Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยสังคม ภูมิศาสตร์ ป.5

วิจัยสังคม ภูมิศาสตร์ ป.5

Published by สุรารักษ์ อูปเสาร์, 2020-08-22 03:11:40

Description: วิจัยสังคม ภูมิศาสตร์ ป.5

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรอ่ื ง ภูมลิ กั ษณ์ของภูมิภาคต่างๆ ของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs นางรจนา ปอ้ มแดง ครูโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง โรงเรยี นอนุบาลนอ้ งหญิง อาเภอตระการพชื ผล จังหวดั อุบลราชธานี สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 2

ช่อื งานวจิ ัย : การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภมู ลิ กั ษณข์ อง ภูมภิ าคตา่ งๆ ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ชือ่ ครูผสู้ อน : นางรจนา ป้อมแดง สาขาวิชา : สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ปกี ารศกึ ษา : 2557 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่มีต่อ ความสามารถจาเป็นพ้ืนฐานตามโครงการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพ่ีเล้ียง Coaching and Mentoring โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะดังน้ี 1) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาสังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภูมิลักษณ์ของภูมิภาคต่างๆ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 2) เพ่ือเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง ภูมิลักษณ์ของภูมิภาคต่างๆ ช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ก่อนเรยี นและหลังเรียนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เร่อื ง ภูมิลกั ษณ์ของภูมิภาค ต่างๆ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs 3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่ เรียนโดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนอนุบาลน้องหญิง จานวน 31 คน ได้โดยการกาหนดแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ ภูมิลักษณ์ของภูมิภาคต่างๆ จานวน 5 ช่ัวโมง และ 2) แบบทดสอบเร่ือง ภูมิลักษณ์ของ ภมู ิภาคตา่ งๆ 3) แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs วิเคราะห์ ขอ้ มูลโดยใช้สถิตพิ น้ื ฐานประกอบด้วย คา่ เฉล่ีย ค่าเฉลย่ี ร้อยละ และ t-test ผลการวจิ ัยพบว่า 1. แผนการจัดการเรยี นรูว้ ิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรอ่ื ง ภมู ลิ กั ษณ์ของภมู ิภาคตา่ งๆ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 มมี ีคุณภาพอยใู่ นระดับดีมาก โดยมีค่าเฉลยี่ เท่ากับ 4.56 2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรยี น ทไี่ ดร้ ับการจัดการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs วิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรื่อง ภูมลิ กั ษณ์ของภมู ิภาคต่างๆ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 มีคะแนน เฉลีย่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลงั เรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี น แตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .01 3. ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs มีค่าความพึงพอใจ เท่ากับ 4.457 อย่ใู นระดบั มาก

กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานการศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง ภูมิลักษณ์ของ ภูมิภาคต่างๆ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2557 เลม่ นี้ไดร้ บั ความกรุณาจากนายบารุง แก้วจันดี ผู้จัดการโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง และนาง ธนพรรณ แกว้ จันดี ผ้อู านวยการโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง ท่านทั้งสองได้เมตตา และกรุณาต่อผู้วิจัยเป็นอย่าง ย่ิง นับตั้งแต่ที่ผู้วิจัยเข้ามาสอนในโรงเรียนอนุบาลน้องหญิงแห่งน้ีจนถึงปัจจุบันทาให้ผลงานการศึกษาเล่มน้ี สาเรจ็ ลงด้วยดี ผู้วิจยั รู้สกึ ซาบซึง้ ในความกรุณา จึงขอกราบขอบพระคณุ ทา่ นทั้งสองเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณ นายบารุง แก้วจันดี ผู้จัดการโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง นางธนพรรณ แก้วจันดี ผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง และคุณครูพัชรา ทุมนันท์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริหารงานท่ัวไป โรงเรียนอนุบาลน้องหญิง ที่ท่านให้การสนับสนุนทุนในการทาวิจัยในครั้งน้ี นอกจากนี้ท่านยังคอยให้ความ ชว่ ยเหลอื และให้กาลังใจจนงานประสบความสาเร็จ ขอขอบพระคุณที่ปรึกษาโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง ทั้งสองคือ อาจารย์สมพงษ์ หาคา และอาจารย์ ศศิธร หาคา ซ่ึงกรุณาเป็นผเู้ ชีย่ วชาญในการตรวจสอบเคร่อื งมือในการทาวิจัย และประสิทธิประสาทวิทยาการ ความรู้ให้กับผู้วิจัยทุกส่ิงทุกอย่างท่ีท่านทั้งสองได้ถ่ายทอดความรู้ให้ล้วนเป็นองค์ประกอบสาคัญ ท่ีทาให้ผู้วิจัย ได้ดาเนนิ การศกึ ษาครงั้ นี้สาเร็จได้ และนอกจากความรู้ตา่ งๆ ทีท่ า่ นทั้งสองไดม้ อบไห้แก่ผู้วิจัยแล้ว ความเมตตา กรุณาท่ีท่านทั้งสองได้มอบให้ล้วนเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างมาก ทาให้ผู้วิจัยมีกาลังใจในการทางานให้ประสบ ความสาเรจ็ ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์สมพงษ์ หาคา อาจารย์ศศิธร หาคา คุณครูพัชรา ทุมนันท์ คุณครูสิริวธู วงศโภชย์ คุณครูอุบลวรรณ พลสวัสดิ์ และคุณครูนิกร สาระภาพ ท่ีกรุณาตรวจสอบแผนการ จดั การเรียนรู้ และตรวจสอบเครื่องมือในการศึกษา ขอขอบพระคุณคณะครูและ นักเรียน บุคลลากร โรงเรียน อนุบาลน้องหญงิ ทค่ี อยให้ความช่วยเหลือและให้กาลังใจ ตลอดจนอานวยความสะดวกในการทดลองเคร่ืองมือ ขอขอบใจนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5/1 ทีใ่ ห้ความรว่ มมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเป็นอยา่ งดี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา นายประมวล ทันธิมา และนางจอมศรี ทันธิมา ท่ีได้ให้กาเนิด อุปการะเลี้ยงดูผู้วิจัยมาเป็นอย่างดี และให้การสนับสนุนด้านการศึกษามาโดยตลอดขอขอบคุณคุณสามี นายชรินทร์ ป้อมแดง ที่เป็นกาลังใจ ช่วยเหลือทุกสิ่งทุกอย่าง ขอบคุณพ่ีๆน้องๆเพ่ือนๆทุกๆคน ที่ให้ความ

ช่วยเหลือ คอยเป็นกาลังใจท่ีสาคัญอย่างมากให้กับผู้วิจัย ทุกๆกาลังใจจากท่านเป็นแรงผลักดันให้การศึกษา ครงั้ นส้ี าเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี คุณค่าและประโยชน์อันเกิดจากศึกษาเล่มน้ี ขอมอบเป็นเครื่องบูชาพระคุณ บิดา มารดา ครูอาจารย์ และผูม้ ีพระคณุ ของผูว้ จิ ยั รจนา ป้อมแดง มีนาคม 2558 สารบัญ หน้า เรือ่ ง ก บทคดั ยอ่ ข กิตตกิ รรมประกาศ ค สารบัญ จ สารบัญตาราง จ สารบญั ภาพ 1 1 บทนา 1 2 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา 3 วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 4 ขอบเขตของการศึกษา 5 นิยามศพั ท์เฉพาะ 5 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 6 สาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 14 พุทธศกั ราช 2551 26 แนวคดิ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 32 แนวคิดเกย่ี วกับการพฒั นาความสามารถพน้ื ฐานจาเป็นของผู้เรยี น 32 แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบและการพัฒนารูปแบบ 36 ความพึงพอใจ 3 วิธกี ารดาเนนิ การ

กลุ่มเป้าหมาย 36 เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการศึกษา 36 การสร้างและหาคุณภาพแผนการจดั การเรียนรู้ 37 การสร้างและหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 39 การสร้างและหาคุณภาพแบบประเมินความพงึ พอใจ 40 วธิ กี ารดาเนินการทดลองและการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 40 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถติ ที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 41 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 43 สัญลักษณท์ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 43 ผลการหาคณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ โดยผู้เชย่ี วชาญ 44 ผลการเปรยี บเทยี บความก้าวหนา้ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรยี น 45 ผลการเปรยี บเทยี บความพึงพอใจ 46 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 47 วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 47 ขอบเขตการวิจยั 47 สรปุ ผลการศึกษา 47 อภปิ รายผล 48 ข้อเสนอแนะ 49 บรรณานุกรม 50 ภาคผนวก 51 ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชยี่ วชาญ 52 ภาคผนวก ข แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบ ตัวอย่างผลงานนกั เรยี น ภาพการร่วมกิจกรรม 54 ภาคผนวก ค -การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรยี นกับหลังเรยี น 76 - การวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 86 - ผลการประเมนิ การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ - ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ - ผลการประเมินการเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ 5 ขั้นตอน - ผลการประเมนิ การเข้าร่วมกจิ กรรมราบบุคคล ประวัติยอ่ ผวู้ ิจัย

สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า ตารางท่ี 1 กาหนดการเรียนรู้ วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เร่ืองภูมลิ กั ษณ์ของภมู ภิ าคต่างๆ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs 13 ตารางที่ 2 แสดงขอบเขตการประเมินและตัวชีว้ ัดความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน 31 ตารางที่ 3 ผูเ้ ชีย่ วชาญตรวจพจิ ารณาแผนการจัดการเรยี นรู้ 39 ตารางท่ี 4 ผลการหาประสิทธภิ าพของแผนการจดั การเรียนรู้ โดยผ้เู ชี่ยวชาญ 44 ตารางท่ี 5 แสดงผลการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน 45 ตารางท่ี 6 แสดงความพงึ พอใจของนักเรียน 46 สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 3

ภาพท่ี 2 กรอบแนวคดิ เพ่อื การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 16

บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญของการวิจยั พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้บัญญัติในเรื่องแนวทางการจัดการศึกษาหมวด 4 ตามมาตรา 22 ไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุดในกระบวนการเรียนรู้ ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับ ความสนใจและความถนัดของผู้เรียนคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยวิธีต่าง ๆ ตามสติปัญญาและความสามารถของตนการจัดการศึกษามุ่งเน้นความสาคัญท้ังด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และความรับผิดชอบต่อสังคม เพ่ือพัฒนาคนให้มีความสมดุล โดยยดึ หลกั ผูเ้ รยี นสาคัญทสี่ ดุ ( กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2542 ) การวิจัยเป็นเคร่ืองมือสาคัญประการหนึ่งที่จะช่วยให้การปฏิรูปการเรียนรู้ ประสบความสาเร็จ ดังจะ เห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงเป็นกฎหมายแม่บททางการศึกษาของไทย ได้ให้ ความสาคัญกับการวิจัยและกาหนดมาตรา หลายมาตราที่ช้ีให้เห็นว่าการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ เรียนรู้ กลา่ วคือ มาตรา 24 (5) ระบุให้ใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถใช้การ วจิ ัยเพอ่ื ศกึ ษาคน้ คว้าหาคาตอบหรือแก้ไขปัญหาทเี่ กิดข้ึน การวิจัยจึงสัมพันธ์กับกระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงจะช่วย ฝึก กระบวนการคิด วิเคราะห์ หาเหตุผลในการตอบปัญหา และแก้ไขปัญหา มาตรา 30 ระบุให้ครูผู้สอนทา การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน ผู้สอนนอกจากจัดกระบวนการเรียนการสอนแล้ว ยังใช้ การวิจัยเพื่อศึกษาปัญหาหรือส่ิงที่ต้องการรู้คาตอบ พัฒนาควบคู่กันไปอย่างต่อเนื่อง โดยบูรณาการ กระบวนการจัดการเรียนการสอนและทาการวิจัยให้เป็นกระบวนการเดียวกัน การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ( 2552-2561 ) ได้กาหนดวิสัยทัศน์ให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอด ชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยมีตัวบ่งช้ีและค่าเป้าหมายท่ีเก่ียวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน คือ 1) ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนในรายวิชาหลัก จากการทดสอบระดับชาติมีค่าเฉล่ียคะแนนมากกว่าร้อยละ 50 และ 2) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพ่ิมข้ึนไม่ต่ากว่าค่าเฉล่ียนานาชาติ (ผลการทดสอบ PISA) การท่ีจะพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกับเป้าหมายดังกล่าวได้น้ัน สถานศึกษามีความจาเป็นอย่าง ย่ิงทต่ี ้องพัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้านต่างๆ ของนักเรียน โดยเฉพาะความสามารถพ้ืนฐานจาเป็น 3 ประการซึ่ง ประกอบด้วย 1) ความสามารถด้านภาษา (Literacy) 2) ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) และ 3) ความสามารถดา้ นเหตุผล (Reasoning Ability) โรงเรียนอนุบาลน้องหญิงจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ต้ังแต่ปีการศึกษา 2551 ผลการดาเนินงานพบว่าในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเดิม คือมุ่งให้นักเรียน ทอ่ งจาโดยครูเป็นผู้ชี้แนะ ทาให้นักเรียนขาดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เกิดความเบ่ือหน่ายและมีเจคติที่

ไม่ดตี อ่ วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ทาให้ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี นยงั ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการ พัฒนา กล่าวคือ มีผลการทดสอบระดับชาติ (o-net) รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในปี การศึกษา 2556 มีค่าคะแนนเฉล่ียต่า (  =55.13) ซ่ึงต่ากว่าเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกาหนด (  =60.00) (อนุบาล น้องหญิง, 2556) วิธีการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถพ้ืนฐานจาเป็นในด้านภาษา คานวณ และเหตุผลนั้น ครูผสู้ อนสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย ตามความแตกต่างของบริบทสถานศึกษา ครูผู้สอน ผู้เรียน และเนื้อหาที่ใช้สอน และเพ่ือให้การดาเนินการบรรลุตามเป้าหมาย โรงเรียนอนุบาลน้องหญิงได้ ดาเนินการพัฒนาครูใหส้ ามารถจัดการเรียนรู้ตามแนวการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ผวู้ จิ ยั เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5 และไดเ้ ข้าร่วมในโครงการครั้งนี้ ได้พัฒนาปรับปรุงกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามจุดเน้น ของโครงการ กล่าวคือ เน้นกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ซ่ึง ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 5 กิจกรรม คือ 1) Learning to question 2) Learning to search 3) Learning to construct 4) Learning to communicate และ 5) Learning to serve ซึ่งในระหว่างดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้ีผู้วิจัยได้รับการสอนงาน (coaching) และให้ คาแนะนา (mentoring) จาก ทมี Coaching ของโรงเรียน จากการดาเนินการตามโครงการพัฒนาครูในคร้ังน้ี ทาให้ผู้วิจัยต้องการทราบว่าเม่ือจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนโดยเน้นกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs แล้วจะทาให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้เรื่องภูมิลักษณ์ของภูมิภาคต่างๆ สูงขึ้นหรือไม่ อย่างไร ซึ่ง จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนในการปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล องกับ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย การวิจัยในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ทมี่ ผี ลต่อความสามารถจาเป็นพน้ื ฐานตามโครงการพัฒนาครู โดยใชก้ ระบวนการ สร้างระบบพี่เล้ยี ง Coaching and Mentoring โดยมวี ัตถุประสงคเ์ ฉพาะดังน้ี 1) เพ่ือศึกษาประสทิ ธิภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรอื่ ง ภมู ิลักษณข์ องภมู ภิ าคต่างๆ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภูมิลักษณ์ ของภมู ิภาคตา่ งๆ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภมู ิลักษณ์ของภมู ภิ าคตา่ งๆ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs 3) เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนที่เรียน โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs

ความสาคญั ของการวิจัย การวิจัยคร้ังน้ีทาให้ทราบผลการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ท่ีมีต่อ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภูมิลักษณ์ของภูมิภาคต่างๆ ช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ตลอดจนความสามารถดา้ นภาษา คานวณ และเหตุผล ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน ใน การปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาผู้เรียนให้สอดคล องกับสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 ตอ่ ไป ขอบเขตของการวิจยั 1. กลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนอนุบาลน้องหญิง จานวน 31 คน ได้โดยการกาหนดแบบเจาะจง 2. ตัวจัดกระทา (treatment) ตวั จดั กระทาในการวจิ ัยครัง้ น้ี คือ การจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs 3. ตวั แปรทีศ่ กึ ษา ตัวแปรท่ศี ึกษาในการวิจัยครั้งนีม้ ีดงั นี้ 3.1ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรอ่ื ง ภูมิลกั ษณข์ องภมู ิภาค ตา่ งๆ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 3.2 ความพึงพอใจของนกั เรียนทเี่ รยี น โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs กรอบแนวคิดในการวิจยั การวิจยั ครง้ั น้ีเป็นการศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ซ่ึงผู้วิจัยกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เล้ียง Coaching and Mentoring ตามข้อกาหนดและขอบเขตของงาน (TOR) ที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คือ 1) Learning to question 2) Learning to search 3) Learning to construct 4) Learning to communicate และ 5) Learning to serve และทาการศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในด้าน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ืองภูมิลักษณ์ของภูมิภาคต่ างๆ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs กรอบแนวคดิ การวจิ ยั คร้ังนีน้ าเสนอดังแผนภาพท่ี 1 แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั ตวั จัดกระทา ตวั แปรทศี่ กึ ษา

กิจกรรมการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาสังคม ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรอ่ื ง - Learning to question ภูมลิ ักษณข์ องภูมิภาคตา่ งๆ ช้ัน - Learning to search ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 - Learning to construct - Learning to communicate 2. ความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่ีเรยี นโดย - Learning to serve ใชก้ ระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs สมมติฐานการวิจยั ผู้วิจัยตง้ั สมมุตฐิ านการวจิ ยั หลงั จากจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 STEPs ดังน้ี 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรือ่ ง ภูมิลกั ษณ์ของภมู ภิ าคต่างๆ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5/1 หลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรยี น 2. ความพึงพอใจนักเรยี นทีเ่ รียน โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs อยูใ่ นระดับดีมาก นิยามศัพท์เฉพาะ ในการศึกษาวิจยั เร่อื งนี้ ผู้วจิ ยั ได้นยิ ามศพั ท์เฉพาะไวด้ งั นี้ 1. กระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs หมายถงึ กระบวนการจดั การเรยี นการสอน โดยสอดแทรกกิจกรรม การเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 เขา้ ไปในกระบวนการจัดการเรียนการสอนปกตทิ ่คี รผู ู้สอนดาเนินการ โดยในแต่ละ แผนการจดั การเรียนรู้หนึ่งๆ ประกอบดว้ ยกิจกรรมการเรียนรอู้ ยา่ งนอ้ ย 1 กจิ กรรมใน 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) Learning to question 2) Learning to search 3) Learning to construct 4) Learning to communicate และ 5) Learning to serve ซ่งึ ในแต่ละกิจกรรมมนี ยิ ามดงั น้ี 1.1 Learning to question หมายถึง กระบวนการทีเ่ น้นให้ผูเ้ รียนตง้ั คาถามเพ่ือสรา้ งความรู้สกึ อยากรู้อยากเรยี น เห็นคณุ ค่าความสาคัญและประโยชนข์ องส่ิงทจ่ี ะเรียน 1.2 Learning to search หมายถึง กระบวนการทีเ่ น้นให้ผเู้ รียนได้วางแผนการเรยี นรู้ของตนเอง โดยร่วมกนั กาหนดขอบเขต แนวทาง วิธกี ารเรียนรู้ ประเด็นเนอ้ื หายอ่ ย แนวทางการบนั ทกึ และสรปุ ผลการ

เรียนรู้ จดั ทาเครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเรยี นรู้ และลงมือศึกษาค้นคว้า ศกึ ษารวบรวมข้อมลู ศึกษาปญั หา ทดลอง ตามแผนท่วี างไว้ เป็นการแสวงหาความรแู้ ละค้นพบความรู้ด้วยตนเอง 1.3 Learning to construct หมายถงึ กระบวนการทเ่ี น้นให้ผ้เู รียนนาขอ้ มูลมาร่วมกันวเิ คราะห์ อภิปราย เปรยี บเทยี บเช่ือมโยงความสัมพนั ธ์ ประเมินค่า สรปุ ความคดิ รวบยอด ความสาคญั แนวคดิ แนว ทางการปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจาวนั และสรุปข้นั ตอนกระบวนการเรยี นรู้ รวมถึงความรู้ของตนเอง 1.4 Learning to communicate หมายถงึ กระบวนการที่เน้นให้ผู้เรียนไดน้ าความรู้ ขอ้ ค้นพบ ข้อสรุปที่ได้จากการเรียนร้มู านาเสนอเป็นชน้ิ งานรปู แบบต่างๆ ตามความสนใจ พร้อมท้ังบอกเล่าเรื่องราว เก่ียวกบั ข้ันตอนวธิ ีการเรยี นรู้ และแสดงความรู้สกึ ต่อช้ินงาน 1.5 Learning to serve หมายถงึ กระบวนการทีเ่ น้นใหผ้ ู้เรยี นนาชิ้นงานมาแลกเปลยี่ นเรียนรู้ และประเมนิ ซง่ึ กันและกัน รวมท้ังวางแผนการต่อยอดการเรยี นรู้จากความสนใจ 2. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง ความสามารถด้านต่างๆ ของนักเรยี นตามทรี่ ะบุไว้ในตัวชวี้ ัดท่ี สอดคล้องกบั วิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรื่อง ภมู ิลกั ษณ์ของภูมิภาคต่างๆ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 ซ่ึงวัดได้จากแบบทดสอบ แบบประเมิน 5 ข้นั ตอนการเรียนรู้ แบบประเมนิ การร่วมกจิ กรรมรายบคุ คล แบบ ประเมนิ การร่วมกิจกรรมกลุม่ และแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ทผ่ี ู้วิจัยสรา้ งข้นึ

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง การดาเนนิ การวิจัยการพัฒนาครโู ดยใชก้ ระบวนการสร้างระบบพ่ีเลีย้ ง (Coaching and Mentoring) ของโรงเรียนอนบุ าลน้องหญิง อาเภอตระการพชื ผล จังหวัดอบุ ลราชธานี ในครั้งนี้ ผู้วิจัยศึกษาเอกสารและ งานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้องตามลาดับดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 2.2 หลักสูตร สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2.3 แนวคิดเก่ียวกบั การจดั การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 2.4 แนวคิดเก่ียวกบั การพัฒนาความสามารถพ้นื ฐานจาเป็นของผู้เรียน 2.5 แนวคิดเก่ียวกับรูปแบบและการพัฒนารูปแบบ 2.6 ความพึงพอใจ 2.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธกิ าร (2551:5-29) หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ กล่าวถงึ การจดั การศึกษาของไทยดงั น้ี หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกาลังของ ชาตใิ หเ้ ปน็ มนษุ ยท์ ่ีมีความสมดลุ ท้ังด้านรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลเมอื งโลกยดึ มัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และ ทกั ษะพนื้ ฐาน รวมทั้งเจตคติทจ่ี าเป็นต่อการศึกษา ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสาคญั บนพืน้ ฐานความเชอื่ วา่ ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพือ่ ให้เกดิ กบั ผูเ้ รียนเมอื่ จบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานดังนี้ 1. มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยั และปฏบิ ัตติ นตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มคี วามร้คู วามสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ

3. มสี ุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นิสยั และรักการออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งท่ีดีงามในสังคมและอยู่ ร่วมกันในสังคมอยา่ งมคี วามสุข หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีพุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดงั นี้ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่อื สัตยส์ จุ ริต มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็น ไทย มีจติ สาธารณะ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงกาหนดใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงท่ีผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึง ประสงคเ์ ม่อื จบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 2.2 หลักสตู ร สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2.2.1 ความสาคัญของสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคล และการ อยู่รว่ มกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วย ให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจถึงการพฒั นา เปลย่ี นแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจใน ตนเอง และผู้อ่ืน มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ ในการดาเนินชวี ติ เปน็ พลเมอื งดีของประเทศชาติ และสงั คมโลก กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ท่ีมีความเชื่อม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เปน็ พลเมอื งดี มคี วามรับผดิ ชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่างๆ ไว้ ดังนี้

 ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทต่ี นนับถอื การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ รว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อ สังคมและสว่ นรวม  หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็น พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่ อ ปลูกฝังค่านิยมด้าน ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าท่ี เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน สังคมไทยและสังคมโลก  เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ พอเพยี งไปใช้ในชีวิตประจาวัน  ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก เหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย แหล่งอารยธรรมท่สี าคญั ของโลก  ภูมศิ าสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ ของประเทศไทย และภมู ภิ าคต่างๆ ของโลก การใชแ้ ผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของส่ิง ตา่ งๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กบั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสิ่งทีม่ นุษยส์ ร้างข้ึน การ นาเสนอขอ้ มลู ภมู ิสารสนเทศ การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มเพอื่ การพัฒนาทย่ี ั่งยืน 2.2.2 วสิ ัยทัศน์ 1) กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นศาสตร์บูรณาการท่ีมุ่งให้เยาวชนเป็นผู้มีการศึกษา พรอ้ มทีจ่ ะเปน็ ผู้นา เป็นผมู้ สี ว่ นรว่ ม และเปน็ พลเมืองที่มคี วามรับผดิ ชอบโดย - นาความรจู้ ากอดีตมาสร้างความเข้าใจในมรดกทางวฒั นธรรมของประเทศ เพื่อการตัดสินใจ ในการเป็นพลเมืองดี - นาความรู้เก่ียวกับโลกของเรามาสร้างความเข้าใจในกระบวนการก่อเกิดสภาพแวดล้อม ของมนุษย์ เพือ่ การตัดสินใจในการดารงชวี ิตในสงั คม - นาความเร่อื งของผลติ การแจกจา่ ย และการบริโภคสินค้าและบริการ มาตัดสินใจ ในการ ใช้ทรพั ยากรท่มี ีอยูจ่ ากัดเพอ่ื การดารงชีวติ การประกอบอาชีพ และการอยใู่ นสงั คม

- นาความรู้เก่ียวกับคุณค่าของจริยธรรม ศาสนา มาตัดสินใจในการประพฤติปฏิบัติตนและ การอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่ืน - นาวิธีการทางสังคมศาสตร์มาค้นหาคาตอบเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในสังคมและกาหนด แนวทางประพฤติปฏิบตั ทิ ่สี ร้างสรรค์ตอ่ สว่ นร่วม เยาวชนจาเปน็ ต้องศึกษาสาระการเรยี นกลุ่มสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพอ่ื เขา้ ใจสังคมโลกที่ ซบั ซ้อน สามารถปกครองดแู ลตนเอง รบั ผิดชอบ เอาใจใสต่ ่อสงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม ของโลกได้ ดังนั้นตลอดเวลาของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ควรแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ไดใ้ ช้ความรู้อย่างมีความหมาย เพื่อการตัดสินใจ การสารวจ ตรวจสอบ การสืบค้น การสร้างสรรค์ สง่ิ ต่างๆ และนาทางตนเองและผูอ้ ่ืนเชอื่ มโยงความรูท้ เ่ี รียนรสู้ ู่โลกแห่งความเปน็ จรงิ ในชีวิตได้ 2) ได้บูรณาการสรรพความรู้ กระบวนการและปัจจัยต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ตามเป้าหมายของท้องถ่ิน และประเทศชาติ การเรียนการสอนต้องใช้ข้อมูลความรู้ท้ังในระดับท้องถ่ินประเทศชาติ และระดับโลก เชอื่ มโยงเข้าด้วยกนั 3) ผเู้ รยี นได้อภิปรายประเดน็ ปัญหาร่วมสมยั ร่วมกันเพื่อนและผู้ใหญ่ สามารถแสดงจุดยืนในค่านิยม จริยธรรมของตนเองอยา่ งเปิดเผยและจรงิ ใจ ขณะเดียวกนั ก็รับฟังเหตผุ ลของผู้อืน่ ทีแ่ ตกตา่ งจากตนตั้งใจ 4) การเรียนการสอนเป็นบรรยากาศของการส่งเสริมการคิดขั้นสูงในประเด็นหัวข้อที่ลึกซึ้ง ท้าทาย ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนอย่างมีความหมาย ได้รับการประเมินท่ีเน้นการนาความรู้มาประยุกต์ใช้ ทุกมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีการจัดเตรียมโครงงานที่สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมเป็นจรงิ ของสงั คม ทีใ่ หผ้ เู้ รยี นได้นาสงิ่ ท่เี รยี นไปใช้ไดจ้ รงิ ในการดาเนินชีวติ 2.2.3 หลักการ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มหี ลกั การทส่ี าคัญ ดังน้ี 1) เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เปน็ เป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพน้ื ฐานของความเปน็ ไทยควบคู่กับความเปน็ สากล

2) เปน็ หลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมี คณุ ภาพ 3) เป็นหลักสตู รการศึกษาทส่ี นองการกระจายอานาจ ให้สังคมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4) เป็นหลักสูตรการศึกษาท่มี ีโครงสรา้ งยดื หยนุ่ ทั้งด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัด การเรยี นรู้ 5) เป็นหลักสตู รการศกึ ษาที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ 6) เป็นหลักสตู รการศึกษาสาหรับการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ 2.2.4 จดุ หมาย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มปี ญั ญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพอ่ื ใหเ้ กิดกบั ผเู้ รียน เมื่อจบการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ดงั น้ี 1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2) มคี วามรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชวี ติ 3) มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี มีสขุ นิสยั และรกั การออกกาลังกาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 5) มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะทมี่ ุ่งทาประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ทดี่ งี ามในสงั คม และอย่รู ว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ี ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ รว่ มกันอยา่ งสันตสิ ขุ

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถือ สาระท่ี 2 หนา้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงาม และธารง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลก อย่างสันตสิ ุข มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และธารงรักษาไว้ ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจ หลักการของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการดารงชวี ติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ มาตรฐาน ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความ จาเป็นของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วธิ ีการทางประวัติศาสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณต์ า่ งๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดตี จนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะหผ์ ลกระทบท่เี กิดข้ึน มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเปน็ มาของชาติไทย วฒั นธรรมภมู ิปญั ญาไทย มีความรกั ความภูมิใจ และธารงความเปน็ ไทย สาระท่ี 5 ภมู ิศาสตร์

มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง ซึ่งมีผล ต่อกัน มาตรฐาน ส 5.2 และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วเิ คราะห์ สรปุ และใช้ขอ้ มลู ภูมิสารสนเทศ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เขา้ ใจปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งมนษุ ยก์ บั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีก่อให้เกดิ การ สรา้ งสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานกึ และมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรและ ส่งิ แวดล้อม เพื่อการพฒั นาที่ยง่ั ยืน 2.2.5 คณุ ภาพผ้เู รยี น จบชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3  ได้เรียนรู้เรื่องเก่ียวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชอื่ งโยงประสบการณไ์ ปสูโ่ ลกกว้าง  ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่จาเป็นต่อการพัฒนาให้เป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี มีความ รับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทางานกับผู้อ่ืน มีส่วนร่วมในกิจกรรมของห้องเรียน และได้ฝึกหัดในการ ตดั สินใจ  ได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ- รายจ่ายของครอบครวั เข้าใจถงึ การเปน็ ผู้ผลติ ผูบ้ ริโภค ร้จู กั การออมขั้นตน้ และวธิ ีการเศรษฐกิจพอเพยี ง  ไดร้ ับการพฒั นาแนวคิดพน้ื ฐานเก่ียวกบั ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และภูมิปัญญา เพือ่ เปน็ พ้นื ฐานในการทาความเข้าใจในข้ันทีส่ ูงต่อไป จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6  ได้เรียนรู้เรอ่ื งของจงั หวัด ภาค และประทศของตนเอง ทงั้ เชงิ ประวัตศิ าสตร์ ลักษณะทางกายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมท้งั การเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกจิ โดยเน้นความเปน็ ประเทศไทย  ได้รบั การพฒั นาความรู้และความเข้าใจ ในเร่ืองศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักคา สอนของศาสนาท่ีตนนับถือ รวมทงั้ มสี ่วนรว่ มศาสนพิธี และพธิ ีกรรมทางศาสนามากยิ่งขนึ้  ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถ่ิน จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทัง้ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถิ่นตนเอง มากย่ิงขึ้น

 ได้ศึกษาเปรียบเทียบเร่ืองราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์เพ่ือขยายประสบการณ์ไปสู่การทาความเข้าใจ ในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออกและ ตะวันตกเก่ียวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเช่ือ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การ ดาเนินชีวติ การจดั ระเบียบทางสงั คม และการเปล่ยี นแปลงทางสังคมจากอดีตสปู่ จั จบุ ัน 2.2.6 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานทกี่ าหนด ซงึ่ จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคัญและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มุ่งให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปญั หาความขัดแย้งตา่ งๆ การเลือกรับหรือไมร่ ับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลอื กใชว้ ธิ ีการสือ่ สาร ท่มี ปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทีม่ ตี อ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพือ่ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และมีการตัดสนิ ใจทีม่ ีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขึ้นต่อตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้ สามารถอย่รู ่วมกบั ผอู้ ืน่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซือ่ สตั ยส์ ุจริต 3. มีวนิ ยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อย่อู ย่างพอเพียง 6. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ิตสาธารณะ นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์เพ่ิมเติมใหส้ อดคล้องตามบรบิ ทและ จุดเนน้ ของตนเอง

คาอธบิ ายรายวิชา รหัสวชิ า ส 15101 สังคมศึกษา สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษา ปีที่ 5 เวลา 80 ชั่วโมง / ปี ผู้เรียนไดร้ บั การพัฒนาให้มีความรู้เกยี่ วกบั การศกึ ษา มรดกทางวฒั นธรรมของประเทศในกลุ่มอาเซียน สรุปพุทธประวตั ิของศาสดาทต่ี นนบั ถอื ประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดกเรื่องเล่าและศาสนิกชน องค์ประกอบและความสาคัญของพระไตรปิฎก แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมของพุทธศาสนา ฝึกสวดมนต์ไหว้พระและแผ่เมตตา ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือเพื่อพัฒนาตนและส่ิงแวดล้อม จัดพิธีกรรมทางศาสนาอย่างประหยัด การปฏิบัติตนหลัก พิธีกรรมทางศาสนาประเทศในกลุ่มอาเซียน ฝึกปฏิบัติมรรยาทต่อสาวก ศาสนสถาน ศาสนวัตถุ สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพหน้าที่ของพลเมืองดี วิธีป้องกันการละเมิดสิทธิเด็ก วัฒนธรรมไทยต่อการดาเนินชีวิตใน สงั คมไทย การอนรุ ักษแ์ ละเผยแพรภ่ มู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ประเทศในกล่มุ อาเซียน โครงสร้างการปกครองในท้องถ่ิน บทบาทและหน้าท่ีของผูบ้ รหิ ารทอ้ งถิ่น ประโยชน์ที่ชุมชนได้รับจากการปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยในการผลิต สินคา้ และบริการ หลักการเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักการสาคญั และประโยชนข์ องสหกรณ์ บทบาทหน้าที่เบ้ืองต้น ของธนาคาร ผลดีและผลเสียของการกู้ยืมเงิน บอกตาแหน่ง ระยะทิศทางของภูมิภาคของตนเอง ลักษณะภูมิ ลักษณ์ที่สาคัญของตนเอง เช่น แม่น้า ภูเขา ป่าไม้ องค์ประกอบทางกายภาพและที่มีผลกระทบต่อระบบ ธรรมชาติในชุมชนของตนสังคมและประเทศในกลุ่มอาเซียน สภาพแวดล้อมท่ีมีอิทธิพลต่อลักษณะการต้ังถิ่น ฐานและการยา้ ยถ่ินของประชากรในภูมิภาค อิทธิพลของส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติท่ีก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการ สรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรมในภมู ิภาค ผลจากการรกั ษาและการทาลายสภาพแวดล้อมในภูมิภาค โดยผ่านกระบวนการอธิบาย วเิ คราะห์ ระบุ การอ่าน การฟงั การเลา่ เร่ือง การสรุปความ การสร้างผัง ความคดิ การสังเคราะห์ การสรปุ ความ การเรยี งความ การเรยี นรจู้ ากแผนที่ การจดั ทาโครงงานและการจัด นทิ รรศการ ทักษะการสบื ค้นข้อมลู ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพ่ือให้เกิดความรู้และความเข้าใจ แสวงหาความรู้ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ มีวินัย ขยัน ซื่อสัตย์ รักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เกิดความรักความเป็นชาติไทย สามารถเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่นได้ นาความรู้ไปใช้ ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน ใชช้ วี ติ อย่างพอเพียง อยู่ในสังคมไทย ในกลุ่มประเทศอาเซียน และสังคมโลกอย่าง มคี วามสขุ ตวั ชี้วดั

ส 1.1 ป.5/1 , 5/2 , 5/3 , 5/4 , 5/5 , 5/6 , 5/7 ส 1.2 ป.5/1 , 5/2 , 5/3 ส 2.1 ป.5/1 , 5/2 , 5/3 , 5/4 ส 2.2 ป.5/1 , 5/2 , 5/3 ส 3.1 ป.5/1 , 5/2 , 5/3 ส 3.2 ป.5/1 , 5/2 ส 5.1 ป.5/1 , 5/2 , 5/3 ส 5.2 ป.5/1 , 5/2 , 5/3 รวม 28 ตัวช้วี ดั ตารางท่ี 1 กาหนดการเรยี นรู้ วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรือ่ งภูมิลักษณ์ของภูมภิ าคตา่ งๆ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้ 5 STEPs ตัวชว้ี ดั (รายวิชา สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระสาคญั พนื้ ฐาน) ความรู้ ทกั ษะ/ คุณลักษณะอัน สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ กระบวนการ พึ่งประสงค์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลก ทางกายภาพ และ ความสัมพันธข์ องสรรพ ส่งิ ซึ่งมผี ลต่อกันและกนั ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนทีแ่ ละเครื่องมือ ทางภูมศิ าสตร์ในการ ค้นหา วิเคราะห์สรปุ และใชข้ ้อมูลภูมิ สารสนเทศอย่างมี

ตวั ช้ีวดั (รายวชิ า สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระสาคญั พนื้ ฐาน) ความรู้ ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั ประสิทธภิ าพ กระบวนการ พึ่งประสงค์ ตัวชีว้ ดั ที่ 2 ระบุลักษณะ ภู มิ ลั ก ษ ณ์ ท่ี ส า คั ญ ใ น ภู มิ ภ า ค ข อ ง ต น เ อ ง ใ น แผนท่ี  ภู มิ ลั ก ษ ณ์ ที่ - ก า ร ถ า ม - มีวินยั ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ลั ก ษ ณ์ ที่ สาคัญในภูมิภาคของ สาคัญในภูมิภาคของ ตอบ - ซอ่ื สตั ย์ ตนเองในแผนท่ี - ใฝ่รูใ้ ฝ่เรยี น ตนเองเช่น แม่น้า - การฟงั - มุง่ มน่ั ในการ ภูเขา ป่าไม้ - การสังเกต - การสรุป ทางาน ตั ว ช้ี วั ด ท่ี 3 อ ธิ บ า ย  ความสัมพันธ์ - ก า ร ถ า ม - มวี นิ ัย ลักษณะทางกายภาพ กับลักษณะทางสังคม ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ ท า ง ตอบ - ซ่อื สัตย์ ในภูมิภาค ลักษณะทางกายภาพกับ กายภาพ (ภูมิลักษณ์ - การฟัง - ใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน ลักษณะทางสังคมใน และภูมิอากาศ) และ ภมู ภิ าคของตนเอง ลักษณะทางสังคม - การสงั เกต - ม่งุ มัน่ ในการ ทางาน (ภูมิสังคม)ในภูมิภาค - การสรุป ของตนเอง

2.3 แนวคิดเกย่ี วกบั การจดั การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โลกปัจจุบันนี้ถือได้ว่ามีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ท้ังนี้สืบเนื่องมาจากการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ เช่ือมโยงข้อมูลต่างๆ จากทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน ทาให้กระแสการปรับเปล่ียนทางสังคมท่ีเกิดข้ึนใน ศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง แม้แต่ในวงการทางการศึกษาเอง ผู้บริหาร การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ตลอดจนคุณครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมเพื่อรองรับความ เปลี่ยนแปลงนี้ สาหรับการดาเนนิ การวิจัยการพฒั นาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เล้ียง (Coaching and Mentoring) ของโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง ในครั้งน้ี ซึ่งเป็นกระบวนการวิจัยและพัฒนา ใช้กระบวนการวิจัย โดยแบบมสี ว่ นรว่ มกลุ่มเป้าหมายหลักในครั้งนี้คือครูผู้สอน ซึ่งมุ่งเน้นให้ครูผู้สอนมีความสามารถในการจัดการ เรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่ เปล่ียนไปจากศตวรรษท่ี 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษท่ี 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปล่ียนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพรอ้ มดา้ นตา่ งๆ ท่ีเปน็ ปจั จยั สนับสนนุ ท่จี ะทาใหเ้ กิด การเรยี นรู้ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) วจิ ารณ์ พานชิ (2555: 16-21) ไดก้ ล่าวถึงทักษะเพื่อ การดารงชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 ดงั นี้ สาระวิชาหลกั (Core Subjects) ประกอบด้วย 1. ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก 2. ศิลปะ 3. คณิตศาสตร์ 4. การปกครองและหนา้ ท่ีพลเมอื ง 5. เศรษฐศาสตร์ 6. วทิ ยาศาสตร์ 7. ภมู ศิ าสตร์ 8. ประวัตศิ าสตร์ วิชาแกนหลกั น้จี ะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคดิ และยทุ ธศาสตร์สาคัญต่อ การจดั การเรยี นรใู้ น เนอื้ หาเชงิ สหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) หรอื หัวขอ้ สาหรบั ศตวรรษที่ 21 โดยการสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจใน เนอ้ื หาวิชาแกนหลกั และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เขา้ ไปในทกุ วชิ าแกนหลกั ดังนี้ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 1. ความร้เู กย่ี วกับโลก (Global Awareness)

2.ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธรุ กิจ และการเปน็ ผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 3. ความรดู้ ้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) 4. ความร้ดู า้ นสขุ ภาพ (Health Literacy) 5. ความรดู้ ้านส่งิ แวดล้อม (Environmental Literacy) ทกั ษะดา้ นการเรยี นร้แู ละนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเขา้ สโู่ ลกการทางานที่มี ความซบั ซ้อนมากขนึ้ ในปจั จุบัน ไดแ้ ก่ 1. ความริเริม่ สรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม 2. การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและการแก้ปัญหา 3. การสือ่ สารและการร่วมมือ ทักษะดา้ นสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เน่อื งดว้ ยในปจั จุบนั มีการเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารผ่านทางส่ือ และเทคโนโลยมี ากมาย ผ้เู รียนจึงตอ้ งมีความสามารถในการแสดงทักษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและ ปฏิบัติงานไดห้ ลากหลาย โดยอาศยั ความรู้ในหลายดา้ น ดังนี้ 1. ความรดู้ า้ นสารสนเทศ 2. ความรูเ้ กยี่ วกับส่อื 3. ความรดู้ ้านเทคโนโลยี ทักษะดา้ นชีวิตและอาชีพ ในการดารงชวี ติ และทางานในยุคปัจจุบนั ใหป้ ระสบความสาเร็จ นกั เรยี น จะตอ้ งพัฒนาทักษะชวี ติ ท่ีสาคญั ดงั ต่อไปนี้ 1. ความยืดหย่นุ และการปรบั ตัว 2. การรเิ รม่ิ สร้างสรรคแ์ ละเป็นตวั ของตวั เอง 3. ทักษะสังคมและสงั คมข้ามวัฒนธรรม 4. การเปน็ ผู้สร้างหรือผผู้ ลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชือ่ ถือได้ (Accountability) 5. ภาวะผ้นู าและความรับผดิ ชอบ (Responsibility) ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C ทักษะ ดังกล่าวนี้เป็นความสามารถทางด้านภาษา คณิตศาสตร์ การคิด ทักษะท่ีการอยู่ร่วมกัน ตลอดจนทักษะที่เป็น เคร่อื งมอื ในการเรียนรู้ รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ทักษะ 3R ประกอบด้วย Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิด เลขเปน็ ) 2. ทักษะ 7C ประกอบไปด้วย 2.1 Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) 2.2 Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม)

2.3 Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งด้านวฒั นธรรม และ ความต่างดา้ นกระบวนทัศน)์ 2.4 Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางาน เป็นทีม และภาวะผนู้ า) 2.5 Communications, Information, and Media Literacy (ทกั ษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศ และร้เู ทา่ ทนั สือ่ ) 2.6 Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร) 2.7 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนร)ู้ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 เป็นการกาหนดแนวทางยทุ ธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้าง รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นท่ีองค์ ความรู้ ทักษะ ความเช่ียวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพ่ือใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความ เปล่ียนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อ ทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) ท่ีมีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 (วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์. 2554) ซ่ึงได้พัฒนากรอบแนวคิดเพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อ ความสาเรจ็ ของผูเ้ รยี นท้ังดา้ นการทางานและการดาเนินชีวิต กรอบแนวคดิ เพอ่ื การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ท่ีแสดงผลลัพธ์ของนักเรียนและปัจจัยส่งเสริม สนับสนนุ ในการจัดการเรียนรูเ้ พ่ือรองรบั ศตวรรษที่ 21 ดังภาพที่ 2

ภาพท่ี 2 กรอบแนวคดิ เพือ่ การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) ท่มี า (http://www.qlf.or.th/) กรอบแนวคิดเชิงมโนทศั น์สาหรับทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เป็นท่ียอมรบั ในการสรา้ งทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึง่ เปน็ ท่ียอมรับอย่าง กว้างขวางเนื่องด้วยเปน็ กรอบแนวคดิ ที่เน้นผลลัพธท์ ี่เกิดกบั ผเู้ รยี น (Student Outcomes) ทัง้ ในดา้ นความรู้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ท่ีจะช่วยผเู้ รยี นไดเ้ ตรียมความพร้อมใน หลากหลายดา้ น รวมทัง้ ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ไดแ้ ก่มาตรฐานและการประเมนิ หลกั สูตรและการเรียนการ สอน การพฒั นาครู สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมต่อการเรยี นในศตวรรษท่ี 21 การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซ่งึ ครจู ะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบ การเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนกั เรยี น ซึง่ ส่งิ ทีเ่ ปน็ ตัวชว่ ยของครูในการจดั การเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ ครูเพ่ือศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การทาหน้าทขี่ องครแู ต่ละคนนนั่ เอง จากแนวคิดของการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ดังกล่าว การวิจัยการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้าง ระบบพ่ีเลี้ยง (Coaching and Mentoring) ของโรงเรียนอนุบาลน้องหญิง กาหนดกรอบแนวคิดทฤษฎีด้าน การจดั การเรียนร้เู พื่อนาส่กู ารพัฒนาครใู ห้มคี วามรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด

ทกั ษะทีค่ าดหวังตามกรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตาม โครงการน้ี มลี ักษณะสาคญั ดังน้ี 1. เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (Learner-centered Approach) ซึ่งยึดหลัก การ จดั การเรยี นรตู้ ามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการสรา้ งสรรค์ช้ินงาน (Constructionism) และมุ่งการพฒั นาความสามารถพืน้ ฐานที่จาเป็น ของผู้เรียนใน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning ability) ซ่ึงสอดคล้องกับ นโยบายและเปา้ หมายของการปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษท่สี อง (พ.ศ. 2552-2561) โดยมีสาระสาคญั ดังนี้ 1.1 ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้เกิดจากกระบวนการและวิธีการของผู้เรียนในการสร้างความรู้ความเข้ าใจจาก ประสบการณ์ เช่ือว่าการเรียนรู้เป็นเร่ืองเฉพาะตัว การตีความหมายของส่ิงท่ีเรียนรู้เป็นไปตามประสบการณ์ เดิม ความเชื่อ ความสนใจ ภูมิหลัง ฯลฯ การสร้างความรู้เป็นกระบวนการท้ังทางด้านสติปัญญาและสังคม ทฤษฎีนี้มีรากฐานสาคัญมาจากแนวคิดของปีอาเจ (Piaget) และวีก็อตสกี (Vygotsky) นักจิตวิทยากลุ่มการรู้ คดิ (Cognitivism) ที่สนใจศกึ ษาเรื่องพัฒนาการทางการรูค้ ิด ซ่งึ เป็นกระบวนการของสมองในการปรับ เปล่ียน ลด ตดั ทอน ขยาย จดั เก็บและใช้ข้อมูลทร่ี ับเข้ามาทางประสาทสัมผสั ความหมายของสงิ่ ที่รับรู้สาหรับแต่ละคน ยอ่ มแตกตา่ งกนั ไปตามประสบการณจ์ ากแนวคิดดังกลา่ วนาสกู่ ารประยุกต์ใช้ในการวิจัยดังต่อไปนี้ 1) จุดประสงค์การเรียนรู้มุ่งเน้นที่กระบวนการสรา้ งความรู้ ผ้เู รียนต้องฝกึ ฝน การ สร้างความรดู้ ว้ ยตนเอง 2) เปา้ หมายการเรียนรเู้ ปล่ยี นจากการถ่ายทอดสาระการเรยี นร้ทู ตี่ ายตัวเป็นการ เรียนวธิ ีการเรยี นรู้ 3) ผเู้ รยี นต้องเรียนรู้จากประสบการณจ์ รงิ ไดจ้ ัดกระทา ศึกษาสารวจ ลองผิดลอง ถูก จนเกดิ เปน็ ความรูค้ วามเข้าใจ 4) ผเู้ รยี นไดป้ ฏิสมั พันธ์ทางสังคมเพื่อการร่วมมือในการแลกเปลี่ยนเรยี นร้สู รา้ ง ความรรู้ ว่ มกนั 5) ใหผ้ เู้ รียนเปน็ ผเู้ ลือกสง่ิ ที่ต้องการเรยี น ตง้ั กฎระเบยี บ รับผิดชอบและแก้ปญั หา การเรยี นของตนเอง 6) ครูเปลี่ยนบทบาทจากผถู้ ่ายทอดความรูเ้ ปน็ ผู้อานวยความสะดวกชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นในการเรียนรู้ การเรียนร้เู ปลยี่ นจากการให้ความร้เู ป็นการใหผ้ ู้เรียนสร้างความรู้ 7) การประเมินจดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ ช้วิธกี ารท่หี ลากหลาย ยดึ หยุ่น 1.2 ทฤษฎีการสรา้ งความรู้ด้วยตนเองโดยการสรา้ งสรรคช์ ิ้นงาน การเรียนรู้ที่เกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผู้เรียน หากผู้เรียนมี โอกาสไดส้ รา้ งความคิดและนาความคดิ ของตนเองไปสร้างสรรค์ช้ินงานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม จะทาให้เห็นความคิดน้ันออกเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เมื่อผู้เรียนสร้างส่ิงหน่ึงสิ่งใดข้ึนมา ก็หมายถึงการสร้าง ความรู้ข้ึนในตนเองน่ันเอง ความรู้ที่ผู้เรียนสร้างขึ้นในตนเองนี้จะมีความหมายต่อผู้เรียน จะอยู่คงทนไม่ลืมได้

ง่าย สามารถถา่ ยทอดใหผ้ ู้อนื่ เขา้ ใจความคิดของตนได้ดี และเป็นฐานให้สามารถสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ได้อย่าง ไมม่ ที ี่สิ้นสุด ทฤษฎีนี้พัฒนาข้ึนโดย เพเพอร์ท (Papert) แห่งสถาบันเทคโนโลยี แมสซาชูเซตส์ ซ่ึงมีพื้นฐานมา จากทฤษฎีพฒั นาการทางการรู้คิดของปีอาเจ เช่นเดียวกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ทฤษฎีนี้มีจุดเน้น ท่ี การใช้ส่ือเทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสมช่วยให้ผู้เรียนสร้างสาระการเรียนรู้ และช้ินงานต่างๆ ด้วย ตนเอง ในบรรยากาศท่ีมีทางเลือกที่หลากหลายตามความถนัด ความสนใจ ให้ผู้เรียนที่มีวัย ความถนัด ความสามารถและประสบการณ์ท่ีแตกต่างกันได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกันสร้างสรรค์ความรู้และช้ินงาน และ พัฒนาทักษะทางสงั คมภายใต้บรรยากาศท่ีอบอุ่น เป็นมิตร และมีความสขุ จากแนวคดิ การทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้ท่ีสอดคลอ้ งกับกรอบแนวคดิ ของการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 กาหนดเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามโครงการวิจัย กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสาคัญ 5 กิจกรรม (Big Five Learning) ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1) Learning to Question เปน็ กจิ กรรมท่ีให้ผเู้ รียนตั้งคาถาม เพื่อสรา้ งความรสู้ กึ อยากรู้อยากเรียน ทาให้ผเู้ รียนเหน็ คุณคา่ ความสาคญั และประโยชนข์ องส่งิ ทีจ่ ะเรียน 2) Learning to Search เป็นกิจกรรมที่ให้ผ้เู รยี นได้วางแผนการเรียนรู้ของตนเองโดยรว่ มกันกาหนด ขอบเขต แนวทาง วิธกี ารเรียนรู้ ประเด็นเนอ้ื หาย่อย แนวทางการบนั ทกึ และสรุปผลการเรียนรู้ จดั ทาเคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการเรยี นรู้ และลงมือศึกษาค้นคว้า ศกึ ษารวบรวมข้อมูล ศึกษาปัญหา ศกึ ษาทดลอง ตามแผนท่วี างไว้ เพอ่ื แสวงหาความรแู้ ละค้นพบความรดู้ ว้ ยตนเอง 3) Learning to Construct เปน็ กจิ กรรมที่ใหผ้ ู้เรยี นนาข้อมลู มารว่ มกนั วเิ คราะหอ์ ภิปราย เปรยี บเทยี บเชอ่ื มโยงความสมั พันธ์ ประเมินคา่ สรุปความคิดรวบยอด คุณคา่ ความสาคัญ แนวคดิ แนวทางการ ปฏบิ ัติในชีวิตประจาวัน และสรปุ ขัน้ ตอนกระบวนการเรียนรู้ รวมถงึ ความร้ขู องตนเอง 4) Learning to Communicate เปน็ กจิ กรรมท่ใี หผ้ ้เู รยี นไดน้ าความรู้ ข้อค้นพบ ขอ้ สรปุ ทไี่ ดจ้ ากการ เรียนร้มู านาเสนอเปน็ ชิ้นงานรปู แบบต่างๆ ตามความสนใจ พรอ้ มทง้ั บอกเล่าเร่ืองราวเกี่ยวกับ ขั้นตอนวิธกี าร เรียนรู้ และแสดงความรู้สึกต่อช้นิ งาน 5) Learning to Serve เป็นกิจกรรมทีใ่ หผ้ เู้ รียนนาช้นิ งานมาแลกเปลย่ี นเรียนรู้และประเมินซึ่งกนั และกนั รวมท้ังวางแผนการต่อยอดการเรยี นรจู้ ากความสนใจ ทั้ง 5 กิจกรรมนี้ ไม่ใช่ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรม เพียงแตเ่ ป็นหลกั ใหค้ รตู ระหนักว่าในการจดั การเรียนรู้ ในแต่ละหัวเรือ่ งนน้ั ผู้เรยี นตอ้ งไดเ้ รยี นรูผ้ า่ นกิจกรรมต่างๆ เหลา่ นี้ โดยมจี ดุ เน้นสาคัญคือส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี น เรยี นรดู้ ้วยความรู้สกึ อยากรอู้ ยากเรียน เปน็ เจา้ ของการเรยี นรทู้ ี่แท้จริง มโี อกาสได้วางแผนการเรยี นรู้ กาหนด ขอบเขตแนวทางการเรยี นรู้ของตนเอง ลงมือเรียนร้ตู ามแผนและควบคุมกากบั การเรียนรู้ของตนเอง นาข้อมลู ที่ได้จากการศึกษาเรยี นรู้มาวิเคราะห์อภิปราย วิพากษว์ จิ ารณ์ เชื่อมโยงความสัมพนั ธ์สรุปความร้ขู องตน แลว้ จดั ทาชิ้นงานเพื่อรายงานผลการเรยี นรู้และกระบวนการเรียนรู้ในรปู แบบต่างๆ ตามความสนใจ ทาใหค้ วามรู้ และประสบการณท์ ี่ได้รบั เป็นรปู ธรรมชัดเจน รวมทั้งไดแ้ ลกเปลีย่ นเรียนรู้ซงึ่ กนั และกันประเมนิ ปรับปรุงผลการ เรยี นรู้ วิธีการเรยี นรู้ของตนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้นึ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชแ้ นวคดิ การจดั การเรียนร้แู บบ Bigfive Learning

แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ้ัง 5 กิจกรรมมดี ังน้ี 1. Learning to Question 1) นาข่าว กรณีตัวอย่าง ประสบการณ์จริง เพลง เกม รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ ฯลฯ ท่ี เก่ยี วกับเรื่องทีจ่ ะเรยี นรู้ เพ่ือศึกษา รายละเอยี ดของข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง 2) ร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับส่ิงท่ีศึกษาว่าเป็นสภาพปัญหา เป็นเร่ืองปกติ หรือเป็นเรื่องของ ความดีความงาม หาสาเหตุท่ีมาของเร่ืองราว สาเหตุหลัก สาเหตุรอง ผลที่เกิดข้ึน ผลดีผล เสีย ผลตรง ผลกระทบ ผลต่อส่วนบุคคล ต่อส่วนรวม เปรียบเทียบความเหมือน ความต่าง เชื่อมโยงความสันพันธ์ ของ ข้อมูลด้านตา่ งๆ สรุปลักษณะสาคญั 3) ช่วยกันสรุปว่าจะเรียนรู้ร่วมกันเรื่องอะไรมีความสาคัญคุณค่า ประโยชน์ ต่อตัวผู้เรียน ครอบครวั สังคมประเทศชาตอิ ย่างไร 2. Learning to Search 1) ชว่ ยกนั กาหนดจุดประสงค์การเรยี นรูใ้ หช้ ดั เจนว่าเรียนรู้เพอ่ื อะไร ทาไมต้องเรียนรู้ รแู้ ลว้ ได้อะไรและร่วมกันเสนอขอบเขต วธิ กี าร แนวทางการเรยี นรู้ เพอื่ ให้บรรลตุ ามจุดประสงค์ โดยเสนอประเด็น รายการเนอ้ื หาย่อยท่จี ะเรียนรู้ เสนอวธิ กี ารหาความรู้ แหลง่ ข้อมลู การเรียนรู้ วธิ กี ารบนั ทึกผลการเรยี นรู้ และ สรุปรายงานผลการเรยี นรูต้ ามความถนดั ความสนใจ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลท่เี หมาะสมกบั ตนเอง 2) รว่ มกันอธิบายและรบั ฟงั แผนการ แนวทางการเรียนรู้ และเหตผุ ลของกันและกัน 3) รว่ มกนั อภิปราย วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์เปรียบเทยี บข้อดี ข้อเสยี จดุ ออ่ น จดุ แขง็ ขอ้ จากัดและลักษณะร่วมของแผนการ แนวทางการเรียนร้ขู องสมาชกิ ทุกคน เพ่ือเลอื กวธิ ีการทเี่ หมาะสมท่ีสุด 4) ตดั สนิ ใจร่วมกนั เลือกแผนการ แนวทางการเรียนรู้ท่ีคิดว่าเหมาะสมทสี่ ุด วิเคราะหง์ าน จดั แบง่ หน้าท่ี ความรับผดิ ชอบในในการเรยี นรใู้ ห้กบั สมาชิกทกุ คน แล้วรว่ มกันสรา้ งเครื่องมือบนั ทึกข้อมลู การ เรยี นรแู้ ละประเมนิ ผล 5) ลงมอื ศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมข้อมูล ทดลองรว่ มกันตามแผนที่วางไว้ 3. Learning to Construct 1) บนั ทกึ ขอ้ ค้นพบ ข้อมลู กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางาน ข้อจากดั ปัญหาอุปสรรค 2) ร่วมกนั ประเมินและปรบั ปรุงในระหวา่ งกระบวนการเรียนรู้ 3) นาข้อค้นพบ ข้อมูล ทไี่ ด้จากการศกึ ษาค้นคว้า ศึกษารวบรวมขอ้ มูล ศึกษาทดลอง ฯลฯ ของตนมา ตรวจสอบประเมนิ ค่าความน่าเชือ่ ถอื ความถูกผดิ ความสมบูรณ์ถูกตอ้ ง และหาข้อมลู เพม่ิ เติมกรณีทจ่ี าเป็น 4. Learning to Communicate 1) ผลดั กนั นาเสนอขอ้ คน้ พบ ข้อมูลที่ได้จากการเรียนรู้ แล้วรว่ มกันอภปิ ราย แสดงความคิดเหน็ วิเคราะห์ วิจารณ์อยา่ งกวา้ งขวางเพอ่ื จาแนกรายละเอยี ด เปรยี บเทยี บ จัดลาดับ หาลกั ษณะรว่ ม จัดกลุ่ม วิเคราะห์ข้อดขี ้อเสีย หาเหตุผล เชอ่ื มโยงความสัมพนั ธ์ กาหนดคณุ ค่าความสาคัญ เรียบเรียง สรา้ งขอ้ สรปุ

2) ร่วมกนั สรุปความรูท้ ่ีได้ กาหนดเป็นความคดิ รวบยอด ความรู้ แนวคิด ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ดว้ ยสานวนภาษา ของตนเอง รวมทั้งสรปุ ข้นั ตอนกระบวนการเรยี นรู้ท่ีใชใ้ นการศึกษาครง้ั นี้ 5. Learning to Serve 1) ร่วมกนั จัดทาช้ินงานโดยนาความรูแ้ นวคดิ ข้อปฏิบัตขิ องผู้เรยี นทไ่ี ด้คน้ พบมานาเสนอในรปู แบบ ตา่ ง ๆ ตามความสนใจ รวมท้ังบอกเล่าเร่ืองราวเก่ยี วกับขน้ั ตอนกระบวนการเรยี นรู้ แสดงความรู้สกึ ที่มตี อ่ งาน และกระบวนการทางาน 2) นาชิ้นงานมาแสดงเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้และประเมินชิ้นงานซ่ึงกันและกัน วางแผนการศึกษา ตอ่ เนอ่ื งในเรือ่ งทีต่ นสนใจนอกเวลาเรยี นในรปู แบบโครงงาน หลกั การจัดการเรียนรู้ การนาแนวคิดการจดั การเรียนรนู้ ไ้ี ปใช้ใหเ้ กดิ ผลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ผู้สอนต้องปรบั เปล่ยี นวิธคี ิด วธิ กี ารทางานของตนใหมห่ ลายอยา่ ง ซ่ึงสามารถสรุปหลักการปฏบิ ตั ิได้ดังนี้ 1. เคารพศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษยข์ องผเู้ รียน ศรัทธาและเช่ือม่ันวา่ ผู้เรียนทุกคนเรยี นรู้และพัฒนา ตนเองได้ ทกุ คนใฝ่ดีและปรารถนาความสุข ความสาเรจ็ ในชีวิต 2. ตระหนกั วา่ ผู้สอนไมใ่ ชผ่ ูบ้ อกความรู้ แต่เปน็ ผู้สนบั สนนุ การเรียนรู้ อานวยการให้เกิดการเรียนรู้ จัดเตรยี มกจิ กรรมชว่ ยเหลือดูแลให้ความสะดวก และให้คาปรกึ ษาแนะนาในการปฏิบตั ิกิจกรรม การเรยี นรู้ 3. การพฒั นาผูเ้ รียนมุ่งพฒั นาความสามารถพน้ื ฐานท่จี าเปน็ ของผู้เรียน 3 ดา้ นคอื ดา้ นภาษาดา้ น คานวณ และดา้ นเหตุผล รวมทงั้ การปฏิบัติในชีวิตประจาวัน โดยจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในลักษณะหลอมรวม บูรณาการ 4. การให้ผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการกาหนดเนื้อหาสาระย่อยท่ีจะเรยี นรู้ด้วยตนเอง ทาใหก้ ารเรยี นรู้ สอดคล้องกบั ความจาเปน็ ในชีวติ ประจาวันของผเู้ รยี นและท้องถ่ิน 5. การกาหนดเวลาเรียนแต่ละแผนท่ีเหมาะสมให้ผ้เู รียนมีเวลาเพียงพอทจี่ ะใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการปฏิบัติ และสามารถจดั เวลาในการสอนได้ตามตารางสอนปกติ 6. การสรา้ งความรสู้ กึ อยากรู้อยากเหน็ ให้กบั ผู้เรียนเปน็ ก้าวแรกของการจัดการเรยี นร้ทู ี่สาคญั ความ สนใจใครร่ ู้ในสง่ิ ทีเ่ รียน ทาให้การจดั การเรียนรู้ประสบการณค์ วามสาเรจ็ ตามจุดประสงค์ 7. ผเู้ รียนเป็นเจ้าของกระบวนการเรียนร้ทู ีแ่ ท้จริง มีสทิ ธ์ิท่ีจะตัดสนิ ใจ กาหนดเป้าหมาย การเรยี นรู้ วธิ ีการเรยี นรู้ ฯลฯ ตามความถนัด ความสนใจ ผสู้ อนต้องช่วยให้ผู้เรียนเลือกได้เหมาะสมกับตนเองและใช้ ข้นั ตอนของกระบวนการเรยี นรเู้ ป็นแนวทางในการคดิ และปฏบิ ัติ

8. ผ้เู รยี นทกุ คนมคี วามสามารถ มจี ุดเด่นเฉพาะตัว ผสู้ อนตอ้ งคน้ ให้พบ และชว่ ยให้ผู้เรยี นนาจดุ เดน่ และความสามารถของผเู้ รยี นมาใช้ประโยชน์ในการเรยี นรู้ เพ่ือให้ทุกคนมโี อกาสประสบความสาเร็จในการ เรียนรู้ 9. การเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนนาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการเรียนรู้มานาเสนอเพ่ือวิเคราะห์ อภิปราย วิพากษ์ วิจารณ์อยา่ งกว้างขวาง เพื่อจาแนกเปรียบเทียบ จดั ลาดับ เชือ่ มโยงความสัมพนั ธ์ ฯลฯ ทาใหส้ ามารถสรุปและ สรา้ งองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง 10. การให้ผเู้ รยี นนาความรู้ ข้อคน้ พบนามาจัดทาช้นิ งานในรปู แบบตา่ งๆ ตามความถนัด ความสนใจ ทาให้ความรู้ความคดิ ของผู้เรียนเป็นรูปธรรมชดั เจน ความสามารถในการถา่ ยทอดความรคู้ วามคดิ ให้ผู้อน่ื เขา้ ใจ ชว่ ยทาใหผ้ ู้เรียนภาคภูมิใจในความสาเร็จของตนเองมากยง่ิ ข้นึ 11. การใชส้ ื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยที ี่หลากหลายและเหมาะสมกับผ้เู รียนแต่ละคน ช่วยให้ผู้เรยี น สามารถสร้างสาระความรแู้ ละชน้ิ งานต่างๆ ด้วยตนเองได้ดี 12. การใชก้ ระบวนการกลุ่มในการเรียนรู้ ใหผ้ ้เู รียนเรยี นรู้ในลกั ษณะร่วมคิดร่วมทาช่วยให้มีความรู้ ความคดิ กวา้ งขวางซบั ซ้อน หลากหลายย่ิงข้นึ รวมทง้ั มกี ารพฒั นาในทักษะตา่ งๆ เชน่ ทกั ษะดา้ นมนุษย สัมพนั ธ์ ทกั ษะทางภาษา ทักษะด้านการรูจ้ กั เขา้ ใจตนเอง เป็นต้น 13. การจดั กลมุ่ ผู้เรียนท่ีมีความถนดั ความสามารถและประสบการณ์แตกตา่ งกนั ได้เรียนรแู้ ละ ปฏบิ ัติงานร่วมกนั จะเอื้อให้เกิดการสรา้ งสรรคช์ ้ินงานและความรู้ และช่วยใหก้ ารเรยี นรู้ประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมาย 14. การวัดและการประเมินผล เพื่อให้ทราบความสาเร็จและพัฒนาการที่แท้จริงของผู้เรียน ต้อง ประเมนิ อย่างตอ่ เนือ่ งด้วยเครือ่ งมือและวธิ ีการที่หลากหลายตามหลกั การของการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการจัดการเรยี นรู้ แนวคิดการจดั การเรียนรนู้ ้ี ผเู้ รยี นจะได้เป็นเจ้าของการเรียนรู้ที่แท้จริง ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ ท่ีตนเองเป็นผู้เผชิญสถานการณ์ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติจริง จนตกผลึกเกิดเป็นความรู้ใหม่ของตนเอง ดงั น้ันแนวคดิ การจดั การเรียนรนู้ ้จี ึงมปี ระโยชนท์ ้ังต่อผเู้ รยี นและครผู ้สู อน ดังน้ี ประโยชน์ทเี่ กดิ กับผูเ้ รยี น แนวคิดการจัดการเรียนรู้นี้ ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่แท้จริง มีการพัฒนาความสามารถพ้ืนฐานท่ี จาเป็น 3 ด้าน มีความสุขและภาคภูมิใจในตนเอง รวมทั้งมีคุณลักษณะและทักษะอันพึงประสงค์อื่นๆ อีก มากมาย ดว้ ยเหตุผลดงั ตอ่ ไปนี้ 1. แนวคิดการจัดการเรยี นรนู้ ้ี ผ้เู รียนเป็นผู้วิเคราะห์คณุ คา่ ความสาคญั ของส่ิงที่จะเรยี นรู้ วางแผน กาหนดขอบเขตแนวทางการเรยี นรู้ของตนเอง ลงมือเรียนรู้ด้วยกจิ กรรมท่ีหลากหลายตามความสามารถความ ถนดั ความสนใจ ทาใหผ้ เู้ รยี นมโี อกาสค้นพบศักยภาพทีแ่ ท้จรงิ ของตน รู้จักและเขา้ ใจตนเองมากยิ่งขึน้ 2. แนวคิดการจัดการเรียนรู้น้ี ผู้เรยี นจะได้รบั ข้อมลู ความร้จู ากประสบการณ์จรงิ แล้วใช้กระบวนการ คิดเช่ือมโยงสรุปสิง่ ทีเ่ รยี นรู้ และทาชนิ้ งานนาเสนอความร้แู ละกระบวนการเรียนรขู้ องตนได้เป็นรปู ธรรม ทาให้

ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นร้ทู ี่แท้จริง รเู้ ข้าใจในสง่ิ ที่เรยี นอยา่ งถอ่ งแท้ สามารถพูดได้ อธบิ ายได้ชดั เจน เห็นคุณค่า ความสาคญั มีคา่ นิยมที่เหมาะสม มที ักษะในการปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ไิ ดถ้ ูกต้องคลอ่ งแคลว่ สามารถนาความรู้และ ประสบการณ์ทไี่ ด้รบั ไปใชเ้ ปน็ พนื้ ฐานการเรยี นรูเ้ นื้อหาอืน่ ๆ และใชแ้ กป้ ญั หาในชีวติ ประจาวนั ได้ 3. แนวคดิ การจดั การเรียนรู้น้ี ทาใหผ้ ู้เรียนมที ักษะกระบวนการด้านต่างๆ ทั้งกระบวนการคิดและ กระบวนการปฏิบตั จิ ริง คิดเป็น ทาได้ แก้ปญั หาเปน็ สามารถนาสงิ่ ท่ีได้จากการเรียนรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในการ เรยี นและแกป้ ัญหาชวี ติ ประจาวันได้ เชน่ สามารถคดิ วางแผน คิดแก้ปญั หา วิเคราะหว์ จิ ารณ์ และสรุป ตดั สินใจได้อยา่ งมีเหตุผล มีทักษะกระบวนการปฏบิ ัติ ปฏิบัตงิ านอยา่ งมแี ผน เปน็ ระบบ มีขนั้ ตอน มกี าร ประเมินพัฒนาปรับปรงุ ช้นิ งาน มที ักษะในการสือ่ สารท้ังการฟัง พดู อ่าน เขียน มีทกั ษะการแสวงหาความรู้ ฯลฯ 4. แนวคิดการจัดการเรียนร้นู ้ี ทาใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสเป็นเจ้าของกระบวนการเรยี นรู้ของตนเอง คดิ และ ปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อแสวงหาคน้ พบและสร้างสรรค์ความรู้ของตน ทาให้ผูเ้ รียนรูส้ ึกวา่ ตนเองมีคณุ ค่า ความสาคญั ไดร้ บั การยอมรับ มีความสุขและเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง 5. แนวคดิ การจดั การเรียนรนู้ ้ี ทาใหผ้ เู้ รียนถูกฝึกให้รับผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง ดว้ ยการคดิ และ ทางานรว่ มกับผู้อนื่ อยา่ งตอ่ เนื่อง มีผลตอ่ การพัฒนาลักษณะนสิ ัยที่ดงี าม เกิดพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ เชน่ มี ความรบั ผิดชอบ ขยนั อดทน มีทักษะทางสงั คม ทางานและอยู่ร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้อยา่ งมีความสุขได้ท้ังชนิ้ งานและ ความรูส้ ึกที่ดตี ่อกนั ประโยชน์ทีเ่ กิดกบั ครผู ู้สอน สาหรับประโยชน์ทค่ี รผู สู้ อนจะได้รับจากการปฏิบัติตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้นี้ สรปุ ไดด้ งั น้ี 1. มีโอกาสได้พัฒนาตนเองทั้งดา้ นความรู้ ความคิด จิตใจ ทักษะกระบวนการ เพราะครูไม่ไดท้ าหนา้ ที่ เพยี งแคถ่ ่ายทอดความรู้ แต่ทาหนา้ ท่ีอานวยการใหเ้ กิดการเรียนรู้ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถสร้างความร้ขู องตนเองได้ การฝกึ ฝนพัฒนาผเู้ รยี นย่อมหมายถึงการพฒั นาตนเองของครผู ูส้ อนดว้ ย เพราะการสอนต้องใชศ้ าสตรแ์ ละศิลป์ ที่เก่ียวข้องมาก มสี ่งิ ใหม่ๆ ให้คิดทาและแก้ปัญหาตลอดเวลา ด้วยจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื้ หาวิชาทต่ี ่างกนั และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รยี นในทุกๆ ดา้ น ทาใหค้ รตู ้องศกึ ษาเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เน่ือง เพ่ือใหส้ ามารถออกแบบและวางแผนการจดั การเรียนรู้ กาหนดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หผ้ เู้ รยี นคิด ปฏิบัติจริงได้เหมาะสมกับธรรมชาติของเน้อื หาวิชา วยั ความสนใจ ความสามารถของผ้เู รยี น ลงมอื จดั กิจกรรม การเรยี นรู้ สงั เกตและประเมินผลที่เกดิ ข้นึ กับผเู้ รยี นและปรบั ปรุงพฒั นาการจัดการเรยี นรขู้ องตนเองอย่าง ต่อเนือ่ งยอ่ มมผี ลทาให้ผสู้ อนพฒั นาทั้งความรู้ความคิด เจตคตแิ ละทักษะกระบวนการตามลาดบั 2. การทาหนา้ ทีจ่ ัดการเรยี นรู้ได้สมบรู ณ์จนปรากฏผลอย่างชัดเจนวา่ ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรทู้ ่แี ท้จรงิ มี การพฒั นาความสามารถตามเปา้ หมาย ครจู ะรสู้ ึกว่าตนเองประสบความสาเร็จในวชิ าชีพครู มีความสขุ และ ภาคภมู ิใจในตนเอง รกั และศรัทธาในอาชีพครู รกั เด็ก รกั โรงเรียน มจี ติ สานึกรบั ผิดชอบตอ่ ผู้เรียนและโรงเรยี น มากข้นึ

3. การจัดการเรยี นรู้น้ี เป็นแนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ทีเ่ คารพในศักดิศรีความเปน็ มนุษยข์ องผเู้ รยี น ยดึ หลกั การทีเ่ ชื่อมน่ั ว่าทุกคนเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ ทุกคนมคี วามสามารถ ใฝ่ดีและปรารถนาความสขุ ความสาเร็จในชวี ิต ผู้เรยี นมหี นา้ ทตี่ อ้ งเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ผ้สู อนมใิ ช่ผบู้ อกความรู้แต่เปน็ ผู้สนับสนุนการเรยี นรู้ ผ้เู รยี นได้รบั ประสบการณ์การเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย มกี จิ กรรมการคดิ และปฏบิ ตั ิกับเพ่ือนๆ อย่างมีความสุข ครู ทาหน้าท่ีเพียงคอยช่วยเหลือดูแล ใชค้ าถามกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนคิดและปฏิบตั ิงาน ให้การเสรมิ แรงเพื่อสนบั สนนุ และให้กาลังใจและประคับประคองการเรียนรู้ของผูเ้ รียนสคู่ วามสาเรจ็ บรรยากาศการเรยี นรขู้ ้างตน้ จะทาให้ ชอ่ งวา่ งระหว่างครูกับผู้เรยี นแคบลง มีความสนทิ สนมเป็นกันเองมากข้ึน ดว้ ยความรักและปรารถนาดีที่มตี ่อกัน กอ่ ใหเ้ กดิ บรรยากาศการเรยี นรทู้ ม่ี ลี ักษณะเป็นกัลยาณมิตร ผู้เรยี นเกดิ ความเชอื่ มั่นไว้วางใจ รักเคารพศรทั ธา ครผู ู้สอนมากขน้ึ พรอ้ มทีจ่ ะเรียนรู้ และรว่ มปฏิบัติกจิ กรรมการเรียนรู้ ทาให้การจดั การเรียนรู้ง่ายยิ่งขนึ้ 4. การจัดการเรียนรู้นี้ เป็นแนวคิดการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามแนวทางการปฏิรูป การเรียนรู้ การท่ีครูได้ศึกษาเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติพัฒนาตนเองจนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มีคุณภาพตามเป้าหมายย่อมได้รับเกียรติ ยกย่องจากหน่วยงานจากผู้บังคับบัญชา เพ่ือน ร่วมงานและผู้เก่ยี วข้อง เพราะได้ชอ่ื ว่าเปน็ ผ้ยู กระดับวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพช้ันสูง ทาให้สังคมยกย่องวิชาชีพ ครู 5. การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดน้ี นบั ว่าครูมีสว่ นสาคญั ในการสร้างสรรค์จรรโลงสังคมไทยให้ เจริญกา้ วหน้าและได้ช่อื วา่ มีคุณปู การต่อประเทศชาติอย่างใหญห่ ลวง เพราะการพัฒนาคนคือการพฒั นาชาติ 6. ครูทท่ี าหนา้ ทีจ่ ัดการเรียนรู้ตามแนวคิดน้ีได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ จะมีความก้าวหน้าในวิชาชพี เพราะการปรบั เปลีย่ นการสอนจากแบบเดมิ ทคี่ รูใชต้ นเองเป็นแหลง่ ความรู้ สอนแบบเน้นการอ่านจาเรื่องหรือ การสอนแบบบอกความรตู้ รงๆ มาเปน็ การจัดการเรียนรู้ให้ผ้เู รียนคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ จนสามารถสร้างความรู้ ดว้ ยตนเอง เป็นการพัฒนาการสอนทสี่ อดคลอ้ งกับแนวดาเนนิ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวทางของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรฐานระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานของสานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ จดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรกู้ ารศกึ ษาขัน้ พื้นฐานตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และแนวนโยบายปฏริ ปู การเรยี นร้ขู องหนว่ ยงานทกุ ระดับ การพัฒนา งานในหน้าทกี่ ารสอนได้สอดคล้องกับแนวทางดังกล่าว ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กิดผลดตี ่อตัวผสู้ อนเองและต่อโรงเรยี นใน การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานหรอื รับการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานระดับตา่ งๆ เช่น การประเมินภายนอกของ สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา การประเมินมาตรฐานโรงเรยี นของตน้ สังกดั การ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเพื่อการเล่ือนวทิ ยฐานะใหส้ งู ข้นึ เงอื่ นไขความสาเรจ็ ของการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดน้ี มีเง่ือนไขสาคัญของความสาเร็จอยู่ที่การปรับเปลี่ยนบทบาทของ ครูผู้สอน จากผู้ให้ความรู้ เปน็ ผู้ช่วยเหลอื ดูแลอานวยความสะดวกให้คาปรกึ ษาชแี้ นะแก่ผ้เู รียน ใชก้ จิ กรรมและ

คาถามกระตนุ้ การคดิ การปฏบิ ตั ิของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาและค้นพบความรู้ใหม่ด้วยตนเอง มี ความสุขและภาคภูมิใจในตนเอง โดยสภาพบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เสริมแรงให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมี ความสขุ และประสบความสาเร็จ พึงมีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ครูมที กั ษะการจัดกจิ กรรมท่ีแยบยล สามารถสร้างความร้สู กึ อยากรู้อยากเรยี นความรู้สกึ เปน็ เจ้าของการเรียนรู้ ความสานึกรบั ผดิ ชอบตอ่ การเรยี นจดั กิจกรรมการเรียนรูช้ ่วยให้ผู้เรียนสามารถแสวงหา คน้ พบและสร้างสรรคค์ วามรู้ของตนได้ด้วยตนเอง 2. ครูมที กั ษะการใชค้ าถามกระตุ้นให้ผเู้ รียนคิดวางแผน คิดแก้ปัญหา คดิ วิเคราะหจ์ าแนก เปรยี บเทยี บ เชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ ฯลฯ สร้างขอ้ สรปุ กาหนดเป็นหลักการ ข้อคิดแนวทางการปฏิบัติ ฯลฯ จดั ทาช้ินงานเพื่อนาเสนอความรแู้ ละวิธกี ารเรียนรู้ 3. จัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่มที างเลือกหลากหลาย เปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นได้เลือกเนื้อหาสาระแหล่ง การเรียนรู้ วิธกี ารเรยี นรู้ ฯลฯ ตามความสนใจ เพ่ือจะได้มแี รงจูงใจในการคิดการปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ 4. ครูมีทักษะการวดั และประเมินผล สามารถเลือกใช้เคร่ืองมือและวธิ กี ารประเมินทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั สิ่งทตี่ ้องการวัด ทาใหท้ ราบความสาเรจ็ และพัฒนาการที่แท้จรงิ ของผ้เู รียน 5. จดั บรรยากาศของความรว่ มมอื อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ โดยใหผ้ ูเ้ รยี นไดใ้ ช้ความถนัด ความสามารถ และประสบการณท์ ่แี ตกต่างกันเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้รว่ มกนั ช่วยเหลือดแู ลกันและกนั ร่วมมือกนั สรา้ งสรรคช์ น้ิ งานและความรู้ เพ่ือให้การเรยี นรปู้ ระสบความสาเร็จและสง่ เสริมพัฒนาทักษะทาง สังคมให้กบั ผเู้ รียน จากลักษณะสาคัญ แนวทาง หลักการ ประโยชน์ และเงื่อนไขความสาเร็จของแนวคิดการจัดกา ร เรียนร้ใู นโครงการพัฒนาครโู ดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ข้างต้น จะเห็น ว่าแนวคิดนี้จะมีส่วนช่วยให้การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 เป็นรูปธรรม สามารถนาไปสกู่ ารปฏิบตั จิ รงิ และชว่ ยยกระดับคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ให้ เป็นการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเป็นสาคัญมากข้ึน ท้ังนี้เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้นอกจากมุ่งศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นตามสาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระ ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแล้ว โครงการวิจัย การพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เล้ียง (Coaching and Mentoring) ของโรงเรียนอนุบาลน้อง หญิง มุ่งศึกษาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีเป็นทักษะพ้ืนฐานสาคัญ 3 ด้าน ได้แก่ ความสามารถทางภาษา ความสามารถด้านตัวเลข และความสามารถด้านเหตุผล ท้ังนี้เน่ืองจาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน (สพฐ.) ได้กาหนดจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านความสามารถพ้ืนฐานที่จาเป็น เพื่อให้ สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) คือ ความสามารถด้านภาษา ดา้ นคานวณ และด้านเหตุผล ความสามารถด้านภาษา หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เพ่ือรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสาคัญ ประเมินสิ่งท่ีอ่านจากส่ือประเภทต่างๆ รู้จักเลือกอ่านตามวัตถุประสงค์ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันและอยู่ ร่วมกนั ในสงั คม ใช้การอ่านเพื่อการศึกษาตลอดชวี ิต และส่อื สารเป็นภาษาเขียนไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักการใช้ภาษา และอย่างสร้างสรรค์

ความสามารถด้านคานวณ หมายถึง ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคานวณความคิดรวบยอด และทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั ชวี ติ ประจาวัน ความสามารถด้านเหตุผล หมายถึง ความสามารถในการเช่ือมโยงความรู้และประสบการณ์มา วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ ขอ้ มูล/สถานการณ/์ สารสนเทศ เพือ่ การตัดสินใจ โดยมีเหตุผลประกอบอย่าง สมเหตุสมผล (บนพื้นฐานของข้อมูล หลักการ เหตุผล ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการดาเนินชีวิต อย่างมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม) โดยกรอบแนวทางการพฒั นามดี ังนี้ 1. จัดกิจกรรมเรยี นรู้ที่หลากหลายสง่ เสรมิ ความสามารถหลายดา้ น ไมเ่ นน้ เพียงดา้ นใดด้านหนง่ึ 2. จดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล สง่ เสรมิ พฒั นาการในแต่ละด้านท่ี แตกตา่ งตามความเหมาะสม 3. ให้ผ้เู รียนใช้ความแตกต่างหลากหลายให้เป็นประโยชน์ในการเรียนรรู้ ว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ 4. ประเมินความสามารถของผ้เู รยี นดว้ ยสถานการณ์ท่ีต้องใช้ความสามารถหลายด้านในการแกป้ ัญหา จากเป้าหมายการพัฒนาอันได้แก่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในแต่ละกลุ่มสาระ ทักษะพื้นฐาน ทั้ง 3 ด้าน อันได้แก่ ด้านภาษา ตัวเลข และเหตุผล กอปรกับหลักคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ โครงการวิจัยเพื่อพัฒนาครูจึงกาหนดแนวทางการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และจัดสภาพบรรยากาศที่ เอือ้ ตอ่ ประสิทธภิ าพการเรยี นรู้ ดงั นี้ 1. กาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นร้เู พ่ิมในแผนการจัดการเรยี นรู้เดมิ ของครู โดยเพิ่มการพัฒนา ความสามารถพืน้ ฐานท่จี าเปน็ ของผ้เู รียน 3 ดา้ นดว้ ย คือ ด้านภาษา ดา้ นคานวณ และดา้ นเหตผุ ล แนวคิดการจัดการเรียนรู้นี้ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่แท้จริง และไม่สร้างความลาบากให้แก่ครูใน การจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ จึงเสนอให้ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่มีอยู่มาปรับ โดยการคงจุดประสงค์การ เรียนรู้เดิมท่ีครูกาหนดไว้เช่นเดิม (ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีเก่ียวกับเนื้อหา) เพียงแต่ให้เพ่ิม จุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถพ้ืนฐานที่จาเป็นของผู้เรียน และในแต่ละแผนก็ไม่ จาเป็นต้องกาหนดใหค้ รบทุกด้าน ทง้ั นข้ี ้นึ อย่กู ับธรรมชาตขิ องเน้ือหาสาระว่าจะเอ้ือไปในดา้ นใด 2. กาหนดเนอ้ื หาสาระเปน็ หัวเร่ืองใหญ่ แล้วใหผ้ ู้เรยี นมีสว่ นเปน็ ผ้กู าหนดรายการเน้ือหาสาระยอ่ ย ตามความถนดั ความสนใจดว้ ยตนเอง แนวคิดการจัดการเรียนรู้น้ี มุ่งตอบสนองความสนใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคล การวางแผน กาหนดเนื้อหาสาระ ครูผู้สอนจึงเป็นเพียงผู้กาหนดกรอบกว้างๆ แล้วใช้คาถามกระตุ้นความคิดให้ผู้เรียน อภิปรายและคดิ วิเคราะหอ์ ย่างมเี หตผุ ล เพื่อกาหนดรายการเน้ือหาสาระย่อยท่ีจะเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความ สนใจหรอื เหตผุ ลความจาเป็นในชวี ติ ประจาวัน 3. กาหนดเวลาการเรียนรู้ ให้เพียงพอท่ีผ้เู รยี นจะมีกระบวนการคิด และการปฏิบตั ิจริง แนวคิดการจัดการเรียนรู้นี้ มุ่งพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ ด้วยตนเอง ผู้เรียนจึงต้องคิดและปฏิบัติด้วยตนเอง ต้ังแต่ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายเหตุผลความสาคัญจาเป็น ของส่ิงที่จะเรยี น วางแผนกาหนดขอบเขต แนวทางวธิ ีการเรยี นรู้ ลงมือเรียนรู้ บันทกึ ขอ้ มูลการเรียนรู้ นาเสนอ

ข้อมูลการเรียนรู้ วิเคราะห์อภิปรายสรุปความรู้ร่วมกันและจัดทาชิ้นงาน เพ่ือนาเสนอผลการเรียนรู้ให้เป็น รูปธรรมเพื่อความภาคภูมิใจในความสาเร็จของการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ดังนั้น ผู้เรียน จาเปน็ ต้องใชเ้ วลาในการเรยี นรู้ค่อนขา้ งมาก ดังน้ันการกาหนดเวลาเรียนของแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน จึงต้องยืดหยุ่นและให้เวลาผู้เรียนมีโอกาสได้คิดและปฏิบัติจริงด้วยตนเอง เพื่อแสวงหาและค้นพบความรู้ของ ตนเอง เกิดการเรียนรตู้ ามเปา้ หมาย 4. ให้โอกาสผเู้ รียนเลอื กนากระบวนการเรยี นรู้ และวิธีเรยี นรู้ทหี่ ลากหลายมาใชต้ ามความเหมาะสม แนวคิดการจัดการเรียนรู้น้ี มิใช่รูปแบบการเรียนรู้สาเร็จรูปท่ีมีกิจกรรมตายตัว แต่เป็นแนวคิดการ เรียนรู้ท่ีสนองตอบความแตกต่างระหว่างบุคคล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกกระบวนการ วิธีการเรียนรู้ท่ี สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด ความสนใจของตนเองมาใช้อย่างเหมาะสม โดยมีครูทาหน้าที่ใช้ กิจกรรมคาถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ จาแนกเปรียบเทียบ ประเมินจัดลาดับ เพื่อตัดสินใจเลือก กระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับตนเอง และเม่ือตัดสินใจเลือกได้แล้วก็จะดาเนินกิจกรรมไปตาม แนวทางของกระบวนการ วิธีการเรียนรู้ท่ีกาหนด เช่น เม่ือผู้เรียนตัดสินใจเลือกใช้วิธีการทดลอง ผู้เรียนต้อง เป็นผู้สังเกตรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา ตั้งปัญหา ต้ังสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง ลงมือทดลองและ บันทึกสรุปผลการทดลอง นาเสนอข้อมูลวิเคราะห์อภิปราย สรุปความรู้ของตนเอง แต่ถ้าเลือกวิธีการเรียนรู้ ด้วยการศึกษาค้นคว้า ผู้เรียนก็ต้องเป็นผู้วางแผนกาหนดจุดประสงค์ของการศึกษาค้นคว้าขอบเขตแนวทาง การศึกษาค้นคว้า แหล่งข้อมูล วิธีการบันทึกข้อมูลความรู้ ลงมือศึกษาค้นคว้าตามแผน บันทึกข้อมูล นาเสนอ ข้อมูลและวเิ คราะหอ์ ภปิ รายสรุปความรู้ของตนเอง 5. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นใชค้ วามสามารถพืน้ ฐานทจ่ี าเป็นของผู้เรียน 3 ดา้ นคอื ด้านภาษา ดา้ นคานวณ และดา้ นเหตุผล เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และนาเสนอผลการเรียนรขู้ องตน แนวคดิ การจดั การเรียนรูน้ ้ี ผู้เรยี นตอ้ งเรียนรู้ด้วยตนเองจากการคิดและปฏิบัติจริง การแสวงหาข้อมูล ความรู้ บันทึก นาเสนอ วิเคราะห์ อภิปราย สรุป และจัดทาช้ินงานเพื่อนาความรู้ที่ได้ค้นพบมาทาให้เป็น รูปธรรม เพื่อความภาคภูมิใจในความสาเร็จของการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ดังน้ัน ผู้เรียน จาเป็นต้องใช้ความสามารถพ้ืนฐานด้านต่างๆ เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้และนาเสนอผลการเรียนรู้ ครูผู้สอน จึงควรส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ความสามารถพ้ืนฐานแต่ละด้านของตนเองเป็นปัจจัยในการเรียนรู้สาคัญท่ีจะทาให้ การเรยี นร้ปู ระสบความสาเรจ็ และใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการเรียนรแู้ ละแก้ปัญหาชวี ิตประจาวัน 6. กาหนดบทบาทของครผู ู้สอนจากผูถ้ ่ายทอดความรเู้ ป็นผู้ชว่ ยเหลอื อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ ของผเู้ รยี น แนวคิดการจัดการเรียนรู้นี้ กาหนดบทบาทให้ครูผู้สอนไม่ใช่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ แต่ให้เป็นผู้ช่วย เหลอื อานวยความสะดวกในการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน ให้ผู้เรยี นเรยี นรู้จากการคดิ การปฏิบัติจริง เพื่อแสวงหาและ ค้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง เกิดการเรียนรู้ท่ีแท้จริง มีความสุขและภาคภูมิใจในตนเอง ด้วยมีความเชื่อว่าการ เรียนรู้เป็นเรื่องเฉพาะบุคคล บุคคลจะเกิดการเรียนรู้ได้เน่ืองจากการได้รับประสบการณ์ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์เชื่อมโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ คิดสังเคราะห์สรุปประมวลตกผลึกสร้างเป็นองค์ ความรู้ใหม่ของบุคคลน้ัน และไม่มีใครทาให้ใครเกิดการเรียนรู้ได้ถ้าเขาไม่ปรารถนาท่ีจะเรียนรู้ ดังนั้นการ

เรยี นรู้จะเกิดขน้ึ ไดผ้ ู้เรียนต้องเป็นเจ้าของการเรียนรู้ของตน ความกระหายใคร่รู้และการลงมือหาคาตอบในสิ่ง ที่อยากรู้ด้วยตนเอง จะทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้ในทสี่ ุด 7. การกาหนดวิธกี ารประเมนิ ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) แนวคดิ การจัดการเรียนรู้นี้ มุ่งพัฒนาความสามารถพืน้ ฐานทีจ่ าเป็นของผู้เรียน 3 ด้าน และการปฏิบัติ ในชีวิตประจาวัน ดังน้ัน การประเมินเพ่ือให้ทราบความสาเร็จในการพัฒนาผู้เรียนจึงต้องใช้การประเมินอย่าง ตอ่ เนื่องดว้ ยเคร่อื งมอื และวิธกี ารประเมนิ ที่หลากหลาย เหมาะกับตัวช้ีวัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ วุฒิภาวะและ วัยของผู้เรียน ตัวอย่างเช่น การทดสอบ (ข้อเขียน/ปฏิบัติ) การตรวจจากช้ินงาน การสอบถาม การสัมภาษณ์ ผู้เรียน/ผู้เกยี่ วขอ้ ง การสังเกตการณ์ปฏิบตั ใิ นชวี ติ ประจาวัน นอกจากนี้ รูปแบบการประเมินตามสภาพจริงโดยใช้แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) ก็สะดวกสาหรับ ผู้สอน ทั้งนี้เพราะ 1 ใน 5 ของกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสาคญั และมกั เป็นกจิ กรรมสุดท้ายของการจัดการเรียนรู้คือ Learning to Serve หรือการให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ช้ินงานในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัด ความสนใจอย่าง ต่อเนื่อง เพ่ือรายงานผลการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง ดังน้ัน การนาชิ้นงานของผู้เรียนมาใช้ ประโยชน์ในการตัดสินและประเมินผลการเรียน จึงนับว่าเป็นแนวทาง การวัดและประเมินที่มีประสิทธิภาพ เพราะทาใหท้ ราบพัฒนาการและความสาเร็จที่แท้จริงของผู้เรียน ทาให้การทาชิ้นงานของผู้เรียนมีความหมาย ย่ิงขน้ึ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั แนวคิดการจัดการเรยี นรู้นเ้ี ป็นอย่างมาก 2.4 แนวคิดเกย่ี วกบั การพัฒนาความสามารถพื้นฐานจาเป็นของผูเ้ รียน การกาหนดจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ สอง (พ.ศ. 2552–2561) ซึ่งมีวิสัยทัศน์ให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยมีตัวบ่งช้ีและค่า เป้าหมายที่เก่ียวข้องกับผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน คือ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลัก จากการทดสอบ ระดบั ชาตมิ ีคะแนนเฉลย่ี มากกวา่ ร้อยละ 50 และ2) ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาด้านคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ เพิ่มข้ึนไม่ต่ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ (ผลการทดสอบ PISA) ความสามารถพ้ืนฐานหลักท่ีจาเป็นต่อผู้เรียน ท่ี ตอบสนองตามเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง คือ ความสามารถด้านภาษา (literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) โดยปีการศึกษา 2555 ได้จัดให้มีการ ประเมินความสามารถพ้ืนฐานหลัก 3 ด้าน กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน496,196 คน จาก 28,204 โรงเรียนเพอื่ การใช้ผลการประเมนิ ในการพฒั นาความพรอ้ มของผู้เรียน ผลการประเมินพบว่า ความสามารถด้านภาษามีคะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนต่าสุดคือ 0 คะแนน สูงสุดเท่ากับ 28 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 12.88 คิดเป็นร้อยละ 42.94 โดยมีนักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง ร้อยละ 16.39 ระดับพอใช้ ร้อยละ 32.61 ระดับดี ร้อยละ 35.02 และระดับดีเยี่ยม ร้อยละ 15.98 ความสามารถด้าน คานวณ มีคะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนต่าสุดคือ 0 คะแนนสูงสุดเท่ากับ 30 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 11.23 คิด เป็นรอ้ ยละ 37.45 โดยมีนักเรียนอยู่ในระดับปรับปรุง ร้อยละ 13.41 ระดับพอใช้ ร้อยละ 46.54 ระดับดี ร้อย ละ 22.05 และระดบั ดเี ยย่ี ม ร้อยละ 17.99 ความสามารถด้านเหตุผล มีคะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนต่าสุด

คือ 0 คะแนนสูงสุดเท่ากับ 30 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.77 คิดเป็น ร้อยละ 45.92 โดยมีนักเรียนอยู่ในระดับ ปรบั ปรงุ รอ้ ยละ 21.54 ระดบั พอใช้ ร้อยละ 27.24 ระดับดี ร้อยละ 33.12 และระดับดเี ย่ียม ร้อยละ 18.10 ความสามารถด้านภาษาท่ีควรปรับปรุง คือ การคาดคะเนจากเร่ืองท่ีอ่าน การสรุปเรื่องราวจากเรื่องท่ี อ่าน และการนาข้อคิดที่ได้จากเรื่องไปใช้ในชีวิตประจาวัน ความสามารถด้านคานวณที่ต้องปรับปรุงคือ ด้าน การวัด และการวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น สาหรับความสามารถด้านเหตุผล มีสิ่งที่ควรปรับปรุง คือ การ นาข้อมูลหรือสารสนเทศมาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ในการวางแผน จากผลการประเมินดังกล่าวจะเห็นได้ว่า นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถพ้ืนฐานท้ัง 3 ด้านอยู่ในระดับปรับปรุงและพอใช้รวมกัน ประมาณ ร้อยละ 50 จึงมีความจาเป็นในการพัฒนาความสามารถพ้ืนฐานที่จาเป็น ท้ังด้านภาษา ด้านคานวณ และดา้ นเหตุผล เนื่องจากความสามารถท้ัง 3 ด้านเป็นทักษะท่ีสาคัญต่อการดารงชีวิตในสังคมอย่างมีคุณภาพ ของแตล่ ะบุคคล ความหมายของความสามารถด้านภาษา ดา้ นคานวณ และด้านเหตผุ ล ความสามารถด้านภาษา และด้านคานวณ (literacy & numeracy) แต่เดิมคือ การอ่านออกเขียนได้ และคิดเลขเป็น แต่ในปัจจุบันความเข้าใจเกี่ยวกับการอ่านออกเขียนได้ หมายถึง ความสามารถในการอ่าน ความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์วิพากษ์ รูปแบบที่ใช้ในการส่ือสาร ท้ังภาษาพูด ภาษาเขียน และรวมถึงส่ือ ส่ิงพิมพ์ และส่ือดิจิตอลท่ีใช้ในชีวิตประจาวันอีกด้วย ส่วนการคิดเลขเป็น ก็มิได้หมายถึงการบวกลบ คูณ หาร แตเ่ พียงอยา่ งเดยี วหากแตย่ งั หมายถงึ การมคี วามเข้าใจในความคิดรวยอดทางคณิตศาสตร์ สามารถนาไปใช้ใน การแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ที่เหมาะสม ในชีวิตประจาวันได้ การอ่านข้อมูลสารสนเทศท่ีนาเสนอในรูปของ คณิตศาสตร์ไดอ้ ย่างมคี วามหมาย เช่น การอ่านแผนภูมิ ตาราง ความสามารถด้านเหตุผล คือความสามารถใน การเช่ือมโยงหรือนาส่ิงท่เี รยี นรมู้ าแล้ว ไปใชใ้ นการตัดสนิ ใจ ไดอ้ ย่างมีเหตผุ ลและคานึงถึงคณุ ธรรม ความสามารถด้านภาษา(Literacy) ความสามารถด้านภาษา หมายถึงความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสาคัญ ประเมินส่ิงที่อ่านจากส่ือประเภทต่างๆ รู้จักเลือกอ่านตามวัตถุประสงค์ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันและการอยู่ รว่ มกันในสงั คม ใชก้ ารอ่านเพือ่ การศึกษาตลอดชวี ิต และส่อื สารเปน็ ภาษาเขยี นไดถ้ กู ตอ้ งตามหลักการใช้ภาษา และอย่างสรา้ งสรรค์ ลกั ษณะสาคญั ของความสามารถด้านภาษา 1. ความสามารถในการอ่านหมายถึง พฤติกรรมการรู้ ความเขา้ ใจ การสรุปสาระสาคัญ การวิเคราะห์ และการประเมินได้ 2. รู้ หมายถงึ ความสามารถบอกความหมาย เรอื่ งราว ขอ้ เท็จจริง และเหตกุ ารณต์ า่ งๆ 3. เข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการแปลความ ตคี วาม ขยายความ และสรปุ อา้ งอิง 4. สรุปสาระสาคญั หมายถึง ความสามารถในการสรุปใจความสาคญั ของเนื้อเร่ืองได้อย่างสั้นๆ กระชบั และครอบคลมุ

5. วเิ คราะห์ หมายถงึ ความสามารถในการแยกแยะเร่ืองราว ข้อเทจ็ จริง เหตุผล ข้อคิดเห็น คุณคา่ และสว่ นประกอบอืน่ ๆ 6. ประเมิน หมายถึง ความสามารถในการตดั สินความถกู ต้อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คณุ คา่ ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด 7. ส่อื ประเภทตา่ งๆ หมายถึง สง่ิ ทนี่ าเสนอเร่ืองราวและข้อมูลต่างๆ ท่ีพบเห็นในชวี ติ ประจาวัน ท้งั ท่ี เปน็ สอ่ื สง่ิ พิมพ์ และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซึง่ นาเสนอข่าวและเหตกุ ารณ์ประจาวนั นิทาน เร่อื งเลา่ สัน้ ๆ บทเพลง บทร้อยกรอง และสาระความรูจ้ ากบทเรยี นในกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อืน่ ๆ 8. เลอื กอ่านตามวตั ถปุ ระสงค์ หมายถึง สามารถพจิ ารณา กลน่ั กรอง คดั สรรสิง่ ทจ่ี ะอ่าน ตาม จุดมงุ่ หมาย 9. นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั หมายถึง สามารถเลือกนาความรู้ ความเขา้ ใจ สาระสาคญั ความคดิ และ ขอ้ มูลที่ได้จากการวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ไปใชเ้ ป็นประโยชน์ใน การแก้ไขปัญหา การตัดสินใจ หรอื ตาม จุดมุ่งหมายอนั เปน็ ประโยชนใ์ นการดาเนินชีวิต 10. การศกึ ษาตลอดชวี ติ หมายถงึ การใช้ความสามารถในการอ่านเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง 11. สอ่ื สาร หมายถึง ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความเขา้ ใจ และความคิด จากการอ่าน โดยการบอกเล่าหรือเขยี น อธิบาย วเิ คราะห์ หรอื ประเมนิ 12. สรา้ งสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการแสดงความรู้และความคิดใหมจ่ ากการอ่าน เป็นภาษา เขียนที่ถูกต้องตามหลกั การใช้ภาษา ความสามารถดา้ นการคดิ คานวณ(Numeracy) ความสามารถด้านคานวณ หมายถงึ ความสามารถในการใชท้ กั ษะการคิดคานวณความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับชวี ิตประจาวัน ลกั ษณะสาคัญของความสามารถดา้ นคานวณ 1. ทกั ษะการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อยา่ ง ถกู ต้อง คลอ่ งแคลว่ 2. ความคดิ รวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถงึ ความรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับ จานวนนบั เศษส่วน ทศนิยม และรอ้ ยละ ความยาว ระยะทาง นา้ หนัก พ้นื ที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงนิ ทศิ แผนผัง และขนาด ของมมุ ชนิดและสมบัตขิ องรูปเรขาคณิต แบบรปู และความสัมพนั ธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเนการ เกดิ ขึ้นของเหตุการณ์ต่างๆ 3. ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถในการนาความรทู้ างคณติ ศาสตร์และ เทคโนโลยไี ปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆ ในชีวิตประจาวนั ไดแ้ ก่ ความสามารถในการแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการ ท่หี ลากหลาย การใหเ้ หตผุ ล การสือ่ สาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเช่อื มโยงความรู้ และการมคี วามคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning Ability)

ความสามารถด้านเหตุผล หมายถึง ความสามารถในการเช่ือมโยงความรู้และประสบการณ์ไป วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า ข้อมูล/ สถานการณ์/ สารสนเทศที่ให้มา เพื่อการตัดสินใจ โดยมีเหตุผล ประกอบอยา่ งสมเหตุสมผล (บนพ้ืนฐานของขอ้ มลู หลักการ เหตผุ ล ทางวิทนยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการ ดาเนินชีวิต อยา่ งมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม) ลักษณะสาคญั ของความสามารถดา้ นเหตุผล 1. ความรู้ หมายถงึ ความสามารถในการจดจาขอ้ เท็จจริง ทฤษฏี หลกั การ ที่ศกึ ษารวมท้ังคณุ ธรรม จริยธรรม 2. ประสบการณ์ หมายถึง ความรเู้ ดิมที่เกดิ จากการเรยี นรู้ ปฏบิ ตั ิ หรือได้พบเห็น เร่ืองต่างๆ ในระดบั บคุ คล สังคม และสงั คมโลก 3. วิเคราะห์ หมายถงึ ความสามารถในการเปรียบเทยี บ บอกความตา่ ง ความเหมือน สรุปหลกั การ บอกความสัมพันธ์ เช่อื มโยงอย่างมเี หตุผล บนพื้นฐานของหลกั การทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการ ดาเนนิ ชีวิต อย่างมคี ุณธรรมและจริยธรรม 4. สังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการสรา้ งข้อสรุปใหม่ ออกแบบ คิดสร้างสรรค์ บนพน้ื ฐาน ของข้อมูลที่ผ่าน การวิเคราะห์ ประเมินแลว้ อย่างสมเหตุสมผล 5. ประเมินค่า หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจ เลือกทางเลอื กอยา่ งสมเหตุสมผล มปี ระโยชน์ และสร้างสรรค์ 6. เหตุผลทางวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ การนาความรู้ ประสบการณ์ทเี่ กดิ จากการเรียนรมู้ าประกอบการ ตัดสินใจในสถานการณท์ เ่ี กดิ ข้ึนในสังคม ให้สมเหตสุ มผลตามหลักเกณฑ์ทางวทิ ยาศาสตร์ 7. เหตผุ ลทางสังคมศาสตร์ หมายถงึ การนาความรู้ ประสบการณ์จากกฎเกณฑ์ ความเชื่อ วัฒนธรรม คา่ นิยมทางสงั คมศาสตรม์ าประกอบการตดั สินใจในสถานการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ ในสงั คมได้อย่างสมเหตผุ ล 8. เหตุผลทางการดาเนินชวี ิต หมายถงึ การนาความรู้ หลกั การ กฎเกณฑ์ มาใช้ในการดารงชีวติ หรือ ประกอบการตัดสนิ ใจในสถานการณ์ท่เี กิดขึ้นในสังคม อยา่ งมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม บทบาทครใู นการพัฒนาความสามารถพน้ื ฐานทจ่ี าเป็น ครูทาหน้าที่ที่สาคัญในการพัฒนาผู้เรียน การสอนท่ีดีย่อมนาไปสู่การเรียนรู้ที่ดี ครูท่ีสามารถพัฒนา ความสามารถด้านภาษา ด้านคิดคานวณและด้านเหตุผล ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพย่อมสร้างความ เปลี่ยนแปลงต้ังแต่ระดับห้องเรียนถึงระดับชาติได้การพัฒนาครูให้มีประสิทธิภาพในการสอนดังกล่าว มีความ จาเปน็ ท่ตี ้องพัฒนาในเร่อื งตอ่ ไปนี้

1. ความเข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการอ่าน พัฒนาการด้านการอา่ น กลยทุ ธใ์ นการอ่านเพื่อการสรุป ความ พฒั นาการด้านการเขยี น ลายมือ การสะกดคา 2. ความเขา้ ใจเกย่ี วกับความคิดรวบยอดทางคณติ ศาสตร์ทใ่ี ช้ในชีวติ ประจาวัน ความเขา้ ใจและสือ่ สาร โดยใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตร์ การสารวจ การต้ังสมมตฐิ าน การใหเ้ หตผุ ล และใชว้ ธิ ีท่หี ลากหลายในการ แกป้ ัญหา 3. ความสามารถในการทาให้ผู้เรียนมคี วามสุข สนกุ สนานในการอ่าน การเขยี น และส่อื สารผ่านการใช้ ภาษาโดยมีผฟู้ งั หรือผรู้ บั สารทห่ี ลากหลาย 4. ความสามารถทจี่ ะทาใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามเขา้ ใจ และมีความสุขในการเรียนคณิตศาสตร์ 5. กลยทุ ธก์ ารสอนหลากหลายวธิ ีทีใ่ ชใ้ นการพฒั นาความสามารถดา้ นภาษา ด้านคานวณ และดา้ น เหตผุ ล โดยการบรู ณาการผ่านรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และการสอนทค่ี านึงถึงความแตกตา่ งระหว่าง ผู้เรยี น (Differentiate Instruction) การสอนเน้นทักษะ (Skill – Based) การทางานเด่ยี ว (Individualized learning) และกลุ่มร่วมมือกัน (Cooperative group work) 6. การพฒั นาวธิ ีการ หรือสอ่ื การสอนที่ทาให้นักเรียนเรยี นรู้ตามหลกั สตู ร มากกว่าการใช้หนังสือเรยี น เพยี งอย่างเดียว 7. การสนบั สนุนผ้เู รยี นท่มี ีอปุ สรรคในการเรยี นรู้ หรอื มีข้อเสียเปรยี บในการเรยี น 8. การพฒั นาวธิ กี ารประเมนิ ท่ีสามารถใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรู้ทส่ี ามารถพฒั นาผูเ้ รียนไปที ละขนั้ อย่างตอ่ เนื่อง 9. ความสามารถในการให้ข้อมลู ปอ้ นกลับ หรอื คาแนะนากับผ้เู รยี น เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ของตนเอง บทบาทผู้บรหิ ารในการพฒั นาความสามารถพ้ืนฐานทจ่ี าเป็น ผู้บริหารมีบทบาทสาคัญในการสร้างบรรยากาศในโรงเรียนท่ีส่งเสริมการสอนและการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ ผู้บริหารจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการบริหารจัดการโรงเรียนท่ีเหมาะสมลักษณะ การเรียนรู้ของนักเรียนและทาให้นักเรียนมีการเรียนรู้ท่ีดีท่ีสุด เป็นผู้นาในการเรียนรู้ การวางแผนปฏิบัติการ การปฏบิ ัตติ ามแผน การสนบั สนนุ ชว่ ยเหลือและการสอนงานและให้คาปรึกษาดูแลในการปฏิบัติตามแผน เพื่อ ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงของผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน การพัฒนาความสามารถด้านภาษา ด้านคานวณ และ ด้านเหตุผล ผบู้ รหิ ารจาเป็นตอ้ งทาใหโ้ อกาสเหล่านี้เกิดขึ้น 1. โอกาสในการท่ีท่านไดพ้ ฒั นาความเขา้ ใจเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาความสามารถพื้นฐานทจี่ าเป็น ด้านภาษา ดา้ นคานวณ และด้านเหตุผล 2. โอกาสในการที่ท่านไดพ้ ฒั นาความเขา้ ใจถึงกระบวนการประเมนิ ท่ีครใู ชใ้ นการวางแผนการจัดการ เรียนรสู้ าหรับนกั เรยี น การวเิ คราะหค์ วามยากลาบากในการเรยี นรขู้ องนักเรียน และการส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียน เกิดการเรียนรู้ 3. โอกาสในการที่ทา่ นได้พัฒนาทกั ษะทจี่ าเป็นให้กับครูเพื่อให้ครสู ามารถพัฒนานักเรยี น เพือ่ นาไปสู่ การพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบ

การพัฒนาความสามารถพืน้ ฐานท่จี าเป็นกบั การพฒั นาการ อา่ น คิดวเิ คราะห์ เขยี น ความสามารถด้านภาษา ด้านคานวณ และด้านเหตุผล เป็นความสามารถพื้นฐานที่จาเป็นต้องเป็น ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ของนักเรียนทุกคน นักเรียนควรได้รับโอกาสในการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ไปพร้อม กับการพฒั นาความสามารถพื้นฐาน โดยมเี จคตทิ ีด่ ตี ่อการอ่าน การเขยี น และการคานวณ หลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น เปน็ เกณฑ์หน่ึงในการตดั สนิ เลื่อนชน้ั และจบการศกึ ษา ผเู้ รยี นต้องมีความสามารถในการอ่านหนังสือ ตาราเรียนและเอกสารและหรือส่ือต่างๆ แล้วนาเน้ือหาสาระท่ีอ่านมาคิดวิเคราะห์ นาไปสู่การแสดงความ คดิ เห็น การสงั เคราะห์ หรอื การสรา้ งสรรค์ การแก้ปญั หา และถ่ายทอดความคิดด้วยการเขียนท่ีมีสานวนภาษา ถูกต้อง มีเหตุผลและนาเสนอตามลาดับขั้นตอน สามารถสร้างความเข้าใจให้กับผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตาม ขอบเขตและตัวช้ีวัดท่ีกาหนดในแต่ละระดับช้ัน โดยรูปแบบในการพัฒนาโดยการบูรณาการไปกับการจัดการ เรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือการจัดกิจกรรมและโครงการต่างๆ และต้องมีการตรวจสอบว่าผู้เรียน ความสามารถตามตวั ช้วี ดั ที่กาหนด การบูรณาการการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีลักษณะสาคัญท่ีสัมพันธ์กับ ความสามารถด้านภาษา ด้านคานวณ และด้านเหตุผล เป็นอย่างดี ท้ังการอ่าน การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมนิ คา่ การอา่ นจากหนังสอื สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ ตา่ ง และการเขยี นท่ีผ่านการให้เหตุผลและการนาเสนอท่ีเป็น ลาดบั ข้นั ตอน อีกท้ังตัวช้ีวัดเหล่าน้ียังปรากฏอยู่ในหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว สามารถจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตามกลยุทธ์ท่ีพัฒนาขึ้น เป็นการพัฒนาความสามารถพ้ืนฐานท่ีจาเป็นโดยไม่ต้องนามาเป็นภาระที่เพิ่มข้ึน สาหรบั ครู หรอื การใช้กิจกรรมท่ีแยกส่วนออกจากการจัดการเรียนรู้ปกติ โดยตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนทกี่ าหนด เป็นตัวชี้วัดทสี่ ามารถใช้ในการประเมินความสามารถพ้ืนฐาน 3 ด้าน ได้อย่าง ดี ดังตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 ขอบเขตการประเมนิ และตวั ช้วี ดั ความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ระดบั ชน้ั ขอบเขตการประเมิน ตวั ช้ีวัด ประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 การอ่านจากสื่อส่ิงพิมพ์และหรือส่ือ 1. สามารถอ่านและหาประสบการณ์ ประถมศึกษาปที ี่ 4 – 6 ประเภทต่างๆ ท่ีให้ความเพลิดเพลิน จากส่อื ท่ีหลากหลาย ความรู้ ประสบการณ์ และมีประเด็น 2 . ส า ม า ร ถ จั บ ป ร ะ เ ด็ น ส า คั ญ ให้คิดและเขียนบรรยาย ถ่ายทอด ข้อเทจ็ จรงิ ความคดิ เหน็ จากเรอ่ื งทอี่ า่ น ประเด็นที่คิดด้วยภาษาท่ีถูกต้อง 3. สามารถเปรยี บเทยี บแง่มุมต่างๆ เช่น เหมาะสม เช่น อ่านสาระความรู้ท่ี ข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ โทษ ความ นาเสนออย่างสนใจ นิยาย เร่ืองส้ัน เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม นทิ าน นยิ ายปรมั ปรา 4. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อเร่ืองที่ อา่ นโดยมีเหตผุ ลประกอบ 5. สามารถถ่ายทอดความคิดเห็น ความร้สู ึก จากเรื่องทอี่ า่ นโดยการเขียน การอ่านจากสื่อสิ่งพิมพ์และหรือสื่อ 1. สามารถอา่ นเพอื่ หาข้อมูลสารสนเทศ ประเภทต่างๆท่ีให้ข้อมูลสารสนเทศ เสรมิ ประสบการณ์จากส่ือประเภทต่างๆ ความรู้ ประสบการณ์ ท่ีเอื้อให้ผู้อ่าน 2 . ส า ม า ร ถ จั บ ป ร ะ เ ด็ น ส า คั ญ นาไปคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น เปรียบเทียบ เช่ือมโยง ความเป็นเหตุ ตัดสินใจ แก้ปัญหา และถ่ายทอดการ เปน็ ผลจากเร่ืองทอ่ี ่าน เขียนเป็นความเรียงเชิงสร้างสรรค์ 3. สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ด้วยถ้อยคาภาษาท่ีถูกต้อง ชัดเจน เร่ืองราวเหตุการณ์ของเรอ่ื งที่อา่ น เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์ วารสาร 4. สามารถแสดงความคดิ เหน็ ต่อเรื่อง ท่ี หนังสอื เรียน บทความ อา่ นโดยมเี หตุผลสนบั สนุน สนุ ทรพจน์ คาแนะนา คาเตอื น 5. สามารถถ่ายทอดความเข้าใจ ความ คิดเห็น คุณค่า จากเรื่องท่ีอ่านโดยการ เขียน การพัฒนาความสามารถพื้นฐานท่ีจาเป็น 3 ด้าน คือความสามารถด้านภาษา ด้านคานวณ ด้าน เหตผุ ลของผู้เรียน ครสู ามารถเลือกรปู แบบวธิ ีการทเี่ หมาะสม สอดคล้องกบั ธรรมชาตขิ องผเู้ รียนและบริบทของ

การสอนของครู โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาความสามารถพื้นฐานที่จาเป็น และการประเมิน ความสามารถและความกา้ วหน้าของผเู้ รียนเปน็ สาคญั

2.5 แนวคิดเกีย่ วกบั รูปแบบและการพัฒนารปู แบบ รูปแบบ (Model) (Tosi and Carroll,1982: 163) เป็นคาท่ีใช้สื่อเพื่อความหมายหลายอย่าง โดยทั่วไปจะหมายถึงสิ่งหรือวิธีดาเนินการท่ีเป็นต้นแบบอย่างใดอย่างหน่ึงตามพจนานุกรม Contemporary English ของ Longman ได้ให้ความหมายไว้ ซึ่งสรปุ ได้ 3 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ 1. รูปแบบ หมายถงึ แบบจาลองซึง่ เป็นสิ่งย่อส่วนจากของจรงิ 2. รูปแบบ หมายถึง คนหรือส่ิงของท่ีสามารถนามาใช้เป็นแบบอยา่ งการดาเนนิ งานได้ 3. รปู แบบ หมายถงึ แบบหรือรุ่นของผลิตภัณฑต์ ่าง ๆ เชน่ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ รนุ่ 486X Styner อา้ งถึงใน Good ได้ใหค้ วามหมายของรปู แบบวา่ หมายถึง ส่ิงของสิ่งหน่งึ ทคี่ ลา้ ยคลึงกบั สิ่งของอีกส่ิงหนง่ึ และจาแนกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. รูปแบบทางกายภาพ (Physical models) แบง่ ออกเป็น 2 ลักษณะ คอื 1.1 รปู แบบของสิง่ ใดสิง่ หนึ่ง (model for) หมายถงึ แบบจาลองที่ออกแบบมาจากของจรงิ 1.2 รปู แบบเพื่อสิง่ ใดสิง่ หนึง่ (model for) หมายถงึ แบบจาลองสร้างและออกแบบไว้เพื่อใช้ เป็นต้นแบบของสงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ 2. รูปแบบเชงิ แนวความคิด (Conceptual models) แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 2.1 โมเดลเชิงแนวความคิดของสง่ิ ใดสง่ิ หนึ่ง (Conceptual model -of) คือรปู แบบที่สรา้ ง ขึน้ โดยจาลองมาจากทฤษฎี ที่มีอยู่แล้ว 2.2 โมเดลเชิงแนวความคดิ เพ่ือสร้างส่ิงใดสงิ่ หน่งึ (Conceptual model -for) คอื รูปแบบที่ สรา้ งขนึ้ เพื่ออธิบายตัวสาระของทฤษฎี ความเข้าในเก่ียวกับรูปแบบ คาว่า รูปแบบ หรือ Model เป็นคาท่ีใช้สื่อความหมายหลายอย่าง ส่ิง หรือวิธดี าเนินงานท่ีเป็นรูปแบบอย่างใดอย่างหน่ึง เช่น รูปแบบจาลองสิ่งก่อสร้าง รูปแบบในการพัฒนาชนบท รูปแบบในการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกต้ังเป็นผู้แทนราษฎร เป็นต้น พจนานุกรมได้ให้ความหมายไว้ 5 ความหมาย แต่ท่ีสรุปได้ว่าสรุปได้ว่า รูปแบบมีสองลักษณะ คือ รูปแบบที่เป็นรูปแบบจาลองของส่ิงท่ีเป็น รูปธรรม และรูปแบบท่ีเป็นแบบจาลองของนามธรรม 2.6 ความพึงพอใจ 1) ความหมายของความพึงพอใจ นกั การศึกษาหลายไดท้ า่ นได้ใหค้ วามหมายของความพึงพอใจ ไวด้ งั น้ี กาญจนา ภาสรุ พันธ์ (2531) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรู้สึกนึกคิดต่อ ส่งิ ใดสงิ่ หน่ึงทไ่ี ด้รับตามท่ีคาดหวังและเป็นสภาพจิตใจ ความรู้สึกนึกคิด ท่ีมีต่อพฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึ่ง มี อทิ ธิพลอยา่ งมาก ทท่ี าให้บุคคลไมย่ อมรบั ต่อสภาพที่แตกตา่ ง ไปจากความคิดของตนเอง

พวงรตั น์ ทวีรตั น์ (2538) ได้กล่าวไว้ว่า ความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกชอบ หรือไม่ชอบของ บุคคลแลว้ ตอบสนองต่อสถานการณท์ ่เี กดิ ข้ึน จากผลของการเรียนรู้ ซ่ึงแต่ละบุคคลจะมีความ รู้สึกแตกต่างกัน อันจะส่งผลต่อพฤติกรรมท่ีต่างกันด้วย เน่ืองจากการเรียนรู้ ประสบการณ์ท่ีเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดง พฤติกรรมต่อส่งิ ตา่ ง ๆ เตือนใจ แสงไกร (2549) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด หรือเจตคติของบุคคล ที่มีต่อการทางาน ต่อสภาพแวดล้อมหรือ ต่อการปฏิบัติกิจกรรม ในเชิงบวก ความรู้สึก พอใจ ชอบใจ ในการรว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้และตอ้ งการเข้าร่วมกิจกรรมนน้ั ๆ จนบรรลผุ ลสาเรจ็ วิมลวรรณ ดาวดาษ (2552) สรุปความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจ คือ ความร้สู กึ ชอบ ประทบั ใจ ทเี่ กดิ ข้ึนภายในตัวบุคคล ท่ีมีต่อส่ิงเร้าต่าง ๆท่ีได้สัมผัส และรับรู้จากประสาทสัมผัส ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ องค์ประกอบด้านความรู้หรือความเข้าใจ องค์ประกอบด้านความรู้สึก และ องคป์ ระกอบทางดา้ นพฤติกรรม จากแนวคิดของนักการศึกษา ท่ีกล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบ ประทับใจของบุคคลท่ีมีต่อการทางาน สิ่งแวดล้อม หรือกิจกรรมในเชิงบวก เป็นพฤติกรรมท่ี ตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ทไี่ ด้สมั ผสั และรบั รู้จากประสาทสัมผสั ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ความเข้าใจ ด้านความรู้สกึ และด้านพฤตกิ รรม 2) แนวคิดทฤษฎที ีเ่ ก่ียวกบั ความพึงพอใจ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมใดๆ บคุ คลจะเกดิ ความพงึ พอใจต่อกจิ กรรมนน้ั ๆ มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่ กบั แรงจูงใจในกจิ กรรมท่มี ีอยู่ การสร้างแรงจงู ใจ หรอื แรงกระตุ้นให้เกิดกบั นักเรยี นจึงเป็นส่งิ จาเป็น เพ่ือให้ การเรียนรขู้ องนกั เรียนเปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ สกอ๊ ตต์ (Scott.1970) ได้เสนอแนวคดิ ในเรื่องการจงู ใจ ใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจต่อการทางาน ท่ีจะใหผ้ ลเชิงปฏบิ ัติ มลี ักษณะดงั นี้ 1. งานควรมีสว่ นสัมพนั ธก์ ับความปรารถนาสว่ นตัว งานน้นั มคี วามหมายสาหรบั ผู้ทา 2. งานน้นั ตอ้ งมกี ารวางแผน และวัดความสาเร็จได้ โดยใช้ระบบการทางานและการควบคุม ท่มี ี ประสทิ ธิภาพ 3. เพือ่ ใหไ้ ด้ผลในการสรา้ งสง่ิ จูงใจภายในเปา้ หมายของงาน จะต้องมลี ักษณะดังน้ี

3.1 คนทที่ างานมสี ว่ นในการตง้ั เปา้ หมาย 3.2 ผู้ทปี่ ฏบิ ตั ิได้รับทราบผลสาเรจ็ ในการทางานโดยตรง 3.3 งานนน้ั สามารถทาให้สาเรจ็ ได้ เมื่อนาแนวคิดน้ีมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนมีส่วนร่วมในการเลือก ตามความสนใจ และมีโอกาสร่วมกัน ตั้งจุดประสงค์หรือความมุ่งหมายในการทากิจกรรมได้เลือกวิธีแสวงหา ความรู้ด้วยวิธที ผี่ ู้เรยี นถนัดและสามารถค้นหาคาตอบได้ สมยศ นาวีการ (2545) กล่าวถึงการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนว่า ความพึงพอใจ เป็นส่ิง สาคัญท่ีจะกระตุ้นให้ผู้เรียนที่ได้รับมอบหมายหรือต้องการปฏิบัติให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ครูผู้สอนซ่ึงใน สภาพปัจจุบันเป็นเพียงผู้อานวยความสะดวกหรือให้คาปรึกษา จึงต้องคานึงถึงความ พึงพอใจในการเรียนรู้ การทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู้หรือการปฏิบัติงานมีแนวคิด พ้ืนฐานท่ีแตกต่างกัน 2 ลักษณะ คอื 1. ความพึงพอใจในการปฏิบัตงิ าน การตอบสนองความต้องการผปู้ ฏบิ ัติงานจนเกิดความพึงพอใจ จะทาให้เกิดแรงจูงใจในการทางาน ประสิทธิภาพการทางานท่ีสูงกว่า ผู้ไม่ได้รับการตอบสนอง ซ่ึงครูผู้สอนท่ีต้องการใช้ กิจกรรมการเรียนท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางบรรลุผลสาเร็จ จึงต้องคานึงถึงการจัดบรรยากาศและสถานการณ์รวมสื่อ อุปกรณ์การ เรยี นการสอนทเ่ี ออ้ื อานวยตอ่ การเรยี นเพือ่ ตอบสนองความพงึ พอใจของผู้เรยี น ให้มแี รงจูงใจในการทากิจกรรม จนบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร 2. ผลของการปฏิบตั งิ านไปสู่ความพงึ พอใจ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความพงึ พอใจและผลการปฏบิ ตั ิงานจะถกู เชอื่ มโยงด้วยปจั จยั อื่นๆ ผลการปฏิบัตงิ านดี จะนาไปสู่ผลตอบแทนท่เี หมาะสม ซง่ึ ในทสี่ ดุ จะนาไปสกู่ ารตอบสนองในรูปรางวลั หรือ ผลตอบแทน ซึง่ แบง่ ย่อยเป็นผลตอบแทนภายใน (Intrinsic Rewards) และผลตอบแทน ภายนอก (Extrinsic Rewards) โดยผา่ นการรบั ร้เู กี่ยวกบั ความยตุ ิธรรมของผลตอบแทน ซ่ึงเปน็ ตัวบ่งช้ปี รมิ าณของผลตอบแทน ท่ี ผู้ปฏบิ ตั ิงานได้รับ นนั่ คือ ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน จะถกู กาหนด โดยความแตกต่างระหวา่ งผลตอบแทน ท่เี กดิ ขึ้นจรงิ และการรบั รู้เรื่องราวเก่ยี วกบั ความยตุ ธิ รรมของผลตอบแทนที่รบั ร้แู ลว้ ความพงึ พอใจยอ่ มเกิดขึ้น สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546) ได้กลา่ วถงึ เจตคติต่อ คณิตศาสตร์ ท่สี ัมพันธ์กับความพงึ พอใจว่า เป็นความรูส้ ึกของบุคคลทีจ่ ะตอบสนองต่อวชิ าคณิตศาสตร์ ในด้าน

ความพอใจหรือไม่พอใจ ความชอบหรือไม่ชอบ รวมท้ังการตระหนกั ในคุณค่าของวิชาคณิตศาสตร์ ทงั้ นกี้ าร เปล่ียนแปลงเจตคติต่อคณติ ศาสตร์ขน้ึ อยู่กับปัจจัยดังต่อไปน้ี 1. ความสอดคล้อง ภาวะท่กี ลมกลนื สอดคล้องกัน ไม่มีความกดดนั ด้านใดดา้ นหนึง่ จะทาใหเ้ จตคติ ในสิ่งน้นั เป็นไปอยา่ งต่อเนอื่ ง แตถ่ ้าไม่มีความสอดคลอ้ งกนั หรือมแี รงกดกันผเู้ รยี นอาจปรับเปลีย่ น หลกี หนจี าก สิง่ น้ันหรอื อาจหาเหตุผลมาสนับสนุนความรู้สกึ ของตนเองได้ 2. การเสรมิ แรง การเสริมแรงและการยกย่อง ชมเชยในรปู แบบทที่ าใหผ้ เู้ รยี นเกิดความ สนใจ จะ ทาให้ผเู้ รียนยอมรับข้อมลู ข่าวสาร ซ่งึ อาจทาใหผ้ ู้เรียนปรบั เปลี่ยนเจตคตติ ามสงิ่ ล่อใจ 3. การตัดสนิ ทางสงั คม การอยใู่ นกลมุ่ คนที่มเี จตคติแบบใดแบบหนงึ่ จะทาใหผ้ ูเ้ รียนปรบั เปล่ียนเจต คตติ ามกลุม่ ที่ตนสมั พันธอ์ ยู่ได้ 3) การวดั ความพึงพอใจ ความพงึ พอใจเป็นคุณลกั ษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล มีความแตกต่างกันตามประสบการณ์ และปัจจยั อ่ืนๆ นักการศึกษาไดเ้ สนอวธิ กี ารวดั ไว้อย่างหลากหลายดังน้ี ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ (2536) ไดเ้ สนอวิธวี ดั ความพึงพอใจไวด้ งั นี้ 1. การสังเกต (Observation) เปน็ การวัดโดยคอยสงั เกตพฤติกรรมท่บี ุคคลแสดงออกต่อส่งิ ใดสิ่ง หนึ่งแลว้ นาข้อมลู ไปอนุมานว่า บคุ คลมเี จตคติตอ่ สง่ิ นัน้ ๆ อย่างไร 2. การรายงานตนเอง (Self-report) เปน็ การวัดโดยการใหบ้ ุคคลเลา่ ความรู้สกึ ท่มี ตี ่อส่งิ น้ัน ออกมาจากการเลา่ น้ี สามารถท่ีจะกาหนดค่าของคะแนนความพอใจได้ 3. วธิ กี ารสัมภาษณ์ (Interview) เปน็ การซักถามกลุ่มบุคคลที่ใชเ้ ปน็ ตัวอยา่ งในการศึกษา แต่ บางครงั้ อาจไม่ได้ความจรงิ ตามท่คี าดหวงั ไว้ เพราะบุคคลท่ีใชเ้ ป็นตัวอย่างอาจไมย่ อมเปิดเผยความรสู้ กึ ที่ แท้จริง 4. เทคนคิ จนิ ตนาการ (Projective techniques) วธิ ีนี้อาศัยสถานการณ์หลายอย่างไปเรา้ ผู้สอบ เมือ่ ผู้สอบเห็นภาพแปลก ๆ ก็จะเกิดจิตนาการออกมาแลว้ นามาตคี วามหมาย จากการตอบน้นั ๆ กพ็ อจะวดั เจตคติไดว้ า่ พอใจหรอื ไม่ 5. วิธีการวดั ทางสรรี ะ คอื ใช้เครอ่ื งมือ เพ่ือสงั เกตการณ์เปล่ียนแปลงของรา่ งกาย การวดั ทาง สรรี ะน้ี สามารถกระทาไดโ้ ดย การวัดความต้านกระแสไฟฟ้าของผิวหนงั การขยายของลูกนัยน์ตา การวดั ฮอร์โมนบางชนิด 6. การใช้แบบสอบถาม ซง่ึ เป็นวิธีทน่ี ยิ มใชก้ ันอย่างแพรห่ ลายวิธหี นงึ่ ภนิดา ชัยปญั ญา (2542) กลา่ วว่า การวดั ความพงึ พอใจ สามารถทาไดห้ ลายวิธี ดัง ต่อไปน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook