Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนบทที่ 1 สถิติ

แผนบทที่ 1 สถิติ

Published by pangpoy, 2022-01-20 14:37:59

Description: แผนบทที่ 1 สถิติ

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน ค 22102 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นเพ็ญพทิ ยาคม จัดทาโดย นางสาวศิรประภา สมบรู ณ์ 60100140219 ปี 5/11 นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู การฝึกปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 รหัสวิชา ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 2) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ก คานา แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 รหัสวิชา ค22102 เล่มน้ี จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและให้นักเรียนบรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ผู้จัดทาจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้พื้นฐานให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ และนาปัญหาท่ีพบจาก ประสบการณ์ และความรู้ที่ได้จากการอบรมสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เทคนิคและวิธีการสอน การวัดผล ประเมินผล จติ วิทยาการเรยี นรู้ ตลอดจนความรู้ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง มาจัดการเรียนรู้ในคร้ังน้ี แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีเป็นแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยท่ี 1 เร่ืองสถิติ ในหน่วยการเรียนรู้จะมี รายละเอยี ดของกจิ กรรมการเรยี นการสอน สอื่ แหลง่ การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รวมทั้งยังมีใบกิจกรรม ประกอบด้วย สามารถนาไปให้นักเรียนทาประกอบกับการสอนได้ ซ่ึงจะทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนเป็นไปอยา่ งราบร่นื เพื่อใหผ้ เู้ รียนบรรลุมาตรฐานการเรียนร้ไู ด้เตม็ ศกั ยภาพอยา่ งแท้จรงิ ผู้จัดทาหวังเปน็ อย่างย่งิ ว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผสู้ อนเองและเป็นประโยชน์ ตอ่ ผ้สู อนในรายวิชาเดียวกนั และผสู้ อนแทนเป็นอยา่ งมาก หากผดิ พลาดประการใดขออภัยมา ณ โอกาสนี้ ศิรประภา สมบรู ณ์ 13 มกราคม 2565

ข สารบญั เรือ่ ง หนา้ คานา…………………………………………………………………………………………………….…………………………..……ก สารบญั ……………………………………………………………………………………………..…………………………….……..ข หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ.2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)………………………..…….………ค ทาไมต้องเรียนคณติ ศาสตร์…………………………………………………………………………………………….…......ค เรียนรู้อะไรในคณติ ศาสตร์.………………………………………………………………………………………….………...ค สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้.………………………………………………………………………….………….…………ง คณุ ภาพผูเ้ รียนเมื่อเรียนจบช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3.……………………………………………………………….………ง สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น.…………………………………...…………………………………………………….…………ฉ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์สาคัญของผู้เรยี น.…………………………………………………………………………….ฉ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2.……………………………………………………….ช คาอธบิ ายรายวชิ าคณติ ศาสตร์……………………………………………………………………………………….…………..ญ ตารางโครงสร้างรายวชิ าคณิตศาสตร์ ………………………..…………………………………………………….……….…ฎ ตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตร………………………………………………………………………………………………….……..….ฐ แผนการประเมินผลการเรยี นรู้………………………………………………………………………………………….………..ฑ กาหนดการสอน……………………………..………………………………………………………………………………………..ฒ แผนการจัดการเรยี นรบู้ ทที่ 1 เรอื่ งสถิติ……………………………………………………………………………………….1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 ทดสอบก่อนเรยี นเรอ่ื งสถติ ิ………………………………………………………….……1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนภาพจดุ ……………………………………………………………..……………..…….18 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 แผนภาพตน้ -ใบ………………………………………………………………………..……32 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 ฮสิ โทแกรม…………………………….…………………………………………….……….46 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 คา่ เฉลยี่ เลขคณติ ( ̅)…………………………………………………………………..….60 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 มัธยฐาน(Me)…………………………………………………………………………….….73 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 ฐานนยิ ม(Mo)……………………………………….…………………………………..…..87 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 การใช้ค่ากลางทีเ่ หมาะสม……………………...…………………………….……….100 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 ทดสอบก่อนเรยี นเรอ่ื งสถติ ิ……………………………………………………...……113

ค หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ทาไมต้องเรยี นคณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ ชว่ ยใหม้ นุษย์มคี วามคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบมีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหา หรือ สถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือ ใน การศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ืน ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ชาติให้มีคุณภาพ และพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึง จาเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเพื่อให้ทันสมัย และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทาง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่เจรญิ ก้าวหน้าอย่างรวดเรว็ ในยคุ โลกาภิวตั น์ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 จัดทาขึ้นโดยคานึงถึงการส่งเสริมให้นักเรียนมี ทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 เป็นสาคัญ น่ันคือ การเตรียมนักเรียนให้มีทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การส่ือสารและการ ร่วมมือ ซ่ึงจะส่งผลให้นักเรียนรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ท้ังนี้การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบ ความสาเร็จนั้น จะต้องเตรียมนักเรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมท่ีจะประกอบอาชีพเมื่อจบ การศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึน ดังน้ัน สถานศึกษาควรจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมตาม ศกั ยภาพของนักเรียน เรียนรู้อะไรในคณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ไดจ้ ัดเปน็ 3 สาระการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ จานวนและพชี คณิต การวัด และเรขาคณิต และสถติ ิและความนา่ จะเปน็ จานวนและพชี คณติ เรียนรเู้ กยี่ วกับระบบจานวนจรงิ สมบัติเกี่ยวกับจานวนจริง อัตราส่วน ร้อยละ การประมาณค่า การแก้ปัญหาเก่ียวกับจานวน การใช้จานวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน เมท ริกซ์ จานวนเชิงซ้อน ลาดับและอนุกรม และการนาความรู้เกี่ยวกับจานวนและพีชคณิตไปใช้ในสถานการณ์ ตา่ งๆ การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้าหนัก พ้ืนท่ี ปริมาตรและความจุ เงิน และเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิตและสมบัติ ของรูปเรขาคณิต การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตใน

ง เรอื่ งการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอร์ในสามมิติ และการนาความรู้เก่ียวกับ การวดั และเรขาคณิตไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ เรยี นรเู้ กยี่ วกบั การตงั้ คาถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การคานวณ ค่าสถิติ การนาเสนอและแปลผลสาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับเบ้ืองต้น ความน่าจะ เปน็ การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การใช้ความรู้เก่ียวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และช่วยในการตัดสนิ ใจ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดรายวิชาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560) มีดงั นี้ สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการ ของจานวน ผลที่เกิดข้ึนจากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ปัญหาท่ี กาหนดให้ สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และนาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ ระหว่างรูปเรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระที่ 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวยการทางสถติ ิ และใช้ความรูท้ างสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลักการนบั เบ้ืองต้น ความน่าจะเปน็ และนาไปใช้ คณุ ภาพผู้เรียนเมอ่ื จบชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 เมอ่ื ผเู้ รยี นจบการเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ผเู้ รยี นควรจะมีความสามารถดงั นี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจานวนจริง ความสัมพันธ์ของจานวนจริง สมบัติของจานวนจริง และ ใช้ความรู้ความเขา้ ใจนี้ในการแก้ปญั หาในชีวติ จริง 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ และใช้ความรู้ความเข้าใจน้ีในการ แกป้ ญั หาในชีวติ จริง

จ 3. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังท่ีมีเลขช้ีกาลังเป็นจานวนเต็ม และใช้ความรู้ความเข้าใจน้ี ในการแกป้ ญั หาในชวี ิตจรงิ 4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร และ อสมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดยี ว และใช้ความรูค้ วามเข้าใจน้ใี นการแก้ปัญหาในชีวติ จรงิ 5. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามสมการกาลังสอง และใช้ ความรคู้ วามเขา้ ใจน้ีในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์ 6. มีความรู้ความเข้าใจและใช้ความรู้เก่ียวกับคู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์ และฟังก์ชันกาลังสอง และใช้ความรู้ความเขา้ ใจเหล่านี้ในการแกป้ ญั หาในชวี ิตจริง 7. มีความรคู้ วามเขา้ ใจทางเรขาคณิตและใชเ้ ครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมท้ังโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนาความรู้ เก่ียวกบั การสรา้ งนี้ไปประยกุ ต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชวี ติ จริง 8. มีความร้คู วามเขา้ ใจเกีย่ วกับรปู เรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติ และความรู้ความเข้าใจ นีใ้ นการหาความสัมพนั ธ์ระหว่างรูปเรขาคณติ สองมิติ และรูปเรขาคณติ สามมิติ 9. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องพ้ืนที่ผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรง กลม และใชค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจนีใ้ นการแก้ปัญหาในชวี ติ จรงิ 10. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสมบัติของเส้นขนาน รูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ รูป สามเหล่ียมคล้าย ทฤษฎบี ทพที าโกรัสและบทกลับ และนาความรคู้ วามเขา้ ใจนีไ้ ปใชใ้ นการแก้ปญั หาในชวี ิตจริง 11. มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองการแปลงทางเรขาคณิต และนาความรู้ความเข้าใจน้ีไปใช้ในการ แก้ปญั หาในชีวิตจรงิ 12. มคี วามรู้ความเขา้ ใจในเรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติและนาความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการแก้ปัญหา ในชวี ิตจริง 13. มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองทฤษฎีบทเก่ียวกับวงกลมและนาความรู้ความเข้าใจน้ีไปใช้ในการ แกป้ ญั หาคณิตศาสตร์ 14. มีความรู้ความเข้าใจทางสถิติในการนาเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมายข้อมูล ท่ี เก่ียวข้องกับแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมูล และแผนภาพกล่อง และใช้ความรู้ ความเขา้ ใจน้ี รวมท้ังนาสถิตไิ ปใชใ้ นชวี ิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสม 15. มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับความน่าจะเป็นและใช้ความรคู้ วามเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชวี ติ จริง

ฉ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วิธกี ารสอื่ สารทมี่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีตอ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตดั สินใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หาและมกี ารตดั สนิ ใจทีม่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึง ประสงคท์ สี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสารการ ทางาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมคี ณุ ธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคส์ าคญั ของผ้เู รยี น ในหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ทักษะและกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ทาความเขา้ ใจหรอื สรา้ งกรณที ่ัวไปโดยใช้ความรู้ทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษากรณตี วั อยา่ งหลายๆ กรณี 2. มองเห็นว่าความสามารถใช้คณิตศาสตรแ์ ก้ปญั หาในชีวิตจรงิ ได้ 3. มคี วามมมุ านะในการทาความเขา้ ใจปัญหาและแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์ 4. สร้างเหตุผลเพอ่ื สนบั สนนุ แนวคดิ ของตนเองหรือโตแ้ ย้งแนวคดิ ของผอู้ นื่ อย่างสมเหตุสมผล 5. ค้นหาลกั ษณะที่เกดิ ข้ึนซ้า ๆ และประยุกตใ์ ช้ลักษณะดังกลา่ วเพ่ือทาความเข้าใจหรือแก้ปญั หาใน สถานการณ์ต่าง ๆ

ช ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 สาระที่ 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลท่เี กดิ ขึ้นจากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการดาเนนิ การ และนาไปใช้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 1.เขา้ ใจและใชส้ มบัตขิ องเลขยกกาลงั ที่มเี ลขช้กี าลงั จานวนตรรกยะ เปน็ จานวนเต็มในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละ - เลขยกกาลงั ท่ีมีเลขช้ีกาลังเป็นจานวนเต็ม ปญั หาในชวี ิตจริง - การนาความรเู้ กย่ี วกับเลขยกกาลัง ไปใชใ้ นการ แกป้ ัญหา 2.เขา้ ใจจานวนจรงิ และความสัมพนั ธ์ของจานวนจริง จานวนจริง และใช้สมบัติของจานวนจริง ในการแก้ปญั หา - จานวนอตรรกยะ คณติ ศาสตร์และปญั หาในชวี ติ จริง - จานวนจริง - รากท่สี องและรากทีส่ ามของจานวนตรรกยะ - การนาความร้เู กี่ยวกับจานวนจรงิ ไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดับและอนกุ รม และนาไปใช้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1. เขา้ ใจหลักการการดาเนนิ การของพหนุ าม พหุนาม และใช้พหุนามในการแก้ปญั หา - พหุนาม - การบวก การลบ และการคูรของพหุนาม - การหารพหนุ ามดว้ ยเอกนามทมี่ ีผลหารเปน็ พหุนาม 2. เขา้ ใจและใชก้ ารแยกตวั ประกอบ การแยกตัวประกอบของพหุนาม ของพหนุ ามดกี รสี องในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ - การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรสี อง โดยใช้ O สมบตั ิการแจกแจง O กาลงั สองสมบูรณ์ O ผลต่างของกาลงั สอง มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสัมพนั ธ์ หรือชว่ ยแกป้ ัญหาทก่ี าหนดให้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง --

ซ สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพืน้ ฐานเก่ียวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี ้องการวัด และนาไปใช้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1. ประยุกต์ใช้ความรู้เร่ืองพ้ืนที่ผิวของปริซึมและ พน้ื ที่ผวิ ทรงกระบอกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหา - การหาพนื้ ทผ่ี วิ ของปริซมึ และทรงกระบอก ในชีวิตจรงิ - การนาความรเู้ ก่ยี วกับพื้นท่ีผิวของปรซิ มึ และ ทรงกระบอกไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา 2. ประยุกต์ใช้ความรู้เร่ืองปริมาตรของปริซึมและ ปริมาตร ทรงกระบอกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหา - การหาปริมาตรของปรซิ ึมและทรงกระบอก ในชวี ิตจริง - การนาความรู้เกีย่ วกับปริมาตรของของปริซมึ และ ทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณติ สมบตั ขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ ระหว่างรปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1. ใช้ความรูท้ างเรขาคณติ และเคร่ืองมือ เชน่ วงเวียน การสร้างทางเราคณิต และสนั ตรง รวมทงั้ โปรแกรม The Geometer’s - การนาความรู้เกยี่ วกับการสร้างทางเรขาคณิตไป Sketchpad หรอื โปรแกรมเรขาคณิตพลวตั อน่ื ๆ เพอื่ ใช้ในชีวติ จรงิ สรา้ งรปู เรขาคณิต ตลอดจนนาความรู้เกีย่ วกบั การ สรา้ งนไ้ี ปประยุกตใ์ ช้ในการแก้ปญั หาในชีวติ จริง 2. นาความรูเ้ ก่ียวกบั สมบตั ิของเสน้ ขนานและรูป เสน้ ขนาน สามเหล่ียมไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์ - สมบัตเิ กี่ยวกับเส้นขนานและรปู สามเหลย่ี ม 3. เข้าใจและใช้ความรูเ้ ก่ียวกับการแปลงทาง การแปลงทางเรขาคณิต เรขาคณิตในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน - การเล่อื นขนาน ชวี ิตจรงิ - การสะทอ้ น - การหมุน 4.เขา้ ใจและใชส้ มบัติของรปู สามเหลี่ยมทเ่ี ทา่ กนั ทุก - การนาความรูเ้ กยี่ วกับการแปลงทางเรขาคณติ ไป ประการในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาใน ใช้ในการแก้ปัญหา ชีวิตจรงิ ความเทา่ กันทุกประการ - ความเท่ากนั ทุกประการของรูปสามเหล่ยี ม - การนาความรู้เกยี่ วกับความเทา่ กนั ทุกประการไป ใชใ้ นการแก้ปัญหา

ฌ 5.เขา้ ใจและใชท้ ฤษฎีบทพที าโกรสั และบทกลับในการ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส แกป้ ัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาในชวี ติ จริง - ทฤษฎีบทพีทาโกรสั และบทกลับ - การนาความรู้เกย่ี วกับทฤษฎพี ีทาโกรัสและบท กลบั ไปใชใ้ นชีวิตจริง สาระท่ี 3 สถิติและความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวยการทางสถติ ิ และใชค้ วามรูท้ างสถติ ิในการแกป้ ญั หา ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 1. เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอและ สถติ ิ วิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพจุด แผนภาพต้นไม้ - ใบ - การนาเสนอและวิเคราะห์ขอ้ มูล ฮิสโทแกรม และค่ากลางของข้อมูล และแปล o แผนภาพจุด ความหมายผลลัพธ์ รวมท้ังนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริง o แผนภาพต้นไม้ - ใบ โดยใชเ้ ทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม o ฮิสโทแกรม o คา่ กลางของขอ้ มูล - การแปลความหมายผลลัพธ์ - การนาสถติ ิไปใช้ในชีวติ จริง มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนบั เบ้อื งต้น ความนา่ จะเป็น และนาไปใช้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง --

ญ คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหสั วิชา ค22102 จานวน 1.5 หนว่ ยกติ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 60 ช่วั โมง ศกึ ษาและใชค้ วามร้ทู างสถิติในการนาเสนอข้อมูลและวเิ คราะหข์ ้อมลู จากแผนภาพจดุ แผนภาพ ตน้ – ใบ ฮิสโทแกรมและค่ากลางของข้อมูล และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวติ จรงิ โดยใช้ เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม สมบัติของรูปสามเหลีย่ มที่เท่ากันทุกประการในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาใน ชีวิตจริง นาความรู้เก่ียวกับสมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหล่ยี มไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ ทางเรขาคณติ และเคร่ืองมือ เช่น วงเวยี นและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรอื โปรแกรมเรขาคณติ พลวตั อ่ืนๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนาความรู้เกีย่ วกับการสร้างนไ้ี ปประยกุ ตใ์ ช้ใน การแก้ปัญหาในชีวติ จรงิ โดยจัดการเรยี นการสอนใหน้ ักเรียนสามารถแกป้ ญั หา ใหเ้ หตผุ ล ส่อื วาร สอ่ื ความหมายทาง คณิตศาสตร์ เชอ่ื มโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์กบั ศาสตรอ์ ่นื ๆ มคี วามคิดสร้างสรรค์ นาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ได้แก่ การทางานอยา่ งมรี ะบบ มีระเบยี บ มีความรับผดิ ชอบ พรอ้ มท้งั ตระหนักในคุณคา่ และมเี จตคติท่ีดีต่อวชิ าคณิตศาสตร์ รหสั ตวั ชี้วัด ค 2.2 ม. 2/1,2/2,2/4 ค 3.1 ม. 2/1 รวมทั้งหมด 4 ตวั ชี้วัด

ฎ โครงสร้างรายวิชา รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐานรหัสวิชา ค 22102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 60 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น จานวน 1.5 หนว่ ยกิต ลาดบั หน่วยการ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ จานวน น้าหนกั ช่ัวโมง คะแนน ท่ี เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวช้ีวัด 12 15 1 สถติ ิ ค 3.1 ม. 2/1 - แผนภาพจดุ 18 15 - แผนภาพตน้ -ใบ 1 20 - ฮสิ โทแกรม - ค่าเฉล่ยี เลขคณิต - มัธยฐาน - ฐานนิยม -การใชค้ ่ากลางที่เหมาะสม 2 ความเทา่ กนั ทกุ ค 2.2 ม. 2/4 - ความเทา่ กันทุกประการของรปู ประการ เรขาคณติ - ความเท่ากนั ทุกประการของส่วนของ เส้นตรงและมมุ - ความเท่ากันทุกประการของรปู สามเหลย่ี ม - ความเทา่ กันทุกประการของสามเหล่ียม แบบดา้ น-มุม-ดา้ น - ความเทา่ กนั ทุกประการของสามเหลยี่ ม แบบมุม-ดา้ น-มมุ - ความเท่ากันทุกประการของสามเหลี่ยม แบบดา้ น-ด้าน-ดา้ น - ความเทา่ กนั ทุกประการของสามเหลย่ี ม แบบมุม-มมุ -ดา้ น - ความเท่ากันทุกประการของสามเหลี่ยม แบบฉาก-ดา้ น-ดา้ น สอบกลางภาค

ฏ โครงสร้างรายวชิ า(ตอ่ ) รายวิชาคณติ ศาสตรพ์ ืน้ ฐานรหัสวชิ า ค 22102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 จานวน 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น จานวน 1.5 หน่วยกิต ลาดบั หน่วยการ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ จานวน น้าหนกั ที่ เรียนรู้ ชัว่ โมง คะแนน 3 เส้นขนาน เรยี นรู้/ตัวช้ีวัด 15 10 4 การให้เหตผุ ล ค 2.2 ม. 2/2 - เสน้ ขนาน ทางเรขาคณิต 13 10 - เสน้ ขนานและมมุ ภายใน 1 30 - เสน้ ขนานและมมุ แย้ง 60 100 - เส้นขนานและมมุ ภายนอกกับมุมภายใน - เส้นขนานและรปู สามเหลยี่ ม ค 2.2 ม. 2/1 - ขอ้ ความคาดการณ์ ค 2.2 ม. 2/4 - ประโยคเงื่อนไข - การใหเ้ หตุผลทางเรขาคณติ - การพิสูจน์ - การสร้างและการใหเ้ หตุผลเกี่ยวกบั การสร้าง - สารวจพน้ื ทีร่ ปู สามเหลีย่ ม - การใหเ้ หตผุ ลเกีย่ วกับรูปสามเหล่ยี ม - การให้เหตผุ ลเกย่ี วกบั รูปส่ีเหล่ียม สอบปลายภาค รวม

ฐ ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร รายวิชาคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน รหสั วชิ า ค 22102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 คาบ/ภาคเรยี น จานวน 1.5 หน่วยกติ สาระหลัก หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ ลาดับที่ สถิติ ค 2.2 ม 2/2 สาระที่ 3 สถติ แิ ละ 1 ค 2.2 ม 2/5 ความนา่ จะเปน็ ความเทา่ กันทกุ ประการ ค 2.2 ม 2/4 สาระที่ 2 การวดั และ 2 เส้นขนาน ค 2.2 ม 2/2 เรขาคณิต การใหเ้ หตผุ ลทางเรขาคณติ ค 2.2 ม. 2/1 สาระท่ี 2 การวดั และ 3 ค 2.2 ม. 2/4 เรขาคณติ สาระท่ี 2 การวดั และ 4 เรขาคณิต

ฑ แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ อตั ราสว่ นคะแนน คะแนนเก็บ: สอบกลางภาค : : สอบปลายภาค : คณุ ลักษณะและจิตพิสัย 40 : 20 : 30 : 10 วัดผลระหว่างเรยี น 70 % กจิ กรรมระหว่างเรยี น 50 % - แบบฝึกหดั 15 % - ใบกิจกรรมการเรยี นรู้ 15 % - ทดสอบย่อย 10 % - เวลาเรียน/จติ พิสัย 10 % ทดสอบกลางภาค 20 % วัดผลปลายภาคเรยี น 30 % รวม 100 %

ฒ กาหนดการสอน รายวิชาคณติ ศาสตร์ ค 22102 กลุม่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต บทท่ี ชื่อหน่วย วนั ทสี่ อน เรอ่ื ง เวลา หมายเหตุ การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) 1/11/64 ทดสอบหลังเรยี นเร่ืองสถติ ิ 1 สถติ ิ 2/11/64 แผนภาพจุด 1 3/11/64 แผนภาพต้น-ใบ 2 2 ความเท่ากนั 8/11/64 ฮสิ โทแกรม 2 ทุกประการ 9/11/64 ค่าเฉล่ยี เลขคณิต 2 10/11/64 มธั ยฐาน 1 15/11/64 ฐานนิยม 1 16/11/64 การใช้ค่ากลางของข้อมลู ท่ีเหมาะสม 1 17/11/64 ทดสอบหลงั เรียนเรื่องสถติ ิ 1 22/11/64 ทดสอบก่อนเรยี นเร่ืองความเท่ากนั ทุก 1 ประการ 1 23/11/64 ความเทา่ กนั ทุกประการของรูปเรขาคณิต 24/11/64 ความเท่ากนั ทุกประการของส่วนของเสน้ ตรง 2 และมุม 1 29/11/64 ความเทา่ กันทุกประการของรูปสามเหลยี่ ม 30/11/64 ความเท่ากันทกุ ประการของสามเหลย่ี มแบบ 2 ดา้ น-มมุ -ดา้ น 1 1/12/64 ความเทา่ กันทุกประการของสามเหลยี่ มแบบ ดา้ น-มมุ -ดา้ น 1 13/12/64 ความเท่ากนั ทกุ ประการของสามเหลย่ี มแบบ มุม-ดา้ น-มมุ (1) 1 14/12/64 ความเท่ากันทุกประการของสามเหลยี่ มแบบ มมุ -ดา้ น-มุม(2) 1 15/12/64 ความเท่ากนั ทุกประการของสามเหลย่ี มแบบ ดา้ น-ดา้ น-ดา้ น(1) 1 16/12/64 ความเท่ากนั ทกุ ประการของสามเหลี่ยมแบบ ดา้ น-ดา้ น-ดา้ น(2) 1 20/12/64 ความเทา่ กันทกุ ประการของสามเหลยี่ มแบบ มุม-มุม-ดา้ น(1) 1

บทท่ี ช่อื หน่วย วนั ที่สอน เร่ือง เวลา ณ การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) หมายเหตุ 2 ความเท่ากัน 21/12/64 ความเทา่ กันทุกประการของสามเหล่ยี มแบบ 2 มมุ -มุม-ดา้ น(2) ทกุ ประการ 1 22/12/64 ความเทา่ กนั ทกุ ประการของสามเหลยี่ มแบบ 1 3 เส้นขนาน ฉาก-ดา้ น-ดา้ น(1) 1 4 การให้ 27/12/64 ความเท่ากันทุกประการของสามเหล่ยี มแบบ เหตผุ ลทาง ฉาก-ดา้ น-ดา้ น(2) 1 เรขาคณิต 1 28/12/64 ทดสอบหลังเรียนเรื่องความเทา่ กนั 1 ทุกประการ 1 2 กลางภาค 1 17/01/65 ทดสอบก่อนเรยี นเร่ืองเสน้ ขนาน 2 18/01/65 เส้นขนานในชวี ิตประจาวนั 1 19/01/65 เสน้ ขนานและมุมภายใน(1) 2 24/01/65 เส้นขนานและมุมภายใน(2) 1 25/01/65 เสน้ ขนานและมุมแยง้ (1) 2 26/01/65 เสน้ ขนานและมุมแยง้ (2) 1 31/01/65 เสน้ ขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน(1) 2 1/02/65 เสน้ ขนานและมุมภายนอกกบั มมุ ภายใน(2) 2 2/02/65 เสน้ ขนานและรูปสามเหลย่ี ม(1) 2 7/02/65 เสน้ ขนานและรูปสามเหล่ยี ม(2) 1 6/08/64 ทดสอบหลงั เรียนเร่ืองเสน้ ขนาน 1 8/02/65 ข้อความคาดการณ์ 9/02/65 ประโยคเง่ือนไข 1 14/02/65 การให้เหตผุ ลทางเรขาคณติ 15/02/65 การพิสูจน์ 1 17/02/65 การสร้างและการให้เหตผุ ลเกี่ยวกับ 1 การสร้าง(1) 1 18/02/65 การสรา้ งและการใหเ้ หตุผลเก่ียวกับ 1 1 การสรา้ ง(2) 60 21/02/65 การสร้างและการให้เหตุผลเก่ียวกบั การสรา้ ง(3) 22/02/65 สารวจพ้ืนท่รี ูปสามเหลย่ี ม 23/02/65 การให้เหตุผลเกย่ี วกับรูปสามเหล่ยี ม 28/02/65 การใหเ้ หตผุ ลเกี่ยวกบั รูปส่ีเหลยี่ ม ปลายภาค รวม

1 แผนการจัดการเรยี นรู้ 1 กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 รหัสวชิ า ค 22102 ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรอ่ื งสถิติ เวลาเรียน 12 ช่ัวโมง เร่ืองทดสอบก่อนเรียนเร่อื งสถิติ เวลา 1 ชัว่ โมง ผู้สอนนางสาวศริ ประภา สมบูรณ์ โรงเรียนเพ็ญพทิ ยาคม สอนวันท่.ี ...... เดอื น......................พ.ศ.2564 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรูท้ างสถติ ใิ นการแก้ปญั หา ตวั ชี้วัด ค 3.1 ม. 2/1 เข้าใจและใชค้ วามรทู้ างสถิติในการนาเสนอข้อมลู และวเิ คราะห์ข้อมลู จากแผนภาพจุด แผนภาพต้น – ใบ ฮสิ โทแกรมและค่ากลางของข้อมูล และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมทงั้ นาสถิติไปใชใ้ นชีวิต จรงิ โดยใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม สาระสาคัญ การนาเสนอข้อมูล เป็นการรวบรวมขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษามานาเสนอ หรือทาการเผยแพร่ใหก้ ับผทู้ ่ี สนใจไดร้ ับรู้ หรือนาไปวิเคราะหเ์ พ่ือนาไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เมื่อเรียนจบบทเรยี นนี้แล้วนกั เรยี นสามารถ ด้านความรู้ (K) - บอกความหมายของแผนภาพต่างๆได้ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) - เขยี นแผนภาพการนาเสนอข้อมลู ได้ถูกต้อง - แสดงวธิ ที าหาคา่ กลางของข้อมูลได้ถูกต้อง ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ (A) - สรา้ งเหตผุ ลเพือ่ สนับสนุนแนวคิดของตนเอง - แสดงออกถึงการมีสว่ นร่วมในช้ันเรยี น สาระการเรียนรู้ สถิติ

2 กระบวนการจดั การเรียนรู้ (รูปแบบการสอนแบบปกต)ิ ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน 1. ครูพดู คยุ สนทนาพร้อมแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่องสถติ ใิ หน้ กั เรยี นทราบ ดงั นี้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เมอ่ื เรียนจบบทเรยี นนแี้ ล้วนกั เรยี นสามารถ ดา้ นความรู้ (K) - บอกความหมายของแผนภาพตา่ งๆได้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - เขียนแผนภาพการนาเสนอข้อมูลได้ถูกตอ้ ง - แสดงวิธีหาคา่ กลางของข้อมูลได้ถูกต้อง ดา้ นคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ (A) - สรา้ งเหตุผลเพอื่ สนับสนุนแนวคดิ ของตนเอง - แสดงออกถงึ การมีส่วนรว่ มในชัน้ เรียน ขนั้ สอน 2. ครใู ห้นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน เร่ืองสถติ ิ แบบปรนัย 4 ตัวเลอื ก จานวน 20 ขอ้ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที หา้ มใช้เคร่ืองคานวณ 3. เมอ่ื นกั เรยี นทาแบบทดสอบเสรจ็ ครูสนทนาเกยี่ วกับเร่ืองสถติ ิ 4. ครบู อกนักเรยี นว่า บทที่ 1 จะเรียนในเนื้อหา ดังน้ี - แผนภาพจดุ - แผนภาพตน้ -ใบ - ฮสิ โทแกรม - ค่ากลางของข้อมลู 5. ครูแจ้งขอ้ ตกลงเบ้ืองต้นในห้องเรียน(เม่ือเปิดเรยี นปกติ) เชน่ นกั เรียนไมห่ ยอกลอ้ กันเวลาเรียน หา้ มพดู คาหยาบ ไมส่ ่งเสยี งดังเวลาครูสอน สง่ งานใหท้ นั เวลาทค่ี รกู าหนด ตรงตอ่ เวลา ห้ามนาอาหาร- เครอื่ งดื่มมารับประทานในห้อง เป็นตน้

3 6. ครอู ธบิ ายลกั ษณะวิชาตามหลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหัสวชิ าค22102 มจี านวน 1.5 หน่วยกิต ใชเ้ วลาเรียน ภาคเรียนละ 60 ช่ัวโมง โดยแบง่ เนื้อหาท่ีจะเรียนใน ภาคเรียนท่ี 2 ดังน้ี บทท่ี เรือ่ ง จานวนช่ัวโมง 1 สถติ ิ 12 2 ความเทา่ กันทกุ ประการ 18 3 กลางภาค 1 4 เส้นขนาน 15 5 การใหเ้ หตุผลทางเรขาคณิต 13 6 ปลายภาค 1 60 รวม 7. ครอู ธิบายเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล ในรายวิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน รหัสวิชา ค 22102 ดงั น้ี การวัดและการประเมนิ ผล 7.1 การวดั ผล วดั ผลระหว่างเรียน 70 % กิจกรรมระหวา่ งเรยี น 50 % - แบบฝกึ หัด 15 % - ใบกจิ กรรมการเรียนรู้ 15 % - ทดสอบย่อย 10 % - เวลาเรยี น/จติ พสิ ยั 10 % ทดสอบกลางภาค 20 % วดั ผลปลายภาคเรยี น 30 % รวม 100 %

4 7.2 เกณฑ์การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ เกรด ระดบั คะแนน (คดิ เป็นเปอร์เซ็นต)์ 4 คะแนน 80-100 3.5 คะแนน 75-79 3 คะแนน 70-74 2.5 คะแนน 65-69 2 คะแนน 60-64 1.5 คะแนน 55-59 1 คะแนน 50-54 0 คะแนน 0-49 ขน้ั สรุป 8. ครูตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและรว่ มเฉลยแบบทดสอบข้อท่ีนักเรยี นสงสัย ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. สื่อการเรียนรู้ - หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เลม่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2560 จดั ทาโดย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ (สสวท). 2. แหล่งการเรยี นรู้ 2.1 หอ้ งสมุดโรงเรียนเพ็ญพิทยาคม 2.2 https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-math-book2/

5 การวดั ผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ วิธีการ เกณฑก์ าร ประเมนิ ดา้ นความรู้ (K) - แบบทดสอบก่อน - บอกความหมายของแผนภาพตา่ งๆ เรยี น เร่อื งสถิติ - แบบทดสอบก่อน ถูกต้องร้อยละ เรียน เร่อื งสถิติ 70 ขนึ้ ไป ได้ - แบบทดสอบก่อน ด้านทักษะ/กระบวนการ เรยี น เรื่องสถิติ - แบบทดสอบก่อน ถูกต้องร้อยละ เรยี น เรอ่ื งสถิติ 70 ข้นึ ไป - เขียนแผนภาพการนาเสนอข้อมูลได้ แบบประเมิน ถกู ต้อง พฤติกรรมการเรียนรู้ แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ใน ด้านคุณลักษณะท่ีพงึ พฤติกรรมการ ระดบั ดีขน้ึ ไป - แสดงวธิ ีหาคา่ กลางของขอ้ มลู ได้ ประสงค์ เรยี นรู้ ด้าน ถกู ต้อง คุณลักษณะทพ่ี ึง ดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ประสงค์ - สรา้ งเหตผุ ลเพ่อื สนบั สนุนแนวคิดของ ตนเอง - แสดงออกถึงการมสี ่วนร่วมในชั้นเรียน

6 บนั ทึกผลหลังการสอน ผลการจดั การเรียนการสอน ด้านความรู้ (K) …………………บ…อ…กค…ว…า…มห…ม…า…ย…ขอ…ง…แ…ผน…ภ…า…พ…ต…า่ ง…ๆ…ได…้ ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ………………เ…ขีย…น…แ…ผ…นภ…า…พ…ก…าร…น…า…เส…น…อ…ข้อ…ม…ลู …ได…้ถ…ูก…ต้อ…ง……………………………………………………………………………… ………………แ…ส…ด…งว…ธิ …ีหา…ค…า่ …กล…า…งข…อ…ง…ข้อ…ม…ูล…ได…้ถ…ูก…ต…้อง…………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม (A) ………………ส…ร้า…งเ…ห…ต…ุผล…เ…พ…ือ่ ส…น…บั …ส…น…นุ แ…น…ว…ค…ิดข…อ…ง…ต…นเ…อ…ง …………………………………………………………………………… ………………แ…สด…ง…อ…อก…ถ…ึง…กา…ร…ม…ีส่ว…น…ร…่วม…ใ…น…ช้ัน…เ…รีย…น……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ปัญหาและอปุ สรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื ............................................ (ผสู้ อน) (นางสาวศิรประภา สมบูรณ์) ............/............../..............

7 ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของครพู เี่ ลี้ยง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงช่อื ............................................... (ครูพเ่ี ลี้ยง) (นายณฐั วุฒิ ปลัดบาง) ............/............../.............. ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ .................................................(หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์) (นายอภิสทิ ธ์ิ ลนุ นาร)ี ............/............../.............. ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของรองผอู้ านวยการฝา่ ยวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื ............................................................(รองผอู้ านวยการกล่มุ บริหารงานวิชาการ) (จ.ส.ต.อคั รเดช วฒุ ิเสน) ............/............../..............

8 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐานค22102 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2/6 คาชแ้ี จงให้ทาเครือ่ งหมาย √ ลงในชอ่ งรายการสังเกตพฤตกิ รรมทีน่ กั เรียนปฏิบัติ เลข ช่ือ-สกุล ของผรู้ บั การประเมิน รายการทีป่ ระเมนิ คะแนน คิดเปน็ ผลการ ท่ี รวม ร้อยละ ประเมนิ 1 เด็กหญิงจารุวรรณ บญุ กอง สร้างเหตผุ ลเพอื่ แสดงออกถงึ การ 6 ผา่ น ไม่ สนับสนนุ แนวคิด มสี ่วนรว่ มในชั้น 6 ผ่าน 2 เด็กหญงิ จริ ญาภา เสนาคบตุ ร ของตนเอง เรียน 6 321321 6 100 ✓ 3 เด็กหญิงชินรัตน์ ศรวี ชิ ยั 6 100 ✓ 4 เดก็ หญงิ ณฐั ธิญาวลั ย์ วงษ์ชาลี ✓✓ 6 100 ✓ 5 เดก็ หญิงณัฐธดิ า นาพรม ✓✓ 6 100 ✓ 6 เดก็ หญงิ ดาริกา ชาวกลา้ ✓✓ 6 100 ✓ 7 เดก็ หญิงทาริกา ผมไผ ✓✓ 6 100 ✓ 8 เดก็ หญิงนญั ธิชา สุจรติ ✓✓ 6 100 ✓ 9 เดก็ หญิงบศุ รา แซ่ตัง้ ✓✓ 6 100 ✓ 10 เดก็ หญงิ เพชรนารี แสงจนั ทร์ ✓✓ 6 100 ✓ 11 เด็กหญิงเพญ็ นภา ยุติธรรม ✓✓ 6 100 ✓ 12 เด็กหญงิ ลลิตา งามลา ✓✓ 6 100 ✓ 13 เด็กหญิงวณิดา บญุ ญปญั ญาพร ✓✓ 6 100 ✓ 14 เด็กหญิงสโรชา ธาตมุ ี ✓✓ 6 100 ✓ 15 เด็กหญงิ สริ นิ ดา คาเทพ ✓✓ 6 100 ✓ 16 เด็กหญิงสกุ ัญน์พร สุมงคล ✓✓ 6 100 ✓ 17 เด็กหญิงอรจิรา สุวรบุตร ✓✓ 6 100 ✓ 18 เดก็ หญงิ อรญั ยาพร โคกกลาง ✓✓ 6 100 ✓ 19 เดก็ หญงิ อริศรา สรุ ะคาย ✓✓ 6 100 ✓ 20 เดก็ ชายจารจุ ติ ต์ ชาวปา่ ✓✓ 6 100 ✓ 21 เดก็ ชายชณิ วัฒน์ คามีทอง ✓✓ 100 ✓ 22 เดก็ ชายฑนวฒั น์ ผมอนิ ทร์ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ ✓✓

23 เดก็ ชายณัชชา แสนโคตร ✓ ✓ 9 24 เดก็ หญิงทิพรัตน์ ออ่ นละมลุ ✓ ✓ 25 เด็กชายธนากรณ์ กาทอง ✓ ✓ 6 100 ✓ 26 เดก็ ชายธีรพงษ์ พวงจาปา ✓ ✓ 6 100 ✓ 27 เด็กชายปภนิ วทิ ย์ ป้องพาล ✓ ✓ 6 100 ✓ 28 เดก็ ชายปณศักด์ิ สมี าวุธ ✓ ✓ 6 100 ✓ 29 เดก็ ชายประฏิภาณ ชมคา ✓ ✓ 6 100 ✓ 30 เด็กชายปรยิ ทุ ธ โพธท์ิ ิพย์ ✓ ✓ 6 100 ✓ 31 เดก็ ชายพายุ สุมงคล ✓ ✓ 6 100 ✓ 32 เดก็ ชายพิชิตชัย นามวจิ ิตร ✓ ✓ 6 100 ✓ 33 เด็กชายรัติพงษ์ เพ่ิมเพียร ✓ ✓ 6 100 ✓ 34 เดก็ ชายวศพล ชมพโู คตร ✓ ✓ 6 100 ✓ 35 เด็กชายวีระวัฒน์ ชนะการี ✓ ✓ 6 100 ✓ 36 เดก็ ชายศิรโิ ชค ยอดวงค์กอง ✓ ✓ 6 100 ✓ 37 เด็กชายกติ ติพงษ์ เมืองม่าน ✓ ✓ 6 100 ✓ 6 100 ✓ 6 100 ✓

10 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานค22102 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/7 คาช้แี จงให้ทาเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสงั เกตพฤติกรรมท่ีนักเรียนปฏิบตั ิ เลข ช่ือ-สกลุ ของผ้รู ับการประเมิน รายการทีป่ ระเมิน คะแนน คิดเปน็ ผลการ ที่ รวม ร้อยละ ประเมิน 1 เดก็ หญิงชนรดี บตุ รสุรินทร์ สรา้ งเหตผุ ลเพอ่ื แสดงออกถงึ การ 6 ผ่าน ไม่ 2 เด็กหญิงชนาภา ศรีมดื สนบั สนนุ แนวคดิ มีส่วนร่วมในชัน้ 6 ผ่าน 3 เด็กหญิงณฐั นันท์ กาจัดภัย ของตนเอง เรียน 6 4 เดก็ หญงิ ทิพเกสร พลเวยี ง 321321 6 100 ✓ 5 เดก็ หญงิ ธนัชพร ดวงพงั 6 100 ✓ 6 เด็กหญิงนริศรา เว้นบาป ✓✓ 6 100 ✓ 7 เด็กหญงิ พรพิมล สายสมร ✓✓ 6 100 ✓ 8 เดก็ หญิงพชั รธิดา บญุ แสนแผน ✓✓ 6 100 ✓ 9 เด็กหญงิ แพรชมพู เพ่ือนใบลี ✓✓ 6 100 ✓ 10 เดก็ หญิงภทั รธิดา รว่ มสาโรง ✓✓ 6 100 ✓ 11 เดก็ หญงิ ศิรนิ ารถ สรุ ะคาย ✓✓ 6 100 ✓ 12 เด็กหญงิ สนุ ิษา ทุยโพธช์ิ ยั ✓✓ 6 100 ✓ 13 เดก็ หญงิ สปุ รญี า ชยั ชนะ ✓✓ 6 100 ✓ 14 เดก็ หญงิ สพุ าภรณ์ ขนุ แผน ✓✓ 6 100 ✓ 15 เด็กหญิงอรศิ ษา อดุ มชัย ✓✓ 6 100 ✓ 16 เดก็ หญิงอมั รินทร์ ยนื นาน ✓✓ 6 100 ✓ 17 เดก็ หญงิ อาริสา ปัพรงั ศรี ✓✓ 6 100 ✓ 18 เด็กชายจิรวฒั น์ บวั บาล ✓✓ 6 100 ✓ 19 เดก็ ชายชยั มงคล พรมดา ✓✓ 6 100 ✓ 20 เด็กชายชยั อนนั ต์ ยวดยาน ✓✓ 6 100 ✓ 21 เดก็ ชายณัฐนติ ิ มูลมานัส ✓✓ 6 100 ✓ 22 เด็กชายทนงศักด์ิ ทิพย์สวุ รรณ ✓✓ 6 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ ✓✓

23 เด็กชายธนกฤต อิลุเพท ✓ ✓ 11 24 เด็กชายธีรพงศ์ ปานะทึก ✓ ✓ 25 เดก็ ชายธรี ะศักดิ์ แสงทอง ✓ ✓ ✓ 26 เด็กชายนที ยางสุด ✓ ✓ ✓ 27 เด็กชายนิโคลาส ไรมนู วากเนร์ ✓ ✓ ✓ 28 เด็กชายพศิ ิษฐ์ศกั ดิ์ งามลุน ✓ ✓ ✓ 29 เด็กชายมงคลชัย เตา่ แกว้ ✓ ✓ ✓ 30 เด็กชายรัฐศาสตร์ ธาตวุ สิ ัย ✓ ✓ ✓ 31 เด็กชายราชันย์ ทับทิมไสย์ ✓ ✓ ✓ 32 เดก็ ชายศุภโชติ ธรรมธาตุ ✓ ✓ ✓ 33 เดก็ ชายสราวุฒิ สุวรรณจักร ✓ ✓ ✓ 34 เดก็ ชายสิทธิกร จิตจานง ✓ ✓ ✓ 35 เดก็ ชายอติเทพ จนั เลศิ ✓ ✓ ✓ 36 เด็กชายอยุทธ์ เจริญสุข ✓ ✓ ✓ 37 เดก็ หญงิ ศิรวิ รรณ พทุ สาลา ✓ ✓ ✓ 38 เด็กชายดษุ ฏี สุริยมาตร ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

12 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ รายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐานค22102 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/8 คาชแ้ี จงใหท้ าเครอ่ื งหมาย √ ลงในชอ่ งรายการสังเกตพฤติกรรมทน่ี ักเรียนปฏบิ ัติ เลข ช่อื -สกุล ของผูร้ ับการประเมิน รายการท่ปี ระเมนิ คะแนน คดิ เป็น ผลการ ที่ รวม ร้อยละ ประเมิน 1 เดก็ หญงิ สธุ ชิ า สาราญดี สร้างเหตผุ ลเพื่อ แสดงออกถึงการ 6 ผ่าน ไม่ 2 เดก็ ชายฐิติวุฒิ พวงจนั ทร์ สนับสนนุ แนวคิด มีส่วนรว่ มในชัน้ 6 ผ่าน 3 เดก็ ชายรพภี ทั ร ธาตุเสียว ของตนเอง เรียน 6 4 เดก็ หญิงช่อลัดดา เชดิ ทอง 321321 6 100 ✓ 5 เดก็ หญงิ ชาริษา สีลาพล 6 100 ✓ 6 เดก็ หญิงณฐั ธิดา วงษธ์ ร ✓✓ 6 100 ✓ 7 เด็กหญิงธัญญารัตน์ พฤฒิสาร ✓✓ 6 100 ✓ 8 เดก็ หญงิ ธาราพร อนิ ทร์กง ✓✓ 6 100 ✓ 9 เดก็ หญงิ ปวรัตน์ ชยั อามาตย์ ✓✓ 6 100 ✓ 10 เด็กหญิงพชั ราภา บญุ แสนแผน ✓✓ 6 100 ✓ 11 เดก็ หญงิ เพ็ญพิชชา ทา่ งาม ✓✓ 6 100 ✓ 12 เด็กหญงิ ภรพิมล นายกชน ✓✓ 6 100 ✓ 13 เด็กหญิงรวสิ รา ทองเพ็ญ ✓✓ 6 100 ✓ 14 เด็กหญงิ วรณัน สีมดื ✓✓ 6 100 ✓ 15 เด็กหญงิ ศศิวรรณ สอ่ นชยั ✓✓ 6 100 ✓ 16 เด็กหญงิ สุชาวดี อินประจง ✓✓ 6 100 ✓ 17 เด็กหญงิ สุภาวรรณ โสดเสียว ✓✓ 6 100 ✓ 18 เด็กหญงิ สุมติ รตา พนั เเสนเเก้ว ✓✓ 6 100 ✓ 19 เดก็ หญงิ อรวรรณ พลเวยี งธรรม ✓✓ 6 100 ✓ 20 เดก็ หญิงอรัญญา ธาตวุ ิสยั ✓✓ 6 100 ✓ 21 เด็กชายชัยวฒั น์ แลกสนิ ธุ์ ✓✓ 6 100 ✓ 22 เดก็ ชายธนธรณ์ สอ่ นนารา ✓✓ 6 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ ✓✓

23 เด็กชายณฐั พร รามฤทธิ์ ✓ 13 24 เด็กชายณฐั ภูมิ ศรีภธู ร ✓ 25 เดก็ ชายทศวรรษ แก้วกาโศก ✓ ✓ 6 100 ✓ 26 เด็กชายธีรโชติ โคตรทะดี ✓ ✓ 6 100 ✓ 27 เดก็ ชายธีรพฒั น์ ไผ่ป้อง ✓ ✓ 6 100 ✓ 28 เด็กชายธรี ศักด์ิ ชิณบุตร ✓ ✓ 6 100 ✓ 29 เดก็ ชายเนรมติ ทองทัน ✓ ✓ 6 100 ✓ 30 เด็กชายปฏภิ าณ ศรีเชยี งหวาง ✓ ✓ 6 100 ✓ 31 เดก็ ชายรกั ตนนั ท์ สาคะเรศ ✓ ✓ 6 100 ✓ 32 เด็กชายวชริ วทิ ย์ ส่อนนารา ✓ ✓ 6 100 ✓ 33 เดก็ ชายวศนิ รอดชมพู ✓ ✓ 6 100 ✓ 34 เด็กชายวชิ ญะ แสงนกิ ุล ✓ ✓ 6 100 ✓ 35 เด็กชายศวิ ัฒน์ ยวดดี ✓ ✓ 6 100 ✓ 36 เด็กชายศกุ ลวัฒน์ ชัยหนองบวั ✓ ✓ 6 100 ✓ 37 เด็กชายสุทธิลักษณ์ วงสระคู ✓ ✓ 6 100 ✓ 38 เดก็ ชายอดสิ ร ขันซอ้ น ✓ ✓ 6 100 ✓ 39 เด็กหญงิ ณิชนนั ท์ ครฑุ วิเศษ ✓ ✓ 6 100 ✓ 40 เดก็ หญิงอรอุมา สมี ืด ✓ ✓ 6 100 ✓ ✓ 6 100 ✓ ✓ 6 100 ✓ ลงช่อื ............................................ (ผ้สู อน) (นางสาวศริ ประภา สมบรู ณ์) ............/............../..............

14 เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สร้างเหตผุ ลเพอ่ื สนับสนุนแนวคดิ ของตนเอง คะแนน:ระดับคุณภาพ คุณลักษณะท่ปี รากฏใหเ้ ห็น 3 : ดีมาก - ยืนยันข้อมลู ที่เปน็ จรงิ ในการสนับสนนุ แนวคดิ ของตนเองได้ถูกต้อง 2 : ดี - ยืนยนั ขอ้ มูลที่เป็นจรงิ ในการสนบั สนนุ แนวคิดของตนเองได้บ้างบางคร้ัง 1 : พอใช้ - ยนื ยันข้อมลู ท่เี ป็นจรงิ ในการสนบั สนุนแนวคดิ ของตนเองไดถ้ ูกเพียงเล็กนอ้ ย แสดงออกถงึ การมีสว่ นร่วมในชนั้ เรียน คะแนน:ระดับ คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ ห็น คุณภาพ 3 : ดีมาก - ให้ความรว่ มมือในการทากิจกรรมในชัน้ เรียน มีส่วนร่วมในการตอบคาถาม และ แสดงความคิดเห็น 2 : ดี - ให้ความร่วมมอื ในการทากิจกรรมในชัน้ เรียน มีสว่ นรว่ มในการตอบคาถามบ้าง บางครง้ั และแสดงความคิดเห็นบ้างบางครงั้ 1 : พอใช้ - ให้ความรว่ มมือในการทากจิ กรรมในชน้ั เรียน แตไ่ มม่ ีสว่ นร่วมในการตอบคาถาม และไม่แสดงความคิดเหน็ เกณฑ์การตัดสนิ คะแนน คะแนน 5-6 ระดบั ดีมาก คะแนน 3-4 ระดบั ดี คะแนน 1-2 ระดับพอใช้ *เกณฑผ์ า่ นคุณภาพระดับดี

15 แบบทดสอบก่อนเรียนเรอ่ื งสถิติ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 วิชาคณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน รหัสวิชา ค22102 คะแนน 20 คะแนน เวลาสอบ 30 นาที คาชีแ้ จง 1. ขอ้ สอบเปน็ แบบปรนัย จานวน 20 ขอ้ ให้นักเรยี นกาเคร่ืองหมายกากบาท X ในกระดาษคาตอบ ทีก่ าหนดให้ และหา้ มขีดเขยี นขอ้ ความใดๆ ลงในข้อสอบ 2. ไมอ่ นญุ าตให้ถ่ายข้อสอบหรอื สง่ ตอ่ โดยเดด็ ขาด 1. ขอ้ ใดต่อไปนี้ เปน็ ข้อมูลเชิงปรมิ าณ 5. จากข้อมูลนักเรียนท่ีอ่านหนงั สอื ตงั้ แต่ปลี ะ 16 เล่ม ก. เลขบัตรประจาตวั ประชาชน ขน้ึ ไปคิดเปน็ กเี่ ปอร์เซ็นต์ ข. เลขทะเบยี นรถ ก. 37.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ข. 31.5 เปอร์เซน็ ต์ ค. ปริมาณน้าฝนต่อปี ค. 33.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ง. 53.12 เปอรเ์ ซ็นต์ ง. เบอร์โทรศัพท์ 6. จากแผนภาพข้อมูลสว่ นใหญอ่ ยู่ในช่วงใด 2. ขอ้ มูลใดไม่ใช่ข้อมูลเชงิ คุณภาพ ก. อย่ใู นชว่ ง 31-35 ข. อยใู่ นชว่ ง 36-40 ก. นา้ หนกั ค. อยู่ในชว่ ง 41-45 ง. อยูใ่ นชว่ ง 46-50 ข. เพศ 7. จากฮสิ โทแกรมมจี านวนข้อมลู ทงั้ หมดกี่ขอ้ มูล ค. สถานภาพการสมรส ง. ศาสนา จากแผนภาพที่กาหนดให้ เป็นข้อมลู จานวนเล่มของ การอา่ นหนงั สือของนักเรยี นชน้ั ม. 2 ตอ่ ปี (ขอ้ 3-5) 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 22 24 ก. 50 ข. 60 3. จากข้อมลู มีนักเรียนทั้งหมดกคี่ น 6 ค. 15 ง. 16 ก. 12 คน ข. 22 คน ค. 32 คน ง. 42 คน 4. จากขอ้ มูลมพี ิสยั เทา่ ไร ก. 14 ข. 12 ค. 8 ง. 22

16 8. จากตารางแจกแจงความถขี่ องอายุการทางานของ 14. จานวน 4 จานวนทีม่ พี สิ ยั เทา่ กับ 22 และมีค่าเฉลย่ี พนกั งานบรษิ ัทหนง่ึ จานวน 50 คน ดังตอ่ ไปนี้ เท่ากบั 48 คือขอ้ มลู ชดุ ใด อายทุ างาน(ป)ี ความถี่ ก. 30, 45, 43, 52 ข. 44, 40, 46, 62 ค. 40, 46, 45, 62 ง. 48, 48, 48, 48 12-15 6 15. จานวน 5 จานวนทม่ี ีพิสัยเท่ากับ 30 มัธยฐาน 16-19 11 เทา่ กับ 28 และมีค่าเฉล่ยี เท่ากบั 25 คอื ข้อมลู ชุดใด 20-23 15 ก. 22, 16, 28, 13, 52 ข. 12, 26, 42, 30, 13 24-27 12 ค. 12, 28, 42, 13, 30 ง. 25, 25, 28, 25, 25 28-31 6 16. จากการทอดลกู เตา๋ ท้งั หมด 30 คร้ังได้ผลดังน้ี จงหาขอบบนและจุดกึง่ กลางของอนั ตรภาคช้นั ทม่ี ี ความถ่มี ากที่สุด ผลการทอด .1 2 3 4 5 6 ลูกเตา๋ ก. ขอบบน 20.5 จุดกึ่งกลาง 20 ความถี่ 3 6 6 7 5 3 ข. ขอบบน 23.5 จุดก่ึงกลาง 21.5 จงหาคา่ ฐานนิยมของข้อมูล ค. ขอบบน 20.5 จดุ ก่ึงกลาง 21.5 ก. 3 ข. 4 ง. ขอบบน 23.5 จดุ ก่งึ กลาง 20 ค. 5 ง. 2, 3 9. จากตารางข้อที่ 8 ช่วงอายุการทางานช่วงใด 17. จากตารางข้อที่ 16 มธั ยฐานมีคา่ เท่าไร มีความถี่มากทส่ี ุด ก. 2 ข. 2.5 ก. 12-15 ปี ข. 20-23 ปี ค. 3 ง. 3.5 ค. 24-27 ปี ง. 28-31 ปี 18. จากตารางข้อท่ี 16 คา่ เฉล่ียมคี ่าประมาณเทา่ ไร 10. จากรปู ภาพในข้อ 7 จานวนคนท่สี งู ต้ังแต่ 179.5 ขึ้นไปคิดเป็นกเ่ี ปอร์เซ็นต์ ก. 3.5 ข. 4.5 ก. 4 % ข. 8 % ค. 5.5 ง. 6.5 ค. 12 % ง. 16 % 11. ข้อใดไม่ใช่คา่ กลางของข้อมูล 19. ผลการสอบวชิ าคณิตศาสตร์ของนักเรยี น 10คน ก. การรวมขอ้ มลู ทั้งหมดแล้วหารดว้ ยจานวนข้อมูล ข. เรยี งข้อมลู จากน้อยไปมากแล้วเอาคา่ ตรงกลาง เปน็ ดังนี้ 8, 9, 10, 7, 6, 5, 8, 8, 6, 7 ค่ากลางท่ีมาก ทส่ี ดุ ตรงกับข้อใด ก. ฐานนิยม ข. มัธยฐาน ค. ค่าเฉล่ียเลขคณิต ง. เท่ากันทกุ ค่า ค. การเลือกเอาข้อมลู สว่ นใหญ่ 20. ข้อมลู ชดุ หนึ่งประกอบด้วย 4 9 4 13 10 10 6 4 22 12 ข้อใดเรียงลาดบั ค่ากลางของข้อมูลจากน้อยไปหา ง. เอาข้อมูลคา่ มากสุด ลบด้วยข้อมูลคา่ น้อยสดุ มากได้ถูกต้อง 12. จากข้อมูลตอ่ ไปน้ี ค่าเฉลี่ยของข้อมลู เปน็ เท่าใด ก. คา่ เฉลยี่ เลขคณิต,มัธยฐาน,ฐานนิยม 3, 4, 7, 16, 5, 14, 17, 18, 16, 20 ข. มธั ยฐาน,ฐานนยิ ม,คา่ เฉลย่ี เลขคณิต ก. 120 ข. 10 ค. ฐานนิยม,คา่ เฉล่ียเลขคณิต,มัธยฐาน ค. 12 ง. 12.25 ง. ค่าเฉลยี่ เลขคณติ ,ฐานนิยม,มธั ยฐาน 13. จากขอ้ มูล 15, 19, 8, 22, 15, 15, 27, 29, 31, 6 10, 17, 19, 12 มธั ยฐานมีคา่ เท่าไร ก. 16 ข. 16.5 ค. 15 ง. 17

17 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นเรื่องสถติ ิ 1 ค 11 ง 2 ก 12 ค 3 ค 13 ก 4 ก 14 ข 5 ง 15 ค 6 ค 16 ข 7 ก 17 ง 8 ข 18 ก 9 ข 19 ก 10 ข 20 ค

18 แผนการจัดการเรียนรู้ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 รหสั วิชา ค 22102 ภาคเรยี นท่ี 2 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่อื งสถติ ิ เวลาเรียน 12 ชัว่ โมง เร่อื งแผนภาพจุด เวลา 2 ช่วั โมง ผ้สู อนนางสาวศิรประภา สมบรู ณ์ โรงเรยี นเพ็ญพิทยาคม สอนวันท่.ี ...... เดอื น......................พ.ศ.2564 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความร้ทู างสถิติในการแก้ปญั หา ตวั ช้วี ัด ค 3.1 ม. 2/1 เขา้ ใจและใช้ความรูท้ างสถิติในการนาเสนอข้อมูลและวเิ คราะห์ข้อมลู จากแผนภาพจดุ แผนภาพตน้ – ใบ ฮิสโทแกรมและค่ากลางของขอ้ มลู และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมท้ังนาสถติ ิไปใชใ้ นชีวติ จริงโดยใช้เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม สาระสาคญั แผนภาพจุด เป็นการนาเสนอข้อมลู โดยใช้จุดแทนจานวนหรอื ความถี่ของข้อมูลแตล่ ะกลุ่ม ซ่ึงประกอบดว้ ยเส้นจานวนตามแนวแกนนอนและจุดที่วางเหนอื เส้นจานวน โดยจุดแต่ละจดุ จะแทน ข้อมลู 1 หน่วย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เม่อื เรียนจบบทเรียนน้แี ลว้ นักเรยี นสามารถ ด้านความรู้ (K) - บอกลกั ษณะของแผนภาพจุดได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - เขียนแผนภาพจดุ จากขอ้ มูลทกี่ าหนดให้ไดถ้ ูกต้อง ด้านคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ (A) - สรา้ งเหตุผลเพ่ือสนับสนนุ แนวคดิ ของตนเอง - แสดงออกถงึ การมีสว่ นร่วมในชนั้ เรยี น สาระการเรยี นรู้ แผนภาพจุด

19 กระบวนการจดั การเรียนรู้ (เสริมด้วยบทเรยี นสาเรจ็ รปู ) ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครูพูดคยุ สนทนากบั นกั เรยี นและเช็คชอื่ 2. ครูทบทวนการนาเสนอข้อมลู ทน่ี กั เรยี นเคยเรียนมาแล้วด้วยการถามตอบ ข้ันสอน 3. ครสู นทนากบั นกั เรยี นถึงการทบทวนความร้เู กี่ยวกบั สถิติ ซ่งึ ประกอบดว้ ยกระบวนการทส่ี าคญั ได้แก่ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การจัดการข้อมูล การวเิ คราะหข์ ้อมลู การแปลความหมายขอ้ มูล และการ นาเสนอข้อมูล ซึง่ ขอ้ มูลทางสถติ จิ ะมีอยู่ 2 ประเภทหลักๆคือ ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ เปน็ ขอ้ มลู ท่ีอธิบายลกั ษณะ ประเภท เช่น เพศ หมายเลขโทรศัพท์ วิชา ยหี่ ้อ ภาษา เชอ้ื ชาติ ศาสนา ขอ้ มูลเชิงปริมาณ เปน็ ข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลขแสดงปรมิ าณ และสามารถนาไปคานวณหรือเปรียบเทยี บได้ เชน่ อายุ น้าหนกั ความสูง คะแนนสอบ 4. ครูกล่าวถงึ แผนภาพจุดว่า เปน็ การนาเสนอข้อมูลโดยใชจ้ ุดแทนจานวนหรอื ความถขี่ อง ขอ้ มลู แต่ ละกล่มุ ซึง่ ประกอบด้วยเส้นจานวนตามแนวแกนนอน และจุดทว่ี างเหนอื เส้นจานวน โดยจดุ แต่ละจุดจะแทน ขอ้ มูล 1 หนว่ ย 5. ครแู สดงตัวอยา่ งการเขียนแผนภาพจุดดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 จากการสอบถามเวลา (นาท)ี ทีใ่ ช้ในการเดินทางจากบา้ นมาบริษัทของ พนกั งานบรษิ ัท กลุม่ หนึง่ จานวน 12 คน เป็นดังนี้ 20 22 21 21 18 18 28 20 22 23 22 20 1) เขียนแผนภาพจุด 2) ใหอ้ ธิบายลกั ษณะของข้อมูลทไ่ี ด้จากแผนภาพ วธิ ที า 1) เขียนแผนภาพจุด มีข้ันตอนดงั น้ี - พจิ ารณาข้อมูลพบว่า อย่ใู นชว่ ง 18 นาที ถงึ 28 นาที - เขยี นเสน้ จานวนตามแนวแกนนอนให้มีตัวเลขบนเสน้ จานวนครอบคลมุ โดยให้ตัวเลขบนเสน้ จานวนมรี ะยะห่างเท่ากนั

20 - วาดรูปเหนือเส้นจานวน เพื่อแสดงจานวนหรือความถี่ของขอ้ มลู 2) จากแผนภาพ จะเห็นวา่ ระยะเวลาที่พนักงานบรษิ ัทจานวน 12 คน ใชใ้ นการเดินทางจากบ้านมา บรษิ ทั อยู่ในชว่ งเวลา 18 นาที ถึง 28 นาที โดยส่วนใหญจ่ ะใช้เวลา 20 นาที ถงึ 23 นาที และใช้เวลาในการ เดินทางมากท่ีสดุ คือ 28 นาที ตัวอย่างที่ 2 ผลการสารวจน้าหนกั (กโิ ลกรมั ) ของนกั เรียนในระดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 จานวน 24 คน เปน็ ดังน้ี จากแผนภาพจุด ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามในแตล่ ะขอ้ ต่อไปน้ี 1) นักเรียนในห้องสว่ นใหญม่ ีน้าหนักกี่กโิ ลกรัม 2) จานวนนักเรยี นท่มี ีนา้ หนักมากกวา่ หรือเท่ากับ 42 กโิ ลกรัม คดิ เป็นร้อยละเทา่ ใดของจานวน นกั เรยี นทั้งหมด 3) ให้อธบิ ายลักษณะของข้อมูลที่ไดจ้ ากแผนภาพ ตอบ 1) นกั เรียนในหอ้ งสว่ นใหญ่มนี า้ หนกั 42 กโิ ลกรัม 2) จานวนนักเรียนที่มีน้าหนกั มากกวา่ หรอื เทา่ กบั 42 กโิ ลกรัม คดิ เปน็ รอ้ ยละ x 100 = 62.5

21 3) จากแผนภาพ จะเหน็ วา่ นักเรียนในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 จานวน 24 คน มี นา้ หนักอยู่ ในชว่ ง 25 กโิ ลกรัม ถึง 40 กโิ ลกรัม โดยนกั เรียนสว่ นใหญม่ ีน้าหนักเท่ากบั 32 กโิ ลกรมั และนา้ หนกั ของ นกั เรียนทม่ี ากที่สดุ และน้อยที่สดุ เทา่ กบั 40 กโิ ลกรัม และ 25 กโิ ลกรมั ตามลาดับ ข้นั ฝกึ ฝนและเพม่ิ เติมความรู้ 6. ครใู ห้นกั เรยี นศึกษาเพิ่มเติมจากบทเรยี นสาเรจ็ รปู ทแ่ี จกให้ เม่ือนักเรียนศึกษาเน้ือหาเร่อื งแผนภาพ จดุ แลว้ ให้ทาแบบฝึกหัดเรื่องแผนภาพจดุ ท่ีกาหนดให้ 7. เมื่อนักเรียนทาแบบฝกึ หัดในบทเรียนสาเรจ็ รปู เสรจ็ แลว้ ใหน้ กั เรยี นตรวจคาตอบด้วยตัวเอง โดยดู ตามเฉลยทแ่ี นบท้ายเลม่ และทาความเข้าใจในขอ้ ที่ทาผิด ข้นั สรปุ และการวดั ประเมนิ ผล 8. ครเู ปิดโอกาส ให้นักเรียนซักถามข้อสงสยั และร่วมกนั สรุปเน้อื หาเกย่ี วกับแผนภาพจดุ ทีไ่ ด้เรยี นมา เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ 1. ส่ือการเรียนรู้ - หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เลม่ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2560 จัดทาโดย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยกี ระทรวงศึกษาธิการ (สสวท). 2. แหล่งการเรยี นรู้ 2.1 ห้องสมุดโรงเรียนเพ็ญพิทยาคม 2.2 https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-math-book2/

22 การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เคร่อื งมือที่ใช้ วธิ ีการ เกณฑก์ าร ประเมนิ ด้านความรู้ - คาถามในช้ันเรยี น - การถามตอบใน ผา่ นเกณฑ์ - บอกลักษณะของแผนภาพจดุ ได้ - แบบฝึกหัดเร่อื ง ชั้นเรียน ร้อยละ 70 แผนภาพจุด - แบบฝึกหัดเรอ่ื ง ด้านทกั ษะ/กระบวนการ แผนภาพจุด ผ่านเกณฑ์ - เขียนแผนภาพจุดจากข้อมลู ที่ - แบบฝึกหัดเร่อื ง รอ้ ยละ 70 แผนภาพจดุ - การถามตอบใน กาหนดให้ไดถ้ กู ตอ้ ง ช้ันเรยี น ผ่านเกณฑ์ใน แบบประเมิน - แบบฝึกหดั เรื่อง ระดับดขี ึน้ ไป ด้านคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ พฤติกรรมการเรยี นรู้ แผนภาพจุด - สร้างเหตผุ ลเพ่อื สนบั สนุนแนวคิดของ ดา้ นคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ แบบประเมนิ ตนเอง พฤติกรรมการ เรยี นรู้ ด้าน - แสดงออกถึงการมีสว่ นรว่ มในช้นั เรยี น คุณลกั ษณะที่พึง ประสงค์

23 บนั ทกึ ผลหลังการสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ด้านความรู้ (K) …………………บอ…ก…ล…กั …ษ…ณ…ะข…อ…ง…แผ…น…ภ…า…พ…จดุ………………………………………………………………………………………………… …………………ได…้ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ………………เข…ยี …น…แผ…น…ภ…า…พ…จดุ…จ…า…กข…้อ…ม…ูล…ท่ี…กา…ห…น…ด…ให…ไ้ ด…้ถ…กู …ต…้อง……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม (A) ………………ส…รา้ …งเ…ห…ต…ผุ ล…เ…พ…ือ่ ส…น…ับ…ส…น…นุ แ…น…ว…ค…ิดข…อ…ง…ต…นเ…อ…ง …………………………………………………………………………… ………………แ…สด…ง…อ…อก…ถ…ึง…กา…ร…ม…สี ่ว…น…ร…ว่ ม…ใ…น…ชนั้…เ…รีย…น……………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ปญั หาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงช่ือ ............................................ (ผู้สอน) (นางสาวศริ ประภา สมบรู ณ์) ............/............../..............

24 ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของครพู ี่เลยี้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ ............................................... (ครูพี่เลี้ยง) (นายณฐั วฒุ ิ ปลัดบาง) ............/............../.............. ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื .................................................(หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์) (นายอภิสิทธิ์ ลนุ นาร)ี ............/............../.............. ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของรองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ ............................................................(รองผู้อานวยการกล่มุ บริหารงานวชิ าการ) (จ.ส.ต.อคั รเดช วฒุ ิเสน) ............/............../..............

25 แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รายวิชาคณิตศาสตร์พน้ื ฐานค22102 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2/6 คาช้ีแจงใหท้ าเครอ่ื งหมาย √ ลงในชอ่ งรายการสงั เกตพฤติกรรมทน่ี กั เรยี นปฏิบตั ิ เลข ช่อื -สกลุ ของผรู้ บั การประเมิน รายการท่ีประเมนิ คะแนน คดิ เปน็ ผลการ ท่ี รวม ร้อยละ ประเมิน 1 เด็กหญิงจารุวรรณ บุญกอง สรา้ งเหตผุ ลเพือ่ แสดงออกถึงการ 6 ผ่าน ไม่ สนบั สนนุ แนวคดิ มีส่วนรว่ มในชน้ั 6 ผ่าน 2 เด็กหญิงจิรญาภา เสนาคบุตร ของตนเอง เรียน 6 321321 6 100 ✓ 3 เดก็ หญิงชินรตั น์ ศรีวิชัย 6 100 ✓ 4 เดก็ หญงิ ณัฐธญิ าวัลย์ วงษช์ าลี ✓✓ 6 100 ✓ 5 เดก็ หญิงณัฐธิดา นาพรม ✓✓ 6 100 ✓ 6 เดก็ หญิงดาริกา ชาวกล้า ✓✓ 6 100 ✓ 7 เดก็ หญิงทาริกา ผมไผ ✓✓ 6 100 ✓ 8 เดก็ หญงิ นัญธชิ า สจุ ริต ✓✓ 6 100 ✓ 9 เดก็ หญิงบุศรา แซต่ ้ัง ✓✓ 6 100 ✓ 10 เด็กหญิงเพชรนารี แสงจนั ทร์ ✓✓ 6 100 ✓ 11 เดก็ หญิงเพ็ญนภา ยตุ ธิ รรม ✓✓ 6 100 ✓ 12 เด็กหญิงลลติ า งามลา ✓✓ 6 100 ✓ 13 เด็กหญิงวณดิ า บุญญปัญญาพร ✓✓ 6 100 ✓ 14 เดก็ หญงิ สโรชา ธาตมุ ี ✓✓ 6 100 ✓ 15 เดก็ หญงิ สริ นิ ดา คาเทพ ✓✓ 6 100 ✓ 16 เดก็ หญงิ สกุ ญั น์พร สมุ งคล ✓✓ 6 100 ✓ 17 เด็กหญงิ อรจริ า สวุ รบุตร ✓✓ 6 100 ✓ 18 เด็กหญงิ อรญั ยาพร โคกกลาง ✓✓ 6 100 ✓ 19 เด็กหญงิ อริศรา สุระคาย ✓✓ 6 100 ✓ 20 เดก็ ชายจารจุ ติ ต์ ชาวปา่ ✓✓ 6 100 ✓ 21 เด็กชายชณิ วฒั น์ คามีทอง ✓✓ 100 ✓ 22 เด็กชายฑนวัฒน์ ผมอินทร์ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ ✓✓

23 เด็กชายณชั ชา แสนโคตร ✓ ✓ 26 24 เดก็ หญิงทิพรตั น์ ออ่ นละมลุ ✓ ✓ 25 เด็กชายธนากรณ์ กาทอง ✓ ✓ 6 100 ✓ 26 เดก็ ชายธีรพงษ์ พวงจาปา ✓ ✓ 6 100 ✓ 27 เด็กชายปภินวทิ ย์ ป้องพาล ✓ ✓ 6 100 ✓ 28 เดก็ ชายปณศักดิ์ สีมาวุธ ✓ ✓ 6 100 ✓ 29 เด็กชายประฏภิ าณ ชมคา ✓ ✓ 6 100 ✓ 30 เดก็ ชายปรยิ ุทธ โพธท์ิ ิพย์ ✓ ✓ 6 100 ✓ 31 เด็กชายพายุ สมุ งคล ✓ ✓ 6 100 ✓ 32 เด็กชายพชิ ติ ชยั นามวจิ ิตร ✓ ✓ 6 100 ✓ 33 เดก็ ชายรัตพิ งษ์ เพมิ่ เพียร ✓ ✓ 6 100 ✓ 34 เด็กชายวศพล ชมพูโคตร ✓ ✓ 6 100 ✓ 35 เดก็ ชายวรี ะวฒั น์ ชนะการี ✓ ✓ 6 100 ✓ 36 เด็กชายศิรโิ ชค ยอดวงค์กอง ✓ ✓ 6 100 ✓ 37 เด็กชายกิตติพงษ์ เมืองม่าน ✓ ✓ 6 100 ✓ 6 100 ✓ 6 100 ✓

27 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานค22102 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/7 คาช้แี จงให้ทาเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสงั เกตพฤติกรรมท่ีนักเรียนปฏิบตั ิ เลข ช่ือ-สกลุ ของผ้รู ับการประเมิน รายการทีป่ ระเมิน คะแนน คิดเปน็ ผลการ ที่ รวม ร้อยละ ประเมิน 1 เดก็ หญิงชนรดี บตุ รสุรินทร์ สรา้ งเหตผุ ลเพอ่ื แสดงออกถงึ การ 6 ผ่าน ไม่ 2 เด็กหญิงชนาภา ศรีมดื สนบั สนนุ แนวคดิ มีส่วนร่วมในชัน้ 6 ผ่าน 3 เด็กหญิงณฐั นันท์ กาจัดภัย ของตนเอง เรียน 6 4 เดก็ หญงิ ทิพเกสร พลเวยี ง 321321 6 100 ✓ 5 เดก็ หญงิ ธนัชพร ดวงพงั 6 100 ✓ 6 เด็กหญิงนริศรา เว้นบาป ✓✓ 6 100 ✓ 7 เด็กหญงิ พรพิมล สายสมร ✓✓ 6 100 ✓ 8 เดก็ หญิงพชั รธิดา บญุ แสนแผน ✓✓ 6 100 ✓ 9 เด็กหญงิ แพรชมพู เพ่ือนใบลี ✓✓ 6 100 ✓ 10 เดก็ หญิงภทั รธิดา รว่ มสาโรง ✓✓ 6 100 ✓ 11 เดก็ หญงิ ศิรนิ ารถ สรุ ะคาย ✓✓ 6 100 ✓ 12 เด็กหญงิ สนุ ิษา ทุยโพธช์ิ ยั ✓✓ 6 100 ✓ 13 เดก็ หญงิ สปุ รญี า ชยั ชนะ ✓✓ 6 100 ✓ 14 เดก็ หญงิ สพุ าภรณ์ ขนุ แผน ✓✓ 6 100 ✓ 15 เด็กหญิงอรศิ ษา อดุ มชัย ✓✓ 6 100 ✓ 16 เดก็ หญิงอมั รินทร์ ยนื นาน ✓✓ 6 100 ✓ 17 เดก็ หญงิ อาริสา ปัพรงั ศรี ✓✓ 6 100 ✓ 18 เด็กชายจิรวฒั น์ บวั บาล ✓✓ 6 100 ✓ 19 เดก็ ชายชยั มงคล พรมดา ✓✓ 6 100 ✓ 20 เด็กชายชยั อนนั ต์ ยวดยาน ✓✓ 6 100 ✓ 21 เดก็ ชายณัฐนติ ิ มูลมานัส ✓✓ 6 100 ✓ 22 เด็กชายทนงศักด์ิ ทิพย์สวุ รรณ ✓✓ 6 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ ✓✓

23 เด็กชายธนกฤต อิลุเพท ✓ ✓ 28 24 เด็กชายธีรพงศ์ ปานะทึก ✓ ✓ 25 เดก็ ชายธรี ะศักดิ์ แสงทอง ✓ ✓ ✓ 26 เด็กชายนที ยางสุด ✓ ✓ ✓ 27 เด็กชายนิโคลาส ไรมนู วากเนร์ ✓ ✓ ✓ 28 เด็กชายพศิ ิษฐ์ศกั ดิ์ งามลุน ✓ ✓ ✓ 29 เด็กชายมงคลชัย เตา่ แกว้ ✓ ✓ ✓ 30 เด็กชายรัฐศาสตร์ ธาตวุ สิ ัย ✓ ✓ ✓ 31 เด็กชายราชันย์ ทับทิมไสย์ ✓ ✓ ✓ 32 เดก็ ชายศุภโชติ ธรรมธาตุ ✓ ✓ ✓ 33 เดก็ ชายสราวุฒิ สุวรรณจักร ✓ ✓ ✓ 34 เดก็ ชายสิทธิกร จิตจานง ✓ ✓ ✓ 35 เดก็ ชายอติเทพ จนั เลศิ ✓ ✓ ✓ 36 เด็กชายอยุทธ์ เจริญสุข ✓ ✓ ✓ 37 เดก็ หญงิ ศิรวิ รรณ พทุ สาลา ✓ ✓ ✓ 38 เด็กชายดษุ ฏี สุริยมาตร ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

29 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ รายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐานค22102 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/8 คาชแ้ี จงใหท้ าเครอ่ื งหมาย √ ลงในชอ่ งรายการสังเกตพฤติกรรมทน่ี ักเรียนปฏบิ ัติ เลข ช่อื -สกุล ของผูร้ ับการประเมิน รายการท่ปี ระเมนิ คะแนน คดิ เป็น ผลการ ที่ รวม ร้อยละ ประเมิน 1 เดก็ หญงิ สธุ ชิ า สาราญดี สร้างเหตผุ ลเพื่อ แสดงออกถึงการ 6 ผ่าน ไม่ 2 เดก็ ชายฐิติวุฒิ พวงจนั ทร์ สนับสนนุ แนวคิด มีส่วนรว่ มในชัน้ 6 ผ่าน 3 เดก็ ชายรพภี ทั ร ธาตุเสียว ของตนเอง เรียน 6 4 เดก็ หญิงช่อลัดดา เชดิ ทอง 321321 6 100 ✓ 5 เดก็ หญงิ ชาริษา สีลาพล 6 100 ✓ 6 เดก็ หญิงณฐั ธิดา วงษธ์ ร ✓✓ 6 100 ✓ 7 เด็กหญิงธัญญารัตน์ พฤฒิสาร ✓✓ 6 100 ✓ 8 เดก็ หญงิ ธาราพร อนิ ทร์กง ✓✓ 6 100 ✓ 9 เดก็ หญงิ ปวรัตน์ ชยั อามาตย์ ✓✓ 6 100 ✓ 10 เด็กหญิงพชั ราภา บญุ แสนแผน ✓✓ 6 100 ✓ 11 เดก็ หญงิ เพ็ญพิชชา ทา่ งาม ✓✓ 6 100 ✓ 12 เด็กหญงิ ภรพิมล นายกชน ✓✓ 6 100 ✓ 13 เด็กหญิงรวสิ รา ทองเพ็ญ ✓✓ 6 100 ✓ 14 เด็กหญงิ วรณัน สีมดื ✓✓ 6 100 ✓ 15 เด็กหญงิ ศศิวรรณ สอ่ นชยั ✓✓ 6 100 ✓ 16 เด็กหญงิ สุชาวดี อินประจง ✓✓ 6 100 ✓ 17 เด็กหญงิ สุภาวรรณ โสดเสียว ✓✓ 6 100 ✓ 18 เด็กหญงิ สุมติ รตา พนั เเสนเเก้ว ✓✓ 6 100 ✓ 19 เดก็ หญงิ อรวรรณ พลเวยี งธรรม ✓✓ 6 100 ✓ 20 เดก็ หญิงอรัญญา ธาตวุ ิสยั ✓✓ 6 100 ✓ 21 เด็กชายชัยวฒั น์ แลกสนิ ธุ์ ✓✓ 6 100 ✓ 22 เดก็ ชายธนธรณ์ สอ่ นนารา ✓✓ 6 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ 100 ✓ ✓✓ ✓✓

23 เด็กชายณฐั พร รามฤทธิ์ ✓ 30 24 เด็กชายณฐั ภูมิ ศรีภธู ร ✓ 25 เดก็ ชายทศวรรษ แก้วกาโศก ✓ ✓ 6 100 ✓ 26 เด็กชายธีรโชติ โคตรทะดี ✓ ✓ 6 100 ✓ 27 เดก็ ชายธีรพฒั น์ ไผ่ป้อง ✓ ✓ 6 100 ✓ 28 เด็กชายธรี ศักด์ิ ชิณบุตร ✓ ✓ 6 100 ✓ 29 เดก็ ชายเนรมติ ทองทัน ✓ ✓ 6 100 ✓ 30 เด็กชายปฏภิ าณ ศรีเชยี งหวาง ✓ ✓ 6 100 ✓ 31 เดก็ ชายรกั ตนนั ท์ สาคะเรศ ✓ ✓ 6 100 ✓ 32 เด็กชายวชริ วทิ ย์ ส่อนนารา ✓ ✓ 6 100 ✓ 33 เดก็ ชายวศนิ รอดชมพู ✓ ✓ 6 100 ✓ 34 เด็กชายวชิ ญะ แสงนกิ ุล ✓ ✓ 6 100 ✓ 35 เด็กชายศวิ ัฒน์ ยวดดี ✓ ✓ 6 100 ✓ 36 เด็กชายศกุ ลวัฒน์ ชัยหนองบวั ✓ ✓ 6 100 ✓ 37 เด็กชายสุทธิลักษณ์ วงสระคู ✓ ✓ 6 100 ✓ 38 เดก็ ชายอดสิ ร ขันซอ้ น ✓ ✓ 6 100 ✓ 39 เด็กหญงิ ณิชนนั ท์ ครฑุ วิเศษ ✓ ✓ 6 100 ✓ 40 เดก็ หญิงอรอุมา สมี ืด ✓ ✓ 6 100 ✓ ✓ 6 100 ✓ ✓ 6 100 ✓ ลงช่อื ............................................ (ผ้สู อน) (นางสาวศริ ประภา สมบรู ณ์) ............/............../..............

31 เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สร้างเหตผุ ลเพอ่ื สนับสนุนแนวคดิ ของตนเอง คะแนน:ระดับคุณภาพ คุณลักษณะท่ปี รากฏใหเ้ ห็น 3 : ดีมาก - ยืนยันข้อมลู ที่เปน็ จรงิ ในการสนับสนนุ แนวคดิ ของตนเองได้ถูกต้อง 2 : ดี - ยืนยนั ขอ้ มูลที่เป็นจรงิ ในการสนบั สนนุ แนวคิดของตนเองได้บ้างบางคร้ัง 1 : พอใช้ - ยนื ยันข้อมลู ท่เี ป็นจรงิ ในการสนบั สนุนแนวคดิ ของตนเองได้ถูกเพียงเล็กนอ้ ย แสดงออกถงึ การมีสว่ นร่วมในชนั้ เรียน คะแนน:ระดับ คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ ห็น คุณภาพ 3 : ดีมาก - ให้ความรว่ มมือในการทากิจกรรมในชัน้ เรียน มีส่วนรว่ มในการตอบคาถาม และ แสดงความคิดเห็น 2 : ดี - ให้ความร่วมมอื ในการทากิจกรรมในชัน้ เรียน มีสว่ นรว่ มในการตอบคาถามบ้าง บางครง้ั และแสดงความคิดเห็นบ้างบางครงั้ 1 : พอใช้ - ให้ความรว่ มมือในการทากจิ กรรมในชน้ั เรยี น แตไ่ มม่ ีส่วนร่วมในการตอบคาถาม และไม่แสดงความคิดเหน็ เกณฑ์การตัดสนิ คะแนน คะแนน 5-6 ระดบั ดีมาก คะแนน 3-4 ระดบั ดี คะแนน 1-2 ระดับพอใช้ *เกณฑผ์ า่ นคุณภาพระดับดี

32 แผนการจัดการเรียนรู้ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 รหสั วชิ า ค 22102 ภาคเรียนท่ี 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ งสถิติ เวลาเรยี น 12 ช่วั โมง เรอ่ื งแผนภาพต้น-ใบ เวลา 2 ชวั่ โมง ผูส้ อนนางสาวศริ ประภา สมบรู ณ์ โรงเรยี นเพญ็ พทิ ยาคม สอนวันที่....... เดือน......................พ.ศ.2564 มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถติ ใิ นการแกป้ ัญหา ตวั ช้ีวัด ค 3.1 ม. 2/1 เข้าใจและใชค้ วามรทู้ างสถิติในการนาเสนอข้อมลู และวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแผนภาพจดุ แผนภาพต้น – ใบ ฮิสโทแกรมและค่ากลางของข้อมูล และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทัง้ นาสถิติไปใช้ในชีวิต จรงิ โดยใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสม สาระสาคญั แผนภาพตน้ -ใบ เป็นการนาเสนอข้อมูลเชิงปรมิ าณออกเป็นสองส่วนทีเ่ รียกว่า ส่วนลาต้น และสว่ นใบ โดยส่วนใบจะเปน็ ตวั เลขท่ีอยู่ขวาสดุ ส่วนตัวเลขทเ่ี หลือจะเป็นสว่ นลาตน้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เม่ือเรียนจบบทเรียนน้แี ล้วนกั เรียนสามารถ ดา้ นความรู้ (K) - บอกลกั ษณะของแผนภาพต้น-ใบได้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - เขียนแผนภาพต้น-ใบจากข้อมลู ที่กาหนดให้ไดถ้ ูกต้อง ดา้ นคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ (A) - สร้างเหตผุ ลเพอื่ สนบั สนนุ แนวคดิ ของตนเอง - แสดงออกถึงการมีส่วนรว่ มในชัน้ เรียน สาระการเรียนรู้ แผนภาพต้น-ใบ