Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.ต้น

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.ต้น

Published by t.kruyok004, 2020-01-08 15:38:11

Description: หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.ต้น ปรับปรุง2562

Search

Read the Text Version

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 โรงเรียนน้าปลีกศึกษา อา้ เภอเมือง จงั หวัดอ้านาจเจริญ สา้ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 29 ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นน้าปลกี ศกึ ษา อา้ เภอเมอื ง จังหวดั อ้านาจเจรญิ ที่ ............................ วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 เร่อื ง ขออนญุ าตสง่ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ระดบั ม.ต้น ปีการศึกษา 2562 เรยี น ผูอ้ า้ นวยการโรงเรียนนา้ ปลีกศกึ ษา ด้วยกลุ่มบริหารวิชาการได้จัดท้าหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ.2551 (ฉบับ ปรับปรุง 2560) เพ่ือเป็นกรอบในการด้าเนินการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซ่ึงกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ได้อ้างอิงหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือน้ามาจัดท้าหลักสูตรประจ้ากลุ่มสาระฯ ในการวิเคราะห์และ ออกแบบการจัดการเรียนการสอนในส่วนของรายวิชาท่ีกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รับผิดชอบจัดการเรียน การสอน ตังแตภ่ าคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบ ................................................. (นางสาวภทั ริยา โพธิศ์ รคี ณุ ) หัวหนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ความเหน็ ของผชู้ ่วยผ้อู ้านวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ ................................................................................... ................................................................................... ลงชือ่ ....................................................... (นายเถลิงศกั ด์ิ เถาว์โท) ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ......................................................................................... ....................................................................................... ลงช่อื ............................................................ (นายสุเมธ หน่อแกว้ )

ก คา้ น้า ตามที่คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ได้ด้าเนินการทบทวน หลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือน้าไปสู่ปรับปรุงมาตรฐานและตัวชีวัดมาตรฐาน ในสาระวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์และการงานอาชีพและเทคโนโลยี หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551และ โรงเรียนน้าปลีกศึกษา ได้ด้าเนินการจัดท้าหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใน ระดับชันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 และชันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ในปีการศกึ ษา 2561 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน พืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงได้จัดท้าหลักสูตรกลุ่มสาระฯ ในเล่มประกอบด้วย วิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะที่ส้าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี ัด โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา โครงสร้างรายวิชา ค้าอธิบายรายวชิ า เกณฑ์การวัดประเมินผล และการ จบหลักสตู ร หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนน้าปลีกศึกษาเล่มนี จะเป็น กรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีทกั ษะพืนฐานท่จี ้าเป็นส้าหรับใช้เป็น เครอื่ งมอื ในการดา้ รงชวี ิตในสงั คมที่มีการเปลี่ยนแปลงไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ข หนา้ ก สารบัญ ข 1 ค้าน้า 1 สารบญั 1 วิสัยทัศน์ 1 พันธกจิ 2 หลกั การ 2 จุดมุ่งหมาย 3 สมรรถนะความสา้ คัญของผเู้ รียน 14 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 15 โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั พนื ฐาน พ.ศ.2551 16 โครงสร้างเวลาเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ระดบั ม.ตน้ มาตรฐานและตวั ชวี ัดกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 38 คา้ อธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ระดับ ม.ตน้ บรรณานุกรม

1 วสิ ัยทัศน์ โรงเรยี นนา้ ปลีกศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรยี นแบบมีส่วนร่วม เช่อื มโยงชมุ ชนสู่ประชาคมอาเซียนใหม้ ี คุณธรรม จรยิ ธรรม น้าความรแู้ ละทักษะ สมรรถนะทสี่ า้ คัญ ตามหลกั สตู รกา้ หนดอยา่ งมคี ณุ ภาพ ได้ มาตรฐานการศึกษา พนั ธกจิ 1. จดั กระบวนการบรหิ ารและการจัดการศึกษาทงั ระบบให้เออื ต่อการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 2. บริหารจดั การแบบมสี ว่ นรว่ มเอือต่อการพฒั นาคุณภาพของผู้เรยี น 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นใหม้ ีความเข็มแข็ง 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมผ้เู รยี นให้มคี ุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ 5. สง่ เสรมิ การจดั กระบวนการเรียนร้ทู เี่ น้นผ้เู รยี นเป็นสา้ คัญ 6. จัดกจิ กรรมสง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการเชื่อมโยงบริบทและวิถชี มุ ชนสู่ ประชาคมอาเซียน 7. จดั กระบวนการเรยี นรู้พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผูเ้ รียน 8. จดั ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาทีมีประสิทธิภาพให้เกดิ ประสิทธผิ ลตอ่ การพัฒนา คุณภาพการศึกษา 9. จัดกจิ กรรมส่งเสริมความสามารถพเิ ศษของผู้เรยี น หลักการ เปน็ หลักสตู รการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติมจี ุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เปน็ เปา้ หมาย สา้ หรบั พฒั นาเด็กและเยาวชน เปน็ หลกั สตู รการศึกษาเพ่อื ปวงชนท่ีประชาชนทุกคนมโี อกาส ได้รบั การศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมคี ุณภาพ เปน็ หลกั สตู รการศึกษาทีส่ นองต่อการกระจายอา้ นาจ เปน็ หลกั สตู รการศึกษาที่มโี ครงสร้างยดื หยุ่น ทังดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การ เรียนรู้ เป็นหลักสตู รการศึกษาที่เน้นผเู้ รียนเป็นส้าคัญ เป็นหลักสตู รการศึกษา ส้าหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลุม ทุกกลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรูแ้ ละประสบการณ์ จุดมุ่งหมาย มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่พี ึงประสงค์ เห็นคณุ ค่าของตนเอง มคี วามรแู้ ละ ความสมารถในการส่ือสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชีวติ มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มีสุขนสิ ัย และรกั การออกก้าลังกาย มคี วามรกั ชาติ มีจติ สา้ นกึ ในการเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มีจิตสา้ นกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย

2 สมรรถนะความส้าคัญของผู้เรยี น เปน็ สมรรถนะจา้ เป็นพนื ฐาน 5 ประการที่กลมุ่ สาระการเรียนรู้พึงมี สมรรถนะเหล่านีได้ สอดแทรกบูรณาการในมาตรฐานการเรียนรู้ตา่ งๆ ทงั 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๘ ประการ ท่กี ้าหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลาง เป็นคณุ ลักษณะท่ี ตอ้ งการใหเ้ กิดแก่ผเู้ รียนทุกคน โรงเรียนนา้ ปลกี ศกึ ษาไดก้ ้าหนดไว้ในหลักสูตรสถานศกึ ษา ได้แก่ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2) ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต 3) มีวนิ ยั 4) ใฝเ่ รยี นรู้ 5) อย่อู ย่างพอเพยี ง 6) มงุ่ มัน่ ในการท้างาน 7) รักความเปน็ ไทย 8) มีจิตสาธารณะ คณุ สมบตั เิ หลา่ นจี ะสอดแทรก บรู ณาการในมาตรฐานและตวั ชีวัดของกลมุ่ สาระการเรยี นร้ตู ่างๆ และสามารถพฒั นาผา่ นกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น หรอื โครงการตา่ งๆ ของนกั เรียน

3 โครงสร้างเวลาเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กา้ หนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี นดงั น้ี กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม เวลาเรยี น ระดบั ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม. 4-6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 240 ( 6 นก. ) 240 ( 6 นก. ) ภาษาไทย 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 240 ( 6 นก. ) 320 ( 8 นก. ) คณติ ศาสตร์ 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 80 ( 2 นก. ) 80 ( 2 นก. ) วิทยาศาสตร์ 160 (4 นก. ) 160 ( 4 นก. ) 160 ( 4 นก. ) 40 (1 นก .) 40 ( 1 นก .) 40 ( 1 นก .) 240 ( 6 นก. ) สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 40 ( 1 นก.) 40 ( 1 นก.) 40 ( 1 นก.) ประวตั ศิ าสตร์ หน้าทพี ลเมือง 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม วฒั นธรรมและการด้าเนินชีวิตในสงั คม เศรษฐศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก. ) 120 ( 3นก. ) ศลิ ปะ 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) การงานอาชพี 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 120 ( 3นก. ) ภาษาตา่ งประเทศ 120 ( 3นก ) 120 ( 3นก ) 120 ( 3นก ) รวมเวลาเรยี นพืนฐาน 880 ( 22 นก ) 880 ( 22 นก ) 880 ( 22 นก ) 120 ( 3นก. ) กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น รายวิชา/กิจกรรมทสี่ ถานศึกษาจดั เพิ่มเตมิ 120 120 120 240 ( 6 นก. ) ตามความพร้อมและจดุ เนน้ รวมเวลาเรยี นทงั หมด ปีละไมเ่ กิน 200 ชั่วโมง 240 ( 6 นก. ) ไมเ่ กิน 1,200 ชว่ั โมง / ปี 360 ไมน่ อ้ ยกวา่ 1,600ชว่ั โมง รวม 3 ปไี ม่น้อย กวา่ 3,600 ชว่ั โมง

4 โครงสรา้ งเวลาเรียนโรงเรยี นน้าปลีกศกึ ษา หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กา้ หนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนดังน้ี เวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ระดบั ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศึกษา ตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม. 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 240 ( 6 นก. ) 240 ( 6 นก. ) ภาษาไทย 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 240 ( 6 นก. ) 320 ( 8 นก. ) คณิตศาสตร์ 140 ( 4นก. ) 160 ( 4นก. ) 160 ( 4นก. ) 80 ( 2 นก. ) 80 ( 2 นก. ) วทิ ยาศาสตร์ 160 (4 นก. ) 160 ( 4 นก. ) 160 ( 4 นก. ) 40 (1 นก .) 40 ( 1 นก .) 40 ( 1 นก .) 240 ( 6 นก. ) สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 40 ( 1 นก.) 40 ( 1 นก.) 40 ( 1 นก.) ประวัตศิ าสตร์ หน้าทีพลเมือง 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) 120 ( 3นก. ) ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม วฒั นธรรมและการดา้ เนินชีวติ ในสงั คม เศรษฐศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก. ) 120 ( 3นก. ) ศลิ ปะ 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 80 ( 2 นก ) 120 ( 3นก. ) การงานอาชีพ 40 ( 1 นก ) 40 ( 1 นก ) 40 ( 1 นก ) 120 ( 3นก. ) ภาษาต่างประเทศ 120 ( 3นก ) 120 ( 3นก ) 120 ( 3นก ) 240 ( 6 นก. ) รวมเวลาเรยี นพืนฐาน 880 ( 22 นก ) 880 ( 22 นก ) 880 ( 22 นก ) 240 ( 6 นก. ) กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น รายวชิ า/กิจกรรมทสี่ ถานศึกษาจัดเพม่ิ เตมิ 120 120 120 360 ตามความพรอ้ มและจุดเนน้ ไมน่ ้อยกวา่ รวมเวลาเรยี นทงั หมด ปีละไมเ่ กิน 200 ชวั่ โมง 1,600ชว่ั โมง รวม 3 ปีไม่น้อย ไมเ่ กิน 1,200 ช่วั โมง / ปี กว่า 3,600 ชั่วโมง

5 โครงสร้างหลกั สตู ร โรงเรียนนา้ ปลีกศกึ ษา แผนการเรยี นที่ 1 คณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ หน่วย/ชม หนว่ ย/ชม 11.0 (440) รายวชิ าสาระพนื้ ฐาน 11.0 รายวิชาสาระพ้ืนฐาน 1.5 (60) 1.5 (60) (440) 1.5 (60) 0.5 (20) ท21101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท21102 ภาษาไทย 1.5 (60) 0.5 (20) ค21101 คณติ ศาสตร์ 1.5 (60) ค21102 คณติ ศาสตร์ 1.0 (40) ว21101 วิทยาศาสตร์ 1.5 (60) ว21102 วิทยาศาสตร์ 1.0 (40) ว21181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว21182 วทิ ยาการคา้ นวณ 0.5 (20) 1.5 (60) ส21101 สงั คมศึกษา 1.5 (60) ส21103 สงั คมศึกษา ส21102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 (20) ส21104 ประวตั ศิ าสตร์ พ21101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ21102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศ21101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ21102 ศิลปะ ง21101 การงานอาชพี (งานบา้ นพน้ื ฐาน) 0.5 (20) ง21102 การงานอาชพี (งานประดษิ ฐ)์ ภาษาองั กฤษ อ21101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ21102 สาระเพ่มิ เติม 4.0 สาระเพมิ่ เติม 4.0 (160) (160) ค21201 คณติ ศาสตร์ 1.0 (40) ค21202 คณติ ศาสตร์ 1.0 (40) ง21201 คอมพิวเตอร์(การประมวลผลคา้ ) 1.0 (40) ง21202 คอมพวิ เตอร(์ อนิ เตอรเ์ นต็ เบือ้ งตน้ ) 1.0 (40) อ21201 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) อ21202 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) ส20231 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 0.5 (20) ส20232 หน้าทพี่ ลเมือง 0.5 (20) 1.0 (40) 1.0 (40) ง21203 การผลติ พนั ธไ์ ม้ ง21204 การผลติ พนั ธไ์ ม้ 20 20 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ( 60) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ( 60) 20 20 กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมแนะแนว 20 20 กจิ กรรมนกั เรียน กจิ กรรมนักเรยี น - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ ผบู้ า้ เพญ็ ประโยชน์ ผบู้ ้าเพญ็ ประโยชน์ - ชมรมชมุ นมุ - ชมรมชุมนุม กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 620 ช่ัวโมง รวมทง้ั หมด 620 รวมทั้งหมด ชวั่ โมง หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชนจ์ ดั บรู ณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กจิ กรรมในระดบั ม.ปลาย ข้อ3.2.1 และ 3.2.2 ผูเ้ รยี นเลอื กเพยี ง 1 กิจกรรม

6 โครงสร้างหลกั สูตร โรงเรยี นนา้ ปลกี ศกึ ษา แผนการเรียนที่ 2 วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1/2 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน/ รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรยี น/ หนว่ ย/ชม หนว่ ย/ชม 11.0 (440) รายวชิ าสาระพ้ืนฐาน 11.0 รายวชิ าสาระพนื้ ฐาน 1.5 (60) 1.5 (60) (440) 1.5 (60) 0.5 (20) ท21101 ภาษาไทย 1.5 (60) ท21102 ภาษาไทย 1.5 (60) 0.5 (20) ค21101 คณิตศาสตร์ 1.5 (60) ค21102 คณติ ศาสตร์ 1.0 (40) ว21101 วทิ ยาศาสตร์ 1.5 (60) ว21102 วิทยาศาสตร์ 1.0 (40) ว21181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 (20) ว21182 วทิ ยาการคา้ นวณ 0.5 (20) 1.5 (60) ส21101 สงั คมศึกษา 1.5 (60) ส21103 สังคมศกึ ษา ส21102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 (20) ส21104 ประวัตศิ าสตร์ พ21101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ21102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศ21101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ21102 ศลิ ปะ ง21101 การงานอาชพี (งานบ้านพ้ืนฐาน) 0.5 (20) ง21102 การงานอาชีพ (งานประดษิ ฐ)์ อ21101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ21102 ภาษาองั กฤษ สาระเพ่มิ เติม 4.0 (160) สาระเพิม่ เตมิ 4.0 (160) ว21201 วิทยาศาสตร์ 1.0 (40) ว21202 วิทยาศาสตร์ 1.0 (40) ง21201 คอมพิวเตอร(์ การประมวลผลคา้ ) 1.0 (40) ง21202 คอมพิวเตอร์(อินเทอรเ์ นต็ เบอื้ งต้น) 1.0 (40) อ21201 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) อ21202 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) ส20231 หนา้ ทพ่ี ลเมือง 0.5 (20) ส20232 หน้าทพี่ ลเมือง 0.5 (20) 1.0 ง21203 การผลติ พนั ธ์ไม้ 1.0 (40) ง21204 การผลติ พันธ์ไม้ (40) กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น ( 60) 20 กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ( 60) 20 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมนักเรียน กิจกรรมนกั เรยี น 20 - ลกู เสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ - ลูกเสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาด/ ผบู้ า้ เพญ็ ประโยชน์ ผ้บู า้ เพญ็ ประโยชน์ - ชมรมชมุ นุม - ชมรมชมุ นุม กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 20 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 รวมท้งั หมด 620 ชว่ั โมง รวมท้งั หมด 620 ชั่วโมง หมายเหตุ 1. กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชนจ์ ดั บูรณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดับม.ปลาย ขอ้ 3.2.1 และ 3.2.2 ผเู้ รียนเลอื กเพียง 1 กิจกรรม

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 7 เวลาเรยี น/ รายวชิ า/กจิ กรรม หน่วย/ชม โครงสร้างหลักสูตร โรงเรยี นนา้ ปลีกศกึ ษา 11.0 รายวชิ าสาระพ้ืนฐาน แผนการเรยี นท่ี 3 ภาษา ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/3 (440) 1.5 ท21101 ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 (60) 1.5 (60) ค21101 คณติ ศาสตร์ เวลาเรยี น/ รายวิชา/กจิ กรรม 1.5 (60) ว21101 วิทยาศาสตร์ หนว่ ย/ชม 0.5 (20) 11.0 รายวชิ าสาระพน้ื ฐาน 1.5 (60) (440) 0.5 (20) 1.0 (40) 1.5 ท21102 ภาษาไทย (60) 1.0 (40) 1.5 (60) ค21102 คณติ ศาสตร์ 0.5 (20) 1.5 (60) 1.5 (60) ว21102 วทิ ยาศาสตร์ 4.0 ว21181 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว21182 วิทยาการคา้ นวณ (160) (20) 1.0 (40) 1.0 (40) ส21101 สังคมศึกษา 1.5 (60) ส21103 สงั คมศกึ ษา 0.5 (20) ส21102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 (20) ส21104 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 (20) พ21101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ21102 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) ศ21101 ศิลปะ 1.0 (40) ศ21102 ศลิ ปะ ง21101 การงานอาชพี (งานบ้านพนื้ ฐาน) 0.5 (20) ง21102 การงานอาชพี (งานประดษิ ฐ์) อ21101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ21102 ภาษาอังกฤษ สาระเพม่ิ เตมิ 4.0 สาระเพ่มิ เติม (160) ท21201 ภาษาไทย 1.0 (40) ท21202 ภาษาไทย ง21201 คอมพิวเตอร(์ การประมวลผลค้า) 1.0 (40) ง21202 คอมพิวเตอร(์ อนิ เทอรเ์ นต็ เบ้อื งตน้ ) อ21201 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) อ21202 ภาษาอังกฤษ ส20231 หน้าทพี่ ลเมอื ง 0.5 (20) ส20232 หนา้ ทพ่ี ลเมือง การผลติ พนั ธ์ไม้ ง21203 การผลติ พนั ธไ์ ม้ 1.0 (40) ง21204 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ( 60) กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ( 60) 20 20 กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมนักเรยี น กจิ กรรมนกั เรียน - ลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ 20 - ลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ ผบู้ า้ เพญ็ ประโยชน์ - ชมรมชมุ นุม ผบู้ า้ เพญ็ ประโยชน์ 20 - ชมรมชุมนมุ กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 รวมทงั้ หมด 620 รวมทง้ั หมด 620 ชัว่ โมง ช่วั โมง หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์จดั บรู ณาการในกิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดับม.ปลาย ขอ้ 3.2.1 และ 3.2.2 ผู้เรยี นเลือกเพยี ง 1 กจิ กรรม

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 8 เวลาเรียน/ รายวิชา/กิจกรรม โครงสรา้ งหลกั สตู ร โรงเรยี นน้าปลีกศึกษา หน่วย/ชม แผนการเรยี นท่ี 1 คณติ ศาสตร์ ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/1 11.0 (440) รายวิชาสาระพ้นื ฐาน 1.5 (60) ท22101 ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 1.5 (60) ค22101 คณติ ศาสตร์ เวลาเรยี น/ รายวชิ า/กจิ กรรม 1.5 (60) ว22101 วิทยาศาสตร์ หนว่ ย/ชม 0.5 (20) ว22181 การออกแบบและเทคโนโลยี 11.0 (440) รายวิชาสาระพื้นฐาน 1.5 (60) ส22101 สังคมศึกษา 1.5 (60) ท22102 ภาษาไทย 0.5 (20) ส22102 ประวัติศาสตร์ 1.5 (60) ค22102 คณติ ศาสตร์ 1.0 (40) พ22101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.5 (60) ว22102 วทิ ยาศาสตร์ 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5 (20) ว22182 วทิ ยาการคา้ นวณ 1.5 (60) 1.5 (60) ส22103 สงั คมศกึ ษา 0.5 (20) ส22104 ประวตั ศิ าสตร์ 4.0(160) 1.0 (40) พ22102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0(40) 1.0 (40) ศ22101 ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ22102 ศลิ ปะ 0.5 (20) 0.5 (20) ง22101 การงานอาชีพ(คอมพิวเตอรพ์ ื้นฐาน) 0.5 (20) ง22102 การงานอาชีพ(งานเกษตร ) 1.0 (40) อ22101 ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ22102 ภาษาองั กฤษ 20 รายวิชาสาระเพิ่มเตมิ 4.0 (160) รายวิชาสาระเพิม่ เตมิ ค22201 คณิตศาสตร์ 1.0 (40) ค22202 คณติ ศาสตร์ 20 ง22201 คอมพวิ เตอร์ (การน้าเสนอขอ้ มูลเบ้อื งต้น) 1.0 (40) ง22202 คอมพิวเตอร์(งานกราฟรกิ ) 0.5 (20) 20 อ22201 ภาษาอังกฤษ 0.5 (20) อ22202 ภาษาองั กฤษ ส20233 หน้าท่พี ลเมือง 1.0 (40) ส20234 หนา้ ทพี่ ลเมอื ง 20 ง22203 ไม้ดอกไมป้ ระดบั ง22204 ไม้ดอกไม้ประดับ 620 ชว่ั โมง กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ( 60) 20 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ( 60) กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน 20 กจิ กรรมนกั เรยี น - ลูกเสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ 20 - ลกู เสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ ผูบ้ ้าเพ็ญประโยชน์ ผู้บา้ เพ็ญประโยชน์ - ชมรมชมุ นมุ - ชมรมชมุ นุม กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 20 กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมท้ังหมด 620 ช่ัวโมง รวมทั้งหมด หมายเหตุ 1. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนจ์ ัดบรู ณาการในกิจกรรมจรยิ ธรรม 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ้ 3.2.1 และ 3.2.2 ผูเ้ รยี นเลอื กเพยี ง 1 กจิ กรรม

9 โครงสรา้ งหลักสูตร โรงเรยี นน้าปลกี ศกึ ษา แผนการเรียนท่ี 2 วิทยาศาสตร์ ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 รายวิชา/กจิ กรรม รายวชิ าสาระพนื้ ฐาน เวลาเรยี น/หน่วย/ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน/หนว่ ย/ ท22101 ภาษาไทย ชม ค22101 คณติ ศาสตร์ ชม 11.0 (440) ว22101 วิทยาศาสตร์ 1.5 (60) ว22181 การออกแบบและเทคโนโลยี 11.0 (440) รายวิชาสาระพืน้ ฐาน 1.5 (60) ส22101 สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส22102 ประวตั ศิ าสตร์ 1.5 (60) ท ภาษาไทย 0.5 (20) พ22101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.5 (60) ศ22101 ศิลปะ 22102 0.5 (20) ง22101 คอมพิวเตอร์ 1.0 (40) อ22101 ภาษาองั กฤษ 1.5 (60) ค คณติ ศาสตร์ 1.0 (40) 0.5 (20) 22102 1.5 (60) 1.5 (60) ว วทิ ยาศาสตร์ 4.0 (160) 1.0 (40) 22102 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5 (20) ว วทิ ยาการคา้ นวณ 0.5 (20) 1.0 (40) 22182 20 1.5 (60) ส สังคมศึกษา 20 20 22103 20 620 ชว่ั โมง 0.5 (20) ส ประวัตศิ าสตร์ 22104 1.0 (40) พ สุขศึกษาและพลศึกษา 22102 1.0 (40) ศ ศลิ ปะ 22102 0.5 (20) ง งานเกษตร 22102 1.5 (60) อ ภาษาอังกฤษ 22102 รายวชิ าสาระเพ่มิ เตมิ 4.0 (160) รายวชิ าสาระเพม่ิ เติม ว22201 วิทยาศาสตร์ 1.0 (40) 1.0 (40) ว วทิ ยาศาสตร์ ง22201 คอมพวิ เตอร์(การน้าเสนอขอ้ มูลเบื้องตน้ ) 0.5 (20) 22202 0.5 (20) อ22201 ภาษาองั กฤษ 1.0 (40) ง คอมพวิ เตอร์ (งานกราฟรกิ ) 22202 ส20233 หน้าท่พี ลเมือง 20 20 อ ภาษาองั กฤษ ง22203 ไมด้ อกไม้ประดับ 20 22202 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ( 60) ส หน้าที่พลเมือง กจิ กรรมแนะแนว 20234 กจิ กรรมนกั เรยี น ง ไม้ดอกไม้ประดบั - ลูกเสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาด/ 22204 ผบู้ ้าเพ็ญประโยชน์ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ( 60) - ชมรมชมุ นุม กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น - ลกู เสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด/ ผ้บู ้าเพ็ญประโยชน์ - ชมรมชมุ นุม กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 20 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมท้ังหมด 620 ชั่วโมง รวมทงั้ หมด หมายเหตุ 1. กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์จัดบูรณาการในกิจกรรมจรยิ ธรรม 2. กิจกรรมในระดบั ม.ปลาย ขอ้ 3.2.1 และ 3.2.2 ผู้เรยี นเลือกเพยี ง 1 กิจกรรม

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 10 เวลาเรยี น/ รายวชิ า/กิจกรรม โครงสรา้ งหลกั สตู ร โรงเรียนน้าปลีกศกึ ษา หน่วย/ชม แผนการเรยี นท่ี 3 ภาษา ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2/3 11.0 (440) รายวชิ าสาระพ้ืนฐาน 1.5 (60) ท22101 ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 1.5 (60) ค22101 คณิตศาสตร์ 1.5 (60) ว22101 วิทยาศาสตร์ เวลาเรยี น/ รายวิชา/กิจกรรม 0.5 (20) ว22181 การออกแบบและเทคโนโลยี หน่วย/ชม 1.5 (60) ส22101 สงั คมศกึ ษา 0.5 (20) ส22102 ประวัตศิ าสตร์ 11.0 (440) รายวชิ าสาระพืน้ ฐาน 1.0 (40) พ22101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1.5 (60) ท22102 ภาษาไทย 1.0 (40) 1.5 (60) ค22102 คณิตศาสตร์ 1.0 (40) ศ22101 ศลิ ปะ 1.5 (60) ว22102 วิทยาศาสตร์ 1.5 (60) ง22101 คอมพวิ เตอร์ 0.5 (20) ว22182 วทิ ยาการคา้ นวณ 4.0 (160) อ22101 ภาษาองั กฤษ 1.5 (60) ส22103 สังคมศึกษา 1.0 (40) 0.5 (20) ส22104 ประวตั ิศาสตร์ 1.0 (40) 1.0 (40) พ22102 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 0.5 (20) 1.0 (40) ศ22102 ศลิ ปะ 0.5 (20) 1.0 (40) 1.0 (40) ง22102 งานเกษตร 1.5 (60) อ22102 ภาษาอังกฤษ 20 รายวชิ าสาระเพมิ่ เตมิ 4.0 (160) รายวิชาสาระเพิม่ เติม 20 ท22201 ภาษาไทย 1.0 (40) ท22202 ภาษาไทย ง22201 คอมพิวเตอร์(การนา้ เสนอข้อมูลเบือ้ งตน้ ) 1.0 (40) ง22202 คอมพวิ เตอร์ (งานกราฟรกิ ) 20 อ22201 ภาษาองั กฤษ 0.5 (20) อ22202 ภาษาอังกฤษ 20 0.5 (20) 620 ชว่ั โมง ส20233 หนา้ ที่พลเมือง 1.0 (40) ส20234 หน้าที่พลเมือง ง22203 ไม้ดอกไม้ประดับ 20 ง22204 ไมด้ อกไม้ประดับ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ( 60) 20 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ( 60) กจิ กรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กจิ กรรมนกั เรยี น - ลูกเสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ - ลกู เสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ ผ้บู า้ เพญ็ ประโยชน์ ผบู้ า้ เพ็ญประโยชน์ - ชมรมชมุ นมุ - ชมรมชมุ นุม กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 20 กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมทงั้ หมด 620 ช่วั โมง รวมทง้ั หมด หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์จัดบูรณาการในกจิ กรรมจรยิ ธรรม 2. กิจกรรมในระดับม.ปลาย ข้อ3.2.1 และ 3.2.2 ผเู้ รยี นเลอื กเพียง 1 กิจกรรม

11 โครงสรา้ งหลักสูตร โรงเรยี นน้าปลกี ศึกษา แผนการเรยี นที่ 1 คณติ ศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3/1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน/ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ หนว่ ย/ชม หนว่ ย/ชม 11.0 (440) รายวิชาสาระพื้นฐาน 11.0 รายวิชาสาระพ้นื ฐาน 1.5 (60) (440) 1.5 (60) ท ภาษาไทย 1.5 ท23102 ภาษาไทย 1.5 (60) 23101 (60) 1.5 (60) ค คณติ ศาสตร์ 1.5 (60) ค23102 คณติ ศาสตร์ 0.5 (20) 23101 1.0 (40) ว วทิ ยาศาสตร์ 1.5 (60) ว23102 วทิ ยาศาสตร์ 1.0 (40) 23101 1.0 (40) 1.5 (60) ส สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส23103 สังคมศึกษา 3.5 23101 (140) 1.0 (40) ส ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 (20) ส23104 ประวตั ศิ าสตร์ 1.0 (40) 23102 0.5 (20) พ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ23102 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) 23101 20 ศ ศิลปะ 1.0 (40) ศ23102 ศลิ ปะ 20 23101 20 ง23101 การงานอาชพี ฯ(งานช่าง) 1.0 (40) ง23102 การงานอาชพี ฯ(งานธรุ กิจ) 20 อ ภาษาองั กฤษ 1.5 (60) อ23102 ภาษาองั กฤษ 620 ช่ัวโมง 23101 รายวิชาสาระเพม่ิ เติม 3.5 (140) รายวชิ าสาระเพิ่มเตมิ ค คณติ ศาสตร์ 1.0 (40) ค23202 คณติ ศาสตร์ 23201 ง23201 คอมพิวเตอร(์ ตารางการทา้ งาน) 1.0 (40) ง23202 คอมพวิ เตอร์ (การสร้างเว็บไซต์ 0.5 (20) อ23202 เบื้องตน้ ) อ ภาษาอังกฤษ 23201 ภาษาอังกฤษ ง23203 ชา่ งไฟฟ้า กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ( 60) 1.0 (40) ง23204 ช่างไม้ กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนักเรียน 20 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ( 60) 20 - ลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ กิจกรรมแนะแนว ผบู้ ้าเพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรมนกั เรยี น - ชมรมชมุ นุม - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ ผบู้ ้าเพญ็ ประโยชน์ - ชมรมชุมนมุ กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมทั้งหมด 620 รวมทง้ั หมด ชวั่ โมง หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จดั บูรณาการในกจิ กรรมจรยิ ธรรม 2. กิจกรรมในระดับม.ปลาย ข้อ3.2.1 และ 3.2.2 ผู้เรยี นเลอื กเพียง 1 กจิ กรรม

12 โครงสร้างหลักสตู ร โรงเรยี นน้าปลกี ศึกษา แผนการเรียนที่ 2 วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3/2 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน/ รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน/ หน่วย/ชม หน่วย/ชม 11.0 (440) รายวชิ าสาระพน้ื ฐาน 11.0 รายวชิ าสาระพนื้ ฐาน 1.5 (60) (440) 1.5 (60) ท ภาษาไทย 1.5 (60) ท ภาษาไทย 1.5 (60) 23101 23102 1.5 (60) ค คณติ ศาสตร์ 1.5 (60) ค คณติ ศาสตร์ 0.5 (20) 23101 23102 1.0 (40) ว วิทยาศาสตร์ 1.5 (60) ว วทิ ยาศาสตร์ 1.0 (40) 23101 23102 1.0 (40) 1.5 (60) ส สงั คมศึกษา 1.5 (60) ส สงั คมศึกษา 23101 23103 ส ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 (20) ส ประวตั ศิ าสตร์ 23102 23104 พ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 23101 23102 ศ ศิลปะ 1.0 (40) ศ ศิลปะ 23101 23102 ง23101 การงานอาชพี ฯ(งานชา่ ง) 1.0 (40) ง23102 การงานอาชพี ฯ(งานธุรกจิ ) อ ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ ภาษาองั กฤษ 23101 23102 รายวิชาสาระเพ่ิมเติม 3.5(140) รายวชิ าสาระเพ่มิ เติม 3.5(140) ว วิทยาศาสตร์ 1.0(40) ว วิทยาศาสตร์ 1.0(40) 23201 23202 ง23201 คอมพวิ เตอร์ (ตารางการทา้ งาน) 1.0 (40) ง23202 คอมพวิ เตอร์ (การสรา้ งเวบ็ ไซตเ์ บอื้ งตน้ ) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5 (20) อ ภาษาองั กฤษ อ ภาษาองั กฤษ 23201 1.0 (40) 23202 1.0 (40) ง23203 ชา่ งไฟฟา้ ง23204 ช่างไฟฟ้า กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ( 60) 20 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ( 60) 20 กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน 20 กจิ กรรมนักเรยี น 20 - ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด/ 20 ผบู้ ้าเพญ็ ประโยชน์ ผบู้ ้าเพญ็ ประโยชน์ - ชมรมชมุ นุม - ชมรมชมุ นมุ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 20 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 รวมทัง้ หมด 620 ชว่ั โมง รวมท้ังหมด 620 ชวั่ โมง หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์จดั บรู ณาการในกิจกรรมจริยธรรม 2. กจิ กรรมในระดับม.ปลาย ข้อ3.2.1 และ 3.2.2 ผู้เรยี นเลอื กเพยี ง 1 กิจกรรม

13 โครงสรา้ งหลกั สูตร โรงเรยี นน้าปลีกศึกษา แผนการเรยี นที่ 3 ภาษา ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3/3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน/ รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น/ หนว่ ย/ชม หน่วย/ชม 11.0 (440) รายวิชาสาระพน้ื ฐาน 11.0 รายวชิ าสาระพนื้ ฐาน 1.5 (60) (440) 1.5 (60) ท ภาษาไทย 1.5 (60) ท ภาษาไทย 1.5 (60) 23101 23102 1.5 (60) ค คณติ ศาสตร์ 1.5 (60) ค คณติ ศาสตร์ 0.5 (20) 23101 23102 1.0 (40) ว วทิ ยาศาสตร์ 1.5 (60) ว วทิ ยาศาสตร์ 1.0 (40) 23101 23102 1.0 (40) 1.5 (60) ส สงั คมศกึ ษา 1.5 (60) ส สงั คมศึกษา 23101 23103 ส ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 (20) ส ประวตั ศิ าสตร์ 23102 23104 พ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 1.0 (40) พ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 23101 23102 ศ ศลิ ปะ 1.0 (40) ศ ศลิ ปะ 23101 23102 ง23101 การงานอาชพี ฯ(งานชา่ ง) 1.0 (40) ง23102 การงานอาชพี ฯ(งานธุรกิจ) อ ภาษาอังกฤษ 1.5 (60) อ ภาษาองั กฤษ 23101 23102 รายวชิ าสาระเพม่ิ เตมิ 3.5(140) รายวิชาสาระเพิ่มเตมิ 3.5(140) ท ภาษาไทย 1.0(40) ท ภาษาไทย 1.0(40) 23201 23202 ง23201 คอมพวิ เตอร์ (ตารางการท้างาน) 1.0 (40) ง23202 คอมพิวเตอร์ (การสรา้ งเว็บไซตเ์ บอ้ื งตน้ ) 1.0 (40) 0.5 (20) 0.5 (20) อ ภาษาอังกฤษ อ ภาษาอังกฤษ 23201 1.0 (40) 23202 1.0 (40) ง23203 ช่างไฟฟา้ ง23204 ชา่ งไฟฟา้ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ( 60) 20 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ( 60) 20 กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน 20 กิจกรรมนักเรยี น 20 - ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 - ลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด/ 20 ผบู้ า้ เพญ็ ประโยชน์ ผบู้ ้าเพญ็ ประโยชน์ - ชมรมชมุ นุม - ชมรมชมุ นมุ กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 20 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 620 ชั่วโมง รวมท้งั หมด 620 ช่วั โมง รวมทั้งหมด หมายเหตุ 1. กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์จดั บูรณาการในกจิ กรรมแนะแนว 2. กิจกรรมในระดับม.ปลาย ขอ้ 3.2.1 และ 3.2.2 ผ้เู รียนเลือกเพยี ง 1 กิจกรรม

14 โครงสรา้ งกล่มุ สาระการเรยี นวิทยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ รายวชิ าพ้นื ฐาน จ้านวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ว21101 วทิ ยาศาสตร์ จ้านวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกิต ว21102 วทิ ยาศาสตร์ จ้านวน 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกิต ว21181 การออกแบบแลเทคโนโลยี จ้านวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต ว22101 วิทยาศาสตร์ จ้านวน 20 ชัว่ โมง 0.5 หนว่ ยกิต ว22102 วิทยาศาสตร์ จ้านวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกิต ว21182 การออกแบบแลเทคโนโลยี จา้ นวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว23101 วทิ ยาศาสตร์ จา้ นวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ว23102 วิทยาศาสตร์ รายวชิ าเพม่ิ เติม วิทยาศาสตร์ จา้ นวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ว21201 วทิ ยาศาสตร์ จ้านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ ว21202 วทิ ยาศาสตร์ จ้านวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ 22201 วิทยาศาสตร์ จ้านวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกติ ว22202 วิทยาศาสตร์ จา้ นวน 40 ช่วั โมง 1.0 หนว่ ยกติ ว23201 วิทยาศาสตร์ จา้ นวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกิต ว23202

15 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศความสัมพันธร์ ะหว่างสิ่งไม่มีชวี ิตกับสงิ่ มชี ีวติ และ ความสัมพันธร์ ะหว่างส่ิงมชี ีวิตกับสิ่งมีชีวติ ต่างๆในระบบนเิ วศการถา่ ยทอดพลงั งานการเปล่ียนแปลงแทนท่ใี น ระบบนเิ วศความหมายของ ประชากรปัญหาและผลกระทบทมี่ ตี ่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม แนวทางใน การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั นา้ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ิของส่งิ มีชีวิต หนว่ ยพนื ฐานของสง่ิ มชี ีวิตการล้าเลยี งสารเข้า และออกจากเซลลค์ วามสมั พันธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของระบบต่างๆของสตั วแ์ ละมนุษย์ทที่ า้ งานสัมพันธก์ นั ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวยั วะตา่ งๆของพชื ท่ีทา้ งานสัมพันธ์กันรวมทังนา้ ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสา้ คัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมสาร พันธุกรรมการเปลีย่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมทีม่ ีผลต่อสงิ่ มชี ีวติ ความหลากหลาย ทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของ สิ่งมชี วี ิตรวมทงั นา้ ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสารองค์ประกอบของสสารความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบัติของ สสารกับ โครงสรา้ งและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลายและการเกิด ปฏกิ ิรยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจ้าวัน ผลของแรงทก่ี ระทา้ ต่อวตั ถุลักษณะ การ เคล่ือนที่แบบตา่ งๆของวตั ถุ รวมทงั น้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงานการเปล่ยี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างสสารและพลงั งานพลงั งานในชีวิตประจ้าวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณ์ท่ีเกย่ี วข้องกบั เสยี ง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทังน้าความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบลักษณะกระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซีดาว ฤกษ์และระบบสุรยิ ะรวมทังปฏิสัมพนั ธภ์ ายในระบบสุริยะที่ส่งผลตอ่ ส่งิ มีชีวิตและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลง ภายใน โลกและบนผิวโลกธรณีพิบัตภิ ัยกระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลกรวมทังผลต่อสงิ่ มชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยเี พื่อการด้ารงชวี ิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง อย่าง รวดเร็วใช้ความรแู้ ละทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณติ ศาสตร์และศาสตร์อ่ืนๆเพอื่ แกป้ ัญหาหรอื พัฒนางานอย่างมี ความคดิ สรา้ งสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคา้ นึงถึงผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คา้ นวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวติ จรงิ อยา่ งเป็นขันตอนและ เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การท้างานและการแกป้ ัญหาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพรเู้ ท่าทันและมีจริยธรรม

16 ค้าอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว ๒๑๑๐๑ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๖๐ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จา้ นวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๑ ************************************************************************************* ศึกษาเกี่ยวกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจ้าแนกสารด้วยสถานะ เนือสาร และขนาดอนุภาคของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธิ์และสารผสม การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษา ประเภทโครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนประกอบภายในเซลล์ส่ิงมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการ ล้าเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ด้วยวิธีการแพร่และการออสโมซิส ศึกษาการด้ารงชีวิตของพืช กระบวนการ สงั เคราะห์ด้วยแสง การล้าเลียงสารในพืช การเจรญิ เติบโตของพืช การสืบพันธขุ์ องพืช และเทคโนโลยีชวี ภาพของ พืช โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลองการอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี ความสามารถในการตดั สนิ ใจ สื่อสารสง่ิ ท่เี รียนรู้และน้าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจา้ วัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม และจรยิ ธรรม ตัวช้วี ัด ว ๑.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ม.๑/๑๑ ม.๑/๑๒ ม.๑/๑๓ ม.๑/๑๔ ม.๑/๑๕ ม.๑/๑๖ ม.๑/๑๗ ม.๑/๑๘ ว ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ รวม ๒๓ ตัวชีว้ ัด ตัวชี้วัด ว 1.2 1.เปรียบเทยี บรูปร่างและโครงสรา้ งของเซลล์พืชและสตั ว์ รวมทงั บรรยายหนา้ ท่ีของผนังเซลล์ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียสแวคิวโอล ไมโทคอนเดรยี และ คลอโรพลาสต์ 2.ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงศึกษาเซลลแ์ ละโครงสร้างตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ 3.อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรปู รา่ งกบั การทา้ หน้าท่ีของเซลล์ 4.อธบิ ายการจดั ระบบของสิง่ มีชีวติ โดยเริม่ จากเซลล์ เนือเยื่อ อวยั วะ ระบบอวยั วะจนเป็นสง่ิ มชี วี ติ 5.อธิบายกระบวนการแพรแ่ ละออสโมซสิ จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ และยกตวั อยา่ งการแพร่และออสโมซสิ ในชวี ติ ประจา้ วัน 6. ระบปุ ัจจัยทีจ่ ้าเปน็ ในการสังเคราะหด์ ้วยแสงและผลผลติ ทเ่ี กิดขนึ จากการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้หลกั ฐาน เชิงประจักษ์ 7. อธิบายความสา้ คัญของการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ต่อสิ่งมีชวี ติ และสงิ่ แวดล้อม 8. ตระหนกั ในคุณค่าของพชื ที่มตี ่อสิง่ มีชวี ิตและสงิ่ แวดลอ้ ม โดยการรว่ มกนั ปลกู และดูแลรักษาตน้ ไมใ้ นโรงเรียน

17 9. บรรยายลักษณะและหนา้ ที่ของไซเลม็ และโฟลเอ็ม 10. เขียนแผนภาพทบ่ี รรยายทศิ ทางการล้าเลยี ง สารในไซเลม็ และโฟลเอม็ ของพืช 11. อธบิ ายการสบื พันธ์ุแบบอาศัยเพศ และไม่อาศยั เพศของพชื ดอก 12. อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกท่ีมีส่วนท้าให้เกิดการถ่ายเรณู รวมทังบรรยาย การปฏิสนธิของพืชดอก การ เกดิ ผลและเมลด็ การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็ 13. ตระหนักถึงความส้าคญั ของสัตว์ ทช่ี ่วยในการถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ท้าลายชีวิตของสตั ว์ ทีช่ ว่ ย ในการถา่ ยเรณู 14. อธิบายความสา้ คญั ของธาตอุ าหารบางชนิดที่มผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโต และการดา้ รงชวี ิตของพืช 15. เลือกใช้ปุ๋ยที่มธี าตุอาหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณ์ทีก่ า้ หนด 16. เลือกวิธกี ารขยายพนั ธุพ์ ชื ให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยใช้ความรู้เกยี่ วกบั การสบื พนั ธ์ขุ องพืช 17. อธบิ ายความสา้ คัญของเทคโนโลยี การเพาะเลียงเนือเยือ่ พชื ในการใชป้ ระโยชน์ด้านต่าง ๆ 18. ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพนั ธ์พุ ชื โดยการน้าความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจา้ วนั ตัวชีว้ ดั ว 2.1 1. อธิบายสมบัตทิ างกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ ไดจ้ ากการสงั เกต และการทดสอบ และใชส้ ารสนเทศทีไ่ ดจ้ ากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ รวมทังจดั กลุ่มธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ 2. วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีที่มตี ่อส่งิ มชี วี ิต สิง่ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสงั คม จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ 3. ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ ธาตุกัมมนั ตรงั สี โดยเสนอแนวทางการใชธ้ าตุอย่าง ปลอดภัย คมุ้ คา่ 4. เปรยี บเทยี บจดุ เดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม โดยการวัดอุณหภมู ิ เขียนกราฟ แปล ความหมายข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ 5. อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแนน่ ของสารบรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสม

18 ค้าอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลา 20 ชัว่ โมง ภาคเรียนท่ี 1 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา อธิบายความหมายของเทคโนโลยี วเิ คราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลตอ่ การเปลีย่ นแปลง ของเทคโนโลยี การท้างานของระบบทางเทคโนโลยี ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และทรัพยากร โดย วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บและเลือกขอ้ มลู ที่จา้ เปน็ เพ่ือออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หาในชีวติ ประจ้าวันในด้าน การเกษตรและอาหาร และสร้างชินงานหรือพัฒนาวธิ ีการโดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทงั เลือกใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ เคร่อื งมือในการแก้ปัญหาได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภยั ตัวชว้ี ดั ว 4.1 เทคโนโลยี(การออกแบบและเทคโนโลย)ี 1. อธบิ ายแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยใี นชีวติ ประจา้ วันและวิเคราะห์สาเหตหุ รอื ปจั จัยท่สี ่งผลต่อการ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี 2. ระบุปญั หาหรอื ความต้องการในชวี ิตประจ้าวนั รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและแนวคิดท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั ปัญหา 3. ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์เปรยี บเทยี บ และตดั สินใจเลอื กข้อมูลท่จี ้าเป็น นา้ เสนอ แนวทางการแกป้ ัญหาใหผ้ ู้อนื่ เขา้ ใจ วางแผนและดา้ เนนิ การแก้ปัญหา 4. ทดสอบ ประเมินผล และระบขุ ้อบกพรอ่ งทเ่ี กิดขึน พร้อมทังหาแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข และ นา้ เสนอผลการแก้ปัญหา 5. ใช้ความรแู้ ละทักษะเก่ียวกับวัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรอื อิเล็กทรอนิกส์เพ่อื แก้ปญั หาได้ อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภยั รวมทั้งหมด 5 ตวั ชีว้ ดั

19 คา้ อธิบายรายวชิ า รายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว ๒๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๖๐ชว่ั โมง/ภาคเรียน จ้านวน ๑.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ ************************************************************************************* ศึกษาเก่ียวกับสมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้ความรู้ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้ สารเคมีในชีวิตประจ้าวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย ศึกษาเก่ียวกับอุณหภูมิและการวัด ผลของความร้อนที่มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร การถ่ายโอนความร้อน การดูดกลืนและคายความร้อน สมดุลความร้อน องค์ประกอบของบรรยากาศ การแบ่งชันบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ องค์ประกอบของ บรรยากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ ความชนื อากาศ ลม เมฆและฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขต ร้อน มรสมุ การพยากรณ์อากาศ และการเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศของโลก โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลองการอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี ความสามารถในการตัดสนิ ใจ สื่อสารสง่ิ ท่เี รียนรู้และน้าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจา้ วัน มีจติ วิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม และจริยธรรม ตัวชี้วดั ว ๒.๑ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ว ๒.๒ ม.๑/๑ ว ๒.๓ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ว ๓.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ รวม ๒๐ ตวั ชีว้ ดั มาตรฐาน ว 2.1 1. ใชเ้ ครื่องมือเพ่ือวัดมวลและปรมิ าตรของสารบรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสม 2. อธิบายเก่ียวกับความสมั พันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุและสารประกอบ โดยใชแ้ บบจา้ ลอง และสารสนเทศ 3. อธิบายโครงสรา้ งอะตอมทป่ี ระกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้แบบจา้ ลอง 4. อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการจัดเรยี งอนุภาค แรงยึดเหนย่ี วระหว่างอนภุ าค และการเคลอื่ นทีข่ องอนุภาค ของสสารชนิดเดยี วกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้แบบจ้าลอง 5. อธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ งพลงั งานความร้อนกับการเปล่ียนสถานะของสสาร โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์และแบบจ้าลอง มาตรฐาน ว ๒.๒ 1.สร้างแบบจ้าลองที่อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งความดันอากาศกบั ความสงู จากพนื โลก

20 มาตรฐาน ว ๒.๓ 1. วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล และคา้ นวณปริมาณความร้อนที่ทา้ ให้สสารเปลย่ี นอุณหภมู ิและเปลยี่ นสถานะ โดยใช้สมการ Q = mc∆t และ Q = mL 2. ใชเ้ ทอร์มอมิเตอรใ์ นการวัดอณุ หภมู ขิ องสสาร 3. สร้างแบบจา้ ลองท่อี ธบิ าย การขยายตัว หรือหดตวั ของสสารเน่ืองจากได้รบั หรือสูญเสีย ความรอ้ น 4. ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรู้ของการหดและขยายตัวของสสารเนอ่ื งจากความรอ้ น โดยวิเคราะห์ สถานการณป์ ัญหา และเสนอแนะวธิ ีการนา้ ความรู้มาแก้ปัญหา ในชวี ิตประจา้ วนั 5. วเิ คราะห์สถานการณ์การถ่ายโอนความรอ้ น และค้านวณปริมาณความร้อนที่ถา่ ยโอนระหวา่ งสสารจนเกดิ สมดลุ ความรอ้ นโดยใชส้ มการ Qสญู เสยี = Qได้รับ 6. สร้างแบบจ้าลองทีอ่ ธิบายการถา่ ยโอนความร้อนโดยการนา้ ความรอ้ น การพาความร้อน การแผร่ ังสี ความร้อน 7. ออกแบบ เลือกใช้ และสร้างอปุ กรณ์เพื่อแก้ปัญหาในชวี ติ ประจา้ วนั โดยใชค้ วามรู้เกีย่ วกบั การถ่ายโอนความร้อน มาตรฐาน ว ๓.๒ 1.สร้างแบบจา้ ลองท่ีอธบิ ายการแบง่ ชันบรรยากาศ และเปรยี บเทยี บประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละชัน 2.อธิบายปจั จยั ที่มผี ลตอ่ การเปลีย่ นแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ 3.เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมนุ เขตรอ้ น และผลที่มีต่อสงิ่ มีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม รวมทังน้าเสนอแนวทางการปฏิบตั ิตนใหเ้ หมาะสมและปลอดภยั 4. อธบิ ายการพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์อากาศอยา่ งง่ายจากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ 5.ตระหนักถงึ คณุ ค่าของการพยากรณอ์ ากาศโดยนา้ เสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตน และการใช้ประโยชน์จากค้า พยากรณอ์ ากาศ 6. อธบิ ายสถานการณ์และผลกระทบการเปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลกจากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ 7. ตระหนักถงึ ผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศโลกโดยนา้ เสนอแนวทางการปฏิบตั ติ นภายใตก้ าร เปล่ยี นแปลงภูมิอากาศโลก

21 คา้ อธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา้ นวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 20 ชัว่ โมง ภาคเรยี นที่ 2 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาแนวคดิ เชงิ ค้านวณ การแกป้ ญั หาโดยใชแ้ นวคิดเชิงคา้ นวณ การเขยี นโปรแกรมทมี่ ีการใช้ตรรกะและ ฟงั ก์ชัน องค์ประกอบและหลักการทา้ งานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสือ่ สาร แนวทางการปฏบิ ตั ิเม่อื พบ เนอื หาที่ไม่เหมาะสม การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบ วธิ กี ารสรา้ งและกา้ หนดสทิ ธิความเป็น เจา้ ของผลงานนา้ แนวคิดเชงิ ค้านวณไปประยุกตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรมหรือการแกป้ ัญหาในชวี ติ จริง สร้างและ กา้ หนดสิทธก์ิ ารใช้ข้อมลู ตระหนกั ถงึ ผลกระทบในการเผยแพรข่ ้อมูล ตัวช้วี ัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา้ นวณ) 1. ออกแบบอลั กอรทิ ึมทใ่ี ช้แนวคิดเชงิ ค้านวณในการแก้ปัญหา หรอื การท างานท่ีพบในชวี ิตจรงิ 2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการ แก้ปญั หา 3. อภิปรายองค์ประกอบและหลกั การท้างานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยกี ารสือ่ สาร เพื่อ ประยกุ ตใ์ ช้ งานหรือแกป้ ัญหาเบืองต้น 4. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย มคี วามรบั ผิดชอบ สรา้ งและแสดงสิทธใิ์ นการเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งหมด 4 ตวั ชี้วัด

22 ค้าอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ว ๒2๑๐๑ รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ จา้ นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๖๐ชั่วโมง/ภาคเรยี น ภาคเรียนที่ ๑ ศึกษาเกี่ยวกับระบบร่างกายมนุษย์ ระบบหายใจ โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ การ หายใจ การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจ โครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบขบั ถ่าย กลไกการก้าจดั ของ เสีย การดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด โครงสร้างและหน้าท่ี ของอวัยวะในระบบ หมุนเวียนเลือด การท้างานของระบบหมุนเวียนเลือด การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ ประสาท โครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบประสาท การทา้ งานของระบบประสาท การดูแลรักษาอวัยวะใน ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ โครงสร้างและหน้าท่ีของอวยั วะในระบบสืบพันธ์ุเพศชายและเพศหญิง ฮอรโ์ มนเพศ การปฏิสนธิและการตงั ครรภ์ การคุมก้าเนดิ ศึกษาเก่ียวกับการแยกสารผสม การระเหยแห้ง การตกผลกึ การกล่ัน โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวท้าละลาย การน้าวิธีการแยกสารไปใช้ แก้ปัญหาในชีวิตประจ้าวัน ศึกษาเกี่ยวกับสารละลาย สภาพละลายได้ของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย การใช้สารละลายในชีวิต ศึกษา เก่ยี วกับแรงและการเคลือ่ นท่ี แรง แรงดนั ในของเหลว แรงพยงุ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วเิ คราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอภิปราย การอธิบายและการสรปุ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มคี วามสามารในการตัดสินใจ สื่อสารส่ิงท่ีเรยี นรู้และน้าความรู้ไปใช้ในชีวติ ของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยม ตัวชวี้ ัด ม.2/๑ ม.2/๒ ม.2/๓ ม.2/๔ ม.2/๕ ม.2/๖ ม.2/๗ ม.2/๘ ม.2/๙ ว ๑.๒ ม.2/๑๐ ม.2/๑๑ ม.2/๑๒ ม.2/๑๓ ม.2/๑๔ ม.2/๑๕ ม.2/๑๖ ม.2/๑๗ ม.2/๑ ม.2/๒ ม.2/๓ ม.2/๔ ม.2/๕ ม. 2/6 ว ๒.๑ ม.2/๑ ม.2/๒ ม.2/๓ ม.2/๔ ม.2/๕ ว ๒.2 รวม ๒8 ตวั ชว้ี ดั มาตรฐาน ว ๑.๒ 1. ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในระบบหายใจ 2. อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกโดยใช้ แบบจ้าลอง รวมทังอธิบายกระบวนการ แลกเปลยี่ นแก๊ส 3. ตระหนักถงึ ความสา้ คญั ของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษา อวัยวะในระบบหายใจให้ ทา้ งานเป็นปกติ 4. ระบอุ วยวั ะและบรรยายหน้าทข่ี องอวัยวะ ในระบบขับถา่ ยในการกา้ จัดของเสยี ทาง ไต 5. ตระหนักถงึ ความส้าคญั ของระบบขับถ่าย ในการก้าจัดของเสียทางไต โดยการบอก แนวทางในการปฏิบัตติ นท่ี ชว่ ยให้ระบบ ขับถา่ ยท้าหน้าท่ไี ดอ้ ย่างปกติ

23 6. บรรยายโครงสร้างและหน้าท่ขี องหวั ใจ หลอดเลือด และเลอื ด 7. อธบิ ายการท้างานของระบบหมุนเวยี น เลือดโดยใช้แบบจา้ ลอง 8. ออกแบบการทดลองและทดลองในการ เปรียบเทียบอตั ราการเตน้ ของหัวใจ ขณะปกติและหลงั ท้ากจิ กรรม 9. ตระหนักถงึ ความส้าคญั ของระบบ หมนุ เวยี นเลือด โดยการบอกแนวทางใน การดแู ลรักษาอวัยวะในระบบ หมุนเวียน เลอื ดใหท้ า้ งานเป็นปกติ 10. ระบุอวยั วะและบรรยายหนา้ ท่ีของอวัยวะ ในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุม การท้างานต่าง ๆ ของ ร่างกาย 11. ตระหนกั ถึงความสา้ คญั ของระบบประสาท โดยการบอกแนวทางในการดูแลรกั ษา รวมถงึ การป้องกนั กระทบกระเทอื นและ อนั ตรายตอ่ สมองและไขสนั หลัง 12. ระบุอวยั วะและบรรยายหนา้ ทขี่ องอวัยวะ ในระบบสบื พันธุข์ องเพศชายและเพศหญงิ โดยใชแ้ บบจ้าลอง 13. อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศ หญงิ ทค่ี วบคุมการเปลย่ี นแปลงของ ร่างกายเม่อื เข้าสู่วยั หนุ่มสาว 14. ตระหนักถงึ การเปล่ียนแปลงของรา่ งกาย เม่ือเข้าสู่วัยหน่มุ สาว โดยการดูแลรักษา ร่างกายและจิตใจของ ตนเองในช่วงทมี่ ีการ เปลีย่ นแปลง 15. อธิบายการตกไข่ การมีประจ้าเดอื น การ ปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกต จน คลอดเป็นทารก 16. เลือกวธิ ีการคุมก้าเนิดท่เี หมาะสมกับ สถานการณ์ที่กา้ หนด 17. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของการตังครรภ์ ก่อนวยั อนั ควร โดยการประพฤตติ นให้ เหมาะสม มาตรฐาน ว ๒.๑ 1. อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ สกดั ด้วยตัวท้าละลาย โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ 2. แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวท้า ละลาย 3. น้าวิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาใน ชีวิตประจ้าวัน โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วิศวกรรมศาสตร์ 4. ออกแบบการทดลองและทดลองในการ อธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัว ท้าละลาย อุณหภูมิที่มีต่อ สภาพละลายได้ ของสาร รวมทงั อธบิ ายผลของความดันที่มี ตอ่ สภาพละลายได้ของสาร โดยใช้ สารสนเทศ 5. ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายใน หน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อ ปริมาตรมวลต่อมวล และ มวลตอ่ ปริมาตร 6. ตระหนกั ถงึ ความส้าคัญของการนา้ ความรู้ เรื่องความเขม้ ข้นของสารไปใช้ โดย ยกตัวอยา่ งการใช้สารละลายใน ชวี ิตประจา้ วนั อยา่ งถูกตอ้ ง และปลอดภยั มาตรฐาน ว ๒.2 1. พยากรณ์การเคลื่อนที่ของวัตถุท่ีเป็นผล ของแรงลัพธ์ท่ีเกิดจากแรงหลายแรงท่ี กระท้าต่อวัตถุในแนวเดียวกัน จากหลกั ฐาน เชงิ ประจักษ์ 2. เขยี นแผนภาพแสดงแรงและแรงลพั ธ์ทเ่ี กิด จากแรงหลายแรงทีก่ ระท้าต่อวัตถุในแนว เดยี วกนั 3. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีที่ เหมาะสมในการอธบิ ายปจั จัยท่ีมี ผลตอ่ ความดันของของเหลว 4. วิเคราะห์แรงพยงุ และการจม การลอยของ วัตถุในของเหลวจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ 5. เขยี นแผนภาพแสดงแรงที่กระท าต่อวตั ถุใน ของเหลว

24 ค้าอธบิ ายรายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี รายวิชาพืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลา 20 ชัว่ โมง ศกึ ษาสาเหตุหรือปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง เทคโนโลยตี ่อมนษุ ย์และสังคม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยตี ่อเศรษฐกิจ ผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงเทคโนโลยตี ่อสิง่ แวดล้อม ประเภทของวสั ดอุ ุปกรณ์ เพื่อใหส้ ามารถสร้างชินงานไดต้ รงกบั ความ ตอ้ งการ มคี วามปลอดภยั และใช้ทรพั ยากรไดอ้ ยา่ งคุ้มค่า เครื่องกลในการสร้างชนิ งาน ได้แก่ รอก คาน ล้อและ เพลา พนื เอยี ง ลิม่ สกรู เครื่องมือในการสรา้ งชนิ งาน เครื่องมอื วัด เครื่องมือตัด เคร่ืองมือยดึ ตดิ เครื่องมือเจาะ เสียงและอุปกรณ์ท่ีทา้ ใหเ้ กิดเสยี ง อปุ กรณ์ทท่ี ้าใหเ้ กดิ เสยี ง ไฟฟ้าและอปุ กรณท์ ่ีทา้ ใหเ้ กิดแสง วงจรไฟฟ้าและการ ตอ่ ตวั ตา้ นทาน ประเภทและการต่อวงจรไฟฟ้า ความสมั พันธ์ของกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และ วศิ วกรรมศาสตร์ แนวคดิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบบเทคโนโลยี การ คดิ เชงิ ออกแบบ แนวคดิ หลกั ของการคิดเชิงออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ความคดิ เชิงออกแบบของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช โดยอาศยั กระบวนการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนร้แู บบใช้ โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน้นใหผ้ ้เู รยี นไดล้ งมือปฏิบัติ ฝกึ ทักษะการคิด เผชญิ สถานการณ์ การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ และน้าเสนอผ่านการทา้ กิจกรรมโครงงาน เพื่อให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ ความสมั พันธ์ของความร้วู ทิ ยาศาสตรท์ ม่ี ผี ลต่อการพัฒนาเทคโนโลยี ประเภทต่าง ๆ และการพฒั นาเทคโนโลยีทสี่ ่งผลใหม้ กี ารคิดคน้ ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ทีก่ า้ วหนา้ ผลของ เทคโนโลยีต่อชวี ติ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม ตลอดจนนา้ ความรคู้ วามเขา้ ใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยไี ปใช้ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อสงั คม และการดา้ รงชวี ิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถใน การแก้ปัญหาและการจัดการทกั ษะในการสอื่ สาร ความสามารถในการตดั สินใจ เป็นผู้ที่มจี ิตวิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์ ตัวช้วี ัด ว. 4.1 ม.2/1 คาดการณ์แนวโนม้ เทคโนโลยีท่จี ะเกิดขนึ โดยพิจารณาจากสาเหตุหรอื ปจั จัยท่ีสง่ ผลตอ่ การ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบ ตัดสินใจเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี โดยค้านงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึนต่อชวี ิต สงั คม และส่ิงแวดล้อม ว. 4.1 ม.2/2 ระบุปญั หาหรอื ความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น สรปุ กรอบของปัญหา รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูล และแนวคิดที่เกีย่ วข้องกับปญั หา ว. 4.1 ม.2/3 ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมูลทจ่ี า้ เปน็ ภายใต้ เง่อื นไขและทรัพยากรท่ีมอี ยู่ นา้ เสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผอู้ ่นื เข้าใจ วางแผนขนั ตอนการ ทา้ งานและดา้ เนนิ การแกป้ ัญหาอย่างเป็นขันตอน ว. 4.1 ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธบิ ายปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขนึ ภายใต้กรอบเงื่อนไขพร้อมทังหา แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนา้ เสนอผลการแกป้ ัญหา ว. 4.1 ม.2/5 ใชค้ วามรู้ และทักษะเกี่ยวกบั วัสดุ อปุ กรณเ์ คร่ืองมือ กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ เพ่ือ แกป้ ญั หาหรือพฒั นางานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั รวม 5 ตัวชี้วดั

25 ค้าอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า ว ๒2๑๐2 รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จา้ นวน ๑.๕ หนว่ ยกติ เวลา ๖๐ชวั่ โมง/ภาคเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ศึกษาเกี่ยวกับแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง แรงในธรรมชาติ การเคล่ือนที่ระยะทางและการกระจัด อตั ราเร็ว ความเร็ว ความเร็ว ศึกษาเกี่ยวกับงานและพลังงาน งาน ก้าลัง เครอื่ งกล พลังงาน ประเภทของพลังงาน กฎการอนุรักษ์ กฎการอนุรกั ษ์พลงั งาน ศกึ ษาเกยี่ วกับโลกและการเปลี่ยนแปลง เชือเพลิงซากดึกดา้ บรรพ์ ถ่านหิน หินนา้ มัน ปโิ ตเล่ียม พลังงานทดแทน โครงสรา้ งของโลก การเปล่ียนแปลงของโลก ทรพั ยากรดิน กระบวนการเกิด ดิน หน้าตัดข้างของดิน ปัจจัยในการเกิดดิน สมบัติของดิน การปรับปรุงคุณภาพของดิน แหลง่ น้า นา้ บนดนิ นา้ ใต้ ดนิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ นา้ ภัยพิบตั ทิ ่เี กดิ จากนา้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การ วเิ คราะห์ การทดลอง การอภปิ ราย การอภิปราย การอธิบายและการสรปุ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มคี วามสามารในการตดั สนิ ใจ สอ่ื สารส่ิงที่เรยี นรู้และน้าความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ตวั ชีว้ ดั ว 2.๒ ม.2/๖ ม.2/๗ ม.2/๘ ม.2/๙ ม.2/๑๐ ม.2/๑๑ ม.2/๑๒ ม.2/๑๓ ม.2/๑๔ ม.2/๑๕ ว ๒.3 ม.2/๑ ม.2/๒ ม.2/๓ ม.2/๔ ม.2/๕ ม. 2/6 ว 3.2 ม.2/๑ ม.2/๒ ม.2/๓ ม.2/๔ ม.2/๕ ม.2/๖ ม.2/๗ ม.2/๘ ม.2/๙ ม.2/10 รวม ๒6 ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ว 2.๒ 6. อธิบายแรงเสยี ดทานสถตแิ ละแรงเสยี ดทานจลน์จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ 7. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธที ่ี เหมาะสมในการอธบิ ายปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ ขนาดของแรงเสยี ด ทาน 8. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและ แรงอนื่ ๆ ท่กี ระท าต่อวัตถุ 9. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรเู้ รื่องแรง เสยี ดทาน โดยวเิ คราะหส์ ถานการณ์ ปัญหาและเสนอแนะ วธิ ีการลดหรอื เพมิ่ แรงเสียดทานท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การท้า กิจกรรมในชวี ิตประจ้าวัน 10.ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ที ี่ เหมาะสมในการอธิบายโมเมนต์ของแรง เม่ือวตั ถุอยใู่ นสภาพ สมดลุ ต่อการหมนุ และค้านวณการใช้สมการ M = Fl

26 11. เปรียบเทียบแหล่งของสนามแมเ่ หล็ก สนามไฟฟา้ และสนามโนม้ ถ่วง และทศิ ทาง ของแรงทกี่ ระทา้ ต่อ วัตถุทอี่ ยู่ในแต่ละ สนาม จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ 12. เขียนแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หลก็ แรงไฟฟา้ และแรงโนม้ ถ่วงท่กี ระทา้ ต่อวตั ถุ 13. วิเคราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งขนาดของ แรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงที่ กระท้าตอ่ วตั ถทุ ่ีอย่ใู น สนามนนั ๆ กับ ระยะห่างจากแหล่งของสนามถึงวตั ถจุ าก ข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ������ ������ ������ ������ 14. อธบิ ายและคา้ นวณอัตราเรว็ และความเรว็ ของการเคลอื่ นท่ีของวัตถุ โดยใช้สมการ ������= และ ������= จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ 15. เขยี นแผนภาพแสดงการกระจัดและ ความเรว็ มาตรฐาน ว ๒.3 1. วเิ คราะห์สถานการณ์และค้านวณเก่ียวกับ งาน และก้าลังท่เี กิดจากแรงที่กระทา้ ต่อ วตั ถโุ ดยใชส้ มการ W =Fs และ P =������ จากข้อมูลท่รี วบรวมได้ ������ 2. วิเคราะหห์ ลกั การท างานของเครอ่ื งกล อย่างงา่ ย จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ 3. ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรู้ของ เคร่ืองกลอย่างงา่ ย โดยบอกประโยชน์และ การประยุกตใ์ ชใ้ น ชวี ิตประจ้าวนั 4. ออกแบบและทดลองด้วยวิธที ่ีเหมาะสมในการอธิบายปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ พลังงานจลน์ และพลงั งานศกั ย์โนม้ ถว่ ง 5. แปลความหมายขอ้ มูลและอธบิ ายการเปล่ียนพลงั งานระหว่างพลงั งานศักย์ - โน้มถว่ งและพลังงานจลน์ของวัตถุ โดย พลังงานกลของวตั ถุมคี า่ คงตัวจากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ 6. วิเคราะหส์ ถานการณ์และอธิบายการ เปลย่ี น และการถ่ายโอนพลงั งานโดยใช้ กฎการอนุรกั ษ์พลงั งาน มาตรฐาน ว 3.๒. 1.เปรียบเทียบกระบวนการเกิด และการใช้ ประโยชน์ รวมทังอธบิ ายผลกระทบจาก การใช้เชือเพลิงซากดกึ ดา้ บรรพ์จากขอ้ มูล ทร่ี วบรวมได้ 2.แสดงความตระหนักถงึ ผลจากการใช้ เชอื เพลงิ ซากดกึ ด้าบรรพ์ โดยนา้ เสนอ แนวทางการใชเ้ ชอื เพลิงซากดึก ดา้ บรรพ์ 3.เปรยี บเทยี บขอ้ ดีและข้อจา้ กดั ของพลงั งาน ทดแทนแต่ละประเภทจากการรวบรวม ข้อมูล และนา้ เสนอแนว ทางการใช้พลงั งาน ทดแทนที่เหมาะสมในท้องถ่นิ 4.สร้างแบบจ้าลองท่ีอธบิ ายโครงสรา้ งภายใน โลกตามองค์ประกอบทางเคมีจากข้อมูลที่ รวบรวมได้ 5. อธิบายกระบวนการผุพังอยู่กบั ท่ี การ กร่อน และการสะสมตวั ของตะกอนจาก แบบจ้าลอง รวมทังยกตวั อย่าง ผลของ กระบวนการดงั กลา่ วทที่ ้าใหผ้ วิ โลกเกดิ การ เปล่ยี นแปลง 6. อธบิ ายลักษณะของชนั หน้าตดั ดนิ และ กระบวนการเกดิ ดนิ จากแบบจา้ ลอง รวมทังระบุปจั จัยท่ที า้ ให้ดินมี ลักษณะและ สมบัตแิ ตกตา่ งกัน 7. ตรวจวัดสมบตั บิ างประการของดิน โดยใช้ เคร่ืองมือท่เี หมาะสม และน้าเสนอแนว ทางการใชป้ ระโยชนด์ ินจาก ข้อมลู สมบัติ ของดิน 8. อธบิ ายปัจจัย และกระบวนการเกิดแหล่ง น้ าผิวดิน และแหล่งนา้ ใตด้ นิ จาก แบบจ้าลอง 9. สร้างแบบจ้าลองทอี่ ธิบายการใชน้ า้ และ น้าเสนอแนวทางการใชน้ ้าอยา่ งย่ังยนื ใน ทอ้ งถิ่นของตนเอง 10.สรา้ งแบบจา้ ลองท่ีอธิบายกระบวนการ เกดิ และผลกระทบของน้าทว่ ม การกดั เซาะชายฝง่ั ดนิ ถล่ม หลุมยบุ แผ่นดนิ ทรุด

27 คา้ อธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน เทคโนโลยี (วิทยาการค้านวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 20 ช่วั โมง ภาคเรยี นที่ 2 --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาแนวคดิ เชงิ ค้านวณ การแกป้ ญั หาโดยใช้แนวคดิ เชิงคา้ นวณ การเขยี นโปรแกรมทม่ี ีการใช้ตรรกะและ ฟงั กช์ ัน องค์ประกอบและหลักการทา้ งานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยสี ่ือสาร แนวทางการปฏิบตั ิเมื่อพบ เนอื หา ท่ไี ม่เหมาะสม การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมีความรบั ผิดชอบ วธิ ีการสร้างและกา้ หนดสิทธิความเป็นเจ้าของ ผลงาน น้าแนวคดิ เชงิ ค้านวณไปประยุกตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชวี ิตจริง สร้างและก้าหนด สทิ ธิ์ การใชข้ อ้ มลู ตระหนักถึงผลกระทบในการเผยแพร่ข้อมูล ตัวช้วี ัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา้ นวณ) 1. ออกแบบอัลกอริทมึ ที่ใชแ้ นวคิดเชงิ ค้านวณในการแก้ปัญหา หรือการท างานท่ีพบในชวี ติ จรงิ 2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมทีใ่ ชต้ รรกะและฟงั กช์ ันในการ แกป้ ญั หา 3. อภิปรายองค์ประกอบและหลกั การท้างานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ช้ งานหรอื แกป้ ญั หาเบืองตน้ 4. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรบั ผดิ ชอบ สร้างและแสดงสิทธิใ์ นการเผยแพร่ผลงาน รวมท้ังหมด 4 ตัวชว้ี ดั

รหัสวิชา ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 28 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ค้าอธบิ ายรายวิชา วทิ ยาศาสตร์ จา้ นวน ๑.๕ หนว่ ยกิต กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง / ภาคเรียน ภาคเรียนท่ี ๑ ค้าอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์ ส้ารวจ และอธิบาย เกี่ยวกับโครโมโซม ยีน สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีต่อมนุษย์ สัตว์ และพืชเทคโนโลยีชีวภาพ ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมตามปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง สว่ นประกอบของระบบสรุ ยิ ะ กลุม่ ดาวฤกษ์ กาแลก็ ซี เอกภพ เทคโนโลยีอวกาศ ดาวเทียม และยานอวกาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การส้ารวจตรวจสอบ การสืบค้น ขอ้ มูล บันทึก จัดกลมุ่ ข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถน้าเสนอสื่อสารส่ิง ท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ คณุ ธรรมจริยธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม รหัสตัวช้ีวดั ว ๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ว ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ว ๒.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ว ๗.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ว ๗.๒ ม. ๓/๑ ว ๘.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๙ รวม ๒๓ ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ว ๑.๒ 1.สงั เกตและอธบิ ายลักษณะของโครโมโซมที่มหี นว่ ยพนั ธุกรรมหรือยีนในนวิ เคลยี ส 2.อธิบายความส้าคญั ของสารพนั ธกุ รรมหรอื ดเี อ็นเอ และกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม 3.อภปิ รายโรคทางพนั ธุกรรมที่เกิดจากความผดิ ปกตขิ องยีนและโครโมโซมและน้าความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ 4.สา้ รวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถ่ินที่ทา้ ใหส้ งิ่ มีชวี ติ ด้ารงชวี ิตอยู่ไดอ้ ย่างสมดลุ 5.อธิบายผลของความหลากหลายทางชวี ภาพทมี่ ีต่อมนุษย์ สัตว์ พชื และสงิ่ แวดล้อม ๖.อภิปรายผลของเทคโนโลยีชวี ภาพต่อการดา้ รงชีวิตของมนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดล้อม มาตรฐาน ว ๒. ๑ ๑. ส้ารวจระบบนิเวศต่าง ๆในท้องถน่ิ และอธิบายความสัมพันธข์ ององคป์ ระกอบภายในระบบนเิ วศ ๒. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพนั ธข์ องการถ่ายทอดพลังงานของสง่ิ มชี วี ติ ในรูปของโซอ่ าหารและสายใย อาหาร ๓. อธิบายวัฏจกั รน้า วัฏจกั รคารบ์ อน และความสา้ คญั ทมี่ ีตอ่ ระบบนิเวศ ๔. อธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ยี นแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ

29 มาตรฐาน ว ๒.๒ ๑.วิเคราะหส์ ภาพปัญหาส่งิ แวดล้อมทรัพยากร ธรรมชาตใิ นท้อง ถิ่น และเสนอแนวทางในการแกไ้ ขปญั หา ๒. อธิบายแนวทางการรักษาสมดลุ ของระบบนเิ วศ ๓.อภปิ รายการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ อย่างย่ังยืน ๔. วิเคราะห์และอธิบายการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๕ อภปิ รายปญั หาสิ่งแวดลอ้ มและเสนอแนะแนวทางการแกป้ ัญหา ๖. อภิปรายและมีส่วนรว่ มในการดแู ลและอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อมในท้องถ่ินอยา่ งยัง่ ยืน มาตรฐาน ว ๗. ๑ ๑.สืบคน้ และอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจนั ทร์และดาวเคราะห์อน่ื ๆ และผลที่เกิดขึนต่อ ส่ิงแวดลอ้ มและสิง่ มชี วี ิตบนโลก ๒.สบื คน้ และอธิบายองคป์ ระกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุรยิ ะ ๓.ระบุตา้ แหน่งของกลุ่มดาวและน้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ ๑. สบื คน้ และอภปิ รายความก้าวหน้าของเทคโนโลยอี วกาศท่ีใชส้ า้ รวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร มาตรฐาน ว ๘. ๑ ๑. ตังค้าถามที่ก้าหนดประเดน็ หรอื ตวั แปรทสี่ ้าคัญในการส้ารวจตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาค้นควา้ เรือ่ งทสี่ นใจได้อยา่ ง ครอบคลุมและเช่ือถือได้ ๒. สร้างสมมตฐิ านท่ีสามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสา้ รวจตรวจสอบหลาย ๆ วธิ ี ๓. เลือกเทคนิควธิ ีการสา้ รวจตรวจสอบทังเชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพท่ีไดผ้ ลเท่ยี งตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ และเครื่องมือที่เหมาะสม ๔. รวบรวมขอ้ มลู จัดกระทา้ ข้อมูลเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ ๕. วิเคราะห์และประเมนิ ความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับขอ้ สรุป ทังทีส่ นับสนนุ หรือขัดแย้งกบั สมมตฐิ าน และความผิดปกตขิ องข้อมลู จากการส้ารวจตรวจสอบ ๖. สรา้ งแบบจา้ ลอง หรือรูปแบบ ทีอ่ ธิบายผลหรือแสดงผลของการสา้ รวจตรวจสอบ ๗. สร้างคา้ ถามท่นี า้ ไปสกู่ ารส้ารวจตรวจสอบ ในเรอ่ื งทีเ่ กี่ยวข้อง และน้าความรู้ท่ีได้ไปใชใ้ นสถานการณ์ใหมห่ รือ อธิบายเกย่ี วกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชินงานใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจ ๘. บนั ทึกและอธบิ ายผลการสังเกต การสา้ รวจ ตรวจสอบ ค้นควา้ เพิม่ เตมิ จากแหลง่ ความรู้ต่างๆให้ได้ข้อมลู ท่ี เชอื่ ถือไดแ้ ละยอมรับการปลีย่ นแปลงความรูท้ ี่คน้ พบเมอ่ื มีข้อมลู และประจักษ์พยานใหมเ่ พม่ิ ขนึ หรือโต้แยง้ จากเดิม ๙.จัดแสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรอื อธิบายเกี่ยวกับแนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงงานหรอื ชนิ งาน ให้ผ้อู ืน่ เขา้ ใจ

30 คา้ อธบิ ายรายวิชา รหัสวิชา ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง / ภาคเรียน จ้านวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ ๒ ศึกษาวิเคราะห์ อธิบายและทดลองเกี่ยวกับความเร่งและผลของแรงลัพธ์ ที่กระท้าต่อวัตถุ แรง กิรยิ า แรงปฏิกิรยิ าระหว่างวัตถุ แรงพยุงของของเหลวทก่ี ระทา้ ตอ่ วัตถุ แรงเสยี ดทานสถิต แรงเสียดทานจลน์ การ เคล่ือนท่ีของวัตถุที่เป็นแนวตรงและแนวโค้ง พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน ความสมั พันธ์ระหวา่ งปริมาณทางไฟฟา้ การต่อวงจรไฟฟา้ ชินส่วนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ วงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบืองต้น โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การส้ารวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล บันทกึ จัดกลุม่ ข้อมูล และการอภปิ ราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนา้ เสนอส่ือสารสิ่ง ที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน้าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ้าวัน มีจิต วิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม รหัสตัวช้ีวดั ว ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ว ๔.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ว ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ว ๘.๑ ม.๓.๑ - ม.๓/๙ รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน ว ๔. ๑ ๒. ทดลองและอธบิ ายแรงกิริยาและแรงปฏกิ ริ ยิ าระหว่างวัตถุ และนา้ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ๓. ทดลองและอธบิ ายแรงพยุงของของเหลวทก่ี ระทา้ ต่อวัตถุ 1.ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกบั แรงเสียดทานจลน์และนา้ ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 2.ทดลองและวิเคราะหโ์ มเมนต์ของแรงและนา้ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๓.สงั เกตและอธบิ ายการเคล่ือนทข่ี องวัตถุท่ีเปน็ แนวตรงและแนวโคง้ มาตรฐาน ว ๕. ๑ ๑. อธบิ ายพลังงานจลน์ พลงั งานศกั ย์โน้มถ่วงกฎการอนรุ ักษ์พลงั งาน และความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี รวมทงั นา้ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๒. ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟ้า ความตา้ นทาน และน้าความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ๓. คา้ นวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า และน้าความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ๔. สังเกตและอภิปรายการต่อวงจรไฟฟา้ ในบา้ นอย่างถูกต้องปลอดภยั และประหยดั ๕.อธิบายตัวตา้ นทาน ไดโอด ทรานซสิ เตอร์ และทดลองต่อวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บืองตน้ ท่ีมีทรานซสิ เตอร์

31 มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรู้ การ แก้ปญั หา ร้วู ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาติท่เี กดิ ขน้ึ ส่วนใหญม่ ีรูปแบบที่แนน่ อน สามารถอธบิ ายและตรวจสอบ ได้ ภายใตข้ ้อมูลและเคร่ืองมือท่ีมอี ย่ใู นช่วงเวลานั้นๆ เขา้ ใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และ สง่ิ แวดล้อม มคี วามเกยี่ วข้องสัมพันธ์กนั ๑. ตงั ค้าถามท่ีก้าหนดประเดน็ หรอื ตัวแปรที่สา้ คัญในการส้ารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคน้ ควา้ เรอ่ื งท่สี นใจได้อย่าง ครอบคลุมและเช่ือถือได้ ๒. สรา้ งสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบไดแ้ ละวางแผนการส้ารวจตรวจสอบหลาย ๆ วธิ ี ๓. เลอื กเทคนคิ วธิ กี ารสา้ รวจตรวจสอบทงั เชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพท่ีไดผ้ ลเท่ยี งตรงและปลอดภัย โดยใช้วสั ดุ และเครื่องมือท่ีเหมาะสม ๔. รวบรวมขอ้ มูล จดั กระทา้ ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ ๕. วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคล้องของประจกั ษ์พยานกับขอ้ สรปุ ทงั ที่สนับสนุนหรือขัดแยง้ กับสมมติฐาน และความผิดปกตขิ องข้อมูลจากการสา้ รวจตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจ้าลอง หรอื รูปแบบ ทอ่ี ธิบายผลหรือแสดงผลของการส้ารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคา้ ถามที่น้าไปสกู่ ารส้ารวจตรวจสอบ ในเร่ืองทเี่ ก่ยี วข้อง และนา้ ความรู้ท่ไี ด้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่หรอื อธบิ ายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชินงานให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสา้ รวจ ตรวจสอบ ค้นควา้ เพิ่มเตมิ จากแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ ให้ไดข้ ้อมลู ท่ี เช่อื ถือได้ และยอมรบั การเปลี่ยนแปลงความรทู้ ี่ค้นพบเม่อื มีข้อมลู และประจักษ์พยานใหม่เพม่ิ ขึนหรือโต้แยง้ จากเดมิ ๙.จดั แสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรอื อธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชนิ งาน ใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ

32 ค้าอธิบายรายวิชา รายวิชาวิทยาศาสตร์เพ่มิ เติม รหัสวิชา ว๒๑๒๗๑ (วิทยาศาสตร์กับความงาม) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรยี น จา้ นวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ ********************************************************************************** ศึกษา วเิ คราะห์ ตรวจสอบ และอธิบาย ความงามท่ีสมวัยและปจั จัยท่มี ีผลตอ่ ความงาม การดูแลความ งามและการเลือกใชเ้ คร่ืองสา้ อาง เครอื่ งส้าอางในชีวติ ประจ้าวนั การใชส้ มุนไพรในท้องถิ่นเพือ่ ความงามและ สุขภาพ เทคโนโลยีเพื่อความงามและสขุ ภาพ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งทีร่ ู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ นา้ ความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจ้าวัน มจี ิต วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นยิ มท่เี หมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑.อธิบายส่วนต่างๆ ของรา่ งกายท่ีเกย่ี วข้องกบั ความงาม และแนวทางในการดแู ลอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๒.สบื ค้นข้อมูล สา้ รวจตรวจสอบและอธิบายผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยเี กยี่ วกับความงามประเภทต่างๆ ๓.สบื ค้นข้อมลู และสา้ รวจตรวจสอบภมู ปิ ัญญาไทยท่ีเกยี่ วกับความงาม ๔.นา้ ความรู้ไปใชใ้ นการเลอื กใช้ผลติ ภณั ฑแ์ ละเทคโนโลยีเกย่ี วกบั ความงามได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ๕.ส่ือสารสง่ิ ทเี่ รยี นรู้ และสร้างสรรค์ผลงานเก่ยี วกับความงามอยา่ งมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรยี นรู้

33 ค้าอธิบายรายวชิ า รายวิชาวิทยาศาสตรเ์ พิ่มเติม รหัสวชิ า ว๒๑๒๐๒ (ของเล่นเชงิ วทิ ยาศาสตร)์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จา้ นวน ๑.๐ หน่วยกิต ภาคเรียนท่ี ๒ ***************************************************************************************************** ………….ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ สรา้ งของเลน่ อย่างง่ายตามแบบที่ก้าหนดให้ ดดั แปลงหรอื ประดิษฐข์ องเล่นท่ี ใช้เครื่องกลอย่างงา่ ยหรอื หลกั การทางไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ยา่ งง่าย และอธบิ ายการท้างานของของเลน่ ดว้ ย หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การแก้ปัญหา สามารถ สอื่ สารส่งิ ทีเ่ รยี นรู้ สามารถตัดสนิ ใจ นา้ ความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจา้ วนั มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรมและ ค่านยิ มที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑.ตงั คา้ ถามเกยี่ วกับหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ทีส่ ังเกตได้จากการเลน่ ของเล่น ๒.สังเกตและอธิบายหลักการทา้ งานของเครื่องกลอยา่ งง่าย วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างงา่ ยทป่ี ระกอบขนึ ในของเลน่ ๓.ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพรอ่ งของเคร่ืองกลอยา่ งงา่ ย วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อยา่ งงา่ ยทปี่ ระกอบขนึ ใน ของเลน่ ที่กา้ หนด ๔.ออกแบบและประดิษฐ์ของเลน่ โดยใชเ้ ครื่องกลอยา่ งง่าย และไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อยา่ งง่าย ๕.มีเจตคติที่ดีต่อหลกั การทางวทิ ยาศาสตรใ์ นของเล่น รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรียนรู้

34 ค้าอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พิ่มเติม รหัสวิชา ว22201 (เชอ้ื เพลิงเพ่ือการคมนาคม) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง/ภาคเรยี น จา้ นวน ๑.๐ หน่วยกติ ภาคเรียนที่ - ************************************************************************** …………..ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง องค์ประกอบและประเภทของปิโตรเลียม หินต้นก้าเนิดและแหล่งกักเก็บ ปิโตรเลยี ม การสา้ รวจและแหลง่ ปิโตรเลียม ผลกระทบและแนวทางแก้ไขท่ีเกิดจากการส้ารวจและการผลิต ปโิ ตรเลียม การแยกกา๊ ซธรรมชาติ การกล่นั นา้ มันดิบ ผลติ ภัณฑจ์ ากก๊าซธรรมชาตแิ ละจากการกลั่นน้ามันดบิ และการใช้ประโยชน์ ผลกระทบจากกระบวนการผลิต ผลิตภณั ฑ์จากปโิ ตรเลยี มและแนวทางแก้ไข สถานการณ์ พลงั งานของโลกและของประเทศไทย การใช้พลงั งานด้านการคมนาคมของประเทศไทย การก้าหนดราคานา้ มนั เชือเพลิง ผลกระทบและแนวทางการแกไ้ ขผลจากการใช้เชอื เพลงิ เพื่อการคมนาคม เชอื เพลิงทีเ่ ปน็ พลงั งาน ทดแทน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสอื่ สารสง่ิ ที่รู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นา้ ความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจ้าวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและคา่ นิยม ทเี่ หมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. อธิบายความส้าคญั และการกา้ เนดิ ของปิโตรเลยี ม กา๊ ซธรรมชาติ ถา่ นหิน และหินนา้ มนั ๒. อธบิ ายแหล่ง การสา้ รวจ และปรมิ าณส้ารองของปโิ ตรเลียม และ แก๊สธรรมชาติ ๓. อธบิ ายผลิตภณั ฑป์ ิโตรเลยี มและการนา้ ไปใชป้ ระโยชน์ ๔. อธิบายโครงสรา้ งราคาและวเิ คราะหส์ ถานการณ์การใช้นา้ มนั เชือเพลงิ เพ่ือการคมนาคม ๕. อธิบายประเภทและการใช้ประโยชน์ จากเชอื เพลิงทเี่ ป็นพลงั งานทดแทน ๖. นา้ เสนอแนวทางการใชป้ โิ ตรเลยี ม และแก๊สธรรมชาติ อยา่ งประหยดั และถกู วธิ ี รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้

35 คา้ อธบิ ายรายวชิ า รายวิชาวิทยาศาสตรเ์ พมิ่ เติม รหัสวิชา ว22202 (พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน)์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง/ภาคเรยี น จ้านวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ 2 ************************************************************************************************ ศกึ ษา วเิ คราะห์ ทดลอง ตรวจสอบ เกี่ยวกับพลังงานแสงอาทติ ย์ พลังงานลม พลังงานน้า พลังงานชีวมวล และพลงั งานนวิ เคลยี ร์ เพื่อให้มคี วามรู้ความเข้าใจในหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ของพลังงานดงั กล่าว และการ น้ามาใช้เป็นพลังงานทดแทน และตระหนักในบทบาทและผลกระทบของพลงั งานเหล่านันท่มี ีต่อมนษุ ย์และ สงิ่ แวดล้อม โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ี เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ น้าความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจ้าวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและ คา่ นยิ มท่เี หมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑.อธบิ ายความส้าคญั ของพลังงานทดแทน ๒.อธบิ ายหลกั การทางวิทยาศาสตร์ ในการนา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลังงานลม พลังงานน้า พลงั งานชีวมวลและ พลงั งานนวิ เคลียร์ ไปใช้ประโยชน์ ๓.อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์ พลังงานแสงอาทิตย์ พลงั งานลม พลังงานนา้ พลังงานชีวมวลและพลังงานนวิ เคลียร์ ใน ประเทศไทย ๔.อธบิ ายขอ้ ดีและข้อจ้ากดั เก่ียวกบั การใช้ประโยชน์และแนวทางการพฒั นา ของพลังงานแสงอาทติ ย์ พลงั งานลม พลงั งานนา้ พลังงานชีวมวลและพลังงานนิวเคลียร์ รวมท้งั หมด ๔ ผลการเรียนรู้

36 ค้าอธิบายรายวิชา รายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่มิ เติม รหสั วชิ า ว23201 (เร่ิมต้นกบั โครงงานวิทยาศาสตร์) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จา้ นวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี 1 *************************************************************************************** ศกึ ษาวเิ คราะห์การท้างานของนกั วิทยาศาสตร์ ปัญหา หรือ สถานการณ์ ท่ีสังเกตพบในชวี ติ ประจ้าวัน ตงั สมมตฐิ านจากปัญหา หรอื สถานการณ์ ท่ีสังเกตพบ ออกแบบการทดลอง เพอ่ื ตรวจสอบ สมมติฐาน ก้าหนด ตัวแปร กา้ หนดนยิ ามเชิงปฏิบัตกิ าร เลือกใช้อุปกรณแ์ ละวิธกี ารทดลอง อย่างเหมาะสม บันทึกขอ้ มูล จดั กระทา้ ข้อมูล น้าเสนอข้อมูล วเิ คราะห์ และสรปุ ผลการทดลอง ไดส้ อดคล้องกับจดุ ประสงค์ มคี วามคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรคใ์ นการออกแบบการทดลอง หรอื ดัดแปลงอปุ กรณ์ ในการแก้ปัญหาท่ีเกิดขนึ โดยใชก้ ระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การวเิ คราะห์ การเปรียบเทยี บ การส้ารวจตรวจสอบ การท้านาย และการทดลองเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสอื่ สารส่ิงทเี่ รยี นรู้ มีความสามารถในการ ตดั สนิ ใจ นา้ ความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจ้าวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม โดย การวัดและประเมินผลด้วยแบบทดสอบ แบบประเมินจากสภาพจริง แบบประเมนิ ทักษะกระบวนการ แบบ ประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ทางวิทยาศาสตร์ แบบประเมินด้านเจตคตใิ นการท้างานกลุ่ม แบบประเมนิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ ผลการเรยี นรู้ ๑. สบื คน้ อธิบาย และอภิปราย ถึงการท้างานของนักวทิ ยาศาสตร์ ๒. สืบค้น อธบิ าย และอภิปราย ถงึ ปัญหา หรอื สถานการณ์ ที่สังเกตพบในชีวติ ประจ้าวัน ๓. อธบิ าย และอภิปรายการตังสมมติฐานจากปัญหา หรอื สถานการณ์ ท่ีสงั เกตพบได้ อย่างเหมาะสม ๔. ออกแบบการทดลอง เพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน ก้าหนดตวั แปร ก้าหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร เลอื กใช้อุปกรณ์ และวิธกี ารทดลอง อย่างเหมาะสม ๕. บนั ทกึ ข้อมลู จัดกระท้าข้อมูล และนา้ เสนอข้อมลู ท่เี หมาะสม สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ ๖. วเิ คราะห์ และสรุปผลการทดลอง ได้สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ ๗. มีความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ในการออกแบบการทดลอง หรือดัดแปลงอปุ กรณ์ ในการแกป้ ัญหาท่ีเกิดขนึ ขณะทา้ การทดลอง ๘. มีเจตคติ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มที่ดี ตอ่ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสงิ่ แวดล้อม รวมทั้งหมด ๘ ผลการเรยี นรู้

37 คา้ อธิบายรายวชิ า รายวชิ าวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติม รหัสวิชา ว23202 (โครงงานวิทยาศาสตร์) กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนต้น เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ภาคเรียน จา้ นวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นที่ 2 ********************************************************************************************* ศึกษาวิเคราะห์ ความหมาย ประเภท ขันตอนการทา้ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ คิดหัวเรื่อง เลอื กเรอื่ งที่ จะทา้ โครงงานวิทยาศาสตร์ ทา้ การทดลองเบืองตน้ ดูความเปน็ ไปได้ จดั ท้าเคา้ โครงของเรื่องทเี่ ลือกท้า ลงมอื ท้า โครงงานวทิ ยาศาสตร์ อย่างน้อย 1 เร่อื ง โดยใชว้ ิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ในการรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ ครงั น้าเสนอข้อมลู อย่างเป็นระบบ แกป้ ัญหาทเ่ี กดิ ขนึ โดยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ และพัฒนาชนิ งานให้เหมาะสม วิเคราะห์ผลการทดลอง สรปุ ผลการทดลอง ท้ารายงานผลการทดลอง และนา้ เสนอโครงงาน ดว้ ยปากเปล่า อย่างถูกต้อง และมนั่ ใจ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบคน้ ข้อมลู การอภิปราย การวเิ คราะห์ การเปรยี บเทียบ การสา้ รวจตรวจสอบ การทา้ นาย และการทดลองเพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งทีเ่ รยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ น้าความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจา้ วนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม โดยการวดั และประเมนิ ผลด้วยแบบทดสอบ แบบประเมินจาก สภาพจริง แบบประเมินทักษะกระบวนการ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ างวทิ ยาศาสตร์ แบบ ประเมินด้านเจตคตใิ นการทา้ งานกลุม่ แบบประเมนิ ความสามารถในการแกป้ ัญหา แบบทดสอบความคิด สร้างสรรค์ ผลการเรยี นรู้ ๑. สืบคน้ ขอ้ มลู อธิบาย และอภปิ รายความหมายและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒. ศึกษา และอธิบายขนั ตอนการท้าโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และคิดหัวเรื่องโครงงาน ๓. สืบค้นข้อมูล เกย่ี วกับเร่ืองทเ่ี ลอื กทา้ โครงงานทา้ การทดลองเบืองต้นดูความเปน็ ไปได้และจัดทา้ เคา้ โครงของ เร่อื ง ๔. ท้าโครงงานวทิ ยาศาสตร์ อยา่ งน้อย 1 เรือ่ ง โดยใช้วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ในการรวบรวมข้อมลู หลาย ๆ ครัง น้าเสนอข้อมูลอย่างเปน็ ระบบ แก้ปญั หาที่เกดิ ขนึ โดยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ และพัฒนาชินงานใหเ้ หมาะสม ๕. วิเคราะห์ผลการทดลอง สรปุ ผลการทดลอง และทา้ รายงานผลการทดลอง ๖. นา้ เสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้วยปากเปลา่ อยา่ งถูกตอ้ ง และม่นั ใจ ๗. มีเจตคติ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่ดี ตอ่ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสงิ่ แวดล้อม รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรยี นรู้

ภาคผนวก

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง วทิ ยาศาสตร์ * ม.1 สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่งิ มีชวี ติ หนว่ ยพนื ฐานของส่งิ มชี วี ิต การลา้ เลยี งสารผา่ นเซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทขี่ องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทที่ ้างานสัมพันธก์ นั ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหน้าทข่ี องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ีท้างานสัมพันธก์ ัน รวมทงั น้า ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชัน้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1.เปรียบเทยี บรูปร่างและโครงสร้าง  เซลล์เป็นหน่วยพืนฐานของสิ่งมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์ ของเซลล์พืชและสัตว์ รวมทัง เพียงเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ บางชนิดมี บรรยายหน้าท่ีของผนังเซลล์ เยื่อ หลายเซลล์ เชน่ พชื สตั ว์ หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส  โครงสร้างพืนฐานที่พบทังในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และ แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และ สามารถสังเกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ได้แก่ เย่ือหุ้มเซลล์ คลอโรพลาสต์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส โครงสร้างที่พบในเซลล์พืชแตไ่ ม่พบ 2.ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษา ในเซลลส์ ัตว์ ไดแ้ ก่ ผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ เซ ล ล์ แ ล ะ โค ร งส ร้า งต่ าง ๆ  โครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเซลล์มหี นา้ ทแ่ี ตกต่างกนั ภายในเซลล์ - ผนังเซลล์ ท้าหนา้ ท่ีใหค้ วามแขง็ แรงแกเ่ ซลล์ - เยื่อหุ้มเซลล์ ท้าหน้าท่ีห่อหุ้มเซลล์ และควบคุมการล้าเลียง สารเข้าและออกจากเซลล์ - นิวเคลียส ทา้ หนา้ ที่ควบคุมการทา้ งานของเซลล์ - ไซโทพลาซมึ มอี อรแ์ กเนลล์ทที่ า้ หนา้ ทแี่ ตกตา่ งกนั - แวคิวโอล ทา้ หนา้ ที่เก็บน้าและสารตา่ ง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ท้าหน้าท่ีสลายสารอาหารเพ่ือให้ได้พลังงาน แก่เซลล์ - คลอโรพลาสต์ เปน็ แหลง่ ท่ีเกดิ การสงั เคราะหด์ ้วยแสง 3.อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง  เซลล์ของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะท่ีหลากหลาย และมี รูปรา่ งกับการท้าหน้าท่ขี องเซลล์ ความเหมาะสมกับหน้าทข่ี องเซลล์นัน เช่น เซลลป์ ระสาทส่วนใหญ่ มเี ส้นใยประสาทเป็นแขนงยาว น้ากระแสประสาทไปยงั เซลลอ์ ื่น ๆ ที่อยูไ่ กลออกไป เซลล์ขนรากเปน็ เซลลผ์ ิวของรากทีม่ ีผนังเซลล์และ เย่ือหุ้มเซลล์ยื่นยาวออกมา ลักษณะคล้ายขนเส้นเล็ก ๆ เพื่อเพิ่ม พืนทีผ่ ิว ในการดดู น้าและแร่ธาตุ 4.อธิบายการจัดระบบของส่ิงมีชีวิต  พืชและสัตว์เป็นส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์มีการจัดระบบ โดยเริ่มจาก โดยเริ่มจากเซลล์ เนอื เย่ือ อวัยวะ เซลล์ไปเป็นเนือเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสิ่งมีชีวิต ระบบอวยั วะจนเป็นส่งิ มีชวี ิต ตามล้าดับ เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเป็นเนือเย่ือ เนือเยื่อหลาย ชนิดมารวมกัน และท้างานร่วมกันเป็นอวัยวะ อวัยวะต่าง ๆ ท้างานร่วมกันเป็นส่ิงมีชีวิต นอกจากนีในกระดูก ฟัน และ กลา้ มเนอื จะมีธาตุเปน็ องคป์ ระกอบด้วย

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 5. อธิบายกระบวนการแพร่และออสโม  เซลล์มกี ารน้าสารเขา้ สูเ่ ซลล์เพ่ือใชใ้ นกระบวนการต่าง ๆ ของ ซิส จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ และ เซลล์ และมีการขจัดสารบางอย่างท่ีเซลล์ไม่ต้องการออกนอกเซลล์ ยกตัวอย่างการแพร่และออสโมซิส การน้าสารเข้าและออกจากเซลล์ มีหลายวิธี เช่น การแพร่เป็นการ เคล่ือนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูง ไปสู่บริเวณที่ ในชวี ิตประจ้าวัน มคี วามเขม้ ข้นของสารตา่้ ส่วนออสโมซิสเป็นการแพรข่ องน้าผ่านเยื่อหุ้ม เซลล์จากด้านที่มีความเข้มข้นของสารละลายต้่าไปยังด้านที่มีความ เขม้ ข้นของสารละลายสงู กว่า 6.ร ะ บุ ปั จ จั ย ท่ี จ้ า เป็ น ใน ก า ร  กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชท่ีเกิดขึนในคลอโร สังเคราะห์ด้วยแสงและผลผลิตท่ี พลาสต์ จ้าเป็นต้องใช้แสง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟิลล์ และ เกิดขึนจากการสังเคราะห์ด้วย น้า ผลผลิตที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ น้าตาลและแก๊ส แสง โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ออกซเิ จน 7. อธิบายความส้าคัญ ของการ  การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการที่ส้าคัญต่อสิ่งมีชีวิต สังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อ เพราะเป็นกระบวนการเดียวที่สามารถน้าพลังงานแสงมาเปลี่ยนเป็น สงิ่ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม พลังงานในรูปสารประกอบอินทรีย์และเก็บสะสมในรูปแบบต่าง ๆ ใน 8. ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อ โครงสร้างของพืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและพลังงานท่ีส้าคัญของ สง่ิ มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยการ สิ่งมีชีวิตอื่น นอกจากนีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงยังเป็น ร่วมกันปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ กระบวนการหลักในการสร้างแก๊สออกซิเจนให้กับบรรยากาศเพื่อให้ สิ่งมีชวี ิตอื่นใช้ในกระบวนการหายใจ ในโรงเรียน 9. บรรยายลักษณะและหนา้ ที่ของ  พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซ่ึงเป็นเนือเย่ือมีลักษณะคล้ายท่อ ไซเลม็ และโฟลเอม็ เรียงตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะท่ี โดยไซเล็มท้าหน้าท่ีล้าเลียงน้าและธาตุ 10. เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศ อาหาร มที ิศทางล้าเลียงจากรากไปสู่ล้าต้น ใบ และส่วนต่าง ๆ ของพืช ทางการล้าเลียง สารในไซเล็ม เพ่อื ใชใ้ นการสังเคราะห์ดว้ ยแสง รวมถงึ กระบวนการอ่ืน ๆ ส่วนโฟลเอ็ม ท้าหน้าท่ีล้าเลียงอาหารท่ีได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง มีทิศทาง และโฟลเอ็มของพืช ลา้ เลยี งจากบรเิ วณท่ีมีการสังเคราะหด์ ้วยแสงไปสสู่ ่วนต่าง ๆ ของพชื 11. อธิบายการสืบพันธ์ุแบบอาศัย  พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ และบาง เพศ และไมอ่ าศัยเพศของพืชดอก ชนดิ สามารถสืบพนั ธุแ์ บบไม่อาศยั เพศได้ 12. อธิบายลักษณะโครงสร้างของ  การสืบพันธ์แุ บบอาศัยเพศเป็นการสืบพันธุ์ที่มีการผสมกัน ดอกท่ีมีส่วนท้าให้เกิดการถ่ายเรณู ของสเปิร์มกับเซลล์ไข่ การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชดอก รวมทังบรรยาย การปฏิสนธิของพืช เกิดขึนท่ีดอก โดยภายในอับเรณูของส่วนเกสรเพศผู้มีเรณู ซึ่งท้า ดอก การเกิดผลและเมล็ด การ หน้าที่สร้างสเปิร์ม ภายในออวุลของส่วนเกสรเพศเมีย มีถุง กระจายเมลด็ และการงอกของเมลด็ เอม็ บรโิ อ ท้าหนา้ ท่สี รา้ งเซลล์ไข่ 13. ตระหนักถึงความส้าคัญของ สตั ว์ ท่ีชว่ ยในการถ่ายเรณูของ  การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่พืชต้นใหม่ พืชดอก โดยการไม่ท้าลายชีวิต ไม่ได้เกิดจากการปฏิสนธิระหว่างสเปิร์มกับเซลล์ไข่ แต่เกิดจากส่วน ของสัตว์ ที่ช่วยในการถ่าย ต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ล้าต้น ใบ มีการเจริญเติบโตและพัฒนาขึน มาเปน็ ต้นใหม่ได้

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง เรณู  การถ่ายเรณู คือ การเคล่ือนย้ายของเรณูจากอับเรณูไปยัง ยอดเกสรเพศเมีย ซึ่งเก่ียวข้องกับลักษณะและโครงสร้างของดอก เช่น สีของกลีบดอก ต้าแหนง่ ของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี โดย มีสง่ิ ท่ีชว่ ย ในการถา่ ยเรณู เชน่ แมลง ลม  การถ่ายเรณูจะน้าไปสู่การปฏิสนธิ ซ่ึงจะเกิดขึนที่ถุงเอ็มบริโอ ภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ไซโกต จะ พัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ออวุลพฒั นาไปเป็นเมล็ด และรังไข่พัฒนาไป เปน็ ผล  ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากต้นเดิม โดยวิธีการต่าง ๆ เม่ือเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมจะเกิดการงอกของ เมล็ด โดยเอ็มบริโอภายในเมล็ดจะเจริญออกมา โดยระยะแรกจะ อาศัยอาหารที่สะสมภายในเมล็ด จนกระทั่งใบแท้พัฒนา จน ส า ม า ร ถ สั ง เค ร า ะ ห์ ด้ ว ย แ ส ง ได้ เต็ ม ที่ แ ล ะ ส ร้ า ง อ า ห า ร ได้ เอ ง ตามปกติ 14.อธบิ ายความสา้ คัญของธาตุ  พืชต้องการธาตุอาหารท่ีจ้าเป็นหลายชนิดในการเจริญเติบโต และ อาหารบางชนดิ ท่มี ีผลต่อการ การด้ารงชีวิต เจริญเตบิ โต และการดา้ รงชวี ิต  พืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ของพชื ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และก้ามะถัน ซ่ึง ใน 15. เลอื กใช้ป๋ยุ ท่ีมีธาตอุ าหาร ดินอาจมีไม่เพียงพอส้าหรับการเจริญเติบโตของพืช จึงต้องมี การให้ เหมาะสมกับพชื ในสถานการณ์ ธาตอุ าหารในรปู ของปยุ๋ กับพืชอย่างเหมาะสม ที่ก้าหนด 16. เลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้  มนุษย์สามารถน้าความรู้เรื่องการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไม่ เหมาะสมกับความต้องการของ อาศัยเพศ มาใช้ขยายพันธุ์เพื่อเพ่ิมจ้านวนพืช เช่น การใช้เมล็ดที่ได้จาก มนุษย์ โดยใช้ความรู้เก่ียวกับการ การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศมาเพาะเลียง วิธีการนีจะได้พืชในปริมาณมาก แต่อาจมลี ักษณะท่ีแตกต่างไปจากพ่อแม่ ส่วนการตอนกิ่ง การปักช้า การ สืบพนั ธ์ขุ องพชื ต่อกิ่ง การติดตา การทาบก่ิง การเพาะเลียงเนือเยื่อ เป็นการ น้า 17. อธิบายความส้าคัญของ เทคโนโลยี การเพาะเลยี งเนือเย่ือ ความรู้เรื่อง การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธ์ุ เพ่ือให้ได้พืชท่ีมีลักษณะเหมือนต้นเดิม ซึ่งการขยายพันธุ์แต่ละวิธี มี พืชในการใชป้ ระโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ ขันตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ 18. ตระหนักถึงประโยชน์ของการ โดยตอ้ งค้านึงถงึ ชนดิ ของพชื และลักษณะการสบื พันธ์ุของพชื ขยายพันธุ์พืช โดยการน้าความรู้  เทคโนโลยีการเพาะเลียงเนือเยื่อพืช เป็นการน้าความรู้เกี่ยวกับ ไปใช้ในชีวติ ประจ้าวนั ปัจจัยท่จี ้าเป็นต่อการเจรญิ เติบโตของพืชมาใช้ในการเพ่ิมจ้านวนพืช และ ท้าให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ในหลอดทดลอง ซึ่งจะได้พืชจ้านวนมาก ในระยะเวลาสัน และสามารถน้าเทคโนโลยีการเพาะเลียงเนือเยื่อมา ประยุกต์เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ปรับปรุงพันธ์ุพืชที่มีความส้าคัญ ทางเศรษฐกิจ การผลิตยา และสาระสา้ คญั ในพืชและอืน่ ๆ

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ สสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง ม.1 1. อธิบายสมบัติทางกายภ าพบาง  ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว และมีสมบัติทาง ประการของธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึง กายภาพ บางประการเหมือนกันและบางประการ โลหะ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ ต่างกัน ซ่ึงสามารถน้ามาจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ จากการสังเกต และการทดสอบ และใช้ และก่ึงโลหะ ธาตโุ ลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสงู มีผิว สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มนั วาว น้าความร้อน นา้ ไฟฟ้า ดึงเป็นเส้นหรอื ตเี ป็นแผ่น รวมทังจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ บางๆ ได้ และมีความหนาแน่นทังสูงและต้่า ธาตุอโลหะ และก่ึงโลหะ มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่้า มีผิวไม่ มันวาว ไม่น้า ความร้อน ไม่น้าไฟฟ้า เปราะแตกหักง่าย และ มี ความหนาแน่นต่้า ธาตุก่ึงโลหะมีสมบัติบางประการ เหมอื นโลหะ และสมบัติบางประการเหมอื นอโลหะ 2. วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ  ธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ท่ีสามารถแผ่รังสีได้ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี จดั เป็นธาตุกัมมนั ตรงั สี ท่มี ีต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ 3. ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ  ธาตุมีทังประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่ง อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอ โลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควรค้านึงถึงผลกระทบต่อ แนวทางการใช้ธาตอุ ย่างปลอดภยั คุ้มคา่ สง่ิ มชี วี ิต สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจและสงั คม 4. เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลว  สารบริสุทธ์ิประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วน ของสารบริสุทธ์ิและสารผสม โดยการวัด สารผสมประกอบด้วยสารตังแต่ 2 ชนิดขึนไป สารบริสุทธิ์ อุณหภูมิ เขียนกราฟ แปลความหมาย แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการท่ีเป็นค่าเฉพาะตัว เช่น จุด ขอ้ มลู จากกราฟ หรือสารสนเทศ เดือดและจุดหลอมเหลวคงท่ี แต่สารผสมมีจุดเดือดและจุด หลอมเหลวไม่คงที่ ขึนอยกู่ บั ชนิดและสดั ส่วนของสารที่ผสม อยู่ด้วยกนั 5 . อธิบ ายและเป รียบ เที ยบ ความ  สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือมวล หนาแน่นของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม ต่อหน่ึงหน่วยปริมาตรคงที่ เป็นค่าเฉพาะของสารนัน ณ 6. ใช้เครื่องมือเพ่ือวัดมวลและปริมาตร สถานะ และอุณหภูมิหน่ึง แต่สารผสมมีความหนาแน่นไม่ ของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม คงที่ ขึนอยกู่ ับชนดิ และสัดสว่ นของสารที่ผสมอยดู่ ้วยกัน 7. อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง  สารบริสุทธิ์แบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ อะตอม ธาตุและสารประกอบ โดยใช้  ธาตุประกอบด้วยอนุภาคท่ีเล็กที่สุดท่ียังแสดงสมบัติ แบบจา้ ลอง และสารสนเทศ ของธาตุนัน เรียกว่า อะตอม ธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วย อะตอมเพียงชนิดเดียว และไม่สามารถแยกสลายเป็นสารอื่นได้ ด้วยวธิ ีทางเคมี ธาตุเขยี นแทนด้วยสัญลักษณ์ธาตุ สารประกอบ

ช้นั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง เกิดจากอะตอมของธาตุตังแต่ 2 ชนิดขึนไปรวมตัวกันทางเคมี ในอัตราส่วนคงท่ี มีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบ สามารถแยกเป็นธาตุได้ด้วยวิธีทางเคมี ธาตุและสารประกอบ สามารถเขียนแทนไดด้ ว้ ยสูตรเคมี 8. อธบิ ายโครงสร้างอะตอมที่  อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และ ประกอบดว้ ย โปรตอน นวิ ตรอน และ อิเล็กตรอน โปรตอน มีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุชนิดเดียวกันมี อเิ ล็กตรอน โดยใช้แบบจ้าลอง จา้ นวนโปรตอนเท่ากัน และเปน็ ค่าเฉพาะของธาตุนัน นิวตรอน เป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วนอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ เมื่อ อะตอมมีจา้ นวนโปรตอนเท่ากบั จ้านวนอิเล็กตรอนจะเป็นกลาง ทางไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีอยู่ในท่ีว่างรอบ นิวเคลยี ส 9. อธิบายและเปรยี บเทยี บการจดั เรยี ง  สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสารชนิด อนุภาค แรงยึดเหนีย่ วระหวา่ ง เดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมีการจัดเรียง อนภุ าค และการเคลื่อนทขี่ องอนภุ าค อนุภาค แรงยึดเหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค การเคล่ือนทขี่ องอนุภาค ของสสารชนิดเดียวกันในสถานะ แตกตา่ งกนั ซ่ึงมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส โดยใช้  อนุภาคของของแข็งเรียงชิดกัน มีแรงยึดเหน่ียว ระหว่างอนุภาคมากท่ีสดุ อนุภาคสั่นอยูก่ ับท่ี ท้าให้มีรูปร่างและ แบบจ้าลอง ปรมิ าตรคงที่  อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง แต่มากกว่าแก๊ส อนุภาค เคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระเท่าแก๊ส ท้าให้มีรูปร่างไม่คงที่ แต่ ปริมาตรคงที่  อนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคน้อยท่ีสุด อนุภาคเคล่ือนที่ได้อย่างอิสระทุก ทิศทาง ทา้ ใหม้ ีรปู ร่างและปริมาตรไม่คงท่ี 10. อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ ง  ความร้อนมีผลต่อการเปล่ียนสถานะของสสาร เมื่อให้ พลงั งานความร้อนกับการเปลี่ยน ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง จะมีพลังงานและ สถานะของสสาร โดยใชห้ ลักฐาน อุณหภูมิเพ่ิมขึนจนถึงระดับหน่ึง ซึ่งของแข็งจะใช้ความร้อน ในการเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว เรียกความร้อนที่ใช้ในการ เชงิ ประจักษ์และแบบจ้าลอง เปล่ียนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวว่า ความร้อนแฝงของ การหลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปล่ียนสถานะจะคงที่ เรียก อณุ หภมู ินีว่า จดุ หลอมเหลว  เมอื่ ให้ความร้อนแก่ของเหลว อนุภาคของของเหลวจะ มีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึนจนถึงระดับหนึ่ง ซึ่งของเหลวจะ ใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส เรียกความร้อนท่ีใช้ ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝง

ช้ัน ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ของการกลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปล่ียนสถานะจะคงที่ เรยี กอุณหภูมนิ ีว่า จุดเดอื ด  เม่ือท้าให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหน่ึงแก๊สจะ เปลีย่ นสถานะเป็นของเหลว เรยี กอณุ หภูมินวี ่า จดุ ควบแน่น ซ่ึงมอี ุณหภูมเิ ดียวกบั จดุ เดือดของของเหลวนัน  เมื่อท้าให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหนึ่ง ของเหลวจะเปล่ียนสถานะเป็นของแข็ง เรียกอุณหภูมินีว่า จุดเยือกแข็ง ซึ่งมีอุณหภูมิเดียวกับ จุดหลอมเหลวของ ของแขง็ นนั มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจา้ วนั ผลของแรงทีก่ ระทา้ ตอ่ วัตถุ ลกั ษณะการ เคล่ือนทแี่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทังน้าความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ช้นั ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.1 1.สร้างแบบจ้าลองที่อธิบาย  เมื่อวัตถุอยู่ในอากาศจะมีแรงท่ีอากาศกระท้าต่อวัตถุในทุก ความสัมพันธ์ระหว่างความ ทิศทาง แรงท่ีอากาศกระท้าต่อวัตถุขึนอยู่กับขนาดพืนที่ของ ดันอากาศกบั ความสูงจากพืน วัตถุนัน แรงที่อากาศกระท้าตังฉากกับผิววัตถุต่อหนึ่ง โลก หน่วยพืนที่ เรียกว่า ความดันอากาศ ความดันอากาศมี ความสัมพันธ์กับความสูงจาก พืนโลก โดยบริเวณที่สูง จากพืนโลกขึนไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศ น้อยลง ความดันอากาศกจ็ ะลดลง มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลง และการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธร์ ะหว่าง สสาร และพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจ้าวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ทเี่ กย่ี วข้องกับ เสียง แสง และ คลื่นแม่เหล็กไฟฟา้ รวมทงั น้าความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม. 1. วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล  เม่ือสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจท้าให้สสารเปล่ียน 1 และค้านวณปริมาณความร้อนท่ีท้า อณุ หภูมิ เปลีย่ นสถานะ หรือเปล่ียนรปู ร่าง ให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและเปล่ียน  ปริมาณความร้อนท่ีทา้ ใหส้ สารเปลี่ยนอุณหภมู ิขนึ กบั มวล ความ สถานะ โดยใช้สมการ Q = mc∆t ร้อนจา้ เพาะ และอณุ หภมู ิทเ่ี ปลยี่ นไป และ Q = mL  ปริมาณความร้อนท่ีท้าให้สสารเปล่ียนสถานะขึนกับมวลและ 2 . ใช้ เท อ ร์ม อ มิ เต อ ร์ใน ก ารวัด ความร้อนแฝงจ้าเพาะ โดยขณะท่ีสสารเปล่ียนสถานะ อุณหภูมิ อุณหภูมิของสสาร จะไม่เปล่ียนแปลง 3 . ส ร้ า งแ บ บ จ้ าล อ งที่ อ ธิ บ า ย  ความร้อนท้าให้สสารขยายตัวหรือหดตัวได้ เนื่องจากเมื่อสสาร การขยายตัว หรือหดตัวของสสาร ได้รับความร้อนจะท้าให้อนุภาคเคล่ือนท่ีเร็วขึน ท้าให้เกิดการ

ช้นั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง เน่ื อ งจ าก ได้ รั บ ห รือ สู ญ เสี ย ขยายตัว แต่เม่ือสสารคายความร้อน จะท้าให้อนภุ าคเคลื่อนท่ี ความรอ้ น ชา้ ลง ทา้ ใหเ้ กิดการหดตวั 4. ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้  ความรู้เรื่องการหดและขยายตัวของสสารเน่ืองจากความร้อน ของการหดและขยายตัวของสสาร น้าไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่าง ๆ เช่น การสร้างถนน การสร้าง เน่ืองจากความร้อน โดยวิเคราะห์ รางรถไฟ การทา้ เทอรม์ อมิเตอร์ สถานการณ์ปัญหา และเสนอแนะ วิธีการน้าความรู้มาแก้ปั ญ ห า ในชวี ติ ประจ้าวนั 5. วิเคราะห์สถานการณ์การถ่ายโอน  ความร้อนถ่ายโอนจากสสารที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังสสารท่ีมี ความร้อน และค้านวณปริมาณ อุณหภูมิต่้ากว่าจนกระทั่งอุณหภูมิของสสารทังสองเท่ากัน ความร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสาร สภาพทส่ี สารทังสองมอี ุณหภูมิเทา่ กนั เรยี กว่า สมดุลความร้อน จนเกิดสมดุลความร้อนโดยใช้  เมื่อมีการถา่ ยโอนความร้อนจากสสารท่มี ีอุณหภูมิต่างกนั จนเกิด สมการ Qสญู เสีย = Qไดร้ บั สมดุลความร้อน ความร้อนที่เพ่ิมขึนของสสารหน่ึงจะเท่ากับ ความร้อนท่ีลดลงของอีกสสารหน่ึง ซ่ึงเป็นไปตามกฎการ อนุรกั ษ์พลงั งาน 6. สร้างแบบจ้าลองที่อธิบายการถ่าย  การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คือ การน้าความร้อน การพา- โอนความรอ้ นโดยการน้าความร้อน ความร้อน และการแผ่รังสีความร้อน การน้าความร้อนเป็น การพ าความร้อน การแผ่รังสี การถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยที่ตัวกลางไม่ ความร้อน เคล่ือนที่ การพาความร้อนเป็นการถ่ายโอนความร้อนท่ี อาศัยตัวกลาง โดยท่ีตัวกลางเคลื่อนที่ไปด้วย ส่วนการแผ่รังสี ความร้อนเปน็ การถ่ายโอนความร้อนที่ไมต่ ้องอาศัยตัวกลาง 7. ออกแบบ เลือกใช้ และสร้างอุปกรณ์  ความรเู้ กี่ยวกบั การถา่ ยโอนความร้อนสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจ้าวันโดยใช้ ในชีวิตประจ้าวันได้ เช่น การเลือกใช้วัสดุเพ่ือน้ามาท้าภาชนะ ความรเู้ ก่ียวกับการถ่ายโอนความรอ้ น บรรจุอาหารเพ่ือเก็บความร้อน หรือการออกแบบระบบระบาย ความรอ้ นในอาคาร

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลกและ บนผิวโลก ธรณพี ิบัตภิ ยั กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลกรวมทงั ผลต่อส่ิงมชี วี ติ แล ส่ิงแวดล้อม ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. สร้างแบบจ้าลองท่ีอธิบายการ  โลกมีบรรยากาศห่อหุ้ม นกั วิทยาศาสตร์ใช้สมบตั ิและ แ บ่ งชั น บ ร ร ย า ก า ศ แ ล ะ องค์ประกอบของบรรยากาศในการแบ่งบรรยากาศของโลก เปรียบเทียบประโยชน์ของ ออกเป็นชัน ซึ่งแบ่งได้หลายรูปแบบตามเกณฑ์ที่แตกต่างกัน บรรยากาศแต่ละชัน โดยทั่วไปนักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ตามความสูง แบ่งบรรยากาศได้เป็น 5 ชัน ได้แก่ ชันโทรโพส เฟียร์, ชันสตราโตสเฟียร์, ชันมีโซสเฟียร์, ชันเทอร์โมสเฟียร์ และชนั เอกโซสเฟียร์  บรรยากาศแต่ละชันมีประโยชน์ต่อส่ิงมีชีวิตแตกต่าง กัน โดย ชันโทรโพสเฟียร์มีปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศท่ีส้าคัญ ต่อการด้ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ชันสตราโตสเฟียร์ ช่วยดูดกลืน รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมากเกินไป ชันมีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกท่ีผ่านเข้ามาให้เกิดการ เผาไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก ลดโอกาสที่จะท้าความ เสยี หายแก่สงิ่ มีชวี ติ บนโลก ชนั เทอรโ์ มส-เฟียร์สามารถสะท้อน คล่ืนวิทยุ และชันเอกโซสเฟียร์เหมาะส้าหรับ การโคจรของ ดาวเทยี มรอบโลกในระดบั ต้่า 2.อธิบายปัจจัยท่ีมีผลต่อการ  ลมฟ้าอากาศเป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของ พื นท่ี หนึ่ งท่ี มี การเปลี่ยนแป ลงตลอดเวลาขึนอยู่กับ ลมฟ้าอากาศ จากข้อมูลท่ี องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกด รวบรวมได้ อากาศ ลม ความชืน เมฆ และหยาดน้าฟ้า โดยหยาดน้าฟ้าท่ี พบบ่อย ในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ เปล่ียนแปลงตลอดเวลาขึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณ รังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพืนผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิ อากาศ อุณหภูมิอากาศ และปริมาณไอน้าส่งผลต่อความชืน ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความชนื และลมสง่ ผลตอ่ เมฆ 3. เปรียบเทียบกระบวนการเกิด  พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากการท่ีอากาศท่ีมีอุณหภูมิ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุ และความชืนสูงเคล่ือนท่ีขึนสู่ระดับความสูงท่ีมีอุณหภูมิต้่าลง หมุนเขตร้อน และผลที่มีต่อ จนกระท่ังไอน้าในอากาศเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้า และ สิ่ งมี ชี วิ ต แ ล ะ ส่ิ งแ ว ด ล้ อ ม เกิดต่อเน่ืองเป็นเมฆขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนอง ท้าให้เกิด รวมทังน้าเสนอแนวทางการ ฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผ่า ซึ่งอาจก่อให้เกิด ปฏิบัติตนให้เหมาะสมและ อันตรายตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ปลอดภยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook