Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดำเนินงานตามงบประมาณ ปี 2563 Cook book Final6

แนวทางการดำเนินงานตามงบประมาณ ปี 2563 Cook book Final6

Published by พช.ศรีสะเกษ, 2020-03-26 04:18:45

Description: แนวทางการดำเนินงานตามงบประมาณ ปี 2563 Cook book Final6

Search

Read the Text Version

คำนำ กรมการพฒั นาชุมชน มีภารกิจสาคญั ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนร้แู ละการมีสว่ นร่วมของ ประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความม่ันคงและมีเสถียรภาพ เพื่อให้เป็นชุมชน เข้มแข็ง โดยมีผนู้ าชุมชน อาสาสมัคร กลมุ่ /องคก์ ร เครือขา่ ย และประชารัฐ เป็นกลไกการพัฒนาในการบริหาร จัดการชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากอย่างเป็นระบบและมีประสิทธภิ าพ เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจ ฐำนรำกมน่ั คงและชุมชนพง่ึ ตนเองได้ ภำยในปี 2565” การจัดทางบประมาณประจาปี 2563 มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของรัฐบาล คือ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหล่ือมลา และสร้างการเติบโตจากภายใน ซ่ึงมีผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่าย งบประมาณ คือ ชุมชน/หมู่บ้านมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการชุมชนและพ่ึงตนเองได้ มีการสร้างงาน สร้างรายได้ และแกไ้ ขปญั หาไดต้ รงความต้องการของชมุ ชน ประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตดีขึน แนวทางการดาเนินกิจกรรมตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ฉบบั นี จะเปน็ ค่มู ือสาหรับเจา้ หน้าที่พัฒนาชุมชนในการดาเนินกิจกรรมตามแผนปฏบิ ัติงาน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ทังนี สามารถปรับแนวทางการดาเนินกิจกรรมได้ตามความจาเป็นและเหมาะสม โดยให้คงไว้ ซึ่งวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัวชีวัดท่ีกาหนดไว้เดิม เพื่ออานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานกับทุกท่าน โดยสามารถค้นหาแนวทางการดาเนินกิจกรรม ผ่านการสแกน QR CODE ได้อีกดว้ ย กรมการพฒั นาชุมชน พฤศจิกายน 2562 เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

สารบญั หน้า แนวทางการดาเนนิ กิจกรรมตามแผนการปฏบิ ัตงิ านและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ 1 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๓ 20  แผนงานยุทธศาสตร์ดา้ นความม่นั คง ๓8 1. โครงการสร้างความมน่ั คงด้านอาชีพและรายไดต้ ามหลักปรชั ญาของ 42 เศรษฐกิจพอเพียง 46 2. โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง 57 63  แผนงานยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั แผนงานบรู ณาการเพอ่ื การพฒั นาพน้ื ทรี่ ะดับภาค 68 ๑. โครงการสง่ เสริมช่องทางการตลาดเครือข่ายเกษตรอินทรยี ์ภาคเหนอื ตอนบน 76 ด้วยกลไกประชารัฐ 79 ๒. โครงการส่งเสริมชอ่ งทางการตลาดเครือขา่ ยอาหารปลอดภยั ภาคเหนือตอนล่าง 95 ด้วยกลไกประชารฐั 97 3. โครงการพฒั นาอาชีพและคณุ ภาพชีวิตผมู้ ีรายไดน้ ้อย 100 เพ่ือลดความเหลือ่ มล้าทางสังคม (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ) 4. โครงการยกระดบั มาตรฐานผลติ ภณั ฑก์ ลุ่มแปรรปู ผ้าฝา้ ย ผา้ ขาวมา้ ไทยสสู่ ากล (ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ) 5. โครงการพฒั นาเศรษฐกิจชุมชน (ภาคใต)้  แผนงานยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1. โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารกองทุนเพอ่ื เกษตรกรและ แหล่งสนิ เชื่อภาครัฐเพ่อื การเข้าถงึ แหล่งทนุ 2. โครงการพฒั นายกระดบั ผลิตภณั ฑช์ ุมชนโดยเครือข่ายองค์ความรู้ KBO (Knowledge - Based OTOP) 3. โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนทอ่ งเทย่ี ว OTOP นวตั วิถี 4. โครงการจัดแสดงและจ้าหน่ายผลิตภณั ฑ์ OTOP สานสมั พันธ์สองแผน่ ดิน 5. โครงการตลาดประชารฐั คนไทยยิมได้ 6. โครงการสง่ เสรมิ การพฒั นากลไกและโครงสรา้ งดูดซบั มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้กลับสทู่ ้องถ่ิน เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

1 โครงการสร้างความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  แนวคิด “ชาวบ้านสอนชาวบา้ น” สอนในส่งิ (อาชีพ) ท่เี ขาอยากทา ประกอบกับการน้อมนาหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาเปน็ แนวทาง  กรอบแนวทาง วธิ ีการ ขั้นตอนการดาเนนิ งาน  ขนั้ ตอนการดาเนินงาน  กระบวนงานที่ 1 เตรียมความพรอ้ มการสร้างสัมมาชีพชุมชน วัตถปุ ระสงค์ เพื่อสร้างการรับรู้เก่ียวกับแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคดั เลอื กกลุ่มเป้าหมายเพ่ือเข้ารว่ มโครงการ หน่วยดาเนินงาน สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอ พื้นที่ดาเนินการ ดาเนินการระดับหม่บู ้าน กลุ่มเปา้ หมาย ผู้นาชุมชน สมาชิกในชุมชน และทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชนในพื้นท่ี (ประกอบด้วย ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) หรืออาสาพัฒนาชุมชน (อช.) คณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน (กพสม.) คณะกรรมการพัฒนาสตรีตาบล (กพสต.) คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชมุ ชนระดับตาบล (ศอช.ต.) คณะกรรมการเครือข่าย OTOP คณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต คณะกรรมการเครือข่าย โครงการแก้ไขปญั หาความยากจน (กข.คจ.) หรืออืน่ ๆ ตามศกั ยภาพของผูน้ า กล่มุ องคก์ ร เครือขา่ ยการพฒั นา ชุมชน ทีอ่ ยู่ในตาบลเดียวกนั กับหม่บู า้ นเปา้ หมายสัมมาชีพชมุ ชน) เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

2 วิธกี าร สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ ดาเนินการดงั น้ี 1. สร้างความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่ ผู้นาชุมชนในหมู่บ้านเป้าหมาย และร่วมกันวางแผนจัดเวทีประชาคมเพื่อสร้างการรับรู้และการมีส่วนร่วมของ สมาชิกในชมุ ชน 2. จดั เวทีประชาคม ในพ้นื ที่หม่บู า้ นเป้าหมาย โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ 2.1 สรา้ งความเขา้ ใจเกีย่ วกับการสร้างสัมมาชีพชุมชนใหก้ ับสมาชิกในชมุ ชน 2.2 คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย - คน้ หาปราชญช์ มุ ชนดา้ นอาชพี หมู่บ้านละ 5 คน โดยพจิ ารณาจากผูท้ ่ีประกอบสมั มาชีพ จนมีความรู้ความชานาญในการประกอบอาชีพ หรอื มคี วามเช่ียวชาญในอาชีพน้ัน ๆ ที่ประสบความสาเรจ็ และมี ความม่ันคงในอาชีพ เป็นท่ียอมรับของคนในชุมชน และมีจิตอาสาที่จะถ่ายทอดและขยายผลไปยังบุคคลอ่ืน ๆ ในชมุ ชน - คัดเลือกครัวเรือนเป้าหมาย ที่มีความต้องการฝึกอบรมอาชีพ หมู่บ้านละ 20 ครัวเรือน เพี่อร่วมกิจกรรมสร้างและพัฒนาสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน โดยพิจารณาจากครัวเรือนท่ีมีรายได้น้อย (ตามข้อมลู จปฐ.) ท่ีสามารถพฒั นาได้ และสมัครใจเขา้ รว่ มการฝกึ อบรมอาชีพ เปน็ ลาดบั แรก 2.3 สารวจอาชีพทีค่ รัวเรือนเป้าหมาย ตามขอ้ 2.2 ต้องการฝึกอบรม 2.4 วิเคราะห์อาชีพท่ีครัวเรือนฯ ต้องการฝึกอบรม โดยเจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชน ปราชญ์ชุมชน และครัวเรอื นเป้าหมายร่วมกนั พิจารณาถึงปัจจยั ความสาเร็จของการประกอบอาชีพ โอกาสทางการตลาด หรือ ข้อมลู อื่น ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง 2.5 ปราชญ์ชุมชนและครัวเรือนเป้าหมาย ร่วมกันกาหนดแผนปฏิบัติการฝึกอบรมอาชีพ ในกจิ กรรมสรา้ งและพฒั นาสมั มาชพี ชุมชนในระดบั หมบู่ า้ น 3. คัดเลือกทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน หมู่บ้านละ 2 คน เพ่ือร่วมทาหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ด้านอาชีพให้แก่ครัวเรือนท่ีต้องการฝึกอาชีพ ในฐานะทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชน โดย 1) คัดเลือก “วิทยากรสัมมาชีพชุมชน” จากหมู่บ้านสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562 2) ให้พิจารณา ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” หรือ “ปราชญ์หลัก” เป็นอันดับแรก 3) มีองค์ความรู้ ในอาชีพที่สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการฝกึ อบรมของครัวเรือน 4) มที ่ีพกั อาศัยอยู่ในตาบลหรืออาเภอเดียวกันกับ หมู่บ้านเป้าหมาย และ 5) สามารถรว่ มสนบั สนุนการขบั เคล่ือนการสรา้ งสมั มาชีพชุมชนไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง  กระบวนงานท่ี 2 สรา้ งเครอื ขา่ ยทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บทบาทภารกิจและสามารถขับเคล่ือนการสร้างสัมมาชีพชุมชน ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2. เพ่ือให้ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ ได้แลกเปล่ียนองค์ความรู้ด้านอาชีพและร่วมกันดาเนินการ สรา้ งสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน หน่วยดาเนินงาน สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอ พน้ื ทด่ี าเนนิ การ ดาเนนิ การระดบั อาเภอ เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

3 กลุ่มเปา้ หมาย 1. ปราชญ์ชมุ ชนด้านอาชีพ หมู่บา้ นละ 5 คน 2. ทมี สนับสนนุ การขบั เคลื่อนสัมมาชีพชุมชน หม่บู ้าน 2 คน (ดาเนนิ การคัดเลือกไวแ้ ล้ว ตามกระบวนงาน ที่ 1 เตรยี มการสร้างสมั มาชพี ชมุ ชน ข้อ 3 3. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนอาเภอ หรือเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาคีพัฒนาในพ้ืนที่ เช่น สานักงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) สานักงานเกษตรอาเภอ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นต้น อาเภอละ 3 คน หมายเหตุ ให้พิจารณาคัดเลือกเจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานภาคีการพัฒนาในพื้นที่ร่วมเป็นกลุ่มเป้าหมาย ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนไม่เพียงพอตามจานวนท่ีกาหนด และมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนการ สร้างสมั มาชพี ชมุ ชนในระดับหม่บู า้ น 4. เจา้ หน้าทโ่ี ครงการ อาเภอละ 1 คน วิธีการ สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ ดาเนินการดงั นี้ 1. ดาเนินกิจกรรมสร้างเครือข่ายทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ในรูปแบบการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ระยะเวลา 1 วัน โดยมีสาระสาคญั การเรยี นรู้ ดังนี้ 1) สร้างความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการน้อมนาสู่การปฏิบัติ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ใน 3 ด้าน ได้แก่ (1) การสรา้ งความมั่นคงทางอาหาร โดยการปลูกผัก พืชสวนครัว เล้ียงสัตว์ ท่ีเป็นอาหารของครัวเรือน และแปรรูปผลผลิตในบ้านเพ่ือถนอมอาหาร (2) การสร้างส่ิงแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยการบริหารจัดการขยะ จัดสุขลักษณะในบ้าน และการใช้ทรัพยากรอยา่ งคุ้มค่า และ (3) การสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสังคม โดยการปฏิบัติตามศาสนกิจตามพิธีกรรมความเชื่อเป็นประจา การร่วมกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ สาธารณะด้วยจิตอาสา และออกกาลังกายเสริมสุขภาพ (ศึกษารายละเอียดจากแนวทางการขับเคลื่อน “การพัฒนาหม่บู ้านและชุมชนท้องถ่นิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”) 2) สร้างความรู้ ความเข้าใจ การสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ภายใต้โครงการสร้างความมั่นคงด้านอาชีพ และรายได้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ บทบาทและภารกิจของวทิ ยากรสมั มาชพี ชุมชน 4) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านอาชีพของปราชญ์ชุมชนฯ ท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมาย (การจัดการความร)ู้ โดยถอดองคค์ วามรู้ของปราชญช์ มุ ชนทม่ี ีความเชย่ี วชาญในอาชีพเดยี วกัน ผา่ นการบอกเล่า เร่ืองราวการประกอบอาชีพ แลกเปล่ียนเทคนิค/วิธีการที่ทาให้การประกอบอาชีพดังกล่าวได้ผลประกอบการ คุ้มค่า ประหยัด มีประสิทธิภาพ รวมถึงข้อพึงระวังและปัจจัยความสาเร็จที่เกี่ยวข้อง และสรุปเป็นองค์ความรู้ ในการประกอบอาชีพน้ัน เพ่ือใช้เป็นแนวทางการถ่ายทอดอาชีพของปราชญ์หรือวิทยากรสัมมาชีพชุมชน และเปน็ ชุดความรูเ้ พอ่ื เปน็ คมู่ ือประกอบอาชีพ (เมนูอาชพี ) แก่ครวั เรอื นท่เี ขา้ รบั การฝึกอบรมอาชีพดงั กล่าว 5) จดั ทาเมนอู าชีพ เพือ่ นาไปใชเ้ ป็นคู่มือประกอบอาชีพในกจิ กรรมสร้างและพัฒนาสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บา้ น และเผยแพร่แกผ่ ู้สนใจประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้เสริมต่อไป โดยการนาองค์ความรใู้ นการ ประกอบอาชีพที่ได้จากการแลกเปลี่ยนของปราชญ์ชุมชนที่มีความเช่ียวชาญในอาชีพเดียวกัน ตามข้อ 4) มาจัดลาดับถ่ายทอดความรู้ในการประกอบอาชีพน้ันอย่างเป็นข้ันเป็นตอน เข้าใจง่าย และผู้สนใจสามารถ ปฏบิ ัตติ ามไดจ้ รงิ โดยให้มอี งค์ประกอบของเมนอู าชีพ ดังนี้ 1. ช่ือเมนู เช่น ปลูกอ้อยข้ามแล้ง น้าหมักจุลินทรยี ์ เลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี เล้ียงกบ ปลาแดดเดียว มะม่วงดองแชอ่ ม่ิ ผักกาดดองเค็ม กล้วยนา้ วา้ ฉาบเค็ม ขนมบวั ลอยไขห่ วาน ลูกประคบสมนุ ไพร เป็นต้น เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

4 2. ส่วนประกอบ/ส่วนผสม หมายถึง การอธิบายรายละเอียดของวัตถุดิบท่ีเป็นส่วนผสมต่าง ๆ พร้อมแสดงปริมาณ สัดส่วน ชัดเจน 3. วสั ด/ุ อปุ กรณท์ จี่ าเป็นตอ้ งใช้ ในการประกอบอาชีพหรอื การผลติ ผลติ ภัณฑ์ 4. วิธีการทา หมายถึง การอธิบายรายละเอียดของขั้นตอนในการประกอบอาชีพหรือการผลิต ผลิตภัณฑ์ ควรต้องอธิบายให้ชัดเจน ครบถ้วน อย่างเป็นลาดับขั้นตอน เข้าใจง่าย สามารถปฏิบัติตามและ เกดิ ผลสาเรจ็ ได้จรงิ 5. เทคนิค/ข้อพึงระวัง (ถ้ามี) หมายถึง เคล็ดลับต่าง ๆ หรือเทคนิคพิเศษท่ีสร้างความโดดเด่น ให้แก่ผลติ ภัณฑห์ รือผลติ ผลทเี่ กดิ จากการประกอบอาชีพ 6. ประโยชน์/สรรพคุณ/การนาไปใช้ (ถ้ามี) ในบางผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นผลผลิตจากการประกอบ อาชพี อาจจะต้องมคี าแนะนาท่เี ป็นลักษณะเฉพาะเกยี่ วกบั การใช้ประโยชน์ 7. การติดต่อ หมายถึง การให้ข้อมูลของเจ้าของเมนูอาชีพ (หลัก) หรือผู้ที่มีองค์ความรู้ในการ ประกอบอาชีพดังกล่าวข้างต้น ซ่ึงประกอบด้วย ชื่อ - สกุล ท่ีอยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ เพ่ือประโยชน์ ในการขอข้อมลู เพ่มิ เตมิ หรอื สอบถามขอคาแนะนาจากผ้สู นใจ ทง้ั นี้ รูปแบบการจดั ทาเมนูอาชีพอาจแตกตา่ งกันได้ขน้ึ อยู่กบั ประเภทและลกั ษณะอาชพี น้นั ๆ 2. คดั เลือกอาชีพท่ีนา่ สนใจ ประเภทอาชีพละ 1 เมนู หรือเทา่ ที่มอี ย่จู ริง (ประเภทอาชีพ ไดแ้ ก่ เกษตร แปรรูป ท่องเที่ยวโดยชุมชน และบริการ) จัดส่งให้สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดดาเนินการ ดังน้ี 1) รวบรวม และเผยแพร่เพื่อสนับสนุนการสร้างสัมมาชีพชุมชนภายในจังหวัด และ 2) คัดเลือกส่งให้กรมการพัฒนาชุมชน อาเภอละ 1 เมนู โดยไมซ่ ้าอาชพี และควรหลากหลายประเภทอาชพี 3. จัดทาฐานข้อมูลเครือข่ายทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน โดยบันทึกข้อมูลวิทยากรสัมมาชีพชุมชน (ปราชญ์ชุมชน หมู่บ้านละ 5 คน) และทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชน (วิทยากรสัมมาชีพชุมชน หมู่บ้านละ 2 คน) ในระบบรายงานฐานข้อมูลของกรมการพัฒนาชุมชน (ออนไลน์) 4. บันทึกผลการใช้จ่ายงบประมาณและผลการดาเนินงานในระบบบริหารงบประมาณและบริหาร กจิ กรรม/โครงการ (Budget and Project Management: BPM) ๕. สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งานสง่ จงั หวัด สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ติดตาม สนับสนุนการดาเนินกิจกรรมสร้างเครือข่าย ทีมวิทยากร สัมมาชีพชุมชน และตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วน ของการบันทึกข้อมูลเครือข่าย ทีมวิทยากร สัมมาชีพชมุ ชน ในระบบรายงานฐานข้อมูลของกรมการพัฒนาชุมชน (ออนไลน)์ ตามขอ้ ๓  กระบวนงานที่ 3 สร้างและพัฒนาสมั มาชีพชุมชนในระดับหมู่บา้ น วัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และได้รับการพัฒนาทักษะด้านอาชีพ และสามารถนาความรู้ ไปประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนตามแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง หนว่ ยดาเนนิ งาน สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอ พน้ื ที่ดาเนนิ การ ดาเนินการระดบั หม่บู ้าน เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

5 กล่มุ เปา้ หมาย 1. ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ หมูบ่ า้ นละ 5 คน 2. ครวั เรือนเป้าหมาย หมบู่ ้านละ 20 ครัวเรอื น (ผ้แู ทนครัวเรอื นละ 1 คน) วิธกี าร สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ ดาเนนิ การดงั น้ี 1. ดาเนินกิจกรรมสร้างและพัฒนาสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน ในรูปแบบการฝึกอบรม ระยะเวลา 2 วัน โดยให้สนับสนุนให้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน จานวน 5 คน ทาหน้าท่ีเป็นแกนหลักในการ จัดกระบวนการเรียนรู้ โดยมีเครือข่ายวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชน ในพื้นที่ ผู้นาชุมชน (ท้องท่ี/ท้องถิ่น) และหน่วยงานภาคีพัฒนาทั้งภาครัฐและเอกชน เข้าร่วมกิจกรรม และสนบั สนนุ ในส่วนทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง รายละเอยี ด ดงั น้ี วนั ท่ีหน่งึ ภาควชิ าการ : เสริมสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับประเดน็ การเรียนรู้ ดังน้ี 1. ชี้แจงและทาความเข้าใจ วัตถุประสงค์และการดาเนินกิจกรรมสร้างและพัฒนาสัมมาชีพ ชุมชนในระดับหมู่บ้าน ภายใต้โครงการสร้างความม่ันคงด้านอาชีพและรายได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเจ้าหน้าที่พัฒนา ชมุ ชน 2. เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการน้อมนาสู่การ ปฏบิ ัติ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ เชน่ โคก หนอง นา โมเดล โดยวิทยากรผ้เู ชย่ี วชาญ 3. ส่งเสริมให้เกิดการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต อย่างเป็นรปู ธรรม ใน 3 ดา้ น ได้แก่ 1) การสรา้ งความม่นั คงทางอาหาร โดยการปลกู ผัก พืชสวนครัว เลี้ยงสตั ว์ ที่เป็นอาหารของครัวเรือน และแปรรูปผลผลิตในบ้านเพ่ือถนอมอาหาร 2) การสร้างส่ิงแวดล้อมให้ย่ังยืน โดยการบริหารจดั การขยะ จัดสุขลักษณะในบ้าน และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และ 3) การสร้างภูมิคุ้มกัน ทางสังคม โดยการปฏิบัติตามศาสนกิจตามพิธีตามความเชื่อเป็นประจา การร่วมกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ สาธารณะด้วยจิตอาสา และออกกาลังกายเสริมสุขภาพ โดยมอบหมายให้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 5 คน ปฏิบัติตนเป็นแกนหลักในการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจนเป็ นวิถีชีวิต และทาหน้าท่ีเป็นพี่เลี้ยง ติดตาม สนับสนุนให้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 20 ครัวเรือน ปฏิบัติตามอย่างเป็น รูปธรรม (วทิ ยากรสมั มาชีพชมุ ชน 1 คน ต่อ 4 ครวั เรือนสมั มาชพี ชมุ ชน) โดยเจ้าหนา้ ที่พัฒนาชุมชน 4. วิเคราะห์อาชพี ท่ีครัวเรือนเปา้ หมายตอ้ งการฝึกอบรม (ปัจจัยความสาเรจ็ ในการประกอบ อาชพี โอกาสทางการตลาด การต่อยอดขยายผล หรืออื่น ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง) เพ่ือให้ครวั เรือนเป้าหมายเขา้ ใจ แนวโนม้ ความสาเร็จจากการประกอบอาชีพ โอกาสทางการตลาด และการพัฒนาต่อยอด เพ่ือให้การประกอบ อาชพี ดงั กลา่ วประสบความสาเร็จ เกดิ รายได้และย่งั ยนื โดยวิทยากรผูเ้ ชย่ี วชาญ วนั ทสี่ อง ภาคปฏบิ ัติ : ดาเนินการฝึกอบรมอาชีพใหค้ รัวเรือนเปา้ หมาย ดังน้ี 1. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพท่ีครัวเรือนเป้าหมายต้องการฝึกอบรม (1. ความสาคญั /ความจาเป็น/ความเป็นมา 2. วิธีการ/ขนั้ ตอน/กระบวนการในการประกอบอาชีพ 3. คุณภาพ มาตรฐาน 4. ตลาด/ช่องทางการตลาด 5. การพัฒนาต่อยอดขยายผล และอื่น ๆ ที่จาเป็น) โดยอาจสาธิต วิธีการประกอบอาชีพให้ดูเป็นตัวอย่าง เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้จากการสังเกต การฟัง การกระทาหรือการสาธิตดังกล่าว โดยดาเนินการ ณ บ้านวิทยากรสัมมาชพี ชุมชนหรือปราชญ์ชมุ ชนด้านอาชพี ศนู ย์เรียนรแู้ ละขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ศนู ยก์ ารเรยี นร้ดู า้ นอาชีพ หรอื สถานทีท่ ่เี หมาะสมท่ีอยู่ ในชุมชนหรอื ใกล้เคียง โดยทีมวทิ ยากรสัมมาชพี ชมุ ชน เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

6 2. ฝึกปฏิบัติอาชีพให้ครัวเรือนเป้าหมาย ณ สถานท่ีที่ครัวเรือนท่ีเข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ จัดเตรียมไว้ โดยทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน และทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนในพ้ืนท่ีติดตาม เปน็ พีเ่ ล้ียงในการฝกึ ปฏิบัติ 2. กากบั ติดตามใหท้ มี วทิ ยากรสมั มาชีพชุมชน และทมี สนบั สนุนการขับเคลอื่ นสัมมาชีพชุมชนในพื้นที่ ติดตาม สนับสนุนการประกอบอาชีพของครัวเรือนเป้าหมายท่ีผ่านการอบรมอาชีพ เพื่อให้สามารถประกอบ อาชพี ทีฝ่ ึกอบรมไดอ้ ย่างตอ่ เน่ืองและยั่งยนื 3. สนับสนุนให้สถาบันการเงินชุมชนหรือกองทุนชุมชน จัดระบบบริหารการจัดการเงินทุนชุมชน เพ่ือสนับสนุนส่งเสริมการประกอบอาชีพและช่องทางการตลาด แก่ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนหรือกลุ่มสัมมาชีพ ชุมชนเพือ่ ใหส้ ามารถประกอบอาชีพและสรา้ งรายได้ ได้อยา่ งต่อเนอื่ ง 4. สนับสนุน ส่งเสริม ให้ครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่านการฝึกอบรมที่ประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภท เดียวกัน และประกอบอาชีพอย่างต่อเน่ืองได้มีการรวมกลุ่ม และสนับสนุนการจัดต้ังและพัฒนาเป็นกลุ่มอาชีพ ตามหลัก 5 ก 5. เตรียมผู้แทนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 1 คน/ครัวเรือน สมัครเข้าร่วมเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล : การออกแบบ Landscape ที่เหมาะสมกับภูมิสังคม” โดยพิจารณาครัวเรือนที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ 1) มีท่ีดินทากิน เป็นของตนเอง 2) น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ใน 3 ด้าน และ 3) ประกอบอาชพี สัมมาชีพทไ่ี ดร้ ับการฝกึ อบรมอย่างต่อเนื่องและมีรายได้เพ่ิม 6. จัดทาฐานข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน โดยบันทึกข้อมูลครัวเรือนเป้าหมายในระบบรายงาน ฐานข้อมูลของกรมการพัฒนาชมุ ชน (ออนไลน)์ 7. บันทึกผลการใช้จ่ายงบประมาณและผลการดาเนินงานในระบบบริหารงบประมาณและบริหาร กิจกรรม/โครงการ (Budget and Project Management: BPM) 8. สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานสง่ จงั หวดั สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ติดตาม สนับสนุนการดาเนินกิจกรรมสร้างและพัฒนาสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บ้าน และตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วน ของการบันทึกข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ในระบบรายงานฐานขอ้ มลู ของกรมการพฒั นาชมุ ชน (ออนไลน)์ ตามข้อ 6 เงอื่ นไข 1. ดาเนินกิจกรรมสร้างและพัฒนาสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน หลังจากสร้างเครือข่ายทีมวิทยากร สัมมาชีพชมุ ชนเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ 2. การสนับสนนุ วัสดุฝึกปฏบิ ตั อิ าชีพต้องไมเ่ ปน็ ลกั ษณะของการซื้อแจก และจัดทาทะเบียนการรบั วัสดฝุ กึ ปฏบิ ตั อิ าชพี ไว้เป็นหลักฐาน  กระบวนงานที่ 4 จัดตั้งและพัฒนากลมุ่ อาชพี วตั ถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนท่ีผ่านการพัฒนาได้มีการรวมกลุ่ม และสนับสนุน การจัดต้งั และพฒั นาเป็นกลมุ่ อาชีพท่ีก่อให้เกิดรายไดใ้ ห้กับชมุ ชน หน่วยดาเนินงาน สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอ พนื้ ทด่ี าเนนิ การ ดาเนินการระดับหมู่บา้ น เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

7 กลมุ่ เปา้ หมาย หมู่บ้านเป้าหมายท่ีครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนประกอบอาชีพที่ฝึกอบรมอย่างต่อเน่ือง มีอาชีพเดียวกัน หรอื ประเภทเดยี วกนั และรวมกันเปน็ กลมุ่ ร้อยละ 10 ของหมู่บ้านเปา้ หมาย วิธกี าร สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอ ดาเนินการดังน้ี 1. คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายที่ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนประกอบอาชีพที่ฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เปน็ อาชีพเดยี วกนั หรอื ประเภทเดยี วกนั และมคี วามสนใจต้องการรวมเป็นกลมุ่ อาชพี 2. ดาเนินกิจกรรมการจัดต้ังและพัฒนากลุ่มอาชีพ ในรปู แบบการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ระยะเวลา 1 วนั โดยมสี าระสาคัญ ดังน้ี 1) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการจัดต้ังและพัฒนากลุ่มอาชีพ โดยวิทยากร ผเู้ ชี่ยวชาญ 2) ปฏิบัติการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ ตามแนวทางการบริหารกลุ่มอาชีพ 5 ก (ก 1 คือ กลุ่ม/ สมาชิก ก 2 คือ กรรมการ ก 3 คือ กฎ กตกิ า ระเบยี บขอ้ บังคบั ก 4 คือ กองทุน และ ก 5 คอื กจิ กรรม โดยวทิ ยากร ผู้เชี่ยวชาญหรอื เจ้าหนา้ ท่พี ฒั นาชุมชน 3) จดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารพัฒนากลุ่มอาชพี โดยวทิ ยากรผู้เชยี่ วชาญหรือเจา้ หน้าท่ีพัฒนาชมุ ชน 3. สนับสนุนให้กลุ่มท่ีจัดตั้ง ตามข้อ 2. จดทะเบียนเป็นกลุ่มอาชีพกับสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ หรือหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง 4. ส่งเสริม สนับสนุนให้กลุ่มอาชีพที่มีผลประกอบการต่อเน่ืองได้รับการพัฒนายกระดับสู่การเป็น ผู้ประกอบการชุมชน (Community Entrepreneur: CE) ตามแนวทางท่ีกรมการพัฒนาชุมชนกาหนด โดยพจิ ารณาดาเนินการตามศกั ยภาพและความพร้อมของแตล่ ะกลมุ่ 5. สนับสนุนใหห้ นว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน หรือสถาบันการศกึ ษาในพน้ื ที่ ร่วมสนบั สนุนและสง่ เสริม การประกอบกิจการของกลุ่มอาชีพที่มีผลประกอบการต่อเนื่องให้ได้รับการพัฒนาสู่ความยั่งยืน ใน 5 ด้าน ต้ังแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า ได้แก่ การเข้าถึงปัจจัยการผลิต การสร้างองค์ความรู้ท่ีจาเป็น การตลาด การส่ือสารสร้างการรับรเู้ พอื่ ความย่งั ยนื และการบรหิ ารจัดการ 6. จัดทาฐานข้อมูลกลุ่มอาชีพ โดยบันทึกข้อมูลกลุ่มอาชีพที่จัดตั้งในระบบรายงานฐานข้อมูลของ กรมการพัฒนาชุมชน (ออนไลน์) 7. บันทึกผลการใช้จ่ายงบประมาณและผลการดาเนินงานในระบบบริหารงบประมาณและบริหาร กจิ กรรม/โครงการ (Budget and Project Management: BPM) 8. สรุปและรายงานผลการดาเนินงานสง่ จงั หวดั สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ติดตาม สนับสนุนการดาเนินกิจกรรมการจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ และตรวจสอบความสมบูรณ์ ถูกต้อง ครบถ้วน ของการบันทึกข้อมูลกลุ่มอาชีพในระบบรายงานฐานข้อมูลของ กรมการพฒั นาชุมชน (ออนไลน์) ตามข้อ 6 เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

8  กระบวนงานที่ 5 ตอ่ ยอดและขยายผล วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพสัมมาชีพชุมชน ให้สามารถดาเนนิ กจิ การได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและย่ังยืน 2. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพสัมมาชีพชุมชนให้มีคุณภาพ และมูลค่าเพิ่มท่ีสอดคล้องกับความ ตอ้ งการของตลาดและผบู้ รโิ ภค 3. เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนแบบบูรณาการในระดับพื้นท่ี โดยเชื่อมโยงกับหน่วยงาน ภาคพี ฒั นา ภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา 4. เพื่อใหป้ ระชาชนทุกครวั เรือนเขา้ ใจและน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัตจิ นเป็น วิถชี วี ิต หนว่ ยดาเนนิ งาน สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ/จงั หวัด พน้ื ท่ดี าเนนิ การ ดาเนินการระดับหมบู่ า้ น/อาเภอ/จงั หวัด กล่มุ เปา้ หมาย 1. ครัวเรือนสัมมาชพี ชมุ ชน 2. กลุ่มอาชีพ ตามแนวทางการสร้างสมั มาชีพชมุ ชน 3. ประชาชนทกุ ครวั เรือนในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน วิธกี าร สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั /สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอ ดาเนินการดงั น้ี 1. ตอ่ ยอดการสร้างสัมมาชีพชุมชน 1.1 ประสานหน่วยงาน องค์กร เครือข่าย ท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาธุรกิจ เช่น บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันการเงิน หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือเครือข่ายองค์กรท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อเป็นท่ีปรึกษาหรือร่วมเป็น ทีมสนบั สนุนการขบั เคล่อื นการพัฒนากลมุ่ อาชพี สมั มาชีพชมุ ชน ทง้ั ในระดบั จังหวัดและอาเภอ 1.2 พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของกลุ่มอาชพี สมั มาชีพชุมชน โดยดาเนนิ การดังนี้ 1.2.1 จัดเวทคี น้ หาปญั หาและความตอ้ งการ เพ่อื พฒั นาศักยภาพและขดี ความสามารถในการ บริหารจัดการ และพัฒนาสินค้า/ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพให้มีคุณภาพและมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดและผู้บริโภค ทั้งในมิติด้านการบริหารจัดการและด้านการผลิต โดยวิเคราะห์ปัจจัย 5 ด้าน ประกอบด้วย (1) การเข้าถึงปัจจัยการผลิต (2) การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (3) การตลาด (4) การสื่อสารสร้าง การรับรู้ และ (5) การบรหิ ารจัดการ โดยดาเนินการรว่ มกับท่ีปรึกษาหรือทีมสนับสนนุ การขับเคล่ือนการพัฒนา กลุม่ อาชีพสัมมาชีพชมุ ชนในพืน้ ท่ี 1.2.2 วางแผนการพฒั นาศักยภาพกลุ่มอาชีพตามความต้องการ โดยวเิ คราะห์แนวทางการพัฒนา ต้ังแต่กระบวนการผลิต เน้นการผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามท่ีตลาดต้องการ และ การส่งเสริมการตลาดที่เชื่อมโยงสินค้าชุมชนสู่ภาคธุรกิจ ผ่าน “กระดานสินค้าชุมชน” และตลาดท้องถิ่น เช่น ศูนย์สาธิตการตลาด ร้านคา้ ประชารฐั สุขใจ shop ตลาดนดั ชุมชน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงงาน และโรงแรม 1.2.3 ดาเนินการพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพตามแผนการพัฒนาศักยภาพกลุ่มท่ีกาหนด ในข้อ 1.2.2 โดยดาเนินการร่วมกับท่ีปรึกษาหรือทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนการพัฒนากลุ่มอาชีพสัมมาชีพ ชุมชนในพ้นื ที่ เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

9 1.3 พัฒนายกระดับกลุ่มอาชีพสัมมาชีพชุมชนสู่การเป็นผู้ประกอบการชุมชน (Community Entrepreneur: CE) หรือผู้ประกอบการ OTOP ตามแนวทางกรมการพฒั นาชมุ ชน 1.4 ประสานแหล่งทนุ ต่าง ๆ ในการสนบั สนนุ การดาเนินกิจการของกลุ่มอาชีพ เชน่ กองทนุ พัฒนา บทบาทสตรี กลุ่มออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลิต กองทนุ ชุมชนต่าง ๆ หรือสถาบนั การเงินในพ้นื ที่ 1.5 เช่ือมสินค้าชุมชนสู่ภาคธุรกิจ ผ่าน “กระดานสินค้าชุมชน” และตลาดท้องถิ่น เช่น ศูนย์สาธิต การตลาด รา้ นค้าประชารัฐสุขใจ shop ตลาดนัดชมุ ชน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงงาน และโรงแรม เปน็ ต้น 2. ขยายผลการน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ตั จิ นเปน็ วถิ ีชวี ิต 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ปฏิบัติตนเป็นแกนหลักในการน้อมนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั จิ นเป็นวถิ ชี วี ติ 2.2 สนับสนุนให้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 20 ครัวเรือน เป็นครัวเรือนตัวอย่างในการน้อมนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชวี ิตอย่างเป็นรูปธรรม ใน 3 ด้าน ได้แก่ 1) การสร้าง ความมั่นคงทางอาหาร โดยการปลูกผัก พืชสวนครัว เล้ียงสัตว์ที่เป็นอาหารของครัวเรือน และแปรรูปผลผลิต ในบ้านเพ่ือถนอมอาหาร 2) การสร้างส่ิงแวดล้อมให้ย่ังยืน โดยการบริหารจัดการขยะ จัดสุขลักษณะในบ้าน และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และ 3) การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม โดยการปฏิบัติตามศาสนกิจ ตามพิธี ตามความเช่ือเป็นประจา การร่วมกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา และออกกาลังกาย เสริมสขุ ภาพ และขยายผลสูค่ รัวเรือนอนื่ ในชุมชนใหค้ รอบคลุมทงั้ หมบู่ ้านชมุ ชน 2.3 มอบรางวัล/ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ครัวเรือนที่น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัตจิ นเปน็ วถิ ีชวี ติ ไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม 2.4 จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้และศึกษาดูงานหมู่บ้าน/ชุมชนท่ีน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบัติจนเปน็ วิถีชีวิตไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม เช่ือมโยงองค์กรสตรีในการสนบั สนนุ สมั มาชีพชุมชน  1. ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารคณะกรรมการพฒั นาสตรภี าค (กพสภ.) ในการสนับสนนุ งานสมั มาชีพชุมชน วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค มีความรู้ ความเข้าใจการดาเนินงานสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถส่งเสรมิ องค์กรสตรใี นการสนับสนุนการขบั เคลื่อนกิจกรรม พฒั นาสตรีและครัวเรือนสมั มาชพี ชมุ ชน กลมุ่ เป้าหมาย คณะกรรมการพัฒนาสตรภี าค (กพสภ.) 4 ภาค ๆ ละ 50 คน รวม 200 คน วธิ กี าร สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดที่ตั้งภาค จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) และเจ้าหน้าทีพ่ ฒั นาชมุ ชนผู้รับผดิ ชอบงานสตรีของจังหวดั ในภาค โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้คณะกรรมการ พัฒนาสตรีภาค มีความรู้ ความเข้าใจ การดาเนินงานสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถส่งเสริมองคก์ รสตรใี นการสนับสนุนการขับเคล่ือนกจิ กรรมพฒั นาสตรแี ละครวั เรือนสัมมาชีพชุมชน กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) 4 ภาค ดาเนินนการจานวน ๒ คร้ัง ในไตรมาส 1 และ 3 (ตุลาคม - ธันวาคม 2562 และเมษายน - มถิ นุ ายน 2563) ครั้งที่ ๑ ไตรมาส 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ระยะเวลา อย่างน้อย ๑ วนั ดาเนินการ ดังนี้ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

10 1. คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดที่ต้ังภาค จัดประชมุ ฯ เพื่อช้ีแจงสร้างความเขา้ ใจในการขับเคลอื่ นครัวเรือนสมั มาชพี ชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในหมู่บ้านเป้าหมายสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 16,000 หมู่บ้าน ในพ้ืนที่ 76 จังหวดั โดยเชญิ เจา้ หน้าที่จากส่วนกลาง กรมการพฒั นาชุมชน รว่ มเป็นวทิ ยากรบรรยาย 2. วิทยากรกรมฯ บรรยายในประเด็น ดังนี้ (1) กาหนดบทบาทของคณะกรรมการพัฒนาสตรีทุกระดับในการสนบั สนุนการพัฒนาอาชีพ ของครัวเรอื นสมั มาชีพชมุ ชน (2) การเชื่อมโยงกับกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยสนับสนุนให้คณะกรรมการพัฒนาสตรี สมัครเป็นสมาชกิ กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรี และการเขียนโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน พัฒนาบทบาทสตรี เพอื่ ส่งเสรมิ สนบั สนุนสัมมาชพี ชมุ ชน และพัฒนาศกั ยภาพและแก้ไขปญั หาเกีย่ วกับสตรี (3) แจ้งแนวทาง/สร้างความเข้าใจหลักเกณฑ์การคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ตวั อย่างระดบั ภาค ระดบั จังหวัด ในท่ปี ระชุมฯ 3. คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) จัดทาแผนปฏิบัติการของคณะกรรมการพัฒนา สตรีภาค ประจาปี 2563 ในการสนบั สนนุ งานสมั มาชีพชมุ ชน 4. คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.)ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.) เพื่อ (1) เพ่ือช้ีแจงสร้างความเข้าใจแนวทาง หลักเกณฑ์ การคัดเลือกครัวเรือนสมั มาชีพชุมชนตัวอย่างระดับจังหวดั อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน (2) แจ้งแนวทางดาเนินการ ภารกิจของ กพสจ. กพสอ. กพสต. กพสม. (3) จัดทาแผนปฏิบัติการคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด ในการ สนับสนนุ ครวั เรือนสัมมาชีพชมุ ชน 5. คณะกรรมการพฒั นาสตรีจังหวดั (กพสจ.) รว่ มกับสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวดั พิจารณา คัดเลือกบุคคลจากหน่วยงาน กลุ่ม/องค์กร เพื่อแต่งต้ังเป็นทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชน ระดบั จงั หวดั /อาเภอ/ตาบล ดังนี้ (1) ทีมสนับสนุนการขับเคล่ือนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ประกอบด้วย คณะกรรมการ ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนจังหวัด (ศอช.จ) คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.) คณะกรรมการ ชมรมผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนระดับจงั หวัด (ผู้นา อช.) หวั หนา้ กลุ่มงานของสานักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดท่ีได้รับ มอบหมาย เป็นหัวหน้าคณะทางาน และนักวิชาการพัฒนาชุมชนผู้รับผิดชอบงานสัมมาชีพชุมชน เป็นคณะทางาน และเลขานกุ าร โดยผวู้ า่ ราชการจังหวดั เปน็ ผแู้ ตง่ ต้ัง (2) ทมี สนับสนุนการขบั เคลือ่ นสัมมาชีพชมุ ชนระดับอาเภอ ประกอบดว้ ย คณะกรรมการ ศนู ยป์ ระสานงานองคก์ ารชมุ ชนอาเภอ (ศอช.อ) คณะกรรมการพฒั นาสตรีอาเภอ (กพสอ.) คณะกรรมการชมรม ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชนระดับอาเภอ (ผู้นา อช.) พัฒนาการอาเภอ เป็นหัวหน้าคณะทางาน และนักวิชาการพัฒนา ชมุ ชนผรู้ ับผดิ ชอบงานสมั มาชีพชุมชน เป็นคณะทางานและเลขานุการ โดยนายอาเภอเป็นผแู้ ต่งตัง้ (3) ทมี สนับสนนุ การขบั เคลื่อนสมั มาชีพชุมชนระดับตาบล ประกอบด้วย คณะกรรมการ ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนตาบล (ศอช.ต) คณะกรรมการพัฒนาสตรีตาบล (กพสต.) นักวิชาการพัฒนา ชมุ ชนผูร้ ับผิดชอบตาบล เป็นหวั หน้าคณะทางาน และ ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) เปน็ คณะทางานและ เลขานุการ โดยนายอาเภอเป็นผู้แต่งต้งั เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

11 6. คณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บา้ น (กพสม.) รว่ มกบั สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอร่วมปฏบิ ตั ิการ ขับเคลอ่ื นกิจกรรมสมั มาชพี ชุมชนเป้าหมาย ดังน้ี (1) จัดเวทีวเิ คราะหส์ ถานการณห์ มบู่ ้าน ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม รวมทง้ั สถานการณ์ปัญหา ดา้ นอาชีพ รายได้ (2) จัดลาดับความสาคญั ของปญั หา (3) ค้นหาความต้องการอาชีพที่เหมาะกับความรู้ภูมิปัญญา ทักษะความถนัดงานของ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน โดยคานงึ ถึงความเป็นไปไดต้ ามบรบิ ทของชุมชน 7. คณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน (กพสม.) ร่วมเวทีประชาคมคัดเลอื กเมนูอาชีพ เพ่ือให้ ครวั เรอื นสัมมาชพี ชมุ ชนนาไปพัฒนาอาชพี สรา้ งรายไดใ้ หค้ รอบครวั 8. ทีมสนับสนนุ การขบั เคล่ือนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด/อาเภอ/ตาบล ร่วมกับสานักงาน พัฒนาชุมชนจงั หวัด/อาเภอ ติดตามและให้คาปรึกษาการปฏบิ ตั ิการของครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชน อย่างใกล้ชดิ ตอ่ เนื่อง สม่าเสมอ ครั้งท่ี ๒ ไตรมาส 3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ระยะเวลา อยา่ งนอ้ ย ๑ วัน ดาเนินการ ดังน้ี 1. ทีมสนบั สนุนการขับเคล่ือนสมั มาชีพชุมชนระดบั จังหวัด/อาเภอ/ตาบล รว่ มกบั สานักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอ พิจารณาการคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพตัวอย่างระดับหมู่บ้าน/ตาบล/อาเภอ/ จังหวัด ให้ได้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่างระดับจังหวดั ๆ ละ 1 ครัวเรือน และรายงานผลให้กรมฯ ทราบ ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 2. คณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.) ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ส่งครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่างระดับจังหวัด ๆ ละ 1 ครัวเรือน เข้าร่วมการคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพ ชุมชนตวั อย่างระดบั ภาค 3. คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) ร่วมกับสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดที่ต้ังภาค จัดประชุมฯ เพ่ือพิจารณาการคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพตัวอย่างระดับภาค ให้ได้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ตัวอยา่ งระดับภาค ๆ ละ 3 ครัวเรอื น ตามแนวทางและหลักเกณฑท์ ก่ี าหนด เพ่อื เขา้ รับการเชดิ ชเู กียรติในส่วนกลาง 4. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดที่ต้ังภาค สรุปผลการดาเนินงานเพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และรายงานผลพร้อมข้อมูลการจัดการความรู้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง ระดับภาค ส่งให้กรมฯ ภายใน เดือนมถิ ุนายน 2563  2. กิจกรรมสง่ เสริมและสนับสนุนการประกอบอาชพี ของครวั เรือนสัมมาชพี ชุมชนตวั อย่าง วัตถุประสงค์ เพ่ือให้คณะกรรมการพัฒนาสตรีทุกระดับเป็นแกนหลักในการส่งเสริมสนับสนุนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ตัวอย่าง และคดั เลอื กครัวเรือนสมั มาชพี ชมุ ชนตวั อยา่ ง กลุ่มเปา้ หมาย ครัวเรอื นสมั มาชีพชมุ ชนตวั อยา่ ง จานวน 76 ครัวเรือน จาก 76 จงั หวัด วิธีการ ดาเนินการในไตรมาส 3 : เมษายน – มถิ ุนายน 2563 ดงั น้ี 1. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.) ช้ีแจงสร้างความ เขา้ ใจแนวทางกจิ กรรมสง่ เสรมิ และสนับสนุนการประกอบอาชีพของครัวเรอื นสมั มาชีพชุมชนตวั อย่าง เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

12 2. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.) จัดเวทีวิเคราะห์ ทักษะ ความถนัด ความสามารถด้านอาชีพ และความต้องการอาชีพของครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง เพอื่ ประเมินความพร้อมในการรบั การสนับสนุนการประกอบอาชพี ของครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน 3. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดส่งเสริมสนับสนุนการประกอบอาชีพแก่ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ตัวอย่าง โดยสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ประกอบอาชีพแก่ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง จานวน ๕,๐๐๐ บาท ตามความประสงค์ของครวั เรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง 4. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.)/อาเภอ (กพสอ.)/ ตาบล (กพสต.)/หมู่บ้าน (กพสม.) ติดตามและให้คาปรึกษาการปฏิบัติการของครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง อยา่ งใกลช้ ดิ ต่อเน่อื ง สม่าเสมอ 5. สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวดั ร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด (กพสจ.) จัดเวทถี อดบทเรียน และจดั การความรู้ครวั เรอื นสมั มาชพี ชุมชนตัวอยา่ ง จัดทาเปน็ รปู เลม่ รายงานให้กรมฯ ทราบ 6. เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธผ์ ลสาเรจ็ การดาเนินงานครัวเรือนสัมมาชีพชมุ ชนตัวอย่าง ผ่านสอ่ื ทุกช่องทาง บรู ณาการแผนชุมชนส่งเสรมิ การสร้างสมั มาชีพชุมชน 1. บรู ณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบล วัตถุประสงค์ เพ่ือบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบลในการสร้างสัมมาชีพชุมชนท่ีเชื่อมโยงสู่แผนพัฒนาท้องถ่ิน แผนพฒั นาอาเภอ และแผนพัฒนาจงั หวัด วิธีการ/ขนั้ ตอนการดาเนินงาน/เงอ่ื นไขของกจิ กรรม สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ สนับสนุนให้คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชมุ ชนระดับตาบล (ศอช.ต.) และคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) จัดเวทบี รู ณาการแผนชุมชนระดับตาบล จานวน 1 วนั โดยมขี ้ันตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 1. พจิ ารณาคดั เลือกตาบลทม่ี ีหม่บู ้านเป้าหมายในการสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชน ปี 2563 เปน็ เกณฑล์ าดับแรก หากยังได้ตาบลเป้าหมายไม่ครบตามที่ได้รับการจัดสรร ให้พิจารณาคัดเลือกตาบลที่มีหมู่บ้านเป้าหมาย ในการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี 2560 - 2562 รวมท้ังตาบลที่ไม่เป็นเป้าหมายการสร้างสัมมาชีพที่ยกระดับ เปน็ เทศบาลทยี่ ังคงสถานะของกานนั ผู้ใหญ่บ้านอยู่ 2. ศึกษาและทาความเข้าใจแนวทางการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล ซ่ึงเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่ง ในเอกสารแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน ปี 2562 และแนวทางการจัดทาแผนพัฒนาตาบล ที่กระทรวงฯ จะจัดทาใหอ้ ย่างละเอียด 3. กาหนดกลุ่มเป้าหมาย และรูปแบบการจัดเวทีบูรณาการแผนชมุ ชนระดับตาบล เพื่อเชื่อมประสาน กับแผนพัฒนาท้องถิ่นให้มีการสนับสนุนการสร้างสัมมาชีพชุมชน เพื่อเป็นการรองรับการจัดทาและประสาน แผนพัฒนาในระดบั พนื้ ท่ี สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ ในฐานะเลขานกุ ารคณะกรรมการบริหารตาบลและอาเภอฯ มีหน้าท่ี ในการค้นหาผู้มคี ุณสมบตั ิในการเสนอช่อื ใหแ้ ตง่ ตั้งเป็นคณะการการบริหารตาบล โดยพจิ ารณาจาก 1) คุณสมบตั ิท่วั ไป - มีภมู ลิ าเนาหรอื อาศยั อยู่ในพ้ืนทตี่ าบล อย่างนอ้ ย 6 เดอื น (หน่วยงานราชการรับรอง) - อายุไม่ตา่ กว่า 20 ปี โดยนบั ตามปีปฏิทิน ณ วนั ท่ี 1 มกราคมของปที ี่มีคาสั่งฯ (เป็นผบู้ รรลุ นิติภาวะ และตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2555 กาหนด คณุ สมบตั ิผนู้ าอาสาพฒั นาชุมชน อายไุ มต่ า่ กวา่ 20 ป)ี เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

13 2) เปน็ ผ้มู คี วามรู้ความสามารถเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในระดบั ตาบล หรอื มปี ระสบการณใ์ นการจัดทา แผนพฒั นาในระดบั ตาบลข้อใดขอ้ หนงึ่ ดังน้ี - เป็นผู้มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนในระดับตาบล เช่น ด้านการเกษตร ดา้ นการปศุสตั ว์ ด้านสาธารณสุข ดา้ นการศึกษา ด้านอาชพี ด้านการพฒั นาผลิตภัณฑ์ ด้านการพัฒนาเดก็ สตรี ผสู้ งู อายุ และผูพ้ ิการ ดา้ นศิลปวัฒนธรรม เปน็ ตน้ - เป็นผู้มีประสบการณ์ในการจัดทาแผนพัฒนาในระดับตาบล หรือเป็นหรือเคยเป็นคณะทางาน หรือคณะกรรมการของหน่วยงานราชการหรือองค์กรภาคประชาชนท่ีมีบทบาทหน้าที่ใน การจัดทาแผนพัฒนา ในระดับตาบล เช่น ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) กลุ่มองค์กรสตรีระดับตาบล ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) สมาชิกสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ประธานหรอื ผแู้ ทนกลมุ่ หรือองค์กรในระดบั ตาบลทม่ี ีหน่วยงานราชการรับรองกลมุ่ หรอื องค์กร เปน็ ต้น การเตรยี มทมี ปฏิบตั ิการระดับตาบล จดั ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการระดบั ตาบล เพื่อสร้างความรู้ความเขา้ ใจในประเดน็ ดังต่อไปน้ี ๑. สร้างความเข้าใจในกระบวนจัดทาและการบูรณาการแผนชุมชนให้ชัดเจน ๒. ศึกษายทุ ธศาสตรจ์ งั หวัด ทศิ ทางการพัฒนา กรอบแผนงาน การกาหนดอตั ลกั ษณ์ ๓. หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและการประยุกตใ์ ช้ ๔. กาหนดเปา้ หมายการทางาน บทบาทหนา้ ท่ี กระบวนการทางาน และแผนปฏิบตั ิการของทีมงาน 4. เตรียมความพร้อมการจัดเวทีการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล ตามแนวทางท่ีกาหนด โดยเฉพาะการส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานของคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับ ตาบล (ศอช.ต.) และคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) ในการรวบรวมข้อมูลตาบล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลแผนชุมชนของแต่ละหมู่บ้าน โดยเน้นแผนงานด้านการสร้างสัมมาชีพชุมชน ให้เกิดความเช่ือมโยงตั้งแต่ระดับต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อให้สามารถเข้าถึงแหล่งงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธิ์ พร้อมยกร่างเล่มแผนชุมชนระดับตาบล เพ่ือเป็นข้อมูลนาเข้าพิจารณาในเวทีบูรณาการ แผนชุมชนระดบั ตาบล 5. เป็นทีมวิทยากรกระบวนการร่วมกับคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) และคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบรู ณาการ (ก.บ.ต.) ในการจดั เวทีบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล สนบั สนนุ การสร้างสัมมาชีพชมุ ชนตามข้นั ตอนท่ีกาหนด การจดั ทาและการบูรณาการแผนพัฒนาตาบล นาขอ้ มูลทั่วไปและข้อมูลท่ีเจาะลึกแตล่ ะดา้ น เชน่ ทุนชมุ ชน ทงั้ ทีเ่ ป็นเงนิ และไม่ใช่เงิน ธรุ กิจชมุ ชน วัฒนธรรมชุมชน สุขภาพคน ฯลฯ ของแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน มารวบรวมเป็นข้อมูลระดับตาบล เพื่อใช้ในการ วิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และข้อจากัดของชุมชนให้มีความแม่นยา ชัดเจน สามารถนามากาหนด ทิศทาง/เป้าหมายการพัฒนาได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของตาบล สาหรับการวางแผนแก้ไขปัญหาเพ่ือจัดทา แผนพัฒนาตาบล มรี ายละเอียดการดาเนินงาน ดังนี้ 5.๑ วิเคราะห์หมู่บ้าน/ชุมชน โดยนาข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้าน/ชุมชนและข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน มาวิเคราะห์ เพ่อื ใหร้ วู้ า่ ในตาบลมที รัพยากรอะไรบา้ ง ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ปัญหาทีต่ อ้ งการแก้ไข 5.๒ การค้นหา โอกาส และแนวทางแก้ไขปัญหา สามารถใช้ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน วิเคราะห์ คุณภาพชีวิตในมิติด้านต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ด้านการเรียนรู้ด้านสุขภาวะ ฯลฯ มาเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในตาบล โดยนามาบูรณาการและจัดทาเป็นโครงการต่าง ๆ ตามประเด็นที่เป็นปัญหาร่วมของตาบล ไมใ่ ช่รายหมบู่ า้ น เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

14 5.๓ การกาหนดทิศทางหรือเป้าหมายการพัฒนา เป็นการกาหนดทิศทางการพัฒนาตาบล ซ่ึงมที ิศทางระยะสนั้ ระยะกลาง หรอื ระยะยาว โดยใชข้ ้อมูลในการค้นหาปัญหา สาเหตุ ความจาเปน็ ความต้องการ จัดลาดบั และประเมินตนเอง และนามากาหนดเป้าหมายหรือทิศทางของตาบล 5.๔ การกาหนดรายละเอียดการวางแผนเพ่ือแก้ไขปญั หา ประกอบด้วย การนาปัญหาทชี่ ุมชนส่วนใหญ่ ได้รับความเดือดร้อนหรือผลกระทบในวงกว้างมาเป็นประเด็นในจัดทาแผนพัฒนาตาบล ฉะน้ันจะเห็นว่าการ จัดทาแผนพฒั นาตาบลมิใชก่ ารนาเอาแผนพฒั นาหมู่บา้ น แผนชมุ ชน มารวมหรอื มาเรยี งต่อกนั เท่าน้นั 5.๕ จัดกลุ่มแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อแสวงหาแหล่งงบประมาณให้เหมาะสมกับแผนงาน/ โครงการ ดังนั้น โดยคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) หรือคณะกรรมการบริหารงาน ตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) ร่วมกับคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง จึงต้องรู้ว่าแต่ละแผนงาน/โครงการจะขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานใด เพอื่ จะไดป้ ระสานเชื่อมโยงกบั ผู้ท่ีเกย่ี วข้องตอ่ ไป โดยจดั กลมุ่ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม เป็น ๓ กลุ่ม ดงั นี้ - แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทท่ี าเองได้ เชน่ การลดรายจ่ายในครัวเรอื น ดว้ ยการปลูกผักสวนครัว ลดรายจา่ ยท่ไี ม่จาเปน็ หรอื ลดต้นทุนการผลติ ดว้ ยการทาปยุ๋ หมัก เปน็ ตน้ - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ต้องทาร่วม เป็นแผนที่ต้องประสานขอรับความร่วมมือกับ หลายภาคส่วน โดยมีการร่วมกันในด้านทรัพยากรคนหรือเงิน เช่น โครงการดูแลสุขภาพชุมชน ร่วมกับ สานักงานสาธารณสุขอาเภอ โครงการปลูกขา้ วพันธ์ุดีรว่ มกับสานักงานเกษตรอาเภอ เปน็ ต้น - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีต้องขอรับการสนับสนุน เป็นแผนที่ต้องมีการประสาน เชื่อมโยงกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะปัญหาที่ส่งผลกระทบในวงกว้างและเป็นปัญหาร่วมกันหลายพ้ืนท่ี หากสามารถจัดทารายละเอียดต่าง ๆ ได้ครบถ้วน และสอดคล้องเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ เป้าหมาย/ตัวชี้วัด ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้ชัดเจน แผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมดังกล่าว ย่อมมีโอกาสได้รับการสนับสนุนสูงกว่า แผนงาน/โครงการที่ ไมช่ ัดเจน - การจัดลาดับแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จัดโดยยึดหลักความสาคัญ ความจาเป็น หรือความสามารถในการแก้ไขปัญหาความต้องการของชุมชน ผ่านเวทีประชาคม โดยใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การอภิปรายถึงความสาคัญของโครงการการ ใช้เสียงส่วนใหญ่จากการโหวตออกเสียงสนับสนุนในเวทีประชาคม หรอื การประเมินข้อมูลดว้ ยตารางวเิ คราะหค์ ะแนนความสาคัญของแผนงาน/โครงการการบูรณาการแผนชุมชน ระดับตาบล จาเป็นต้องวิเคราะห์ท้ังปัญหา/อุปสรรค และโอกาสที่จะเกิดข้ึนรอบด้าน ทั้งน้ี เพื่อให้ชุมชน สามารถแสวงหาความร่วมมือและโอกาสในการขอรับการสนับสนนุ จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอย่างเปน็ รูปธรรม และสอดคล้องกับเป้าหมายของหน่วยงานที่ขอรับการสนับสนุน ในทุกระดับ ฉะนั้น รูปแบบการนาเสนอ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมก็ควรจะทาให้สอดคล้องกับแหล่งงบประมาณ เช่น แยกตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัดนัน้ ๆ เปน็ ต้น 6. สนับสนุนคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชมุ ชนระดับตาบล (ศอช.ต.) และคณะกรรมการ บริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) ในการจัดทารูปเล่มแผนชุมชนระดับตาบล ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อปท. อาเภอ ฯลฯ โดยการจัดทาบัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามลาดับความสาคัญ จัดส่งให้คณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) ตามห้วงระยะเวลา ท่ีกาหนด หรอื อาจจัดสง่ ใหห้ น่วยงานท่มี งี บประมาณสนับสนนุ ได้ 7. การประเมินผลแผนพัฒนาตาบล เพ่ือให้แผนพัฒนาตาบลมีประสิทธิภาพ โดยสานักงานพัฒนา ชุมชนอาเภอดาเนินการตรวจสอบความสมบูรณ์ของการดาเนินการทบทวนและจัดทาแผนพัฒนาตา บล รวมท้ังความครบถ้วนขององค์ประกอบของแผนพัฒนาตาบลตามแนวทางการจดั ทาแผนพฒั นาตาบลที่กรมการ พัฒนาชมุ ชนกาหนด แลว้ รายงานให้สานักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดทราบ เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

15 การรายงานผลการดาเนินงานกิจกรรมบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล กาหนดให้เป็นตัวช้ีวัด งบประมาณของโครงการสร้างความม่ันคงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตรข์ องงบประมาณ ปี 2563 ทั้งเชิงปรมิ าณ และคุณภาพ ดังนี้ ตวั ชวี้ ัดเชงิ ปริมาณ : จานวนตาบลทมี่ ีการบูรณาการแผนชุมชนระดบั ตาบล 6,766 ตาบล ตวั ชีว้ ดั เชิงคุณภาพ : ร้อยละ 85 ของตาบลท่ีมีการบูรณาการแผนชุมชนสรา้ งสัมมาชีพและนาไปใช้ ประโยชน์ในการบรหิ ารจดั การชมุ ชน สานกั งานพฒั นาชุมชนจงั หวัดดาเนินการ ดังนี้ 1) จัดทาทะเบียนพ้ืนที่ตาบลเป้าหมายกิจกรรมบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล รายงานให้ กรมการพัฒนาชมุ ชน ครงั้ ท่ี 1 ภายในวันท่ี 30 ธันวาคม 2562 (ก่อน) และครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2563 (หลงั ) ตามแบบรายงาน 1 2) จัดทาทะเบียนข้อมูลการนาโครงการในเล่มแผนชุมชนระดับตาบลไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา อาชีพตามแบบฟอร์มที่กาหนด พร้อมแนบหลักฐานการดาเนินโครงการ หรือในกรณีประเภทโครงการที่ขอรับ การสนบั สนุน ควรแสดงหลกั ฐานการสนับสนนุ งบประมาณ อาทิ ถา่ ยภาพหนา้ ปกและหนา้ เอกสารท่ีมีโครงการ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณที่ปรากฏในเล่มข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือเล่มแผนพัฒนา ท้องถิ่น เป็นต้น ท้ังน้ี รวบรวมเอกสารท้ังทะเบียนข้อมูลฯ และหลักฐานการดาเนินโครงการหรือการสนับสนุน งบประมาณให้จัดทาเป็นไฟลข์ ้อมูลรายงานให้สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดรวบรวมไว้ และสรุปจัดทารายงาน ส่งกรมฯ ภายในวนั ที่ 15 สิงหาคม 2563 ตามแบบรายงาน 2 3) รวบรวมหลักฐานท่ีแสดงถึงการนาโครงการ/กิจกรรมในเล่มแผนชุมชนระดับตาบลสร้าง สัมมาชีพชุมชนไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพ โดยระบุโครงการได้ท้ัง 3 ประเภท ได้แก่ โครงการที่ชุมชน ดาเนินการเอง โครงการที่ชมุ ชนทาร่วมกบั หนว่ ยงานภายนอก และโครงการท่ีขอรับการสนบั สนุน ทง้ั นี้ ในหนง่ึ ตาบลจะต้องมปี ระเภทโครงการ/กจิ กรรมที่ขอรับการสนับสนุนจากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน อย่างน้อย 1 โครงการ/กิจกรรม เพ่ือแสดงให้เห็นการเช่ือมโยงแหล่งงบประมาณ/หน่วยงาน หรือการยกระดับ/ต่อยอดการพัฒนาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนกา รสร้างสัมมาชีพชุมชนของ แตล่ ะพืน้ ท่ี ตามแบบรายงาน 3 รายงานกรมฯ ภายในวันท่ี 15 สิงหาคม 2563 4) ตรวจสอบความครบถ้วนของการรายงานผลการประเมินผลการดาเนินกิจกรรม (แบบสรุปส่วนท่ี 2) ในระบบบริหารงบประมาณและบริหารกิจกรรม/โครงการ (BPM) หลังจากดาเนินกิจกรรมแล้วเสร็จ (กิจกรรม ท่ีดาเนินการไตรมาส 2 ภายในวันท่ี 25 มีนาคม 2563 กิจกรรมที่ดาเนินการไตรมาส 3 ภายในวันท่ี 15 มิถนุ ายน 2563) 5) ส่งเสริม สนับสนุนให้ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน ดาเนินการตามบทบาทหน้าที่ให้เป็นไปตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดาเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชมุ ชน พ.ศ. 2551 และประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรื่อง กาหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการดาเนนิ กิจการศนู ย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ. 2551 พร้อมทั้งเน้นย้าให้ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) ดาเนินกิจกรรมบูรณาการแผนชุมชน ระดับตาบล ตามแนวทางกรมการพัฒนาชุมชน พร้อมท้ังส่งแผนพัฒนาชุมชนระดับตาบล บัญชีโครงการพัฒนาตาบล ให้กับคณะกรรมการ บริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 โดยสานักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวัดสาเนารวบรวมเล่มแผนพัฒนาตาบลไวเ้ ป็นขอ้ มลู ทกุ ตาบล 8. สรปุ และประเมินผลการดาเนินงาน พร้อมทั้งรายงานผลการดาเนินงานผ่านระบบ BPM ภายใน 7 วนั หลงั ดาเนนิ การแล้วเสรจ็ เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

16 พืน้ ท่ีดาเนินการ ระดบั ตาบล (ทุกตาบลรวมทงั้ เทศบาลที่มตี าแหน่งกานัน ผใู้ หญ่บา้ น) ระยะเวลาดาเนินการ ดาเนินการในไตรมาส 2 - 3 (มกราคม – มถิ นุ ายน 2563 ) ตาบลละ 1 วัน ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ มโี ครงการ/กิจกรรม จากแผนชุมชนระดับตาบลบรรจใุ นแผนพัฒนาท้องถน่ิ ตัวช้วี ัดกจิ กรรม 1. จานวนตาบลที่มีการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล 6,766 ตาบล 2. รอ้ ยละ 85 ของตาบลท่มี กี ารบรู ณาการแผนชมุ ชน สรา้ งสัมมาชพี และ นาไปใช้ประโยชนใ์ นการบริหารจัดการชมุ ชน หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบ สานักเสรมิ สร้างความเข้มแข็งชุมชน กลมุ่ งานสง่ เสรมิ สมั มาชีพชุมชน เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

17 แบบประเมินแผนพัฒนาตาบลประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ............... ตาบล............อาเภอ.................จงั หวัด....................... สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ......................ได้ดาเนินการตรวจสอบความสมบูรณ์ของการดาเนินการทบทวน และจัดทาแผนพัฒนาตาบล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ........... รวมท้ังความครบถ้วนขององค์ประกอบของ แผนพัฒนาตาบลตามแนวทางการจัดทาแผนพัฒนาตาบลของกรมการพัฒนาชุมชนแล้ว โดยมีผลการตรวจสอบ แผนพฒั นาตาบล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ........... ดังน้ี มี ไมม่ ี ความครบถ้วนขององคป์ ระกอบของแผนพัฒนาตาบล ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไปของตาบล   1.1 ความเป็นมาของตาบล   1.2 ขอ้ มลู สภาพทว่ั ไปของตาบล สว่ นที่ 2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู   2.1 การประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตรข์ องพื้นทีต่ าบล (จดุ ออ่ น จุดแขง็ โอกาส อุปสรรค)   2.2 ทศิ ทางการพัฒนา และกลยุทธ์หรือวิธีปฏบิ ัตไิ ปส่ทู ิศทาง/เป้าหมายของการพัฒนา ของตาบล   2.3 วเิ คราะหข์ ้อมูลชุมชนในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบรู ณาการวางแผนงาน (CIA)   2.4 การวเิ คราะห์ปัญหาของตาบล ส่วนที่ 3 แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ภายใต้แผนพฒั นาตาบล   3.1 การจดั ลาดับความสาคญั ของแผนงานโครงการ และแยกวธิ ีการดาเนินการ (ทาเอง/ทาร่วม/ หนว่ ยงานอ่ืนทา)   3.2 แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม โดยแยกตามด้าน 5 ดา้ น   3.3 การนาแผนงาน/โครงการตามแผนพัฒนาหมบู่ ้าน แผนพัฒนาชมุ ชน และแผนพัฒนา ท้องถิ่นในพ้นื ท่ี รวมทั้งข้อมูล จปฐ. กชช.2ค และข้อมูล อปท. มาประกอบการจดั ทา แผนพัฒนาชุมชน สว่ นท่ี 4 การใช้และตดิ ตามแผนพัฒนาตาบล   4.1 มีการดาเนนิ การตามแผน   4.2 มีการประสานแผนกบั อปท. และ/หรอื สว่ นราชการในพ้นื ที่   4.3 มกี ารติดตามประเมนิ ผลการดาเนินการตามแผน สว่ นที่ 5 การทบทวนแผนพัฒนาตาบล   5.1 การทบทวนแผน   5.2 รายงานการประชมุ แผนพัฒนาตาบล หมายเหตุ : ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเป็นผู้ตรวจสอบแผนพัฒนาตาบลของแต่ละตาบล และให้ รายงานผลให้สานกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวัดทราบ เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

18 -ตัวอย่างคาสั่ง- คาสง่ั อาเภอ............................................... ที่ /๒๕๖๒ เร่ือง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบรู ณาการ (ก.บ.ต.) -------------------------------- ตามที่กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาและ ประสานแผนพัฒนาพ้ืนท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติในการบูรณาการการ จัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับพน้ื ทใี่ หเ้ กิดความเชอ่ื มโยงสอดคล้องกบั ทิศทางการพัฒนาในระดับจงั หวัด กลมุ่ จังหวัด ภาคและประเทศ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ นาไปสูค่ วามมั่นคง มงั่ คั่ง ยัง่ ยนื นั้น เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป็นไปตาม ข้อ 9 แห่งระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาและประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอาเภ อและต าบล พ.ศ. 2562 จงึ แต่งตงั้ คณะกรรมการบรหิ ารงานตาบลแบบบรู ณาการ (ก.บ.ต.) ดังนี้ ๑) ปลดั อาเภอผูร้ บั ผดิ ชอบประจาตาบลทีน่ ายอาเภอมอบหมาย ประธานกรรมการ ๒) ปลัดองค์การบรหิ ารส่วนตาบล/เทศบาล ตาบล......................... กรรมการ ๓) .......................................................................... กรรมการ ๔) .......................................................................... กรรมการ ๕) .......................................................................... กรรมการ (3 - 5 ขา้ ราชการทป่ี ฏิบตั ิงานในตาบลทนี่ ายอาเภอแต่งตัง้ ) ๖) กานนั และผ้ใู หญ่บ้านในตาบล กรรมการ ๗) นาย/นาง/นางสาว................................................ กรรมการ ๘) นาย/นาง/นางสาว................................................ กรรมการ ๙) นาย/นาง/นางสาว................................................. กรรมการ ๑๐) นาย/นาง/นางสาว.............................................. กรรมการ ๑๑) นาย/นาง/นางสาว.............................................. กรรมการ (7 - 11 ผู้ทรงคณุ วุฒิที่นายอาเภอแตง่ ตง้ั ) ๑๒) พฒั นากรผ้รู บั ผิดชอบตาบล................................ กรรมการและเลขานกุ าร ใหค้ ณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) มีอานาจหน้าที่ ดังนี้ (1) รวบรวมข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ข้อมูลความ จาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) ข้อมูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) และข้อมูลอ่ืน ๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดทา แผนพัฒนาตาบล (2) รวบรวมแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน และแผนพฒั นาท้องถิ่นในตาบล เพ่ือใช้ประกอบการ จัดทาแผนพัฒนาตาบล เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ /(3) จดั ทาแผน... ภายในปี ๒๕๖๕ Change for Good

19 -2- (3) จัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้นาข้อมูลจาก (1) และ (2) มาวิเคราะห์หรือสงั เคราะห์ กลั่นกรอง ประมวลผล เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาตาบล และจัดลาดับความสาคัญของแผนงานหรือโครงการระดับตาบล รวมทั้งจัดทาแผนงานหรือโครงการในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนทท่ี ี่มคี วามคาบเกย่ี วตง้ั แต่สองหมู่บ้านหรือสองชุมชนข้ึนไป เพื่อรองรบั การพัฒนาและตอบสนองนโยบายสาคัญเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหาและพฒั นาในตาบล (4) จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับตาบลท่ีสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนท่ีระดับตาบล และจัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา ส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พจิ ารณาบรรจไุ วใ้ นแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น (5) จัดส่งแผนพัฒนาตาบล ให้ ก.บ.อ. ใช้ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความ ต้องการระดับอาเภอ (6) ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาตาบลทุกปี เพอ่ื ให้แผนงานหรือโครงการระดับตาบล เป็นปัจจบุ นั (7) อ่นื ๆ ตามท่ีนายอาเภอมอบหมาย ท้ังนี้ ต้ังแตบ่ ัดน้เี ป็นต้นไป ส่งั ณ วนั ที่ ............................. พ.ศ. ๒๕๖2 (นายอาเภอลงนาม) เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

20 โครงการพัฒนาหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ กจิ กรรมหลัก พัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมย่อยที่ ๑ สร้างและพฒั นากลไกขบั เคลือ่ นในระดบั พ้ืนที่ กจิ กรรมย่อยท่ี ๑.๑ อบรมแกนนาพฒั นาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง วตั ถุประสงค์ เพือ่ เป็นแกนนำในกำรส่งเสรมิ สร้ำงกำรมสี ่วนรว่ มในกำรพัฒนำหมูบ่ ้ำน สร้ำงกำรเรยี นรู้ และจัดกจิ กรรมในระดบั ครวั เรือน กลุ่มอำชีพ กำรบริหำรชุมชน กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำกหมู่บ้ำนเป้ำหมำย หมู่ละ ๒ คน และประธำนชมรม สมำคมผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน (ผู้นำ อช.) อำเภอ ละ ๑ คน จำนวนแต่ละจังหวัด เป็นไปตำมจำนวนของ หม่บู ำ้ นเป้ำหมำยในแตล่ ะจงั หวัด สถานทด่ี าเนินการ กำรคัดเลือกสถำนท่ีกำรฝึกอบรมบ่มเพำะให้กับกลุ่มเป้ำหมำยสำมำรถพิจำรณำเลือกดำเนินกำร ในพื้นท่ีที่เป็นศูนย์เรียนรู้หรือแหล่งเรียนรู้กำรขับเคล่ือนกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ในพน้ื ทท่ี ่มี ศี กั ยภำพในกำรถ่ำยทอดควำมรู้ได้ ใช้สถำนทใี่ นจงั หวัดและใชท้ ีมวิทยำกรทม่ี ีศกั ยภำพในกำรพัฒนำ ระยะเวลาในการดาเนินการ รนุ่ ละ ๒ วัน วิธปี ฏบิ ัติ ๑. กำรคน้ หำ สร้ำงผูน้ ำกำรพฒั นำ ๑) ผู้นำกำรพัฒนำ คือ ผู้ที่มีบทบำทในกำรทำงำนเพื่อส่วนรวมเป็นที่ยอมรับของชุมชน เช่น กม. อช./ผู้นำอช. กพสม. หรือกรรมกำรกลุ่ม/องค์กรต่ำง ๆ ในหมู่บ้ำน ได้แก่ กรรมกำร ศอช.ต กรรมกำร ศรช. ผู้ทรงคุณวฒุ ิหรอื ผนู้ ำอ่นื ๆ ฯลฯ ๒) คณุ สมบัตขิ องผ้นู ำ เช่น  ควำมเสยี สละ มภี ำวะผนู้ ำ มีจติ ใจอยำกทำ  เปน็ นักประสำนงำน เปน็ ทยี่ อมรบั ของสว่ นรวม  มใี จรกั ในกำรทำงำนหรือรกั กำรเรยี นรูต้ ลอดเวลำ เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

21  มีประสบกำรณท์ ่ีสรำ้ งควำมสำเร็จเปน็ ที่ประจักษม์ ำแล้ว  เป็นเจ้ำของปจั จยั กำรผลิตท่สี ำมำรถกำรดำเนนิ งำนได้ทนั ที  ที่สำคัญมีควำมพร้อมและต้ังใจจะทำงำนพัฒนำชุมชน สำมำรถนำควำมรู้ ควำมสำมำรถ ทักษะกำรจัดกระบวนกำรพัฒนำหมู่บ้ำน กำรพัฒนำผู้ด้อยโอกำส กำรพัฒนำกลุ่ม/ องค์กร นำไปสู่กำรเสริมสร้ำงกำรมีส่วนร่วมและกระบวนกำรเรียนรู้ของประชำชน ในหมู่บำ้ นได้ ๒. วิธีกำรค้นหำ กำรคัดเลอื ก สำมำรถดำเนนิ กำรได้หลำยวิธี ดงั นี้ (อยำ่ งใดอย่ำงหน่ึง) 1) กำรจัดเวทีประชำคม โดยประสำนนัดหมำยผู้นำชุมชน (ผู้ใหญ่บ้ำน) เพ่ือนัดหมำย ประชำชนในหมูบ่ ้ำน ในกำรเปดิ รับกำรรบั สมัครผนู้ ำกำรพัฒนำ ตำมคุณสมบตั ิข้อ 1 กำรจัดเวทีประชำคม โดยประสำนนัดหมำยผู้นำชุมชน (ผู้ใหญ่บ้ำน) เพื่อนัดหมำย ประชำชนในหมู่บ้ำน เสนอช่ือผู้นำกำรพัฒนำที่ผ่ำนกำรรับรองของคนในชุมชน โดยสมัครใจเพื่อเป็นตัวแทน เข้ำรบั กำรอบรมผ้นู ำกำรพฒั นำ และใหท้ ่ีประชุมประชำคมพิจำรณำให้กำรเห็นชอบ หรือคัดเลอื ก เพ่ือสร้ำงกำรยอมรบั ๒) ใช้คณะกรรมกำรทีป่ ระกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องและผู้นำชมุ ชน (ผู้ใหญบ่ ้ำน ฯลฯ) ร่วมกนั พจิ ำรณำผู้ท่มี คี ุณสมบตั แิ ละสมัครใจเข้ำรว่ มกจิ กรรมกำรพัฒนำหมู่บำ้ น ๓. กำรพัฒนำศักยภำพ 3.1 กำรดำเนนิ งำนเพอื่ จัดฝกึ อบรม สำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัด พิจำรณำหลักสูตรกำรพัฒนำศักยภำพผู้นำชุมชน ระยะเวลำ 2 วัน/ร่นุ และสำหรับจังหวัดท่ีมีปริมำณกลุ่มเป้ำหมำยจำนวนมำก สำมำรถบริหำรจัดกำรฝึกอบรม เป็นรุ่น ๆ ละ 2 วัน โดยจำนวนกลุ่มเป้ำหมำยต่อรุ่นให้พิจำรณำถึงควำมเหมำะสมต่อกำรเรียนรู้และกำรบรรลุ วัตถุประสงค์ของกิจกรรมทีก่ ำหนดเป็นสำคญั กำรคัดเลือกสถำนที่กำรฝึกอบรมบ่มเพำะให้กับกลุ่มเป้ำหมำยสำมำรถพิจำรณำเลือก ดำเนินกำรในพื้นท่ีที่เป็นศูนย์เรียนรู้หรือแหล่งเรียนรู้กำรขับเคล่ือนกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจ พอเพยี งในพนื้ ทท่ี ม่ี ีศักยภำพในกำรถ่ำยทอดควำมรู้ได้ กรณีแบ่งฝึกอบรมเป็นรุ่น ๆ และจัดพร้อมกัน ขอให้สำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัด ประชุมซกั ซอ้ มทีมวทิ ยำกรท่ที ำหนำ้ ทต่ี ำมกรอบกำรเรยี นรรู้ ว่ มกันก่อนปฏิบัติงำน 3.2 รูปแบบ วิธีกำรจัดฝึกอบรมแกนนำพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงกำรกำหนดรูปแบบ วิธกี ำรจดั ฝึกอบรมแกนนำพฒั นำหมูบ่ ้ำนเศรษฐกจิ พอเพียง ข้ันตอนนี้เป็นข้ันตอนท่ีต้องให้ควำมสำคัญเป็นอย่ำงมำกเพื่อให้แกนนำพัฒนำหมู่บ้ำน เศรษฐกิจพอเพียงมีศักยภำพอละสำมำรถ สร้ำงกำรมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำหมู่บ้ำน สร้ำงกำรเรียนรู้และจัด กิจกรรมในระดับครัวเรือน กลุ่มอำชีพ กำรบริหำรชุมชน โดยให้พิจำรณำจำกกรอบกำรเรียนรู้ (สำมำรถ ปรับเปลี่ยนไดต้ ำมควำมเหมำะสมและสอดคล้องกบั บรบิ ทในพืน้ ที่) ดงั น้ี 3.2.1 กำรสรำ้ งควำมเข้ำใจ และสรำ้ งควำมตระหนักถงึ ควำมสำคญั ของกำรน้อมนำ หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่กำรปฏิบัติ (มุ่งเน้นกำรปรับกรอบควำมคิด/กระบวนกำรทำงควำมคิด หรือ Mindset) ซง่ึ อำจเชิญวทิ ยำกรที่มปี ระสบกำรณ์ร่วมให้ควำมรู้ 3.2.2 กำรประยุกต์ใช้ควำมรู้เพ่ือกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับบคุ คล ครวั เรือน และชมุ ชน ซึ่งอำจเชิญวิทยำกรท่ีมปี ระสบกำรณร์ ว่ มให้ควำมรู้ 3.2.3 เสริมสร้ำงควำมเข้ำใจกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงในแต่ละขั้นตอน ตำมท่ีกรมกำรพัฒนำชุมชนกำหนด (ขั้นตอนน้ีเป็นกิจกรรมที่สำคัญขอให้พิจำรณำกำหนดรูปแบบ วิธีกำร ถำ่ ยทอดทท่ี ำใหก้ ลุ่มเป้ำหมำยเกดิ ควำมเข้ำใจและสำมำรถนำไปปรบั ใชใ้ นพืน้ ที่ได้) เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

22 3.2.4 กำหนดแนวทำงในกำรบริหำรจัดกำรชุมชน กำรจัดกำรศูนย์เรียนรู้ชุมชน เพื่อกำรพฒั นำตำมแนวปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียง และแนวทำงกำรพฒั นำอนั เน่อื งมำจำกพระรำชดำริ 3.2.5 วิธีกำรประเมิน 4 ด้ำน 23 ตัวช้ีวัด ซึ่งวิธีกำรน้ีเป็นเคร่ืองมือหรือเกณฑ์กำร ประเมินเพ่ือจัดระดับกำรพัฒนำของหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนกำรพัฒนำให้ตรงตำม ศกั ยภำพของหม่บู ้ำน แยกเปน็ 3 ระดบั คือ ระดับ 1: “พออยู่ พอกิน” เน้นท่ีระดับครัวเรือน มีเป้ำประสงค์เพื่อพัฒนำ กิจกรรมกำรพึง่ ตนเอง ทำกิน ทำใช้ ลดรำยจำ่ ยเพม่ิ รำยไดแ้ ละมีกำรออม ผ่ำนเกณฑ์ประเมิน 10 - 16 ตัวช้ีวัด ระดับ 2: “อยู่ดี กินดี” เน้นท่ีระบบกำรรวมกลุ่ม มีเป้ำประสงค์เพ่ือส่งเสริม กำรบริหำรจัดกำรพัฒนำในรูปกลุ่ม กำรพัฒนำรำยได้ด้วยระบบกลุ่ม เพ่ิมรำยได้และขยำยโอกำสคนในชุมชน ผำ่ นเกณฑป์ ระเมนิ 17 - 22 ตวั ช้วี ดั ระดับ 3: “มั่งมี ศรีสขุ ” เน้นที่ระดับหมูบ่ ้ำน/ชุมชนและเครอื ขำ่ ย มีเป้ำประสงค์ เพ่ือให้เป็นต้นแบบหมู่บ้ำนกำรบริหำรกำรพัฒนำด้วยองค์กรเครือข่ำยในกำรยกระดับคุณภำพชีวิตเพิ่มโอกำส กำรประกอบอำชีพ จัดสวสั ดกิ ำรชมุ ชน ผำ่ นเกณฑป์ ระเมิน 23 ตวั ชวี ัด 3.๒.๖ กำรประเมินควำม “อยู่เย็น เป็นสุข” หรือ ควำมสุขมวลรวมของหมู่บ้ำน/ ชุมชน (Gross Village Happiness: GVH) พร้อมท้ังกำรสำธิตตัวอย่ำงกำรประเมินควำมสุขมวลรวมท่ีถูกต้อง ซ่ึงกำรประเมินนี้เป็นเคร่ืองมือใช้ในกำรประเมินผลลัพธ์ของกำรพัฒนำ โดยกำรจัดเวทีประชำคมหมู่บ้ำน แลกเปลี่ยนข้อมูลควำมเป็นจริงในชุมชน แล้วให้ลงคะแนนควำมเห็นระดับควำมสุขร่วมกัน โดยให้ดำเนินกำร ทัง้ หมด 2 รอบ ดังน้ี 1) รอบที่ 1 : ประเมินก่อนลงมือพัฒนำ เพื่อให้หมู่บ้ำนได้รบั รู้องคป์ ระกอบ ควำมสุขใดบ้ำงท่ตี อ้ งทำกจิ กรรมหรอื วำงแผนในกำรพฒั นำ 2) รอบที่ 2 : ประเมินเม่ือผ่ำนกำรพัฒนำในรอบ 1 ปี (ไตรมำส 4) เพ่ือนำ ผลรอบท่ี 2 ไปเปรียบเทียบกับ ผลรอบที่ 1 ซ่ึงจะทำให้เห็นถึงผลควำมสุขมวลรวมของหมู่บ้ำน/ชุมชน (Gross Village Happiness : GVH) หลงั จำกกำรดำเนนิ กำรตำมกิจกรรมหรอื แผนท่ีวำ่ งไว้ 3.3 จัดฝึกอบรมแกนนำพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ตำมรูปแบบ และวิธีกำรที่กำหนด โดยมุ่งเน้นกำรปรับกรอบควำมคิด/กระบวนกำรทำงควำมคิด (Mindset) ให้กลุ่มเป้ำหมำยตระหนักถึง ควำมสำคัญของกำรทำหน้ำทเี่ ปน็ แกนนำพฒั นำหมบู่ ำ้ นเศรษฐกจิ พอเพียง 3.๔ มอบหมำยภำรกิจให้แกนนำพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ไปขับเคล่ือนกำรพัฒนำ หมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงในระดับครัวเรือน โดยวิธีกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำครัวเรือน ตำมหลักปรัชญำของ เศรษฐกจิ พอเพียง ดงั นี้ 3.๔.๑ เข้ำใจ ทีมงำนวำงแผนกำรปฏิบัติ เพื่อสร้ำงเครือข่ำยผู้รอบรู้ มีประสบกำรณ์ เช่ียวชำญ กำหนดแนวทำงกำรสร้ำงควำมรู้ วิธีเปลี่ยนลักษณะนิสัยกำรดำเนินชีวิตของประชำชนทุกครัวเรือน ศึกษำ วิเครำะห์สภำพพ้ืนที่ สภำพของชุมชนท้องถ่ิน ให้เข้ำใจอย่ำงถ่องแท้ ว่ำมีสถำนกำรณ์เป็นอย่ำงไร มีเหตุกำรณ์ใดบ้ำง ที่มีแนวโน้มว่ำจะส่งผลกระทบต่อควำมเป็นอยู่ของประชำชนอย่ำงไร เพ่ือเตรียมสร้ำง กิจกรรมรณรงค์สรำ้ งกำรรบั รู้ และควำมตระหนักในกำรปรบั เปลย่ี นวถิ ีชีวติ ของครวั เรอื น 3.๔.๒ เข้ำถึง สร้ำงควำมตระหนักในสถำนกำรณ์ท่ีเป็นอยู่ นำเสนอแนวคิดกำร ดำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอพียง รวมถึงกำรปรับปรุงและพัฒนำชีวิตด้วยศำสตร์พระรำชำ ผ่ำนส่ือกำรเรียนรหู้ ลำกหลำยรูปแบบ กำรสร้ำงควำมร้ใู นรูปแบบท่ีเหมำะสม เช่น แนะนำรำยบุคคล ครัวเรือน กำรประชมุ กำรอบรม กระบวนกำรกลมุ่ กำรสำธติ กำรเรยี นรผู้ ำ่ นกำรทำจรงิ และวำงแผนกำรพัฒนำครวั เรือน ตัวเองต่อไป เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

23 3.๔.3 พัฒนำ สนบั สนุนกำรดำเนนิ งำนในแตล่ ะครัวเรือน ในกิจกรรมต่ำง ๆ เพือ่ กำร พึ่งตนเอง โดยตอ้ งกำร ยอมรับ นอ้ มนำไปปฏบิ ัตอิ ยำ่ งจริงจงั มีเปำ้ หมำยชัดเจน ม่ันใจในวธิ กี ำรปฏิบัติ ทบทวน กำรปฏบิ ตั ิ พร้อมปรับปรุงยกระดบั ให้ก้ำวหน้ำยิง่ ข้นึ 3.๔.4 เสริมแรง สร้ำงกิจกรรมเชิดชูเกียรติผู้ประสบควำมสำเร็จ ตำมระดับควำม ต้องกำร เชน่ กำรให้รำงวลั กำรสร้ำงควำมยอมรับ กำรประกำศเป็นต้นแบบเป็นครู เป็นจุดเรียนรู้เพื่อขยำยผล ตอ่ เน่ือง 3.๔.5 กำรตรวจติดตำม เพื่อกำรกำกับ ให้กำรปฏิบัติกิจกรรมกำรพัฒนำครัวเรือน เป็นไปตำมแนวทำงและช่วงเวลำที่กำหนด ปรับปรุงวิธีกำรและสนับสนุนครัวเรือนเพื่อให้ประควำมสำเร็จ ตำมวัตถปุ ระสงค์ 3.๓ กำรประเมนิ ผล ตดิ ตำมกำรกำรปฏิบัติงำน 3.3.1 จัดให้มีกำรประเมินผลควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจของผู้นำชุมชนที่เข้ำร่วมกำรอบรม พัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ตำมกรอบหลักสูตรกำรฝึกอบรม ซึ่งต้องดำเนินกำรประเมินผลก่อนและ หลังกำรฝึกอบรมเพ่ือเป็นกำรวัดประสิทธิผลของกำรฝึกอบรม ตลอดจนเป็นแนวทำงในกำรพัฒนำปรับปรุง รปู แบบหลกั สตู รกำรฝึกอบรม 3.3.2 ประสำนสำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอ ให้กำรส่งเสริมและสนับสนุนกำร ขบั เคลอื่ นกจิ กรรมกำรพัฒนำหม่บู ำ้ นเศรษฐกจิ พอเพียงของแกนนำท่ผี ่ำนกำรฝกึ อบรมอยำ่ งต่อเนือ่ ง 3.3.3 ติดตำมกำรปฏิบัติงำน พัฒนำกรประจำตำบลจัดทำแผนกำรติดตำม กำรดำเนินงำนของผู้นำชมุ ชนท่ผี ำ่ นกำรฝกึ อบรมโดยกำหนดควำมถี่ของแผนตำมควำมเหมำะสมของพนื้ ที่ 3.3.4 สรุปและประเมินผลกำรดำเนินงำน พร้อมทั้งรำยงำนผลกำรดำเนินงำน ในระบบ BPM ภำยใน 7 วัน หลังดำเนินกำรแล้วเสรจ็ กิจกรรมย่อยท่ี 2 เสริมสร้างกระบวนการบริหารจัดการชุมชน กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 2.1 สมั มนาการเรียนรวู้ ถิ ชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้ำงควำมเข้ำใจ เกิดควำมตระหนักในกำรปรับเปลี่ยนกำรใช้ชีวิต และกำรพัฒนำ หมูบ่ ำ้ นท่สี มดุล สอดคล้องกบั หลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง กลมุ่ เป้าหมาย ผู้แทนครอบครัวพัฒนำอยำ่ งนอ้ ย 30 ครวั เรือน วธิ ีคดั เลอื กครวั เรือนเป้าหมาย ๑. โดยคัดเลอื กจำกครอบครวั ที่สมำชิก ในครอบครัวท่ีมีคุณสมบัติ มีควำมต้งั ใจจะเปล่ียนกำร ดำเนินชีวิตตำมแนวทำงเศรษฐกิจพอเพียง มีพื้นที่ในกำรดำเนินกำรหำกต้องกำรทำกำรเกษตรหรือพื้นที่ เหมำะสมกับกำรประกอบอำชีพ ปฏิบตั ติ วั สมควรเป็นแบบอยำ่ ง ๒. สมคั รใจเข้ำรว่ มโครงกำร และพรอ้ มที่จะใช้สำมำรถขยำยผลสู่ครอบครัวอืน่ ๆ ได้ ดว้ ยกำร เป็นจุดเรียนร้ขู องชุมชนไดต้ ่อไป วิธีการปฏิบตั ิ 1. ประชมุ วำงแผนเตรยี มกำรดำเนินงำน 2. แตง่ ตั้งคณะทำงำน หรอื มอบหมำยใหผ้ ู้รบั ผิดชอบดำเนินกำรกำหนดรูปแบบ วิธกี ำร และ หลักสูตรในกำรจัดสัมมนำกำรเรียนรู้วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง โดยในหลักสูตรต้องประกอบไปด้วยกรอบกำร เรียนรอู้ ย่ำงนอ้ ย ดังตอ่ ไปนี้ 2.1 กำรสร้ำงควำมเข้ำใจ และสร้ำงควำมตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรน้อมนำ หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งไปสู่กำรปฏิบัติ เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

24 2.2 วิธีกำรพฒั นำหมู่บ้ำนเศรษฐกจิ พอเพยี งในแต่ละข้ันตอนท่ีกำหนด 2.3 แนวทำงกำรน้อมนำหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงไปสู่กำรปฏิบัตใิ นระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน อำทิเช่น กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งของครอบครัวพัฒนำ กำรบริหำรจัดกำรชุมชน และกำร จัดกำรศูนย์เรยี นร้ชู มุ ชน เพ่ือกำรพัฒนำตำมแนวปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.4 เป้ำหมำยกำรพัฒนำตำมแนวทำง 4 ด้ำน 23 ตัวช้ีวัด และกำรประเมินควำม “อยู่เย็น เป็นสุข” หรือ ควำมสุขมวลรวมของหมู่บ้ำน/ชุมชน (Gross Village Happiness : GVH) มุ่งเน้นกำร อธบิ ำยเพอื่ สร้ำงควำมเขำ้ ใจถึงควำมสำคัญทตี่ ้องประเมินผล วิธกี ำรประเมิน และกำหนดวันประเมนิ ร่วมกนั 3. จัดสัมมนำกำรเรียนรู้วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง อย่ำงน้อยหมู่บ้ำนละ 1 วัน ตำมรูปแบบ และวิธีกำรที่กำหนด โดยมุ่งเน้นกำรปรับกรอบควำมคิด/กระบวนกำรทำงควำมคิด (Mindset) ให้กลุ่มเป้ำหมำย ตระหนกั ถึงควำมสำคญั ของกำรนอ้ มนำหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสู่กำรปฏิบัติในระดับครัวเรอื น กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 2.2 การจัดทาแผนพฒั นาวิถชี ีวิตเศรษฐกจิ พอเพียง วัตถุประสงค์ เพ่ือกำหนดทิศทำงและเป้ำหมำยของกำรพัฒนำยกระดับครัวเรือนและหมู่บ้ำน ให้สำมำรถน้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงสู่กำรปฏิบตั ิจนเปน็ วิถชี วี ิต สำมำรถพึ่งตนเองได้ เกิดกำรมี สว่ นร่วมในหมูบ่ ำ้ น นำไปสูค่ วำมสำมคั คี ทำให้ชมุ ชนเขม้ แข็ง วธิ ีปฏิบัติ 1. ก่อนจัดทำแผนพฒั นำครวั เรือน แผนพัฒนำหมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 1.1 พัฒนำกร - รวบรวมข้อมลู จปฐ. / กชช. 2ค และข้อมูลท่ีเกยี่ วข้อง - ประสำนข้อมูลหนว่ ยงำนท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ ขอ้ มูลดำ้ นสำธำรณสุข เกษตร ปศุสัตว์ ทด่ี ิน เปน็ ตน้ - ประสำนผู้นำและกำหนดวันจัดทำแผนพัฒนำครัวเรือนและพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจ พอเพยี ง พร้อมทัง้ ประสำนหน่วยงำนและผูท้ ่เี ก่ยี วข้องร่วมจัดทำแผนดังกลำ่ ว 1.2 แกนนำกำรพัฒนำและครัวเรือนเป้ำหมำย รวบรวมข้อมูลของครัวเรือนและหมู่บ้ำน (ท้งั ขอ้ ดหี รือจุดเดน่ /ข้อดอ้ ยหรอื อปุ สรรคของหมบู่ ้ำนหรือปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อกำรพฒั นำหมูบ่ ำ้ น) 1.3 ผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน รวบรวมและจัดเตรียมข้อมูลเชิงลึกของหมู่บ้ำนและครัวเรือน เปำ้ หมำย 1.4 พัฒนำกรร่วมกับแกนนำกำรพัฒนำและผู้นำอำสำพัฒนำชุมชนร่วมกันวิเครำะห์ข้อมูล เบ้ืองต้น ในประเด็นข้อเท็จจริงในกำรจัดทำแผนพัฒนำครัวเรือนและพัฒนำหมู่บ้ำน กำหนดทิศทำงในกำร พัฒนำเบ้ืองต้น จำกข้อมลู ขอ้ เทจ็ จริง และโอกำสควำมเป็นไปไดใ้ นกำรพัฒนำ 2. ระหวำ่ งกำรจดั ทำแผนกำรพฒั นำ 2.1 ผู้นำกำรพัฒนำร่วมกับ ผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน ครัวเรือนเป้ำหมำย พัฒนำกร และ หนว่ ยงำนทเี่ ก่ยี วข้อง ในพื้นที่ร่วมเวทีจัดทำแผน โดยดำเนินกำร ดงั น้ี 2.2 นำเสนอข้อมูลข้อดี ข้อด้อย ปัญหำ อุปสรรค และโอกำสในกำรพัฒนำของครัวเรือนและ หมบู่ ้ำน 2.3 ประเมินสถำนกำรณ์ของชุมชน ด้วยกระบวนกำรประเมินควำมอยู่เย็น เป็นสุข หรือ ควำมสุขมวลรวมของชุมชน (Gross Village Happiness: GVH) อำศัยตัวชี้วัดเป็นเป้ำหมำยในกำรสร้ำง ควำมสุข ประชำชนในที่ประชุมกำหนดเกณฑ์ช้ีวัด และให้คะแนนกำรประเมิน สรุปผลเพ่ือพิจำรณำถึงจุดด้อย และจุดแข็ง ที่ทำให้ชุมชนยังต้องจัดกิจกรรม หรือโครงกำรเพื่อยกระดับ เพิ่มควำมสำมำรถ อนุรักษ์ ป้องกัน และแกป้ ญั หำ ในระบบคุ คล ครัวเรือน ชมุ ชน เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

25 ๒.๔ นำข้อมูลท้ังหมดใช้วิเครำะห์ข้อมูลเพื่อกำหนดทิศทำงและเป้ำหมำยของกำรพัฒนำ ยกระดบั ครวั เรือนและหมูบ่ ำ้ น ให้สำมำรถน้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่กำรปฏิบัติจนเป็นวิถีชวี ิต สำมำรถพ่ึงตนเองได้ (เช่น ใช้จดุ เด่นและโอกำสในกำรพัฒนำหมู่บำ้ นกำหนดเป็นเป้ำหมำยกำรพัฒนำ กล่ำวคือ หมู่บ้ำนมีแหล่งท่องเท่ียวตำมธรรมชำติ โอกำส คือ มีนักท่องเที่ยวเข้ำมำในหมู่บ้ำนจำนวนมำก ก็กำหนด เป้ำหมำยในกำรสร้ำงรำยได้จำกนักท่องเท่ียว ด้วยกำรส่งเสริมหมู่บ้ำนเป็นหมู่บ้ำนท่องเท่ียว จัดกิจกรรม เพ่อื สนับสนุนกำรท่องเทย่ี ว สนับสนนุ กลุ่มอำชีพผลิตสนิ คำ้ และบริกำร เช่น ของกนิ ของฝำก ของทร่ี ะลกึ เป็นตน้ 2.๕ กำหนดเปำ้ หมำยของกำรพัฒนำหมบู่ ้ำนแล้ว จัดทำแผนงำนโครงกำรทีส่ ำมำรถสนับสนุน ส่งเสริมเพื่อนำไปสู่เป้ำหมำยนั้น เช่น เป้ำหมำยเป็นหมู่บ้ำนท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยส่งเสริมให้ชำวบ้ำนผลิต สินค้ำหรือบริกำรที่มีวัตถุดิบภำยในพ้ืนท่ีเพ่ือแสดงถึงอัตลักษณ์ของหมู่บ้ำน กำรจัดทำโปรแกรมหรือปฏิทิน ท่องเทย่ี วชุมชนในรอบปี เป็นต้น ทั้งนี้เพ่ือให้เกิดผลต่อเนื่องและยั่งยืน จะต้องมีกำรจัดต้ังกลุ่มและระเบียบกำร บริหำรจัดกำรกลมุ่ อำชพี นั้น ๆ ด้วย 2.๖ จัดทำแผนพัฒนำครัวเรือน ที่สอดคล้องกับทิศทำงและเป้ำหมำยของกำรพัฒนำหมู่บ้ำน แต่ต้องยึดหลักพึ่งพำตนเองได้ในระดับครัวเรือน เช่น ครัวเรือนต้องรู้จักตนเอง ให้ครัวเรือนกำหนดเป้ำหมำย พิจำรณำถึงทรัพยำกรใสนครัวเรือน ควำมรู้ ควำมชำนำญของคนในบ้ำน กำหนดแนวทำงกำรใช้ชีวิต เลือกทำ อำชีพและกำรปฏิบัติตน ตำมแนวทำนเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ครัวเรือนมีรำยจ่ำยที่ไม่จำเป็นมำก ก็ต้องแก้ไข ปัญหำในรำยจ่ำยนั้น (ปลูกพืชผักสวนครัว ลดรำยง่ำยรำยวัน/ลด ละ เลิกอบำยมุข ลดรำยจ่ำยฟุ่มเฟือย/ ทำผลิตภัณฑ์ข้ำวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ลดรำยจ่ำยซึ่งเป็นรำยจ่ำยประจำ) เม่ือลดรำยจ่ำยได้ก็จะมี เงนิ ออมน่นั เอง ***ท้ังน้ีกำรจัดทำแผนพัฒนำครัวเรือน ครัวเรือนต้องมีควำมพร้อมและสมัครใจในกำร เปล่ียนแปลงพฤตกิ รรม เพอ่ื นำไปสู่กำรพฒั นำอย่ำงแท้จริง ไมเ่ ชน่ นัน้ ผลทไี่ ด้จะไมเ่ ป็นไปตำมวัตถุประสงคท์ ี่ตัง้ ไว้ กำรจัดทำแผนกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับครัวเรือน กลุ่ม ชมุ ชน ทส่ี อดคล้องกบั อำชีพ สภำพกำรณ์ และสภำวะของชุมชน ดังนี้ 1. ในระดับครัวเรือนต้องครอบคลุมในสำมเร่ือง ได้แก่ 1) อำหำรมั่นคง (กำรปลูกพืช กำรเลี้ยงสัตว์ และกำรแปรรูป) 2) ส่ิงแวดล้อมยั่งยืน (กำรบริหำรจัดกำรขยะ กำรจัดสุขลักษณะในบ้ำน และ กำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงคุ้มค่ำ) 3) มีภูมิคุ้มกัน (กำรปฏิบัติศำสนกิจ กำรบำเพ็ญประโยชน์ และออกกำลังกำย เสรมิ สุขภำพ) 2. ระดับกลุ่ม เช่น กำรรวมกลุ่มเพื่อกำรผลิต กำรพัฒนำคุณภำพผลิตภัณฑ์ สวัสดิกำร กำรตลำด ฯลฯ 3 ระดับชุมชน เน้นสร้ำงเครือข่ำยกำรร่วมมือในรูปแบบต่ำง ๆ เช่น กำรแลกเปล่ียน เรียนรู้ เครอื ขำ่ ยกำรตลำด ฯลฯ 2.๗ มอบหมำยภำรกิจให้ครัวเรือนเป้ำหมำยดำเนินกำรตำมแผนกำรพัฒนำครัวเรือน โดยมี กรอบหรอื ห้วงระยะเวลำกำรติดตำมกำรพัฒนำครัวเรือนวำ่ เป็นไปตำมแผนหรือไม่ (ติดตำมโดยผู้นำกำรพฒั นำ และผูน้ ำอำสำพฒั นำชมุ ชนเป็นหลัก) 2.๘ มอบหมำยภำรกิจผู้นำกำรพัฒนำ ผ้นู ำชุมชน และครวั เรือนเป้ำหมำย ให้ดำเนินกำรตำม แผนกำรพฒั นำหมบู่ ้ำนเศรษฐกจิ พอเพียง (ติดตำมโดยพัฒนำกรและผนู้ ำอำสำพฒั นำชมุ ชน) 2.๙ กำหนดวันดำเนินกิจกรรมกำรพัฒนำตำมแผนกำรพัฒนำ ซ่ึงได้รับสนับสนุนงบประมำณ ทั้งจำกกรมกำรพฒั นำชุมชน และหนว่ ยงำนภำคี 3. สรุปและประเมินผลกำรดำเนินงำน พร้อมทั้งรำยงำนผลกำรดำเนินงำนในระบบ BPM ภำยใน 7 วนั หลงั ดำเนนิ กำรแล้วเสร็จ เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

26 กิจกรรมย่อยท่ี 2.3 การขบั เคลือ่ นกิจกรรมพัฒนาวิถชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกำรส่งเสริม สนับสนุนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ให้เกิดกำรพัฒนำสำมำรถ พง่ึ พำตนเองได้ และเสำมำรถน้อมนำหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพียงไปสู่กำรปฏิบตั จิ นเปน็ วิถชี วี ติ วิธปี ฏิบัติ  กจิ กรรมทไ่ี ม่ใช้งบประมาณ 1. แกนนำกำรพัฒนำ ผู้นำหมู่บ้ำน ผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน พัฒนำกร สร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และควำมมั่นใจในกำรดำเนนิ ชวี ติ ตำมแนวทำงเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. แกนนำและผู้นำหมู่บ้ำน ส่งเสริม สนับสนุน และติดตำมให้ครัวเรือนดำเนินกิจกรรมพัฒนำตำม แผนพัฒนำครัวเรือน กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมำณ หรือกิจกรรมที่ครัวเรือนสำมำรถดำเนินกำรเองได้ เช่น กำรจัดทำบัญชีครัวเรือน กำรทำควำมสะอำด กำรปรับภูมิทัศน์บ้ำนเรือน กำรคัดแยกขยะ กำรปลูกพืชผักสวนครัว เลยี้ งสัตว์ แปรรูปผลผลิตทด่ี ำเนนิ ในบำ้ น กำรลด ละ เลิกอบำยมขุ กำรร่วมกจิ กรรมสำธำรณประโยชน์ เป็นต้น ๓. ผู้นำกำรพัฒนำ ผู้นำหมู่บ้ำน ผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน พัฒนำกร ส่งเสริม สนับสนุนและร่วม ขบั เคลื่อนกิจกรรมกำรพัฒนำตำมแผนพัฒนำหมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพียง โดยเฉพำะ กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมำณ หรือกิจกรรมทห่ี มู่บ้ำนสำมำรถดำเนินกำรเองได้ เช่น กำรออกกำลังกำย กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีกำรประกอบ อำชีพ กำรจัดกิจกรรมบำเพ็ญสำธำรณประโยชน์ จิตอำสำ กำรร่วมแรงช่วยกันทำงำน กำรออมเพ่ือกำรสะสม ทุนสำหรบั กำรจัดสวสั ดกิ ำรในอนำคต เปน็ ต้น  กจิ กรรมทใี่ ช้งบประมาณกรมการพฒั นาชมุ ชน 1. ก่อนดำเนินกำรตำมแผนพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ที่ประชุมมอบหมำยภำรกิจในกำร ขับเคล่ือนแผนพัฒนำ และดำเนินกิจกรรม โครงกำรตำมแผน ตำมลำดับควำมสำคัญของปัญหำและควำม ตอ้ งกำร ทีมผู้นำ ผู้ส่งเสริมและผู้ท่ีรับผิดชอบในกำรบริหำรจัดกำรโครงกำรตำมแผน เตรียมกำร เช่น - จัดหำวสั ดุ อุปกรณ์ตำมโครงกำรฯ - ประสำนหนว่ ยงำนท่ีเก่ยี วข้องร่วมกิจกรรม (รวมทง้ั ผ้นู ำอำสำพัฒนำชมุ ชน) - ประสำนผ้นู ำและกำหนดวันดำเนนิ กำรตำมแผนพัฒนำหมบู่ ้ำนเศรษฐกิจพอเพยี ง - ประสำนวทิ ยำกร (ถำ้ มี) *** ท้ังน้ี กำรคัดเลือกกิจกรรมเพ่ือใช้งบประมำณดำเนินกำรตำมแผน ต้องคำนึงถึงโอกำสและ ควำมเป็นไปได้ที่สำมำรถจะตั้งกลุ่ม มีผลิตภัณฑ์หรือมีรำยได้อย่ำงต่อเนื่อง เพ่ือให้ผลกำรดำเนินโครงกำร มีประสิทธภิ ำพ และเป็นจุดเรม่ิ ต้นของกำรพฒั นำหม่บู ำ้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ระหวำ่ งกำรดำเนนิ กำร 2.1 ผู้นำกำรพฒั นำและครวั เรือนเป้ำหมำยดำเนนิ กจิ กรรมตำมทไ่ี ด้รับสนบั สนนุ งบประมำณ 2.2 ผู้นำกำรพัฒนำร่วมกับครัวเรือนเป้ำหมำย กำหนดทิศทำงกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำกลุ่ม ท่ีได้รับสนับสนุนงบประมำณ โดยพัฒนำกร (หรือวิทยำกร) ให้ควำมรู้ควำมเข้ำใจกระบวนกำร จัดต้ังกลุ่มและ วธิ กี ำรพัฒนำ กำรบรหิ ำรจดั กำรกล่มุ 2.4 ผู้นำกำรพัฒนำและครวั เรือนเป้ำหมำยดำเนินกำรจัดทำข้อมูลคณะกรรมกำรบริหำรกลุ่ม ระเบยี บกำรบริหำรจัดกำรกลมุ่ สวัสดิกำรกลุม่ แผนกำรขบั เคลอื่ นกำรดำเนินงำนกลมุ่ เป็นต้น ตวั อย่ำงกิจกรรม โครงกำรสำหรับใช้ขับเคล่ือนกจิ กรรมกำรน้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจ พอเพียงไปสู่กำรปฏิบัติของครอบครัวพัฒนำเป้ำหมำย และชยำยผลไปทุกครัวเรือนเต็มพื้นที่ ให้มีทัศนคติ และสร้ำงลักษณะนิสัยพ่ึงตนเอง ตำมบริบทและภูมิสังคมทุกครัวเรือนจะต้องปฏิบัติกิจกรรมในครัวเรือน ประกอบดว้ ย เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

27 1) สรำ้ งควำมมั่นคงทำงอำหำร โดยกำร (1) มีกำรปลูกผัก พืชสวนครัว เพื่อใช้เป็นประกอบอำหำรในชีวิตประจำวัน เพ่ือลด ค่ำใช้จ่ำยประจำวันตำมสภำพพน้ื ท่ีของครวั เรอื น (2) มีกำรเล้ียงสัตว์ท่ีเป็นอำหำรของครัวเรือน เช่น ไก่ เป็ด ปลำ กบ หรืออื่น ๆ ตำมที่สภำพของพืน้ ท่แี ตล่ ะครวั เรือนจะทำได้ (3) มีกำรแปรรูป ผลิตผลในบ้ำนเพ่ือเป็นกำรถนอมอำหำร และใช้ประโยชน์ของ ในครวั เรือนรูปแบบต่ำง ๆ 2) สรำ้ งสิ่งแวดลอ้ มให้ย่งั ยืน โดยกำร (1) มีกำรบริหำรจัดกำรขยะ ลดกำรใช้ผลิตภัณฑ์สร้ำงขยะ คัดแยกขยะ นำกลับมำใช้ซ้ำ หมกั ขยะเปียกเพ่อื เป็นปยุ๋ หรอื ถงั ขยะเปยี กลดโลกรอ้ น (2) มีกำรจัดสุขลักษณะในบ้ำน โดยกำรจัดบริเวณบ้ำน สะอำดเป็นระเบียบไม่เป็น แหล่งเพำะเชื้อโรค และพำหะนำโรค เช่น รั้วกินได้ ไม้ดอกไม้ประดับ สะดวกปลอดภัยในกำรใช้อุปกรณ์ ประกอบอำชีพ (3) มีกำรใช้ทรัพยำกรในบ้ำนอย่ำงคุ้มค่ำ ประหยัดและเกื้อกูลกัน เช่น น้ำจำกกำร ซักผำ้ นำไปรดต้นไม้ เปน็ ตน้ 3) สรำ้ งภูมิคุ้มกนั ทำงสังคม โดยกำร (1) มกี ำรปฏบิ ตั ศิ ำสนำกิจตำมพธิ ตี ำมควำมเช่ือเปน็ ประจำ มกี ำรแบ่งปันเออ้ื เฟอ้ื เจอื จำน ระหวำ่ งกนั (2) มีกำรเข้ำร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์สำธำรณะด้วยจิตอำสำอำสำสมัครเข้ำร่วม กิจกรรมเพือ่ สำธำรณะ ของหมบู่ ้ำนกำรปรบั ปรงุ ถนน คู คลองหรือกำรรว่ มกิจกรรมกำรพัฒนำหม่บู ำ้ นอ่นื ๆ (3) มีกำรออกกำลังกำยเสริมสุขภำพ เพื่อสุขภำพร่ำงกำยท่ีเข็งแรง ครัวเรือนต้องมี กำรออกกำลงั กำยในรูปแบบต่ำง ๆ เปน็ ประจำ 4) ในระดบั กลมุ่ และชุมชน ให้พจิ ำรณำดำเนินกำร ตำมศักยภำพ และควำมต้องกำรของ ครัวเรือน โดยส่งเสริมควำมร่วมมือจำกทุกฝ่ำยท่ีเกี่ยวข้อง ไม่ว่ำส่วนรำชกำร องค์กรเอกชน ตลอดจนสมำชิก ในชุมชนน้ันเป็นสำคัญ หำกมีควำมพร้อมในกำรดำเนินกำร เนื่องจำกผลิตผลท่ีได้จำกครัวเรือนมีมำกเพียง พอที่จะยกระดับกำรพัฒนำเป็นระดับก้ำวหน้ำ คือ กำรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม เพื่อร่วมกันดำเนินงำนในด้ำนต่ำง ๆ ดังน้ี (1) กำรผลิต ประชำชนควรร่วมมือกันในกำรผลิต โดยมีเป้ำหมำยรว่ มกัน เช่น กำรแบ่ง หน้ำท่ีกำรผลิต วตั ถุดบิ สำหรับกลุ่มเพ่ือแปรรูป เช่น กลุ่มน้ำพริก ต้องใชว้ ัตถดุ ิบหลำยชนิด ซ่ึงชุมชนปลูกได้เอง ให้สมำชิกปลูกเอง ในคุณภำพและปริมำณที่ควบคุมได้ กลุ่มผักปลอดสำร ทุกครัวเรือนปลูกผักต่ำง ๆ กัน มรี ะบบตรวจสอบแปลงปลูก ทำกำรตลำดด้วยกำรต้นรับพ่อค้ำเขำ้ มำรบั ซอ้ื ในหมู่บ้ำน โดยเฉพำะพ่อค้ำรำยยอ่ ย ทซ่ี ้ือไม่มำกแต่กลมุ่ มี ชนดิ ของผักหลำกหลำย สำมำรถนำไปขำยปลกี ได้ ในทันท่ี กลุ่มจัดเตรียมบรรจถุ ุงเตรียมไว้ (2) กำรตลำด เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรียมกำรต่ำง ๆ เพื่อกำรขำยผลผลิตให้ได้ ประโยชน์สูงสุด เช่น ส่งเสริมกำรจัดกำรตลำดเพื่อสังคม (Green Marketing) สนับสนุนกำรผลิต จำหน่ำย อำหำรปลอดภัย ส่งเสริมกำรตลำด เชน่ OTOP Trader, OUTLEL ชมุ ชน E-commerce, Online ฯลฯ หรือร่วมมือจัดซื้อข้ำวเปลือกตรงจำกเกษตรกรและมำสีเอง หรือร่วมมือกับ บริษัทเอกชน จัดกิจกรรมส่งเสรมิ สังคม (CSR) สำมำรถซ้ือผลผลติ หรือผลิตภัณฑ์จำกชมุ ชน ไปใช้ในโครงกำร ของบริษัท หรือจัดทำเป็นร้ำนสหกรณ์รำคำขำยส่ง ประชำชนในชุมชน สำมำรถซ้ือเคร่ืองอุปโภคบริโภคได้ ในรำคำตำ่ เพรำะรวมกันซอ้ื เปน็ จำนวนมำก เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

28 (3) กำรเป็นอยู่ ปัจจัยพื้นฐำนในกำรดำรงชีวิตท่ีมีควำมเป็นอยู่ท่ีดีพอสมควร กำรแบ่งปัน แลกเปล่ียน ส่ิงที่เหลือกิน เหลือใช้ เช่น จัดกิจกรรมในกำรสร้ำงสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Save the earth) เช่น ธนำคำรอำหำร ครัวชุมชน ธนำคำรพันธ์ุพืช แปลงปลูกรวม ฯลฯ อำหำรกำรกินต่ำง ๆ กะปิ นำ้ ปลำ เสอื้ ผ้ำ อื่น ๆ (๔) สวัสดิกำร ส่งเสริมกิจกรรมเพ่ือสร้ำงสวัสดิกำรของชุมชน จำกกำรสะสม ระดม ทุนในทุกรูปแบบ เช่น รำยได้จำกกำรบริหำรจัดกำรขยะ กำรสะสมทุนจำกกำรออม เพื่อใช้สำหรับช่วยเหลือ สมำชิก ผู้ด้อยโอกำสและขำดแคลนในรูปแบบต่ำง ๆ เช่น ค่ำใช้จ่ำยในกำรดูแลเด็ก กำรศึกษำ รักษำพยำบำล ดูแลคนป่วย คนชรำ เป็นต้น หรือจำกกำรทำธุรกรรมอ่ืน ๆ เช่น ป่ำชุมชนเพ่ือเป็นแหล่งอำหำรและเพิ่มควำม อดุ มสมบูรณ์ กำรปลูกไม่ในวนั ท่ลี ูกคลอดใชเ้ ป็นสวสั ดกิ ำรสำหรบั ปลูกบ้ำนในวันท่ีแต่งงำน เป็นต้น (5) กำรศึกษำ ชุมชนควรมีบทบำทในกำรสง่ เสริมกำรศึกษำ เช่น มีกองทุนเพ่ือกำรศึกษำ เลำ่ เรียนใหแ้ กเ่ ยำวชนของชมชนเอง (6) สังคมและศำสนำ ชุมชนควรเป็นที่รวมในกำรพัฒนำสังคมและจิตใจ โดยมี ศำสนำเป็นที่ยึดเหน่ียว ส่งเสริมกำรจัดกิจกรรมฟ้ืนฟู อนุรักษ์วัฒนธรรม เพื่ออำศัยเป็นศูนย์รวมสร้ำงควำม ร่วมมือในกำรพัฒนำ เช่น โครงกำรงดเหล้ำในงำนบุญ ลด ละ เลิก อบำยมุข กำรอนุรักษ์ทรัพยำกร ซึ่งต่อยอด ถงึ กำรจัดกจิ กรรมหม่บู ำ้ นทอ่ งเท่ยี วในเชิงประเด็นตำ่ ง ๆ 5. สรุปและประเมินผลกำรดำเนินงำน พร้อมท้ังรำยงำนผลกำรดำเนินงำนในระบบ BPM ภำยใน 7 วัน หลงั ดำเนนิ กำรแล้วเสรจ็ กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 3 ประเมนิ ผลการพัฒนาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง กิจกรรมยอ่ ยที่ 3.1 การจัดการความรแู้ ละประเมนิ ผลการพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง กจิ กรรม 3.1.1 ประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการถอดบทเรียนและประเมนิ ผลการพฒั นาหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลกำรพัฒนำ สรุปบทเรียนและค้นหำแนวทำง วิธีพัฒนำต่อยอดกำรส่งเสริม กำรพัฒนำหมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพียงทม่ี ีประสิทธิภำพ กลุ่มเป้าหมาย ผู้แทนครอบครัวพัฒนำ แกนนำหมู่บ้ำน ผู้แทนกลมุ่ /องค์กร/คุ้มบ้ำน ผู้แทนครัวเรือนอ่ืน ๆ และผทู้ ่มี ีสว่ นเกีย่ วข้องอยำ่ งนอ้ ย 30 คน วิธกี ารดาเนนิ งาน 1. สำนกั งำนพฒั นำชุมชนอำเภอ ๑.๑ สำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอ เตรียมกำรประชุมเชิงปฏิบัตกิ ำรในหมู่บ้ำนเศรษฐกจิ พอเพียง เตรียมควำมพร้อมผู้นำกำรประชุม ข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ในกำรประชุม เช่น ข้อมูลกำรดำเนินกิจกรรมในหมู่บ้ำน วัสดุอุปกรณ์ ผู้ร่วมกิจกรรม กำหนดเวลำในกำรดำเนินกำร สถำนท่ี พิจำรณำกลุ่มเป้ำหมำยท่ีเข้ำร่วมโครงกำร ส่ิงท่ีกลุ่มเป้ำหมำยต้องนำมำเพื่อเข้ำร่วมประชุม เช่น ข้อมูล สถำนกำรณ์ในปัจจุบัน ควำมเปล่ียนแปลงและ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้นในชุมชน ๑.๒ ประสำนงำนผู้เกี่ยวข้อง แจ้งกลุ่มเป้ำหมำยเพ่ือทรำบ เข้ำร่วมกำรประชุมฯ ตำมเวลำนัดหมำย ผ่ำนวิธีกำรต่ำง ๆ เช่น ทำหนังสือจำกอำเภอ ส่งถึงมือผู้รับพร้อมอธิบำยให้เห็นควำมจำเป็นและควำมสำคัญ ในกำรรว่ มประชมุ ฯ คร้ังนี้ ๑.๓ จัดประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ำรถอดบทเรียนและประเมินผล กำรพัฒนำหม่บู ำ้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑.๔ ประเมินผลกำรพัฒนำ แบบมีส่วนร่วมโดยใช้กระบวนกำรประเมินควำม “อยู่เย็น เป็นสุข” หรือควำมสุขมวลรวมของหมู่บ้ำน/ชุมชน (GVH) เป็นคร้ังที่ ๒ โดยใช้ ข้อมูลเกณฑ์กำรประเมินในคร้ังท่ี ๑ ที่ได้ ดำเนินกำรประเมินไว้ก่อนกำรพัฒนำ เปรียบเทียบผลกำรพัฒนำ ว่ำเปล่ียนแปลงไปอย่ำงไร (ตำมเกณฑ์ของ กพร. เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

29 ต้องเพ่ิมข้ึน) บรรลุเป้ำหมำย หรือไม่ วิธีกำรดำเนินกำรเหมำะสม คุ้มค่ำมีประสิทธิภำพหรือไม่ รวมท้ัง อำจประเมินผลระดบั กำรพัฒนำของหมู่บำ้ น ตำมเกณฑ์ของกระทรวงมหำดไทย (4 ด้ำน 23 ตวั ชี้วัด) โดยระบุ ผลกำรดำเนินงำนแยกรำยตวั ช้วี ดั ตำมแบบประเมนิ ผลที่ กำหนดเพ่ือเปรียบเทยี บผลกับก่อนกำรพัฒนำ (ครงั้ ท่ี 1) ประเมินผลสำเร็จกำรขับเคล่ือนกำรพัฒนำหมู่บ้ำนและชุมชนท้องถ่ินตำมหลักปรัชญำ ของเศรษฐกิจพอเพียงครัวเรือน ในแต่ละหมู่บ้ำนมีจำนวนครัวเรือนที่ปฏิบัติกิจกรรมในครัวเรือนผ่ำนเกณฑ์ รอ้ ยละ ๗๐ (ระดบั ด)ี รอ้ ยละ ๘๐ (ระดับดมี ำก) ร้อยละ ๙๐ (ระดับดเี ด่น) โดยใชเ้ กณฑค์ วำมสำเร็จ ดงั นี้ แตล่ ะดำ้ นดำเนินกิจกรรมอยำ่ งน้อย 2 กิจกรรม ประกอบด้วย ๑. สรำ้ งควำมม่ันคงทำงอำหำร ประกอบด้วย 1) มีกำรปลูกผัก พืชสวนครัว เพ่ือใช้เป็นประกอบอำหำรในชีวิตประจำวัน เพ่ือลด ค่ำใชจ้ ่ำยประจำวนั ตำมสภำพพื้นทข่ี องครวั เรือน 2) มีกำรเลี้ยงสัตว์ที่เป็นอำหำรของครัวเรือน เช่น ไก่ เป็ด ปลำ กบ หรืออื่น ๆ ตำมที่ สภำพของพื้นที่แต่ละครวั เรือนจะทำได้ 3) มีกำรแปรรูป ผลิตผลในบ้ำนเพ่ือเป็นกำรถนอมอำหำร และใช้ประโยชน์ของใน ครวั เรือนรูปแบบตำ่ ง ๆ ๒. สร้ำงส่ิงแวดลอ้ มให้ยงั่ ยนื ประกอบดว้ ย 1) มีกำรบริหำรจัดกำรขยะ ลดกำรใช้ผลิตภัณฑ์สร้ำงขยะ คัดแยกขยะ นำกลับมำใช้ซ้ำ หมักขยะเปยี กเพือ่ เปน็ ป๋ยุ หรอื ถังขยะเปียกลดโลกรอ้ น 2) มีกำรจัดสุขลักษณะในบ้ำน โดยกำรจัดบริเวณบ้ำน สะอำดเป็นระเบียบไม่เป็น แหล่งเพำะเช้ือโรค และพำหะนำโรค เช่น รั้วกินได้ ไม้ดอกไม้ประดับ สะดวกปลอดภัยในกำรใช้อุปกรณ์ ประกอบอำชีพ 3) มีกำรใช้ทรัพยำกรในบ้ำนอย่ำงคุ้มค่ำ ประหยัดและเกื้อกูลกัน เช่น น้ำจำกกำรซักผ้ำ นำไปรดต้นไม้ เปน็ ต้น 3. สรำ้ งภูมิคมุ้ กนั ทำงสงั คม ประกอบดว้ ย 1) มีกำรปฏิบัติศำสนำกิจตำมพิธี ตำมควำมเชื่อเป็นประจำ มีกำรแบ่งปันเอ้ือเฟื้อ ระหวำ่ งกนั 2) มีกำรเข้ำร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์สำธำรณะด้วยจิตอำสำอำสำสมคั รเขำ้ รว่ ม กิจกรรมเพือ่ สำธำรณะของหมู่บ้ำนกำรปรบั ปรงุ ถนน คู คลองหรอื กำรรว่ มกจิ กรรมกำรพฒั นำหมบู่ ำ้ นอน่ื ๆ 3) มีกำรออกกำลังกำยเสริมสุขภำพ เพ่ือสุขภำพร่ำงกำยท่ีเข็งแรง ครัวเรือนต้องมี กำรออกกำลงั กำยในรูปแบบตำ่ ง ๆ เปน็ ประจำ ๑.๕ ผู้นำกำรประชุม นำพิจำรณำผลกำรประเมินจำกคะแนนประเมินแต่ละด้ำน ถึงสำเหตุท่ีทำ ให้บรรลุผล ทำอย่ำงไร ถือเป็นวิธีกำรปฏิบัติท่ีมีประสิทธิภำพท่ีสุดหรือไม่ ต้องปรับปรุงส่ิงใดเพ่ือหรือไม่ ต้องทำ กจิ กรรมหรือวิธีกำรอย่ำงไรต่อไป ๑.๖ สรุปบทเรียนและค้นหำแนวทำง วิธีพัฒนำต่อยอดกำรส่งเสริมกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจ พอเพียงทม่ี ปี ระสิทธิภำพ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้ำนเป้ำหมำย จัดทำเอกสำรบทเรียน วิธีกำรปฏิบัติที่ประสบ ควำมสำเรจ็ ไวเ้ ป็นควำมรู้ แนวทำงในกำรปรับปรุงกำรดำเนินงำนเพ่ือกำรพัฒนำหมู่บ้ำนตอ่ ไป และกำรถ่ำยทอด ควำมรู้ เป็นแบบอย่ำงแก่หมู่บ้ำนอื่นเพ่ือขยำยผลลต่อไป พร้อมท้ังสรุปผลกำรดำเนินงำนกำรพัฒนำ หมบู่ ้ำนในภำพรวมจัดทำเป็นเอกสำรควำมรู้ อยำ่ งน้อย 1 ฉบบั ตำมรปู แบบท่กี รมฯ กำหนด เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

30 3. ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหห้ มู่บ้ำนเป้ำหมำย จัดทำป้ำยหม่บู ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงตำมแบบทก่ี รมฯ กำหนด 4. มอบหมำยภำรกิจ ผู้แทนหมู่บ้ำน ใช้แผนพัฒนำ ประสำนกำรบูรณำกำรเพ่ือต่อยอดขยำยผล กำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง โดยผ่ำนกลไกของคณะกรรมกำรขับเคล่ือนกำรพัฒนำหมู่บ้ำนและชุมชน ทอ้ งถ่ินตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี งจังหวัด/อำเภอ/ตำบล 5. สรปุ และประเมนิ ผลกำรดำเนินงำน พรอ้ มทงั้ รำยงำนผลกำรดำเนินงำนในระบบ BPM ภำยใน 7 วนั ตัวช้ีวัดกิจกรรม ร้อยละ 90 ของหมู่บ้ำนที่ได้รับกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง มีควำมสขุ มวลรวมเพิม่ ขึน้ กิจกรรมยอ่ ยท่ี ๓.1.2 คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชมุ ชนดเี ดน่ ประจาปี 2562 วัตถุประสงค์ เพอ่ื คัดสรรกจิ กรรมพัฒนำชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด สำหรบั เข้ำรับพระรำชทำนโลร่ ำงวัล เพอ่ื เชิดชูเกียรตแิ ละเพอ่ื จัดกำรควำมรู้ รวมท้งั สร้ำงเครอื ขำ่ ยกำรเรียนร้ใู นกระบวนกำรบริหำรจดั กำรชุมชน กลุม่ เปา้ หมาย 1. หมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง : รำงวัลโล่พระรำชทำนสมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จ พระเทพรตั นรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี จำนวน 76 รำงวัล 2. ผู้นำอำสำพัฒนำชมุ ชน (ผูน้ ำ อช.) : รำงวลั “สงิ หท์ อง” จำนวน 152 รำงวลั 3. องคก์ รชมุ ชนแกนหลักสำคญั ในกำรพัฒนำหมู่บำ้ น : รำงวลั “สงิ ห์ทอง” จำนวน 76 รำงวัล 4. ศนู ย์ประสำนงำนองค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) : รำงวัล “สงิ หท์ อง” จำนวน 76 รำงวลั 5. ครัวเรือนสัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำงระดับภำค : รำงวัล “สิงห์ทอง” จำนวน 12 รำงวัล (4 ภำค ๆ ละ 3 รำงวัล) วิธีการดาเนินงาน 1. สำนักงำนพัฒนำชุมชนจงั หวดั 1.1 ศึกษำรำยละเอียดแนวทำงกำรคัดสรรกจิ กรรมพฒั นำชมุ ชนดีเดน่ ระดับจงั หวดั ทั้ง 5 ประเภท ตำมแนวทำงท่กี รมกำรพัฒนำชมุ ชนกำหนด 1.2 แต่งต้งั คณะกรรมกำร จังหวัดดำเนินกำรสรรหำบุคคลเพ่ือแต่งต้ังเป็นคณะกรรมกำรคัดสรรกิจกรรมพัฒนำ ชุมชนดเี ด่นระดับจงั หวดั ประกอบดว้ ย - ส่วนรำชกำร/หน่วยงำนรัฐวิสำหกิจ/ผู้แทนภำคประชำชน (ผู้นำหมู่บ้ำน/กิจกรรม พัฒนำชุมชนดีเด่นในปีที่ผ่ำนมำ) หรือผู้ทรงคุณวุฒิในสำขำต่ำง ๆ เป็นต้น หรืออำจแต่งต้ังคณะทำงำน เพื่อพิจำรณำกลั่นกรองฯ ให้เหลอื จำนวนหน่ึงกอ่ น แล้วเสนอคณะกรรมกำรฯ พิจำรณำตดั สนิ อีกครั้งหนึ่งตำมที่ จังหวัดเหน็ ว่ำเหมำะสม ท้ังน้ี ควรแจ้งให้ทุกอำเภอทรำบลว่ งหน้ำดว้ ย - สำหรับกำรคัดสรรครัวเรือนสัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำงระดับภำค ให้พิจำรณำแต่งตั้ง คณะกรรมกำรพัฒนำสตรีจังหวัด (กพสจ.) ร่วมเป็นกรรมกำรพิจำรณำคัดเลือกครัวเรือนสัมมำชีพตัวอย่ำง ตำมเกณฑ์กำรประเมนิ ท่กี ำหนด จังหวัดละ 1 ครัวเรือน 1.3 ประชมุ คณะกรรมกำร จังหวัดจัดประชุมคณะกรรมกำรคัดสรรกิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด เพ่ือร่วมกัน จัดทำแผนดำเนินงำน กำหนดกำรตรวจเยี่ยม และหลักเกณฑ์ในกำรคัดสรรฯ ตำมแนวทำงที่กรมกำรพัฒนำ ชุมชนกำหนด โดยแบง่ ออกเป็น 5 ประเภท ดงั นี้ เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

31 1) หมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง “อย่เู ย็น เป็นสุข” ดเี ดน่ ระดับจังหวัด ใหพ้ จิ ำรณำคัดเลอื กจำก 1.1) หมู่บ้ำนท่ีได้รับงบประมำณสนับสนุนจำกกรมกำรพัฒนำชุมชน และจังหวัด ได้ประกำศเป็นหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบท่ีกรมกรมกำรพัฒนำชุมชนสนับสนุนเป็นอันดับแรก (ก่อนปี 2563) หรือหมู่บ้ำนท่ีหน่วยงำนอ่ืน ๆ สนับสนุนกำรพัฒนำตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงอย่ำงต่อเนื่อง โดยต้องผ่ำนกำรประเมินตวั ชี้วัดหมูบ่ ้ำนเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบของกรมกำรพฒั นำชมุ ชน 1.2) มีกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ประชำชนในหมู่บ้ำนมีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเป็น รูปธรรม 1.3) มีกิจกรรมท่ีสง่ เสริมกำรสร้ำงสมั มำชีพชมุ ชนท่ีเป็นรปู ธรรมและสำมำรถตอ่ ยอดได้ เช่น กำรยกระดับรำยได้ของครัวเรือนเป้ำหมำย มีกลุ่มอำชีพเพิ่มข้ึน สำมำรถพัฒนำเป็นกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบกำร OTOP หรอื สำมำรถเชื่อมโยงกับบรษิ ัท ประชำรฐั รักสำมัคคี จำกัด ได้ 1.4) เป็นหมู่บ้ำนที่สำมำรถเป็นต้นแบบในกำรบริหำรจัดกำรชุมชนเพื่อพ่ึงตนเองได้ โดยคนในชุมชนมสี ว่ นรว่ มในกำรบริหำรจัดกำร 1.5) หมู่บ้ำนที่เคยได้รับรำงวัลดีเด่นแล้วให้คงรักษำสถำนะดีเด่นไว้เป็นเวลำ 5 ปี จงึ จะมีสทิ ธเ์ิ ขำ้ รับกำรคดั เลอื กในระดบั จังหวัดได้อีก 1.6) จังหวัดสำมำรถกำหนดหลักเกณฑ์กำรคัดสรรเพิ่มเติมได้ตำมควำมเหมำะสม โดยพิจำรณำให้สอดคล้องกับแนวทำงกำรคัดเลือกหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ และพิจำรณำให้ ครอบคลุมกำรดำเนินกิจกรรมพัฒนำชุมชนด้ำนต่ำง ๆ รวมทั้งกำรส่งเสริมกำรสร้ำงสัมมำชีพชุมชน ตลอดจน มีกำรใช้ขอ้ มลู สำรสนเทศในกำรจัดทำแผนชมุ ชนได้อย่ำงเหมำะสม รวมถงึ พิจำรณำจำกกิจกรรมตำมยุทธศำสตร์ ของกลุ่มจังหวัด ยุทธศำสตร์ของจังหวัดหรือกิจกรรมตำมนโยบำยของหน่วยงำนรำชกำรต่ำง ๆ โดยจังหวัดสำมำรถ กำหนดองค์ประกอบหรือตัวชว้ี ัดหลัก-ยอ่ ย เพ่ิมเติม หรอื ปรับปรุงได้ตำมควำมเหมำะสม พรอ้ มทั้งให้ค่ำคะแนน ใหค้ รอบคลุมทกุ มิติ หรอื นำระบบมำตรฐำนกำรพัฒนำชุมชน (มชช.) มำใช้ในกำรพิจำรณำประกอบกำรคัดสรรฯ 2) ประเภทผูน้ ำอำสำพฒั นำชมุ ชน (ผ้นู ำ อช.) ใหพ้ จิ ำรณำคัดเลือกจำก 2.1) ต้องเป็นผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน (ผู้นำ อช.) ที่เป็นแกนนำในกำรพัฒนำหมู่บ้ำน ตำบล โดยเป็นผู้ริเร่ิม สร้ำงสรรค์ ประสำนงำน และดำเนินกำรพัฒนำร่วมกับชำวบ้ำน และสนับสนุนกำร ปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำท่ีพัฒนำชุมชน เพื่อให้กำรพัฒนำหมู่บ้ำนตำบล บรรลุเป้ำหมำยอย่ำงมีประสิทธิภำพ มกี ำรทำงำนโดดเดน่ เปน็ ท่ยี อมรบั ของสังคม แยกเปน็ ชำย 1 คน หญงิ 1 คน 2.2) มีบทบำทตำมภำรกิจหลักของผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน (ผู้นำ อช.) ตำมแนวทำง กำรส่งเสริมโดยกรมกำรพัฒนำชุมชน และต้องหน้ำท่ีปฏิบัติงำนในหมู่บ้ำนท่ีได้รับกำรคัดเลือก ตำมระเบียบ กระทรวงมหำดไทย วำ่ ด้วยกำรอำสำพฒั นำชมุ ชน ปี 2547 (ข้อ 16) 2.3) ผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน (ผู้นำ อช.) ท่ีเคยได้รับรำงวัลดีเด่นแล้ว ให้คงรักษำ สถำนะดีเด่นไวเ้ ปน็ เวลำ 5 ปี จึงจะมีสทิ ธิ์เข้ำรับกำรคดั เลือกในระดบั จังหวดั ได้อีก 2.4) คณะกรรมกำรฯ สำมำรถกำหนดหลักเกณฑ์กำรคัดสรรเพ่ิมเติมได้ตำมควำม เหมำะสม หรือนำระบบมำตรฐำนกำรพฒั นำชุมชน (มชช.) มำใช้ในกำรพิจำรณำประกอบกำรคัดสรรฯ 3) ประเภทองค์กรชมุ ชนแกนหลักสำคัญในกำรพัฒนำหมบู่ ้ำน ให้พิจำรณำคดั เลือกจำก 3.1) กลุ่ม/องค์กรท่ีกรมกำรพัฒนำชุมชนเป็นหน่วยงำนหลักในกำรสนับสนุน เช่น คณะกรรมกำรพัฒนำสตรีหมู่บ้ำน (กพสม.) กลุ่มออมทรัพย์เพื่อกำรผลิต คณะกรรมกำรโครงกำรแก้ไข ปัญหำควำมยำกจน (กข.คจ.) กองทุนแม่ของแผ่นดิน ศูนย์เรียนรู้และขับเคล่ือนปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง กลุม่ อำชพี เปน็ ตน้ เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

32 3.2) กิจกรรมพัฒนำชุมชน ท่ีเคยได้รับรำงวัลดีเด่นแล้ว ให้คงรักษำสถำนะดีเด่นไว้ เปน็ เวลำ 5 ปี จึงจะมีสิทธิ์เขำ้ รบั กำรคดั เลือกในระดับจงั หวดั ไดอ้ ีก 3.3) จังหวัดสำมำรถกำหนดหลักเกณฑ์กำรคัดสรรเพ่ิมเติมได้ตำมควำมเหมำะสม หรอื นำระบบมำตรฐำนกำรพฒั นำชมุ ชน (มชช.) มำใชใ้ นกำรพจิ ำรณำประกอบกำรคัดสรรฯ 4) ประเภทศูนย์ประสำนงำนองค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ให้พจิ ำรณำคดั เลอื กจำก 4.1) ศูนย์ประสำนงำนองค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ที่เข้มแข็ง สำมำรถ ประสำนบูรณำกำรแผนชุมชนไปสู่กำรปฏิบัติตำมภำรกิจศูนย์ประสำนงำนองค์กำรชุมชน (ศอช.) ให้เป็นที่ ประจกั ษอ์ ยำ่ งเป็นรูปธรรม และเป็นแหล่งศึกษำดงู ำนได้ 4.2) ผ่ำนตัวชี้วัดและเกณฑ์กำรพิจำรณำประกอบกำรจัดระดับกำรพัฒนำศูนย์ ประสำนงำนองค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) 5 หมวด 23 ตวั ชีว้ ดั ตอ้ งได้คะแนนรวมอยู่ในระดับ 3 (เขม้ แข็ง) 4.3) ศูนย์ประสำนงำนองค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ท่ีเคยได้รับรำงวัลดีเด่นแล้ว ใหค้ งรกั ษำสถำนะดเี ด่นไวเ้ ปน็ เวลำ 5 ปี จึงจะมสี ิทธ์ิเขำ้ รบั กำรคัดเลอื กในระดับจังหวดั ได้อกี 4.4) จังหวัดสำมำรถกำหนดหลักเกณฑ์กำรคัดสรรเพิ่มเติมได้ตำมควำมเหมำะสม หรือนำระบบมำตรฐำนกำรพฒั นำชมุ ชน (มชช.) มำใชใ้ นกำรพิจำรณำประกอบกำรคัดสรรฯ 5) ประเภทครวั เรอื นสัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำงระดับภำค ใหพ้ จิ ำรณำคัดเลือกจำก 5.1) จังหวัดพิจำรณำจัดตั้งคณะทำงำนคัดเลือกโดยให้คณะกรรมกำรสตรีมีบทบำท ในกำรคดั เลอื ก 5.2) เป็นครัวเรอื นสัมมำชีพชุมชนตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้ำน เป้ำหมำยสมั มำชพี ชุมชนที่ยังไมเ่ คยไดร้ ับรำงวลั ครัวเรือนสมั มำชพี ชมุ ชนตัวอยำ่ งระดับภำค 5.3) จังหวัดประกำศเป็นครัวเรือนที่ได้รับคัดลือกตำมเกณฑ์ประเมินครัวเรือน สัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำง ให้เป็นครัวเรือนสัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำงของจังหวัด ๆ ละ 1 ครัวเรือน และส่งรำยชื่อ ให้คณะกรรมกำรพัฒนำสตรีภำคดำเนินกำรพิจำรณำคัดเลือกตำมเกณฑ์ประเมินและประกำศผลกำรคัดเลือก ครัวเรือนท่ีได้รับคัดเลือกให้เป็นครัวเรือนสัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำงระดับภำค ๆ ละ 3 ครัวเรือน รวม 12 ครัวเรือน สง่ รำยช่ือให้กรมฯ ทรำบเพอ่ื รบั รำงวลั 5.4) จังหวัดสำมำรถกำหนดหลักเกณฑ์กำรคัดสรรเพิ่มเติมได้ตำมควำมเหมำะสม หรอื นำระบบมำตรฐำนกำรพัฒนำชมุ ชน (มชช.) มำใช้ในกำรพิจำรณำประกอบกำรคดั สรรฯ 1.4 แจ้งแนวทำงกำรคัดสรรฯ และแผนกำรดำเนินงำน กำหนดกำรตรวจเย่ียมให้ระดับ อำเภอทรำบ 1.5 ดำเนินกำรคัดสรรฯ ตำมแผนกำรดำเนินงำนท่ีกำหนด และติดตำมผลควำมก้ำวหน้ำของ ระดบั อำเภอ 1.6 ประกำศผลกำรคัดสรรกจิ กรรมพัฒนำชุมชนดเี ดน่ ระดับจังหวดั ดังนี้ 1) กำรประกำศรำงวัลประเภทท่ี 1 - 4 ให้จัดทำเป็นประกำศของจังหวดั และจดั ทำ ใบประกำศเกียรติคุณ หรือโล่รำงวัลมอบให้หมู่บ้ำนฯ และกิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเด่น โดยจัดพิธีมอบรำงวัลใน กำรประชุมหวั หนำ้ สว่ นรำชกำรระดับจงั หวัดหรือในกิจกรรมอื่น ๆ ตำมทจี่ ังหวดั เห็นว่ำเหมำะสม 2) กำรประกำศรำงสำหรับประเภทที่ 5 ให้ส่งข้อมูลครัวเรือนสัมมำชีพชุมชน ตัวอย่ำงระดับจังหวัด ให้สำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัดที่เป็นท่ีต้ังของคณะกรรมกำรพัฒนำสตรีภำค (กพสภ.) ภำยในเดือนพฤษภำคม 2563 และมอบวัสดุ อุปกรณ์ เพ่ือสนับสนุนกำรประกอบอำชีพแก่ครัวเรือนสัมมำชีพ ชมุ ชนตวั อย่ำง จำนวน 5,000 บำท เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

33 1.7 แจ้งอำเภอดำเนินกำรถอดบทเรียนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมพัฒนำชุมชน ดีเด่นระดับจังหวัด โดยให้จัดทำเฉพำะประเด็นสำคัญ โดดเด่น และมีภำพประกอบ ตำมแบบฟอร์มที่กำหนด ส่งให้จังหวัดและจังหวัดจัดส่งให้กรมฯ พร้อมสำเนำประกำศฯ ของจังหวัด และรำยงำนผลกำรคัดสรรฯ ตำมแบบฟอร์มท่กี ำหนด ภำยในวนั ที่ 30 มิถุนำยน 2563 ในกจิ กรรมทกุ ประเภท 2. สำนักงำนพฒั นำชมุ ชนอำเภอ 2.1 ประชำสัมพันธ์และช้ีแจงแนวทำงกำรคัดสรรกิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเด่น โดยกำรจัดเวที ประชำคมในหมบู่ ำ้ น หรือเวทีกำรประชมุ สว่ นรำชกำรตำ่ ง ๆ 2.2 พิจำรณำคัดเลือกกิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเด่น ที่มีคุณสมบัติตำมแนวทำงกำรคัดสรรฯ ท่ีจงั หวดั แจง้ จำนวน 5 ประเภท ๆ ละ 1 กิจกรรม และแจง้ รำยชอ่ื ส่งใหจ้ งั หวดั เพ่ือจดั ทำกำหนดกำรตรวจเย่ยี ม 2.3 อำเภอประสำนกลุ่มเป้ำหมำยเพื่อเตรียมควำมพร้อมในกำรคัดสรรฯ ตำมประเภทรำงวัล ดังน้ี 2.4 แจ้งผลกำรคัดสรรฯ ให้กับผนู้ ำชุมชนที่ชนะเลศิ และดำเนินกำรถอดบทเรียนหมู่บ้ำนและ กิจกรรมพัฒนำชุมชนดเี ด่นระดับจังหวดั 2.5 ประสำนกลุ่มเป้ำหมำย ประกอบด้วย หมู่บำ้ น กลุ่ม องค์กรชุมชน และศูนย์ประสำนงำน องค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ดีเด่นระดับจังหวัด จัดทำป้ำยแสดงไว้ท่ีหมู่บ้ำน/ที่ทำกำรกลุ่ม องค์กร ชุมชน และเครือข่ำยองค์กรชุมชน ตำมควำมเหมำะสม เพ่ือสร้ำงควำมภำคภูมิใจและประชำสัมพันธ์ขยำยผล กำรสร้ำงควำมเขม้ แข็งใหช้ ุมชนต่อไป กจิ กรรมย่อยท่ี ๓.1.3 สัมมนาผูน้ าองค์การเครือขา่ ยพฒั นาชุมชนดเี ดน่ วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ผู้นำชุมชนดีเด่นทุกคนได้เกิดควำมภำคภูมิใจอย่ำงสูงสุดด้วยควำมสำนึกในพระมหำ กรณุ ำธิคณุ และเทดิ ทูนสถำบนั พระมหำกษัตรยิ ์ ๒. เพ่ือเตรียมควำมพร้อมให้แก่ผู้นำชุมชนดีเด่นทกุ คนในกำรเข้ำร่วมพิธีกำรเข้ำเฝ้ำทลู ละอองพระบำท สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี ให้ดำเนินไปด้วยควำมเป็น ระเบยี บเรียบร้อยอยำ่ งทีส่ ุด ๓. เพ่ือให้ผู้นำชุมชนดีเด่นทุกคน ได้รับทรำบแนวนโยบำยกำรดำเนินงำนท่ีสำคัญของกรมกำรพัฒนำ ชุมชน รวมท้ังองค์ควำมรู้ เทคนิค ประสบกำรณ์กำรทำงำนด้ำนต่ำง ๆ ท่ีสำมำรถนำไปปรับใช้ในกำรพัฒนำตนเอง พฒั นำกลมุ่ องคก์ ร เครือข่ำย และชมุ ชน เพ่อื ให้กำรทำงำนพัฒนำชมุ ชนมปี ระสิทธิภำพมำกย่ิงข้ึน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๔50 คน ประกอบด้วย ๑. ผนู้ ำหมูบ่ ำ้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง “อยเู่ ย็น เป็นสุข” ดเี ดน่ ระดับจังหวดั ประจำปี 2562 จำนวน ๗๖ คน ๒. ผนู้ ำกจิ กรรมพฒั นำชมุ ชนดีเดน่ ระดบั จังหวัด ประจำปี 2562 จำนวน ๓๐๔ คน ไดแ้ ก่ ๒.๑ ผ้นู ำอำสำพัฒนำชุมชน (ผู้นำ อช.) ดีเดน่ ชำยและหญงิ จำนวน ๑๕๒ คน ๒.๒ ผู้นำกลุ่ม/องคก์ รชมุ ชนแกนหลกั สำคัญในกำรพัฒนำหม่บู ้ำนดีเด่น จำนวน ๗๖ คน ๒.๓ ผ้นู ำศูนยป์ ระสำนงำนองคก์ ำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ดเี ด่น จำนวน ๗๖ คน 3. ผนู้ ำครวั เรือนสมั มำชพี ชมุ ชนตวั อยำ่ งระดับภำค ประจำปี ๒๕๖2 จำนวน ๑๒ คน ๔.ประธำนเครือขำ่ ยองคก์ ำรพฒั นำชมุ ชน (ผูแ้ ทนสมำพนั ธ์ฯ/สมำคมฯ) จำนวน 10 คน 5. เจำ้ หน้ำที่พัฒนำชมุ ชน จำนวน 48 คน เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

34 วิธีการดาเนินงาน  ระดบั กรม 1. กรมฯ มีหนังสือถึงปลัดกระทรวงมหำดไทย เพื่อนำเรียนรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย และ ผ่ำนหนังสือถึงรำชเลขำนุกำรในพระองค์สมเด็จพระกนิษฐำธิรำชเจ้ำ กรมสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี เพอ่ื ขอพระรำชทำนพระรำชวโรกำสเขำ้ เฝ้ำทูลละอองพระบำท 2. ขออนุมัติโครงกำรฯ ปรับรำยละเอียดค่ำใช้จ่ำยตำมโครงกำรฯ และขออนุมัติดำเนินงำน ขออนุมตั ิจัดซื้อจดั จ้ำง ขออนมุ ัตไิ ปรำชกำร และแจ้งจังหวดั โอนจดั สรรงบประมำณ 3. จัดทำกำหนดกำรเขำ้ เฝ้ำฯ รำยชื่อผ้เู ขำ้ เฝำ้ ฯ สำเนำคำกรำบบังคมทูล ฯลฯ 4. เรียนเชิญผู้บริหำรกระทรวงมหำดไทย และคณะผู้บริหำรกรมกำรพัฒนำชุมชน รวมทั้ง ประธำนชมรมแมบ่ ำ้ นพฒั นำชมุ ชน รว่ มเขำ้ เฝ้ำฯ ตำมกำหนดกำร 5. เชิญชวนสมทบเงนิ ทลู เกล้ำทลู กระหม่อมฯเพ่ือโดยเสดจ็ พระรำชกุศลตำมพระรำชอัธยำศัย 6. แจ้งจังหวัดเพื่อประสำนแจ้งกลุ่มเป้ำหมำย รวมทั้งประธำนเครือข่ำยองค์กำรพัฒนำชุมชน (ผแู้ ทนสมำพนั ธ์ฯ/สมำคมฯ) เขำ้ ร่วมโครงกำรฯ และร่วมเขำ้ เฝำ้ ฯ ตำมกำหนดกำร 7. ประสำนกำรดำเนินงำนกับหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ขอรับกำรสนับสนุนวิทยำกร จำกกรมวงั /ประสำนรถตำรวจนำขบวน ประสำนสถำนทกี่ ำรจดั กจิ กรรม 8. แต่งตั้งคณะกรรมกำรอำนวยกำรและคณะทำงำน 9. ประชมุ คณะกรรมกำรอำนวยกำรและคณะทำงำน เพื่อเตรยี มควำมพร้อมก่อนกำรดำเนนิ งำน 10. ดำเนินงำนตำมข้ันตอนตำ่ ง ๆ ตำมโครงกำรฯ ดังนี้ 10.1 กำรบรรยำยและมอบนโยบำยให้ควำมรู้เพื่อพัฒนำผู้นำ ตำมหัวข้อที่เหมำะสมตำม สถำนกำรณ์ 10.2 กำรบรรยำย และซักซ้อม ระเบียบวิธีปฏิบัติตนในกำรเข้ำเฝ้ำฯ โดยวิทยำกรจำก สำนกั พระรำชวงั 10.3 กำรแบ่งกลมุ่ เพ่ือซักซ้อมระเบียบวิธปี ฏิบตั ิตนในกำรเขำ้ เฝ้ำฯ 11. สรปุ และประเมินผลกำรดำเนินงำนโครงกำรฯ ระดบั จังหวดั 1. สำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัดแจ้งประสำนสำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอท่ีมีกลุ่มเป้ำหมำย เข้ำร่วมโครงกำรฯ ตำมกำหนดกำรและแนวทำงท่ีกรมฯ กำหนด 2. รวบรวมรำยชื่อจำกสำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอ ตำมข้อ 1. พร้อมข้อมูลตำมแบบรำยงำน ขอ้ มูลรวบรวมสง่ ให้กรมฯ ภำยในระยะเวลำทก่ี ำหนด  ระดบั อาเภอ 1. มอบหมำยเจ้ำหน้ำท่ีผู้รับผิดชอบเตรียมข้อมูลและนัดหมำยกลุ่มเป้ำหมำยเข้ำร่วมโครงกำรฯ ตำมวัน เวลำ และสถำนทีท่ ่กี รมฯ กำหนด 2. แจ้งรำยช่ือพร้อมรำยงำนข้อมูลตำมแบบรำยงำนข้อมูล จัดส่งให้สำนักงำนพัฒนำชุมชน จังหวัดภำยในระยะเวลำทก่ี ำหนด เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

35 กจิ กรรมย่อยที่ ๓.1.4 มหกรรมรวมพลงั คนดแี หง่ แผ่นดิน วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้นำชุมชนดีเด่นทุกคนได้เกิดควำมภำคภูมิใจอย่ำงสูงสุดด้วยควำมสำนึกในพระมหำ กรณุ ำธิคุณและเทิดทูนสถำบันพระมหำกษัตริย์ และได้น้อมนำหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทำง ในกำรดำเนนิ ชีวิตตำมรอยเบอ้ื งพระยุคลบำท 2. เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติและประกำศเกียรติคุณหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่นระดับจังหวัด และกิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด ประจำปี ๒๕๖3 ได้แก่ ผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน (ผู้นำ อช.) ดีเด่นชำยและหญิง กลุ่ม/องค์กรชุมชนแกนหลักสำคัญในกำรพัฒนำหมู่บ้ำนดีเด่น และศูนย์ประสำนงำน องค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ดีเด่น รวมท้ังครัวเรือนสัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำงระดับภำค ในกำรเผยแพร่ ผลงำนให้เปน็ ทีป่ ระจักษแ์ ก่สำธำรณชนท้งั ในและนอกชมุ ชน 3. เพ่ือสร้ำงเครือข่ำยกำรเรียนรู้ และส่งเสริมให้มีเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบกำรณ์ในกำร ปฏิบัติงำน พัฒนำชุมชน และกิจกรรมส่งเสริมกำรสร้ำงสัมมำชีพชุมชน ระหว่ำงผู้นำชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครือข่ำยพัฒนำชุมชนดีเด่น ภำคีกำรพัฒนำ และเจ้ำหน้ำท่ีพัฒนำชุมชน เพ่ือนำไปสู่กำรสร้ำงมำตรฐำนกำร บริหำรจัดกำรชมุ ชนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพย่ิงขึ้น กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๔50 คน ประกอบด้วย ๑. ผูน้ ำหมู่บำ้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง “อยูเ่ ยน็ เปน็ สุข” ดเี ดน่ ระดบั จงั หวัด ประจำปี ๒๕๖2 จำนวน ๗๖ คน 2. ผู้นำกิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเดน่ ระดบั จังหวัด ประจำปี ๒๕๖2 จำนวน ๓๐๔ คน ไดแ้ ก่ ๒.๑ ผู้นำอำสำพฒั นำชมุ ชน (ผู้นำ อช.) ดเี ดน่ ชำยและหญงิ จำนวน ๑๕๒ คน ๒.๒ ผู้นำกลมุ่ /องค์กรชมุ ชนแกนหลักสำคญั ในกำรพัฒนำหมบู่ ำ้ นดเี ด่น จำนวน ๗๖ คน ๒.๓ ผู้นำศูนย์ประสำนงำนองคก์ ำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ดเี ดน่ จำนวน ๗๖ คน ๓. ผูน้ ำครวั เรือนสัมมำชีพชมุ ชนตวั อยำ่ งระดับภำค ประจำปี ๒๕๖2 จำนวน ๑๒ คน ๔. ประธำนเครือขำ่ ยองคก์ ำรพฒั นำชุมชน (ผแู้ ทนสมำพันธ์ฯ/สมำคมฯ) จำนวน 10 คน 5. เจ้ำหน้ำท่พี ัฒนำชมุ ชน จำนวน 48 คน วธิ ีการปฏบิ ัติ  ระดับกรม 1. กำหนดกรอบกำรดำเนินงำน แนวทำง และจดั ทำกำหนดกำรพิธรี บั โลร่ ำงวลั ฯ ในภำพรวม 2. จัดทำแผนดำเนนิ งำนโครงกำรฯ ทสี่ อดคล้องกบั กำรดำเนนิ งำนของกรมฯ 3. ขออนุมัติโครงกำรฯ ปรับรำยละเอียดค่ำใช้จ่ำยตำมโครงกำรฯ และขออนุมัติดำเนินงำน ท้ังในส่วน ของเอกสำร และพัสดุ 4. ขออนญุ ำตใชล้ ำยมือช่อื ของปลดั กระทรวงมหำดไทย และอธบิ ดีฯ เพ่ือจำรึกลงบนโล่รำงวลั “สงิ หท์ อง” 5. เรียนเชิญผู้บริหำรระดับสูงของกระทรวงมหำดไทย เป็นผู้อัญเชิญโล่รำงวัลพระรำชทำนหมู่บ้ำน เศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่นระดับจังหวดั และมอบโล่รำงวัล “สิงห์ทอง” รวมท้ังโล่รำงวลั ครัวเรือน สมั มำชีพชมุ ชนตวั อย่ำงระดบั ภำค 6. เตรียมควำมพรอ้ มกอ่ นดำเนินโครงกำร 6.1 แจ้งจังหวัดเพื่อประสำนกำรแจ้งกลุ่มเป้ำหมำยที่ชนะเลิศกำรคัดสรรหมู่บ้ำนเศรษฐกิจ พอเพยี ง “อยูเ่ ยน็ เป็นสขุ ” ดเี ด่นระดับจังหวดั กิจกรรมพัฒนำชุมชนดเี ด่นระดับจงั หวัด และครัวเรอื นสัมมำชีพ ชุมชนตัวอย่ำงระดับภำค ประจำปี ๒๕๖2 รวมทั้งประธำนเครือข่ำยองค์กำรพัฒนำชุมชน (ผู้แทนสมำพันธ์ฯ/ สมำคมฯ) เขำ้ ร่วมโครงกำรฯ เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

36 6.2 ตรวจสอบรำยช่ือหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่นระดับจังหวัด และ กิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด ได้แก่ ผู้นำอำสำพัฒนำชุมชน (ผู้นำ อช.) ดีเด่น ชำยและหญิง กลุ่ม/ องค์กรชุมชนแกนหลักสำคัญในกำรพัฒนำหมู่บ้ำนดีเด่น และศูนย์ประสำนงำนองค์กำรชุมชนระดับตำบล (ศอช.ต.) ดเี ด่น รวมทง้ั ครัวเรอื นสัมมำชพี ชุมชนตัวอย่ำงระดบั ภำค เพอื่ นำไปจดั ทำโล่ ใบลงทะเบยี น ปำ้ ยช่ือ 6.3 กำรประสำนนัดหมำยผู้บริหำร วทิ ยำกร 6.4 ดำเนินกำรเรื่องเอกสำร ใบลงทะเบยี น ใบรำยงำนกำรเดินทำง 6.5 ประสำนกำรจัดสถำนท่ี ตลอดจนโล่รำงวัลประเภทต่ำง ๆ เข็มเชิดชูเกียรติฯ กระเป๋ำ เอกสำร รถบสั โดยสำร และอ่ืน ๆ ที่เกย่ี วข้อง 6.6 จัดประชุมซักซ้อมควำมเข้ำใจแก่เจำ้ หนำ้ ท่โี ครงกำรที่เกี่ยวขอ้ ง 6.7 จดั ทำทำเนียบผนู้ ำเครือขำ่ ยพัฒนำชุมชนดเี ด่นประจำปี ตำมขอ้ มูลท่ีได้จำกจงั หวัด 7. ดำเนนิ งำนตำมข้นั ตอนต่ำง ๆ ตำมโครงกำรฯ 7.1 วิทยำกรท้ังภำยในกรมฯ และภำยนอกบรรยำยให้ควำมรู้เพื่อพัฒนำผู้นำ ตำมหัวข้อที่เหมำะสม ตำมสถำนกำรณ์ 7.2 แบ่งกลุ่มระดมสมอง และถอดบทเรียนควำมสำเร็จของผู้นำแต่ละประเภท เพื่อเป็นกำร แบ่งปันประสบกำรณก์ ำรทำงำน ให้เครอื ขำ่ ยสำมำรถปรับใชใ้ นพน้ื ท่ไี ด้ 7.3 สร้ำงเครือขำ่ ยผูน้ ำในระบบออนไลน์ และช่องทำงตำ่ ง ๆ 7.4 พธิ มี อบเข็มเชิดชูเกยี รตฯิ 7.5 พิธรี บั โล่รำงวลั หมบู่ ำ้ นเศรษฐกิจพอเพียง “อย่เู ย็น เป็นสุข” และโล่รำงวลั “สิงห์ทอง” 8. สรปุ และประเมินผลกำรดำเนินงำนโครงกำรฯ รวมถงึ กำรรำยงำนผลกำรใช้งบประมำณในระบบ BPM ระดบั จังหวดั 1. ดำเนินกำรประสำนแจ้งสำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอท่ีมีกลุ่มเป้ำหมำยเข้ำรับรำงวัล ให้ดำเนินกำร นดั หมำยผ้นู ำเขำ้ รว่ มกจิ กรรมตำมวัน เวลำ และสถำนที่ท่กี รมฯ กำหนด 2. รวบรวมรำยช่ือจำกสำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอตำมข้อ 1. พร้อมข้อมูลตำมแบบรำยงำนผล เพอื่ เตรียมจัดทำทำเนียบฯ ตำมท่ีกรมฯกำหนด 3. ดำเนนิ กำรส่งแบบรำยงำนผล ให้กรมฯ ภำยในระยะเวลำที่กำหนด  ระดับอาเภอ 1. มอบหมำยเจ้ำหน้ำท่ีผู้รับผิดชอบเตรียมข้อมูลและนัดหมำยกลุ่มเป้ำหมำยผู้เข้ำรับรำงวัล ตำมวัน เวลำ และสถำนที่ทกี่ รมฯกำหนด 2. รำยงำนข้อมูลตำมแบบรำยงำนฯ และจัดส่งให้สำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัดภำยในระยะเวลำที่ กำหนด ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ 1. ผู้นำชมุ ชนดเี ด่นทกุ คน เกิดควำมภำคภูมิใจอย่ำงสูงสุดด้วยควำมสำนกึ ในพระมหำกรุณำธคิ ุณและ เทดิ ทูนสถำบันพระมหำกษัตริยแ์ ละไดน้ ้อมนำหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทำงในกำรดำเนินชวี ิต ตำมรอยเบอื้ งพระยคุ ลบำท 2. ผู้นำชุมชนดีเด่นทุกคน ท่ีมีผลงำนดีเด่น ซึ่งผ่ำนกำรพิจำรณำจำกกำรคัดสรรกำรดำเนินงำน หมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่นระดับจังหวัด และกิจกรรมพัฒนำชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด รวมท้ังครัวเรือนสัมมำชีพชุมชนตัวอย่ำงระดับภำค ท่ีส่งเสริมกำรสร้ำงสัมมำชีพชุมชน ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติ และประกำศเกยี รตคิ ณุ เผยแพรผ่ ลงำนให้เป็นที่ประจักษ์แก่สำธำรณชนทัง้ ในชุมชนและนอกชมุ ชน เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

37 3. มีเครือข่ำยกำรเรียนรู้ร่วมกัน และมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบกำรณ์ในกำรปฏิบัติงำนพัฒนำ ชุมชนและกิจกรรมส่งเสริมกำรสร้ำงสัมมำชีพชุมชน ระหว่ำงผู้นำชุมชนดีเดน ภำคีกำรพัฒนำ และเจ้ำหน้ำท่ี พัฒนำชุมชน 4. ผู้นำชุมชนดีเด่นทุกคน ได้รับทรำบแนวนโยบำยกำรดำเนินงำนที่สำคัญของกรมกำรพัฒนำชุมชน และได้มีโอกำสแสดงควำมคิดเห็นและข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ต่อกำรดำเนินงำน เพ่ือให้สำมำรถ ขบั เคลอ่ื นกำรทำงำนพฒั นำชมุ ชนให้บรรลุวัตถปุ ระสงคต์ ่อไป เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

38 โครงการสง่ เสรมิ ชอ่ งทางการตลาดเครอื ข่ายเกษตรอินทรีย์ภาคเหนอื ตอนบนด้วยกลไกประชารัฐ กิจกรรมท่ี ๑ ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสร้างความรคู้ วามเข้าใจการพฒั นาเครอื ข่ายเกษตรอินทรีย์ ดาเนนิ การโดยส่วนกลาง กจิ กรรมที่ 2 ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารสร้างเสรมิ ประสบการณ์การพัฒนาเกษตรอินทรยี ์และการสง่ เสริม ชอ่ งทางการตลาดอาหารปลอดภัยจากแหล่งเรยี นร้ตู ้นแบบ วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรแู้ นวคิดและวิธีการพัฒนาการผลติ แบบเกษตรอนิ ทรยี ์ 2. เพื่อให้กลุม่ เป้าหมายได้เรียนรูว้ ิธีการจดั การการผลติ และตลาดอาหารปลอดภยั 3. เพื่อให้เกดิ การแลกเปลย่ี นองค์ความรู้ และจดั ทารายละเอยี ดศักยภาพกลุ่มตามแนวทาง D - HOPE กล่มุ เป้าหมาย จานวน 272 คน ประกอบดว้ ย 1. กลมุ่ เป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากและประชารฐั ด้านการเกษตร หรอื ผู้ผลติ ผู้ประกอบการ เกษตรอินทรีย์ที่มีความพร้อมใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ และจังหวัดน่าน จังหวัดละ 30 คน รวม 240 คน (ท่ีเข้ารับการฝึกอบรม ตามกิจกรรมที่ 1) 2. ผู้แทนบริษัท ประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จากัด 8 จังหวัด ๆ ละ 2 คน รวมจานวน 16 คน 3. เจา้ หน้าทีส่ านักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั 8 จงั หวัด ๆ ละ 2 คน รวมจานวน 16 คน เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

39 ขั้นตอนการดาเนนิ งาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แมฮ่ อ่ งสอน เชียงราย พะเยา แพร่ และจังหวดั น่าน 2. จังหวัดจัดทารายละเอียดโครงการเพ่ือเสนอขออนุมัติและแจ้งกลุ่มเป้าหมายเพ่ือดาเนินการ ตามโครงการ โดยมีกรอบการดาเนนิ งาน ดังน้ี วันท่ี 1 ให้ความรู้เก่ียวกับแนวคดิ และวธิ กี ารพัฒนาการผลติ แบบเกษตรอินทรยี ์ วธิ ีปฏบิ ัติ - เชิญวิทยากรทีม่ ีความเชี่ยวชาญ ดา้ นการเกษตรอนิ ทรีย์เป็นผบู้ รรยาย วันท่ี 2 จังหวัดนากลุ่มเป้าหมายศึกษาดูงานนอกสถานที่ในจุดท่ีเป็นตน้ แบบเครอื ข่ายการผลิตแบบ เกษตรอนิ ทรยี ์ วธิ ีปฏิบตั ิ - หัวขอ้ ในการศึกษาดูงาน “วธิ กี ารจดั การการผลิตและตลาดอาหารอินทรีย์” 1) การบริหารการจัดการ เช่น การทาสญั ญา การควบคุมคุณภาพผลผลิต ราคา สนิ คา้ และเงอ่ื นไข การชาระเงิน เป็นตน้ 2) การควบคุมคุณภาพสินค้าและปริมาณการผลิต 3) ช่องทางการจัดจาหน่ายสนิ ค้าเกษตรอนิ ทรยี ์ ๔) อื่น ๆ ตามสภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย วนั ที่ 3 แลกเปล่ียนองคค์ วามรู้ วิธปี ฏบิ ตั ิ 1) สร้างความเข้าใจแลกเปล่ียนองค์ความรู้ วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มตามแนวทาง D-HOPE (Decentralized Hand – On Program Exhibition) 2) จัดทารายละเอียดศักยภาพกลุ่มตามแบบฟอรม์ แนวทางของ D-HOPE (Decentralized Hand – On Program Exhibition)

40 ๓. จัดส่งรายละเอียดศักยภาพกลุ่มตามแบบฟอร์มแนวทางของ D - HOPE (Decentralized Hand – On Program Exhibition) ให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็นไฟล์ Word ภายใน 7 วัน หลังจากดาเนินโครงการแล้วเสร็จ ผา่ นทาง [email protected] งบประมาณ 1,241,100 บาท ดาเนินการโดยจงั หวดั ในไตรมาส ๑ – ๔ กจิ กรรมท่ี 3 ส่งเสริมช่องทางการตลาดอาหารปลอดภยั กจิ กรรมที่ 3.1 พัฒนาเครือขา่ ยเกษตรอนิ ทรีย์สู่การเป็นผู้ประกอบการชุมชน (Community Entrepreneur: CE) โดยมกี จิ กรรมพัฒนาตามโมเดล CE และจบั ค่ธู รุ กิจ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อวิเคราะหศ์ ักยภาพและพฒั นาการบรหิ ารจดั การกล่มุ ผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการเกษตรอนิ ทรีย์ (Community Entrepreneur: CE) กลุ่มเป้าหมาย เป็นกลุ่มเป้าหมายเดียวกันกับกลุ่มเป้าหมายจากกิจกรรมท่ี 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริม ประสบการณก์ ารพัฒนาเกษตรอินทรยี ์และการส่งเสริมช่องทางการตลาดอาหารปลอดภยั จากแหล่งเรียนรตู้ ้นแบบ ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แมฮ่ อ่ งสอน เชยี งราย พะเยา แพร่ และจังหวัดนา่ น 2. จังหวดั จัดทารายละเอียดโครงการเพ่ือเสนอขออนมุ ตั ิและแจ้งกลุ่มเปา้ หมาย 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนากลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เกษตรอินทรีย์สู่การเป็นผปู้ ระกอบการชมุ ชน (Community Entrepreneur: CE) 4. พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์สู่การเป็นผู้ประกอบการ ชมุ ชน (Community Entrepreneur : CE) 5. จดั ทาแผนธุรกิจกลมุ่ ของกลุม่ เป้าหมาย 6. ดาเนินการแลกเปลี่ยนแผนธรุ กิจกลมุ่ กจิ กรรมท่ี 3.2 พัฒนาธุรกิจของกลุ่มผู้ผลติ ผู้ประกอบการเกษตรอนิ ทรีย์สผู่ ู้ประกอบการชมุ ชน วัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาและยกระดับกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์สู่การเป็นผู้ประกอบการชุมชน (Community Entrepreneur) กลมุ่ เป้าหมาย กลุม่ เปา้ หมายเดียวกันกับกจิ กรรมท่ี 3.1 พัฒนาเครือข่ายเกษตรอนิ ทรียส์ ูก่ ารเปน็ ผูป้ ระกอบการชุมชน (Community Entrepreneur : CE) โดยมีกจิ กรรมพฒั นาตามโมเดล CE และจับค่ธู รุ กจิ ขั้นตอนการดาเนินงาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลาพนู ลาปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ และจงั หวัดนา่ น 2. จงั หวดั จัดทารายละเอยี ดโครงการเพื่อเสนอขออนมุ ัติและแจ้งกล่มุ เป้าหมาย 3. สนับสนุนการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย จังหวัดละ 10 กลุ่ม ๆ ละ 30,000 บาท ตามแผนพัฒนาธุรกิจกลุ่ม จากกิจกรรมท่ี 3.1 ขอ้ 5 โดยสนับสนุนตามกระบวนการขับเคล่ือน 5 กระบวนการ (การเข้าถงึ ปัจจยั การผลิต การสร้างองค์ความรู้ การตลาด การส่อื สารสรา้ งการรบั รู้เพื่อพัฒนาท่ยี ่ังยืน และการบริหารจดั การ)

41 กจิ กรรมท่ี 3.3 สรา้ งช่องทางการตลาดอาหารปลอดภัย วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างช่องทางการตลาดอาหารปลอดภัยและรายได้ให้กับกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตร อนิ ทรีย์ท่ีมศี กั ยภาพทางธุรกิจ กลุม่ เปา้ หมาย ประกอบด้วย 1. กลุ่มเปา้ หมายการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากและประชารัฐด้านการเกษตร หรอื ผู้ผลติ ผู้ประกอบการ เกษตรอินทรีย์ท่ีมีความพร้อมที่ได้รับการส่งเสริมการสร้างเครือข่าย ตั้งแต่กิจกรรมท่ี 1 - กิจกรรมที่ 3 (3.1 - 3.2) ใน 8 จังหวดั ภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮอ่ งสอน เชียงราย พะเยา แพร่ และ จังหวัดนา่ น 2. หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคีการพัฒนา 3. ผ้เู กี่ยวขอ้ งกบั โรงพยาบาล โรงเรยี น โรงแรม รา้ นอาหาร รวมทง้ั นกั ธุรกจิ ผปู้ ระกอบการ ห้างสรรพสนิ คา้ ข้นั ตอนการดาเนินงาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน เชยี งราย พะเยา แพร่ และจงั หวัดน่าน 2. จังหวัดจดั ทารายละเอยี ดโครงการเพ่ือเสนอขออนมุ ตั ิและแจ้งกลุ่มเป้าหมาย 3. จงั หวดั จดั งานนทิ รรศการและจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์อาหารปลอดภยั โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี 3.1 จังหวัดกาหนดการจัดงาน สถานที่จัดงาน รูปแบบการจัดงาน จานวนผู้ที่จะเชิญเข้าร่วมงาน โดยให้จัดกิจกรรมอยา่ งน้อย 4 กิจกรรม ดังน้ี - กจิ กรรมการจดั นิทรรศการ ภายใตช้ ่ือ “ประชารัฐพัฒนาเกษตรอนิ ทรีย์” - กิจกรรมประกาศวาระอาหารปลอดภัย เพ่ือแสดงเจตนารมณ์การสง่ เสริมการผลิตและการบรโิ ภค อาหารปลอดภัย - กิจกรรมการเจรจาธุรกิจระหว่างกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์กับภาครัฐและ ภาคเอกชน เพ่อื ใหเ้ กิดการขยายผลส่โู รงพยาบาล โรงเรยี น โรงแรม และรา้ นอาหาร (4ร) - กิจกรรมการจาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์อาหารปลอดภยั 3.2 แจ้งกลุ่มเป้าหมายผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์นาผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยมาร่วม จัดนทิ รรศการ 3.3 ประสานหนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคกี ารพัฒนา ร่วมงาน 3.4 ผู้เก่ียวข้องกับโรงพยาบาล โรงเรียน โรงแรม ร้านอาหาร รวมทั้งนักธุรกิจ ผู้ประกอบการ หา้ งสรรพสินคา้ ร่วมงาน 3.5 ประชาสัมพันธ์การจัดงานเพื่อเชิญชวนประชาชนร่วมงาน 3.6 จงั หวดั จัดนิทรรศการและจาหน่ายผลติ ภัณฑ์อาหารปลอดภยั 3.7 สรุปผลการจดั นทิ รรศการและจาหน่ายผลติ ภณั ฑอ์ าหารปลอดภยั ดังนี้ 1) สรุปผลของแต่ละกิจกรรม รวมถึงจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม รายได้จากการจาหน่าย อาหารปลอดภัย กรมการพฒั นาชมุ ชนจัดส่งให้กรมในรูปแบบเอกสารรปู เล่ม 1 เลม่ พรอ้ มไฟล์ Word ผ่านทาง [email protected] 2) จัดทาวีดีทัศน์สรุปผลการจัดนิทรรศการและจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย เพอื่ เผยแพร่ ผา่ นช่องทางสือ่ ออนไลน์ 1 ช่องทาง เช่น เว็บไซต์สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัด บริษทั ประชารัฐ รักสามคั คีจงั หวัด (วิสาหกิจเพอ่ื สงั คม) จากดั หรอื ชอ่ งทางอน่ื ๆ เชน่ YOUTUBE FACEBOOK เป็นต้น

42 โครงการส่งเสริมชอ่ งทางการตลาดเครอื ข่ายอาหารปลอดภยั ภาคเหนือตอนลา่ งด้วยกลไกประชารัฐ กจิ กรรมหลกั ส่งเสรมิ ชอ่ งทางการตลาดเครอื ขา่ ยเกษตรปลอดภยั ภาคเหนือตอนล่างด้วยกลไกประชารัฐ กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมเชงิ ปฏิบัติการสร้างความรูค้ วามเข้าใจการพัฒนาเครอื ข่ายเกษตรปลอดภยั ดาเนนิ การโดยสว่ นกลาง กจิ กรรมที่ 2 ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์การพัฒนาเกษตรปลอดภัยและการสง่ เสริม ชอ่ งทางการตลาดอาหารปลอดภยั จากแหล่งเรยี นรตู้ น้ แบบ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้กลมุ่ เปา้ หมายได้เรยี นรู้แนวคิดและวธิ ีการพัฒนาการผลติ แบบเกษตรปลอดภยั 2. เพื่อใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายไดเ้ รียนรู้วธิ ีการจัดการการผลิตและตลาดอาหารปลอดภยั 3. เพือ่ ใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และจัดทารายละเอยี ดศกั ยภาพกลุ่มตามแนวทาง D – HOPE กลมุ่ เป้าหมาย จานวน 306 คน ประกอบด้วย 1. กลมุ่ เปา้ หมายการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารฐั ดา้ นการเกษตร หรือผูผ้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ เกษตรอินทรีย์ท่ีมีความพร้อมใน 9 จังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก ตาก อุตรดิตถ์ สุโขทัย เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พิจิตร และจังหวัดอุทัยธานี จังหวัดละ 30 คน รวม 270 คน (ท่ีเข้ารับ การฝึกอบรมตามกจิ กรรมท่ี 1) 2. ผู้แทนบริษัท ประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพ่ือสังคม) จากัด 9 จังหวัด ๆ ละ 2 คน รวม จานวน 18 คน 3. เจ้าหน้าท่สี านักงานพฒั นาชุมชนจงั หวัด 9 จังหวัด ๆ ละ 2 คน รวมจานวน 18 คน เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

43 ขน้ั ตอนการดาเนินงาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก ตาก อตุ รดิตถ์ สโุ ขทัย เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พจิ ติ ร และจงั หวัดอุทัยธานี 2. จังหวัดจัดทารายละเอียดโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติและแจ้งกลุ่มเป้าหมายโดยมีกรอบการ ดาเนนิ งาน ดังนี้ วนั ที่ 1 ให้ความร้เู ก่ียวกับแนวคดิ และวิธีการพฒั นาการผลิตแบบเกษตรปลอดภัย วิธีปฏบิ ตั ิ - เชญิ วิทยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญ ด้านการเกษตรปลอดภัยเปน็ ผบู้ รรยาย วันที่ 2 จังหวัดนากลุ่มเป้าหมายศึกษาดูงานนอกสถานที่ในจุดท่ีเป็นต้นแบบเครือข่ายการผลิต แบบเกษตรปลอดภัย วิธีปฏบิ ัติ - หวั ข้อในการศกึ ษาดูงาน “วธิ กี ารจัดการการผลติ และตลาดอาหารปลอดภัย” 1) การบริหารการจัดการ เช่น การทาสัญญา การควบคุมคุณภาพผลผลิต ราคาสินค้า และเงือ่ นไข การชาระเงนิ เปน็ ตน้ 2) การควบคมุ คณุ ภาพสนิ ค้าและปริมาณการผลติ 3) ช่องทางการจัดจาหนา่ ยสินค้าเกษตรปลอดภัย ๔) อน่ื ๆ ตามสภาพปญั หาและความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย วันท่ี 3 แลกเปลีย่ นองค์ความรู้ วิธีปฏบิ ัติ 1) สรา้ งความเขา้ ใจแลกเปลยี่ นองค์ความรู้ วเิ คราะหศ์ ักยภาพกลุ่มตามแนวทาง D-HOPE (Decentralized Hand – On Program Exhibition) 2) จัดทารายละเอียดศักยภาพกลุ่มตามแบบฟอร์มแนวทางของ D-HOPE (Decentralized Hand – On Program Exhibition) เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

44 ๓. จัดส่งรายละเอียดศักยภาพกลุ่มตามแบบฟอร์มแนวทางของ D - HOPE (Decentralized Hand – On Program Exhibition) ให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็นไฟล์ Word ภายใน 7 วัน หลังจากดาเนินโครงการแล้วเสร็จ ผา่ นทาง [email protected] กจิ กรรมท่ี 3 ส่งเสรมิ ชอ่ งทางการตลาดอาหารปลอดภยั กิจกรรมท่ี 3.1 พฒั นาเครือข่ายเกษตรปลอดภัยสู่การเป็นผู้ประกอบการชุมชน (Community Entrepreneur: CE) โดยมกี ิจกรรมพฒั นาตามโมเดล CE และจับค่ธู รุ กจิ วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพและพัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัย (Community Entrepreneur: CE) กลุ่มเป้าหมาย เป็นกลุ่มเป้าหมายเดียวกันกับกลุ่มเป้าหมายจากกิจกรรมท่ี 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเสริม ประสบการณ์การพัฒนาเกษตรปลอดภัยและการส่งเสริมช่องทางการตลาดอาหารปลอดภยั จากแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก ตาก อุตรดติ ถ์ สุโขทัย เพชรบรู ณ์ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พิจติ ร และจงั หวดั อทุ ัยธานี 2. จงั หวดั จดั ทารายละเอียดโครงการเพื่อเสนอขออนมุ ตั ิและแจ้งกลมุ่ เป้าหมาย 3. ประชุมเชิงปฏิบตั ิการสร้างความรู้ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนากลุ่มผผู้ ลิต ผู้ประกอบการเกษตร ปลอดภยั สู่การเป็นผู้ประกอบการชุมชน (Community Entrepreneur: CE) 4. พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัยสู่การเป็นผู้ประกอบการ ชมุ ชน (Community Entrepreneur : CE) 5. จดั ทาแผนธรุ กจิ กลุ่มของกลุ่มเป้าหมาย 6. ดาเนนิ การแลกเปลย่ี นแผนธุรกิจกลุ่ม กจิ กรรมท่ี 3.2 พัฒนาธุรกิจของกลมุ่ ผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัยสู่ผปู้ ระกอบการชุมชน วัตถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนาและยกระดับกลุ่มผผู้ ลติ ผู้ประกอบการเกษตรปลอดภยั สู่การเปน็ ผู้ประกอบการชุมชน (Community Entrepreneur) กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายเดียวกันกับกิจกรรมที่ 3.1 พัฒนาเครือข่ายเกษตรปลอดภัยสู่การเป็นผู้ประกอบการ ชมุ ชน (Community Entrepreneur : CE) โดยมกี จิ กรรมพฒั นาตามโมเดล CE และจับคูธ่ รุ กจิ ข้ันตอนการดาเนนิ งาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก ตาก อตุ รดิตถ์ สโุ ขทยั เพชรบรู ณ์ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พจิ ิตร และจังหวัดอุทยั ธานี 2. จงั หวดั จัดทารายละเอียดโครงการเพ่ือเสนอขออนมุ ัติและแจ้งกลุม่ เป้าหมาย 3. สนับสนุนการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย จงั หวัดละ 10 กลุ่ม ๆ ละ 30,000 บาท ตามแผนพัฒนาธุรกิจกลุ่ม จากกจิ กรรมท่ี 3.1 ข้อ 5 โดยสนับสนุนตามกระบวนการขบั เคล่ือน 5 กระบวนการ (การเขา้ ถึงปัจจัยการผลิต การสร้างองคค์ วามรู้ การตลาด การสอื่ สารสรา้ งการรบั รเู้ พ่ือพฒั นาท่ียง่ั ยนื และการบรหิ ารจัดการ) เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

45 กิจกรรมท่ี 3.3 สรา้ งชอ่ งทางการตลาดอาหารปลอดภัย วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างช่องทางการตลาดอาหารปลอดภัยให้กับกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัยท่ีมี ศกั ยภาพทางธรุ กิจ กลุม่ เป้าหมาย ประกอบดว้ ย 1. กลุ่มเป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐด้านการเกษตร หรือผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เกษตรปลอดภัยท่ีมคี วามพร้อมที่ได้รับการส่งเสริมการสรา้ งเครือข่าย ตงั้ แต่กจิ กรรมที่ 1 ถงึ กิจกรรมท่ี 3 (3.1 - 3.2) ใน 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก ตาก อุตรดิตถ์ สุโขทัย เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พจิ ติ ร และจงั หวดั อทุ ัยธานี 2. หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคกี ารพฒั นา 3. ผู้เกย่ี วขอ้ งกบั โรงพยาบาล โรงเรยี น โรงแรม รา้ นอาหาร รวมท้ังนักธรุ กจิ ผปู้ ระกอบการ หา้ งสรรพสินคา้ ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน 1. กรมการพัฒนาชุมชนจัดสรรงบประมาณให้ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก ตาก อตุ รดติ ถ์ สุโขทยั เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ กาแพงเพชร พิจิตร และจงั หวดั อุทยั ธานี 2. จังหวดั จัดทารายละเอียดโครงการเพื่อเสนอขออนมุ ตั ิและแจ้งกลุ่มเป้าหมาย 3. จังหวดั จัดงานนทิ รรศการและจาหน่ายผลติ ภัณฑ์อาหารปลอดภยั โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี 3.1 จังหวัดกาหนดการจัดงาน สถานท่ีจัดงาน รูปแบบการจัดงาน จานวนผู้ที่จะเชิญเข้าร่วมงาน โดยใหจ้ ดั กจิ กรรมอย่างนอ้ ย 4 กจิ กรรม ดังนี้ - กจิ กรรมการจัดนทิ รรศการ ภายใตช้ ่อื “ประชารัฐพัฒนาเกษตรปลอดภยั ” - กจิ กรรมประกาศวาระอาหารปลอดภยั เพอื่ แสดงเจตนารมณ์การส่งเสริมการผลิตและการบริโภค อาหารปลอดภยั - กิจกรรมการเจรจาธุรกิจระหว่างกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรปลอดภัยกับภาครัฐและ ภาคเอกชน เพือ่ ใหเ้ กิดการขยายผลสู่โรงพยาบาล โรงเรียน โรงแรม และรา้ นอาหาร (4ร) - กจิ กรรมการจาหน่ายผลิตภัณฑอ์ าหารปลอดภัย 3.2 แจ้งกลุ่มเป้าหมายผู้ผลิต ผู้ประกอบการเกษตรอินทรีย์นาผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยมาร่วม จดั นทิ รรศการ 3.3 ประสานหนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคีการพัฒนา รว่ มงาน 3.4 ผู้เก่ียวข้องกับโรงพยาบาล โรงเรียน โรงแรม ร้านอาหาร รวมทั้งนักธุรกิจ ผู้ประกอบการ หา้ งสรรพสนิ คา้ ร่วมงาน 3.5 ประชาสัมพนั ธ์การจัดงานเพื่อเชิญชวนประชาชนรว่ มงาน 3.6 จงั หวัดจดั นิทรรศการและจาหนา่ ยผลิตภัณฑอ์ าหารปลอดภัย 3.7 สรุปผลการจดั นทิ รรศการและจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑอ์ าหารปลอดภัย ดังนี้ 1) สรปุ ผลของแต่ละกิจกรรม รวมถงึ จานวนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม รายได้จากการจาหน่ายอาหารปลอดภัย กรมการพัฒนาชุมชนจัดส่งให้กรมในรูปแบบเอกสารรูป เลม่ 1 เล่ม พรอ้ มไฟล์ Word ผ่านทาง [email protected] 2) จดั ทาวดี ีทัศนส์ รุปผลการจัดนิทรรศการและจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์อาหารปลอดภยั เพอื่ เผยแพร่ ผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ 1 ช่องทาง เช่น เว็บไซต์สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี จงั หวัด (วสิ าหกจิ เพ่อื สังคม) จากดั หรือชอ่ งทางอนื่ ๆ เช่น YOUTUBE FACEBOOK เป็นต้น เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

46 แนวทางการดาเนนิ งานแผนงานบูรณาการพัฒนาพน้ื ทีร่ ะดบั ภาค โครงการพฒั นาอาชีพและคุณภาพชีวิตผู้มรี ายได้น้อยเพ่ือลดความเหล่ือมลา้ ทางสังคม กจิ กรรมพัฒนาอาชีพและรายได้ของคนยากจน (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ หลักการและเหตผุ ล ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีการกระจายรายได้เหล่ือมล้าเป็นอันดับ ๓ ของโลก จากรายงาน Credit Suisse Global Wealth Databook ปี ๒๕๕๙ รองลงมาจากอันดับ ๒ ประเทศอินเดีย และอนั ดับ ๑ ประเทศ รัสเซีย ในขณะที่ปี ๒๕๖๑ ประเทศไทยมีการกระจายรายได้เหลื่อมล้าเป็นอันดับ ๔ ของโลก รองลงมาจาก อนั ดบั ๓ ประเทศอยี ปิ ต์ อนั ดับ ๒ ประเทศคาซคั สถาน และอนั ดับ ๑ ประเทศยเู ครน อยา่ งไรก็ตามแมป้ ระเทศ ไทยจะมอี ันดับทด่ี ขี นึ แต่ยังคงเปน็ ประเทศที่มีการกระจายรายไดเ้ หล่ือมล้าสูงทส่ี ดุ ในเอเชยี โดยมคี า่ สมั ประสิทธ์ิ จีนีอยู่ท่ี ๙๐.๒ ซ่ึงถ้าหากตัวเลขยิ่งเข้าใกล้ ๑๐๐ มากขึนเท่าใด จะหมายถึง คนรวยท่ีสุด ๑% ของประเทศ ถอื ครองทรัพยส์ นิ ที่มีทังหมดในประเทศหรือคนท่ีเหลือไม่มที รพั ย์สินให้ถือครองเลย จากปัญหาดงั กล่าวสะท้อน ให้เห็นถึงความได้เปรียบและเสียเปรียบทางเศรษฐกิจและสังคม คนส่วนใหญ่มีความสุขเพ่ิมขึนเมื่อรายได้ เพ่ิมขึน แต่ถ้าหากคน ๙๕% ที่ถือครองทรัพย์สินเพียง ๕% ของประเทศยังขาดโอกาสและไม่ได้รับความเป็น ธรรมเพราะยากจน มีสภาพร่างกายที่ไม่สมบูรณ์ ขาดโอกาสทางการศึกษา ภูมิประเทศไม่เอือต่อการประกอบ อาชีพขาดท่ีดินท้ากิน ไม่มีทุน ไม่มีความรู้ด้านการตลาด และขาดอ้านาจในการต่อรอง จะส่งผลกระทบ ต่อประเทศในระยะยาว คือความสุขของประชาชนลดลง ช่องว่างทางรายได้เพ่ิมสูงขึน ก่อให้เกิดปัญหาทาง สังคม สขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตในท่สี ดุ กรมการพัฒนาชุมชน ได้มองเห็นความส้าคัญของปัญหาดังกล่าว ซึ่งมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติ ๒๐ ปี เพ่อื บรรลวุ สิ ัยทัศนป์ ระเทศไทย “ม่ันคง ม่งั ค่งั ยัง่ ยืน” และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) โดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติก้าหนดยุทธศาสตร์ท่ี ๙ การพัฒนาภาค เมือง และพืนที่เศรษฐกิจ มีเป้าหมายเพื่อลดช่องว่างรายได้ระหว่างภาคและมีการกระจาย รายได้ท่ีเป็นธรรมมากขึน ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาพืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ แก้ไขปัญหา ความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีรายได้น้อยเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม ขอ้ ๒.๑ พฒั นาอาชีพและ รายได้ของคนยากจน เพอ่ื บรรลุเป้าหมายเศรษฐกิจระดบั ภาคเตบิ โตตามศักยภาพ ประชาชนมีความเปน็ อยแู่ ละ คุณภาพชีวติ ดขี นึ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ส้านักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน ได้ก้าหนดการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตผูม้ ีรายได้น้อยเพื่อลดความเหล่ือมล้าทางสงั คม กิจกรรมพัฒนาอาชีพและรายได้ของคนยากจน ในพืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒๐ จังหวัด ๒๗๔ อ้าเภอ ๕๐๐ หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อ้านาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวล้าภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ สกลนคร นครพนม และจังหวัดมุกดาหาร ซ่ึงเป็นหมู่บ้านท่ีมีครัวเรือนไม่ผ่านเกณฑ์รายได้เฉลยี่ คนละ ๓๘,๐๐๐ บาท/ปี ที่สามารถ พัฒนาได้ หรือครัวเรือนท่ีลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยใช้แนวคิดการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบ บูรณาการ การน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต การสร้างภูมิคุ้มกัน ทางการเงิน และการสนับสนุนให้ครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยเป้าหมายมีอาชีพและมีรายได้ จ้านวน ๑๐,๐๐๐ คน เพอ่ื เป็นส่วนหนึง่ ในการช่วยเหลือประชาชน ไดม้ ีอาชพี มีรายได้ และลดปัญหาความเหล่ือมล้าของคนในสงั คม เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕

47 วตั ถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมปฏิบัติการแก้ไขปัญหาความยากจนระดับอ้าเภอให้สามารถขับเคลื่อน กจิ กรรมพัฒนาอาชีพและรายได้ของคนยากจนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๒. เพ่ือส่งเสริมการด้าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสร้างภูมิคุ้มกันทางการเงิน แกค่ รวั เรือนผูม้ ีรายไดน้ อ้ ยเป้าหมาย ๓. เพ่อื ส่งเสรมิ การประกอบอาชีพให้แก่ครวั เรอื นผู้มรี ายได้น้อยเป้าหมายใหม้ รี ายได้เพิ่มขนึ กล่มุ เป้าหมาย ๑. เจา้ หน้าที่พัฒนาชมุ ชนจังหวัดทร่ี ับผิดชอบงานทนุ ชุมชน จา้ นวน ๒๐ จังหวัด ๆ ละ ๑ คน รวม ๒๐ คน ๒. ทีมปฏบิ ัติการแกไ้ ขปัญหาความยากจนระดับอ้าเภอ จา้ นวน ๒๗๔ อา้ เภอ ๆ ละ ๑ ทีม ๆ ละ ๕ คน รวม ๑,๓๗๐ คน (ภาครฐั จา้ นวน ๓ คน และภาคประชาชน จ้านวน ๒ คน) - ภาครัฐ คัดเลอื กมาจากพฒั นากร จา้ นวน ๑ คน และเจา้ หนา้ ทส่ี ่วนราชการอ่นื ๆ /ท้องถิ่น จ้านวน ๒ คน - ภาคประชาชน คัดเลือกมาจากปราชญช์ มุ ชน/ผ้นู ้าท้องถิน่ ด้านอาชพี และทนุ ชุมชน จ้านวน ๒ คน ๓. ครัวเรือนยากจนหรือครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยเป้าหมาย จ้านวน ๕๐๐ หมู่บ้าน ๆ ละ ๒๐ คน รวมทังสิน ๑๐,๐๐๐ คน โดยคัดเลอื กตามลา้ ดับดังตอ่ ไปนี ๑) ครัวเรือนในหมู่บ้านเป้าหมายท่ีไม่ผ่านเกณฑ์รายได้เฉล่ียคนละ ๓๘,๐๐๐ บาท/ปี ท่ีสามารถ พัฒนาได้ และลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (ข้อมูล TPMAP ปี ๒๕๖๒) จากข้อมูลในระบบบริหารจัดการ ข้อมูลการพัฒนาคนแบบชีเป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) ปี 2562 พัฒนา โดยศูนยเ์ ทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ๒) ครัวเรือนในหมู่บ้านเป้าหมายท่ีไม่ผ่านเกณฑ์รายได้เฉล่ียคนละ ๓๘,๐๐๐ บาท/ปี ตามข้อมูล ความจ้าเปน็ พนื ฐาน (จปฐ.) ปี ๒๕๖๒ ที่สามารถพัฒนาได้ ๓) ครัวเรือนในหมู่บ้านเป้าหมายท่ีมีรายได้ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี ตามข้อมูล ความจ้าเป็นพืนฐาน (จปฐ.) ปี ๒๕๖๒ ๔) ครวั เรอื นในหมู่บ้านเป้าหมายที่มผี ผู้ ่านการบา้ บัดรกั ษายาเสพติด คา้ อธิบายเพมิ่ เตมิ ครัวเรือนยากจนหรือครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยที่สามารถพัฒนาได้ หมายถึง ครัวเรือนในข้อมูล TPMAP ปี 2562 ท่ีไมใ่ ชค่ นชรา พกิ าร ต้องใหก้ ารสงเคราะหเ์ พียงอยา่ งเดยี ว และไม่ประสงค์/ยา้ ยออก/เสียชวี ิต พื้นทเี่ ป้าหมาย พืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒๐ จังหวัด ๒๗๔ อ้าเภอ ๕๐๐ หมู่บ้าน ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อ้านาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวล้าภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ สกลนคร นครพนม และจังหวัดมุกดาหาร โดยก้าหนดพืนท่ี เปา้ หมายตามเง่ือนไขดงั นี 1) เป็นหมู่บ้านที่มีครัวเรอื นยากจนหรอื ครวั เรือนผมู้ รี ายไดน้ ้อยเปา้ หมายตามเงื่อนไขขา้ งตน้ ๒) ต้องไม่ซ้ากับหมู่บ้านสัมมาชีพชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ หรือหากซา้ หมู่บ้านต้อง ไมซ่ ้ากลุม่ เปา้ หมายเดิม ๓) ต้องไม่ซ้ากับหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ หรือหากซ้าหมู่บ้าน ตอ้ งไมซ่ า้ กล่มุ เปา้ หมายเดมิ ๔) ต้องไม่ซ้ากับหมู่บ้านท่ีได้รับงบประมาณตามโครงการพัฒนาอาชีพและรายได้ของผู้มีรายได้น้อย เพือ่ ลดความเหลื่อมล้าทางสังคม ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ หรือหากซา้ หมูบ่ า้ นตอ้ งไมซ่ า้ กลุ่มเป้าหมายเดิม เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good ภายในปี ๒๕๖๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook