Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1) AL ผ่านกระบวนการ PLC

1) AL ผ่านกระบวนการ PLC

Published by Waritsara Rattanasopha, 2021-01-31 14:33:39

Description: 1) AL ผ่านกระบวนการ PLC

Search

Read the Text Version

PLC คือ ? AL คือ ?

 เปน็ กระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยเรียนร้จู ากการ ปฏิบัติงานของกลุม่ บุคคลที่มารวมตัวกนั เพือ่ ทางานร่วมกนั และ สนับสนนุ ซึง่ กันและกนั โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ พัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียน ร่วมกนั วางเป้าหมายการเรียนร้ขู องผ้เู รียน และ ตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบตั ิงานทง้ั ในส่วนบุคคลและผลที่ เกิดขึ้นโดยรวมผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ วิพากษ์วิจารณ์ การทางานร่วมกัน การรว่ มมือรวมพลัง โดยมงุ่ เนน้ และส่งเสริมกระบวนการเรียนรอู้ ย่างเปน็ องค์รวม

ความเชอ่ื ของ PLC ยอมรบั ว่าการสอนและการปฏิบตั ิงานของอาจารย์ มผี ลตอ่ การเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น ยอมรับหลักการทวี่ ่า อาจารย์ตอ้ งเรยี นรูค้ วบค่กู บั การเรยี นรู้ของผู้เรยี น ยอมรับว่า อาจารย์มศี กั ยภาพแตกต่างกนั ยอมรับวา่ การทางานตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือ รว่ มใจ และสัมพันธภาพแบบกลั ยาณมิตร

PLC วัตถุประสงค์ MCRU-PLC 1. เพื่อเป็นเคร่ืองมือที่ชว่ ยใหก้ ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ มปี ระสิทธภิ าพ 2. เพอ่ื ใหเ้ กิดการรว่ มมอื รวมพลงั ของทกุ ฝา่ ยในการ ยกระดับคุณภาพ (การเรียนการสอน/วิจัย/บริการวชิ าการ) สคู่ ุณภาพของบณั ฑติ /ทอ้ งถนิ่ 3. เพอื่ ใหเ้ กิดการพัฒนาวิชาชพี ด้วยการพฒั นา นกั ศกึ ษา/ชุมชน/ทอ้ งถนิ่ /โรงเรยี น

PLC X AL = คุณภาพการศกึ ษา PLC ท่เี ป็ นกลั ยาณมิตรท่ใี ช้สตเิ ป็ นเคร่ืองมือ AL ท่ยี ดื หยุ่นและหลากหลาย





สมาธิ ? สติ ?

สมาธิ : เป็นสภาวะท่จี ติ พกั ดว้ ยการทาให้จิตว่างจากความคิด ทั้งปวง หากฝึกอยา่ งเปน็ ข้ันเปน็ ตอนจะทาใหผ้ ฝู้ ึก มคี วามสามารถในการพัฒนาความสงบของจิตใจ ได้โดยไมย่ าก : สมาธิชว่ ยใหเ้ กดิ ความผ่อนคลายจากอารมณ์ และความเครยี ด ชว่ ยลดอารมณ์และความคิดตา่ ง ๆ ทส่ี ะสมไว้ในจติ ใต้ สานึก ทาให้เราสามารถรบั ความเครยี ดใหม่ ๆ ได้ดขี ้ึน : การออกมาจากความสงบของสมาธจิ ะช่วยใหท้ างานและมสี ตไิ ด้ดีข้นึ

 สติ : ความรสู้ ึก ความร้สู ึกตวั  สติ : การระลกึ ความทรงจา ความรูส้ ึก การตน่ื ความระมัดระวงั ความรสู้ ึกผดิ ชอบ  สติท่ีได้รบั การฝกึ จะทาให้สามารถทางานด้วยใจจดจอ่ และไมถ่ กู อารมณ์และความเครียดครอบงาและพัฒนา ไปสู่ปัญญาภายในหรือ ความสามารถในการปล่อยวางได้

สภาวะจิต พืน้ ฐาน ขน้ั สูงกวา่ - หลบั - สมาธิ - ตืน่ - สติ สะสมความคดิ ลบ จิตที่สงบ มน่ั คง สมดุล อารมณ์ / ความเครยี ด ปลอ่ ยวาง 14

จติ ทุกคนมีความดี คุณค่าภายใน รัก เมตตา ทางาน/ประชุมด้วยจิตสงบ/ มั่นคง/สมดุล เสียสละ อดทน ให้อภยั 15

สมาธิ : จติ ตงั้ ม่นั คดิ ว้าวุ่น เครียด Thinking Upset Stress ความคดิ หยดุ สงบ ผ่อนคลาย Thought stopping Calmness Relaxation • ร่างกาย Mindfulness in Organization • จติ ใจ 16

ฝึ กสมาธิ 1. ฝึ กหยดุ ความคดิ (Thought stopping) 2. ฝึ กจดั การความคดิ ทเ่ี ข้ามาสอดแทรก (Development of calmness) 3. ฝึ กจดั การความคดิ และความง่วงอย่างต่อเนื่องจนจติ สงบและ ผ่อนคลาย (Relaxation) Mindfulness in Organization 17

1. ฝึ กหยุดความคดิ : รู้ลมหายใจเข้า/ออก  หลบั ตา  หายใจเข้าออกยาวสัก 5 รอบ เพ่ือรับรู้ ความรู้สึกของลมหายใจ ที่ผ่าน เข้าออก  สังเกตท่ปี ลายจมูกข้างหน่ึงทรี่ ู้สึกชัดกว่าและดูไปให้ต่อเนื่อง (หลกั การรับรู้ของสมอง) 18

 ห้ามความคิด  หงดุ หงดิ /ว้าว้นุ / ตาหนติ นเอง 19

2. ฝึกจดั การความคิดทเี่ ขา้ มา สอดแทรก  ความคดิ มาจากจิตใตส้ านึก เราควบคุม/ห้ามไม่ได้  สง่ิ ที่ทาไดค้ ือไมค่ ิดตาม  โดยรูต้ ัวและกลบั มาเตอื นตนเองใหก้ ลับมาอยกู่ บั ลมหายใจดว้ ยการหายใจเข้าออก ยาว 1-2 คร้งั = หยุดคิด การจัดการความคดิ = ปลดปลอ่ ยความวา้ วุ่นจากจติ ใตส้ านึก 20

ความง่วง น่ังสมาธิทาไมถึงง่วง 2 ด้านของความง่วง • มันคือความเคยชินของจติ พกั /สงบ • เริ่มสงบ • ไม่นาไปสู่สมาธิจติ หลบั  หลบั ตืน้ (ง่วง)  หลบั ลกึ  หลบั ฝัน 21

3. ฝึ กจดั การความคิดและความง่วงอย่างต่อเนื่อง จนจติ สงบและผ่อนคลาย จัดการกบั ความง่วง ยืดตวั ตรง หายใจลกึ จนิ ตนาการ แสงสว่าง 22

1. ฝึกหยดุ ความคดิ 2 นาที 2. ฝึกจัดการความคิด 4 นาที 3. ฝึกจัดการความคิดและความง่วง 8 นาที (จบดว้ ยสมาธิลมื ตา 1 นาที ) แลกเปลย่ี นประสบการณ์ 23

 ลดความว้าวุ่น/เครียดท่สี ะสมในจติ ใต้สานึก  เพ่มิ คุณภาพงานเม่ือเร่ิมต้นจากความสงบ  ฝึ กสตไิ ด้ง่าย 24

 สติ : ความรสู้ ึก ความร้สู ึกตวั  สติ : การระลกึ ความทรงจา ความรูส้ ึก การตน่ื ความระมัดระวงั ความรสู้ ึกผดิ ชอบ  สติท่ีได้รบั การฝกึ จะทาให้สามารถทางานด้วยใจจดจอ่ และไมถ่ กู อารมณ์และความเครียดครอบงาและพัฒนา ไปสู่ปัญญาภายในหรือ ความสามารถในการปล่อยวางได้

ทุกคนมสี ติ : ทาไมต้องฝึ กสติ • วอกแวกได้ง่าย • สอดแทรกด้วยอารมณ์ Mindfulness in Organization 26

Right Mindfulness อารมณ์แทรก รู้ตวั ไม่ต่อเนื่อง ความคดิ วอกแวก รู้ตวั อย่างต่อเน่ือง ไม่วอกแวก ควบคุมความคดิ /อารมณ์ 27

สังเกตได้ยาก หยุดความคดิ สมาธิ เป็ นปัจจุบนั รู้ในปัจจุบัน สติ 28

ขนั้ ที่ 3 สติปลอ่ ยวาง ข้นั ท่ี 2 สตติ ามการใชง้ าน - ภายนอก - สภาวะภายใน ข้ันท่ี 1 สติพื้นฐาน 29

ขน้ั ท่ี 1. สตพิ น้ื ฐาน • สมาธิหลบั ตา 1 นาที • สมาธิลืมตา 1 นาที • ลืมตารู้ลมหายใจเลก็ น้อย รู้ในกจิ กรรมทางกาย สมาธิลมื ตา = ชว่ ยเปลยี่ นผ่านจิต สมาธิหลบั ตา สมาธิลืมตา สติ (รู้ลมหายใจทั้งหมดขณะหลบั ตา) (รู้ลมหายใจทัง้ หมดขณะลืมตา) (รูล้ มหายใจบางสว่ นขณะลมื ตา รใู้ นกจิ ) 30

ฟงั โดยรลู้ มหายใจ ยืนโดยรลู้ มหายใจ รสู้ มั ผัสของเท้าทพ่ี นื้ เดนิ ด้วยความเรว็ ปกติ

ขั้นท่ี 2. สตติ ามการใชง้ าน  สมาธิก่อนและหลงั เลิกงาน  สติในระหว่างวนั โดยมีระฆังสติชว่ ยเตือน  ส่ือสารระหว่างกัน ดว้ ยสติส่อื สาร  ประชุมด้วยสติสนทนา

ข้นั ที่ 3. สตปิ ล่อยวาง

โปรแกรมระฆงั สติ 34

Applications “ระฆังสติ” 3 ระบบปฎบิ ัติการ ( สาหรับมอื ถอื รูปแบบ Smartphone ) App : MIND TIMER App : MINDFULNESS BELL 15 นาที 5 นาที Mindfulness in Organization 35

ข้นั ตอนที่ 1 ข้นั ตอนท่ี 2 ขั้นตอนท่ี 3

ระบบปฏบิ ัตกิ าร IOS App Store ในApplication : Zazen Lite ข้นั ตอนที่ 1 ขน้ั ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ขัน้ ตอนท่ี 4

ระบบปฏบิ ตั ิการ Android Play Store ใน Application : Mindfulness bell ข้นั ตอนท่ี 1 ขน้ั ตอนที่ 2 ข้นั ตอนที่ 3

Mindfulness in Organization 39

สมาธิ และสตติ ่างกนั อยา่ งไร ? - สภาวะของจิต - กระบวนการฝกึ - เทคนคิ /วิธีการ 40

สมาธิ ความสัมพันธ์ สติ สภาวะจติ จติ พกั โดยรู้ตวั จติ ทางานโดยไม่ ตลอดเวลา วอกแวก และไมถ่ กู กระบวนการฝกึ สอดแทรกด้วยอารมณ์ ความคดิ หยุด อยู่กับกิจท่ที า เทคนิค/วิธกี าร ร้ลู มหายใจ รูล้ มหายใจบางส่วน ทง้ั หมด รู้ในกิจทที่ า 41



การส่ือสาร หมายถงึ ? การสื่อสาร หมายถงึ วธิ ีการนาถ้อยคา หรือหนังสือ เป็ นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานทหี่ นึ่ง ไปยงั อกี บุคคลหนึ่งหรืออกี สถานทหี่ น่ึง 43

คาพูด คู่ส่ือสาร คู่สื่อสาร ภาษาท่าทาง • สายตา • สีหน้า • นา้ เสียง • ท่าทาง • ระยะห่างและสัมผสั 44

 เราเปน็ ค่สู ือ่ สาร (ท้งั รับและสง่ ในเวลาเดียวกัน)  คาพูดบอกถงึ ความคิด  ภาษาท่าทางบอกท้งั ความร้สู กึ / สัมพันธภาพ 45

การส่ือสารภายในทมี : ฝึ กการสนทนา จับคู่เลา่ เร่ืองย่งุ ยากใจ ท่ีทาให้ โกรธ/ผิดหวัง/เสียใจ/หนกั ใจในองคก์ รหรือในชีวิต 46

การสนทนา A B A เล่าเร่ืองทคี่ บั ข้องใจ 1 เรื่อง B ฟังอย่างใส่ใจ (สบตา / พยกั หน้า) ฟังได้ท้งั ความคดิ +ความรู้สึก (ดูNon verbal) ซักถามเท่าทจ่ี าเป็ น 47

ฝึ กการพูดโดยรู้ลมหายใจ เพลงดง่ั ดอกไม้บาน เพลง Happy Birthday “ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก “Happy Birthday to you ดง่ั ดอกไม้บาน Happy Birthday to you ภูผาใหญ่กว้าง ดง่ั สายนา้ ฉ่าเยน็ Happy Birthday ดง่ั นภากาศ อนั บางเบา” Happy Birthday Happy Birthday to you” 48

การสนทนา A B A เล่าเร่ืองเดมิ อย่างมสี ติ (รู้ลมหายใจเข้าเป็ นระยะระหว่างเล่า) B ฟังอย่างมสี ติใส่ใจ (รู้ลมหายใจเข้า/ออกระหว่างฟัง) 49

สตสิ ่ือสารระหว่างบุคคล พลงั คาพดู : ภาษาฉัน คู่ส่ือสาร คู่ส่ือสาร พลงั ภาษาท่าทาง • สายตา • สีหน้า • นา้ เสียง • ท่าทาง • ระยะห่างและสัมผสั 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook