Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการทรงงาน

หลักการทรงงาน

Published by sukworadet29, 2021-01-27 02:30:20

Description: หลักการทรงงาน

Keywords: k.9

Search

Read the Text Version

2 หลกั การทรงงาน คาํ นาํ ในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเย่ียมราษฎร ที่ประสบความทุกขยากในถ่ินทุรกันดารท่ัวทุกแหงหนมาเปนระยะเวลา อันยาวนานถึง ๗๐ ป จนกอเกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ แลวกวา ๔,๘๐๐ โครงการ กระจายอยูท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศไทย โดยพระราชทานหลกั คดิ แนวปฏบิ ตั ิ และหลกั การทรงงานทม่ี คี ณุ คา มหาศาล จนทําใหราษฎรไดสามารถดําเนินชีวิตอยางมีความสุข ตอมาในรัชสมัย ปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงสืบสาน รักษา และตอยอด พระราชปณธิ านของพระบรมชนกนาถและพระบรมราชชนนี ในการบาํ บดั ทกุ ข บาํ รงุ สขุ แกอ าณาประชาราษฎร โดยพระราชทานแนวพระราชดาํ รใิ หห นว ยงาน ทเ่ี กยี่ วขอ งรว มกนั ดาํ เนนิ งานในลกั ษณะการประสานงานรว มกนั ทกุ ภาคสว น ท้ังการดําเนินชีวิตควบคูกับการใชทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมอยาง เกื้อกูลกัน ณ สถานที่แหงเดียว เปรียบเสมือนพิพิธภัณฑธรรมชาติท่ีมีชีวิต ซ่ึงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริท่ีกระจายอยูท่ัวประเทศ ๔,๘๑๐* โครงการ เปน แหลง ศกึ ษาทดลอง วจิ ยั และเปน ตวั อยา งความสาํ เรจ็ ใหร าษฎร เขาไปเยี่ยมชม เรียนรู และนํากลับไปปรับประยุกตใชแกไขปญหา การดําเนินชีวิต และการประกอบอาชีพตามลักษณะภูมิสังคมของตนเอง บนพนื้ ฐานของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลกั การทรงงาน สามารถ ดํารงชีวิตอยางพออยูพอกิน มีความสุขไดตามอัตภาพ ดวยพระราชหฤทัย ที่มงุ ม่ัน “เพื่อประโยชนสขุ แหงอาณาราษฎรตลอดไป”

หลกั การทรงงาน 3 หนงั สอื “หลกั การทรงงานในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล อดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร” เลม น้ี ศูนยประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจาก พระราชดาํ รแิ ละความมนั่ คง (ศปร.) ไดจ ดั ทาํ ขน้ึ เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เพื่อเผยแพรหลักการทรงงานของพระบรมชนกนาถ และพระมหากรุณาธิคุณท่ีพระราชทานตออาณาราษฎร รวมทั้งองคความรู ตามแนวพระราชดาํ ริ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื ใชเ ปน หลกั การ ในการดําเนนิ งานพัฒนาตาง ๆ ใหก อ เกดิ ประโยชนแ กประชาชนและประเทศชาติ พรอ มทง้ั ยงั สาํ นกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ทที่ รงอยใู นใจของพสกนกิ รตลอดไป โดยเนื้อหาในเลมนี้ไดอางอิงขอมูลมาจากสํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพ่อื ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (สาํ นกั งาน กปร.) ศนู ยประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริและความม่นั คง (ศปร.) พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ * ท่มี าขอมลู สํานักงาน กปร. มิถนุ ายน ๒๕๖๒

4 หลกั การทรงงาน ภาพวาดฝพระหตั ถ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงออกแบบกังหนั นา้ํ ชัยพัฒนา เคร่อื งกลเติมอากาศแบบ RX-5 เพ่อื ใชเปน เครือ่ งมอื ในการบําบัดนา้ํ เสีย

หลักการทรงงาน 5 สารบัญ หลกั การทรงงาน ๖ - ๕๕ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ ๕๗ - ๘๕ - ความเปนมาของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ - ลกั ษณะของโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ - หลักการของโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ - ความหมายของโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริ ๘๗ - ๑๐๔ พระวชิรเกลา เจา อยูหวั พระเมตตาสปู ระชาราษฎร บทสรปุ ๑๐๖ บรรณานกุ รม ๑๑๑

6 หลกั การทรงงาน หลกั การทรงงาน ๑. ซื่อสัตย์ สจุ ริต ๒. อ่อนนอ้ ม ถ่อมตน ๓. ความเพยี ร จริงใจตอ่ กนั ๔. รู้ รัก สามัคคี ๕. ทาํ เร่อื ย ๆ ๖. มคี วามสุขในการ ทําแบบสังฆทาน ทาํ ประโยชนใ์ ห้แก่ผูอ้ ืน่ ๗. ศึกษาข้อมูลอยา่ ง ๘. ระเบิดจากขา้ งใน ๙. ทําตามลําดบั ขนั้ เป็นระบบ ทาํ งานอย่างผูร้ ู้จริง ๑๐. ภมู สิ ังคม ๑๑. องค์รวม ๑๒. ประหยดั เรียบง่าย ไดป้ ระโยชน์สูงสดุ































































38 หลกั การทรงงาน ๑๖. อธรรมปราบอธรรม ทรงนําความจริงในเรื่องความเปนไปแหงธรรมชาติและกฎเกณฑ ของธรรมชาติมาเปนหลักการ แนวปฏิบัติท่ีสําคัญในการแกปญหาและ เปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไมปกติใหเขาสูปกติ ทรงคิดคนวิธีบําบัดน้ําเสียโดยใช ผักตบชวาดูดซึมส่ิงสกปรกปนเปอนในน้ํา และเปนที่มาของ “อธรรมปราบ อธรรม” ดังพระราชดาํ รสั ความตอนหน่ึงวา “...เหน็ ไหมวา นํา้ เนามันก็เปนอธรรม ผักตบชวาท่เี ราไมต อ งการมันก็ เปนอธรรมเหมือนกัน..ฉันจะเอาอธรรมสูกับอธรรม ใหออกมาเปนธรรมะ ใหไ ด...”

หลักการทรงงาน 39 ๑๗. ประโยชนส ว นรวม ทรงเห็นวาการทํางานทุกอยางของเรานั้นมีผลเก่ียวเน่ืองถึงประโยชน สวนรวมของบานเมืองและประชาชนทุกคน เพราะฉะนั้นจึงจําเปนที่จะตอง ปฏิบัติหนาท่ีทุก ๆ ประการใหบริสุทธ์ิ บริบูรณ โดยเต็มกําลังสติปญญา ความรู ความสามารถ การปฏิบัติพระราชกรณียกิจและการพระราชทาน พระราชดําริในการพัฒนาและชวยเหลือพสกนิกร ทรงระลึกถึงประโยชน ของสวนรวมเปน สาํ คญั ดังพระราชดาํ รสั ความตอนหนึ่งวา “...ใครตอใครบอกวาขอใหเสียสละสวนตัวเพ่ือสวนรวม อันนี้ฟง จนเบ่อื อาจจะรําคาญดวยซา้ํ วา ใครตอ ใครมากบ็ อกวา ขอใหคดิ ถงึ ประโยชน สว นรวม อาจมานึกในใจวา ให ๆ อยูเ ร่ือย แลวสวนตัวจะไดอ ะไร ขอใหค ดิ วา คนท่ีใหเพื่อสวนรวมน้ันมิไดใหสวนรวมแตอยางเดียว เปนการใหเพ่ือตัวเอง สามารถที่จะมสี ว นรว มทจ่ี ะอาศยั ได...” พระบรมราโชวาทพระราชทานแกน ิสิต นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ขอนแกน ณ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน วันจันทรที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๑๔

40 หลกั การทรงงาน “...บา นเมอื งของเราเปน ปก แผน มน่ั คง และรม เยน็ เปน สขุ สบื มาชา นาน เพราะเรามีความยึดมั่นในชาติ และตางบําเพ็ญกรณียกิจตามหนาท่ี ใหส อดคลองเก้ือกูลกันเพ่อื ประโยชนสว นรวมของชาติ คนไทยทุกคนจงึ ควร จะไดต ระหนกั ในขอ นใ้ี หม าก แลว ตง้ั ใจประพฤตติ วั ปฏบิ ตั งิ านใหส มแกฐ านะ และหนาท่ี เพือ่ ใหส าํ เร็จประโยชนส วนรวม คอื ความมัน่ คงปลอดภยั ของชาติ บานเมืองไทย...” พระราชดาํ รัสในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา ณ ทองพระโรง ศาลาราชประชาสมาคม วงั ไกลกังวล วนั พฤหัสบดที ่ี ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๖

หลกั การทรงงาน 41 ๑๘. การพึ่งตนเอง การพฒั นาตามแนวพระราชดําริ ในเบ้ืองตนเปน การแกไ ขปญ หา เฉพาะหนา เพอื่ ใหป ระชาชนมคี วามแขง็ แรงพอทจ่ี ะดาํ รงชวี ติ ได และขน้ั ตอน ตอ ไป คอื การพัฒนาใหประชาชนสามารถอยใู นสังคมไดต ามสภาพแวดลอม สามารถพงึ่ ตนเองไดอ ยา งยง่ั ยนื โดยใชห ลกั คดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ การวางเสนทางชีวิตของตนเองใหเรียบงายธรรมดา และเดินสายกลาง ดว ยปญ ญา พรอ มคณุ ธรรมในจติ ใจ เพอ่ื นาํ ชวี ติ ไปสคู วามสมดลุ ของทรพั ยากร ใหม คี วามมนั่ คง และเกดิ ความยงั่ ยนื ในทส่ี ดุ เปรยี บเสมอื นเปน การวางรากฐาน ของอาคารใหแขง็ แรง ดงั พระราชดาํ รัสความตอนหน่ึงวา “...การชว ยเหลือสนับสนนุ ประชาชนในการประกอบอาชีพและตั้งตวั ใหม คี วามพอกนิ พอใช กอ นอน่ื เปน สงิ่ สาํ คญั ยง่ิ ยวด เพราะผมู อี าชพี และฐานะ เพียงพอท่ีจะพึ่งพาตนเองได ยอมสามารถสรางความเจริญในระดับสูง ขั้นตอ ไป...” พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั ร ของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ณ หอประชุมมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วนั ศุกรท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗



หลักการทรงงาน 43 ๑๙. เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง เปนหลกั ความคิดที่จะดาํ เนนิ การเรื่องตาง ๆ เพ่อื นําชีวิตไปสูความสมดุล มั่นคง และย่ังยืน เสมือนเปนการวางฐานรากของ ตวั อาคาร ดังปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีไดพ ระราชทานไว ดงั น้ี “เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน ปรชั ญาชถ้ี งึ แนวทางดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ติ นของ ประชาชนในทุกระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศใหด าํ เนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวหนาตอโลก ยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปน ท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวท่ีดีพอสมควร ตอการมีผลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปลีย่ นแปลงท้งั ภายนอกและภายใน ท้ังน้ี จะตอ งอาศยั ความ รอบรู ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยา งยิ่งในการนาํ วิชาการตา ง ๆ มาใชใ นการวางแผน และการดาํ เนนิ การทกุ ขน้ั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ ง เสริมสรา งพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนา ท่ีของรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ในทุกระดับใหม ีสาํ นึกในคุณธรรม ความซ่ือสตั ย สจุ ริต และใหม ี ความรอบรูทเ่ี หมาะสม ดําเนินชวี ติ ดว ยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปล่ียนแปลง อยา งรวดเร็วและกวา งขวาง ทั้งดานวตั ถุ สังคม สิง่ แวดลอม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกไดเ ปน อยา งด”ี

44 หลักการทรงงาน ๒๐. เขา ใจ เขาถึง พฒั นา เขาใจ : ทําอะไรตองเขาใจปญหา เขาใจหนทางแกไข เขาใจ กระบวนการจัดการ และปรับความเขา ใจระหวางผใู ห ผูรบั เสียกอน ใหเ ขา ใจ ซงึ่ กันและกนั เขา ถึง : เมื่อเขาใจระหวางกันทุกประการครบถวนแลว ตองเขาถึง การกระทํา สรางความรวมมือจากผูเกี่ยวของ เขาถึงเครื่องไมเคร่ืองมือและ วสั ดุอุปกรณ และความสามคั คี รว มจติ รวมใจของผูปฏบิ ัติ รว มมือรวมไมก นั ทาํ งาน พัฒนา : เม่ือตางฝายเขาใจกันแลว เขาถึงกันแลว การพัฒนาก็จะ ดําเนินการไปอยางยั่งยืน ไมสงผลกระทบท่ีติดลบตอระบบเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ ม และการเมือง หากแตน าํ ไปสคู วามสมดลุ มั่นคง และย่งั ยนื

หลกั การทรงงาน 45 ๒๑. แกป ญหาท่ีจุดเลก็ คดิ Macro เรม่ิ Micro ทรงมองปญหาในภาพรวม (Macro) กอนเสมอ แตการแกไขปญหา ของพระองคจะเริ่มจากจุดเล็ก ๆ (Micro) คือ การแกไขปญหาเฉพาะหนา ท่ีคนมกั จะมองขาม ดังพระราชดาํ รสั ความตอนหน่ึงวา “...ถาปวดหัวก็คิดอะไรไมออก เปนอยางน้ันตองแกไขการปวดหัวนี้ กอ น...... ...มนั ไมไ ดเ ปน การแกอ าการจรงิ แตต อ งแกป วดหวั กอ น เพอื่ ทจ่ี ะใหอ ยู ในสภาพทีค่ ิดได. ..... ...แบบ (Macro) นี้ เขาจะทําแบบรอื้ ทั้งหมด ฉนั ไมเหน็ ดว ย... ...อยา งบา นคนอยู เราบอกบา นนมี้ นั ผตุ รงนนั้ ผตุ รงนี้ ไมค มุ ทจี่ ะซอ ม... …เอาตกลงร้ือบา นนี้ ระเบิดเลย เราจะไปอยูท ไ่ี หน ไมม ีที่อย.ู .. ...วิธีทําตอ งคอย ๆ ทํา จะไประเบดิ หมดไมไ ด...

46 หลกั การทรงงาน ๒๒. ไมตดิ ตาํ รา ทําใหง า ย การพัฒนาตามแนวพระราชดําริมีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลม และรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และสภาพของสังคมจิตวิทยา แหงชุมชน คือ “ไมติดตํารา” ไมผูกมัดติดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ ไมเหมาะสมกบั สภาพชีวิตความเปนอยทู แ่ี ทจรงิ ของคนไทย เพราะสภาพปญหา มีไมเหมือนกัน หากใชปญญาไตรตรองใหรอบคอบครบถวนจะพบวิธีการ พัฒนาใหม ๆ ในการแกไขปญหาของประชาชน ทรงโปรดท่ีจะทําสิ่งท่ียาก ใหกลายเปนสิ่งที่งาย ทําส่ิงที่สลับซับซอนใหเขาใจงาย อันเปนการแกปญหา ดว ยการใชก ฎแหง ธรรมชาตเิ ปน แนวทางนน่ั เอง แตก ารทาํ สง่ิ ยากใหก ลายเปน งา ยนนั้ เปนของยาก ฉะน้นั คาํ วา “ทําใหงาย” หรอื “Simplicity” จึงเปน หลักคิดสําคัญที่สุดของการพัฒนาประเทศในรูปแบบของโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดําริ

หลักการทรงงาน 47 ๒๓. การมสี วนรว ม ในการทรงงาน พระองคทรงเปดโอกาสใหทุกฝาย ท้ังประชาชนหรือ เจาหนาที่ทุกระดับไดมารวมแสดงความคิด หรือท่ีเรียก ประชาพิจารณ เพื่อรับทราบปญหาและความตองการของประชาชน โดยใหเอาชาวบานเปนครู ดังพระราชดํารสั ความตอนหนงึ่ วา “...สําคัญท่ีสุดจะตองหัดทําใจใหกวางขวาง หนักแนน รูจักรับฟง ความคิดเห็น แมก ระท่ังความวิพากษว ิจารณจ ากผูอื่นอยางฉลาด เพราะการ รูจักรับฟงอยางฉลาดน้ัน แทจริงคือ การระดมสติปญญาและประสบการณ อันหลากหลาย มาอํานวยการปฏิบัติบริหารงานใหประสบความสําเร็จ ทีส่ มบรู ณน ่นั เอง...” “แตว า มคี วามพออยูพอกิน มคี วามสงบ เปรยี บเทยี บกบั ประเทศอ่ืน ๆ ถาเรารกั ษาความพออยพู อกนิ นไี้ ด เราก็จะยอดย่ิงยวด...ท่สี ุดก็คอื ประโยชน รวมกนั คอื ความพอมพี อกิน พออยู ปลอดภัยของประเทศชาต.ิ ..” พระราชดาํ รัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วันพุธที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗

48 หลกั การทรงงาน ๒๔. พออยพู อกิน ใหป ระชาชนสามารถอยอู ยาง “พออยูพอกนิ ” ใหไ ดเสยี กอน แลวจึง คอยขยับขยายใหมีขีดสมรรถนะท่ีกาวหนาตอไป การดําเนินชีวิตใหพออยู พอกินน้ัน ตองมีทรัพยากรใหเพียงพอตอการดํารงชีวิต ตองอาศัยความ อุ ด ม ส ม บู ร ณ  ข อ ง ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล  อ ม เ ป  น สํ า คั ญ หากขาดแคลนจะทาํ ใหไ มเ พยี งพอ อดอยาก ไมม น่ั คงในชวี ติ จาํ นวนประชากร เพม่ิ ขน้ึ ทกุ วนั แตท รพั ยากรลดลงทกุ ที ภาวะขาดแคลนยอ มเกดิ ขน้ึ ทรงแกไ ข ปญหาทุกดานเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงฟนฟูและรักษาความสมดุล ของทรัพยากรธรรมชาติท่ีเสียไป เพื่อสรางความยั่งยืนใหเกิดข้ึน เพราะเปน พน้ื ฐานการดาํ รงชีวิตของมนุษย “...คนอนื่ จะวา อยา งไรกช็ า งเขา จะวา เมอื งไทยลา สมยั วา เมอื งไทยเชย วาเมืองไทยไมมีสิ่งท่ีสมัยใหม แตเราอยูพอมีพอกิน และขอใหทุกคนมีความ ปรารถนาทจี่ ะใหเ มอื งไทยพออยพู อกนิ มคี วามสงบ และทาํ งาน ตงั้ จติ อธษิ ฐาน ต้ังปณิธานในทางท่ีจะใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรือง อยางยอด แตวามีความพออยูพอกินน้ีได เราก็จะยอดย่ิงยวด...ท่ีสุดก็คือ ประโยชนร ว มกัน คือ ความพอมีพอกนิ พออยู ปลอดภยั ของประเทศชาติ...” พระราชดํารสั เน่อื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลยั วันพธุ ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๑๗

หลกั การทรงงาน 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook