกับผู้ใช้งาน และส่วนแสดงผลในการแสดงคาตอบ หรือวิธีการ เพ่ือให้ผู้ใช้งานสามารถแก้ไขปัญหาได้ เหมาะกับระบบลักษณะให้คาแนะนา วธิ ีการแกป้ ัญหา 5) Rule-Oriented DSS คือระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ท่ีมีกระบวนการทางานในลักษณะของการกาหนดกฎหรือเกณฑม์ าใช้ในการพิจารณาเพ่ือการคน้ หาคาตอบ 6) Compound DSS จัดเป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบผสมผสาน คือผนวกรวมเอาลักษณะที่จาเป็นเขา้ ดว้ ยกัน แม้ว่าระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะถูกจัดจาแนกออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตามจะเห็นได้ว่าระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีลักษณะที่ยึดเอาความต้องการของผู้ใช้งานเป็นสาคัญน่ันคือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะเปล่ียนแปลงเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้โดยปรับตัวตามระบบการทางาน และสถานการณ์ ซ่ึง Alter ยังได้จาแนก DSS ออกตามลักษณะในการพัฒนาระบบของแต่ละระบบออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบให้ความสาคัญกับข้อมูล (Data-Oriented DSS)เป็นระบบท่ีช่วยให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อนามาวิเคราะห์ เช่นข้อมูลจากฐานข้อมูลขององค์การ ข้อมูลท่ีอยู่ในคลังข้อมูล(Data Warehouse) ซึ่งมีข้อมูลเก็บอยู่จานวนมหาศาลซึง่ อาจนาเอาระบบโอแลป (Online Analytical Processing : OLAP) มาใช้วเิ คราะห์ข้อมูล และการทาเหมืองข้อมูล (Data Mining) มาช่วยในการค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลท่ีมีประโยชน์ต่อการตัดสินใจและคาดการณ์ในอนาคต ถือเป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจท่ีให้ จามรกุล เหลา่ เกยี รติกลุ
ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 25ความสาคัญกับเครื่องมือในการจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบทางสถิติ ตลอดจนการจัดข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้ใช้ทาความเข้าใจสารสนเทศ และสามารถตัดสินใจอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบให้ความสาคัญกับแบบจาลอง (Model-Based DSS)เป็ น ระบ บ ที่ ใช้ ก ารจ าล อ งส ถ าน ก ารณ์ (Simulation) แ ล ะรูป แ บ บ ก ารวิเค ราะห์ ต่ างๆซึ่งความสามารถในการวิเคราะห์ของระบบจะข้ึนอยู่กับเครื่องมือซอฟต์แวร์ที่ใช้ อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ที่ให้ความสาคัญกับแบบจาลองการประมวลปัญหา โดยเฉพาะแบ บ จาลองพ้ื นฐาน ทางคณิ ตศาสตร์ (Mathematical Model) และแบ บจาลองการวิจัยข้ันดาเนินงาน (Operation Research Model) ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหา และปรับตัวแปรท่ีเก่ยี วข้อง เพ่อื พจิ ารณาเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสมทีส่ ุดประโยชน์ของระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มักถูกพัฒนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ท่ีสาคัญคือ การช่วยลดภาระหน้าที่ของผู้บริหารในการตัดสินใจด้านตา่ ง ๆ ซงึ่ ถือเป็นการเพม่ิ ประสิทธิภาพในการทางานของบุคคล และยังเป็นเคร่ืองมือช่วยให้การตัดสินใจบริหารงานองค์กร และการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ นั้นเป็นไปอย่างราบร่ืน นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยอานวยความสะดวกในการติดต่อส่ือสาร มีส่วนช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ของบุคลากรในการทางาน และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานและการควบคุมองค์กรในภาพรวมอีกด้วย ดังน้ันอาจจาแนกประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจไดด้ ังนี้ 1. มสี ่วนชว่ ยพัฒนาประสิทธิภาพการทางานสว่ นบคุ คล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานท่ีเก่ียวข้องกับการตัดสินใจซึ่งเป็นงานหลักของผู้บริหาร เน่ืองจากระบบจะช่วยจัดเตรียมสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใช้ประกอบการตัดสนิ ใจ 2. มีสว่ นช่วยในการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการแก้ไขปัญหา โดยช่วยให้ผู้ตัดสินใจสามารถแก้ไขปัญหาได้รวดเร็วและถูกต้องมากยิ่งข้ึนและยังสามารถช่วยตัดสินปัญหากึ่งโครงสร้างและปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยระบบอาจมีการจัดเตรียมสารสนเทศเกี่ยวกับการตัดสินใจของปัญหาในลักษณะเดียวกับในอดีต และผลท่ีได้รับจากการตัดสินใจน้ัน ๆ เพื่อพิจารณาประกอบการตัดสินใจของผู้ใช้ระบบ ซึ่งช่วยให้การตัดสินใจมีความถกู ต้อง รวดเร็ว และนา่ เช่ือถอื มากยง่ิ ข้นึ จามรกลุ เหล่าเกียรติกุล
26 ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 3. ช่วยอานวยความสะดวกในการตดิ ต่อสอ่ื สาร ส า ห รั บ ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร ตั ด สิ น ใจ ที่ มี ก า ร ท า ง า น ใน ลั ก ษ ณ ะ ก ลุ่ มท่ีเรียกว่า “Groupware” จะสามารถสนับสนุนให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจปัญหาท่ีต้องอาศัยการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มผู้บริหารได้โดยการทาการปรึกษา ประชุม และเรียกใช้สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจผ่าน เทคโนโลยี เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งช่วยประหยัดเวลา งบประมาณ และช่วยให้การประชุมติดต่องานระหว่างผู้บริหารด้านต่าง ๆ เป็นไปโดยสะดวก ช่วยให้การตัดสินใจมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ 4. ส่งเสริมการเรยี นรหู้ รอื การฝึกหัด เนื่องจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีกระบวนการทางานคล้ายกระบวนการตัดสินใจของมนุษย์ ดังน้ันเมื่อมีการใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจซ้า ๆ จึงช่วยพัฒนาการเรียนรู้และช่วยฝึกหดั การใชง้ านระบบให้กับผ้ใู ช้ โดยผูใ้ ช้สามารถศึกษากระบวนการให้เหตุผลของระบบสนับสนุนการตดั สินใจผ่านการสอบถามถึงลกั ษณะปญั หา ข้ันตอนการวิเคราะหป์ ัญหา กระบวนการให้ข้อเสนอแนะและกระบวนการให้เหตุผลโดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจท่ีช่วยส่งเริมพัฒนาการเรียนรู้และการฝกึ หดั ของผูใ้ ช้ คอื ระบบผเู้ ช่ียวชาญ 5. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการควบคมุ องคก์ ร เนื่องจากระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีส่วนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจให้กับผู้บริหารทาให้สามารถบริหารและควบคุมองค์กรได้ดีย่ิงขึ้น การบริหารและควบคุมองค์กรเป็นงานที่ต้องอาศัยการตัดสินใจหลาย ๆ ด้าน เช่น การตัดสินใจเก่ียวกับการจัดการสินคา้ คงคลัง การตัดสินใจเก่ียวกบั การปรมิ าณแรงงาน การตดั สนิ ใจด้านการลงทนุ ในสินทรัพยป์ ระเภทตา่ ง ๆ หรือการตัดสินใจอนุมัติสินเช่ือของสถาบันการเงิน เป็นต้น ดังน้ันการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพจะช่วยให้องค์กรสามารถดาเนินการได้อย่างราบร่ืนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กร นอกจากน้ียังช่วยเพ่ิมความพึงพอใจให้กับลูกค้าและพนักงานภายในองค์กร ช่วยในการตัดสินใจเพื่อเพ่ิมผลผลิต ลดต้นทุนการผลิตโดยผลผลิตยังคงมีคุณภาพตรงตามมาตรฐานซึ่งผลที่ได้รับท้ังหมดจะช่วยเพ่ิมโอกาสในการแข่งขันกับองค์กรคู่แข่งท่ีประกอบธุรกิจประเภทเดียวกันและจากประโยชน์ต่าง ๆ ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจท่ีกล่าวมาข้างต้นทาให้เจ้าของธุรกิจและผู้บริหารต่างหันมาให้ความสนใจพัฒนาระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจสาหรบั องคก์ รของตนเพิ่มมากขน้ึ เพอื่ ใหอ้ งคก์ รได้รับประโยชนต์ ามทค่ี าดหวังไว้ จามรกลุ เหลา่ เกียรติกลุ
ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 27บทสรปุ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ คือ ซอฟต์แวร์ หรือระบบสารสนเทศท่ีสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้โดยที่ระบบนี้จะรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบท่ีซับซ้อนรวมถึงแบบจาลองในการตัดสินใจทสี่ าคญั โดยประสานการทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้าดว้ ยกันภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอน เพ่ือช่วยผู้บริหารในการตัดสินปัญหาและหาคาตอบ จากปัญหาท้งั แบบกงึ่ โครงสร้าง และไม่มีโครงสรา้ ง ไดอ้ ยา่ งง่าย สะดวก รวดเร็ว องค์ประกอบหลักของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้แก่ ส่วนจัดการข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ส่วนจัดการแบบจาลองสาหรับแก้ไขปัญหา ส่วนจัดการองค์ความรู้เพื่อสนับสนุนการตัดสนิ ใจ และส่วนประสานกบั ผใู้ ช้งาน ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจมีข้อแตกต่างกับระบบประมวลผลรายการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร อย่างชัดเจน โดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถแบ่งออกได้หลากหลายประเภท ขึ้นอยู่กับวิธีการจาแนก โดยหากจาแนกตามลักษณะในการพัฒนาระบบแล้วแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบให้ความสาคัญกับข้อมูล (Data-Oriented DSS) และ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบให้ความสาคัญกับแบบจาลอง(Model-Based DSS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีส่วนช่วยพัฒนาประสิทธิภาพการทางานส่วนบุคคล ส่งผลดีในการพัฒนาประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหา ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ท้ังยังช่วยอานวยความสะดวกในการตดิ ตอ่ ส่ือสาร ตลอดจนมีส่วนชว่ ยเพม่ิ ประสิทธิภาพการควบคมุ องค์กรอกี ด้วยคาถามทบทวน1. ระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ หมายถงึ2. องค์ประกอบของระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง3. ระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจจาแนกได้เป็นกีป่ ระเภท อะไรบ้าง4. หากจะจาแนกประเภทของระบบการตัดสินใจตามลักษณะที่ผลกระทบต่อการตัดสินใจ จะสามารถจาแนกไดก้ ี่ประเภท อะไรบา้ ง5. ระบบสนบั สนุนการตดั สินใจมีประโยชนอ์ ย่างไร จงอภิปราย จามรกุล เหล่าเกยี รตกิ ุล
28 ตาราระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจเอกสารอา้ งอิงDaniel J. Power. (2002). Decision Support System-Concept and Resources for Managers. Quorum Books, London.Daniel J Power. (2004). Decision Support Systems: Frequently Asked Questions. iUniverse, Inc..EFraim Turban and Jay E. Arunson. (2006). Decision Support System and Intelligent Systems (8th Edition). Prentice Hall.George M. Marakas. (2002). Decision Support Systems. Prentice Hall, 2002IEEE Std 1471-2000. (August 2012). \"IEEE Recommended Practice for Architectural Description of Software-Intensive Systems,\" URL http://standards.ieee.org/reading/ieee/std_public/description/se/1471- 2000_desc.html .Mallach, E. G. (1994). Understanding Decision Support and Expert Systems. Burr Ridge, IL: Richard D. Irwin, Inc.Sprague, R.H. and E.D. Carlson. (1982). Building Effective Decision Support Systems. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.กิตติ ภักดีวัฒนะกุล.(2550) คัมภีร์ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบผู้เชี่ยวชาญ. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ. เคทพี ี คอมพ์ แอนด์ คอนซลั ท.์ชนวัฒน์ ศรีสอา้ น. (2551). ฐานขอ้ มูล คลังข้อมูล และเหมอื งขอ้ มูล.กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รงั สิต.ณัฎภัทรศญา ทับทิมเทศ, (10 พฤษภาคม 2550). ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ. http://www.no- poor.com/dssandos/Chapter9-dss.htm จามรกลุ เหลา่ เกยี รตกิ ุล
บทที่ 3 การพัฒนาระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) มีแนวทาง ข้ันตอนก ร ะ บ ว น ก ารใน ก ารพั ฒ น าระ บ บ ค ล้ าย ค ลึ งกั บ ก ารพั ฒ น า ระ บ บ ส ารส น เท ศ ท่ั ว ไปกล่าวคือบนหลักการพ้ืนฐานของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (Software Development LifeCycle: SDLC) หากแต่ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้ันจะมีแนวทาง ข้ันตอนกระบ วนการที่เห มาะสมและเป็ นท่ี นิ ยมใช้ในการพั ฒ นาระบ บสนับ สนุน การตัดสิน ใจคือ “แนวทางการพัฒ นาจากต้นแบบ (Evolutionary Prototyping Approach)” นอกจากนี้ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจยังต้องคานึงถึง เครื่องมือท่ีใช้ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ รวมถงึ ทีมงานพฒั นาระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจอกี ดว้ ย ดังน้ันเมื่อกล่าวถึงการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้ัน จึงประกอบด้วยเนื้อหาซึง่ สามารถแบง่ ออกได้เป็นหัวขอ้ ดงั ต่อนี้ 1. วงจรและกระบวนการพฒั นาระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ 2. แนวทางการพฒั นาจากตน้ แบบ 3. เครอ่ื งมือสาหรับพฒั นาระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจ 4. ทมี พัฒนาระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ 5. กรณีศึกษาการพฒั นาระบบสนับสนุนการตดั สินใจวงจรและกระบวนการพัฒนาระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ อาจกล่าวได้ว่าเป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศชนิดหนึ่ง ซ่ึงมีคุณลักษณะสาคัญที่ต้องให้ความสาคัญเป็นพิเศษ ดังน้ันสามารถจาแนกเป็นข้ันตอนสาคัญได้ 3 ข้ันตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบและพัฒนาระบบ และการติดตั้งและนาระบบไปใช้ ซึ่งจะวนเวียนเป็นวงจร โดยจะให้ความสาคัญของการออกแบบและพัฒนาระบบเพ่ือให้สอดคล้องตรงกบั ความต้องการของผใู้ ช้งานมากท่ีสุด ซง่ึ ในแต่ละขน้ั ตอนมีรายละเอยี ดดังน้ี 1. การวเิ คราะหร์ ะบบ เป็นข้ันตอนแรกในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดปัญหา ตลอดจนวิเคราะห์หาข้ันตอนท่ีสาคัญในการตัดสินใจแก้ปัญหาน้ันๆ รวมไปถึงข้อมลู และปัจจัยอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง ต่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใจ โ ด ย ผู้ ท่ี จ ะ ใช้ ร ะ บ บ ส ม ค ว ร ที่ จ ะ มี ส่ ว น ร่ ว มในขน้ั ตอนนี้เปน็ อย่างย่งิ เนื่องจากผู้ใชจ้ ะเปน็ ผู้ท่ีรับทราบและเก่ยี วข้องกับปัญหาตา่ งๆ ที่เกดิ ขนึ้ ในการทางานโดยตรง จึงจะสามารถกาหนดและสรุปปัญหาอย่างครอบคลุม จากนั้นจึงจะสามารถศึกษาถึงความเหมาะสมและความพอเพียงของข้อมูลท่ีจะนามาวิเคราะห์ ตลอดจนลักษณะของปัญหาและความเป็นไปไดใ้ นการใช้ระบบสนับสนุนการตดั สินใจ กอ่ นทข่ี ้ามไปยังขั้นตอนตอ่ ไป จามรกุล เหลา่ เกียรติกลุ
30 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ 2. การออกแบบและพฒั นาระบบ สาหรับการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้ันถือเป็นการออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศระบบหน่งึ โดยมีลักษณะการทางานเฉพาะเจาะจงเพ่ือสนองตอบต่อการตัดสนิ ใจในรปู แบบตา่ งๆ ข้นั ตอนการออกแบบและพัฒนาระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ จงึ อยู่บนพน้ื ฐานของการออกแบบแ ล ะ พั ฒ น าซ อ ฟ ต์ แ ว ร์อั น เป็ น ระ บ บ ส ารส น เท ศ ทั่ ว ไป โด ย อ าจ แ บ่ งข้ั น ต อ น ได้ เป็ น2 สว่ นสาคญั คือ การออกแบบระบบ และการพฒั นาระบบ ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ 2.1 การออกแบบระบบในส่วนของขั้นตอนการออกแบบนี้ สามารถกาหนดเป็นขั้นตอนยอ่ ยๆ ไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี 2.1.1การออกแบบลกั ษณะทางกายภาพของระบบ การออกแบบลักษณ ะทางกายภ าพ ของระบบ (Physical System Design)เป็นการออกแบบลักษณะการทางานของระบบ ในลักษณะของการวางแผนการในการออกแบบ(Design Plan) ซ่ึงจะไดผ้ ลลัพธ์ เชน่ การออกแบบผลลพั ธ์ (Output Design) 2.1.2 การออกแบบสถาปตั ยกรรมของระบบ การออกแบบสถาปัตยกรรม (System Architecture Design) เป็นการออกแบบที่จะครอบคลุมไปถึงฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ที่เก่ียวข้องกับการใช้งานและการแสดงผลของระบบดังน้ันส่ิงที่ได้คือโครงสร้างด้านสถาปัตยกรรมเครือข่าย เคร่ืองและอุปกรณ์ โครงสร้างในการประมวลผล (Architecture design) รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศและการสื่อสาร(Infrastructure design) 2.1.3 การออกแบบส่วนส่อื ประสานโต้ตอบ การออกแบบส่วนสื่อประสานโต้ตอบ (Interface Design) เป็นการออกแบบรูปแบบการโตต้ อบ (Interface Design) ทผี่ ้ใู ชจ้ ะใช้ในการส่ือสารกับระบบ 2.1.4 ออกแบบฐานข้อมูลและแฟ้มข้อมูล ออกแบบฐานข้อมูลและแฟ้มข้อมูล (Database and Files Design) ครอบคลุมถึงการกาหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูล (Data Storage Design) และกระบวนการจัดเก็บภายในฐานข้อมูลการเลือกเครื่องมือจัดการข้อมูล เช่นระบบจัดการฐานข้อมูล และเทคนิคในการจัดการข้อมูลท่ีเหมาะสมกบั การนาขอ้ มูลมาประกอบการตัดสินใจ 2.1.5 ออกแบบระบบ ออกแบบระบบ (System Design) เป็นการออกแบบ กระบวนการทางานของโปรแกรม หรือและ ฟังก์ชัน (Function) การทางานของโปรแกรมข้อกาหนดของโปรแกรม(Program Design) และรายละเอยี ดเง่อื นไขตา่ ง ๆ ภายในโปรแกรม จามรกุล เหลา่ เกยี รตกิ ลุ
ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ 31 2.2 การพัฒนาระบบ คือการเขียนโปรแกรม (Construction) ตามรูปแบบลักษณะการทางานที่ได้ออกแบบไว้ ซึ่งนอกจากตัวระบบที่ได้รับการพัฒนาแล้ว จะได้แผนการทดสอบโปรแกรม(Test plan) มาควบคู่กัน เพื่อใช้ในการทดสอบตัวระบบและเอกสารประกอบการใช้งานระบบท่ีได้พั ฒ น า (Documentation) ซ่ึ ง ผู้ พั ฒ น า ร ะ บ บ ค ว ร เ ก็ บ ร า ย ล ะ เอี ย ด แ ล ะ ข้ อ มู ลของระบบไว้ เพื่อนามาใช้อ้างองิ ในอนาคต นอกจากน้ีควรมีการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ เพือ่ นาไปใชป้ รบั ปรุงแก้ไขระบบในอนาคต 3. การติดต้งั และนาระบบไปใช้งาน การติดต้ังและนาระบบไปใช้งาน (System Installation & Implementation) นั้นจะต้องมีแผนการติดต้ังและปรับเปลี่ยนระบบ (Installation and Conversion plan) ซ่ึงเป็นการแผนและวธิ ีการสาหรับรองรับการติดต้ังและเปล่ียนแปลงจากการใช้ระบบงานเก่าไปใช้โปรแกรมของระบบงานใหม่ เพ่ือให้ระบบใหม่สามารถปรับใช้งานกับระบบเดิมได้ ซึ่งมีวิธีการติดต้ังและปรับเปล่ียนระบบจาแนกออกได้ 4 วิธี ไดแ้ ก่ 3.1 การเปล่ียนแปลงระบบแบบโดยตรง (Direct Conversion) คือ การให้เปลี่ยนจากระบบเดิมมาใชร้ ะบบใหมท่ นั ที และยกเลกิ การใชง้ านระบบเดิมไป 3.2 การเปลี่ยนแปลงระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Conversion) คือ การใช้ทั้งระบบเก่าและระบบใหม่ควบคู่กัน เมื่อใดท่ีม่ันใจว่าระบบใหม่นั้นมีเสถียรภาพมากพอ ก็สามารถยกเลิกระบบเดิมได้ 3.3 การเปล่ียนแปลงระบบแบบนาร่อง (Pilot Conversion) คอื การทดลองนาระบบไปใช้กับหน่วยงานหรือโครงการใดโครงการหน่ึงก่อน ถ้าระบบมีเสถียรภาพก็สามารถพัฒนาระบบให้สมบรู ณ์เต็มหรอื แบบ หรอื นาไปใช้กบั ทกุ สว่ นขององคก์ ร 3.4 การเปล่ียนแปลงระบบทีละส่วน (Phase Conversion) คือ การเลือกท่ีจะนาระบบใหม่ไปทดลองใช้กบั แผนกหรือฝา่ ยใดฝ่ายหนง่ึ ก่อน เมื่อใชไ้ ดผ้ ลก็ขยายไปยังสว่ นงานอนื่ ๆ ขององคก์ ร(คล้ายกับเสยี้ วพระจนั ทร์และค่อยทาใหเ้ ป็นพระจนั ทร์เต็มดวง) น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ต้ อ ง จั ด ท าแผนการฝกึ อบรม (Training plan) พนักงานที่จะใชง้ านระบบ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น ถือเป็นระบบสารสนเทศที่มีความพิเศษในตัวเองที่สามารถเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปเร่ือยๆ ตามความต้องการใช้งานของผู้ใช้โดยมีลักษณะท่ีสาคัญคือจะเก่ียวข้องกับปัญหาในลักษณะกึ่งโครงสร้าง หรือปัญหาในลักษณะไม่มีโครงสร้าง ซ่ึงยากต่อการกาหนดรายละเอียดและกาหนดแนวทางการตัดสินใจล่วงหน้า โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการกาหนดคุณสมบัติของระบบและตรรกะของการตัดสินใจดังน้ันผู้ออกแบบควรจะออกแบบให้ระบบ มีความยดื หยุ่นสูงสามารถปรับตัวได้ตามความเหมาะสมและมีความสะดวกต่อผู้ใช้ เป็นประการสาคัญ ดังนั้นการใหค้ วามสาคัญต่อผู้ใชง้ านจึงเปน็ ส่ิงที่ควรกระทาในการพฒั นาระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจ โดยควรใหผ้ ู้ใช้มสี ่วนรว่ มในการพัฒนาระบบจากแรกเร่ิมต้นจนถึงสภาวะปจั จบุ ันและจะพัฒนาตอ่ ไปในอนาคตดังน้ันนักพัฒนาระบบสมควรที่จะเก็บรายละเอียดและข้อมูลของระบบไว้อย่างดีเพ่ือที่จะนามาใช้อ้างอิงในอนาคต นอกจากน้ีการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการทางานของระบบนับเป็นส่ิงสาคัญในการตรวจสอบการทางานของระบบหลังการนาไปใช้งาน โดยท่ีผู้ออกแบบสมควรจะประเมินปญั หาที่เกิดขนึ้ เพอ่ื จาไปใช้ปรับปรงุ แกไ้ ขระบบในอนาคต จามรกลุ เหลา่ เกยี รตกิ ุล
32 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ ด้วยเห ตุน้ี ใน แน วท างการพั ฒ น าระบ บ สนั บ สนุ นการตัดสิน ใจ จึงนิ ยมใช้วิธี“ก า ร พั ฒ น า ก า ร จ า ก ต้ น แ บ บ (Evolutionary Prototyping Approach)” โ ด ย ส ร้ า งต้นแบบ (Prototype) ข้ึนเพ่ือการศึกษาและทดลองใช้งานในขณะเดียวกัน จากน้ันจึงพัฒนาให้ระบบตน้ แบบมีความสมบูรณ์ข้ึน ประการสาคัญการทาตน้ แบบขนึ้ มาทดลองใช้งานทาให้การออกแบบรดั กุมและช่วยลดความผดิ พลาด เม่ือนาระบบไปประยกุ ต์ใชง้ านจรงิแนวทางการพัฒนาจากต้นแบบ แนวทางการพัฒนาจากต้นแบบ (Evolutionary Prototyping Approach) จัดเป็นแนวทางท่ีเหมาะสมกับการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเป็นอย่างยิ่งในปัจจุบัน เหตุเพราะเป็นแนวทางการพัฒนาที่ให้ความสาคัญกับผใู้ ช้งาน โดยมุ่งสร้างต้นแบบของระบบ เพื่อให้ผใู้ ช้งานได้มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาระบบ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบเพื่อให้ได้ระบบที่สามารถทางานได้จริง โดยการพัฒนาระบบจากต้นแบบนั้น จะสามารถแบ่งขั้นตอนการดาเนินการภายหลังจากการศึกษาปญั หาและรวบรวมความต้องการ ตามแนวทางการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศแล้ว ในการสร้างต้นแบบระบบ (Prototyping)โดยวิธีการพัฒนาจากต้นแบบน้ันจะประกอบดว้ ยขั้นตอนดังน้ี ภาพที่ 3-1 ขัน้ ตอนการพัฒนาระบบจากต้นแบบ จามรกลุ เหลา่ เกียรติกลุ
ตาราระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 33 1) การวางแผนการพัฒนาระบบ 2) การวิเคราะห์ลักษณะการทางานของระบบ ซ่ึงจะทาไปควบคู่กับการออกแบบและพัฒนาระบบไปพรอ้ ม ๆ กนั 3) การประเมินระบบโดยผู้ใช้งาน เพื่อให้ผู้ใช้งานได้ทดสอบและประเมินลักษณะการทางานของระบบ ว่าเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานหรือไม่ โดยหากระบบยังไม่เป็นไปตามความต้องการ จะได้มีการวนซ้าในข้นั ตอนที่ 2 และ 3 ตอ่ ไป จากรูปแบบการพัฒนาระบบด้วยวิธีพัฒนาจากต้นแบบในลักษณะนี้ ผู้ใช้งานระบบ (User)หรือ ผู้ตัดสินใจ (Decision maker) สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับปัญหาในการทางานของระบบได้อย่างรวดเร็วทาให้สามารถช่วยลดเวลาในขั้นตอนการพัฒนาได้ เน่ืองจากผู้ใช้งานมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนต้ั ง แ ต่ ก า ร วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ อ อ ก แ บ บ ร ะ บ บ ท า ใ ห้ ไ ม่ เ สี ย เ ว ล า ใ น ก า ร ว น ซ้ าในข้ันตอนการออกแบบและพัฒนาหลายครั้งโดยอาจสรุปเป็นข้อดี และข้อจากัดของวิธีการพัฒนาระบบจากต้นแบบ ได้ดงั น้ี 1. ข้อดขี องการพัฒนาระบบดว้ ยวิธพี ัฒนาจากต้นแบบ 1) วธิ ีการพัฒนาระบบจากต้นแบบน้ีใช้เวลาพัฒนาระบบสั้น ทาให้สามารถลดเวลาในการข้ันตอนพฒั นาระบบลงได้ในระดบั หน่งึ 2) ผู้ใช้ หรือ ผู้ตัดสินใจสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้ในทุกขั้นตอนการพัฒนาระบบซงึ่ ชว่ ยใหล้ ดระยะเวลาในการสื่อสารโตต้ อบระหว่างผ้พู ัฒนาและผใู้ ช้งานลงได้ 3) ผู้พัฒนาระบบ สามารถแก้ไขปรับปรุงระบบ เพื่อให้ตรงกับความต้องการใช้งานของผู้ใช้ระบบได้อย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันผู้ใช้งานระบบ ก็สามารถทาความเข้าใจในระบบที่ได้พัฒนาขนึ้ ไดด้ ยี ง่ิ ขึน้ 4) การพัฒนาระบบในลักษณะต้นแบบน้ี ใช้ค่าใช้จ่ายในการขั้นตอนการพัฒนาระบบไม่สูง (Low cost) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเทียบเคียงกับแนวทางการพัฒ นาระบบในรูปแบบอ่นื ๆ 2. ข้อจากดั ของการพัฒนาระบบด้วยวิธีพฒั นาจากตน้ แบบ 1) การพัฒนาจากต้นแบบน้ี อาจส่งผลให้เกิดความเข้าใจอันคาดเคล่ือนต่อเป้าหมายในการใช้งานระบบสารสนเทศ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสาหรับการนามาใชพ้ ัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจทเี่ ปน็ ส่วนงานย่อยๆ ของระบบสารสนเทศ 2) ผู้พัฒนาระบบอาจขาดความเข้าใจในรายละเอียดข้อมูลและสารสนเทศอื่นๆท่ีจาเป็นต่อการใช้งานระบบที่แท้จริง เน่ืองจากในขั้นตอนการพัฒนาต้นแบบจะมุ่งให้ความสาคัญในข้อมูลสารสนเทศที่จาเป็นต่อการพัฒนาต้นแบบเท่าน้ัน ดังน้ันจะสนใจเฉพาะข่าวสารท่ีจะนามาใช้เท่านนั้ 3) วธิ ีการพฒั นาระบบจากต้นแบบนี้อาจส่งผลเปน็ อุปสรรคต่อการกาหนดแผนและการดาเนินงานในการบารุงรักษาระบบ เน่ืองจากระบบที่พัฒนาข้ึนนั้นมีโอกาสเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลาตามความต้องการของผใู้ ช้งาน จามรกุล เหลา่ เกียรตกิ ุล
34 ตาราระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 4) การพัฒนาระบบจากต้นแบบน้ี จาเป็นต้องให้ความสาคัญกับข้ันตอนการทดสอบระบบ ท่ีต้องมีประสิทธิภาพสูง เน่ืองจากระบบจะมีการพัฒนา และปรับปรุงต้นแบบซ้า ๆอย่ตู ลอดเวลา 5) ด้วยวิธีการน้ีทาให้ผู้ใช้งานมีส่วนร่วมกับการพัฒ นาระบบค่อนข้างสูงจึงจาเป็นต้องมีการเตรียมการและทาความเข้าใจกับผู้ใช้งานระบบ โดยอาจต้องมีการจัดฝึกอบรมผใู้ ช้งานในการใชง้ านต้นแบบระบบท่ีได้พฒั นาหรอื ปรบั ปรุงขน้ึ 6) การพัฒนาต้นแบบ การปรับปรุงต้นแบบ ซ้าๆ จนกว่าจะได้ระบบท่ีสอดคล้องตรงตามความตอ้ งการของผใู้ ช้งานน้นั ส่งผลต่อการควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยโดยรวมในการพัฒนาระบบ ในปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้ผู้ใช้สามารถพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ สามารถพัฒนาระบบได้บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยอาจไม่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญในโปรแกรมภาษาใดภาษาหน่ึง แต่อาจใช้ความเช่ียวชาญในการใช้งานโปรแกรมสาเร็จรูปเช่ น ก า ร ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ชุ ด ค า ส่ั ง บ น โ ป ร แ ก ร ม ส า เร็ จ รู ป ป ร ะ เภ ท SpreadSheet เช่น Excel หรือ Lotus เป็นพ้ืนฐาน ก็สามารถสร้างแบบจาลองการตัดสินใจและปรับเปล่ียนข้อมลู ของตวั แปรแต่ละตัว เพื่อทดสอบและได้ผลลัพธ์ท่ีต้องการได้ เช่น การปรับราคาสินคา้ จะมีผลต่อยอดขายอย่างไร เป็นต้น ซ่ึงผู้ใช้สามารถนาแบบจาลอง สาหรับการตัดสินใจมาทดสอบปฏิบัติในสถานการณ์จาลอง (Simulated Situation) จนกว่าจะสามารถให้ผลลัพธ์ที่พอใจ ซึ่งจะส่งผลต่อรูปแบบและพัฒนาการของระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับการใช้งานทางธุรกิจในปัจจุบันและอนาคตเคร่อื งมือสาหรบั พฒั นาระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ เม่ือกล่าวถึงเคร่ืองมือสาหรับพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้นต้องกล่าวว่าเมื่อระบบสนับสนุนการตัดสินใจจัดเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหน่ึง ดังน้ันเครื่องมือสาหรับการพัฒนาจึงต้องแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ไดแ้ ก่ ฮารด์ แวร์ท่ีใช้และซอฟตแ์ วร์ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ 1. ฮาร์ดแวร์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจัดเป็นซอฟต์แวร์ชนิดหนึ่ง ดังนั้นในการพัฒนาระบบสนับสนุนก า ร ตั ด สิ น ใจ จึ งต้ อ งอ า ศั ย ฮ า ร์ ด แ ว ร์ ท่ี จ า เป็ น ส า ห รั บ ใช้ พั ฒ น า ซ่ึ งป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย1) เค ร่ือ งค อม พิ วเตอ ร์ท่ี มี ป ระสิท ธิภ าพ โด ยอ าจเป็ น เคร่ืองค อม พิ วเตอ ร์ ส่ วน บุ ค ค ลเคร่ืองคอมพิวเตอร์ระดับปฏิบัติการ หรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เป็นต้น ซ่ึงเครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้นจะต้องมีระบบปฏิบัติการท่ีเหมาะสมและรองรับการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ และ2 ) ร ะ บ บ เค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ เค รื อ ข่ า ย ท่ี จ า เป็ น โ ด ย เฉ พ า ะอย่างยิ่งสาหรับการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในบางประเภทโดยการเลือกใช้ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์สาหรับการพัฒนารวมไปถึงการใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น จะต้องมีการสอดคล้องกนั จามรกลุ เหล่าเกยี รติกลุ
ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ 35 สาหรับแนวทางการเลือกฮาร์ดแวร์ท่ีเหมาะสมต่อการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(Hardware Selection) มขี ้อแนะนาดงั นี้ (ณัฎภัทรศญา ทบั ทมิ เทศ, 2550) 1) เคร่ืองคอมพิ วเตอร์ส่วนบุคคล(Personnel Computer: PC)เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสาหรับการพัฒนาและใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจขนาดเล็ก หรือระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจทพ่ี ฒั นาจาก โปรแกรมสาเร็จรูปประเภท Spreadsheet 2) เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับปฏิบั ติการ (Workstations) ที่ทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux ที่มีการควบคุมและใช้งานระบบเครือข่าย (Network of Unix /Linux Workstations) เหมาะสาหรับการพัฒนาและใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจในองค์กรที่มีการใชง้ านเครอื ขา่ ย 3) เคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) เช่นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีทาหน้าท่ีเป็นเว็บแม่ข่าย หรือ เว็บเซิร์ฟเวอร์(Web servers)เหมาะสาหรับการพัฒนาและใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้งานบนเว็บไซต์ (Web site) หรือการพัฒนาในรูปแบบเว็บเพจสาหรับสนับสนุนการตัดสนิ ใจเรือ่ งตา่ งๆ 4) เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ หรือ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Mainframes orSuper Computer) เหมาะสาหรับการพัฒนาและใช้งานระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับองค์กรขนาดใหญ่ท่ีต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลจานวนมหาศาล เช่น ระบบงานของธนาคาร บริษัทหลกั ทรพั ย์ หนว่ ยงานขนาดใหญห่ รือกระทรวงของภาครฐั 2. ซอฟตแ์ วรท์ ี่ใชใ้ นการพฒั นาระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจ ในการพฒั นาระบบสนบั สนนุ การตัดสนิ ใจ ทจ่ี ดั เป็นการพัฒนาซอฟตแ์ วร์ชนดิ หนึ่งนั้น หากจาแนกตามรูปแบบซอฟต์แวร์ที่จัดเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการพัฒนา อาจแบ่งเคร่ืองมือออกได้เป็น3 ระดับ ได้แก่ 1) ภาษาสาหรับพัฒนาโปรแกรม 2) โปรแกรมสาเร็จรูป และ 3) โปรแกรมเฉพาะสาหรบั ระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจโดยทง้ั 3 ระดบั มคี วามเชือ่ มโยงกัน ดังแสดงในภาพที่ 3-2ภาพที่ 3-2 แสดงความสมั พันธ์ของเครื่องมือพฒั นาระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจท้งั 3 ระดับ จามรกุล เหล่าเกยี รติกุล
36 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ 2.1 ภาษาสาหรับพัฒนาโปรแกรม (Programming Languages) จัดเป็นเคร่ืองมือเริ่มต้นสาหรับการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้แก่ ภาษาสาหรับการพัฒนาโปรแกรมประเภทต่าง ๆ เช่น C, Java, Visual Basic, C++ เป็นต้น และรวมไปถึงภาษาสาหรับการพัฒนาโปรแกรมบนเว็บ เช่น ASP, PHP, JSP เป็นต้น โดยผู้พัฒนาจะต้องเลือกใช้ภาษาพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมกับความตอ้ งการของผใู้ ช้งาน อีกทั้งต้องเลือกใช้ฮารด์ แวร์ให้เหมาะสมด้วย นอกจากนี้การใช้ภาษาสาหรับพัฒนาโปรแกรมยังสามารถนาไปใช้พัฒนาโปรแกรมที่เป็นเคร่ืองมือสาหรับพัฒนาระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจอกี ทีหนง่ึ ได้อีกดว้ ย 2.2 โปรแกรมสาเร็จรูป จัดเป็นซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่สามารถนามาประยุกต์ใช้พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ ถือเป็นทางเลือกหน่ึงในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจอย่างง่าย โดยผู้พัฒนาอาจไม่ต้องอาศัยความรู้ในการพัฒนาโปรแกรม ตัวอย่างของโปรแกรมสาเร็จรูปท่ีสามารถนามาประยุกต์ใช้สร้างระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้ คือ โปรแกรมส า เ ร็ จ รู ป ป ร ะ เ ภ ท Spreadsheet เ ช่ น Microsoft Excel, Cognos, Lingo, Lindo,PowerHouse4 GL Quick และ OLAP System เป็นต้น โดยผู้พัฒนาสามารถปรับแต่งรูปแบบการทางาน การออกแบบ และปรบั แตง่ ขอ้ มูลตามความเหมาะสมได้งา่ ย ค่อนข้างมคี วามยืดหยุ่น 2.3 โปรแกรมเฉพาะสาหรับ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Specific DecisionSupport System Application) เป็นโปรแกรมท่ีได้ผู้พัฒนาโปรแกรมพัฒนาขึ้นตามแนวทางกระบวนการพัฒนาระบบ (System Development) โดยใช้ภาษาในการพัฒนาระบบจากภาษาสาหรับพัฒนาโปรแกรม (Programming Languages) นามาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมข้ึนเพ่ือใช้เครื่องมือสาหรับสร้างระบบหรือโปรแกรมสนับสนุนการตัดสินใจ จากนั้นจึงนาเครื่องมือท่ีได้ไปใช้ในการสร้างเป็นโปรแกรมสาหรับสนับสนนุ การตัดสินใจได้ตามความตอ้ งการของผู้ใชง้ านอีกคร้ัง โดยอาจเรยี กโปรแกรมที่ได้จากเครอ่ื งมือนีว้ ่า “Specific DSS” หรอื “Application DSS” โปรแกรมเฉพาะสาหรับพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น อาจหมายรวมถึงซอฟต์แวร์สาหรับการตัดสินใจ (Decision Making Software) ที่ถูกพัฒนาข้ึนเพื่อทาหน้าที่เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจของผู้ใช้งาน โดยมีผู้พัฒนาขึ้นเพ่ือใช้งานอย่างหลากหลาย เช่น 1000 MindsAnalytica Decision Lens เป็นต้น นอกจากท้ัง 3 ประเภทท่ีกล่าวมาแล้ว ยังมีซอฟต์แวร์ประเภทท่ีเรียกว่าเคร่ืองมือพัฒนาแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบเบ็ดเสร็จ(DSS Integrated Tools)ท่ีเป็นเคร่ืองมือที่พัฒนาข้ึนมาเฉพาะสาหรับงานทางดา้ นวเิ คราะห์และสนับสนนุ การตัดสินใจโดยเฉพาะ ในปัจจุบันรูปแบบการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้มีการพัฒ นาไปตามสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยระบบสนับสนุนการตัดสินใจในปัจจุบันมีหลายระบบที่เปน็ ไปในลกั ษณะ Web Application คอื ทางานบน Web นอกจากจะจาแนกซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจออกเป็น ระดับได้ 3 ระดับแล้ว หากจะจาแนกซอฟต์แวร์สาหรับพัฒนาระบบสนับสนุนการสินใจเป็นประเภทต่างๆ(DSS Development Platforms)อาจจาแนกออกไดเ้ ปน็ 6 ประเภท ดงั ต่อไปน้ี จามรกลุ เหล่าเกียรตกิ ลุ
ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ 37 1) ภาษาสาหรับพัฒนาโปรแกรมทั่วไป (General-purpose programming language)คือการใช้ภาษาเขียนโปรแกรมทั่ว ๆ ไป ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เช่นC, Visual Basic, หรือภาษาเขียนโปรแกรมในยุคท่ี 4 ที่เป็นยุคปัจจุบัน เช่นJava, C#เป็นต้นโดยต้องอาศัยความชานาญในการออกแบบกระบวนวิธี (Algorithm) และ การเขียนโปรแกรม 2) เครื่องมือพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ (Integrated Development Tool) เป็นโปรแกรมหรือเคร่ืองมือสาเร็จรูปในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ทาให้การพัฒนาระบบน้ันง่ายโดยไม่ต้องพัฒนาโปรแกรม หรืออาจไม่ต้องใช้ความรู้ในการเขียนโปรแกรม ตัวอย่างของเครื่องมือในลักษณะน้ี เชน่ โปรแกรม Spreadsheet เช่น MS-Excel และ Lotus 1-2-3 รวมท้ังโปรแกรมภาษาเฉพาะทางด้านการเงินหรือโปรแกรมสาเร็จรูปอ่ืนๆ ที่จัดอยู่ในยุคที่ 4 ได้แก่ Cognos และPowerHouse 4 GL-QUICK 3) เคร่ืองมือวิเคราะห์ข้อมูลแบบออนไลน์ (Online Analytical Processing: OLAP)เป็นเครื่องมือสาหรับช่วยวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้งานเครื่องมือชนิดนี้ร่วมกันกับฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Large database) หรือ คลังข้อมูล (Data Warehouse) ถือเป็นเทคนิคการประมวลผลข้อมูลแบบออนไลน์ คือเน้นการแสดงผลแก่ผู้ใช้งานโดยสามารถวิเคราะห์และแสดงผลข้อมูลแบบหลายมิติ(Multi-dimensional Data Analysis) 4) เค รื่องมื อ ส าเร็จ รูป ส าห รับ ส นั บ ส นุ น ก ารตั ด สิน ใจ แก้ ปั ญ ห าเฉ พ าะด้ าน(Domain-Specific Decision Support System Generator) ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ หรือเคร่ืองมือที่ถูกพัฒนาข้ึนมาโดยเฉพาะ สาหรับนามาใช้ในการแก้ไขปัญหา เช่น ปัญหาการวิเคราะห์ด้านการเงินการวเิ คราะหด์ ้านการตลาด หรือดา้ นการผลิต เปน็ ตน้ 5) เครื่องมือช่วยพัฒนาระบบ (Computer-Aided Software Engineering Tools :CASE Tools) เป็นการประยุกต์ใช้เคร่ืองมือช่วยออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ช่วยออกแบบและวิเคราะห์ระบบงานขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อน เพื่อให้งานในส่วนออกแบบและส่วนของการเขียนโปรแกรม (Programming) มีความสอดคลอ้ งกัน 6) การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยเคร่ืองมือผสมผสาน (Integrate SoftwareDevelopment Tools)เป็นการประยุกต์ใช้เครื่องมือสาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆแบบผสมผสาน นามาใชพ้ ฒั นาระบบสนับสนนุ การตดั สินใจรว่ มกัน (ณฎั ภัทรศญา ทบั ทมิ เทศ, 2550) สาหรับแนวทางการเลือกซอฟต์แวร์ท่ีเหมาะสมต่อการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(Decision Support Software Selection) นั้นอาจมีความซับซ้อน และมีปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆที่ควรพิจารณา ท้ังในส่วนของวัตถุประสงค์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ทักษะความเช่ียวชาญของผพู้ ัฒนาซอฟตแ์ วร์ ปัจจยั ด้านงบประมาณ และทักษะความสามารถของผูใ้ ช้งาน เปน็ ตน้ ดังนัน้ อาจจาแนกเปน็ ข้อควรพจิ ารณาในการเลอื กซอฟตแ์ วรเ์ ปน็ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1) การพิจารณาเลือกผู้พัฒนาซอฟตแ์ วร์ หรือ ผู้เขียนโปรแกรม ควรพิจารณาเลือกผู้พัฒนาท่ีมีทักษะความสามารถในการทาความเข้าใจในความต้องการของผู้ใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเข้าใจในผลลพั ธ์ที่ผ้ใู ชง้ านคาดหวงั จากการใช้ระบบสนับสนนุ การตดั สินใจ จามรกลุ เหลา่ เกียรตกิ ุล
38 ตาราระบบสนบั สนนุ การตัดสินใจ 2) ในกรณีการพิจารณาเลือกใช้ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป นั้น อาจพิจารณายากเน่ืองจากแม้ว่าจะมีซอฟต์แวร์สาเร็จรูปอยู่จานวนมากก็ตาม แต่ซอฟต์แวร์ท่ีสามารถนาใช้เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้งานน้ัน อาจต้องพิจารณากันอย่างรอบคอบ 3) ความเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วนั้นอาจสง่ ผลตอ่ การพิจารณาเลอื กใช้ซอฟต์แวรใ์ นการพัฒนา เพือ่ ให้ทันยุคสมัย และใช้งานไดจ้ ริง 4) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาซอฟต์แวร์ เป็นอีกปัจจัยสาคัญท่ีควรพิจารณาเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงด้านราคา (Price Changes) อาจส่งผลต่อการพิจารณาเลือกใช้ซอฟต์แวร์ในการพัฒนาระบบดว้ ย 5) การมีบุคคลหรือทีมงานท่ีเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกซอฟต์แวร์ในการพัฒ นาระบบสนับสนุนการตัดสินใจหลายคน อาจส่งผลต่อการพิจารณ าเลือก โดยอาจมีความคดิ เห็นขัดแย้งกันในเรือ่ งของการเลอื กซอฟตแ์ วร์ 6) การเลอื กภาษาในการพฒั นาโปรแกรม เป็นอีกประเดน็ ทคี่ วรพิจารณา เนื่องจากอาจประสบปัญหาในด้านความสามารถของภาษาที่ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม (Language CapabilityProblem)ท่ีอาจไม่รองรับความต้องการใช้งานของผู้ใช้งาน ซึ่งทาให้ไม่สามารถพัฒนาระบบได้ตามความคาดหวังของผูใ้ ช้ 7) ในบางกรณีที่มีความจาเป็นในการใช้เครื่องมือสาหรับพัฒนาซอฟต์แวร์คนละประเภทนามาใชร้ ่วมกันน้ัน อาจส่งผลต่อการเช่ือมโยงและการพฒั นาระบบในภาพรวมได้ 8) ความต้องการของผู้บริหาร สภาพแวดล้อมของผู้ใช้ ข้อจากัดอื่นๆ ขององค์กรเป็นอีกประเด็นท่ีต้องพิจารณา เพราะจะส่งผลให้มีเง่ือนไขมากมายในการคัดเลือกซอฟต์แวร์สาหรับพฒั นาระบบ 9) ทักษะ และ ความสามารถด้านเทคนิคของผู้ใช้งาน เป็นอีกปัจจัยสาคัญท่ีส่งผลต่อการพัฒนาระบบให้ตรงตามความต้องการ อีกทั้งยังนาไปสู่ความสาเร็จหรือความล้มเหลวการนาระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจไปใช้งานไดจ้ รงิ ได้อกี ดว้ ย 10) การพิจารณาความสามารถที่แท้จริงของซอฟต์แวร์ท่ีเลือกใช้พัฒนาน้ัน เป็นส่งิ สาคญั อีกประการหนึ่ง เพราะการโฆษณาซอฟต์แวร์ท่เี ลอื กใช้ อาจส่งผลให้เลือกซอฟต์แวร์ผิดพลาดได้ซึ่งรวมไปถึงความโอนเอียงไปกับผู้ค้าซอฟต์แวร์ (Software vendor) ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงมากเกินไปอาจทาให้มองข้ามประสิทธิภาพและความเหมาะสมของซอฟตแวร์นั้น ซึ่งอาจทาให้เลือกซอฟต์แวร์ไม่เหมาะสมกบั ประเภทงานของตนเอง ในการพิจารณาพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น ในบางกรณีอาจพิจารณาการเลือกใช้วิธีการจ้างพัฒนา หรือเลือกเช่าใช้งานซอฟต์แวร์เพื่อให้ได้รับสิทธิในการบารุงรักษาซอฟต์แวร์ รวมถึงการปรับปรงุ แก้ไขซอฟตแ์ วรต์ ามความต้องการ จามรกุล เหลา่ เกียรติกุล
ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสินใจ 39ทมี พัฒนาระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจ การพั ฒ น าระบ บ สนั บ สนุ น การตั ดสิน ใจจาเป็ น จะต้องมีที ม งาน ใน การพั ฒ น าโดยอาจใช้แนวทางในการกาหนดทีมในการพัฒนาระบบเป็น 2 แบบ คือ การพัฒนาระบบโดยทีมผู้พัฒนา และการพัฒนาระบบโดยผู้ใช้งาน (ณัฎภัทรศญา ทับทิมเทศ, 2550) ซึ่งแต่ละแบบน้ันมีลักษณะของทีมพัฒนาดังนี้ 1. การพัฒนาระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจโดยทีมผูพ้ ฒั นาระบบ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยทีมผู้พัฒนาระบบ (Team-Developed DecisionSupport System)น้ัน มักจะพบในการพัฒนาระบบงานที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นระบบงานท่ีพัฒนาขึ้นในลักษณะท่ีสนับสนุนการแก้ไขปัญหาต่างๆ ขององค์กร ระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่พัฒนาข้ึนจึงควรมีความยืดหยุ่นในการสนับสนุนปัญหาทั้งในปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและปัญหาแบบไม่มีโครงสร้างได้ โดยลักษณะการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยทีมผู้พัฒนาระบบจะเหมาะกับระบบสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจทม่ี ีลกั ษณะดังต่อไปน้ี 1) เปน็ การพฒั นาระบบท่ีต้องใช้ความพยายามอย่างมาก เนื่องจากเปน็ ระบบขนาดใหญ่ จงึ ตอ้ งมีผ้รู ับผิดชอบและทางานรว่ มกันหลายคน 2) ตอ้ งวางแผนอยา่ งดีให้ครอบคลมุ การแก้ไขปัญหาท้ังองคก์ ร 3) บางกิจกรรมทเี่ กีย่ วข้องกบั การคา้ อาจมเี รอ่ื งของกฎหมายเขา้ มาเกยี่ วข้อง 4) จานวนของกลุ่มของคนท่ีจะพัฒนาและจัดการกับระบบ จะมีจานวนขึ้นอยู่กับขนาดของระบบ (Size) 5) ในการทางานนน้ั อาจตอ้ งใชเ้ คร่ืองมอื (Tools) ช่วยจานวนมากมายทีมงานในการพัฒนาระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจ นี้อาจประกอบดว้ ย 1) ผใู้ ชร้ ะบบ (User) 2) นกั วิเคราะห์ระบบสารสนเทศ (System Analyst :SA) 3) นกั ออกแบบระบบสารสนเทศ (System Design : SD) 4) ผูพ้ ฒั นาซอฟต์แวร์ หรอื ผพู้ ฒั นาโปรแกรม (Developer or Programmer) 5) ผู้เช่ียวชาญ (Expert) หรอื นกั วิเคราะห์ดา้ นสถิติหรือด้านตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง 6) นกั ทดสอบระบบ (Tester) 7) เจา้ หนา้ ทด่ี า้ นเทคนคิ (Technician) หรือวิศวกรระบบ (System Engineer :SE) 8) ผูจ้ ดั การโครงการ (Project Manager) การเลือกพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วยทีมผู้พัฒนาระบบนั้น อาจมีการกาหนดหน้าท่ีอื่น ๆ เพิ่มเติมท้ังนข้ี ึ้นอยกู่ บั ขนาดของโครงการ และลักษณะของทีมทพี่ ฒั นา จามรกลุ เหล่าเกยี รตกิ ลุ
40 ตาราระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจ 2. การพัฒนาระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจโดยผู้ใช้ ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยผู้ใช้(End-User-Developed Systems)น้ันส่วนใหญ่จะเป็นการพัฒนาระบบที่มีขนาดเล็กและทางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือท่ีเรียกวา่ Personal computersหรือ PC โดยต้องสามารถเช่ือมต่อเครือข่าย (networks) รวมถึงเช่ือมการส่ือสารหรือการทางานร่วมกันระหว่างเครื่อง PC เข้ากับเครื่องแม่ข่าย หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ได้สาหรับซอฟต์แวร์ หรือโปรแกรมที่พัฒนาข้ึนมาใช้งานด้วยวิธีการพัฒนาโดยผู้ใช้น้ีมีลักษณะสาคัญคือ มีความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน (Friendly development software)เนื่องจากผู้ใช้งานเป็นผู้พัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้งานเอง ประหยัดต้นทุนในเรื่องของซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ท่ีนามาใช้ในการพัฒนา อีกท้ังยังเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพให้กับเครื่อง PC ให้สามารถใช้งานได้อย่างหลากหลายกับคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร โดยไม่จากัดเข้าถึงข้อมูลและสามารถสร้างแบบจาลองข้อมูลได้ง่าย และโดยส่วนใหญ่จะถูกพัฒนาข้ึนเพ่ือใช้งานในลักษณะสถาปัตยกรรมลูกข่าย/แม่ขา่ ย (Client/Server) (ณฎั ภัทรศญา ทับทมิ เทศ, 2550) ปัจจุบันการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยผู้ใช้งานนั้น สามารถพัฒนาโดยใช้เครอื่ งมือหลากหลาย เช่น โปรแกรมสาเรจ็ รปู อยา่ ง Microsoft Excel, หรอื OLAP เปน็ ตน้ 2.1. ขอ้ ดีของการพัฒนาระบบโดยผใู้ ช้ (User-Developed DSS Advantages) 1) สามารถส่งมอบระบบได้ในเวลาอันรวดเร็ว (Short delivery time) 2) ไม่จาเป็นต้องกาหนดความต้องการของระบบอย่างตายตัว ทาให้ระบบมีความยืดหยุ่น ผู้ใช้สามารถปรับและเปลี่ยนแปลงระบบได้ตามความต้องการ (Eliminate extensive andformal user requirements specifications) 3) ช่วยลดปัญหาในการนาเอาระบบสนับสนุนการตัดสินใจไปใช้งาน เพราะผู้ใช้จะไมต่ ่อตา้ นการใชง้ านระบบอยา่ งแน่นอน (Reduce some DSS implementation problems) 4) ตน้ ทุนตา่ (Low cost) 2.2. ความเสี่ยงของการพัฒนาระบบโดยผูใ้ ช้ (User-Developed DSS Risks) ค ว า ม เสี่ ย งข อ ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ โด ย ผู้ ใช้ นั้ น อ าจ ได้ ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก า ร ตั ด สิ น ใจ ที่ มีประสิทธิภาพต่า (Poor Quality) มีความเสี่ยงสูง (Quality Risks) เม่ือนาระบบไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล และเมื่อนาผลลัพธ์ท่ีได้นั้นไปประกอบการตัดสินใจ หากระบบยังขาดประสิทธิภาพและมาตรฐาน อาจสง่ ผลต่อธรุ กิจขององคก์ ร การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้นน้ั มีความเสย่ี ง 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ความเสี่ยงเก่ียวกับความยืดหยุ่นและการเลือกเครื่องมือท่ีไม่เหมาะสมหรือขาดมาตรฐาน 2) ความเสี่ยงในกระบวนการพัฒนาระบบ เช่น กระบวนการพัฒนาระบบ(System Develop) ไมด่ พี อสง่ ผลตอ่ ผลลพั ธ์ทไี่ ด้ เมือ่ เรานาโปรแกรมมาใช้งานจริง 3) ความเส่ียงในการจัดการข้อมูล ข้อมูลที่นาเข้ามาใช้ในระบบอาจมีความไม่ถูกต้อง ไมเ่ หมาะสม ขาดการปรบั ปรงุ (Update) ใหเ้ ป็นปัจจุบนั จามรกุล เหลา่ เกียรติกุล
ตาราระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 41 นอกจากนี้ยงั มีอาจส่งผลอนื่ ๆ ได้แก่ 1) อาจจะไม่มีระบบรักษาความปลอดภัย (Increased Security Risks) ซึ่งผู้ใช้ท่ีพัฒนาระบบงานอาจยงั ไมค่ นุ้ เคยกับการทาระบบรกั ษาความปลอดภัยข้อมลู และอาจยงั ไมเ่ ปน็ มืออาชพี พอ 2) ปัญหาจากการขาดแคลนเอกสารและคู่มือในการบารุงรักษาระบบ (Problems fromLack of Documentation and Maintenance Procedures) เนื่องจากผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาระบบด้วยตนเอง ดังน้ันจึงเป็นผู้รู้ระบบงานทุกอย่างเป็นอย่างดี จึงมักจะคิดว่าไม่มีความจาเป็นท่ีจะต้องทาค่มู ือ ซึง่ จะกอ่ ให้เกดิ ปัญหาข้นึ กับคนอ่นื ที่มาใชร้ ะบบในภายหลงั อนึ่งในการตัดสนิ ใจพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจน้ัน ข้นึ อยู่กบั ความต้องการขององค์กรดังนั้น อาจต้องพิจารณาในเรื่องต่างๆ อาทิเช่น แผนแม่บทขององค์กรการตัดสินใจของผู้บริหารในระดับต่างๆการตัดสินใจแก้ไขปัญหาต่างๆการทางานของผู้บริหารในระดับต่างๆ กระทั่งลักษณะของงาน หรือ ธุรกิจที่ดาเนินการอยู่ เพ่ือประกอบการตัดสินใจว่าจะพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรบั งานในส่วนใด และเลือกวิธี ตลอดจนเคร่อื งมือสาหรบั การพัฒนาทเี่ หมาะสมต่อไปกรณศี กึ ษาการพฒั นาระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการเลือกบริการพักอาศัย ซ่ึงเป็นการพัฒนาในลักษณะของการสร้างขึ้นเป็นเว็บไซต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนามาใช้ทดแทนการใช้งานเคร่ืองมือแบบเดิมบนโปรแกรมสเปรตชีต (Databeacon Staff, 2004)เพื่อนามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด และปัจจัยท่ีส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกท่ีพักอาศัย นอกจากน้ียังวิเคราะห์และให้ข้อมูลเก่ียวกับบริการท่ีพักอาศัยท่ีพร้อมให้อยู่อาศัย และมีราคาไม่แพง ให้แก่ผู้ใช้บริการอีกด้วย ซึ่งจากกรณีศึกษาของ Databeacon น้ีเป็นการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจโดยใช้ภาษาโปรแกรมสาหรบั พฒั นาเว็บไซต์ ถือได้วา่ เป็นการตอ่ ยอดจากการใชง้ านโปรแกรมสาเรจ็ รูปในการชว่ ยตดั สินใจ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเลือกซ้ือคอมพิวเตอรโนตบุคโดยใชเทคนิคDecisionTree ในการให้คาแนะนาในการเลือกชื้อคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นผลงานของ กิตติโฉมฉาย และมณเฑียรรัตนศิรวิ งศวุฒิคณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือบทสรปุ การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีแนวทางในการพัฒนาอยู่บนหลักการพื้นฐานของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (Software Development Life Cycle: SDLC) สามารถจาแนกเป็นขั้นตอนสาคัญได้ 3 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ระบบ การออกแบบและพัฒนาระบบ และการติดตั้งและนาระบบไปใช้ วิธีการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจท่ีได้รับการยอมรับ และถือเป็นกระบวนการท่ีเหมาะสมและเป็นท่ีนิยมใช้ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจคอื “แนวทางการพฒั นาจากตน้ แบบ (Evolutionary Prototyping Approach)” นอกจากน้ีในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจยังต้องคานึงถึง เครื่องมือที่ใช้ในการพฒั นาระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ รวมถึงทีมงานพัฒนาระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจอีกดว้ ย จามรกุล เหลา่ เกยี รติกลุ
42 ตาราระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจคาถามทบทวน1. แนวทางการพัฒนาระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจใดเป็นท่ีนยิ มมากทส่ี ุด เพราะเหตุใด และแนวทาง ดังกลา่ วมีข้อดขี ้อเสยี อย่างไร2. ยกตัวอยา่ งเครื่องมอื ชว่ ยสร้างระบบสนับสนนุ การตดั สนิ ใจมา 1 ตัวอย่าง3. เครื่องมอื ในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบง่ เป็น 3 ระดับ ถ้าให้นักศึกษาพัฒนาระบบ สนับสนุนการตดั สินใจในการให้สว่ นลดแก่ลกู ค้า จะเลือกใช้เครื่องมือในระดับใด เพราะเหตใุ ด4. ปัจจัยใดบ้างทสี่ ง่ ผลใหก้ ารพฒั นาระบบสนบั สนุนการตดั สนิ ใจใหป้ ระสบผลสาเร็จ5. ข้อดขี องการพัฒนาระบบสนบั สนนุ การตดั สินใจโดยผ้ใู ช้งานระบบเอกสารอา้ งอิงDatabeacon Staff. (2004). East of England Observatory adopts hosted services decision support solution.posted at DSSResources.COM May 14, , Free HTML version. Web-based, data-driven DSS.Daniel J. Power. (2002). Decision Support System-Concept and Resources for Managers. Quorum Books, London.Daniel J Power. (2004). Decision Support Systems: Frequently Asked Questions. iUniverse, Inc..EFraim Turban and Jay E. Arunson. (2006). Decision Support System and Intelligent Systems (8th Edition). Prentice Hall.Mallach, E. G. (1994.) Understanding Decision Support and Expert Systems. Burr Ridge, IL: Richard D. Irwin, Inc.,กิตติ โฉมฉาย และมณเฑียรรัตน ศริ ิวงศวุฒิ. (2550) การพฒั นาระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจเลอื กซื้อ คอมพิวเตอรโนตบุคโดยใชเทคนิค Decision Tree Classification Decision Support System for Selection of Notebook Computer Using Decision Tree Classification. วิทยานิพนธ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาพระนครเหนอื .กิตติ ภักดีวัฒนะกุล.(2550) คัมภีร์ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบผู้เช่ียวชาญ. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ. เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซลั ท์.ณฎั ภัทรศญา ทบั ทิมเทศ, (10 พฤษภาคม 2550). ระบบสนับสนนุ การตดั สินใจ. http://www.no- poor.com/dssandos/Chapter9-dss.htm จามรกุล เหลา่ เกียรตกิ ุล
บทที่ 4 การจัดการข้อมลู ประกอบการตดั สินใจ ข้อมูลจัดเป็นปัจจัยสำคัญ ต่อกำรตัดสินใจ ดังนั้น ระบบสนับ สนุน กำรตัดสินใจ(Decision Support System) จึงต้องมีองค์ประกอบที่เรียกว่ำ \"ส่วนจัดกำรข้อมูล\" เพ่ือจัดกำรข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ประกอบกำรตัดสินใจ เพื่อให้สำมำรถใช้ในกำรสนับสนุนกำรตัดสินใจแก้ไขปัญหำในระดับต่ำง ๆ ได้ ซึ่งนอกจำกจะจัดกำรข้อมูลให้เหมำะสมรองรับต่อกำรตัดสินใจแล้ว เทคโนโลยีสำห รับ จัดกำรข้อมูล ใน ปั จจุบั น ยังสำมำรถน ำมำป ระยุกต์ใช้เพื่ อให้ ได้ม ำ ซ่ึงผลลัพ ธ์ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อกำรตัดสนิ ใจได้อกี ด้วย ดังนั้นเมื่อกล่ำวถึง กำรจัดกำรข้อมูลประกอบกำรตัดสินใจ จึงต้องทำควำมเข้ำใจถึงส่วนจัดกำรข้อมูลของระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ ข้อมูลที่ใช้ในกำรตัดสินใจ และเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องสำหรับนำมำใช้ในกำรจัดกำรข้อมูลของระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจ จึงแบ่งเน้ือหำในบทนี้ ออกเปน็ หวั ข้อดงั ตอ่ ไปนี้ 1. องค์ประกอบของสว่ นจัดกำรข้อมูล 2. ขอ้ มลู ประกอบกำรตัดสนิ ใจ 3. เทคโนโลยีสำหรบั จดั กำรขอ้ มูล 4. กำรแสดงผลข้อมูลในระบบสนบั สนนุ กำรตดั สินใจองค์ประกอบของส่วนจดั การขอ้ มูล สำหรับกำรตัดสินใจแล้ว ข้อมลู เปน็ ส่ิงที่จำเป็นอยำ่ งย่ิง ในกำรทำควำมเข้ำใจสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ใ น ก ำ ร ตั ด สิ น ใ จ ดั ง นั้ น ส ำ ห รั บ ก ำ ร พั ฒ น ำ ร ะ บ บ ส นั บ ส นุ น ก ำ ร ตั ด สิ น ใ จนอกจำกจะมีข้อมูลเป็นปัจจัยที่สำคัญสำหรับกำรตัดสินใจแล้ว กำรจัดกำรข้อมูลท่ีมีประสิทธิภำพเป็นอี ก ส่ ว น ที่ ท่ี จ ำเป็ น เพ่ื อ ให้ ได้ ม ำซ่ึ งข้ อ มู ล ที่ ส ำม ำรถ น ำม ำใช้ วิเค รำะ ห์ แ ล ะ ตั ด สิ น ใจในกระบวนกำรของระบบได้ ดังนั้นอำจกล่ำวได้ว่ำ กำรจัดกำรข้อมูลสำหรับระบบสนับสนุนกำรตัดสินใจน้ันจะประกอบด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนสำคัญคือ 1) ข้อมูลประกอบกำรตัดสินใจ และ 2) เทคโนโลยีสำหรับจัดกำรข้อมูล นอกจำกนั้น อำจจำแนกองค์ประกอบของส่วนจัดกำรข้อมูลตำมหน้ำที่ต่ำง ๆ(กติ ติ ภกั ดีวฒั นกุล, 2546) ได้เป็น 5 สว่ น โดยแสดงเป็นภำพองคป์ ระกอบ ดังในภำพท่ี 4-1 จามรกุล เหล่าเกยี รตกิ ลุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198