Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

Published by t.kruyok004, 2019-12-22 03:10:09

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์

Search

Read the Text Version

คาํ นํา คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ไดด าํ เนนิ การทบทวน หลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพ่ือนาํ ไปสูปรับปรุงมาตรฐานและตัวชวี้ ัดมาตรฐาน ในสาระวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร ภูมศิ าสตรแ ละการงาน อาชพี และเทคโนโลยี หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และโรงเรยี นนํ้าปลกี ศึกษา ไดดําเนินการจัดทาํ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1,2และช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 4,5ในปก ารศกึ ษา 2562ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ในเลม ประกอบดวย วิสัยทัศน หลักการ จดุ หมาย สมรรถนะที่สาํ คญั ของผูเรยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค สาระและมาตรฐานการเรยี นรู ตวั ชี้วดั โครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา คาํ อธิบายรายวชิ า เกณฑการวัดประเมนิ ผล และการจบหลักสูตร หวงั เปนอยา งยิง่ วา หลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตรเลมนี้ จะเปน กรอบและ ทิศทางในการจดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผูเรยี นในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและชนั้ มัธยมศกึ ษาตอน ปลายใหม คี วามรู มที ักษะพืน้ ฐานทจี่ ําเปนสําหรับใชเปน เครอื่ งมือในการดาํ รงชวี ติ ในสงั คมที่มกี าร เปลย่ี นแปลงไดอยา งมีประสิทธิภาพ นางขวัญใจ จันทนะชาติ หัวหนากลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

สารบัญ หนา คาํ นาํ ก สารบญั ข วสิ ยั ทัศน 1 พนั ธกจิ 1 หลักการ 1 จดุ มงุ หมาย 1 สมรรถนะความสาํ คัญของผเู รียน 2 คุณลักษณะอนั พึงประสงค 2 เรยี นรอู ะไรในคณิตศาสตร 2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู 3 คุณภาพผเู รียน 4 มาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู กนกลาง 7 ผลการเรยี นรแู ละสาระการเรียนรเู พม่ิ เติม 22 โครงสรางเวลาเรยี นหลกั สตู รแกนกลางพทุ ธศักราช 2551 24 โครงสรา งเวลาเรยี นโรงเรยี นนาํ้ ปลกี ศกึ ษา 25 คําอธบิ ายรายวชิ ากลุม สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร 37 ภาคผนวก 61 อภธิ านศพั ท 62

1. วิสัยทัศน โรงเรียนน้าํ ปลกี ศกึ ษา มุงพัฒนาผูเรยี นแบบมสี วนรว ม เช่ือมโยงชุมชนสปู ระชาคมอาเซียน ใหม คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม นําความรูและทักษะ สมรรถนะที่สาํ คญั ตามหลกั สูตรกาํ หนดอยา งมีคณุ ภาพ ไดมาตรฐานการศึกษา 2. พนั ธกจิ 1. จัดกระบวนการบริหารและการจัดการศึกษาท้ังระบบใหเอือ้ ตอการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา 2. บรหิ ารจดั การแบบมสี วนรวมเอ้อื ตอการพฒั นาคุณภาพของผูเ รียน 3. จดั กจิ กรรมสงเสรมิ ระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรยี นใหมีความเขม็ แข็ง 4. จัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมผูเรียนใหม คี ณุ ลักษณะที่พึงประสงค 5. สง เสริมการจดั กระบวนการเรยี นรูที่เนน ผูเ รยี นเปนสําคัญ 6. จัดกิจกรรมสง เสรมิ กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการเช่ือมโยงบริบทและวถิ ีชุมชนสู ประชาคมอาเซยี น 7. จดั กระบวนการเรียนรูพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผูเรียน 8. จดั ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาทีมีประสิทธภิ าพใหเกดิ ประสทิ ธผิ ลตอ การ พัฒนาคุณภาพการศึกษา 9. จัดกิจกรรมสงเสริมความสามารถพเิ ศษของผูเ รียน 3. หลักการ เปนหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเปนเอกภาพของชาติมจี ุดมุงหมายและมาตรฐานการเรียนรู เปน เปาหมายสาํ หรับพัฒนาเด็กและเยาวชน เปน หลักสตู รการศึกษาเพ่ือปวงชนท่ปี ระชาชนทกุ คนมโี อกาส ไดร บั การศึกษาอยางเสมอภาค และมคี ุณภาพ เปน หลักสูตรการศึกษาท่ีสนองตอ การกระจายอาํ นาจ เปนหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสรา งยดื หยุน ทัง้ ดา นสาระการเรยี นรู เวลาและการจดั การ เรยี นรู เปนหลกั สตู รการศึกษาท่เี นน ผูเ รียนเปน สาํ คญั เปนหลกั สตู รการศึกษา สําหรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลุมทุกกลมุ เปา หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรแู ละประสบการณ 4. จดุ มุงหมาย มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานยิ มทพ่ี ึงประสงค เหน็ คุณคาของตนเอง มีความรแู ละความสมารถในการส่อื สาร การคดิ การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มสี ขุ นิสยั และรักการออกกาํ ลงั กาย มีความรกั ชาติ มีจติ สํานึกในการเปนพลเมืองไทยและพลโลก มจี ิตสํานกึ ในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย 5. สมรรถนะความสาํ คัญของผูเรียน เปน สมรรถนะจาํ เปน พื้นฐาน 5 ประการท่ีกลุมสาระการเรยี นรูพงึ มี สมรรถนะเหลานีไ้ ด สอดแทรกบรู ณาการในมาตรฐานการเรยี นรูตางๆ ท้ัง 8 กลุมสาระการเรยี นรู

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค คุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ ทกี่ าํ หนดไวใ นหลักสตู รแกนกลาง เปน คณุ ลักษณะ ทต่ี อ งการใหเกดิ แกผ เู รียนทุกคน โรงเรียนน้ําปลกี ศึกษาไดกาํ หนดไวใ นหลักสตู รสถานศึกษา ไดแ ก 1) รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย 2) ซอื่ สตั ย สุจรติ 3) มีวินยั 4) ใฝเรยี นรู 5) อยูอยางพอเพียง 6) มงุ ม่ันในการทาํ งาน 7) รกั ความเปน ไทย 8) มีจิตสาธารณะ คุณสมบตั ิเหลา น้ีจะสอดแทรก บรู ณาการในมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของกลมุ สาระการเรียนรู ตา งๆ และสามารถพัฒนาผานกิจกรรมพัฒนาผูเ รยี น หรอื โครงการตา งๆ ของนักเรียน เรียนรูอ ะไรในคณิตศาสตร กลุม สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตรจัดเปน ๔ สาระ ไดแก จาํ นวนและพชี คณิต การวัดและเรขาคณติ สถิติและ ความนา จะเปน แคลคูลัส จํานวนและพีชคณิต ระบบจาํ นวนจริง สมบตั เิ กย่ี วกับจํานวนจรงิ อตั ราสวน รอยละ การประมาณ คา การแกป ญหาเก่ียวกับจํานวน การใชจํานวนในชีวิตจรงิ แบบรูป ความสมั พันธ ฟง กช ัน เซต ตรรกศาสตร นพิ จน เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบี้ยและมลู คา ของเงิน เมทริกซ จํานวนเชงิ ซอ น ลาํ ดับและอนุกรม และการนาํ ความรูเ กยี่ วกับจาํ นวนและพชี คณิตไปใชในสถานการณตาง ๆ การวัดและเรขาคณติ ความยาว ระยะทาง นํ้าหนัก พน้ื ท่ี ปรมิ าตรและความจุ เงนิ และเวลา หนว ย วดั ระบบตา งๆ การคาดคะเนเก่ยี วกับการวัด อัตราสวนตรโี กณมิติ รูปเรขาคณติ และสมบัตขิ อง รปู เรขาคณิต การนกึ ภาพ แบบจาํ ลองทางเรขาคณิต ทฤษฎบี ททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิตในเร่อื ง การเลือ่ น ขนาน การสะทอ น การหมนุ เรขาคณติ วิเคราะห เวกเตอรในสามมติ ิ และการนาํ ความรูเก่ยี วกบั การวดั และ เรขาคณิตไปใชใ นสถานการณตา ง ๆ สถิติและความนาจะเปน การตง้ั คําถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมขอมลู การคํานวณคาสถติ ิ การ นาํ เสนอและแปลผลสาํ หรบั ขอมูลเชิงคณุ ภาพและเชิงปรมิ าณ หลกั การนบั เบ้ืองตน ความนา จะเปน การแจก แจงของตวั แปรสมุ การใชความรูเกี่ยวกบั สถติ ิและความนา จะเปนในการอธบิ ายเหตุการณตา ง ๆ และ ชวยใน การตดั สินใจ แคลคลู สั ลมิ ิตและความตอเนื่องของฟงกชนั อนุพนั ธข องฟงกช นั พชี คณิต ปรพิ นั ธของฟงกชัน พีชคณติ และการนําความรเู กี่ยวกับแคลคลู สั ไปใชใ นสถานการณต า ง ๆ สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระท่ี ๑ จาํ นวนและพชี คณติ

มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจาํ นวน การดาํ เนนิ การของ จํานวนผลท่เี กดิ ขึ้นจากการดาํ เนินการ สมบัติของการดาํ เนินการ และนาํ ไปใช มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา ใจและวิเคราะหแ บบรูป ความสมั พนั ธ ฟงกช นั ลําดบั และอนกุ รม และนาํ ไปใช มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน ิพจน สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ อธบิ ายความสมั พันธ หรือชว ยแกป ญ หาท่ี กําหนดให หมายเหตุ: มาตรฐาน ค ๑.๓ สําหรับผูเรยี นในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๑ – ๖ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา ใจพืน้ ฐานเก่ยี วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ทต่ี อ งการวดั และ นาํ ไปใช มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา ใจและวเิ คราะหรูปเรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณติ ความสัมพนั ธร ะหวา ง รปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนาํ ไปใช มาตรฐาน ค ๒.๓ เขาใจเรขาคณติ วเิ คราะห และนําไปใช มาตรฐาน ค ๒.๔ เขา ใจเวกเตอร การดําเนนิ การของเวกเตอร และนําไปใช หมายเหตุ: ๑. มาตรฐาน ค ๒.๑ และ ค ๒.๒ สาํ หรบั ผเู รียนในระดับช้นั ประถมศึกษาปที่ ๑ ถงึ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๓ ๒. มาตรฐาน ค ๒.๓ และ ค ๒.๔ สาํ หรับผเู รียนในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๔ – ๖ ท่ีเนนวทิ ยาศาสตร สาระที่ ๓ สถิติและความนา จะเปน มาตรฐาน ค ๓.๑ เขาใจกระบวนการทางสถิติ และใชค วามรทู างสถิติในการแกปญ หา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา ใจหลักการนับเบื้องตน ความนาจะเปน และนาํ ไปใช หมายเหตุ: ค ๓.๒ สําหรบั ผเู รียนในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ – ๖ สาระท่ี ๔ แคลคลู สั มาตรฐาน ค ๔.๑ เขา ใจลิมิตและความตอเนื่องของฟง กช ัน อนพุ ันธข องฟงกชนั และปริพนั ธข อง ฟงกชันและนาํ ไปใช หมายเหตุ: มาตรฐาน ค ๔.๑ สําหรับผเู รียนในระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๔ – ๖ ท่เี นน วิทยาศาสตร ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรเปนความสามารถทจี่ ะนาํ ความรูไ ปประยุกตใชใ นการเรียนรู สิง่ ตา ง ๆ เพื่อใหไ ดมาซ่งึ ความรู และประยกุ ตใชใ นชีวิตประจําวนั ไดอยางมีประสิทธภิ าพ ทักษะและ กระบวนการทาง คณติ ศาสตรในท่ีน้ี เนน ที่ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรทีจ่ ําเปน และตองการพัฒนา ใหเกิดขน้ึ กับ ผเู รยี น ไดแก ความสามารถตอไปน้ี ๑. การแกป ญหา เปนความสามารถในการทาํ ความเขาใจปญหา คดิ วิเคราะห วางแผนแกป ญหา และเลอื กใชวธิ ีการท่ี เหมาะสม โดยคาํ นึงถงึ ความสมเหตุสมผลของคําตอบ พรอมท้งั ตรวจสอบ ความถูกตอง ๒. การสอ่ื สารและการส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร เปนความสามารถในการใชร ปู ภาษาและ สัญลักษณทางคณิตศาสตรใ นการส่ือสาร สอ่ื ความหมาย สรุปผล และนาํ เสนอไดอยางถูกตอง ชัดเจน ๓. การเชอ่ื มโยง

เปนความสามารถในการใชค วามรทู างคณิตศาสตรเปน เคร่ืองมือในการเรยี นรู คณิตศาสตรเนอื้ หาตา ง ๆ หรือศาสตรอ่นื ๆ และนําไปใชในชวี ติ จริง ๔. การใหเหตผุ ล เปนความสามารถในการใหเหตผุ ล รับฟง และใหเหตุผลสนับสนนุ หรือโตแยง เพ่อื นําไปสกู ารสรุป โดยมขี อเท็จจริงทางคณติ ศาสตรร องรับ ๕. การคดิ สรางสรรค เปนความสามารถในการขยายแนวคดิ ทีม่ ีอยูเดมิ หรือสรา งแนวคิดใหม เพื่อปรบั ปรุง พัฒนาองค ความรู คณุ ภาพผูเ รียน จบช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓ - มีความรคู วามเขาใจเกยี่ วกับจํานวนจรงิ ความสัมพนั ธข องจาํ นวนจริง สมบัตขิ องจาํ นวนจริง และใช ความรูค วามเขาใจน้ใี นการแกปญ หาในชีวิตจรงิ - มีความรคู วามเขาใจเกย่ี วกับอตั ราสวน สดั สว น และรอยละ และใชค วามรูความเขาใจนี้ ในการ แกป ญหาในชีวติ จรงิ - มคี วามรคู วามเขาใจเก่ียวกับเลขยกกาํ ลงั ท่มี เี ลขชี้กําลงั เปนจํานวนเต็ม และใชความรูความเขา ใจนี้ ในการแกปญ หาในชีวติ จริง - มคี วามรคู วามเขาใจเกี่ยวกับสมการเชงิ เสนตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเสน สองตัวแปร และ อสมการเชงิ เสน ตัวแปรเดียว และใชค วามรูค วามเขาใจน้ีในการแกป ญหาในชีวิตจรงิ - มคี วามรูความเขาใจและใชความรเู ก่ียวกบั คอู ันดับ กราฟของความสมั พนั ธ และฟงกชันกาํ ลังสอง และใชค วามรคู วามเขาใจเหลา น้ใี นการแกป ญ หาในชวี ติ จริง - มคี วามรคู วามเขาใจทางเรขาคณิตและใชเ คร่ืองมือ เชน วงเวยี นและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรอื โปรแกรมเรขาคณิตพลวตั อ่ืน ๆ เพอ่ื สรางรปู เรขาคณติ ตลอดจน นําความรู เกี่ยวกับการสรางนี้ไปประยกุ ตใชใ นการแกปญ หาในชวี ติ จริง - มีความรูความเขาใจและใชค วามรูความเขาใจนใี้ นการหาความสัมพนั ธร ะหวางรปู เรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติ - มคี วามรคู วามเขาใจในเร่ืองพ้นื ทผี่ ิวและปรมิ าตรของปริซึม ทรงกระบอก พรี ะมิด กรวย และ ทรง กลม และใชความรูความเขา ใจนีใ้ นการแกปญ หาในชวี ิตจรงิ - มคี วามรคู วามเขาใจเก่ยี วกับสมบัตขิ องเสน ขนาน รปู สามเหล่ยี มที่เทากนั ทกุ ประการ รูปสามเหลี่ยม คลา ย ทฤษฎบี ทพีทาโกรสั และบทกลับ และนําความรูความเขาใจน้ีไปใชในการแกปญหาในชีวติ จริง - มคี วามรูความเขาใจในเร่ืองการแปลงทางเรขาคณติ และนําความรูค วามเขา ใจนี้ไปใชใ นการ แกปญ หาในชีวิตจริง - มีความรูค วามเขาใจในเรื่องอัตราสวนตรีโกณมติ ิและนําความรคู วามเขาใจน้ีไปใชใ นการแกปญ หา ใน ชวี ติ จรงิ - มคี วามรคู วามเขาใจในเร่ืองทฤษฎีบทเกยี่ วกับวงกลมและนําความรคู วามเขาใจนี้ไปใชในการ แกป ญ หาคณิตศาสตร - มคี วามรูความเขาใจทางสถิติในการนาํ เสนอขอมูล วิเคราะหข อมูล และแปลความหมายขอมลู ที่ เกี่ยวขอ งกบั แผนภาพจุด แผนภาพตน -ใบ ฮิสโทแกรม คา กลางของขอมูล และแผนภาพกลอ ง และใชความรู ความเขา ใจน้ี รวมทั้งนาํ สถิติไปใชในชีวิตจรงิ โดยใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม

- มคี วามรคู วามเขาใจเกยี่ วกับความนาจะเปนและใชใ นชวี ิตจริง จบช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ (สาํ หรบั นกั เรียนทไ่ี มเ นน วทิ ยาศาสตร) - เขาใจและใชความรเู กีย่ วกบั เซตและตรรกศาสตรเ บ้ืองตน ในการสือ่ สารและสื่อความหมาย ทาง คณติ ศาสตร – เขาใจและใชหลักการนับเบ้ืองตน การเรยี งสบั เปลีย่ น และการจัดหมู ในการแกป ญ หา และ นํา ความรเู ก่ยี วกบั ความนา จะเปนไปใช - นาํ ความรเู กย่ี วกบั เลขยกกาํ ลงั ฟง กช ัน ลําดับและอนกุ รม ไปใชในการแกป ญหา รวมทั้งปญ หา เก่ยี วกับดอกเบยี้ และมูลคา ของเงนิ - เขา ใจและใชความรูทางสถิติในการวเิ คราะหข อมูล นําเสนอขอมลู และแปลความหมายขอ มูล เพอื่ ประกอบการตัดสินใจ จบช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๖ (สําหรับนักเรียนทเ่ี นนวิทยาศาสตร) - เขา ใจและใชความรเู กย่ี วกับเซต ในการส่อื สารและสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร - เขาใจและใชค วามรเู กย่ี วกับตรรกศาสตรเบ้ืองตน ในการส่ือสาร ส่ือความหมาย และอางเหตุผล - เขา ใจและใชส มบัติของจาํ นวนจรงิ และพหุนาม - เขา ใจและใชความรูเกยี่ วกบั ฟงกช ัน ฟงกช ันเอกซโพเนนเชียล ฟง กช ันลอการิทึม และฟงกชัน ตรีโกณมิติ - เขา ใจและใชค วามรูเก่ยี วกบั เรขาคณิตวิเคราะห - เขาใจและใชความรเู กี่ยวกบั เมทริกซ - เขา ใจและใชสมบตั ิของจาํ นวนเชงิ ซอ น - นาํ ความรเู กีย่ วกับเวกเตอรในสามมิตไิ ปใช - เขา ใจและใชหลักการนับเบื้องตน การเรยี งสบั เปลย่ี น และการจัดหมู ในการแกปญหา และ นาํ ความรเู กีย่ วกบั ความนาจะเปนไปใช - นาํ ความรูเ กยี่ วกับลาํ ดับและอนุกรมไปใช - เขา ใจและใชค วามรูทางสถิติในการวิเคราะหข อมูล นําเสนอขอมลู และแปลความหมายขอ มลู เพื่อ ประกอบการตัดสินใจ - หาความนา จะเปน ของเหตุการณที่เกิดจากตวั แปรสุมทม่ี กี ารแจกแจงเอกรูป การแจกแจงทวินาม และการแจกแจงปกติ และนําไปใช - นาํ ความรเู ก่ียวกบั แคลคลู ัสเบือ้ งตนไปใช

สาระที่ ๑ จํานวนและพชี คณิต มาตรฐานตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู กนกลาง มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจาํ นวน ระบบจํานวน การดําเนินการของจาํ นวน ผลที่เกดิ ข้นึ จากการดําเนินการ สมบตั ขิ องการดาํ เนินการ และนําไปใช ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๑ ๑. เขาใจจาํ นวนตรรกยะและความสมั พันธข อง จํานวนตรรกยะ จํานวนตรรกยะ และใชสมบัตขิ องจํานวน ตรรก - จํานวนเตม็ ยะในการแกป ญ หาคณิตศาสตรและ ปญ หาในชีวติ - สมบตั ิของจาํ นวนเตม็ จริง - ทศนยิ มและเศษสวน ๒. เขา ใจและใชสมบตั ขิ องเลขยกกําลังทีม่ เี ลขช้ี - จํานวนตรรกยะและสมบัติ กาํ ลงั เปนจาํ นวนเตม็ บวกในการแกปญ หา ของจํานวนตรรกยะ คณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง - เลขยกกาํ ลังที่มเี ลขชีก้ ําลัง เปนจํานวนเต็มบวก - การนาํ ความรเู กย่ี วกับจาํ นวนเตม็ จาํ นวน ตรรกยะ และเลขยก กําลังไปใชใ นการแกป ญหา ๓. เขา ใจและประยุกตใชอตั ราสว น สัดสว น และ อัตราสว น รอ ยละ ในการแกป ญหาคณิตศาสตรและ ปญ หาใน - อัตราสว นของจํานวนหลาย ๆ จํานวน ชีวติ จริง - สัดสวน - การนาํ ความรูเก่ียวกับอตั ราสว น สดั สว น และรอ ยละไปใชในการแกป ญหา ม.๒ ๑. เขา ใจและใชส มบตั ขิ องเลขยกกาํ ลังที่มเี ลขชี้ จํานวนตรรกยะ กําลังเปน จํานวนเตม็ ในการแกป ญหา คณิตศาสตร - เลขยกกําลังท่ีมเี ลขชีก้ ําลังเปน จาํ นวนเตม็ และปญ หาในชวี ติ จริง - การนาํ ความรูเก่ียวกับเลขยกกาํ ลัง ไปใช ในการแกปญ หา ๒. เขา ใจจํานวนจริงและความสัมพันธข อง จํานวนจรงิ จํานวนจรงิ และใชส มบตั ิของจํานวนจริงในการ - จํานวนอตรรกยะ แกปญหาคณิตศาสตรแ ละปญ หาในชวี ิตจรงิ - จํานวนจรงิ - รากท่สี องและรากท่ีสามของ จาํ นวนตรรกยะ - การนาํ ความรูเก่ียวกับจํานวนจรงิ ไปใช

สาระท่ี ๑ จํานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา ใจและวิเคราะหแบบรปู ความสมั พนั ธ ฟง กช ัน ลําดบั และอนุกรม และนําไปใช ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๒ ๑. เขาใจหลกั การการดาํ เนนิ การของพหนุ าม และ พหนุ าม ใชพหนุ ามในการแกปญหาคณิตศาสตร - พหนุ าม - การบวก การลบ และการคูณ ของพหนุ าม - การหารพหนุ ามดว ยเอกนาม ทมี่ ผี ลหารเปน พหุนาม ๒. เขา ใจและใชก ารแยกตวั ประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม ดกี รีสองในการแกป ญ หาคณติ ศาสตร - การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รี สอง โดยใช o สมบัติการแจกแจง o กาํ ลังสองสมบูรณ o ผลตางของกาํ ลังสอง ม.๓ ๑. เขาใจและใชการแยกตวั ประกอบของพหนุ าม การแยกตวั ประกอบของพหุนาม ทมี่ ีดีกรสี ูงกวา สองในการแกปญหาคณิตศาสตร - การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รี สูงกวาสอง ๒. เขา ใจและใชค วามรเู ก่ียวกับฟงกชันกําลังสอง ฟงกชันกาํ ลงั สอง ในการแกปญ หาคณิตศาสตร - กราฟของฟงกช นั กําลงั สอง - การนําความรูเก่ยี วกับฟง กชนั กาํ ลงั สองไปใชใ นการแกปญหา

สาระท่ี ๑ จํานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน ิพจน สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ อธิบายความสมั พนั ธ หรอื ชวยแกป ญหา ทก่ี าํ หนดให ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๑ ๑. เขาใจและใชสมบตั ิของการเทากนั และสมบัติ สมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว ของจํานวน เพ่ือวิเคราะหแ ละแกปญ หาโดย - สมการเชงิ เสน ตวั แปรเดยี ว ใชส มการเชงิ เสนตัวแปรเดยี ว - การแกสมการเชงิ เสน ตวั แปรเดียว - การนําความรเู กย่ี วกับการแกสมการ เชงิ เสน ตวั แปรเดียวไปใชในชวี ิตจริง ๒. เขาใจและใชความรเู กี่ยวกับกราฟในการแก สมการเชิงเสนสองตัวแปร ปญหาคณิตศาสตรแ ละปญหาในชวี ิตจรงิ - กราฟของความสัมพันธเชิงเสน ๓. เขา ใจและใชค วามรเู กี่ยวกับความสมั พันธ - สมการเชงิ เสน สองตัวแปร เชงิ เสน ในการแกปญหาคณติ ศาสตรแ ละปญหา - การนําความรเู กี่ยวกับสมการเชิงเสน ในชีวิตจริง สองตวั แปรและกราฟของความสัมพนั ธ เชงิ เสน ไปใชในชีวติ จริง ม.๓ ๑. เขาใจและใชส มบตั ิของการไมเทากัน อสมการเชิงเสน ตวั แปรเดยี ว เพอ่ื วิเคราะหและแกปญหาโดยใชอสมการเชิง - อสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว เสน ตัวแปรเดียว - การแกอสมการเชิงเสน ตวั แปรเดียว - การนาํ ความรเู กยี่ วกับการแกอ สมการ เชงิ เสนตัวแปรเดยี วไปใชในการ แกป ญ หา ๒. ประยุกตใชส มการกําลงั สองตวั แปรเดยี ว สมการกาํ ลงั สองตัวแปรเดียว ในการแกป ญหาคณิตศาสตร - สมการกาํ ลังสองตัวแปรเดยี ว - การแกสมการกาํ ลังสองตวั แปรเดียว - การนําความรเู กีย่ วกับการแกสมการ กําลงั สองตวั แปรเดียวไปใชในการ แกปญ หา ๓. ประยกุ ตใ ชระบบสมการเชิงเสนสองตวั แปร ระบบสมการ ในการแกปญหาคณิตศาสตร - ระบบสมการเชงิ เสนสองตวั แปร - การแกร ะบบสมการเชิงเสน สองตวั แปร – การนาํ ความรูเ ก่ียวกับการแกระบบ สมการเชงิ เสน สองตวั แปรไปใชใ นการ แกปญหา

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพนื้ ฐานเกยี่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงทีต่ อ งการวัด และนําไปใช ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๒ ๑. ประยกุ ตใชค วามรเู รื่องพ้นื ทผี่ ิวของปริซึมและ พื้นทีผ่ ิว ทรงกระบอกในการแกปญ หาคณิตศาสตรและ - การหาพนื้ ที่ผิวของปรซิ มึ และ ปญ หาในชวี ติ จรงิ ทรงกระบอก - การนาํ ความรเู กย่ี วกับพนื้ ท่ีผิวของ ปรซิ มึ และ ทรงกระบอกไปใชใน การแกปญหา ๒. ประยกุ ตใ ชค วามรเู รื่องปริมาตรของปรซิ มึ และ ปริมาตร ทรงกระบอกในการแกปญหาคณติ ศาสตรและ - การหาปรมิ าตรของปรซิ ึมและ ปญ หาในชวี ติ จรงิ ทรงกระบอก - การนาํ ความรูเกยี่ วกับปรมิ าตรของ ปริซมึ และ ทรงกระบอกไปใชใ นการ แกป ญ หา ม.๓ ๑. ประยุกตใชความรเู ร่ืองพน้ื ท่ผี วิ ของพีระมิด พ้นื ทผ่ี ิว กรวย และทรงกลมในการแกปญ หาคณิตศาสตร - การหาพน้ื ท่ีผิวของพรี ะมิด กรวย และปญ หาในชวี ิตจรงิ และทรงกลม - การนาความรูเก่ยี วกับพื้นที่ผวิ ของ พรี ะมิด กรวย และทรงกลมไปใช ในการแกป ญ หา ๒. ประยุกตใชค วามรูเร่ืองปริมาตรของพีระมิด ปรมิ าตร กรวย และทรงกลมในการแกปญหาคณิตศาสตร - การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และปญ หาในชวี ิตจรงิ และทรงกลม - การนาความรเู ก่ียวกับปรมิ าตรของ พรี ะมิด กรวย และทรงกลมไปใชในการ แกปญหา สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๒ เขาใจและวเิ คราะหรปู เรขาคณติ สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสมั พนั ธระหวางรูป เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนําไปใช ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๑ ๑. ใชค วามรูทางเรขาคณติ และเคร่ืองมือ การสรางทางเรขาคณิต เชน วง เวยี นและสันตรง รวมทง้ั โปรแกรม - การสรา งพน้ื ฐานทางเรขาคณติ The Geometer’s Sketchpad หรอื โปรแกรม - การสรางรูปเรขาคณิตสองมิติโดย เรขาคณติ พลวัตอ่นื ๆ เพื่อสรางรปู เรขาคณติ ใชการสราง พืน้ ฐานทางเรขาคณิต ตลอดจนนาความรเู ก่ยี วกับการสรา งนีไ้ ป - การนาความรเู กย่ี วกับการสรางพ้ืนฐาน ประยุกตใ ชใ นการแกป ญ หาในชวี ิตจริง ทางเรขาคณติ ไปใชใ นชีวติ จริง

๒. เขา ใจและใชค วามรูทางเรขาคณติ มติ ิสมั พันธของรูปเรขาคณติ ในการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวา งรูป - หนา ตัดของรปู เรขาคณติ สามมติ ิ เรขาคณิต สองมติ ิ และรูปเรขาคณิตสามมิติ - ภาพท่ีไดจ ากการมองดา นหนา ดา นขา ง ดา นบนของรปู เรขาคณิต สามมติ ิทป่ี ระกอบข้ึน จากลูกบาศก ม.๒ ๑. ใชค วามรูทางเรขาคณิตและเคร่ืองมือ การสรางทางเรขาคณิต เชน วง เวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม - การนาํ ความรเู กี่ยวกับการสรางทาง The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรม เรขาคณิตไปใชใ นชีวิตจริง เรขาคณติ พลวตั อ่นื ๆ เพอื่ สรางรปู เรขาคณิต ตลอดจนนาํ ความรเู ก่ยี วกับการสรา งนไ้ี ป ประยกุ ตใ ชในการแกป ญ หาในชวี ิตจริง ๒. นําความรเู กยี่ วกับสมบัติของเสนขนานและ เสนขนาน รูปสามเหลย่ี มไปใชใ นการแกปญ หาคณิตศาสตร - สมบัตเิ ก่ียวกับเสน ขนานและ รปู สามเหล่ยี ม ๓. เขา ใจและใชค วามรูเกยี่ วกับการแปลงทาง การแปลงทางเรขาคณิต เรขาคณติ ในการแกปญ หาคณิตศาสตรแ ละ - การเล่อื นขนาน ปญ หาในชวี ิตจรงิ - การสะทอ น - การหมนุ - การนําความรูเกยี่ วกับการแปลงทาง เรขาคณติ ไป ใชใ นการแกปญหา ๔. เขาใจและใชสมบตั ิของรปู สามเหล่ียมท่ีเทากนั ความเทา กันทุกประการ ทกุ ประการในการแกปญหาคณติ ศาสตรแ ละ - ความเทา กนั ทุกประการของรปู ปญหาในชวี ติ จรงิ สามเหล่ียม - การนาํ ความรูเกี่ยวกับความเทากนั ทุกประการไป ใชในการแกปญหา ๕. เขา ใจและใชทฤษฎบี ทพีทาโกรัสและบทกลับ ทฤษฎบี ทพีทาโกรสั ในการแกป ญหาคณิตศาสตรและปญ หาในชีวิตจรงิ - ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ - การนําความรูเกย่ี วกับทฤษฎีบทพีทา โกรสั และบทกลับไปใชในชวี ิตจริง ม.๓ ๑. เขาใจและใชส มบตั ิของรูปสามเหลี่ยมท่ี ความคลาย คลา ยกนั ในการแกปญ หาคณิตศาสตรแ ละปญหา - รูปสามเหล่ียมทีค่ ลา ยกนั ในชวี ติ จรงิ - การนําความรูเกย่ี วกับความคลายไปใช ในการแกปญหา ๒. เขาใจและใชค วามรเู ก่ยี วกับอัตราสวน อัตราสวนตรโี กณมติ ิ ตรโี กณมติ ิ ในการแกป ญหาคณิตศาสตรและปญ หา - อัตราสวนตรโี กณมิติ ในชีวิตจริง - การนําคาอัตราสว นตรีโกณมิติของมมุ ๓๐ องศา ๔๕ องศา และ ๖๐ องศา

๓. เขา ใจและใชทฤษฎีบทเกย่ี วกับวงกลม ไปใชในการแกปญ หา ในการแกปญหาคณติ ศาสตร วงกลม - วงกลม คอรด และเสน สมั ผสั - ทฤษฎบี ทเกย่ี วกับวงกลม สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนา จะเปน มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา ใจกระบวนการทางสถิติ และใชความรูท างสถติ ิในการแกป ญ หา ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๑ ๑. เขาใจและใชค วามรูทางสถิตใิ นการนําเสนอ สถติ ิ ขอ มลู และแปลความหมายขอมูล รวมท้ัง - การตัง้ คาํ ถามทางสถิติ นาํ สถิตไิ ปใช ในชีวติ จริงโดยใชเ ทคโนโลยี - การเกบ็ รวบรวมขอ มูล ทีเ่ หมาะสม - การนําเสนอขอมูล o แผนภมู ิรูปภาพ o แผนภมู แิ ทง o กราฟเสน o แผนภูมิรูปวงกลม - การแปลความหมายขอ มูล - การนําสถิติไปใชในชวี ติ จริง ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๒ ๑. เขา ใจและใชความรูทางสถิตใิ นการนาํ เสนอ สถติ ิ ขอมลู และวเิ คราะหขอ มลู จากแผนภาพจุด - การนาํ เสนอและวเิ คราะหข อมูล แผนภาพ ตน – ใบ ฮสิ โทแกรม และคากลาง o แผนภาพจุด ของขอ มลู และ แปลความหมายผลลพั ธ o แผนภาพตน – ใบ รวมทงั้ นาํ สถติ ไิ ปใชใ นชีวิตจรงิ โดยใชเ ทคโนโลยี o ฮสิ โทแกรม ทเี่ หมาะสม o คากลางของขอมูล - การแปลความหมายผลลพั ธ - การนําสถติ ไิ ปใชในชีวติ จริง ม.๓ ๑. เขา ใจและใชความรูทางสถิติในการนําเสนอ สถิติ และวเิ คราะหขอมลู จากแผนภาพกลอ ง - ขอ มูลและการวเิ คราะหขอมูล และแปลความหมายผลลพั ธ รวมทงั้ นําสถิติ o แผนภาพกลอง ไปใชในชวี ติ จริงโดยใชเ ทคโนโลยที เี่ หมาะสม - การแปลความหมายผลลพั ธ - การนําสถิติไปใชในชวี ิตจรงิ

สาระท่ี ๑ จาํ นวนและพีชคณิต มาตรฐานตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวน การดําเนินการของจํานวน ผลทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการดําเนินการ สมบัติของการดําเนินการ และนําไปใช ช้ัน ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๔ ๑. เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับเซต ในการสื่อสาร เซต และสื่อความหมายทางคณิตศาสตร - ความรูเ บื้องตนและสญั ลกั ษณพืน้ ฐาน ๒. เขาใจและใชความรูเกย่ี วกับตรรกศาสตร เกยี่ วกับเซต เบอื้ งตนในการสอื่ สาร สอื่ ความหมาย และ อา ง - ยเู นียน อนิ เตอรเซกชัน และคอมพลี เหตผุ ล เมนตข องเซต ตรรกศาสตร - ประพจนและตัวเชือ่ ม - ประโยคท่มี ีตวั บง ปรมิ าณตัวเดียว - การอางเหตผุ ล ๓. เขา ใจจํานวนจริง และใชส มบัตขิ องจาํ นวนจรงิ จาํ นวนจรงิ และพหุนาม ในการแกป ญ หา - จาํ นวนจริงและสมบัติของจํานวนจริง - คา สมั บูรณของจาํ นวนจรงิ และสมบัติ ของคาสัมบรู ณของจาํ นวนจริง - จาํ นวนจริงในรปู กรณฑ และจาํ นวน จรงิ ในรูปเลขยกกําลงั สาระที่ ๑ จาํ นวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา ใจและวเิ คราะหแบบรปู ความสมั พนั ธ ฟงกช นั ลําดับและอนุกรม และนาํ ไปใช ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๔ ๑. ใชฟ งกชันและกราฟของฟงกช ันอธบิ าย ฟงกช นั สถานการณท่กี าํ หนด - ฟงกช นั และกราฟ ๒. หาผลลัพธข องการบวก การลบ การคูณ - การบวก การลบ การคูณ การหารฟงกช ัน หาฟงกชันประกอบและฟงกช ัน การหารฟง กชนั ผกผนั - ฟง กชันประกอบ ๓. ใชส มบัตขิ องฟงกชนั ในการแกป ญหา - ฟงกชนั ผกผัน ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๔ ๔. เขาใจลักษณะกราฟของฟงกช นั เอกซโพเนน ฟง กช นั เอกซโ พเนนเชยี ลและฟง กช ัน เชยี ลและฟงกชันลอการิทึมและนําไปใชใน ลอการทิ ึม การแกป ญหา - ฟงกชันเอกซโพเนนเชยี ล - ฟง กชันลอการทิ มึ

สาระท่ี ๑ จาํ นวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน ิพจน สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ อธิบายความสมั พันธ หรอื ชวยแกปญ หาที่ กําหนดให ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๔ ๑. แกส มการและอสมการพหุนามตวั แปรเดยี ว จํานวนจรงิ และพหุนาม ดีกรีไมเกินส่ี และนาํ ไปใชในการแกป ญหา - ตัวประกอบของพหนุ าม ๒. แกส มการและอสมการเศษสวนของพหนุ าม - สมการและอสมการพหนุ าม ตวั แปรเดยี วและนาํ ไปใชในการแกป ญหา - สมการและอสมการเศษสว น ๓. แกส มการและอสมการคา สมั บรู ณของพหุนาม ของพหุนาม ตัวแปรเดียว และนําไปใชในการแกปญ หา - สมการและอสมการคา สมั บูรณ ของพหุนาม ๔. แกสมการเอกซโ พเนนเชยี ลและสมการ ฟงกชนั เอกซโ พเนนเชียลและฟง กช ัน ลอการิทึมและนําไปใชใ นการแกปญ หา ลอการิทึม - สมการเอกซโ พเนนเชยี ล และสมการลอการิทึม สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๓ เขา ใจเรขาคณิตวิเคราะห และนาํ ไปใช ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๔ ๑. เขาใจและใชค วามรเู กีย่ วกับเรขาคณิตวิเคราะห เรขาคณติ วเิ คราะห ในการแกป ญหา - จุดและเสนตรง - วงกลม - พาราโบลา - วงรี - ไฮเพอรโ บลา สาระที่ ๓ สถติ ิและความนา จะเปน มาตรฐาน ค ๓.๒ เขาใจหลักการนบั เบอื้ งตน ความนา จะเปน และนาํ ไปใช ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๔ ๑. เขา ใจและใชห ลักการบวกและการคูณ หลกั การนบั เบือ้ งตน การเรยี งสบั เปลยี่ น และการจัดหมู - หลกั การบวกและการคูณ ในการแกปญ หา - การเรยี งสับเปล่ียนเชิงเสน กรณี ทสี่ ่งิ ของแตกตางกนั ท้ังหมด - การจัดหมูก รณีทสี่ ิ่งของแตกตางกนั ทงั้ หมด ๒. หาความนา จะเปนและนําความรเู ก่ยี วกบั ความนาจะเปน ความนา จะเปนไปใช - การทดลองสุมและเหตุการณ - ความนา จะเปนของเหตุการณ สาระที่ ๑ จาํ นวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจาํ นวน การดาํ เนินการของจาํ นวน ผลทเ่ี กิดขึ้นจากการดําเนินการ สมบตั ขิ องการดําเนินการ และนําไปใช ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๕ ๑. เขา ใจความหมายและใชส มบัตเิ กยี่ วกับ เลขยกกําลัง การบวก การคูณ การเทา กัน และการไมเทากนั - รากท่ี n ของจํานวนจรงิ เมื่อ n เปน ของจํานวนจรงิ ในรปู กรณฑและจํานวนจรงิ จํานวนนับทม่ี ากกวา ๑ ในรูปเลขยกกําลงั ท่ีมเี ลขชี้กําลังเปน จาํ นวน - เลขยกกําลงั ที่มเี ลขช้ีกาํ ลงั เปน จํานวน ตรรกยะ ตรรกยะ ม.๕ ๑. เขา ใจจาํ นวนเชิงซอ นและใชส มบตั ิของจํานวน จาํ นวนเชิงซอ น เชงิ ซอ นในการแกปญหา - จาํ นวนเชิงซอ น และสมบตั ขิ อง ๒. หารากท่ี n ของจํานวนเชงิ ซอ น เม่ือ n เปน จาํ นวนเชิงซอ น จาํ นวนนบั ที่มากกวา ๑ - จํานวนเชิงซอนในรูปเชงิ ข้วั - รากท่ี n ของจํานวนเชิงซอน เมอ่ื n เปน จํานวนนับท่ีมากกวา ๑ สาระท่ี ๑ จํานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจและวเิ คราะหแบบรปู ความสมั พันธ ฟง กช นั ลาํ ดับและอนุกรม และนาํ ไปใช ชัน้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๕ ๑. ใชฟ ง กช นั และกราฟของฟงกช ันอธบิ าย ฟง กชัน สถานการณทีก่ ําหนด - ฟงกช นั และกราฟของฟง กช ัน (ฟงกชันเชงิ เสน ฟง กชนั กาํ ลังสอง ฟง กชัน ข้นั บันได ฟงกช นั เอกซโ พเนนเชยี ล) ๒. เขาใจและนําความรเู กย่ี วกับลาํ ดับและอนุกรม ลาํ ดบั และอนุกรม ไปใช - ลาํ ดบั เลขคณิตและลาํ ดบั เรขาคณิต - อนกุ รมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณติ ๑. เขาใจฟงกช ันตรโี กณมติ ิและลักษณะกราฟ ฟงกช นั ตรีโกณมติ ิ ของฟง กชันตรีโกณมติ ิ และนําไปใชในการ - ฟง กช นั ตรโี กณมิติ แกป ญ หา - ฟง กช ันตรโี กณมิติผกผัน

สาระที่ ๑ จาํ นวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชนิพจน สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ อธิบายความสมั พันธ หรือชว ยแกปญ หาที่ กาํ หนดให ชน้ั ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๕ ๑. เขา ใจและใชค วามรเู กีย่ วกับดอกเบีย้ และ มูลคา ดอกเบ้ียและมูลคา ของเงนิ ของเงนิ ในการแกป ญ หา - ดอกเบีย้ - มลู คา ของเงนิ - คารายงวด ๑. แกส มการตรีโกณมติ ิ และนําไปใชใ นการ ฟง กชนั ตรีโกณมิติ แกปญ หา - เอกลกั ษณแ ละสมการตรโี กณมิติ ๒. ใชกฎของโคไซนและกฎของไซนใ นการ - กฎของโคไซนแ ละกฎของไซน แกป ญหา ๓. เขา ใจความหมาย หาผลลพั ธข องการบวกเมท เมทริกซ รกิ ซ การคูณเมทริกซกับจาํ นวนจรงิ การคณู - เมทริกซ และเมทริกซสลับเปลย่ี น ระหวางเมทริกซ และหาเมทริกซส ลบั เปลี่ยน - การบวกเมทรกิ ซ การคูณเมทรกิ ซก ับ หาดีเทอรมิแนนตของเมทรกิ ซ n X n เมอ่ื n จํานวนจริง การคณู ระหวา งเมทริกซ เปน จาํ นวนนบั ท่ีไมเ กินสาม - ดีเทอรมิแนนต ๔. หาเมทรกิ ซผกผนั ของเมทรกิ ซ ๒ X ๒ - เมทรกิ ซผ กผัน ๕. แกร ะบบสมการเชิงเสน โดยใชเ มทรกิ ซผกผนั - การแกระบบสมการเชิงเสน โดยใช และการดําเนินการตามแถว เมทรกิ ซ ๖. แกสมการพหนุ ามตวั แปรเดยี วดีกรีไมเ กินสี่ จํานวนเชิงซอน ท่ีมสี มั ประสิทธเิ์ ปนจํานวนเตม็ และนําไปใช - สมการพหุนามตัวแปรเดยี ว ในการแกปญ หา สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๔ เขา ใจเวกเตอร การดําเนนิ การของเวกเตอร และนาํ ไปใช ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๕ ๑. หาผลลพั ธของการบวก การลบเวกเตอร เวกเตอรใ นสามมิติ การคูณ เวกเตอรดว ยสเกลาร หาผลคณู เชงิ สเกลาร - เวกเตอร นเิ สธของเวกเตอร และผลคูณเชิงเวกเตอร - การบวก การลบเวกเตอร การคูณ ๒. นําความรเู ก่ยี วกบั เวกเตอรในสามมติ ิไปใช เวกเตอรดว ย สเกลาร ในการแกป ญหา - ผลคณู เชงิ สเกลาร ผลคณู เชงิ เวกเตอร

สาระที่ ๓ สถิตแิ ละความนาจะเปน มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา ใจหลักการนบั เบ้ืองตน ความนาจะเปน และนําไปใช ชนั้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.๕ ๑. เขาใจและใชห ลักการบวกและการคณู หลกั การนบั เบอ้ื งตน การเรียงสับเปล่ียน และการจัดหมู ในการ - หลักการบวกและการคูณ แกปญ หา - การเรียงสบั เปลยี่ น o การเรยี งสบั เปล่ยี นเชงิ เสน o การเรยี งสับเปล่ียนเชิงวงกลมกรณีท่ี สง่ิ ของ แตกตา งกันทั้งหมด - การจัดหมูกรณีที่ส่งิ ของแตกตางกนั ทั้งหมด - ทฤษฎบี ททวนิ าม ๒. หาความนาจะเปนและนําความรูเกี่ยวกับ ความนา จะเปน ความนา จะเปน ไปใช - การทดลองสุม และเหตุการณ - ความนา จะเปน ของเหตุการณ สาระที่ ๔พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๑เขา ใจและวิเคราะหแบบรปู (pattern) ความสมั พันธแ ละฟงกช นั ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๖ ๑. เขาใจความหมายของลําดบั  ลําดับและการหาพจนทั่วไปของลาํ ดบั และหาพจนทว่ั ไปของลาํ ดับ จาํ กดั จาํ กัด ๒. เขา ใจความหมายของ  ลาํ ดับเลขคณิตและลาํ ดบั เรขาคณิต ลําดบั เลขคณติ และลําดบั เรขา คณติ หาพจนต าง ๆ ของ ลาํ ดบั เลขคณิตและลําดบั เรขา คณิต และนําไปใช

สาระท่ี ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค๔.๒ใชนพิ จนสมการ อสมการ กราฟ และตวั แบบเชิงคณิตศาสตร (mathematical model) อืน่ ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาํ ไปใชแกป ญ หา ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ม.๖ ๖. เขา ใจความหมายของผลบวก  อนุกรมเลขคณิต และอนุกรม n พจนแ รกของอนกุ รมเลขคณิต เรขาคณิต และอนุกรมเรขาคณิต หาผล บวก n พจนแรกของอนุกรมเลข คณติ และอนุกรมเรขาคณติ โดยใช สตู รและนาํ ไปใช สาระที่ ๕การวเิ คราะหขอมลู และความนาจะเปน สาระการเรยี นรูแกนกลาง มาตรฐาน ค ๕.๑เขาใจและใชว ธิ ีการทางสถติ ใิ นการวเิ คราะหข อมลู  การสํารวจความคดิ เห็น ชัน้ ตัวชี้วัด ม.๖ ๑. เขา ใจวิธีการสํารวจความคิดเหน็ อยางงาย สาระท่ี ๕การวิเคราะหขอมูลและความนา จะเปน มาตรฐาน ค ๕.๒ใชวธิ ีการทางสถิติและความรูเ ก่ยี วกบั ความนาจะเปน ในการคาดการณไ ดอ ยา งสมเหตุสมผล ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม. ๖ ๑. นําผลท่ีไดจ ากการสํารวจ  การสาํ รวจความคิดเห็น ความคิดเห็นไปใชคาดการณใน สถานการณที่กาํ หนดให ๒. อธบิ ายการทดลองสมุ เหตุการณ  กฎเกณฑเบ้ืองตนเก่ียว กับการนบั ความนาจะเปน ของเหตุการณ  การทดลองสุม และนาํ ผลทไ่ี ดไปใชคาดการณ  แซมเปลสเปซ ในสถานการณที่กําหนด  เหตุการณ ให  ความนาจะเปนของเหตุการณ

สาระที่ ๖ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร มาตรฐาน ค ๖.๑มคี วามสามารถในการแกปญหา การใหเ หตุผล การส่อื สาร การสอ่ื ความหมาย ทางคณิตศาสตรและการนาํ เสนอ การเชอื่ มโยงความรูตา ง ๆ ทางคณิตศาสตรและ เช่อื มโยงคณติ ศาสตรก ับศาสตรอื่น ๆ และมีความคดิ รเิ ร่ิมสรา งสรรค ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ๑. ใชวิธีการทห่ี ลากหลายแกปญหา ๒. ใชความรู ทกั ษะและ กระบวนการทางคณติ ศาสตร และเทคโนโลยใี น การแกป ญหาในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยา งเหมาะสม ๓. ใหเ หตผุ ลประกอบการ ตัดสนิ ใจ และสรปุ ผลได อยางเหมาะสม ๔. ใชภ าษาและสญั ลกั ษณ ทางคณิตศาสตรใ นการสื่อ สาร การสอื่ ความหมาย และการนาํ เสนอ ไดอยา ง ถูกตอง และชดั เจน ๕. เชือ่ มโยงความรตู า ง ๆ ในคณิตศาสตร และนาํ ความรู หลกั การ กระบวนการทางคณิตศาสตรไป เช่ือมโยงกับศาสตรอ นื่ ๆ ๖. มคี วามคดิ ริเร่มิ สรางสรรค

สาระท่ี ๑ : แคลคลู สั มาตรฐานตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรูเพิม่ เตมิ มาตรฐาน ค ๑.๑ : มีความรูและความเขาใจในเร่ืองลมิ ิตของลาํ ดบั อนุกรมอนนั ต ลิมิตของฟงกชนั ความ ตอเนือ่ งของฟงกช ัน อนุพันธของฟงกชนั และปรพิ ันธข องฟง กชัน ชัน้ ผลการเรียนรู สาระการเรยี นรู ม.๖ ๑. มคี วามคดิ รวบยอดเกี่ยวกับลาํ ดบั อนนั ต  ลิมิตของลาํ ดบั และอนุกรมอนันต  ลาํ ดบั อนนั ต  อนุกรม  ผลบวกของอนกุ รมอนนั ต ๒. มคี วามคดิ รวบยอดเกี่ยวกับลมิ ติ ของ  ลิมิตของฟงกชันและความตอ เน่ืองของ ฟงกช นั ฟงกช นั ตอ เน่อื ง อนุพันธและ ฟง กชัน ปริพันธข องฟงกช ัน  อนุพันธของฟง กชัน  การประยุกตอนุพนั ธ  ปริพนั ธ สาระที่ ๑ : แคลคูลัส มาตรฐาน ค ๑.๒ : นาํ ความรใู นเร่อื งลิมติ ของฟงกชันไปใชได ชั้น ผลการเรยี นรู สาระการเรยี นรู ม.๖ ๑. หาลิมติ ของฟงกช ันท่ีกําหนดได  ลิมติ ของฟงกช ัน ๒.บอกไดวา ฟงกชนั ท่ีกาํ หนด ใหเ ปนฟง กช นั  ความตอเนื่องของฟง กช ัน ตอเนอื่ งหรือไม ๓.หาอนพุ ันธข องฟงกช ันทีก่ ําหนดได  อนุพันธของฟง กชัน  ความชันของเสน โคง ๔.นําความรเู รื่องอนพุ นั ธข องฟงกชนั ไป  การหาอนุพนั ธข องฟงกช ันพชี คณิตโดยใช ประยุกตได สูตรอนพุ นั ธข องฟงกชันคอมโพสทิ  อนพุ นั ธอนั ดบั สูง  การประยุกตอนุพนั ธ ๕.หาปรพิ ันธไ มจาํ กดั เขตของฟงกช ันที่  ปรพิ นั ธ กําหนดใหได  ปริพนั ธไ มจํากัดเขต ๖.หาปริพันธจาํ กัดเขตของฟงกชนั บนชว งท่ี  ปรพิ ันธจํากัดเขต กําหนดใหและหาพ้ืนท่ีทป่ี ด ลอมดวยเสน โคง  พืน้ ทป่ี ดลอมดวยเสนโคง บนชว งที่กาํ หนดใหได

สาระท่ี ๓ : พีชคณิต มาตรฐาน ค ๓.๓ : ใชน พิ จน สมการ อสมการ ตัวแบบเชงิ คณติ ศาสตร แทนสถานการณตา งๆ และ นําไปใชแ กป ญหาได ช้ัน ผลการเรียนรู สาระการเรยี นรู ม.๖ ๑.สรา งแบบจําลองทางคณิต ศาสตรและใช  กราฟของอสมการเชงิ เสน สองตวั แปร วธิ กี ารของกาํ หนดการเชงิ เสนที่ใชก ราฟของ  การสรา งแบบจาํ ลองทางคณิตศาสตรเ พ่ือหา สมการและอสมการทีม่ สี องตังแปรในการ คาํ ตอบของปญ หา แกป ญ หาได สาระที่ ๖ : การวเิ คราะหขอ มูล มาตรฐาน ค ๖.๑ : มีความเขา ใจเกี่ยวความสัมพันธเชิงฟง กช นั ระหวางขอ มูลและนาํ ไปใชไ ด ช้ัน ผลการเรยี นรู สาระการเรยี นรู ม.๖ ๑.เขาใจความหมายของการสรา ง  แผนภาพการกระจาย ความสมั พนั ธเชงิ ฟงกชันของขอมลู ที่  ความสมั พนั ธเชงิ ฟง ก ประกอบดวยสองตัวแปร ชันของขอมลู ทป่ี ระกอบ ดวยสองตวั แปร ๒.สรา งความสมั พันธเ ชิงฟงกชนั ของขอมลู ที่  ความสัมพนั ธเชิง ประกอบ ดว ยสองตัวแปรท่ีอยใู นรูปอนกุ รม ฟงกช นั ของขอมลู ที่อยูในรปู อนกุ รมเวลา เวลาโดยใชเครือ่ งคาํ นวณ ๓.ใชค วามสมั พนั ธเชิงฟง กช นั ของขอมูล ทนายคาตัวแปรเมอ่ื กาํ หนดตัวแปรอสิ ระให

โครงสรางเวลาเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาํ หนดกรอบโครงสรา งเวลาเรยี นดังน้ี กลมุ สาระการเรยี นรู/กิจกรรม เวลาเรียน ระดบั ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน มธั ยมศกึ ษา กลมุ สาระการเรยี นรู ตอนปลาย ภาษาไทย ม.1 ม.2 ม.3 คณิตศาสตร ม. 4-6 วทิ ยาศาสตร 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 240 ( 6 นก. ) สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 240 ( 6 นก. ) ประวัติศาสตร 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 240 ( 6 นก. ) หนาทพี ลเมือง 160 (4 นก. ) 160 ( 4 นก. ) 160 ( 4 นก. ) 320 ( 8 นก. ) ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม 40 (1 นก .) 40 ( 1 นก .) 40 ( 1 นก .) 80 ( 2 นก. ) วัฒนธรรมและการดาํ เนนิ ชวี ติ ใน 40 ( 1 นก.) 40 ( 1 นก.) 40 ( 1 นก.) 80 ( 2 นก. ) สงั คม 240 ( 6 นก. ) เศรษฐศาสตร 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) ภูมิศาสตร 120 ( 3นก. ) สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก. ) 120 ( 3นก. ) ศลิ ปะ 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 120 ( 3นก. ) การงานอาชพี 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 240 ( 6 นก. ) ภาษาตางประเทศ 120 ( 3นก ) 120 ( 3นก ) 120 ( 3นก ) 240 ( 6 นก. ) รวมเวลาเรียนพนื้ ฐาน 880 ( 22 นก ) 880 ( 22 นก ) 880 ( 22 นก ) กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น 360 รายวชิ า/กจิ กรรมทีส่ ถานศึกษาจัด 120 120 120 ไมนอยกวา เพมิ่ เติมตามความพรอมและจุดเนน 1,600ชั่วโมง รวมเวลาเรียนทัง้ หมด ปล ะไมเกนิ 200 ชว่ั โมง รวม 3 ปไมน อย กวา 3,600 ไมเกิน 1,200 ชัว่ โมง / ป ชั่วโมง

โครงสรา งหลกั สูตรโรงเรยี นนํา้ ปลกี ศึกษา แผนการเรียนท่ี 1 คณิตศาสตร ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1/1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ หนว ย/ชม หนว ย/ชม รายวิชาสาระพน้ื ฐาน 11.0 (440) รายวชิ าสาระพ้นื ฐาน 11.0 (440) ท21101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท21102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค21101 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค21102 คณิตศาสตร 1.5 (60) ว21101 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว21102 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว21181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว21182 วิทยาการคาํ นวณ 0.5 (20) ส21101 สังคมศกึ ษา 1.5 (60) ส21103 สังคมศกึ ษา 1.5 (60) ส21102 ประวตั ิศาสตร 0.5 (20) ส21104 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) พ21101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ21102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) ศ21101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ21102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง21101 การงานอาชพี (งานบาน 0.5 (20) ง21102 การงานอาชพี (งานประดษิ ฐ) 0.5 (20) พื้นฐาน) อ21101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ21102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) ค21201 สาระเพ่ิมเตมิ 4.0 (160) ค21202 สาระเพม่ิ เติม 4.0 (160) ง21201 คณิตศาสตร 1.0 (40) ง21202 คณติ ศาสตร 1.0 (40) อ21201 คอมพิวเตอร( การประมวลผล 1.0 (40) อ21202 คอมพิวเตอร( อินเตอรเน็ต 1.0 (40) ส20231 คํา) ส20232 เบ้ืองตน ) ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) หนาท่ีพลเมอื ง 0.5 (20) หนาท่พี ลเมอื ง 0.5 (20) 1.0 (40) 1.0 (40) ง21203 การผลิตพนั ธไม ง21204 การผลติ พันธไม กิจกรรมพฒั นาผเู รียน ( 60) 20 กิจกรรมพฒั นาผเู รียน ( 60) 20 กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น 20 กิจกรรมนักเรยี น 20 - ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 ผบู ําเพ็ญประโยชน ผูบาํ เพ็ญประโยชน - ชมรมชมุ นมุ - ชมรมชุมนมุ กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 20 รวมทง้ั หมด 620 ช่ัวโมง รวมทั้งหมด 620 ชั่วโมง หมายเหตุ1. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชนจ ัดบรู ณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กจิ กรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ 3.2.1 และ 3.2.2 ผูเ รยี นเลือกเพยี ง 1 กจิ กรรม

โครงสรางหลกั สูตรโรงเรียนน้ําปลีกศกึ ษา แผนการเรยี นที่ 2 วทิ ยาศาสตร ระดับช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 1/2 ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน/ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ หนวย/ชม หนวย/ชม รายวิชาสาระพ้ืนฐาน 11.0 (440) รายวชิ าสาระพนื้ ฐาน 11.0 (440) ท21101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท21102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค21101 คณิตศาสตร 1.5 (60) ค21102 คณิตศาสตร 1.5 (60) ว21101 วทิ ยาศาสตร 1.5 (60) ว21102 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว21181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว21182 วทิ ยาการคาํ นวณ 0.5 (20) ส21101 สังคมศึกษา 1.5 (60) ส21103 สังคมศกึ ษา 1.5 (60) ส21102 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) ส21104 ประวตั ิศาสตร 0.5 (20) พ21101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ21102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) ศ21101 ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ21102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง21101 การงานอาชีพ(งานบา นพ้ืนฐาน) 0.5 (20) ง21102 การงานอาชพี (งานประดษิ ฐ) 0.5 (20) อ21101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ21102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) ว21201 สาระเพ่ิมเติม 4.0 (160) ว21202 สาระเพ่มิ เตมิ 4.0 (160) ง21201 วทิ ยาศาสตร 1.0 (40) ง21202 วิทยาศาสตร 1.0 (40) อ21201 คอมพวิ เตอร( การประมวลผลคํา) 1.0 (40) อ21202 คอมพิวเตอร( อินเทอรเน็ตเบื้องตน ) 1.0 (40) ส20231 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) ส20232 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) หนาท่ีพลเมือง 0.5 (20) หนา ทีพ่ ลเมือง 0.5 (20) 1.0 (40) 1.0 (40) ง21203 การผลิตพนั ธไ ม ง21204 การผลิตพันธไ ม กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ( 60) 20 กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ( 60) 20 กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน 20 กิจกรรมนกั เรยี น 20 - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ ผบู าํ เพ็ญประโยชน 20 ผบู าํ เพญ็ ประโยชน 20 - ชมรมชมุ นุม - ชมรมชุมนุม กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน 20 รวมท้งั หมด 620 ช่ัวโมง รวมท้ังหมด 620 ช่ัวโมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กจิ กรรมในระดับม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผเู รียนเลือกเพียง 1 กจิ กรรม

โครงสรา งหลักสูตรโรงเรยี นนาํ้ ปลกี ศกึ ษา แผนการเรยี นที่ 3 ภาษา ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที่ 1/3 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน/ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ หนว ย/ชม หนว ย/ชม รายวชิ าสาระพื้นฐาน 11.0 (440) รายวชิ าสาระพ้นื ฐาน 11.0 (440) ท21101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท21102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค21101 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค21102 คณิตศาสตร 1.5 (60) ว21101 วทิ ยาศาสตร 1.5 (60) ว21102 วทิ ยาศาสตร 1.5 (60) ว21181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว21182 วทิ ยาการคาํ นวณ 0.5 (20) ส21101 สงั คมศึกษา 1.5 (60) ส21103 สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส21102 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) ส21104 ประวัติศาสตร 0.5 (20) พ21101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1.0 (40) พ21102 สุขศึกษาและพลศึกษา 1.0 (40) ศ21101 ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ21102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง21101 การงานอาชพี (งานบา นพ้นื ฐาน) 0.5 (20) ง21102 การงานอาชพี (งานประดิษฐ) 0.5 (20) อ21101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ21102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) ท21201 สาระเพม่ิ เตมิ 4.0 (160) ท21202 สาระเพ่ิมเตมิ 4.0 (160) ง21201 ภาษาไทย 1.0 (40) ง21202 ภาษาไทย 1.0 (40) อ21201 คอมพิวเตอร( การประมวลผลคํา) 1.0 (40) อ21202 คอมพิวเตอร( อินเทอรเน็ตเบ้ืองตน ) 1.0 (40) ส20231 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) ส20232 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) ง21203 หนา ทพ่ี ลเมอื ง 0.5 (20) ง21204 หนา ท่ีพลเมือง 0.5 (20) การผลิตพันธไ ม 1.0 (40) การผลิตพันธไ ม 1.0 (40) กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน ( 60) กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ( 60) 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนกั เรยี น 20 - ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ กจิ กรรมนักเรียน ผบู าํ เพญ็ ประโยชน 20 - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ - ชมรมชมุ นมุ ผบู ําเพ็ญประโยชน 20 - ชมรมชมุ นุม กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน 20 กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน 20 รวมทั้งหมด 620 ชว่ั โมง รวมทง้ั หมด 620 ช่วั โมง หมายเหตุ1. กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชนจ ัดบูรณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดับม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผูเรยี นเลอื กเพยี ง 1 กจิ กรรม

โครงสรางหลกั สตู รโรงเรียนน้าํ ปลีกศกึ ษา แผนการเรียนท่ี 1 คณติ ศาสตร ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 2/1 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน/ หนว ย/ชม หนวย/ชม รายวชิ าสาระพื้นฐาน 11.0 (440) รายวิชาสาระพืน้ ฐาน 11.0 (440) ท22101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท22102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค22101 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค22102 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ว22101 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว22102 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว22181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว22182 วทิ ยาการคํานวณ 0.5 (20) ส22101 สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส22103 สังคมศึกษา 1.5 (60) ส22102 ประวตั ศิ าสตร 0.5 (20) ส22104 ประวัติศาสตร 0.5 (20) พ22101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ22102 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1.0 (40) ศ22101 ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ22102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง22101 การงานอาชพี (คอมพิวเตอรพ นื้ ฐาน) 0.5 (20) ง22102 การงานอาชีพ(งานเกษตร) 0.5 (20) อ22101 ภาษาองั กฤษ 1.5 (60) อ22102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) รายวิชาสาระเพิม่ เติม 4.0 (160) รายวชิ าสาระเพ่มิ เตมิ 4.0(160) ค22201 คณติ ศาสตร 1.0 (40) ค22202 คณติ ศาสตร 1.0(40) ง22201 คอมพิวเตอร (การนําเสนอขอมูล 1.0 (40) ง22202 คอมพวิ เตอร( งานกราฟริก) 1.0 (40) 0.5 (20) อ22202 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) เบ้ืองตน ) 0.5 (20) ส20234 หนา ที่พลเมอื ง 0.5 (20) อ22201 ภาษาอังกฤษ 1.0 (40) ง22204 ไมด อกไมประดบั 1.0 (40) ส20233 หนา ท่ีพลเมือง กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ( 60) ง22203 ไมด อกไมประดับ 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ( 60) 20 กิจกรรมนักเรยี น 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 กิจกรรมนักเรียน ผบู ําเพญ็ ประโยชน - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ ผูบําเพญ็ ประโยชน - ชมรมชมุ นุม - ชมรมชุมนุม กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน 20 รวมทัง้ หมด 620 ช่วั โมง รวมท้งั หมด 620 ช่ัวโมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกิจกรรมจริยธรรม 2. กิจกรรมในระดับม.ปลาย ขอ 3.2.1 และ 3.2.2 ผูเรยี นเลือกเพยี ง 1 กิจกรรม

โครงสรางหลกั สตู รโรงเรียนน้าํ ปลกี ศกึ ษา แผนการเรียนท่ี 2 วทิ ยาศาสตร ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2/2 ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ หนวย/ชม หนวย/ชม รายวชิ าสาระพ้นื ฐาน 11.0 (440) รายวิชาสาระพืน้ ฐาน 11.0 (440) ท22101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท22102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค22101 คณิตศาสตร 1.5 (60) ค22102 คณิตศาสตร 1.5 (60) ว22101 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว22102 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว22181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว22182 วทิ ยาการคํานวณ 0.5 (20) ส22101 สังคมศกึ ษา 1.5 (60) ส22103 สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส22102 ประวตั ศิ าสตร 0.5 (20) ส22104 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) พ22101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ22102 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) ศ22101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ22102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง22101 คอมพวิ เตอร 0.5 (20) ง22102 งานเกษตร 0.5 (20) อ22101 ภาษาองั กฤษ 1.5 (60) อ22102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) รายวิชาสาระเพิม่ เตมิ 4.0 (160) รายวิชาสาระเพมิ่ เตมิ 4.0 (160) ว22201 วิทยาศาสตร 1.0 (40) ว22202 วิทยาศาสตร 1.0 (40) ง22201 คอมพวิ เตอร( การนําเสนอขอ มูล 1.0 (40) ง22202 คอมพิวเตอร (งานกราฟรกิ ) 1.0 (40) 0.5 (20) เบอ้ื งตน) 0.5 (20) อ22202 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) อ22201 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) ส20234 หนาท่ีพลเมอื ง 1.0 (40) ส20233 หนา ท่ีพลเมือง 1.0 (40) ง22204 ไมด อกไมป ระดบั ง22203 ไมดอกไมประดับ กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ( 60) 20 กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น ( 60) 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมนักเรียน 20 กจิ กรรมนกั เรยี น 20 - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ - ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ ผบู ําเพญ็ ประโยชน ผบู ําเพญ็ ประโยชน - ชมรมชมุ นุม - ชมรมชุมนุม กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน 20 กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน 20 รวมทง้ั หมด 620 ชวั่ โมง รวมท้ังหมด 620 ชั่วโมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกิจกรรมจริยธรรม 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผูเรยี นเลือกเพยี ง 1 กจิ กรรม

โครงสรา งหลกั สตู รโรงเรยี นนา้ํ ปลกี ศึกษา แผนการเรยี นที่ 3 ภาษา ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2/3 ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 2 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ หนว ย/ชม หนว ย/ชม รายวิชาสาระพืน้ ฐาน 11.0 (440) รายวิชาสาระพน้ื ฐาน 11.0 (440) ท22101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท22102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค22101 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค22102 คณิตศาสตร 1.5 (60) ว22101 วทิ ยาศาสตร 1.5 (60) ว22102 วทิ ยาศาสตร 1.5 (60) ว22181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว22182 วทิ ยาการคํานวณ 0.5 (20) ส22101 สังคมศึกษา 1.5 (60) ส22103 สังคมศกึ ษา 1.5 (60) ส22102 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) ส22104 ประวตั ิศาสตร 0.5 (20) พ22101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1.0 (40) พ22102 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1.0 (40) ศ22101 ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ22102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง22101 คอมพวิ เตอร 1.0 (40) ง22102 งานเกษตร 1.0 (40) อ22101 ภาษาองั กฤษ 1.5 (60) อ22102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) รายวิชาสาระเพมิ่ เตมิ 4.0 (160) รายวชิ าสาระเพ่ิมเตมิ 4.0 (160) ท22201 ภาษาไทย 1.0 (40) ท22202 ภาษาไทย 1.0 (40) ง22201 คอมพวิ เตอร( การนําเสนอขอ มูล 1.0 (40) ง22202 คอมพิวเตอร (งานกราฟริก) 1.0 (40) 0.5 (20) อ22202 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) เบอ้ื งตน) 0.5 (20) ส20234 หนา ทพ่ี ลเมอื ง 0.5 (20) อ22201 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) ง22204 ไมด อกไมป ระดับ 1.0 (40) ส20233 หนา ท่ีพลเมือง กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ( 60) ง22203 ไมด อกไมประดบั 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ( 60) 20 กจิ กรรมนกั เรียน 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 - ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 กิจกรรมนกั เรียน ผบู าํ เพ็ญประโยชน - ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ ผูบ ําเพญ็ ประโยชน - ชมรมชมุ นุม - ชมรมชุมนมุ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน 20 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน 20 รวมท้ังหมด 620 ช่วั โมง รวมทัง้ หมด 620 ช่ัวโมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชนจัดบูรณาการในกจิ กรรมจริยธรรม 2. กจิ กรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผูเ รียนเลือกเพียง 1 กจิ กรรม

โครงสรา งหลักสตู รโรงเรียนนํา้ ปลีกศึกษา แผนการเรยี นที่ 1 คณติ ศาสตร ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3/1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น/ หนวย/ชม หนว ย/ชม รายวชิ าสาระพื้นฐาน 11.0 (440) รายวิชาสาระพ้นื ฐาน 11.0 (440) ท23101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท23102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค23101 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค23102 คณิตศาสตร 1.5 (60) ว23101 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว23102 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ส23101 สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส23103 สังคมศกึ ษา 1.5 (60) ส23102 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) ส23104 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) พ23101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1.0 (40) พ23102 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1.0 (40) ศ23101 ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ23102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง23101 การงานอาชีพฯ(งานชา ง) 1.0 (40) ง23102 การงานอาชีพฯ(งานธุรกิจ) 1.0 (40) อ23101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ23102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) รายวิชาสาระเพ่ิมเติม 3.5 (140) รายวิชาสาระเพ่มิ เติม 3.5 (140) ค23201 คณติ ศาสตร 1.0 (40) ค23202 คณติ ศาสตร 1.0 (40) ง23201 คอมพิวเตอร( ตารางการทาํ งาน) 1.0 (40) ง23202 คอมพิวเตอร (การสรา งเวบ็ ไซต 1.0 (40) อ23201 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) 0.5 (20) ง23203 ชา งไฟฟา 1.0 (40) เบือ้ งตน ) 1.0 (40) กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ( 60) อ23202 ภาษาองั กฤษ กจิ กรรมแนะแนว 20 ง23204 ชางไม 20 กิจกรรมนักเรียน 20 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ( 60) 20 - ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 ผบู าํ เพญ็ ประโยชน กิจกรรมนกั เรยี น - ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ - ชมรมชมุ นุม ผบู าํ เพญ็ ประโยชน - ชมรมชุมนุม กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน 20 รวมทง้ั หมด 620 ชวั่ โมง รวมท้ังหมด 620 ชั่วโมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกจิ กรรมจริยธรรม 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ 3.2.1 และ 3.2.2 ผูเ รยี นเลอื กเพยี ง 1 กจิ กรรม

โครงสรา งหลักสูตรโรงเรียนนาํ้ ปลกี ศึกษา แผนการเรียนที่ 2 วิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3/2 ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน/ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน/ หนวย/ชม หนวย/ชม รายวชิ าสาระพื้นฐาน 11.0 (440) รายวิชาสาระพ้ืนฐาน 11.0 (440) ท23101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท23102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค23101 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค23102 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ว23101 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ว23102 วทิ ยาศาสตร 1.5 (60) ส23101 สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส23103 สงั คมศึกษา 1.5 (60) ส23102 ประวตั ศิ าสตร 0.5 (20) ส23104 ประวัติศาสตร 0.5 (20) พ23101 สุขศึกษาและพลศึกษา 1.0 (40) พ23102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) ศ23101 ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ23102 ศลิ ปะ 1.0 (40) ง23101 การงานอาชพี ฯ(งานชาง) 1.0 (40) ง23102 การงานอาชีพฯ(งานธรุ กจิ ) 1.0 (40) อ23101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ23102 ภาษาองั กฤษ 1.5 (60) รายวชิ าสาระเพ่ิมเติม 3.5(140) รายวชิ าสาระเพิม่ เตมิ 3.5(140) ว23201 วทิ ยาศาสตร 1.0(40) ว23202 วิทยาศาสตร 1.0(40) ง23201 คอมพิวเตอร (ตารางการทาํ งาน) 1.0 (40) ง23202 คอมพิวเตอร (การสรางเวบ็ ไซต 1.0 (40) อ23201 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) 0.5 (20) ง23203 ชางไฟฟา 1.0 (40) เบอื้ งตน ) 1.0 (40) กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น ( 60) อ23202 ภาษาอังกฤษ กิจกรรมแนะแนว 20 ง23204 ชางไฟฟา 20 กิจกรรมนักเรียน 20 กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ( 60) 20 - ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ 20 กิจกรรมแนะแนว 20 ผูบําเพญ็ ประโยชน กิจกรรมนกั เรียน - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ - ชมรมชุมนุม ผูบําเพ็ญประโยชน - ชมรมชุมนุม กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 20 รวมทงั้ หมด 620 ชัว่ โมง รวมทั้งหมด 620 ช่ัวโมง หมายเหตุ1. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกจิ กรรมจริยธรรม 2. กจิ กรรมในระดับม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผเู รียนเลือกเพียง 1 กจิ กรรม

โครงสรางหลักสูตรโรงเรียนน้ําปลีกศกึ ษา แผนการเรยี นที่ 3 ภาษา ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3/3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ หนวย/ชม หนว ย/ชม รายวชิ าสาระพืน้ ฐาน 11.0 (440) รายวิชาสาระพน้ื ฐาน 11.0 (440) ท23101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท23102 ภาษาไทย 1.5 (60) ค23101 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค23102 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ว23101 วทิ ยาศาสตร 1.5 (60) ว23102 วิทยาศาสตร 1.5 (60) ส23101 สงั คมศึกษา 1.5 (60) ส23103 สงั คมศึกษา 1.5 (60) ส23102 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) ส23104 ประวัติศาสตร 0.5 (20) พ23101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1.0 (40) พ23102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) ศ23101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ23102 ศิลปะ 1.0 (40) ง23101 การงานอาชีพฯ(งานชา ง) 1.0 (40) ง23102 การงานอาชีพฯ(งานธุรกิจ) 1.0 (40) อ23101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ23102 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) รายวชิ าสาระเพม่ิ เตมิ 3.5(140) รายวชิ าสาระเพ่มิ เตมิ 3.5(140) ท23201 ภาษาไทย 1.0(40) ท23202 ภาษาไทย 1.0(40) ง23201 คอมพวิ เตอร (ตารางการทาํ งาน) 1.0 (40) ง23202 คอมพวิ เตอร (การสราง 1.0 (40) 0.5 (20) อ23201 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) เว็บไซตเบอ้ื งตน) 1.0 (40) ง23203 ชางไฟฟา 1.0 (40) อ23202 ภาษาองั กฤษ กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น ( 60) ง23204 ชางไฟฟา 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ( 60) 20 กิจกรรมนักเรยี น 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 - ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 กิจกรรมนักเรียน ผูบําเพญ็ ประโยชน - ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ ผูบําเพญ็ ประโยชน - ชมรมชุมนมุ - ชมรมชมุ นมุ กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน 20 รวมทั้งหมด 620 ชั่วโมง รวมทัง้ หมด 620 ช่วั โมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชนจ ัดบูรณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผูเรยี นเลอื กเพยี ง 1 กิจกรรม

โครงสรางหลักสูตรโรงเรียนนา้ํ ปลีกศกึ ษา แผนการเรียนที่ 1 วิทย - คณิต ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 4 /1 – 4 /2 ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน/ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ รายวิชาสาระพ้นื ฐาน หนว ย/ชม รายวชิ าสาระพ้ืนฐาน หนว ย/ชม 8.0 (320) 7.0 (280) ท31101 ภาษาไทย 1.0 (40) ท31102 ภาษาไทย 1.0 (40) ค31101 คณิตศาสตร 1.0 (40) ค31102 คณิตศาสตร 1.0 (40) ว31101 วทิ ยาศาสตรชวี ภาพ 1.0 (40) ว31182 วิทยาการคํานวณ 1.0 (40) ว31181 การออกแบบและเทคโนโลยี 1.0 (40) ส 31103 สงั คมศึกษา( ) 1.0 (40) ส31101 สังคมศึกษา ( ) 1.0 (40) ส31104 ประวตั ศิ าสตร 0.5(20) ส31102 ประวัตศิ าสตร 0.5 (20) พ31102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 (20) พ31101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 0.5 (20) ศ31102 ศลิ ปะ 0.5 (20) ศ31101 ศิลปะ 0.5 (20) ง31102 การงานอาชีพฯ(งานประดษิ ฐ) 0.5 (20) ง31101 การงานอาชีพ(งานบา น) 0.5 (20) อ31102 ภาษาอังกฤษ 1.0 (40) อ31101 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) รายวิชาเพ่ิมเติม 7.5 (300) รายวิชาเพม่ิ เติม 8.5 (340) ว31201 ฟสิกส 1.5 (60) ว31202 ฟส กิ ส 1.5 (60) ว31221 เคมี 1.5 (60) ว31222 เคมี 1.5 (60) ว31241 ชวี วิทยา 1.5 (60) ว31242 ชวี วทิ ยา 1.5 (60) ว31261 โลกดาราศาสตรและอวกาศ 1.0 (40) ว31262 โลกดาราศาสตรและอวกาศ 1.0 (40) ค31201 คณติ ศาสตร 1.0 (40) ค31202 คณิตศาสตร 1.5 (60) ส30231 หนาทพี่ ลเมอื ง 0.5 (20) อ31202 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) อ31201 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) ส30232 หนา ทพ่ี ลเมอื ง 0.5 (20) 15.5 15.5 กิจกรรมพฒั นาผเู รียน (60) กิจกรรมพัฒนาผเู รียน (60) กิจกรรมพฒั นาผูเ รียน ( 60) กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น ( 60) กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมนกั เรยี น กจิ กรรมนกั เรยี น - ผบู าํ เพญ็ ประโยชน/ รกั ษาดนิ แดน/ลกู เสือ 20 - ผูบาํ เพ็ญประโยชน/ รักษาดินแดน/ 20 ลกู เสอื วิสามัญ 20 ลกู เสือวิสามัญ 20 - ชมรมหรือชมุ นมุ - ชมรมหรือชมุ นมุ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 20 กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน 20 รวมทั้งหมด 620 ชัว่ โมง รวมทัง้ หมด 620 ชัว่ โมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกจิ กรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผูเรยี นเลอื กเพียง 1 กิจกรรม

โครงสรางหลักสูตรโรงเรียนนํ้าปลกี ศึกษา แผนการเรียนท่ี 1 วิทย - คณิต ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5/1 – 5/2 ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน/ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน/ หนว ย/ชม หนว ย/ชม รายวิชาสาระพืน้ ฐาน 8.0 รายวิชาสาระพ้ืนฐาน 8.0 ท32101 ภาษาไทย 1.0 (40) ท32102 ภาษาไทย 1.0 (40) ค32101 คณติ ศาสตร 1.0 (40) ค32102 คณติ ศาสตร 1.0 (40) ว32101 วิทยาศาสตรก ายภาพ 1.0 (40) ว32102 วทิ ยาศาสตรก ายภาพ 1.0 (40) ว32183 การออกแบบและเทคโนโลยี 1.0 (40) ว32184 วิทยาการคํานวณ 1.0 (40) ส32101 สงั คมศกึ ษา( ) 1.0 (40) ส32103 สงั คมศกึ ษา( ) 1.0 (40) ส32102 ประวัติศาสตร 0.5 (20) ส32104 ประวัติศาสตร 0.5(20) พ32101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 (20) พ32102 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 0.5 (20) ศ32101 ศิลปะ 0.5 (20) ศ32102 ศิลปะ 0.5 (20) ง32101 การงานอาชีพ(คอมพวิ เตอร) 0.5 (20) ง32102 การงานอาชีพ(งานเกษตร) 0.5 (20) อ32101 ภาษาอังกฤษ 1.0 (40) อ32102 ภาษาอังกฤษ 1.0 (40) รายวิชาเพม่ิ เตมิ 8.0 รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 8.0 ว32201 ฟส กิ ส 1.5 (60) ว32202 ฟสิกส 1.5 (60) ว32221 เคมี 1.5 (60) ว32222 เคมี 1.5 (60) ว32241 ชีววทิ ยา 1.5 (60) ว32242 ชวี วทิ ยา 1.5 (60) ว32263 โลกดาราศาสตรแ ละอวกาศ 1.0 (40) ว32264 โลกดาราศาสตรและอวกาศ 1.0 (40) ค32201 คณิตศาสตร 1.0 (40) ค32202 คณิตศาสตร 1.0 (40) อ32201 ภาษาอังกฤษ 1.0(40) อ32202 ภาษาอังกฤษ 1.0 (40) ส30233 หนา ทีพ่ ลเมือง 0.5 (20) ส30234 หนา ทีพ่ ลเมอื ง 0.5 (20) 16.0 16.0 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ( 60) กิจกรรมพฒั นาผูเ รียน ( 60) กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนกั เรยี น กจิ กรรมนกั เรียน - รกั ษาดนิ แดน/ ผูบาํ เพ็ญประโยชน 20 - รกั ษาดนิ แดนผบู ําเพ็ญประโยชน 20 ลูกเสือวิสามัญ 20 ลกู เสอื วิสามัญ 20 - ชมรมชุมนุม - ชมรมชุมนุม กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน 20 รวมทง้ั หมด 620 ชวั่ โมง รวมทง้ั หมด 620 ช่วั โมง หมายเหตุ1. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ3.2.1 และ 3.2.2 ผเู รียนเลือกเพียง 1 กิจกรรม

โครงสรา งหลกั สตู รโรงเรียนนํ้าปลกี ศึกษา แผนการเรยี นท่ี 1 วิทย - คณิต ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6/1 – 6/2 ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 6 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน/ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ หนว ย/ชม หนว ย/ชม รายวิชาสาระพนื้ ฐาน 5.5 รายวิชาสาระพ้ืนฐาน 5.5 ท33101 ภาษาไทย 1.0 (40) ท33102 ภาษาไทย 1.0 (40) ค33101 คณิตศาสตร 1.0 (40) ค33102 คณติ ศาสตร 1.0 (40) ส33101 สงั คมศกึ ษา( ) 1.0 (40) ส33102 สังคม( ) 1.0 (40) พ33101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 0.5 (20) พ33102 สุขศึกษาและพลศึกษา 0.5 (20) ศ33101 ศลิ ปะ 0.5 (20) ศ33102 ศลิ ปะ 0.5 (20) ง33101 การงานอาชีพฯ(งานชาง) 0.5 (20) ง33102 การงานอาชีพฯ(งานธรุ กิจ) 0.5 (20) อ33101 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) อ33102 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) รายวชิ าเพิ่มเตมิ 8.0 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 8.0 ว33201 ฟสกิ ส 1.5 (60) ว33202 ฟส ิกส 1.5 (60) ว33221 เคมี 1.5 (60) ว33222 เคมี 1.5 (60) ว33241 ชวี วทิ ยา 1.5 (60) ว33242 ชีววิทยา 1.5 (60) ค33201 คณติ ศาสตร 1.5 (60) ค33202 คณติ ศาสตร 1.5 (60) อ33201 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) อ33202 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) ง33241 คอมพิวเตอร( Flash) 1.0 (40) ง33242 คอมพวิ เตอร( การเขยี น 1.0 (40) โปรแกรมภาษา) 13.5 13.5 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ( 60) กิจกรรมพัฒนาผเู รียน ( 60) กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนักเรียน กจิ กรรมนกั เรยี น - ผบู าํ เพ็ญประโยชน/ รักษาดนิ แดน 20 - ผบู ําเพ็ญประโยชน/ รกั ษาดนิ แดน 20 ลูกเสือวิสามัญ ลกู เสือวิสามัญ - ชมรมชมุ นมุ 20 - ชมรมชมุ นุม 20 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน 20 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน 20 รวมท้งั หมด 620 ชั่วโมง รวมทง้ั หมด 620 ช่ัวโมง หมายเหตุ1. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนจ ดั บูรณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ 3.2.1 และ 3.2.2 ผเู รยี นเลือกเพยี ง 1 กจิ กรรม

คําอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ค ๒๑๑๐๑คณติ ศาสตร กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ่ี ๑ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จํานวน ๑.๕หนวยกติ ศึกษาและฝกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอันไดแก การแกปญหา การใหเหตุผล การสอื่ สาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเช่ือมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และการเช่ือมโยงคณิตศาสตรกบั ศาสตรอ น่ื ๆ และมีความคิดสรางสรรค ในสาระตอ ไปน้ี จาํ นวนตรรกยะ จาํ นวนเต็มบวก เตม็ ลบ และศูนย การเปรียบเทยี บจาํ นวนเต็ม จํานวนตรง ขาม และคาสัมบูรณ การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม สมบัติของจํานวนเต็มและการ นาํ ไปใช ความสัมพันธข องเศษสวนและทศนยิ ม สมบัติของจํานวนตรรกยะและการนําไปใช การสรา งทางเรขาคณิต การสรางเกีย่ วกับสวนของเสน ตรง มุม เสน ตงั้ ฉาก รูปเรขาคณิตสองมิติ มุมท่ีมีขนาดตางๆ การสรา งเสนขนาน และการนําไปใช เลขยกกาํ ลงั การเขยี นเลขยกกําลงั ทีม่ ีเลขช้ีกาํ ลังเปนจํานวนเต็มบวก สมบัติของเลขยกกําลัง ทีม่ ีเลขชกี้ าํ ลังเปนจาํ นวนเตม็ บวก และการนาํ ไปใช มิติสัมพันธของรูปเรขาคณิต หนาตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ และภาพที่ไดจากการมอง ดา นหนา ดา นขา ง ดา นบนของรูปเรขาคณติ สามมติ ทิ ปี่ ระกอบข้นึ จากลกู บาศก แบบรปู และความสัมพนั ธ โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิดคํานวณ แกปญหา การใหเหตุผล และนําความรู ความคดิ ทักษะกระบวนการท่ีไดไ ปใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั อยางสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคาและเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปน ระบบ มรี ะเบยี บ มคี วามรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเรมิ่ สรางสรรค และมคี วามเช่ือมน่ั ในตนเอง การวัดและการประเมินผล ใชวิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพท่ีเปนจริงสอดคลองกับเน้ือหาและ ทกั ษะที่ตอ งการวัด รหสั ตวั ช้ีวดั ค ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ค ๒.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ รวมทัง้ หมด ๔ตัวช้วี ัด

คําอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน ค ๒๑๑๐๒คณิตศาสตร กลุม สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ภาคเรยี นที่ ๒เวลา ๖๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๕หนวยกติ ศึกษาและฝกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอันไดแก การแกปญหา การใหเหตุผล การส่อื สาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตางๆ ทางคณิตศาสตร และการเชอื่ มโยงคณิตศาสตรกบั ศาสตรอ ืน่ ๆ และมีความคิดสรางสรรค ในสาระตอ ไปนี้ สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว คําตอบของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การแกสมการเชิงเสนตัว แปรเดียว โดยใชสมบัตกิ ารเทากนั และสมบัติของจํานวน และการนําไปใช อัตราสวน อัตราสวนของจํานวนหลายๆจํานวน สัดสวน การนําความรูเก่ียวกับอัตราสวน สัดสวนและรอยละไปใชใ นชีวติ จริง สมการเชิงเสนสองตัวแปร กราฟของความสมั พนั ธเ ชงิ เสน สมการเชิงเสนสองตัวแปร และการ นําความรเู กยี่ วกับสมการและกราฟของความสมั พนั ธไปใชใ นชีวติ จริง สถิติ การตั้งคําถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอขอมูล ดวย แผนภูมิรูปภาพ แผนภมู แิ ทง กราฟเสน แผนภมู ิวงกลม และการแปลความหมายขอมูล บุคคล ทรพั ยากร ขอมูลทางเศรษฐกิจ ในทองถน่ิ ตลอดจนการนําไปประยุกตใ ชใ นชวี ติ จรงิ โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผ เู รยี นไดศ ึกษาคนควา โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิดคํานวณ แกปญหา การใหเหตุผล และนําความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคาและเจตคติที่ดีตอ คณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่ม สรา งสรรค และมคี วามเช่ือมน่ั ในตนเอง การวดั และการประเมนิ ผล ใชวิธีการท่หี ลากหลายตามสภาพท่ีเปนจริงสอดคลอวกับเนื้อหาและ ทักษะท่ีตองการวัด รหสั ตวั ชวี้ ดั ค ๑.๑ ม.๑/๓ ค ๑.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ค ๓.๑ ม.๑/๑ รวมท้ังหมด ๕ตัวชีว้ ัด

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ค ๒๒๑๐๑คณิตศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๒ภาคเรียนที่ ๑เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จาํ นวน ๑.๕หนว ยกิต ศกึ ษาความรู ฝก ทักษะการคิดคํานวณการใหเหตผุ ลและฝกการแกปญหาเพ่ือพัฒนาศักยภาพของผเู รียนใหมี ความรคู วามเขาใจและสามารถนาํ ความรูนน้ั ไปประยุกตใชในสาระตอไปน้ี จํานวนตรรกยะ จํานวนเต็มบวก เตม็ ลบ และศนู ย จาํ นวนทไี่ มใ ชจาํ นวนเตม็ ทศนิยมซ้ํา การเปรยี บเทียบ จาํ นวนเตม็ จาํ นวนตรงขาม และคา สมั บรู ณ การบวก การลบ การคูณ และการหารจาํ นวนเตม็ สมบัตขิ อง จํานวนเตม็ และการนาํ ไปใช ความสัมพันธของเศษสวนและทศนยิ ม สมบัติของจาํ นวนตรรกยะ และการนาํ ไปใช จํานวนจรงิ จาํ นวนตรรกยะ จาํ นวนอตรรกยะ รากท่ีสอง รากท่ีสาม พ้นื ทผี่ วิ และปรมิ าตรพื้นท่ีผวิ และปรมิ าตรปริซึม พืน้ ทผ่ี วิ และปรมิ าตรทรงกระบอก เปรียบเทยี บหนวยความ จหุ รือหนวยปริมาตร การนาํ ไปใช โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิดคํานวณ แกปญหา การใหเหตุผล และนําความรู ความคิด ทักษะกระบวนการทไี่ ดไปใชใ นชีวิตประจําวนั อยางสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปน ระบบ มรี ะเบียบ มีความรบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ มคี วามคดิ ริเรมิ่ สรา งสรรค และมีความเชอ่ื มั่นในตนเอง การวัดและการประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพท่ีเปนจริงสอดคลองกับเน้ือหาและ ทักษะท่ตี องการวัด รหัสตัวชี้วดั ค ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ค ๒.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ รวมท้ังหมด ๔ตวั ชว้ี ัด

คาํ อธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ค ๒๒๑๐๒คณติ ศาสตร กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๒ภาคเรยี นที่ ๑เวลา ๖๐ ช่วั โมง จาํ นวน ๑.๕หนว ยกติ ศกึ ษาความรู ฝก ทักษะการคิดคํานวณการใหเหตผุ ลและฝกการแกป ญหาเพ่ือพฒั นาศักยภาพของผเู รยี นใหมี ความรคู วามเขาใจและสามารถนาํ ความรนู ัน้ ไปประยุกตใ ชในสาระตอไปน้ี เสน ขนานสมบตั ิของเสน ขนาน รปู สามเหลีย่ มสองรูปทสี่ ัมพันธก นั แบบ มุม-มุม-ดา น การใหเ หตุผล และแกป ญหาโดยใชสมบตั ิ ความเทา กนั ทุกประการความเทา กนั ทกุ ประการของรปู สามเหล่ียม รูปสามเหลี่ยมสองรูปทีส่ มั พนั ธ กนั แบบ ดา น-มมุ -ดา น มมุ -ดา น-มุม ดา น-ดา น-ดาน ทฤษฎีบทพที าโกรสั ทฤษฎบี ทปทาโกรัส บทกลบั ของทฤษฎบี ทปทาโกรสั การแกปญหา หรอื สถานการณโ ดยใชท ฤษฎีบทปทาโกรัส และบทกลบั สถิติกําหนดประเดน็ เขียนขอ คําถามกําหนดวิธกี ารศึกษาและเกบ็ รวบรวมขอมูลการนาํ เสนอขอมลู การนาํ เสนอ ขอ มูลแจกแจงความถี่การสรางตารางแจกแจงความถ่ฮี ิสโทแกรม และรปู หลายเหลีย่ มความถ่ีความหมายทาง สถติ อิ านและแปรความหมายและวเิ คราะหขอ มลู จากการนําเสนอความคาดเคลื่อนที่อาจเกิดข้ึนไดจากการ นําเสนอขอมลู ทางสถิติ โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิดคํานวณ แกปญหา การใหเหตุผล และนําความรู ความคดิ ทกั ษะกระบวนการที่ไดไ ปใชในชีวติ ประจาํ วัน อยางสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปน ระบบ มีระเบียบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และมีความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง การวัดและการประเมินผล ใชวิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพที่เปนจริงสอดคลองกับเนื้อหาและ ทกั ษะท่ีตอ งการวดั รหสั ตัวช้ีวัด ค ๒.๒ ม.๒/๒, ม.๒/๔, ม.๒/๕ ค ๓.๑ ม.๒/๑ รวมท้ังหมด ๔ตัวชีว้ ัด

คาํ อธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรู คณติ ศาสตรระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี๓ภาคเรยี นท่ี ๑ รายวิชาคณิตศาสตรพน้ื ฐาน ๕ รหสั วิชา ค๒๓๑๐๑๑.๕หนว ยการเรียนจํานวนเวลา ๖๐ชว่ั โมง ศกึ ษาฝกทักษะการคิดคาํ นวณ และฝก การแกปญหาในสาระตอไปน้ี ปรมิ าตรและพ้ืนที่ผิวพื้นทผี่ วิ และปรมิ าตรปริซึม พื้นท่ผี วิ และปริมาตรทรงกระบอก พ้ืนทผี่ ิวและ ปริมาตรพีระมดิ พ้นื ทผ่ี วิ และ ปริมาตร กรวยพนื้ ที่ผิวและ ปริมาตรทรงกลม เปรียบเทียบหนวยความจุหรือ หนว ยปริมาตร การนําไปใช กราฟ กราฟแสดงความเกี่ยวขอ งของปริมาณสองชุดการเขียนกราฟของสมการเชิงเสน สองตัวแปร อานและแปลความหมายกราฟ ระบบสมการเชงิ เสนสมการเชงิ เสน สองตัวแปรกราฟของสมการเชง เสน สองตวั แปรระบบสมการเชง เสนสองตัวแปร วธิ แี กระบบสมการเชง เสน สองตวั แปรโจทยสมการเชงเสน สองตัวแปร ระบบสมการเชิงเสน ที่ ประกอบดว ยสมการเชงิ เสน และสมการดีกรสี อง ระบบสมการที่ประกอบดวยสมการดีกรีสอง ความคลาย สมบัตขิ องการคลายกนั ของรูปสามเหลีย่ มความสมั พันธของดา น และมมุ ภายในของรูป สามเหล่ยี มเงื่อนไขท่ที ําใหรปู สามเหล่ียมสองรูปคลา ยกันการแกปญ หาการนาํ ไปใชอ ตั รา สวนตรโี กณของมมุ ๓๐ , ๔๕ , ๖๐ อัตราสว นตรีโกณมติ ิของมุมประกอบหน่ึงฉากความสัมพันธของอัตราสว นตรโี กณและการ นาํ ไปใช โดยจดั ประสบการณห รือสรา งสถานการณในชีวิตประจําวนั ที่ใกลตัวใหผเู รยี นไดศกึ ษาคนควา โดย การปฏบิ ัตจิ ริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพอ่ื พัฒนาทกั ษะ/กระบวนการในการคิดคาํ นวณ การแกปญหา การใหเ หตผุ ล การสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร และนําประสบการณดานความรู ความคิดทักษะ กระบวนการทไี่ ดไปใชในการเรียนรสู ่ิงตา ง ๆ และใชใ นชวี ติ ประจําวนั อยา งสรา งสรรค รวมทงั้ เหน็ คณุ คาและ มีเจตคติท่ีดีตอ คณติ ศาสตร สามารถทํางานอยา งเปน ระบบระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มี วจิ ารณญาณ และมีความเช่อื มัน่ ในตนเอง การวดั และประเมินผล ใชว ิธีการทห่ี ลากหลายตามสภาพความเปน จรงิ ใหสอดคลองกบั เนือ้ หาและ ทกั ษะท่ตี องการวดั มาตรฐานตัวช้ีวัด ค๒.๑ม.๓/๓ ค๒.๑ม.๓/๔ ค๒.๒ม.๓/๑ ค๓.๑ม.๓/๑ ค๒.๑ม.๓/๑ ค๒.๑ม.๓/๒ ค๔.๒ม.๓/๔ ค๔.๒ม.๓/๕ ค๓.๒ม.๓/๑ ค๔.๒ม.๓/๒ ค๔.๒ม.๓/๓ รวม ๑๒ ตัวชวี้ ดั

คําอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตรร ะดับช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี๓ภาคเรียนที่ ๒ รายวิชาคณติ ศาสตรพ น้ื ฐาน ๖ รหัสวิชา ค๒๓๑๐๒๑.๕หนว ยการเรียนจํานวนเวลา ๖๐ช่ัวโมง ศกึ ษาฝกทกั ษะการคิดคํานวณ และฝก การแกปญ หาในสาระตอ ไปนี้ อสมการแกอ สมการเชิงเสนตัวแปรเดียวแกโ จทยป ญ หาอสมการเชงิ เสน ตัวแปรเดียว ความนาจะเปน การทดลองสุมและเหตุการณ กฎการณน บั เบื้องตน ความนาจะเปนของเหตกุ ารณ สถติ ิ กาํ หนดประเดน็ เขียนขอ คําถามกําหนดวธิ กี ารศึกษาและเก็บรวบรวมขอมลู การนําเสนอขอมลู การนําเสนอขอมลู แจกแจงความถีก่ ารสรา งตารางแจกแจงความถี่ฮสิ โทแกรม และรปู หลายเหล่ยี มความถ่ี ความหมายทางสถิติอา นและแปรความหมายและวเิ คราะหขอ มูลจากการนําเสนอความคาดเคลื่อนที่อาจ เกดิ ขนึ้ ไดจ ากการนาํ เสนอขอมลู ทางสถิติ การเสรมิ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร การเสรมิ ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรเ ก่ยี วกบั เลข ยกกาํ ลงั อตั ราสว นและรอยละปริมาตรและพนื้ ท่ผี วิ สถิติความนาจะเปน เพอ่ื ใหน กั เรียนสามารถคดิ อยางมเี หตุผลและสามารถใชเ หตุผลในการเสดงความคดิ เห็นอยางเปน ระเบียบ ชดั เจน และรัดกุม มีความรคู วามเขาใจในหลักการ และโครงสรางของคณติ ศาสตร มีความคิดรเิ ร่ิม และสรา งสรรค มีความสามารถและมนั่ ใจในการแกปญ หา ตลอดจนคดิ คํานวณไดอยา งถกู ตองและตระหนักใน คุณคา ของคณติ ศาสตร และมีเจตคตทิ ดี่ ีตอวชิ าคณติ ศาสตร การวัดและประเมินผล ใชว ธิ กี ารที่หลากหลายตามสภาพความเปน จริงใหส อดคลองกับเนอ้ื หาและ ทักษะทีต่ องการวดั มาตรฐานตวั ช้ีวดั ค๕.๑ม.๓/๑ ค๕.๑ม.๓/๒ ค๕.๑ม.๓/๓ ค๕.๑ม.๓/๔ ค๔.๒ม.๓/๑ ค๕.๒ม.๓/๑ ค๖.๑ม.๓/๑ ค๖.๑ม.๓/๒ ค๖.๑ม.๓/๓ ค๖.๑ม.๓/๔ ค๕.๓ม.๓/๑ ค๕.๓ม.๓/๒ ค๖.๑ม.๓/๕ ค๖.๑ม.๓/๖ รวม ๑๔ ตัวชว้ี ัด

คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ค๓๑๑๐๑คณิตศาสตรพ้นื ฐาน ๑ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑เวลา ๔๐ ชั่วโมง จํานวน ๑.๐ หนวยกิต ศึกษา วเิ คราะห อธบิ าย ฝกทักษะการแกปญหาในสาระตอไปน้ี เซตความรเู บอื้ งตน และสัญลักษณพน้ื ฐานเกีย่ วกับเซต ยูเนียน อนิ เตอรเซกชนั และคอมพลเี มนตของ เซต ตรรกศาสตรเบอื้ งตน ประพจนและตัวเชอื่ ม (นิเสธ และหรือถา ...แลว ...ก็ตอเมื่อ) โดยนาํ ความรู ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรที่หลากหลายมาใชในการแกปญหาใน สถานการณต างๆไดอ ยางเหมาะสม มเี หตุผลประกอบในการตดั สินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษา และสัญลกั ษณท างคณิตศาสตรใ นการส่อื สาร ส่อื ความหมาย และนาํ เสนอไดอ ยางถูกตองชดั เจน เช่ือมโยง ความรตู า งๆในคณิตศาสตรแ ละนําความรทู ักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร ไปเชอื่ มโยงกับศาสตรอื่นๆและมคี วามคิดรเิ รมิ่ สรางสรรค เพอื่ ใหเกดิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค สามารถทํางานอยา งมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี วิจารณญาณ มคี วามเชอื่ มัน่ ในตนเอง มีความซื่อสตั ยสุจริตมวี นิ ัย ใฝเรยี นรู มุงมนั่ ในการทาํ งาน รกั ความเปน ไทย มีจิตสาธารณะ พรอมทั้งตระหนกั ในคณุ คาและมีเจตคติทีด่ ตี อ คณิตศาสตร รหัสและตวั ชี้วัด ค๑.๑ ม.๔/๑ รวมท้ังหมด ๑ตวั ช้วี ัด

คาํ อธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ค๓๑๑๐๒คณติ ศาสตรพน้ื ฐาน ๒ กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ ๔ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา๔๐ ชว่ั โมง จาํ นวน ๑.๐ หนว ยกติ ศึกษา วิเคราะห อธบิ าย ฝกทักษะการแกป ญ หาในสาระตอไปน้ี หลกั การนบั เบ้ืองตน หลักการบวกและการคณู การเรียงสับเปลย่ี นเชงิ เสนกรณที ส่ี ง่ิ ของแตกตา งกนั ทง้ั หมดการจัดหมูกรณที ีส่ ิ่งของแตกตา งกนั ทั้งหมด ความนา จะเปนการทดลองสุมและเหตุการณ ความนาจะเปน ของเหตุการณ โดยนําความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท ห่ี ลากหลายมาใชใ นการแกป ญหาในสถานการณ ตางๆไดอยา งเหมาะสม มเี หตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภ าษาและ สัญลกั ษณท างคณติ ศาสตรใ นการส่อื สาร สอ่ื ความหมาย และนําเสนอไดอยางถูกตองชัดเจน เช่ือมโยงความรู ตางๆในคณิตศาสตรและนความรทู กั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร ไปเชอื่ มโยงกบั ศาสตรอ่นื ๆและมีความคดิ ริเร่ิมสรางสรรค เพื่อใหเกดิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค สามารถทาํ งานอยา งมีระบบระเบยี บ รอบคอบ รับผดิ ชอบมี วจิ ารณญาณ มีความเช่ือม่นั ในตนเอง มีความซื่อสตั ยสุจรติ มีวินัย ใฝเรียนรู มงุ มนั่ ในการทํางาน รกั ความเปน ไทย มีจติ สาธารณะ พรอมทั้งตระหนกั ในคณุ คา และมีเจตคตทิ ่ีดตี อ คณิตศาสตร รหสั และตวั ช้ีวดั ค๓.๒ม.๔/๑, ม.๔/๒ รวมทั้งหมด ๒ตัวชวี้ ัด

คําอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ค๓๒๑๐๑คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน ๒ กลมุ สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑เวลา ๔๐ ชั่วโมง จาํ นวน ๑.๐ หนวยกิต ศกึ ษา วิเคราะห อธิบาย ฝกทักษะการแกป ญ หาในสาระตอไปนี้ เลขยกกาํ ลงั รากที่n ของจาํ านวนจรงิ เม่อื n เปน จาํ นวนนบั ท่มี ากกวา 1 เลขยกกําลังทม่ี เี ลขช้กี าํ ลงั เปน จาํ นวนตรรกยะ ฟง กชนั ฟงกช ันและกราฟของฟงกช ัน(ฟงกช ันเชงิ เสน ) ฟงกชนั กาํ ลงั สอง ฟงกช ันข้นั บันไดฟงกชันเอกซ โพเนนเชยี ล) โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิดคํานวณ แกปญหา การใหเหตุผล และนําความรู ความคดิ ทกั ษะกระบวนการทไ่ี ดไปใชใ นชีวิตประจําวัน อยางสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปน ระบบ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มคี วามคิดริเริ่มสรา งสรรค และมีความเชื่อม่นั ในตนเอง การวัดและการประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพที่เปนจริงสอดคลองกับเน้ือหาและ ทักษะทีต่ องการวัด รหสั ตัวชวี้ ัด ค ๑.๑ ม.๑/๑ ค ๑.๒ ม.๑/๑ รวมทัง้ หมด ๒ตัวช้ีวัด

คาํ อธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ค๓๒๑๐๒คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน ๒ กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๒เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จํานวน ๑.๐ หนวยกิต ศึกษา วิเคราะห อธบิ าย ฝก ทักษะการแกปญหาในสาระตอไปน้ี ลาํ ดบั และอนุกรมลําดับเลขคณิตและลาํ ดบั เรขาคณิตอนุกรมเลขคณิตและอนกุ รมเรขาคณิต ดอกเบีย้ และมูลคาของเงนิ ดอกเบ้ยี มลู คาของเงินคา รายงวด โดยจัดประสบการณหรือสรางสถานการณใหผูเรียนไดศึกษาคนควาโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิดคํานวณ แกปญหา การใหเหตุผล และนําความรู ความคิด ทกั ษะกระบวนการท่ไี ดไ ปใชใ นชวี ิตประจาํ วนั อยางสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปน ระบบ มีระเบียบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มีความคดิ ริเร่ิมสรา งสรรค และมีความเช่อื มน่ั ในตนเอง การวัดและการประเมินผล ใชวิธีการที่หลากหลายตามสภาพที่เปนจริงสอดคลองกับเน้ือหาและ ทกั ษะที่ตอ งการวดั รหัสตวั ชีว้ ัด ค ๑.๑ ม.๑/๑ ค ๑.๓ ม.๑/๑ รวมทงั้ หมด ๒ตวั ชวี้ ัด

คําอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ค๓๓๑๐๑คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน ๓ กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จํานวน ๑.๐ หนวยกิต ศึกษาความรูพื้นฐานเบ้ืองตนฝกทกั ษะการคิดคํานวณการใหเหตุผลและฝกการแกป ญหาเพอ่ื พฒั นาศักยภาพ ของผูเรยี นใหมคี วามรคู วามเขาใจและสามารถนาํ ความรูน นั้ ไปประยุกตใ นสาระตอไปน้ี การวิเคราะหขอมูลเบ้ืองตน คากลางของขอมลู การวดั การกระจายของขอมูล การแจกแจงปกติ คา มาตรฐาน การแจกแจงปกติและเสน โคง ปกติ พ้นื ท่ีใตเสน โคง การจัดประสบการณห รือสรางสถานการณทใี่ กลตัว ใหผูเรียนไดศ ึกษาคนควา ไดปฏบิ ตั ิจริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพอ่ื พฒั นาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญ หา การใหเหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร และนําประสบการณดา นความรู ความคิด ทกั ษะกระบวนการท่ีไดไป ใชในการเรียนรตู าง ๆ และใชใ นชวี ิตประจําวันอยา งสรางสรรค รวมท้งั เห็นคุณคา และมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ วิชาคณติ ศาสตร สามารถทํางานอยางเปน ระบบ ระเบยี บ รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และเช่อื ม่ันในตนเอง การวดั ผลและประเมินผล ใชวธิ ีการท่ีหลากหลาย ตามสภาพการเปนจริงอิงเนื้อหาและ ทกั ษะทต่ี องการวัด เพ่ือใหมีความรู ความเขา ใจในเน้อื หา มีทกั ษะในการคดิ คํานวณ การใหเ หตุผลการนํา ความรูไปแกปญ หา และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรทีจ่ ําเปน มาตรฐานการเรียนรูแ ละตวั ช้ีวดั ม. ๔-๖/๔ ม. ๔-๖/๕ม. ๔-๖/๖ ค ๔.๑ม. ๔-๖/๔ม. ๔-๖/๕ ค ๔.๒ม. ๔-๖/๖ ค ๖.๑ม. ๔-๖/๑ม. ๔-๖/๒ม. ๔-๖/๓ รวม ๙ตัวช้ีวัด

คาํ อธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ค๓๓๑๐๒คณติ ศาสตรพนื้ ฐาน ๓ กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๒เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จาํ นวน ๑.๐ หนวยกติ ศึกษาความรูพืน้ ฐานเบอ้ื งตน ฝก ทกั ษะการคิดคํานวณการใหเ หตุผลและฝก การแกป ญหาเพื่อพัฒนา ศักยภาพของผูเรียนใหมคี วามรูความเขา ใจและสามารถนาํ ความรูน นั้ ไปประยุกตในสาระตอไปน้ี ความนาจะเปน การทดลองสมุ เหตกุ ารณ แซมเปลสเปส กฎเกณฑเบอ้ื งตน เกีย่ วกับการนบั ความนาจะเปน ของเหตุการณ แฟคทอเรียล วิธเี รยี งสบั เปลย่ี น วิธจี ดั หมู ทฤษฎีบททวินาม ความนา จะ เปน กฎสาํ คัญบางประการของความนาจะเปน การจดั ประสบการณห รือสรา งสถานการณท่ใี กลตวั ใหผเู รยี นไดศึกษาคนควา ไดปฏบิ ตั จิ ริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพอ่ื พฒั นาทักษะกระบวนการในการคิดคํานวณ การแกปญ หา การใหเ หตุผล การส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร และนาํ ประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีไดไ ป ใชใ นการเรยี นรูต าง ๆ และใชใ นชวี ติ ประจําวนั อยางสรา งสรรค รวมทงั้ เหน็ คณุ คา และมเี จตคตทิ ่ดี ีตอ วิชาคณิตศาสตร สามารถทํางานอยา งเปน ระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อมั่นในตนเอง การวัดผลและประเมนิ ผล ใชวิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพการเปน จรงิ อิงเน้ือหาและทักษะที่ ตองการวัด เพอื่ ใหมคี วามรู ความเขา ใจในเนื้อหา มีทักษะในการคิดคํานวณ การใหเ หตผุ ลการนาํ ความรู ไปแกปญหา และทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรทีจ่ ําเปน มาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ม. ๔-๖/๔ ม. ๔-๖/๕ ม. ๔-๖/๖ ค ๕.๒ม. ๔-๖/๒ ค ๕.๓ม. ๔-๖/๒ ค ๖.๑ม. ๔-๖/๑ ม. ๔-๖/๒ม. ๔-๖/๓ รวม ๘ตัวช้ีวัด

คําอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ค๒๑๒๐๑คณิตศาสตรเพิ่มเติม ๑ กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จํานวน ๑.๐ หนว ยกติ ศกึ ษา วเิ คราะห อธิบาย ฝกทกั ษะการแกปญ หาในสาระตอไปนี้ เลขยกกาํ ลงั เขาใจและอธิบายเกย่ี วกับเลขยกกําลงั ทม่ี ีเลขช้กี าํ ลังเปนจาํ นวนเต็ม คูณและหาร เลขยกกําลังท่มี ฐี านเดยี วกนั และเลขชีก้ าํ ลงั เปนจาํ นวนเต็มได เขียนแสดงจํานวนในรูปสญั กรณว ิทยาศาสตร ( A 10n เมอ่ื 1 A 10 และ n เปน จาํ นวนเต็ม) การประยุกตเ กีย่ วกับอตั ราสวนและรอ ยละการนาํ ความรเู กีย่ วกบั อัตราสวน สัดสว นและรอ ยละไปใช ในการแกปญหา โดยนําความรู ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรท่ีหลากหลายมาใชแกปญ หาในสถานการณตางๆ ไดอยา งเหมาะสม มเี หตผุ ลประกอบในการตดั สนิ ใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภ าษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการส่ือสาร ส่อื ความหมาย และนําเสนอไดอยางถกู ตองชัดเจน เช่อื มโยงความรูต า งๆ ใน คณติ ศาสตรและนาํ ความรู หลกั การ ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรไปเช่ือมโยงกบั ศาสตรอนื่ ๆ และมี ความคิดรเิ ร่มิ สรา งสรรค เพอื่ ใหเกิดคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค สามารถทาํ งานอยางมรี ะบบระเบียบ รอบคอบ รับผดิ ชอบ มี วิจารณญาณ มีความเชื่อม่นั ในตนเอง มีความซื่อสตั ยส จุ ริตมีวนิ ยั ใฝเ รียนรู มุงม่นั ในการทํางาน รักความเปน ไทย มีจิตสาธารณะ พรอมท้ังตระหนักในคณุ คา และมเี จตคติทด่ี ตี อคณิตศาสตร ผลการเรียนรู ๑. ใชส มบัติของเลขยกกาํ ลงั ท่ีมีเลขชก้ี ําลังเปน จาํ นวนเตม็ บวกในการแกป ญ หาทางคณิตศาสตรแ ละ ปญหาในชีวติ จริงได ๒. คณู และหารเลขยกกําลงั ท่ีมฐี านเดียวกันและเลขชีก้ ําลงั เปน จาํ นวนเตม็ ได ๓. ใชความรเู ก่ียวกบั อัตราสวน สดั สวนและรอ ยละในการแกป ญ หาทางคณติ ศาสตรและปญ หาในชีวติ จริงได ๔. มคี วามสามารถในการแกปญหา การใหเ หตุผล การส่อื สาร การสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร และการนาํ เสนอ การเช่ือมโยงความรูต างๆ ทางคณิตศาสตรและเชือ่ มโยงคณติ ศาสตรก ับศาสตรอ ื่นๆ และมี ความคิดรเิ ริม่ สรา งสรรค รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรยี นรู

คาํ อธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม ค๒๑๒๐๒คณติ ศาสตรเ พิ่มเตมิ ๒ กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จาํ นวน ๑.๐ หนว ยกติ ศึกษา วิเคราะห อธิบาย ฝกทักษะการแกป ญ หาในสาระตอ ไปน้ี การสรางทางเรขาคณติ การสรา งพ้ืนฐานทางเรขาคณิต การสรา งรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชก ารสรา ง พ้ืนฐานทางเรขาคณิต การนาํ ความรูเกี่ยวกบั การสรางพื้นฐานทางเรขาคณิตไปใชในชีวติ จรงิ มติ สิ ัมพันธข องรูปเรขาคณติ อธิบายลกั ษณะรูปเรขาคณติ สามมติ ิหนาตัดของรปู เรขาคณิตสามมิติ ระบุภาพสองมติ ทิ ่ีไดจากการมองดา นหนา (front view) ดา นขา ง (side view) หรอื ดานบน (top view ) ของรูปเรขาคณิตสามมติ ิ วาด ออกแบบ หรือประดิษฐรปู เรขาคณิตสามมติ ิทป่ี ระกอบขน้ึ จากลกู บาศก โดยนําความรู ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรท ีห่ ลากหลายมาใชแกปญ หาในสถานการณต างๆ ไดอ ยา งเหมาะสม มเี หตผุ ลประกอบในการตดั สินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและสญั ลกั ษณทาง คณิตศาสตรในการส่ือสาร ส่ือความหมาย และนําเสนอไดอยา งถกู ตองชัดเจน เชอื่ มโยงความรตู างๆ ใน คณิตศาสตรและนําความรู หลักการ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรไ ปเชื่อมโยงกบั ศาสตรอืน่ ๆ และมี ความคดิ ริเริม่ สรา งสรรค เพอ่ื ใหเกดิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค สามารถทํางานอยางมีระบบระเบยี บ รอบคอบ รับผิดชอบ มี วจิ ารณญาณ มคี วามเช่ือม่นั ในตนเอง มีความซื่อสัตยส จุ ริตมีวินัย ใฝเรยี นรู มงุ มัน่ ในการทาํ งาน รักความเปน ไทย มีจติ สาธารณะ พรอมท้ังตระหนักในคุณคาและมีเจตคตทิ ่ีดีตอคณิตศาสตร ผลการเรยี นรู ๑. สรา งและบอกข้ันตอนการสรางพน้ื ฐานทางเรขาคณิตได ๒. สรา งรูปเรขาคณิตสองมิตโิ ดยใชก ารสรางพืน้ ฐานทางเรขาคณติ และบอกขน้ั ตอนการสรางได ๓. ระบุภาพสองมิติท่ไี ดจากการมองดานหนาดานขา งหรือดานบนของรปู เรขาคณติ สามมิตทิ ี่ กําหนดใหได ๔. วาดหรอื ประดิษฐรูปเรขาคณิตสามมิติทปี่ ระกอบขึ้นจากลกู บาศกได ๕. มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตผุ ล การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร และการนาํ เสนอ การเช่ือมโยงความรตู า งๆ ทางคณติ ศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรก บั ศาสตรอ ่ืนๆ และมี ความคดิ รเิ ร่มิ สรา งสรรค รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรยี นรู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook