Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2564-2566

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2564-2566

Published by t.kruyok004, 2022-05-28 08:35:18

Description: แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2564-2566

Search

Read the Text Version

๑แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี

๒แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีคำนำโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ได้จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2563-2564) ของโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2561-2564) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562–2565) รวมทั้งนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยการบูรณาการวางแผนการทำงานร่วมกัน ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา คณะครูบุคลากรโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ภายใต้บริบทพื้นที่เพื่อใช้เป็นกรอบ ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564–2566) ของโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญขอขอบคุณ ผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) ของโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ ใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไปโรงเรียนน้ำปลีกศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญึ

๓แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีการให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564-2566โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา ครั้งที่ 1/2564 ได้พิจารณาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564-2566 ของโรงเรียนน้ำปลีกศึกษาแล้ว เห็นชอบให้ดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564-2566 ได้ลงชื่อ(นายชนินทร์ เตาเงิน)ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนน้ำปลีกศกษาึ

๔แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีสารบัญหน้าคำนำสารบัญ1ส่วนที่ 1 บทนำ1 ➢ข้อมูลทั่วไป๑➢ประวัติโรงเรียน2 ➢ข้อมูลบุคลากร4 ➢ข้อมูลนักเรียน ➢ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน➢ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ➢ข้อมูลอาคารสถานที่➢ผลงานดีเด่น➢ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 (พ.ศ.2555)771317 18 23 ส่วนที่ 2 กรอบแนวคิดและทิศทาง25 ➢พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 1025➢23 หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 926➢ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 6 ยุทธศาสตร์30➢นโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.256430➢จุดเน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564➢นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(พ.ศ.2564-2565)➢ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร ๖ ยุทธศาสตร์➢นโยบายจุดเน้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ33 36 39 41 ส่วนที่ 3 การวิเคราะหสภาพองค์กร ์45➢การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน จุดแข็ง(strengths) จุดอ่อน(Weaknesses) ➢การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส(Opportunities) อุปสรรค(Threats) ➢ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่เอื้อประโยชน์ และปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อโรงเรียน45 48 50 ➢สรุปประเด็นจากผลการวิเคราะห์ข้อมูล53 ➢กราฟแสดงสถานภาพ ของโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา56 ส่วนที่ ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4 57 ➢วิสัยทัศน์(Vision) พันธกิจ(Mission) เป้าประสงค์(Goal)57 ➢กลยุทธ์(Strategy )➢กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด5858 ส่วนที่ 5 การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ64 ➢การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ64 ภาคผนวก66 ➢คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศกษาฯึ67

๑แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีส่วนที่ 1บทนำ1. ข้อมูลทั่วไปชื่อสถานศึกษา โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ที่อยู่ที่ติดต่อโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา หมู่ ตำบลน้ำปลีก อำเภอเมือง จังหวัด อำนาจเจริญ 9 37000 โทรศัพท์ 045540411 ชื่อ Websiteของสถานศึกษา http://www.nampleeksuksa.ac.th/ ที่ตั้ง ทางหลวงหมายเลข 2210 อยู่ช่วงระหว่างแยกไฟแดงน้ำปลีก ถนนเส้น 2210 ถึง อำเภอหัวตะพาน กม ที่ เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 . 7 ข้อมลสภาพชุมชนโดยรวมู 1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะสภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียน มีลักษณะที่ตั้งตำบลน้ำปลีก เป็นตำบลหนึ่งในจังหวัดอำนาจเจริญ แต่ก่อนมีชื่อว่า น้ำหลีก ตั้งอยู่บนที่สูง มีแม่น้ำหลีกไปทางทิศใต้“” ของหมู่บ้าน มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ในเขต ต่าง ๆ ดังนี้ คือ ทิศเหนือ ติดต่อกับถนนอรุณประเสริฐ ซึ่งเป็นทางหลวงจากจังหวัดอำนาจเจริญไปจังหวัดยโสธร ทิศใต้ ติดต่อกับบ้านยางคำ ซึ่งเป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลน้ำปลีก ทิศตะวันออก ติดต่อกับบ้านดงบัง บ้านคำสร้างบ่อและบ้านดอนดู่ ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ขึ้นกับตำบลน้ำปลีก ทิศตะวันตก ติดต่อกับบ้านเซโนนม่วง อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ตำบลน้ำปลีก ประกอบไปด้วย หมู่บ้าน ซึ่งแบ่งเป็น หมู่ คือ510 1) บ้านน้ำปลีก มี หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ , หมู่ที่ , หมู่ที่ และหมู่ที่ 41 2 8 9 2) บ้านยางคำ หมู่ที่ 6 3) บ้านดงบังพัฒนา หมู่ที่ และหมู่ที่ 3 10 4) บ้านคำสร้างบ่อ หมู่ที่ และหมู่ที่ 45 5) บ้านดอนดู่ หมู่ที่ 7 มีประชากรประมาณ 5,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ลักษณะทั่วไปของตำบลน้ำปลีกเป็นที่สูง มีน้ำลำคลองและห้วยหลายแห่ง ได้แก่ ลำเซบาย ห้วยปลาแดก ห้วยผีบ้า และทางทิศตะวันตกติดกับลำน้ำชี เขตอำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธรอาชีพหลักของชุมชน คือประกอบอาชีพเกษตรกรเนื่องจากมีพื้นที่ใกล้กับแหล่งน้ำ และมีพื้นที่เพื่อการเกษตรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็น/ที่รู้จักโดยทั่วไป คือค่านิยมในจริยธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมทั่วไป ประชากรในตำบลน้ำปลีกส่วนใหญ่เป็นคนพื้นเมืองของภาคอีสาน จะมีคนไทยเชื้อสายจีนอาศัยอยู่บ้างแต่ไม่มากนัก ประชากรโดยทั่วไปของตำบลน้ำปลีกนับถือศาสนาพุทธ จึงมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ในด้านขนบธรรมเนียมประเพณีนั้น มีลัทธิพราหมณ์ปะปนอยู่ไม่ใช่น้อย เมื่อมีงานมงคล เช่น ขึ้นบ้านใหม่ การแต่งงานการประกอบพธีบายศรีสู่ขวัญก็ยังมีิพิธีพราหมณ์เข้ามาผสมด้วย ประเพณีและวัฒนธรรมต่าง ๆ

๒แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี2. ประวัติโรงเรียนโรงเรียนน้ำปลีกศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 29 กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2522 โดยรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ จำนวน ห้องเรียน มีจำนวน1 2 นักเรียน 81 คน โดยคณะกรรมการสภาตำบลน้ำปลีกได้บริจาคที่ดินให้เป็นสถานที่ตั้งโรงเรียน เนื้อที่ทั้งหมด 35 ไร่ และได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราวขนาด ห้อง จำนวน หลัง ในระยะแรกของการบริหารโรงเรียน 3 1นายนุ่ม เถาว์โท อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำปลีก เป็นผู้รับผิดชอบและได้ส่งครูจำนวน คน มาช่วย2 ทำการสอนชั่วคราว จนกระทั่งวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2522 กรมสามัญศึกษาส่งครูมาปฏิบัติราชการจำนวน 3 คน ในขณะนั้นอาคารเรียนชั่วคราวสร้างยังไม่เรียบร้อยและวัสดุอุปกรณ์ยังไม่พร้อม จึงต้องอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนชุมชนบ้านน้ำปลีก และเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2522 จึงได้ย้ายมาตั้งอยู่ในที่ปัจจุบัน ปีการศึกษา 2535 กรมสามัญศึกษา อนุมัติให้จัดตั้งโรงเรียนสาขาขึ้นที่บ้านนายม ตำบลนายม โดยให้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ จำนวน 1 ห้อง ได้รับบริจาคที่ดินบริเวณตลาดนัดโค กระบือ จากสภาตำบล1 –นาหมอม้า จำนวน 50 ไร่เศษ เป็นสถานที่ดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว 1 หลังและได้รับเงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา สร้างห้องส้วมจำนวน 1 หลัง จำนวน 4 ห้อง ปีการศึกษา 2536 โรงเรียนได้รับการอนุมัติจากกรมสามัญศึกษาได้ดำเนินการเปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้บริหารคนปัจจุบัน คือ นายโชติชัย กิ่งแก้ว ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนน้ำปลีกศึกษาตาราง แสดงข้อมูลทำเนียบผู้บริหารโรงเรียนน้ำปลีกศึกษาลำดับชื่อ สกุล–วุฒิการศึกษาตำแหน่งระยะเวลา1นายศรีสมบัติ ภูมิเขียวกศ บ. . ครูใหญ่2522-25242นายบัญชา สุขดีค บ. . อาจารย์ใหญ่2524-25353นายพิทยา รักพรมกศ บ น บ กศ ม. ., . ., . . ผู้อำนวยการ2535-25414นายเดชณรงค์ สุภิมารสกศ บ น บ ค ม. ., . ., . . ผู้อำนวยการ2541-25415นายกิตติศักดิ์ ศรีดาค บ พบ ม. ., . . ผู้อำนวยการ2542-25446ว่าที่ร ท วิเศษ แก้วมีศรี. .กศ บ น บ พบ ม. ., . ., . . ผู้อำนวยการ2544-25477ว่าที่ร ต กมล สาดศรี. .พบ ม. . ผู้อำนวยการ2547-25488นายสุมิตร เรืองบุตรศษ ม. . ผู้อำนวยการ2548-2554 9 นายสุพรรณ พันธ์สุวรรณ ค.ม.ผู้อำนวยการ2554- 255910นายสุเมธ หน่อแก้วศษ.ม.ผู้อำนวยการ2559-256311นายโชติชัย กิ่งแก้วบธ.ด.ผู้อำนวยการ2563-ปัจจุบัน

๓แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีปรัชญาของโรงเรียน“ ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม ” “ Wisdom , Fitch in Dhamma and Community Leadership ”คติธรรมของโรงเรียน“ นตถิ ปญญา สมาอาภา ”“ แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี ”“ No Light is as Precious as Wisdom ”คำขวัญของโรงเรียน “ ใฝ่จรรยา วิชาเยี่ยม เปี่ยมสามัคคี มีพลัง ”อัตลักษณ์“ คุณธรรม นำชีวิต มีจิตสาธารณะ”เอกลักษณ์ “ อุทยานร่มรื่น ”อักษรย่อของโรงเรียน“ น ป.. ”สีประจำโรงเรียน“ น้ำเงิน แดง –”ต้นไม้ประจำโรงเรียน“ ลำดวน ”ดอกไม้ประจำโรงเรียน“ ดอกคูณ ”ตราสัญลักษณ์โรงเรียน

๔แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี3 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา.ลำดบทัี ่ชอ สกลื ่-ุตำแหนง่อนดบััวทยฐำนะิเลขทตำแหนงี ่่วฒกำรศกษำุิึ1นายโชตชัย กงแกวิิ ่้ผอานวยการสถานศกษาู ้ึคศ.3ชานาญการพเศษิ66146ศษม การบรหารการศกษา บชด บรหารธรกจ. .ิึ/ . .ิุิ2นายวทยา ทรวงดอนิรองผอานวยการสถานศกษา คศู ้ึ.2ชานาญการ66147ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ3วาท รต สดสาคร นามสวรรณ่ี ่. .ุุคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ1996ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ4นางลาวลย สหะวงษั์ี์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ109484ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ5นางรชนย ทองโพธศรัี์ิ ์ีคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ66152ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ6นางสาวภทรยา โพธศรคณัิิ ์ีุคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ109483วท บ เคม. . ี7นางเสงยม หรญสงหี ่ิัิ์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ66156ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ8นางสาวจารวลย ประพณุั์ิคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ107975บธบ คอมพวเตอรธรกจ. .ิ์ุิ9นายบญถน ไชยอตมุิุ์คร ูคศ.3ครช านาญการพเศษูิ32247ศ นบ ภาษาองกฤษ. . .ั10นายเถลงศกด เถาวโทิัิ ์์คร ูคศ.3ครช านาญการพเศษูิ45050วท ม ฟสกสศกษา. .ิิ์ึ11นางกญญาวร เศวตวงศัี์์คร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ2114ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ12นายบรรจบ บพชาตุิคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ130413ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ13นางขวญใจ จนทนะชาตััิคร ูคศ.3ครชานาญการพเศษูิ64705ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ14นางกฤตพร จนทรแดงั์คร ูคศ.2ครชานาญการู124377ศศ บ ภาษาองกฤษ. . ั15นายไกรสร คาชลองีคร ูคศ.2ครช านาญการู64452ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ16นางวรรณ บญสภากลีุุุคร ูคศ.2ครช านาญการู65718ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ17นายยทธนาว เมองซองุีืคร ูคศ.1-101839ศ ศ บ ดนตรสากล. . .ี18นางสาวภญญดา วงศปดสาิ์ัคร ูคศ.1-66162ศษม การบรหารการศกษา. .ิึ19นายณรงคฤทธ ประดษฐแทน์ิ ์ิ์่คร ูคศ.1-66158ค บ สงคมศกษา. . ัึ20นางมณรตน สทธการีั์ุคร ูคศ.1-64243ค บ สงคมศกษา. . ัึ21นายเอกชย จนทรภรกษัั์ิั์คร ูคศ.1-66160วศ บ วศวกรรมพอลเมอร. .ิิ์22นางสาวภกดนนท สมรกษัิั์ั์คร ูคศ.1-104535ค บ วทยาศาสตร. . ิ์23นางสาวบษบา มลเพญุู็คร ูคศ.1-66155ค ม หลกสตรและการสอน. .ัู24นางสาวพรทพย คาเพราะิ์ครผชวยูู ้่--130414ค บ ภาษาไทย. .25นางสาวสนษา คาแหนุิครผชวยูู ้่--66161ค บ คณตศาสตร. .ิ์26นางสาวกฤษณา นนทพจน์ครผชวยูู ้่--66150ค บ สงคมศกษา. .ัึ27นายวฑรย ทอนเงนิู์่ิพนกงานราชการั--พ316887ศษบ พลศกษา. .ึ28นางสาวนนทพร สองสั์ีเจาหนาทธรการ้้ี ุ่---ศศ บ ภาษาองกฤษธรกจ. .ัุิ29นางนราจนทร กมลรตนั์ั์ครพเลยงเดกพการเรยนรวม ูี ่ี ้็ิี---ปวสการบญช.ัี30นายสมภพ คณเลยงูี ้ครจตอาสาูิ---นศ บ นเทศศาสตร. . ิ์31นางสาวธตมา ชนสภคิิื ุ่ัครจตอาสาูิ---วท บ เคมประยกต. . ีุ์32นายรตน แสนชาตั์ิชางไม ่้4---มธยมศกษาปท ัึีี ่633นายสมัคร อนลเพทิุลกจางชวคราวู้ั ่---มธยมศกษาปท ัึีี ่634นางบรรจง อนลเพทิุแมบาน่้---มธยมศกษาปท ัึีี ่6

๕แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี1) จำนวนบุคลากรบุคลากรผู้บริหารครูผู้สอนพนักงานครูอัตราจ้างเจ้าหน้าที่อื่นๆปีการศึกษา 25642 25 1 0 6 2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบคลากรุผู้บริหาร6%ครูผู้สอน76%พนักงาน3%ครูอัตราจ้าง0%เจ้าหน้าที่อื่นๆ15%บุคลากรปีการศึกษา 2564ปริญญาตรี62%ปริญญาโท35%ปริญญาเอก3%วุฒิการศึกษาปีการศึกษา 2564ปวช.ปวส.ประกาณียบัตรบัณฑิตปริญญาตรีปริญญาโทปริญญาเอกระดับการศึกษาปวช.ปวส.ประกาณียบัตรบัณฑิตปริญญาตรีปริญญาโทปริญญาเอกปีการศึกษา 25640 0 0 18 10 1

๖แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอนสาขาวิชาจำนวน (คน)ภาระงานสอนของครูเฉลี่ย 1 คน ในแต่ละสัปดาห์ (ชม./สัปดาห์)1.บริหารการศึกษา2 0.00 2.คณิตศาสตร์4 15.42 3.วิทยาศาสตร์6 17.78 4.ภาษาไทย2 19.17 5.ภาษาอังกฤษ4 15.00 6.สังคมศึกษา5 17.00 7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี2 17.92 8.สุขศึกษาและพลศึกษา2 18.33 9.ศิลปะ1 16.33 10.แนะแนว0 0.00 11.บรรณารักษ์0 0.00 12.ครูธุรการ1 0.00 รวม29 136.95 ภาระงานสอนของครูเฉลี่ย 1 คน ในแต่ละสัปดาห์ (ชม./สัปดาห์)24624522100.0000.001015.4217.7819.1715.0017.0017.9218.3316.670.000510152025จ านวนครูชั่วโมงสอน

๗แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี4. ข้อมลนักเรียนู จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2564 รวม 465 คนระดับ- ม.1 ม.2 ม.3 รวมม.4 ม.5 ม.6 รวมรวมทั้งหมดชั้นเรียนจำนวนห้อง- 3 3 3 9 2 2 2 6 15 เพศชาย40 51 45 136 19 31 32 82 218 หญิง49 51 48 148 32 42 25 99 247 รวม- 89 102 93 284 51 73 57 181 465 เฉลี่ย- 30.00 34.00 31.00 31.56 25.50 36.50 28.50 30.17 31.00 ต่อห้อง5.ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษาเอกสารอ้างอิง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา 2563 Link : https://online.pubhtml5.com/ylqa/qppz/ ม.1ม.2ม.3ม.4ม.5ม.6ผลการเรียนเฉลี่ย2.682.832.922.862.683.32.682.832.922.862.683.3ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้น ปีการศึกษา2 5 6 3

๘แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีข้อมลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา 2562-2563ู2.682.832.922.862.683.32.82.93.052.63.143.03-0.12-0.07-0.130.26-0.460.27-101234ม.1ม.2ม.3ม.4ม.5ม.6ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ ปีการศึกษา 2563เทียบ 2562ผลต่าง63-62AVG.62AVG.6367.0070.7573.0071.5067.0082.5070.0072.5076.2565.0078.5075.75-3.00-1.75-3.256.50-11.506.75-20.000.0020.0040.0060.0080.00100.00ม.1ม.2ม.3ม.4ม.5ม.6ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2562-2563ผลต่างปี63-62ร้อยละปี62ร้อยละปี.63

๙แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีข้อมลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษาูร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไปร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป67.5559.5469.8572.4986.0778.4885.3654.520102030405060708090100ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมสุขศึกษาและพลศึกษาศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยีภาษาต่างประเทศร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวชาในระดับ ิ3ขึ้นไป ปีการศึกษา 256256.1946.5552.5557.6689.5079.4977.8534.16020406080100ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสังคมศึกษา ศาสนา ฯสุขศึกษาและพลศึกษาศิลปะการงานอาชีพภาษาต่างประเทศร้อยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับดีขึ้นไปตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2563

๑๐แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีเปรียบเทียบร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไปปีการศึกษา 2563 เทียบ ปีการศึกษา 256256.1946.5552.5557.6689.5079.4977.8534.1667.5559.5469.8572.4986.0778.4885.3654.42020406080100ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสังคมศึกษา ศาสนา ฯสุขศึกษาและพลศึกษาศิลปะการงานอาชีพภาษาต่างประเทศ25622563

๑๑แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีผลการประเมินคุณลักษณะอนพึงประสงค์แยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2563ัระดับชั้นจำนวนนักเรียนที่รับการประเมินจำนวนนักเรียนตามระดับคุณภาพจำนวนนักเรียนระดับดีขึ้นไปร้อยละจำนวนนักเรียนระดับดีขึ้นไปคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดีเยี่ยมดีผ่านไม่ผ่านระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 102 72 25 1 4 97 95.10 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 93 60 28 1 4 88 94.62 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 80 68 4 4 4 72 90.00 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 72 67 3 2 0 70 97.22 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 57 40 17 0 0 57 100.00 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 46 45 0 0 1 45 97.83 รวม450 352 77 8 13 429 95.33 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.37 17.58 1.83 2.97 97.95 95.33 ร้อยละจำนวนนักเรียนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่มีผลการประเมินระดับดีขึ้นไปแยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 256395.194.629097.2210097.8395.338486889092949698100 102ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6เฉลี่ยรวมผลการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้นปีการศึกษา

๑๒แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2563ระดับชั้นจำนวนนักเรียนที่รับการประเมินจำนวนนักเรียนตามระดับคุณภาพจำนวนนักเรียนระดับดีขึ้นไปร้อยละจำนวนนักเรียนระดับดีขึ้นไปการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนดีเยี่ยมดีผ่าน ไม่ผ่านระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 102 61 28 1 12 89 87.25 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 93 51 25 0 17 76 81.72 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 80 60 11 5 4 71 88.75 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 72 66 4 0 2 70 97.22 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 57 33 23 0 1 56 98.25 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 46 41 4 0 1 45 97.83 รวม450 312 95 6 37 407 90.44 ค่าเฉลี่ยร้อยละ71.23 21.69 1.37 8.45 92.92 91.64 ร้อยละจำนวนนักเรียนประเมินผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 256387.2581.7288.7597.2298.2597.8390.44020406080100120ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6เฉลี่ยรวมผลการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้นปีการศึกษา

๑๓แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี6. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 1)ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2563 LinK : http://gg.gg/O-NET-NP ระดับ/รายวิชาภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภาษาอังกฤษคะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน51.72 20.92 28.49 29.96 คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ฯ55.92 26.58 30.15 34.54 คะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ.54.81 25.82 30.17 34.14 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ54.29 25.46 29.89 34.38 51.7220.9228.4929.9655.9226.5830.1534.5454.8125.82 25.4630.1734.1454.2929.8934.380102030405060ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภาษาอังกฤษชื่อแผนภูมิผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ฯคะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ.คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

๑๔แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ระดับ/รายวิชาภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาภาษาอังกฤษคะแนนเฉลี่ย ของโรงเรียน42.76 21.32 32.87 36.67 24.06 คะแนนเฉลี่ย ระดับเขตพื้นที่ฯ42.14 23.82 31.23 35.21 26.56 คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพฐ.45.22 26.33 33.04 36.32 29.73 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ44.36 26.04 32.68 35.93 29.94 42.7621.3232.8736.6724.0642.1423.8231.2335.2126.5645.2226.3333.0436.3229.73 29.9444.3626.0432.6835.9305101520253035404550ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาภาษาอังกฤษผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ฯคะแนนเฉลี่ยระดับ สพฐ.คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ

๑๕แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี3) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2561-2563ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ภาษาอังกฤษปี256150.5926.0234.1427.60ปี256251.8922.5329.2727.14ปี256351.7220.9228.4929.9650.5926.0234.1427.60 27.1451.89 51.7222.5329.27 28.4920.9229.960 102030405060ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561- 2563ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ปี2561ปี2562ปี2563ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาภาษาอังกฤษปี256143.4021.1028.3833.6324.18ปี256236.7018.3226.2832.6523.30ปี256342.7621.3232.8736.6724.0643.4021.1028.3833.6324.1836.7018.3226.2832.6523.3042.7621.3232.8736.6724.060 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2561- 2563ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ปี2561ปี2562ปี2563

๑๖แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา 2561-2563ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 สูงขึ้นเป็นอันดับ 1 ของโรงเรียนขนาดเล็ก ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญเอกสารอ้างอิง วิเคราะห์ผลการทดสอบโอเน็ต ม.3 Link….>>>https://online.pubhtml5.com/ylqa/omzy/ <<<…Linkเอกสารอ้างอิง วิเคราะห์ผลการทดสอบโอเน็ต ม.6https://online.pubhtml5.com/ylqa/zveo/

๑๗แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี7. ข้อมลอาคารสถานที่ แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2564ู1) อาคารสถานที่อาคารสถานที่จำนวนอาคารสถานที่จำนวนอาคารเรียน 216 . ค1 หลังอาคารเรียนชั่วคราว3 หลังโรงฝึกงานอุตสาหกรรม1 หลังโรงอาหาร1 หลังโรงฝึกงานเกษตร1 หลังห้องฟิสิกส์1 ห้อง ห้องนาฎศิลป์1 หลังสวนป่าเล็กห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์1 ห้องสวนป่าใหญ่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์2 ห้องอาคารห้องประชุม1 หลังห้องจริยธรรม1 ห้อง ศาลาประดิษฐานพระพทธรูปุ2 หลังห้องโสตทัศนศึกษา1 ห้องสวนคณิตศาสตร์1 ห้องสมุด1 ห้องสวนวิทยาศาสตร์1 สนามบาสเกตบอล1 สนามบ้านพักครู5 หลังห้องน้ำห้องส้วม21 ห้องห้องประชาสัมพันธ์1 ห้อง สนามวอลเลย์บอล1 สนามห้องดนตรี1 ห้องสนามฟุตบอล1 สนาม ห้องพยาบาล1 ห้องสนามฟุตซอล1 สนาม 2) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนสถิติการใช้(จำนวนครั้ง/ปี) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนสถิติการใช้(จำนวนครั้ง/ปี) โรงฝึกงานอุตสาหกรรม140โรงอาหาร100โรงฝึกงานเกษตร/คหกรรม180ห้องฟิสิกส์320ห้องดนตรี420สวนป่าเล็ก220ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์340สวนป่าใหญ่340ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์320อาคารห้องประชุม120ห้องจริยธรรม260ศาลาประดิษพระพทธรูปุ80ห้องโสตทัศนศึกษา180สวนคณิตศาสตร์45ห้องสมุด360สวนวิทยาศาสตร์38สนามบาสเกตบอล100ห้องประชาสัมพันธ์100ห้องอาเซียน340ห้องดนตรี350สนามวอลเลย์บอล110ห้องพยาบาล100สนามฟุตบอล100ห้องโสตทัศนศึกษาใหม่160สนามฟุตซอล140สวนคณิตศาสตร์44สวนป่าใหญ่165สวนป่าเล็ก99

๑๘แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี3) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียนแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียนสถิติการใช้(จำนวนครั้ง ปี/ ) ศูนย์คอมพิวเตอร์หมู่บ้าน19 สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดอำนาจเจริญLink :https://online.pubhtml5.com/ylqa/rxys/ 19 บือบ้าน5 วัดโนนสำโรง5 วัดกลาง5 วัดศรีมงคล5 วัดดงเฒ่าเก่า2 โรงพยาบาลหัวตะพาน Link https://online.pubhtml com/ylqa/khln/ :5.58. ผลงานดีเด่น ปีการศึกษา 25631) ผลงานดีเด่นของโรงเรียน ได้รับประกาศนียบัตรเป็นสถานศึกษาที่มีส่วนร่วมในการประเมินพฤติกรรมเด็กและเยาวชนที่ยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริตและการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา

๑๙แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีมีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-Net ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 สูงเป็นอันดับ 9 ของโรงเรียนทั้งหมด 81 โรงเรียน จากสำนักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษาึอุบลราชธานี อำนาจเจริญได้รับเกียรติบัตรโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จในการจัดการศึกษา เป็นกลุ่มเป้าหมายในการถอดบทเรียน การยกระดับผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญึเว็บไซต์วิเคราะห์ผลโอเน็ตปีการศึกษา 2559-2563 LinK : http://gg.gg/O-NET-NP

๒๐แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี2) ผลงานดีเด่นของผู้บริหาร 2.๑ ผลงานของผู้บริหาร 2.๑.๑ นายโชติชัย กิ่งแก้ว ได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ระดับทอง (ผลงานระดับชาติ) 2.๑.๒ นายโชติชัย กิ่งแก้ว ได้รับเกียรติบัตรผู้บริหารดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ 2.๑.๓ นายโชติชัย กิ่งแก้ว ได้รับเกียรติบัตร ผู้บริการดีเด่นด้านเศรษฐกิจพอเพียงจากสำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ 2.๑.๔ นายวิทยา ทรวงดอน ได้รับรางวัลรองผู้อำนวยการสถานศึกษาดีเด่นจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ 2.๑.๕ นายวิทยา ทรวงดอน ได้รับรางวัลรองผู้อำนวยการดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ2.๒ ผลงานดีเด่นของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.๒.๑ นายเถลิงศักดิ์ เถาว์โท ได้รับรางวัล “เสมามิ่งมงคล” ประเภทครู จากสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอำนาจเจริญLink : https://online.pubhtml5.com/ylqa/ezms/ 2.๒.๒ ว่าที่ ร.ต.สุดสาคร นามสุวรรณ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษาจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๓ นางรัชนีย์ ทองโพธิ์ศรี ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๔ นายบรรจบ บุพชาติ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๕ นางสาวพรทิพย์ คำเพราะ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๖ นายวิฑูรย์ ท่อนเงิน ได้รับรางวัลพนักงานราชการและครูจ้างสอนดีเด่นจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๗ นายสมภพ คูณเลี้ยง ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษาจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๘ นายณรงค์ฤทธิ์ ประดิษฐ์แท่น ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๙ นางสาวธิติมา ชื่นสุภัค ได้รับรางวัลครูผู้มีจิตอาสาจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๑๐ นายสมัคร อินลุเพท ได้รับรางวัลลูกจ้างประจำดีเด่นจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙

๒๑แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี2.๒.๑๑ นางสาวนันท์พร สองสี ได้รับรางวัลลูกจ้างสนับสนุนการสอนดีเด่นจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙2.๒.๑๒ นางขวัญใจ จันทนะชาติ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญึ 2.๒.๑๓ นายไกรสร คำชีลอง ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญึ2.๒.๑๔ นายยุทธนาวี เมืองซอง ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษาจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญึ2.๒.๑๕ นางมณีรัตน์ สุทธการ ได้รับรางวัลครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศกษา จังหวัดอำนาจเจริญึ2.๒.๑๖ นายรัตน์ แสนชาติ ได้รับรางวัลลูกจ้างประจำดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ2.๒.๑๗ นายประดิษฐ จิตรมาศ ได้รับรางวัลกรรมการศึกษาดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ2.๒.๑๘ นางสาวจารุวัลย์ ประพิณ ได้รับรางวัลครูผู้มีจิตอาสาดีเด่นจากกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ2.๒.๑๙ นางกัญญาวีร์ เศวตวงศ์ ได้รับรางวัลครูที่ปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงจากสำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ2.๒.๒๐ นายณรงค์ฤทธิ์ ประดิษฐ์แท่น ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๑ นางรัชนีย์ ทองโพธิ์ศรี ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๒ นางสาวภักดินันท์ สมรักษ์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๓ นางขวัญใจ จันทนะชาติ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๔ นางกฤตพร จันทร์แดง ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๕ นางเสงี่ยม หิรัญสิงห์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๖ นางสาวภัทริยา โพธิ์ศรีคุณ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓

๒๒แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี2.๒.๒๗ นางสาวกฤษณา นนทพจน์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๘ นางสาวพรทิพย์ คำเพราะ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๒๙ นางลาวัลย์ สีหะวงษ์ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๓๐ นางสาวจารุวัลย์ ประพิณ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๓๑ นางสาวบุษบา มูลเพ็ญ ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๓๒ นายวิฑูรย์ ท่อนเงิน ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๓๓ นางวรรณี บุญสุภากุล ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๒.๓๔ นางสาวสุนิษา คำแหน ได้รับเกียรติบัตรครูผู้มีผลงานการวิจัยในชั้นเรียนดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๓2.๓ ผลงานดีเด่นของนักเรียน 2.๓.๑ นางสาวเยาวลักษณ์ ธรรมวงศ์การ ได้รับโล่รางวัลสุดยอดเด็กดีเด่นแห่งปี (Best Child of the Year ๒๐๒๑) เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๔ จากองค์กรสาธารณประโยชน์ เลขที่ ๒๔๒๗2.๓.๒ นางสาวเยาวลักษณ์ ธรรมวงศ์การ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นเด็กประพฤติดี “วัฒนธรรมวินิต” (ผู้นำทางวัฒนธรรม) เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๖๔ จากจังหวัดอำนาจเจริญ 2.๓.๓ นายเหนือเมฆ วริวงษ์ ได้รับรางวัลชมเชย ระดับมัธยมศึกษา โครงการประกวดเรียงความ ในหัวข้อ “ความประทับใจของฉันได้ทำดี จุดประทีปออนไลน์ จากเครือข่ายส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อเยาวชน

๒๓แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ พ.ศ. 3 (2555) ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาแสดงในตารางสรุปผลดังนี้ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มัธยมศึกษา ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป ได้แก่: ลำดับที่ตัวบ่งชี้ที่ชื่อตัวบ่งชี้ระดับคณภาพุ1 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีดีมาก2 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ดีมาก3 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศกษาึดีมาก4 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัดดีมาก5 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษาดีมาก6 10 ผลการพัฒนาจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษาดีมาก7 11 ผลการการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษาดีมาก8 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรียนรู้อย่างต่อเนื่องดีมาก9 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็นดี10 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญดี11 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาดีตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพต่ำกว่าระดับดี ได้แก่ลำดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ชื่อตัวบ่งชี้ระดับคณภาพุ1 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนปรับปรุง

๒๔แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 1.ด้านผลการจัดการศึกษาให้ครูผู้สอนนำผลคะแนนตามมาตรฐานการเรียนรู้ย่อยของแต่ละกลุ่มสาระที่ถูกวิเคราะห์ตามผล O-NET ฉบับที่ มาเป็นข้อมูลใช้ ในการปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ครูผู้สอนในแต่ละกลุ่ม2 สาระการเรียนรู้ควรจัดทำบัญชีรายชื่อแหล่งเรียนรู้ หรือเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือจัดทำบทเรียนสำเร็จรูป เพื่อให้ผู้เรียน ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเองได้2.ด้านการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาควรมีการดำเนินการส่งเสริมการประเมินผลการเรียนของผู้เรียนเป็นไปตามระเบียบและวิธีการวัดประเมินผลการเรียน จัดทำเอกสารการรายงานเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผลการเรียนให้คลอบคลุมและชัดเจนตามกำหนดระยะเวลา3.ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ1. ควรนำผลการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ แบบวัด แบบทดสอบ การประเมินการจัดการเรียนการสอนไปพัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็นระบบ โดยเริ่มจากากรนำข้อมูลจากการประเมินมาวิเคราะห์หาสาเหตุ ร่วมประชุมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและหาแนวทางในการแก้ไข และพัฒนาครูแต่ละคนต่อไป โดยควรมีการติดตาม ประเมินผลการพัฒนาและนำผลการพัฒนามาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาในปีต่อไป 2. สถานศึกษาควรนำผลคะแนนเฉลี่ยมาตรฐานการเรียนรู้ของสาระการเรียนรู้ย่อยตามผลสอบ O-NET ฉบับที่ และ ให้พิจารณาค่าสถิติ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มัธยฐานนิยม มาเป็นข้อมูลเพื่อใช้2 5 ในการปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ และตรวจสอบประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครูในแต่กลุ่มสาระการเรียนรู้ 3. ครูควรพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดหลากหลายรูปแบบโดยการฝึกให้นักเรียน ใช้แผนที่ความคิด (Mind mapping) และ ผังมโนทัศน์ (Concept mapping) หรือฝึกฝนให้นักเรียนใช้กิจกรรมอื่นๆ เพื่อพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียนและครูควรออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ครอบคลุมวงจร PDCAพัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญโดยเฉพาะเน้นการสอนคิด เช่น การสอนแบบโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) การสอนแบบโครงงาน การสอนแบบอริยสัจ การสอนแบบโยนิโสมนัส4 การฯลฯ

๒๕แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีส่วนที่ 2กรอบแนวคิดและทิศทางโรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือนโยบายในทุกระดับที่เกี่ยวข้องกับด้านการศึกษา ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน เกิดผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดังนี้การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน1. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง1.1 ความรู้ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง1.2 ยึดมั่นในศาสนา1.3 มั่นคงในสถาบันกษัตริย์1.4 มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน2. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม2.1 รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด–ชอบ / ชั่ว–ดี2.2 ปฏิบัติแต่สิ่งที่ชอบ สิ่งที่ดีงาม2.3 ปฏิเสธสิ่งที่ผิด สิ่งที่ชั่ว2.4 ช่วยกันสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง3. มีงานทำ – มีอาชีพ3.1 การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็ก และเยาวชน รักงาน สู้งาน ทำจนงานสำเร็จ3.2 การฝึกฝนอมรมทั้งในหลักสูตร และนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียน ทำงานเป็นและมีงานทำในที่สุด3.3 ต้องสนับสนุนผู้สำเร็จหลักสูตร มีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลี้ยงตนเอง และครอบครัว4. เป็นพลเมืองที่ดี4.1 การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าที่ของทุกคน4.2 ครอบครัว–สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทำหน้าที่เป็นพลเมืองดี4.3 การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรที่จะทำเพอบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ” ื่เช่น งานอาสาสมัคร งานบำเพญประโยชน์ ็งานสาธารณกุศลให้ทำด้วย ความมีน้ำใจ และความเอื้ออาทร1พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลที่ 10

๒๖แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี1. ศึกษาข้อมลอย่างเป็นระบบูการที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ ทั้งข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร แผนที่สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อที่จะพระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วตามความต้องการของประชาชน2. ระเบิดจากข้างในพระองค์ทรงมุ่งเน้น เรื่องการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน” หมายความว่าต้องสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนาให้มีสภาพที่จะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนก มิใช่กานำความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชน หมู่บ้าน ที่ยังไม่ทันได้มีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว3. แก้ปัญหาจากจุดเล็กพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปี่ยมไปด้วยพระอัจฉริยภาพในการแก้ไขปัญหา ทรงมองปัญหา ในภาพรวมก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาของพระองค์จะเริ่มจากจุดเล็ก ๆ คือ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมักจะมองข้าม4. ทำตามลำดับขั้นในการทรงงานพระองค์จะทรงเริ่มต้นจากสิ่งที่จำเป็นที่สุดของประชาชนก่อน ได้แก่สาธารณสุขเมื่อมีร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรงแล้วก็จะสามารถทำประโยชน์ด้านอื่น ๆ ต่อไป จึงเป็นเรื่องสาธารณูปโภคขั้นพนฐาน ื้และสิ่งจำเป็นสำหรับประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้ำ เพื่อการเกษตร การอปโภค บริโภคที่เอื้อประโยชน์ต่อุประชาชนโดยไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการให้ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เรียบง่ายเน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถนำไปปฏิบัติได้และเกิดประโยชน์สูงสุด5. ภูมิสังคมการพัฒนาใด ๆ ต้องคำนึงถึงภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของผู้คน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน6. องค์รวมทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวม หรือมองอย่างครบวงจร ในการที่จะพระราชทานพระราชดำริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้น จะมองเหตุการณ์ทเกิดขึ้นและแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยง ดังเช่น กรณีของ “ทฤษฎีี่ใหม่” ที่พระราชทานให้แก่ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพแนวทางหนึ่งที่พระองค์ทรงมองอย่างองค์รวม ตั้งแต่การถือครองที่ดินโดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทย ประมาณ 10 - 15 ไร่ การบริหารจัดการที่ดินและแหล่งน้ำ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการประกอบอาชีพ เมื่อมีน้ำในการทำเกษตรแล้วจะส่งผลให้ผลผลิตดีขึ้น และหากมีผลผลิตเพมมากขึ้น เกษตร จะต้องรู้จักวิธีการจัดการและการตลาด รวมถึงการิ่2 23 หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหัว รัชกาลที่ ู่9

๒๗แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีรวมกลุ่ม รวมพลังชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อพร้อมที่จะออกสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้อย่างครบวงจร นั่นคือทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 , 2 และ 37. ไม่ติดตำราการพัฒนาตามแนวทางพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลมและรอมชอมกับสภาพธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน คือ “ไม่ติดตำรา” ไม่ผูกมัดกับวิชาการแลเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทย8. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุดในเรื่องของความประหยัดนี้ ประชาชนชาวไทยทราบกันดีว่าเรื่องส่วนพระองคก็ทรงประหยัด์มากดังที่เราเคยเห็นว่า หลอดยาสีพระทนต์นั้นทรงใช้อย่างคุ้มค่าอย่างไร หรือฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยู่เป็นเวลานาน ขณะเดียวกันการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎรทรงใช้หลักในการแกไขปัญหาด้วยความเรียบง่าย้และประหยัด ราษฎรสามารถทำได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้น ๆ มาแกไขปัญหา้โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ไม่ยุ่งยากนัก9. ทำให้ง่ายด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทำให้การคดค้น ิดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงานการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำริดำเนินไปได้โดยง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อนและที่สำคัญอย่างยิ่ง คือสอดคล้องกบสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศโดยส่วนรวม .ตลอดจนสภาพทางัสังคมของชุมชนนั้น ๆ ทรงโปรดที่จะทำสิ่งยากให้กลายเป็นง่าย ทำสิ่งที่สลับซับซ้อนให้เข้าใจง่ายอันเป็นการแก้ปัญหาด้วยการใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทางนั่นเอง10. การมีส่วนร่วมพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักประชาธิปไตย จึงทรงนำ “ประชาพิจารณ์” มาใช้ในการบริหาร เพอเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือื่เจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องคำนึงถึงความคดเห็นของประชาชน หรือความิต้องการของสาธารณชน11. ประโยชน์ส่วนรวมการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ และการพระราชทานพระราชดำริในการพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ12. บริการรวมที่จุดเดียวการบริการรวมที่จุดเดียวเป็นรูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จ ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก ในระบบบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทย โดยทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นต้นแบบในการบริการรวมที่จุดเดียว เพื่อประโยชน์ต่อ

๒๘แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีประชาชนที่จะมาขอใช้บริการจะประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดยจะมีหน่วยงานราชการต่าง ๆ มาร่วมดำเนินการและให้บริการประชาชน ณ ที่แห่งเดียว13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ ทรงมองอย่างละเอยดถึงีปัญหาธรรมชาติ หากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ อาทิ การแก้ไขปัญหาป่าเสื่อมโทรม ได้พระราชทานพระราชดำริ การปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยในการฟื้นฟูธรรมชาติหรือแม้กระทั่ง การปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ได้แก่ ปลูกไม้เศรษฐกิจ ไม้ผล และไม้ฟน ืนอกจากได้ประโยชน์ตามชื่อของไม้แล้ว ยังช่วยรักษาความชุ่มชื้นให้แก่พื้นดินด้วย เห็นได้ว่าทรงเข้าใจธรรมชาติและมนุษย์อย่างเกื้อกูลกันทำให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยั่งยืน14. ใช้อธรรมปราบอธรรมทรงนำความจริง ในเรื่องความเป็นไปแห่งธรรมชาติ และกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการ แนวปฏิบัติที่สำคัญในการแก้ปัญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ปกติ เข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่น การนำน้ำดี ขับไล่น้ำเสีย หรือเจือจางน้ำเสียให้กลับเป็นน้ำดี ตามจังหวัดการขึ้นลงตามธรรมชาติของน้ำ การบำบัดน้ำเน่าเสียโดยใช้ผักตบชวาซึ่งมีตามธรรมชาติ ให้ดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้ำ15. ปลูกป่าในใจคนเป็นการปลูกป่าลงบนแผ่นดินด้วยความต้องการอยู่รอดของมนุษย์ ทำให้ต้องมีการบริโภคและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง เพื่อประโยชน์ของตนเอง และสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อมปัญหาความไม่สมดุลจึงบังเกิดขึ้น ดังนั้น ในการที่จะฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้กลับคืนมาจะต้องปลูกจิตสำนึกในการรักผืนป่าให้แก่คนเสียก่อน16. ขาดทุนคือกำไรการเสียคือการได้ หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวคือ “การให้”และ“การเสียสละ” เป็นการกระทำอันมีผลเป็นกำไร คือ ความอยู่ดีมีสุขของราษฎร ซึ่งสามารถสะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนได้17. การพึ่งตนเองการพัฒนาตามแนวพระราชดำริในเบื้องต้นเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้ประชาชนมีความแข็งแรงพอที่จะดำรงชีวิตต่อไปได้ แล้วขั้นต่อไปก็คือการพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมและสามารถพึ่งพาตนเองได้ในที่สุด18. พออยู่พอกินการพัฒนาเพื่อให้พสกนิกรทั้งหลายประสบความสุขสมบูรณ์ในชีวิตได้เริ่มจากการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนทุกหมู่เหล่าในทุกภูมิภาคของประเทศไทยได้ทอดพระเนตรความเป็นอยู่ของราษฎรด้วยพระองค์เอง จึงทรงสามารถเข้าพระราชหฤทัยในสภาพปัญหาได้อย่างลึกซึ้ง ว่ามีเหตุผลมากมาย ที่ทำให้ราษฎรตกอยู่ในวงจรแห่งทุกข์เข็ญจากนั้นก็ได้พระราชทานความช่วยเหลือให้พสกนิกรมีความ กินดีอยู่ดี มีชีวิตอยู่ในขั้นพออยู่ พอกินก่อน แล้วจึงขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะที่ก้าวหน้าต่อไป

๒๙แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี19. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับครอบครัวระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวหน้าต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อมามีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในและภายนอก ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึก ในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรู้ที่เหมาะสมดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี20. ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกันผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผู้ที่มีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ21. ทำงานอย่างมีความสุขทำงานโดยคำนึงถึงความสุขทเกิดจากการี่ได้ทำประโยชน์ให้กับผู้อื่น22. ความเพียรจากตัวอย่างบทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก พระมหาชนกเพยรว่ายน้ำอยู่ 7 วัน 7 คืน แม้จะมองไม่เห็นฝั่ง แต่ยังคงว่ายต่อไป ไม่จมลง จนกลายเป็นอาหารของีปลา และได้รับความช่วยเหลือจนถึงฝั่งได้ในที่สุด23. รู้ รัก สามัคคีรู้ การที่เราจะลงมือทำสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด และรู้ถึงวิธีแก้ปัญหา: รัก เมื่อเรารู้ครบด้วยกระบวนการแล้ว จะต้องเห็นคุณค่า เกิดศรัทธา เกิดความรักที่จะเข้าไป: ลงมือปฏิบัติแก้ปัญหานั้น ๆ สามัคคี เมื่อถึงขั้นลงมือปฏิบัติต้องคำนึงเสมอว่าเราทำคนเดียวไม่ได้ ต้องร่วมมอร่วมใจกัน :ืสามัคคกันเป็นหมู่คณะ จึงจะเกิดพลังในการแก้ปัญหาให้ลุล่วงด้วยี

๓๐แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ และรัฐมนตรีว่าการ29 กระทรวงกลาโหมคนปัจจุบันนายณัฏฐพล ทีปสุวรรณอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้รัฐมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการ กำหนดให้หน่วยงานรัฐทุกหน่วยมีหน้าที่ดำเนินการเพอให้บรรลุเป้าหมายื่ทีกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 การพัฒนาประเทศในช่วงเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ “ประชารัฐ” ซึ่งยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 6 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพอความมั่นคงื่ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2561-2564) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับ3 ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580)4นโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564

๓๑แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดนโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ดังนี้ 1. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพอหลอมรวมภารกิจื่และบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ที่สามารถลดการใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วย ทั้งการบริหารงานและการจัดการศึกษารองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัล2. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน/โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งกระบวนการจัดทำงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เชื่อมั่นและร่วมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษามากยิ่งขึ้น3. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากำลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรภาครัฐ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัล4. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 215. ดำเนินการปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง ที่เป็นเงื่อนไขต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบาย “การศึกษายกกำลังสอง (Thailand Education Education Eco System : TE2S) –การศึกษาที่เข้าใจ Supply และตอบโจทย์ Demand” 5.1 ปลดล็อก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมให้สามารถดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงการบริหารการศึกษาของประเทศให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 5.2 ปรับเปลี่ยน หลักสูตรการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ปรับเปลี่ยนการพฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพับุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพื่อให้ครู Up Skill และ Re-Skill ของตนเองได้ตลอดเวลา ทั้งนี้ เพื่อส่งต่อความรู้ไปยังผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง และคนที่มีคุณภาพ 5.3 เปิดกว้าง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนที่มีคุณภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา ร่วมประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) จากแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ให้ครอบคลุมผู้เรียนทั่วประเทศ

๓๒แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีคำแถลงนโยบายการจัดการศึกษาของนางสาวตรีนุช เทียนทองรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คนปัจจุบัน

๓๓แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์1.1 การจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิ 1.1.1 จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ 1.1.2 ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศกษาตามึความต้องการจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายและแตกต่างหลากหลายตามบริบทของพื้นที่ 1.1.3 พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์จำลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพื่อเปิดโลกทัศน์มุมมองร่วมกันของผู้เรียนและครูให้มากขึ้น 1.1.4 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพื่อเป็นเครื่องมือในการดำรงชีวิตและสร้างอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สุขภาวะและทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพ1.2 การเรียนรู้ตลอดชีวิต 1.2.1 จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English for All) 1.2.2 ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตร BUDDY5จุดเน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

๓๔แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีโดยเน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อส่งเสริมประชาสัมพันธ์สินค้าออนไลน์ระดับตำบล1.2.3 พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและ มีเหตุผลเป็นขั้นตอน1.2.4 พัฒนาครูอาชีวศึกษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands –on Experience) เพื่อให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของประเทศจัดหลักสูตรการพัฒนาแบบเข้มข้นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี1.2.5 พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีศูนย์พัฒนาสมรรถนะบุคลากรระดับจังหวัดทั่วประเทศ2. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคง2.1 เฝ้าระวังภัยทุกรูปแบบที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และสถานศกษา โดยเฉพาะภัยจากยาเสพึติด อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์2.2 ส่งเสริมให้ใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมกับภาษาไทยเป็นสื่อจัดการเรียนการสอนในพื้นที่ที่ใช้ภาษาอย่างหลากหลาย เพื่อวางรากฐานให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งมีทักษะการสื่อสารและใช้ภาษาทสามในการต่อยอดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพี่2.3 ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา โดยใช้กระบวนการลูกเสือ และยุวกาชาด 3. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน3.1 สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตกำลังแรงงานที่มีคณภาพ ตามความเป็นเลิศของุแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต3.2 สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือปฏิบัติที่ทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) และทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา4.1 พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ และใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือการเรียนรู้4.2 ศึกษาและปรับปรุงอตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกับัสภาพเศรษฐกิจและบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ4.3 ระดมสรรพกำลังเพื่อส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาให้สอดคล้องพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศกษา พ.ศ.2562ึ.5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5.1 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พงึประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม5.2 ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพ และสร้างรายได้

๓๕แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ 6.1 ปฏิรูปองค์การเพื่อลดความทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของหน่วยงานที่มีภารกิจใกล้เคียงกัน เช่น ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย เป็นต้น6.2 ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เป็นอุปสรรคและข้อจำกัดในการดำเนินงาน โดยคำนึงถึงประโยชน์ของผู้เรียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการโดยรวม6.3 สนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ6.4 พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการศึกษา (Big Data) 6.5 พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ ให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ6.6 สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างอิสระและมีประสิทธิภาพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ6.7 จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ6.8 ส่งเสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกบริเวณโรงเรียนให้เอื้อต่อการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ 7. พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จำเป็น เพื่อทำหน้าที่วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพอความเป็นเลิศ (ื่Human Capital Excellence Center : HCEC)8. จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเว็บไซต์ www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิดกว้างให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียน ครู และผู้บริหารทางการศึกษามีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพอความเป็นเลิศ (ื่Digital Education Excellence Platform : DEEP) 9. ให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคลสู่ความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) 10. จัดทำ “คู่มือมาตรฐานโรงเรียน” เพื่อกำหนดให้ทุกโรงเรียนต้องมีพื้นฐานที่จำเป็น”

๓๖แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา กำหนดให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวัยทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต รวมทั้งเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบและมีจิตสาธารณะสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่นมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น “การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ” มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา 6 นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564–256525

๓๗แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2565 ดังนี้1. ด้านความปลอดภัยพัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี ุสามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ2. ด้านโอกาส2.1 สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัย2.2 ดำเนินการให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคณภาพุตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพอการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพื่ตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนที่มีความสามารถพเศษสู่ความเป็นิเลิศเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อป้องกันไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพมีทักษะในการดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง3. ด้านคุณภาพ3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จำเป็นของโลกในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการเลือกศึกษาต่อเพื่อการมีงานทำ3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็นในแต่ระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้านส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผู้เรียนทุกระดับ.3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีจิตวิญญาณความเป็นครู4. ด้านประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนบนฐานข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่

๓๘แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพชุมชน4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะและสถานศึกษาที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะพิเศษ4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน4.6 เพิ่มประสิทธิภาพการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๓๙แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัียุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร 6 ยุทธศาสตร์ ซึ่งมีความสอดคล้องกันในแผนบูรณาการ ดังนี้7ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร 6 ยุทธศาสตร์

๔๐แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี

๔๑แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ โดยยึดนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นกรอบในการกำหนดนโยบาย มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกคนบรรลุถึงศักยภาพสูงสุด มีความรู้และทักษะในการเรียนรู้และการดำรงชีวิตในอนาคต โดยกำหนดนโยบายและจุดเน้นในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ดังภาพประกอบ8นโยบายและจุดเน้นในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ

๔๒แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี

๔๓แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีขับเคลื่อนการทำงานไปพร้อมกันสามัคคีร่วมมอกันในการทำงานืกลยุทธ์2 จังหวัด (อุบลราชธานี - อำนาจเจริญ)3 กลยุทธ์ หลักการ 3 มาตรการ3 ประกอบด้วย3 กลยุทธ์ ได้แก่น้อมนำ - ศาสตร์พระราชา/นโยบายทุกระดับพัฒนา - ผู้บริหาร/ครู/บุคลากรทางการศกษา/เขตพื้นที่/โรงเรียน/ึนักเรียนยกระดับ - คุณภาพการศึกษา/มาตรฐานการศึกษา/มุ่งสู่สากล3 หลักการ ได้แก่ร่วมใจ - การร่วมใจกันเป็นหนึ่งเดียวร่วมมือ - การร่วมใจกันในการทำงาน มีความสามัคคีกันร่วมขับเคลื่อน - การร่วมขับเคลื่อนไปพร้อมกัน3 มาตรการ ได้แก่รวดเร็ว- ปลอดภัย/ทันสมัย/ทันเวลา/ทันเหตุการณ์สะอาด - ถูกต้อง/โปร่งใส/ตรวจสอบได้สวยงาม- ผลผลิต/ผลลัพธ์/ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล. นโยบายและจุดเน้นในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ตามแนวทาง SPM 29 รายละเอียด ดังนี้29PParticipationMManagementSStrategyategyategy

๔๔แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัี3. มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.2560มาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นข้อกำหนดและแนวทางในการบริหารและจัดการศึกษา ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินตนเองในภาพรวม โดยใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามและประเมินผลการบริหารและจัดการศึกษา ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 14 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารจัดการที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ 2 การพัฒนาสู่องค์การแห่งการเรียนรู้ตัวบ่งชี้ที่ 3 การกระจายอำนาจและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารและการจัดการศึกษามาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาที่มประสิทธิภาพีตัวบ่งชี้ที่ 1 การบริหารงานด้านวิชาการตัวบ่งชี้ที่ 2 การบริหารงานด้านงบประมาณตัวบ่งชี้ที่ 3 การบริหารงานด้านการบริหารงานบุคคลตัวบ่งชี้ที่ 4 การบริหารงานด้านการบริหารทั่วไปตัวบ่งชี้ที่ 5 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพมาตรฐานที่ 3 สัมฤทธิ์ผลการบริหารและการจัดการศึกษาตัวบ่งชี้ที่ 1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีผลงาน ที่แสดงความสำเร็จและเป็นแบบอย่างได้ตัวบ่งชี้ที่ 2 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกษาปฐมวัยและการศกษาขั้นพื้นฐานึึ เพื่อการประกันคณภาพการศึกษาุตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนระดับปฐมวัยและระดับการศกษาขั้นพื้นฐานมีคุณภาพตามหลักสูตรึตัวบ่งชี้ที่ 4 ประชากรวัยเรียนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกนั ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือมีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพตัวบ่งชี้ที่ 5 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกษา พนักงานราชการ ลูกจ้างในสำนักงานึ เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีผลงานเชิงประจักษ์ ตามเกณฑ์ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติตัวบ่งชี้ที่ 6 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจ ในการบริหาร และการจัดการศกษา รวมทั้งการให้บริการึผลการประเมินของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (พ.ศ.2560) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 คะแนนเฉลี่ยโดยรวม 4 อยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก ดังนี้มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองค์การสู่ความเป็นเลิศ คะแนนที่ได้ 4มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ คะแนนที่ได้ 4มาตรฐานที่ 3 ผลการบริหารและการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา คะแนนที่ได้ 5

๔๕แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีส่วนที่ 3การวิเคราะห์สภาพองค์กร การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ภายนอกของสถานศึกษา/โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ได้ดำเนินการวิเคราะห์สถานภาพของสถานศึกษา โดยการระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเกี่ยวข้องกับการศึกษา โดยการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ และสอดคล้องกับภาระงาน ทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ประกอบกับการวิเคราะห์จากข้อมูลผลการดำเนินงานที่ผ่านมา สภาพปัญหาและความต้องการ ซึ่งสะท้อนสถานภาพของการขับเคลื่อนงานในปีการศึกษาต่อไปของสถานศึกษาได้อย่างครอบคลุม และชัดเจนเป็นรูปธรรม สามารถพัฒนาการทำงานได้อย่ามีประสิทธิภาพ สอดคล้อง และตอบตัวชี้วัดได้ สรุปผลการวิเคราะห์ได้ ดังนี้1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน โดยใช้ปัจจัย 2S 4M ที่เป็นจุดแข็ง ( และจุดอ่อน ( )S)W ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในจุดแข็ง(Strengths : S) จุดอ่อน(Weaknesses : W) S1 : ด้านโครงสร้างและนโยบาย (Structure) ๑. มีข้อตกลงร่วมกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการปฏิบัติงานของโรงเรียน ที่มีมากมาย ทำให้เกิดผลเสียต่อให้มีประสิทธิภาพ๒. มีการกระจายอำนาจแบ่งงานตามความถนัด ทำให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน๓. มีการแบ่งงานตามโครงสร้างการบริหารอย่างชัดเจน 4. มีระบบตรวจสอบภายในอย่างเข้มแขง็๑. ภาระงานของโรงเรียนมีมากกว่าจำนวนบุคลากรมีจำนวนจำกัด ปฏิบัติงานซับซ้อน๒. การดำเนินงานตามนโยบายการเรียนการสอน๓. การขับเคลื่อนระบบการบริหารไม่มีประสิทธิภาพ๔. ขาดการนิเทศติดตาม.

๔๖แผนพฒนาคุณภาพการศึกษา (พ.ศ.2564-2566) โรงเรียนน้ำปลีกศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธาน อำนาจเจริญ ัีปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในจุดแข็ง(Strengths : S) จุดอ่อน(Weaknesses : W) S2 : ด้านการให้บริการ (Structure) ๑. นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย และประสบความสำเร็จในการแข่งขันศกยภาพั๒. อัตราการศึกษาต่อของนักเรียนสูงขึ้น การเรียน๓. นักเรียนมีระเบียบวินัย๔. นักเรียนมีจิตสาธารณะ๕. นักเรียนมีคุณธรรมในขนบธรรมเนียม กระตือรือร้นในการมาโรงเรียน ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น๖. มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า1. นักเรียนบางส่วนมีปัญหาทางด้านครอบครัว มีผลกระทบต่อนักเรียนในด้านสุขภาพและ2. นักเรียนไม่กล้าแสดงออก3. นักเรียนขาดความใฝ่เรียนรู้M1 : ด้านบุคลากร (Man : M1) ๑. ครูมีความตื่นตัวและกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง นำความรู้ที่ได้มาใช้ใน เทคโนโลยีที่ทันสมัย ใช้สื่อไม่เต็มการจัดการเรียนการสอน2. ครูมีผลงานดีเด่นสามารถเป็นแบบอย่างแก่คนอื่นได้3. บุคลากรมีความสามัคคีในหมู่คณะ ทำให้การปฏิบัติงานประสบความสำเร็จและมีประสิทธิภาพ4. ครูนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้ งานเพิ่มมากขึ้นอย่างหลากหลายตามความถนัดและความสนใจ5. ครูมีอัตราการโยกย้ายต่ำ ส่งผลให้การปฏิบัติงาบได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ6. ครูมีความสามัคคีในการทำงาน7. ครูใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต8. ครูยึดมั่นและปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย9. ครูสอนตรงตามวิชาเอก๑๐. ครูดูแลเอาใจใส่นักเรียนอย่างใกล้ชิด๑๑. ครูมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและชุมชน๑. ครูบางคนขาดทกษะการใช้ัประสิทธิภาพ ส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้ได้ไม่เต็มตามศกยภาพั2. ครูขาดความรู้เฉพาะด้านส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน๓. จำนวนครูไม่เพียงพอทำให้การมอบหมายงานบางอย่างไม่ตรงกับความถนัด และมีภาระ4. การจัดสอนแทน ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ไม่เต็มตามศกยภาพั5. ครูขาดการประชาสัมพันธ์ตนเอง และการประสานงานกับหน่วยงานอื่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook