แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 ตามมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชวี้ ดั กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 พระมหาปัณณทัต อภวิ ฑฺฒโน ครผู สู้ อน / ผจู้ ดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้
คำนำ ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้ สถานศึกษานำไปใชเ้ ปน็ กรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา วางแผนการจดั การเรยี น การสอนและ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเป้าหมายของ หลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสำเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้น ขั้นตอนการนำหลักสูตร สถานศกึ ษาไปปฏิบัตจิ ริงในช้ันเรยี นของครูผู้สอน จึงจัดเป็นหวั ใจสำคญั ในการพฒั นาผเู้ รียน แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ได้จัดทำข้ึนเพ่ือใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนร้แู ก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้อิง มาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้น กจิ กรรมแบบ Active Learning อันจะช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรยี นรแู้ ละคณุ ภาพของผ้เู รียนท่ีมหี ลักฐานตรวจสอบผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ จัดทำขึน้ เป็นแนวทางวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรปู้ ระกอบการใชห้ นังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยทั้งน้ีการออกแบบการ เรยี นรู้ (Instructional Design) ได้ดำเนนิ การตามกระบวนการ ดังน้ี 1 หลักการจดั การเรยี นรู้องิ มาตรฐาน หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกำหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอน จะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของผลการเรียนรู้ทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เร่ืองอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจะนำไปสู่การเสริมสร้ าง สมรรถนะสำคัญและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ดา้ นใดแก่ผู้เรยี น ผลการเรยี นรู้ ผเู้ รยี นรอู้ ะไร นำไปสู่ ผ้เู รยี นทำอะไรได้ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
2 หลกั การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ เม่ือผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของผลการเรียนรู้และได้กำหนดเป้าหมายการจัดการเรียนการสอนเรียบร้อย แล้ว จึงกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจดั การเรยี นการสอนให้ผู้เรียนลงมือปฏบิ ัติตามข้ันตอนของ กิจกรรมการเรียนรทู้ อี่ อกแบบไวจ้ นบรรลุผลการเรยี นรู้ทุกข้อ ผลการเรยี นรู้ เปา้ หมาย หลักการจดั การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และการพัฒนา เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั คุณภาพ สนองความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ของผ้เู รียน เน้นพฒั นาการทางสมอง ของผเู้ รยี น กระตนุ้ การคดิ เนน้ ความรู้คคู่ ณุ ธรรม 3 หลกั การบรู ณาการกระบวนการเรียนรสู้ ู่ผลการเรียนรู้ เม่อื ผู้สอนกำหนดขอบขา่ ยสาระการเรยี นรู้ และแนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนไว้แล้ว จึงกำหนด รูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ ท่ีจะฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลุผลตาม ผลการ เรียนรู้ โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ีเป็นเป้าหมายในหน่วยน้ันๆ เช่น กระบวนการ เรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ การแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์อยา่ งมีวิจารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรยี นรู้ที่มอบหมายให้ผู้เรียน ลงมือปฏิบตั ิน้ันจะตอ้ งนำไปสู่การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะสำคัญ และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรียนตามสาระการ เรียนร้ทู ี่กำหนดไว้ในแต่ละหน่วยการเรยี นรู้ 4 หลักการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย ผู้สอนต้องกำหนดข้ันตอนและวิธี ปฏบิ ัติให้ชัดเจน โดยเน้นใหผ้ ้เู รยี นไดล้ งมือฝกึ ฝนและฝกึ ปฏิบตั ิมากทีส่ ดุ ตามแนวคดิ และวิธีการสำคัญ คือ 1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญา ท่ีผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทำความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ สามารถนำเสนอผลงาน แสดงองคค์ วามรทู้ ี่เกิดข้นึ ในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรไู้ ด้
2) การสอน เป็นการเลือกวธิ ีการหรือกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยนนั้ ๆ และท่ีสำคัญคือ ต้อง เป็นวิธกี ารทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพผู้เรียน ผสู้ อนจงึ ต้องเลอื กใช้วธิ ีการสอน เทคนคิ การสอน และรูปแบบการ สอนอยา่ งหลากหลาย เพอื่ ช่วยใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรยี นรูไ้ ด้อยา่ งราบร่ืนจนบรรลุตัวชว้ี ัดทกุ ข้อ 3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและขั้นตอนฝึกปฏิบัติท่ีส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่าง เป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบโยนิโส มนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 4MAT รปู แบบการเรยี นการสอนแบบรว่ มมอื เทคนคิ JIGSAW, STAD, TAI, TGT 4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกบั เน้ือหาของบทเรยี น ความถนัด ความสนใจ และสภาพ ปัญหาของผูเ้ รียน วิธสี อนท่ีดีจะชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถบรรลผุ ลการเรียนรู้ตามในระดับผลสัมฤทธท์ิ ี่สงู เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาท สมมติ การใช้ กรณตี วั อย่าง การใชส้ ถานการณจ์ ำลอง การใชศ้ นู ยก์ ารเรียน การใชบ้ ทเรียนแบบโปรแกรม เปน็ ตน้ 5) เทคนิคการสอน ควรเลอื กใชเ้ ทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวธิ ีการสอน และช่วยให้ผเู้ รียนเข้าใจเนอื้ หาใน บทเรียนได้ง่ายขึ้น สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง มี ประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกม เทคนิคการใช้คำถาม การใช้ตัวอย่างกระตนุ้ ความคดิ การใช้สอื่ การเรยี นรูท้ นี่ ่าสนใจ เปน็ ตน้ 6) ส่ือการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทำความกระจ่างให้เน้ือหา สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่างราบรื่น เช่น ส่ือส่ิงพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เป็นตน้ ควรเตรียมสอื่ ใหค้ รอบคลุมท้ังส่ือการสอนของครูและสอ่ื การเรียนร้ขู องผู้เรียน 5 หลกั การจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู บบยอ้ นกลับตรวจสอบ เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรยี นรู้ รวมถึงกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนำ เทคนิควธิ ีการสอน วธิ ีจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และส่อื การเรียนรไู้ ปลงมือจดั การเรียนการสอน ซ่ึงจะนำผู้เรยี นไปสู่การ สร้างชิ้นงานหรือภาระงาน เกดิ ทักษะกระบวนการและสมรรถนะสำคัญตามธรรมชาติวิชา รวมท้ังคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีเป็นเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลำดับข้ันตอนการ เรียนรูท้ ่กี ำหนดไว้ ดงั นี้
จากเป้าหมายและ เป้าหมายการเรียนรขู้ องหน่วย หลกั ฐาน คดิ ยอ้ นกลับ หลักฐานชน้ิ งาน/ภาระงาน แสดงผลการเรยี นรขู้ องหนว่ ย สู่จุดเร่ิมต้น ของกิจกรรมการเรยี นรู้ 4 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ แสดงผลการเรยี นรู้ของหน่วย 3 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ จากกิจกรรมการเรียนรู้ 2 กิจกรรม คำถามชวนคิด ทีละข้นั บันได 1 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ สูห่ ลักฐานและ เปา้ หมายการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง ฝึกฝนกระบวนการคิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคการต้ังคำถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคำถามให้สัมพันธ์กับ เน้ือหาการเรียนรู้ ต้ังแต่ระดับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า และการ สร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซ้ึงแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อสอบ O-NET ซึ่งเป็นการทดสอบระดับชาติท่ีเน้นกระบวนการคดิ ระดับวิเคราะห์ด้วย และในแต่ละแผนการเรียนรู้จึงมีการ ระบุคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝนวิธีการทำข้อสอบ O-NET ควบคู่ไป กับการปฏิบัติกจิ กรรมการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ท่สี ำคญั ท้ังนี้การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และการ ประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตามผล การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางฯ การศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พร้อมท้ังออกแบบเครื่องมือการวัดและประเมินผล ตลอดจนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ ดา้ นต่างๆ ไวค้ รบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานดา้ นคุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคดิ วิเคราะห์ ด้านการ อ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จึงมั่นใจอย่างยิ่งว่า การนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีไปเป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วยพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุก ประการ คณะผจู้ ัดทำ
สารบญั สรปุ หลกั สูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ หนา้ ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง วิทยาศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชา พนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 พิเศษ 1-3 โครงสร้างรายวชิ า พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.1 พิเศษ 4-5 Pedagogy พิเศษ 6 โครงสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชา พน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พิเศษ 7 (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 พิเศษ 8-9 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ พเิ ศษ 10-12 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 แนวคิดหลักของเทคโนโลยแี ละระบบทางเทคโนโลยี 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 11 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 กระบวนการเทคโนโลยี 23 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 กระบวนการเทคโนโลยี 31 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี 41 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี 53 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 การเลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือ 67 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 ศึกษากรณีตัวอย่าง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 พัฒนาโครงงาน 72 81 90
สรปุ หลักสตู รฯ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ * มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชีว้ ดั กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดสาระการเรียนรู้ 4 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยี รวมทงั้ ยัง มสี าระเพ่ิมเตมิ อกี 4 สาระ ได้แก่ สาระชวี วิทยา สาระเคมี สาระฟสิ ิกส์ และสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ องค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นให้มีความ ต่อเน่ืองเช่ือมโยงกันต้ังแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ได้กำหนดตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางท่ีผู้เรียนจำเป็นตอ้ งเรียนเป็นพื้นฐาน เพ่ือให้สามารถนำ ความรู้ไปใชใ้ นการดำรงชีวิตหรอื ศกึ ษาตอ่ ได้ โดยจดั เรียงลำดบั ความยากง่ายของเนอื้ หาในแตล่ ะช้ันให้มีการเช่ือมโยง ความรู้กับกระบวนการเรยี นรู้ และการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุ เป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญท้ังทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะใน ศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ตัดสนิ ใจโดยใชข้ ้อมูลหลากหลายและประจักษพ์ ยานทตี่ รวจสอบได้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพ่ือให้มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกันภายใน สาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเช่ือมโยง เน้ือหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพ่ือให้มีความทันสมัยต่อการ เปล่ียนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการตา่ ง ๆ ทัดเทียมกบั นานาชาติ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์ สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก ชวี ภาพ กายภาพ และอวกาศ มาตรฐาน ว 1.1 - ว 1.3 มาตรฐาน ว 2.1 - ว 2.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 - ว 4.2 วิทยาศาสตร์เพ่มิ เตมิ - สาระชวี วิทยา - สาระเคมี - สาระฟสิ กิ ส์ - สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ * สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย, 2560) พิเศษ 1
พเิ ศษ 2
พเิ ศษ 3
ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง วิทยาศาสตร์* สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพือ่ การดำรงชวี ิตในสงั คมทมี่ ีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามร้แู ละทักษะ ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ม.1 1. อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ใน • เทคโนโลยี เป็นส่ิงที่มนุษย์สร้าง หรือพัฒนาข้ึน ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งชิ้นงาน ชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุ หรือวิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพ่ิมความสามารถ หรือปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลง ในการทำงานของมนุษย์ ของเทคโนโลยี • ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่าง ๆ ตั้งแต่สองส่วนข้ึนไปประกอบ เข้าด้วยกันและทำงานร่วมกันเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงาน ของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทาง เทคโนโลยีอาจมีข้อมูลยอ้ นกลับ (feedback) เพื่อใช้ปรับปรุงการทำงาน ได้ตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจ องค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้ เทคโนโลยที ำงานได้ตามตอ้ งการ • เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมี สาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญ หา ความต้องการ ความก้าวหนา้ ของศาสตรต์ ่าง ๆ เศรษฐกจิ สังคม 2. ระบุปัญหาหรือความต้องการใน • ปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวันพบได้จากหลายบริบทข้ึนกับ ชีวิต ประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ สถานการณ์ท่ปี ระสบ เช่น การเกษตร อาหาร ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ • การแก้ปัญหาจำเป็นต้องสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ ปัญหา ต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง เพ่ือนำไปสูก่ ารออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา 3. ออก แ บ บ วิธีก ารแ ก้ ปั ญ ห า โด ย • การวเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ และตัดสินใจเลอื กข้อมลู ที่จำเปน็ โดยคำนงึ ถึง วิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจ เงือ่ นไขและทรัพยากรที่มีอยู่ ช่วยให้ไดแ้ นวทางการแกป้ ญั หาท่เี หมาะสม เลือกขอ้ มูลทีจ่ ำเป็น นำเสนอแนวทาง • การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหาทำไดห้ ลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผน การเขียนแผนภาพ การเขียนผังงาน และดำเนินการแก้ปัญหา • การกำหนดข้ันตอนและระยะเวลาในการทำงานก่อนดำเนินการแก้ปัญหา จะช่วยให้ทำงานสำเร็จไดต้ ามเป้าหมาย พเิ ศษ 4
ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.1 4. ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่อง • การทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบช้ินงานหรือวิธีการว่า ท่ีเกิดขึ้น พร้อมทั้ งหาแนวทางการ สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์เพ่ือหาข้อบกพร่อง และดำเนนิ การ ปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการ ปรบั ปรงุ ให้สามารถแกไ้ ขปัญหาได้ แกป้ ัญหา • การนำเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเก่ียวกับ กระบวนการทำงานและช้ินงานหรือวิธกี ารที่ได้ ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การเขียนรายงาน การทำแผ่นนำเสนอผลงาน 5. ใช้ความรู้และทั กษะเกี่ ยวกั บวัสดุ • วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก จึงต้องมี อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรือ การวิเคราะหส์ มบตั ิ เพื่อเลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกับลักษณะของงาน อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง • การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั LED บซั เซอร์ มอเตอร์ วงจรไฟฟ้า • อุปกรณ์และเคร่ืองมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้ังร้จู ักเก็บ รกั ษา *สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั , 2560) พิเศษ 5
คำอธิบายรายวชิ า รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลา 20 ชัว่ โมง/ปี ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ระบุปัญหาหรอื ความต้องการในชีวติ ประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูล แนวคิดท่ี เก่ียวขอ้ งกบั ปัญหา การออกแบบวธิ กี ารแก้ปญั หา ตัดสินใจเลอื กข้อมูลท่จี ำเป็น นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผน ดำเนินการแก้ปัญหา ด้วยการทดสอบ ประเมินผล ระบุข้อบกพร่องที่เกิดข้ึน พร้อมท้ัง หาแนวทางการปรับปรงุ แก้ไข และนำเสนอผลการแก้ปัญหา เลอื กใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื กลไก ไฟฟา้ หรือ อิเล็กทรอนิกส์เพ่ือแก้ปัญหาได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภยั โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนรู้ แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ สถานการณก์ ารแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ และนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนา เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชวี ิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการส่ือสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู้ที่มี จิตวทิ ยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมในการใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ตัวช้ีวัด ว. 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 รวม 5 ตวั ชีว้ ัด พิเศษ 6
โครงสร้างรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 ลำดับ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา ที่ เรยี นรู/้ ตัวชวี้ ัด (ชม.) 1. เทคโนโลยกี ับมนุษย์ ว 4.1 ม.1/1 เทคโนโลยี เป็นส่ิงที่มนุษย์สร้าง หรือพัฒนาข้ึน ซึ่งอาจเป็นได้ทั้ง 5 ว 4.1 ม.1/2 ช้ินงาน หรือวิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพ่ิม ความสามารถ ในการทำงานของมนุษย์ เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกิจ สังคม ระบบทางเทคโนโลยี เป็นระบบท่ีประกอบด้วยการทำงานร่วมกัน ขององคป์ ระกอบทางเทคโนโลยี ซ่ึงองค์ประกอบทางเทคโนโลยที ่ีทำให้ เกิดระบบทางเทคโนโลยีมี 4องค์ประกอบหลักประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยอี าจมีขอ้ มูลยอ้ นกลบั (feedback) ผลกระทบของการพฒั นาเทคโนโลยี เช่น ด้านสิ่งแวดลอ้ ม เทคโนโลยีทำ ให้การคมนาคมมีความสะดวกสบายและใช้เช้ือเพลิงมากขึ้น ทำให้เกิดแก๊ส คาร์บอนไดออกไซดม์ ากขน้ึ จนกลายเปน็ ภาวะโลกรอ้ น 2. กระบวนการเทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/2 กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขั้นตอนการทำงานเพ่ือสร้างสิ่งของ 5 ว 4.1 ม.1/3 เครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งข้ึนมาเพ่ือแก้ปัญหาหรือสนอง ว 4.1 ม.1/4 ความต้องการของมนุษย์ กระบวนการเทคโนโลยี ประกอบด้วย 7 ขัน้ ตอน คือ ระบุปญั หา หรือความตอ้ งการ รวบรวมขอ้ มลู เลอื กวิธีการ แก้ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข ประเมินผล และนำเสนอผลงาน กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม มี 2 ส่วน คือ สว่ นทีน่ ำ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์กบั สว่ นทอ่ี อกแบบให้ ไดผ้ ลงานที่ต้องการ 3. ผลงานออกแบบและ ว 4.1 ม.1/5 การเลือกใช้วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์เทคโนโลยี 10 เทคโนโลยี โดยวัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติข้อจำกัดในการใช้ที่แตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติของวัสดุ เพ่ือเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับลักษณะของงานและเกิดประโยชน์กบั ผู้ใช้งานอยา่ งแท้จริง การสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เชน่ LED บซั เซอร์ มอเตอร์ วงจรไฟฟ้า การสร้างช้ินงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทง้ั รู้จักเก็บรกั ษา พิเศษ 7
Pedagogy ส่ือการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 ผู้จัดทำได้ ออกแบบการสอน (Instructional Design) อันเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอนท่ีเป่ียมด้วย ประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวช้ีวัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนท่ีหลักสูตรกำหนดไว้ โดยครู สามารถนำไปใช้จัดการเรยี นรใู้ นชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงในรายวิชานี้ ได้นำรูปแบบการสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) และรูปแบบการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) มาใช้ในการ ออกแบบการสอน ดงั น้ี รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหา ความรู้ และมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ผจู้ ดั ทำ จึงได้เลือกใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ซ่ึงเป็นขั้นตอนการเรียนรทู้ ่ีมุง่ ให้ผู้เรียนได้มี โอกาสสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลง มอื ทำ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือสำคัญเพ่ือ การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการ เรียนรู้แหง่ ศตวรรษที่ 21 วธิ สี อน (Teaching Method) ผู้จัดทำเลือกใช้วิธีสอนท่ีหลากหลาย เช่น การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุ่มย่อย เป็นต้น เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ให้เกิด ประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ ซ่งึ จะเนน้ ใชว้ ิธสี อนโดยใชก้ ารทดลองมากเป็นพเิ ศษ เนือ่ งจากเป็นวิธีสอนท่ีม่งุ พฒั นา ให้ผู้เรียนเกดิ องคค์ วามรู้จากประสบการณ์ตรงโดย การคิดและการลงมือทำด้วยตนเอง อันจะช่วยให้ผู้เรียน มคี วามรู้และเกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ท่ีคงทน เทคนคิ การสอน (Teaching Technique) ผู้จัดทำเลือกใช้เทคนิคการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเร่ืองที่เรียน เพ่ือส่งเสริมวิธีสอนให้มี ประสิทธิภาพมากข้ึน เช่น การใช้คำถาม การเล่นเกม เพื่อนช่วยเพ่ือน เป็นต้น ซึ่งเทคนิคการสอนต่างๆ จะ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขในขณะท่ีเรียนและสามารถปฏิ บัติกิจกรรมได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ รวมทั้งไดพ้ ัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 อีกดว้ ย พเิ ศษ 8
รูปแบบการสอนแบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-Base Learning ; PBL) ด้วยจุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนการ ออกแบบและเทคโนโลยี เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาวิธี คิด ฝึกทักษะการคิด แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลและเป็น ระบบ ผู้จัดทำจึงเลือกใช้ รูปแบบการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Base Learning ; PBL) ซึ่ง เป็นข้ันตอนการจัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งให้ ผู้เรียนสร้าง ค ว าม รู้ให ม่ จ าก ก ารใช้ ปั ญ ห าที่ เกิ ด ขึ้ น จ ริงใน ชีวิตประจำวัน โดยการจัดกิจกรรมที่เน้นทักษะ กระบวนการคิด แก้ปัญหา คิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล บันทึกและการอภิปรายการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็น ฐานจึงเป็นผลมาจากกระบวนการทำงาน ท่ีต้องอาศัย ความเขา้ ใจและการแก้ไขปัญหาเป็นหลัก ซ่งึ สอดคลอ้ ง กบั ธรรมชาตวิ ชิ าของวชิ าวทิ ยาการคำนวณ วิธีสอน (Teaching Method) การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Base Learning ; PBL) เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ี เน้นในส่ิงท่ีผู้เรียน ต้องการเรียนรู้โดยเร่ิมมาจากปัญหาที่ผู้เรียนสนใจ หรือพบในชีวิตประจำวันที่มีเนื้อหา เก่ียวข้องกับบทเรียน ซึ่งครูจะต้องมี การจัดแผนการเรียนรู้ตามความสนใจของผู้เรียนอย่างเหมาะสม เน้นท่ี กระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียน ปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ ง ผเู้ รยี นในกลุ่ม การปฏบิ ัติและการเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อนำไปสู่ การค้นคว้าหาคำตอบหรือสร้างความรูใ้ หมบ่ นฐานความร้เู ดิม เทคนิคการสอน (Teaching Technique) ผู้จัดทำเลือกใชเ้ ทคนคิ การสอนทีห่ ลากหลายเพ่อื ให้ผเู้ รยี นเกิดทักษะต่างๆ ทจี่ ำเปน็ ในการดำรงชีวิต โดย ปัญหาท่ี นำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เป็นปัญหาท่ีครูเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดจากสถานการณ์ แนวโน้มใน ชีวิตประจำวัน ข่าว เหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึน้ เป็นต้น ซึ่งเทคนิคการสอนต่างๆ จะช่วยให้ผู้เรียนฝึกทักษะการ คิดแก้ปั ญ ห าอย่างมีเห ตุผลและ เป็ นระบ บ รวมท้ังได้พั ฒ นาทักษ ะในศตวรรษ ท่ี 21 อีกด้วย พเิ ศษ 9
โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วิธสี อน/วธิ กี ารจัด 1. เทคโนโลยีกับมนุษย์ กิจกรรมการเรียนรู้ แผนท่ี 1 เทคโนโลยแี ละ แนวคิดหลักของ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es เทคโนโลยี (5Es Instructional Mode แผนที่ 2 ระบบผลกระทบ แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es และการ (5Es Instructional Mode เปล่ยี นแปลงของ เทคโนโลยี 2. กระบวนการเทคโนโลยี แผนท่ี 1 กระบวนการ แบบใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน เทคโนโลยี (Problem -based Learn พิเศษ 1
าศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 เวลา 20 ช่วั โมง ทักษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา (ชัว่ โมง) s - ทกั ษะการแก้ปญั หา - สังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรม el) - ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี Design Activity 2 วจิ ารณญาณ - ตรวจใบงานท่ี 1.1 เรื่อง 2 - ทักษะการสงั เกต แนวทางปฏิบัติในการแก้ปญั หา - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ - ตรวจแผนผังความคดิ 4 ประเภทของเทคโนโลยีใกล้ตวั s - ทักษะการแกป้ ญั หา - ตรวจการวิเคราะหข์ ้อมูล el) - ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี เกย่ี วกับระบบทางเทคโนโลยี - ตรวจใบงานท่ี 2.1 เร่ือง การ วิจารณญาณ วเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยี - ทกั ษะการสังเกต - ตรวจการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม Unit - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ Activity - ตรวจแบบฝกึ หดั เรอ่ื งเทคโนโลยี - ทักษะการแกป้ ญั หา กบั มนษุ ย์ ning) - ทกั ษะการคิดอย่างมี - สงั เกตการอภปิ รายการระบุ ปัญหา วจิ ารณญาณ หรอื ความตอ้ งการใน - ทักษะการสังเกต ชวี ิตประจำวนั - ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ - สังเกตการนำเสนอขอ้ มูล - ทกั ษะการสือ่ สาร เก่ยี วกบั ปัญหาและการเลือก วิธีการแก้ปญั หา ษ 10 1
หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วธิ ีสอน/วิธกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แผนที่ 2 วิวฒั นาการของ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es เทคโนโลยี (5Es Instructional Mode 3. ผลงานออกแบบและ แผนที่ 1 การเลือกใชว้ สั ดุ แบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es เทคโนโลยี อปุ กรณ์ และ (5Es Instructional Mode เครอ่ื งมือ พิเศษ 1
ทกั ษะที่ได้ การประเมนิ เวลา (ชว่ั โมง) s - ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี el) วจิ ารณญาณ - ตรวจใบงานท่ี 1.1 เร่ือง - ทักษะการสังเกต แนวทางในการดำเนนิ การแกไ้ ข - ทกั ษะการสือ่ สาร ปัญหา s - ทกั ษะการคดิ อยา่ งมี el) วจิ ารณญาณ - ตรวจการนำเสนอผลงาน - ทักษะการสงั เกต เก่ยี วกบั แนวทางในการ - ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ ดำเนนิ การแกไ้ ขปญั หา - ตรวจการปฏิบตั ิกิจกรรม Design Activity (1) - ตรวจการปฏบิ ตั ิกิจกรรม Design Activity (2) - ตรวจการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม Design Activity (3) - สังเกตการอภิปรายเกย่ี วกับ 1 ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี - ตรวจใบงานที่ 2.1 เร่ือง ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี - ตรวจการปฏบิ ัติกจิ กรรม Unit Activity - ตรวจแบบฝกึ หดั เร่อื ง กระบวนการเทคโนโลยี - สงั เกตการอภิปรายเกยี่ วกบั การ 2 จำแนกประเภทของวสั ดุ - ตรวจการนำเสนอผลงานเกย่ี วกบั การเลือกใชว้ ัสดุอุปกรณ์ และ เครือ่ งมอื ษ 11 1
หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ วิธสี อน/วธิ ีการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ แผนท่ี 2 ศกึ ษากรณีตวั อย่าง แบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน หมวกจกั รยาน (Problem - based Lear อัจฉริยะ และ หุน่ ยนตป์ ากกา แผนที่ 3 พัฒนาโครงงาน แบบใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project - based Learnin พิเศษ 1
ทกั ษะทไี่ ด้ การประเมนิ เวลา (ชั่วโมง) - ทกั ษะการแก้ปัญหา - ตรวจการปฏิบตั ิกิจกรรม rning) - ทักษะการคดิ อยา่ งมี Design Activity 4 - สังเกตการอภิปรายเกย่ี วกับ วิจารณญาณ ความร้ทู ไ่ี ด้จากกรณีศึกษา - ทักษะการสงั เกต - ตรวจแผนผังความคดิ ทีไ่ ดจ้ าก - ทักษะการนำความรไู้ ปใช้ กรณศี ึกษา - ทักษะการส่ือสาร - ทักษะการสือ่ สาร - สังเกตพฤติกรรมการทำโครงงาน 5 ng) - ทักษะการทำงานร่วมกนั รว่ มกนั ของผเู้ รยี น - ทักษะการใช้เทคโนโลยี - ตรวจสอบผลงานจากโครงงานที่ สารสนเทศ ผเู้ รยี นพฒั นา ษ 12 1
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เทคโนโลยีกบั มนุษย์ เวลา 4 ช่วั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมี ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึง ผลกระทบตอ่ ชีวิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม ว 4.1 ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยท่ี สง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 1) เทคโนโลยี เป็นส่ิงที่มนุษย์สร้าง หรือพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจเป็นได้ท้ังชิ้นงาน หรือวิธีการ เพื่อใช้แก้ปัญหา สนองความตอ้ งการ หรอื เพ่ิมความสามารถในการทำงานของมนุษย์ 2) ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลมุ่ ของส่วนต่างๆ ตง้ั แต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าดว้ ยกันและทำงานรว่ มกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลติ (output) ที่สมั พนั ธ์กัน นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูล ย้อนกลับ (feedback) เพ่ือใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ซ่ึงการวิเคราะห์ระบบทาง เทคโนโลยีชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจองค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี รวมถงึ สามารถปรบั ปรงุ ใหเ้ ทคโนโลยี ทำงานได้ตามตอ้ งการ 3) เทคโนโลยมี ีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมีสาเหตุหรอื ปัจจัยมาจากหลายด้าน เชน่ ปญั หา ความต้องการ ความกา้ วหน้าของศาสตร์ต่างๆ เศรษฐกิจ สังคม 4) ปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวันพบได้จากหลายบริบทข้ึนกับสถานการณ์ท่ีประสบ เช่น การเกษตร อาหาร 5) การแก้ปัญหาจำเป็นต้องสืบค้น รวบรวมข้อมูลความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือนำไปสู่การ ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา 2.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่ (พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 1
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ 3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เทคโนโลยี เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้าง หรือพัฒนาข้ึน ซ่ึงอาจเป็นได้ทั้งช้ินงาน หรือวิธีการ เพ่ือใช้แก้ปัญหา สนอง ความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ แต่ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไปประกอบเข้าด้วยกันและทำงานร่วมกันเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยการทำงานของระบบทาง เทคโนโลยีจะประกอบไปด้วย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และข้อมูลย้อนกลับ (feedback) การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี นอกจากน้ี ยังทำให้ทราบถงึ ส่วนที่ควรพฒั นาเพื่อสามารถปรบั ปรงุ ให้เทคโนโลยที ำงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพตามตอ้ งการ เทคโนโลยีมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาต้ังแต่อดีตจนถึงปจั จุบัน โดยมสี าเหตหุ รอื ปจั จยั มาจากหลายด้าน เช่น ปัญหาความต้องการความก้าวหน้าของศาสตร์ต่างๆ เศรษฐกิจ สังคม เป็นต้น ซึ่งปัญหาหรือความต้องการใน ชีวิตประจำวันพบได้จากหลายบริบทขึ้นกับสถานการณ์ท่ีประสบ เช่น การเกษตร อาหาร เป็นต้น ดังนั้น การแก้ปัญหา จำเป็นต้องสืบค้น และรวบรวมข้อมูลความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือนำไปสู่การออกแบบแนวทางการ แกป้ ัญหา 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี นิ ยั รับผดิ ชอบ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 1) ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ 2) ทักษะการคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ 3) ทักษะการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง แนวคิดหลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 2. ใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 3. PowerPoint เรื่อง ระบบทางเทคโนโลยี 4. ผงั มโนทัศน์ เร่ือง ประเภทของเทคโนโลยี 5. ผงั มโนทศั น์ เร่ือง ความสำคัญของเทคโนโลยกี ับมนุษย์ 6. ผงั มโนทัศน์ เร่อื ง ผลกระทบของการพัฒนาเทคโนโลยี 2
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนุษย์ 6. การวดั และการประเมนิ ผล รายการวัด วิธีวัด เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ ระดับคุณภาพ 2 6.1 การประเมนิ ชน้ิ งาน/ - ตรวจ PowerPoint ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง ระบบทาง แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ เทคโนโลยี - ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ใบงานท่ี 1.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจผงั มโนทัศน์ - ผลงานท่ีนำเสนอ ระดับคุณภาพ 2 - แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ เรื่อง ประเภทของ ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ เทคโนโลยี - ตรวจผงั มโนทศั น์ เรื่อง ความสำคัญของ เทคโนโลยกี ับมนุษย์ - ตรวจผงั มโนทศั น์ เร่อื ง ผลกระทบของ การพัฒนาเทคโนโลยี 6.2 การประเมนิ ก่อนเรยี น ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีกบั มนุษย์ 6.3 การประเมินระหว่างการ จดั กิจกรรม 1) แนวคดิ หลกั ของ - ตรวจใบงานท่ี 1.1 เทคโนโลยี และ ระบบทางเทคโนโลยี 2) ผลกระทบและการ - ตรวจใบงานท่ี 1.2 เปล่ยี นแปลงของ เทคโนโลยี 3) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ ผลงาน 4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม รายบุคคล การทำงานรายบคุ คล 3
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ รายการวดั วธิ วี ัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 5) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤตกิ รรมการ ผ่านเกณฑ์ การทำงานกล่มุ ระดบั คุณภาพ 2 กล่มุ ทำงานกลมุ่ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ 6) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมีวนิ ยั คุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์ รบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มน่ั ในการ ทำงาน 6.4 การประเมินหลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลังเรยี น ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - แบบทดสอบหลงั เรียน หลังเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง เทคโนโลยีกับ มนุษย์ 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ เวลา 3 ชว่ั โมง แผนฯ ท่ี 1 : แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี เวลา 1 ชวั่ โมง วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) (รวมเวลา 4 ชว่ั โมง) แผนฯ ท่ี 2 : ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) 8. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 หน่วยการ เรยี นรู้ที่ 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ 2) ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 3) ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี 4) PowerPoint เร่ือง เทคโนโลยีกบั มนุษย์ 8.2 แหลง่ เรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งสมุด 3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ 4
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไมใ่ ชค่ วามหมายของเทคโนโลยี 6. รถไถไร้คนขับ เป็นเทคโนโลยปี ระเภทใด 1. นวัตกรรมของมนษุ ย์ 1. เทคโนโลยีการศึกษา 2. สงิ่ ทมี่ นุษยส์ รา้ งขน้ึ เพื่อนำมาแก้ปญั หา 2. เทคโนโลยีการเกษตร 3. ความรแู้ ละทักษะที่มีต่อสงั คมของมนษุ ย์ 3. เทคโนโลยกี ารแพทย์ 4. การปรงุ แตง่ ของเกา่ ใหใ้ หมแ่ ละเหมาะสม 4. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 7. ส่วนใดของระบบทางเทคโนโลยีท่ีทำให้เกิดการ 2. ไอแพดเป็นเทคโนโลยีรปู แบบใด เปล่ียนแปลงทรัพยากรมาเป็นผลิตภัณฑ์ 1. ผลติ ภณั ฑ์ 1. ตวั ปอ้ น 2. กระบวนการ 2. ผลสะท้อนกลบั 3. รปู ธรรมแบบช้นิ งาน 3. ผลผลิตหรือผลลพั ธ์ 4. ผลิตภัณฑแ์ ละกระบวนการ 4. กระบวนการเทคโนโลยี 8. ส่วนใดของระบบทางเทคโนโลยีที่ตอบสนอง 3. ข้อใดเปน็ เทคโนโลยีท่ีสร้างขึน้ มาเพ่ือตอบสนอง ความต้องการของมนษุ ย์ ความจำเป็นของมนุษย์ 1. ตวั ป้อน 1. รองเทา้ วง่ิ 2. ผลสะท้อนกลับ 2. กลอ่ งดินสอ 3. ผลผลิตหรอื ผลลพั ธ์ 3. ปากกาลบคำผดิ 4. กระบวนการเทคโนโลยี 4. ยาพาราเซตามอล 9. สว่ นใดของระบบทางเทคโนโลยีที่ช่วยปรับปรุง ผลผลิตมีความสมบูรณ์ตามความต้องการมากขน้ึ 4. ข้อใดเปน็ เทคโนโลยที ส่ี รา้ งขึน้ มาเพ่ือตอบสนอง 1. ตวั ป้อน ความต้องการของมนษุ ย์ 2. ผลสะท้อนกลับ 1. อาหาร 3. ผลผลิตหรอื ผลลพั ธ์ 2. ทอี่ ยู่อาศยั 4. กระบวนการเทคโนโลยี 3. ยารักษาโรค 10. บรกิ ารธนาคารทางอนิ เตอรเ์ น็ตเปน็ ผลกระทบของ 4. สมารท์ โฟน การพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นใด 1. ดา้ นการเมือง 5. การประชุมทางวดี ิทศั น์ (video conference) 2. ด้านเศรษฐกจิ เปน็ เทคโนโลยีประเภทใด 3. ดา้ นวัฒนธรรม 1. เทคโนโลยีการศึกษา 4. ด้านส่งิ แวดล้อม 2. เทคโนโลยีการเกษตร 3. เทคโนโลยกี ารแพทย์ 4. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เฉลย 1. 4 2. 1 3. 4 4. 4 5. 4 6. 2 7. 4 8. 1 9. 2 10. 2 5
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ส่วนใดของระบบทางเทคโนโลยีที่ช่วยปรับปรุง 6. ขอ้ ใดเปน็ เทคโนโลยีที่สรา้ งข้ึนมาเพื่อตอบสนอง ผลผลิตมีความสมบูรณ์ตามความต้องการมากข้ึน ความตอ้ งการของมนษุ ย์ 1. ตวั ป้อน 1. อาหาร 2. ผลสะท้อนกลบั 2. ทอ่ี ยู่อาศยั 3. ผลผลิตหรอื ผลลัพธ์ 3. ยารักษาโรค 4. กระบวนการเทคโนโลยี 4. สมารท์ โฟน 2. รถไถไร้คนขบั เปน็ เทคโนโลยปี ระเภทใด 7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความหมายของเทคโนโลยี 1. เทคโนโลยีการศกึ ษา 1. นวัตกรรมของมนษุ ย์ 2. เทคโนโลยกี ารเกษตร 2. ส่งิ ทม่ี นษุ ยส์ ร้างข้ึนเพ่ือนำมาแกป้ ัญหา 3. เทคโนโลยกี ารแพทย์ 3. ความรแู้ ละทักษะท่ีมตี ่อสังคมของมนุษย์ 4. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 4. การปรงุ แตง่ ของเกา่ ใหใ้ หม่และเหมาะสม 3. บรกิ ารธนาคารทางอินเตอรเ์ น็ตเป็นผลกระทบของ 8. ไอแพดเป็นเทคโนโลยรี ูปแบบใด การพฒั นาเทคโนโลยดี ้านใด 1. ผลิตภณั ฑ์ 1. ดา้ นการเมือง 2. กระบวนการ 2. ด้านเศรษฐกิจ 3. รูปธรรมแบบชนิ้ งาน 3. ด้านวัฒนธรรม 4. ผลติ ภณั ฑ์และกระบวนการ 4. ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 9. การประชุมทางวีดทิ ศั น์ (video conference) 4. ส่วนใดของระบบทางเทคโนโลยีท่ีทำให้เกิดการ เปน็ เทคโนโลยปี ระเภทใด เปล่ียนแปลงทรัพยากรมาเป็นผลิตภัณฑ์ 1. เทคโนโลยกี ารศกึ ษา 1. ตัวปอ้ น 2. เทคโนโลยีการเกษตร 2. ผลสะท้อนกลบั 3. เทคโนโลยกี ารแพทย์ 3. ผลผลติ หรอื ผลลพั ธ์ 4. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4. กระบวนการเทคโนโลยี 10. ข้อใดเป็นเทคโนโลยีทสี่ ร้างขึ้นมาเพอ่ื ตอบสนอง 5. สว่ นใดของระบบทางเทคโนโลยีท่ีตอบสนอง ความจำเปน็ ของมนุษย์ ความต้องการของมนษุ ย์ 1. รองเทา้ วง่ิ 1. ตัวปอ้ น 2. กลอ่ งดนิ สอ 2. ผลสะทอ้ นกลับ 3. ปากกาลบคำผิด 3. ผลผลติ หรือผลลพั ธ์ 4. ยาพาราเซตามอล 4. กระบวนการเทคโนโลยี เฉลย 1. 2 2. 2 3. 2 4. 4 5. 1 6. 4 7. 4 8. 1 9. 4 10. 4 6
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเน้ือหา 2 ความคิดสรา้ งสรรค์ 3 วิธกี ารนำเสนอผลงาน 4 การนำไปใชป้ ระโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมิน ............/................./................... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เป็นสว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง 7
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผ้อู น่ื 3 การทำงานตามหน้าท่ีทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4 ความมนี ำ้ ใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่อื ................................................... ผูป้ ระเมิน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรุง 8
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ คำชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน ลำดบั ท่ี ช่อื –สกลุ การแสดง การยอมรบั การทำงาน ความมนี ้ำใจ การมี รวม ของนักเรียน ความคิดเหน็ ฟงั คนอน่ื ตามที่ไดร้ ับ ส่วนร่วมใน 15 มอบหมาย การปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกล่มุ 321321321321321 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอื่ ................................................... ผู้ประเมิน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ............./.................../............... ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง 9
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อันพึงประสงค์ดา้ น 321 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมทส่ี ร้างความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ต่อโรงเรียน 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบตั ิตามหลกั ศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมทเี่ กี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ต์ ามทโี่ รงเรยี นจัดขึ้น 2. ซือ่ สัตย์ สุจริต 2.1 ให้ขอ้ มูลทถี่ กู ตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ิในสิง่ ที่ถกู ตอ้ ง 3. มีวินยั รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของครอบครัว มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 ร้จู กั ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏิบัตไิ ด้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เช่ือฟงั คำสง่ั สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตัง้ ใจเรียน 5. อยู่อย่างพอเพยี ง 5.1 ใชท้ รพั ย์สินและสิง่ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด 5.2 ใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นอย่างประหยัดและรคู้ ุณค่า 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยดั และมีการเก็บออมเงิน 6. ม่งุ มั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพอื่ ให้งานสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มจี ิตสำนึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครูทำงาน 8.2 รู้จักการดูแลรกั ษาทรพั ยส์ มบัตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น ลงชอ่ื .................................................. ผูป้ ระเมนิ ............/.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ดั เจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน 51–60 ดมี าก พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิบางครั้ง ให้ 1 คะแนน 41–50 ดี 30–40 พอใช้ ตำ่ กวา่ 30 ปรบั ปรงุ 10
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนุษย์ แผนฯ ท่ี 1 แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี เวลา 3 ช่ัวโมง 1. มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด ว 4.1 ม.1/1 อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวันและวิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยีและแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชวี ิตประจำวนั ได้ (K) 2. บอกรูปแบบเทคโนโลยี ประเภทของเทคโนโลยี และองคป์ ระกอบของระบบทางเทคโนโลยีได้ (K) 3. อธบิ ายเกีย่ วกับระบบการทำงานของเทคโนโลยไี ด้ (P) 4. วเิ คราะห์สาเหตุ หรอื ปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยไี ด้ (P) 5. เห็นคณุ ประโยชนข์ องการเรียนวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนกั ในคุณค่าของความรู้ทาง เทคโนโลยีท่ใี ช้ในชีวติ ประจำวัน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่ิน - เทคโนโลยี เป็นส่ิงที่มนุษย์สร้าง หรือพัฒนาข้ึน ซึ่งอาจเป็นได้ท้ัง พิจารณาตามหลกั สตู รของ ช้ินงาน หรือวิธีการ เพ่ือใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพ่ิม สถานศึกษา ความสามารถในการทำงานของมนุษย์ - ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแต่สองส่วนขึ้นไป ประกอบเข้าด้วยกันและทำงานร่วมกันเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบทางเทคโนโลยีจะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน นอกจากนี้ ระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพ่ือใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งการวิเคราะห์ ระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของ เทคโนโลยี รวมถึงสามารถปรับปรุงให้เทคโนโลยีทำงานได้ตาม ต้องการ - เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่ง มีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ตา่ งๆ เศรษฐกจิ สงั คม 11
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนุษย์ แผนฯ ที่ 1 แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เทคโนโลยี เป็นส่ิงที่มนุษย์สร้างหรือพัฒนาขึ้น ซ่ึงอาจเป็นได้ท้ังชิ้นงาน หรือวิธีการ เพ่ือใช้แก้ปัญหา สนอง ความต้องการ หรือเพ่ิมความสามารถในการทำงานของมนุษย์ ส่วนระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุ่มของส่วนต่างๆ ตั้งแต่สองส่วนข้ึนไปประกอบเข้าด้วยกนั และทำงานรว่ มกนั เพ่อื ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ โดยในการทำงานของระบบทาง เทคโนโลยจี ะประกอบไปด้วยตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) และผลผลิต (output) ทส่ี ัมพันธก์ ัน นอกจากน้ีระบบทางเทคโนโลยีอาจมีข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพ่ือใช้ปรับปรุงการทำงานได้ตาม วัตถุประสงค์ ซ่ึงการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบและการทำงานของเทคโนโลยี รวมถึง สามารถปรับปรุงให้เทคโนโลยีทำงานได้ตามต้องการ เทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัยมาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา ความต้องการ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่างๆ เศรษฐกิจ สังคม 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินยั รบั ผิดชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 1) ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 2) ทักษะการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคดิ อย่างเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 ข้ันนำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูนำท่ีเปิดกระป๋องมาให้นักเรียนดู แล้วสอบถามนักเรียนว่า “สิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้คืออะไร และมี ความสำคัญกับการใช้ชีวิตประจำวันของนักเรียนหรือไม่ อย่างไร” แล้วครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียน เข้าใจว่า อุปกรณ์ชิ้นน้ีคือ ที่เปิดกระป๋อง เป็นเทคโนโลยีที่อยู่ใกล้ตัวเราที่ถูกสร้างข้ึนมาเพื่ออำนวยความ สะดวกในการใช้ชีวิตประจำวันของเรา จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาซักถามเกี่ยวกับภาพที่คั้น นำ้ มะนาวในหนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 2 12
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ แผนฯ ท่ี 1 แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 2. ครูสุ่มนักเรียน 3 – 4 คน ยกตัวอย่างส่ิงประดิษฐ์ใกล้ตัวที่ร้จู ัก พร้อมทั้งบอกว่าสิ่งประดิษฐ์นั้นเป็นเทคโนโลยี ใกล้ตัวทชี่ ว่ ยอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวนั อยา่ งไร 3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า เทคโนโลยี เป็นส่ิงท่ีมนุษย์สร้างหรือพัฒนาข้ึนเพ่ือใช้ในการแก้ปัญหา ตอบสนองความต้องการ หรือเพม่ิ ความสามารถในการทำงานของมนุษย์ ซึง่ อาจเปน็ ไดท้ ้งั ชิ้นงาน หรอื วธิ ีการ 4. นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 5. ครูถามคำถามกระตุ้นความคิด จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 3 ว่า เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของมนุษย์อย่างไร แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และตอบคำถาม (แนวตอบ : เทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา เพราะโดยปกติมนุษย์ จะพบกับปัญหาตา่ งๆ ในการดำรงชีวิตประจำวนั ทำให้มนษุ ยต์ ้องหาแนวทางในการแกป้ ัญหา ไม่ว่าจะเป็น การคิดหาวิธีการ (process) หรือสร้างชิ้นงาน(product) ขึ้นมาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา และทำให้การ ดำรงชีวติ มีความสะดวกสบายมากข้ึน ซึ่งเม่ือเวลาผ่านไปปัญหาต่างๆ ของมนุษย์ก็จะเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ทำให้ เกิดการสร้างเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือพัฒนาเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิมให้ตอบโจทย์กับปัญหาต่างๆ ทม่ี นุษย์พบใน ชีวิตประจำวนั มากข้นึ ) ขนั้ สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ ความหมายและรูปแบบของเทคโนโลยี 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่สืบค้นได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปลงในกระดาษ A4 แล้ว นำมาส่งครเู พ่อื ให้ครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง 3. ครูสนทนากบั นักเรียนเก่ียวกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยีในด้านต่างๆ มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของ มนุษย์หรือไม่ อย่างไร จากน้ันร่วมกันสรุปว่า วิวัฒนาการของเทคโนโลยีมีความจำเป็น เพราะปัญหาและ ความตอ้ งการของมนษุ ย์มีมากข้ึนตามลำดับ จงึ จำเปน็ ต้องพัฒนาเทคโนโลยีดง้ั เดิมท่มี ีอย่ใู หด้ ีขึ้นตามลำดับ เพื่อใช้แก้ปญั หาและสนองความต้องการของมนษุ ย์ที่เกิดขึ้นทั้งในอดีต ปัจจุบนั และในอนาคต 4. ครตู งั้ คำถาม แลว้ สุ่มตัวแทนแต่ละกลุ่มตอบคำถาม ดังน้ี วิวัฒนาการของเทคโนโลยีมีขีดจำกัดหรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ : ไม่มีขีดจำกัด เพราะมนุษย์มีปัญหาและความต้องการความสะดวกสบายอยู่ ตลอดเวลา จึงทำให้มนุษย์พัฒนาเทคโนโลยีใหม่อยู่ตลอดเวลา โดยจะใช้เทคโนโลยีด้ังเดิมเป็นแบบ ในการพัฒนา เพื่อให้มีความก้าวหน้าและสามารถใช้แก้ปัญหาและสนองความต้องการของมนุษย์ในแต่ละ ยคุ สมัยอย่างต่อเน่ืองไรข้ ดี จำกัด เช่น ยานยนต์ เครอ่ื งมือการสื่อสาร เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าต่างๆ เปน็ ตน้ ) 13
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ แผนฯ ที่ 1 แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี สาเหตสุ ำคญั ท่ที ำใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี คืออะไร (แนวตอบ : ความต้องการความสะดวกสบายที่เพิ่มมากขึ้นของมนุษย์ ปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ ความตอ้ งการพฒั นาเทคโนโลยีเดิมให้มีประสิทธิภาพมากขน้ึ ) รูปแบบของเทคโนโลยีมีกร่ี ปู แบบ อะไรบา้ ง แต่ละรปู แบบมลี กั ษณะสำคัญอย่างไร (แนวตอบ : 3 รูปแบบ ได้แก่ 1. รูปแบบผลิตภัณฑ์ (product) 2. รูปแบบกระบวนการ (process) 3. รปู แบบผลติ ภัณฑ์และกระบวนการ (product and process) โดยแต่ละรูปแบบมีลกั ษณะท่ีสำคัญ คือ 1. รูปแบบผลิตภัณฑ์ เป็นเทคโนโลยีท่ีมีลักษณะเป็นชิ้นงาน วัสดุ หรืออุปกรณ์ท่ีช่วยเพิ่มความ สามารถในการทำงาน 2. รูปแบบกระบวนการ เป็นเทคโนโลยีท่ีมีการทำงานเป็นกระบวนการ หรือมี การจัดลำดับขั้นตอนในการทำงาน 3. รูปแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการ เป็นเทคโนโลยีที่มีการ ผสมผสานกันของผลติ ภัณฑ์และกระบวนการ) 5. นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายสรุปเกย่ี วกับความหมายและรปู แบบของเทคโนโลยี ชวั่ โมงที่ 2 ข้นั สอน (ต่อ) สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคำถามกระตุ้นความคิด จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 6 ว่า เทคโนโลยีช่วยในการแก้ปัญหาอย่างไร (แนวตอบ : เทคโนโลยีช่วยในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ เพราะเทคโนโลยีเกิดจากการนำความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างเป็นเป็นผลิตภัณฑ์ หรือสร้างสรรค์วิธีการสำหรับใช้ในการแก้ปัญหาของ มนุษย์ ซ่ึงผู้สร้างเทคโนโลยีจะต้องมีความรู้เก่ียวกับส่ิงท่ีจะสร้าง มีทักษะในการสร้าง และมีทรัพยากร สำหรับใช้ในการสร้าง ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ หรือวิธีการท่ีสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา อำนวยความสะดวก หรือเพม่ิ ศกั ยภาพในการทำงานของมนุษย์มากยง่ิ ขน้ึ ) 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับแนวคิดหลักของเทคโนโลยี แล้วร่วมกัน อภปิ รายเก่ยี วกบั ข้อมลู ท่สี ืบคน้ ได้ภายในกลุ่ม 3. ครูนำป้ายกระดาษท่ีเขียนคำว่า “แนวคิดหลักของเทคโนโลยีที่เกิดจากการพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการ แก้ปัญหา” และ “แนวคิดหลักของเทคโนโลยีท่ีเกิดจากการตอบสนองความจำเป็นและความต้องการ ของมนุษย”์ ไปตดิ ไว้บรเิ วณหน้าและหลังห้องเรียน 4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มย่อยแบ่งหน้าท่ีรับผิดชอบในการ อภิปรายหัวข้อทั้ง 2 ประเด็น ที่ครูติดไว้บริเวณหน้าและหลังห้องเรียน ร่วมกับสมาชิกกลุ่มอื่น ครู กำหนดเวลาในการร่วมอภิปราย 5 นาที 5. ตัวแทนกลุ่มย่อยของแต่ละกลุ่มกลับเข้ากลุ่มเดิม แล้วผลัดกันสรุปความรู้ท่ีได้รับจากการร่วมอภิปรายกับ สมาชิกของกลมุ่ อื่นใหส้ มาชกิ ภายในกลุม่ ฟัง 14
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แผนฯ ที่ 1 แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรเู้ กี่ยวกับแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี และช่วยกันยกตัวอย่างแนวคิดหลัก ของเทคโนโลยีที่เกิดจากการพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการแก้ปัญหา และการตอบสนองความจำเป็นและความ ตอ้ งการของมนุษย์ 7. ครตู ง้ั คำถามให้นกั เรียนชว่ ยกันตอบ ดังนี้ แนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเกิดจากอะไรบา้ ง (แนวตอบ : 1. การพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการแก้ปัญหา 2. การตอบสนองความจำเปน็ และความตอ้ งการของมนษุ ย์) ปัจจัยสำคญั สำหรบั ผ้ทู น่ี ำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการแกป้ ญั หา ไดแ้ ก่ปัจจยั ใดบา้ ง (แนวตอบ : 1. ความรู้ คือ ข้อมูลท่ีเราจำเป็นต้องรู้ก่อนเริ่มสร้าง หรือทำบางสิ่ง 2. ทักษะ คือ ส่ิงท่ีผู้ใช้เทคโนโลยีจำเป็นต้องมี เพื่อที่จะสามารถผลิตบางสิ่ง หรือ สรา้ งบางสิง่ ได้ 3. ทรัพยากร คือ วัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือท่ีจำเป็นท่ีนำมาใช้สร้างสิ่งที่ช่วย แกป้ ญั หา) เทคโนโลยีที่สร้างข้ึนเพื่อสนองความจำเป็นและสนองความต้องการของมนุษย์มีความแตกต่างกัน อย่างไร (แนวตอบ : เทคโนโลยีที่สร้างข้ึนเพ่ือสนองความจำเป็น (needs) คือ เทคโนโลยีท่ีมนุษย์ขาด ไม่ได้ สร้างข้ึนมาเพ่ือช่วยให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ไม่ประสบความยากลำบากในการใช้ชีวิต หรือเสียชีวิตก่อนวัยอนั สมควร เชน่ ท่ีอยอู่ าศยั อาหาร เคร่ืองน่งุ ห่ม ยารกั ษาโรค เป็นต้น เทคโนโลยีทสี่ รา้ งข้ึนเพือ่ สนองความต้องการ (wants) คือ เทคโนโลยีที่มนษุ ย์ขาดได้ สรา้ งขน้ึ มา เพื่อช่วยให้มนุษย์ดำรงชีวิตได้สะดวกสบายมากขึ้น เช่น เครื่องบินช่วยให้เดินทางได้รวดเร็วขึ้น โทรศพั ท์ชว่ ยใหต้ ิดต่อส่ือสารกนั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เป็นต้น) 8. นักเรียนแต่ละคนทำกิจกรรม Design Activity จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและ เทคโนโลยี ม.1 หน้า 8 จากนั้นครูสุ่มถามคำตอบของนักเรียนเป็นรายบุคคลทีละภาพ จนครบทุกภาพ โดยระหว่างที่นักเรียนตอบ ให้เพื่อนนักเรียนคนอื่นๆ และครูร่วมกันพิจารณาคำตอบ เพื่อตรวจสอบ ความถูกต้อง และร่วมกันอภิปรายเพ่ือหาข้อสรุปร่วมกัน 9. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม แล้วร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับประเภทของเทคโนโลยี จากน้ันให้แต่ละ กลมุ่ ร่วมกันอภิปรายและสรปุ ความรู้เป็นผังมโนทศั นล์ งในกระดาษ A4 ตามประเดน็ ดังนี้ ความจำเป็นในการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน ตัวอยา่ งเทคโนโลยที ี่นำมาใช้ ข้อจำกัดในการนำมาใช้ แล้วรว่ มกันออกแบบวิธกี ารนำเสนอผลงานท่ีน่าสนใจ 15
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนุษย์ แผนฯ ที่ 1 แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานตามที่ได้ออกแบบเอาไว้ทีละกลุม่ จนครบทกุ กลุ่ม เม่ือ แต่ละกล่มุ เสนอผลงานจบแลว้ ให้นำผลงานไปติดไวต้ ามบริเวณรอบๆ ห้องเรยี น 2. ครูให้เวลานักเรียน 3 นาที ในการเดินชมผลงานของกลุ่มอื่นๆ เพ่ือเปรียบเทียบกับผลงานของกลุ่มตนเอง จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันวเิ คราะห์ความจำเป็นของเทคโนโลยีประเภทต่างๆ กับการใชช้ ีวิตประจำวนั ของ นักเรียน โดยรว่ มกันสรุปเป็นประเด็นให้ครูบนั ทึกบนกระดาน 3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่า นอกจากประเภทของเทคโนโลยีท่ีกล่าวมา ยังมีเทคโนโลยีประเภทอ่ืนๆ อีกมากมาย ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ทุกคนต้องการความสะดวกสบาย ดังน้ัน จะพบว่า เราสามารถพบเทคโนโลยีไดต้ ลอดเวลาตั้งแตต่ ื่นนอนจนถึงเขา้ นอน ชวั่ โมงท่ี 3 ข้ันสอน (ต่อ) อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันหาคำตอบว่า นักเรียนรู้หรือไม่ว่า เทคโนโลยีกับระบบเทคโนโลยี เหมือนหรือต่างกันอย่างไร (แนวตอบ : ต่างกัน เพราะเทคโนโลยี คือ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพ่ือใช้แก้ปัญหาหรือสนองความ ตอ้ งการของมนษุ ย์ ท่อี ยู่ในรปู ของชิ้นงาน หรอื วธิ กี าร ส่วนระบบเทคโนโลยี คอื ระบบที่มนษุ ยส์ ร้างขนึ้ โดย อาศัยองค์ประกอบหลักทางเทคโนโลยีที่สำคัญ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ตัวป้อน กระบวนการเทคโนโลยี ผลผลติ หรอื ผลลพั ธ์ และผลสะท้อนกลบั ) 2. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม แล้วให้ร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเรื่อง ระบบทางเทคโนโลยี ตาม ประเด็นท่ีกำหนดให้ ดังนี้ ความหมายของระบบทางเทคโนโลยี องค์ประกอบหลักของเทคโนโลยี ตวั อย่างขององค์ประกอบต่างๆ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าตามประเด็นที่กำหนด แล้วอภิปรายร่วมกันเพ่ือหาข้อสรุป แล้วจัดทำ เป็น PowerPoint จำนวน 10 – 15 หน้า โดยครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มต้ังชื่อเรื่องท่ีนำเสนอได้อย่างอิสระ ซง่ึ ชื่อเรอ่ื งจะต้องสอดคล้องกับเนอื้ หาที่นำเสนอ เช่น รอบรู้เรือ่ งระบบทางเทคโนโลยี ระบบเทคโนโลยีนา่ รู้ เปน็ ต้น 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอความรู้เร่ือง ระบบทางเทคโนโลยี โดยใช้ PowerPoint ประกอบการ นำเสนอ ขณะที่นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำเสนอให้ครูคอยแนะนำและเสริมข้อมลู ท่ีถกู ต้องใหน้ ักเรยี น 5. ครูถามคำถามกระตุ้นความคิด จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 11 ว่า ส่วนใดของระบบทางเทคโนโลยีที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 16
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เทคโนโลยกี บั มนุษย์ แผนฯ ท่ี 1 แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี (แนวตอบ : ผลผลิต (output) หรือ ผลลัพธ์ (outcome) เป็นผลท่ีได้จากกระบวนการแก้ปัญหา เชน่ ผลติ ภัณฑห์ รือวธิ ีการใหม่ๆ ท่ีสนองความจำเปน็ ในชวี ิตประจำวันหรอื ความตอ้ งการของมนุษย์ ซ่ึงชว่ ย ให้สามารถทำงานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลมากขึ้น) 6. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับประสิทธภิ าพในการทำงานของระบบเทคโนโลยี ดังน้ี การที่ระบบเทคโนโลยีจะ สามารถทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพน้ัน ผู้ใช้จะต้องสามารถวิเคราะห์การทำงานของเทคโนโลยีได้ เช่น การตรวจสอบและประเมินผลการทำงานของระบบเทคโนโลยีทุกองค์ประกอบว่ามีการทำงานอย่าง เป็นระบบหรือไม่ มีข้อบกพร่องอย่างไร นอกจากน้ี การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยียังทำให้ทราบ ข้อผิดพลาดที่เกิดข้ึนและข้อท่ีจะต้องดำเนินการแก้ไข ซ่ึงส่งผลให้เกิดระบบเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ และยัง่ ยืน และยงั ทำให้เห็นผลกระทบทางเทคโนโลยที สี่ ง่ ผลตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มด้วย 7. ครูและนักเรียนดูตัวอย่าง การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของไมโครเวฟ จากหนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 14 แล้วรว่ มกนั วิเคราะห์ 8. นักเรียนทำกิจกรรม Design Activity จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 15 เสร็จแล้วนำส่งครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง ขนั้ สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูเปิด PowerPoint เร่ือง เทคโนโลยีกับมนุษย์ ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุป ตามประเดน็ ดังน้ี เทคโนโลยีคืออะไร อธิบายความหมาย ความสำคัญ วิวัฒนาการของเทคโนโลยี และการใช้เทคโนโลยี ในชวี ติ ประจำวัน แนวคิดหลักของเทคโนโลยคี อื อะไร อธบิ ายแนวคิดหลกั จากการพฒั นาแนวทางปฏบิ ัตใิ นการแกป้ ัญหา และการตอบสนองความจำเปน็ และความต้องการของมนุษย์ พร้อมยกตัวอย่าง ประเภทของเทคโนโลยีท่ีสำคัญต่อการดำรงชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง บอกประเภทของเทคโนโลยีท่ีมี ความสำคญั ต่อการดำรงชีวติ ประจำวัน พรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ ระบบทางเทคโนโลยีมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตอย่างไร บอกองค์ประกอบหลักของระบบทาง เทคโนโลยี อธิบายลกั ษณะเฉพาะขององคป์ ระกอบหลกั แต่ละสว่ น 2. ครูให้นักเรียนสอบถามเพ่ิมเติมเกี่ยวกับเน้ือหาใน PowerPoint ที่ยังไม่เข้าใจ แล้วให้ความรู้เพิ่มเติมใน ส่วนนน้ั 3. ครูใหน้ ักเรยี นทำใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี เมื่อทำเสร็จแล้ว ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยคำตอบ 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนสรุปความรู้เรื่อง ความสำคัญของเทคโนโลยีกับมนุษย์ เป็นผังมโนทัศน์ ลงใน กระดาษ A4 เสรจ็ แลว้ นำส่งครู 17
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ แผนฯ ท่ี 1 แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ครตู รวจและประเมนิ ผลใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 3. ครูตรวจและประเมินผล PowerPoint เร่อื ง ระบบทางเทคโนโลยี 4. ครตู รวจและประเมนิ ผลผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง ประเภทของเทคโนโลยี 5. ครูตรวจและประเมนิ ผลผงั มโนทัศน์ เร่อื ง ความสำคัญของเทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ 6. ครปู ระเมนิ ผล โดยสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และการนำเสนอผลงาน 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวัด วธิ ีวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินก่อนเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพจรงิ - แบบทดสอบก่อนเรยี น กอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง เทคโนโลยีกับมนษุ ย์ 7.2 การประเมนิ ระหว่างการ จดั กจิ กรรม 1) แนวคิดหลักของ - ตรวจใบงานที่ 1.1 - ใบงานท่ี 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เทคโนโลยี และระบบทาง เทคโนโลยี 2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานท่ีนำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ 5) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความมีวินยั - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 อนั พึงประสงค์ รับผิดชอบ ใฝเ่ รียนรู้ คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ และมุ่งมนั่ ในการ อนั พงึ ประสงค์ ทำงาน 18
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ แผนฯ ท่ี 1 แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 หน่วยการ เรียนรูท้ ี่ 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ 2) ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง แนวคิดหลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 3) PowerPoint เร่ือง เทคโนโลยีกบั มนุษย์ 8.1 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) หอ้ งสมุด 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 19
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เทคโนโลยกี บั มนุษย์ แผนฯ ที่ 1 แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี ใบงานที่ 1.1 เร่ือง แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี คำช้ีแจง : เตมิ ขอ้ ความหรือความหมายของคำลงในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง 1. แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี คอื 2. แนวคิดหลักของเทคโนโลยี มีดงั น้ี 1) การพัฒนาแนวทางปฏิบตั ิในการแก้ปัญหา คือ 2) การตอบสนองความจำเปน็ และความต้องการของมนุษย์ คือ 3. ระบบทางเทคโนโลยี คอื 4. องคป์ ระกอบหลกั ของเทคโนโลยี มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) 2) 3) 4) 20
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ เฉลย แผนฯ ท่ี 1 แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี คำชี้แจง : เติมขอ้ ความหรือความหมายของคำลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง 1. แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี คอื แนวคิดที่เป็นสาเหตุทท่ี ำให้มนุษย์ในแต่ละยคุ สมัยสรา้ งหรอื พัฒนาเทคโนโลยี ข้นึ มาเพื่อใช้แก้ปญั หา สนองความตอ้ งการ หรอื เพ่มิ ความสามารถในการทำงานของมนุษย์ให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึ้น 2. แนวคิดหลักของเทคโนโลยี มดี ังน้ี 1) การพัฒนาแนวทางปฏิบัตใิ นการแกป้ ญั หา คือ การนำเทคโนโลยีเขา้ มาใชใ้ นการแก้ปญั หา เมอ่ื มนุษยพ์ บเจอ กบั ปัญหาทีย่ ากเกินกว่าจะแก้ไขด้วยตนเองได้ ดังน้ันจึงมีการนำเทคโนโลยเี ข้ามาใช้ในการแกป้ ญั หา โดยสิ่งสำคัญ สำหรับผทู้ ี่นำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการแกป้ ญั หาต้องมี คือ ความรู้ ทักษะ และทรพั ยากร 2) การตอบสนองความจำเป็นและความต้องการของมนุษย์ คือ การสรา้ งเทคโนโลยีข้นึ มาเพ่ือใช้ตอบสนอง ความตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยสามารถจำแนกประเภทของเทคโนโลยีท่ีสร้างขึ้นมาออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1. เทคโนโลยีท่จี ำเปน็ (needs) คือ ส่ิงท่ีมนุษย์ขาดไม่ได้ เชน่ ทีอ่ ยู่อาศยั อาหาร เครือ่ งน่งุ ห่ม ยารักษาโรค เป็นตน้ 2. เทคโนโลยีทตี่ อ้ งการ (wants) คือ สิง่ ที่มนุษยข์ าดไดใ้ นการดำรงชวี ติ แตส่ ร้างเพื่อความสะดวกสบายใน การดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ เชน่ โทรศัพท์ โทรทัศน์ รถยนต์ หม้อหงุ ข้าวไฟฟ้า เปน็ ตน้ 3. ระบบทางเทคโนโลยี คือ ระบบท่ปี ระกอบด้วยองคป์ ระกอบทางเทคโนโลยีท่ีทำงานรว่ มกนั จนเกิดเป็นระบบ เทคโนโลยี 4. องคป์ ระกอบหลกั ของเทคโนโลยี มี 4 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) ตวั ป้อน (input) คือ ความต้องการหรอื ปัญหาทีเ่ กิดจากความจำเปน็ ของมนุษยใ์ นการดำรงชีวิตอย่ใู นสังคม อย่างมีความสขุ โดยตวั ป้อนจะตอบสนองความต้องการพนื้ ฐานของมนุษย์ 2) กระบวนการเทคโนโลยี (technological process) คอื กระบวนการท่ที ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงจาก ทรพั ยากรมาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ โดยมีข้นั ตอนท้ังหมด 7 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ 1. ระบุปัญหาหรือความตอ้ งการ 2. รวบรวมข้อมลู 3. เลือกวธิ กี าร 4. ออกแบบวิธีการ 5. ทดสอบ 6. ปรับปรุง แก้ไข และประเมินผล 7. นำเสนอผลงาน 3) ผลผลิต (output) หรอื ผลลัพธ์ (outcome) คือ ผลจากกระบวนการแก้ปัญหาท่ตี อบสนองความจำเป็น (needs) หรอื ความต้องการ (wants) ของมนุษยใ์ นชีวิตประจำวนั ซ่ึงช่วยทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ลมากขึน้ 4) ผลสะท้อนกลับ (feedback) คอื การนำผลผลิตหรือผลลัพธม์ าวิเคราะห์และปรับปรุงให้สมบรู ณต์ ามท่ี ตอ้ งการมากขนึ้ 21
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ ) แผนฯ ท่ี 1 แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี และระบบทางเทคโนโลยี 9. ความเห็นของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชื่อ ( ตำแหน่ง 10. บันทึกผลหลงั การสอน ด้านความรู้ ด้านสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดา้ นความสามารถทางเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ดา้ นอืน่ ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมท่ีมปี ญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี ) ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแกไ้ ข 22
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ แผนฯ ที่ 2 ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2 ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั ว 4.1 ม.1/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง กบั ปัญหา 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ระบปุ ัญหาหรอื ความต้องการทีเ่ กยี่ วข้องกับเทคโนโลยใี นชีวติ ประจำวนั ได้ (K) 2. รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูลและแนวคดิ ทีเ่ ก่ยี วข้องกับปญั หาท่ีเกิดจากเทคโนโลยใี นชวี ติ ประจำวนั ได้ (P) 3. ตระหนกั ถึงผลกระทบทเี่ ก่ียวขอ้ งกับปัญหา และการเปลี่ยนแปลงท่เี กิดจากเทคโนโลยีในชวี ติ ประจำวัน และ เสนอแนวทางในการแก้ไขปญั หา และการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากเทคโนโลยใี นชีวติ ประจำวนั (A) 3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ - ปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวันพบได้จากหลายบริบท พิจารณาตามหลกั สูตรของ ขึ้นอยูก่ ับสถานการณท์ ี่ประสบ เช่น การเกษตร อาหาร สถานศึกษา - การแก้ปัญหาจำเป็นต้องสืบค้น รวบรวมข้อมูลความรู้จากศาสตร์ ตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่อื นำไปสกู่ ารออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวันของมนุษย์พบได้จากหลายสาเหตุข้ึนอยู่กับสถานการณ์ที่มนุษย์ แต่ละคนจะประสบ เช่น ปัญหาทางด้านการเกษตร ปัญหาจากการขาดแคลนอาหาร เป็นต้น ดังน้ัน การแก้ปัญหา ผู้ท่ีทำหน้าที่ในการแก้ปัญหาจำเป็นต้องสืบค้น รวบรวมข้อมูลความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือนำไปสู่การ ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา ท่ีมีประสิทธิภาพและส่งผลกระทบในด้านลบต่อส่ิงต่างๆ เช่น สภาพแวดล้อม ทรพั ยากร วถิ ีชวี ิตของมนษุ ย์ เป็นต้น 23
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนุษย์ แผนฯ ที่ 2 ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั รับผิดชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 1) ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ 2) ทักษะการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคดิ อยา่ งเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ขั้นนำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูต้ังคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบว่า “ในชีวิตประจำวันของนักเรียนต้องเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีใดบ้าง จากน้ันครูถามนักเรียนต่อว่า “ถ้าไม่มีเทคโนโลยีเหล่านั้นจะส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของนักเรียน อย่างไร (แนวตอบ : นาฬิกาปลุก เครื่องใช้ไฟ ฟ้าต่างๆ รถโดยสาร การคมนาคมขนส่ง โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น) ไม่ได้รับความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต ต่ืนสาย ไปโรงเรียนไม่ทัน เปน็ ตน้ ) 2. ครูนำภาพโทรศัพท์เคล่ือนท่ี คอมพิวเตอร์ รถยนต์รุ่นเก่ามาให้นักเรียนดู แล้วสอบถามนักเรียนว่าเคยใช้ เทคโนโลยีหรือไม่ จากนั้นจึงนำภาพโทรศัพท์เคล่ือนที่ คอมพิวเตอร์ รถยนต์ในยุคปัจจุบันมาให้นักเรียนดู แล้วบอกวา่ สิ่งที่นักเรยี นเหน็ น้คี ือการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ขัน้ สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อน แล้วร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุของการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี และ เขียนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีลงในกระดาษโน้ตกาว คู่ละ 1 สาเหตุ จากน้ันครูสุ่มเรียกนักเรียน ทีละคู่ ออกมาบอกสาเหตุพร้อมแปะกระดาษโน้ตกาวบนกระดาน 24
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เทคโนโลยกี บั มนษุ ย์ แผนฯ ท่ี 2 ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 2. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายและสรุปสาเหตุของการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี พร้อมกบั เขยี นเป็นผงั มโนทัศน์ 3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าผลกระทบที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆ จากหนงั สือเรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 16 4. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภปิ รายและสรุปผลกระทบของการพัฒนาและเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ผลกระทบท่ีเกิดจากการพัฒนาเทคโนโลยีมีทั้งผลกระทบที่เป็นด้านบวกและด้านลบ ต่อการดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ 6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจำแนกผลกระทบของการพัฒนาเทคโนโลยีทั้ง 2 ด้าน โดยสรุปเป็นผังมโนทัศน์ ลงในกระดาษ A4 เสร็จแลว้ ให้แตล่ ะกลมุ่ ออกแบบวิธกี ารนำเสนอผลงานทห่ี นา้ ชน้ั เรยี น อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานหน้าช้ันเรียนทีละกลุ่มจนครบทุกกลุ่ม โดยกำหนดเวลา ในการนำเสนอกลุ่มละ 3 นาที 2. นกั เรยี นและครูรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ เกย่ี วกบั ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงและการพฒั นาเทคโนโลยี 3. ครูตั้งคำถามว่า การพัฒนาเทคโนโลยีมีผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบ นักเรียนมีแนวทางในการ ปอ้ งกันหรือแก้ไขผลกระทบด้านลบจากการพฒั นาเทคโนโลยอี ยา่ งไรบ้าง 4. ครูให้นักเรยี นทำใบงานท่ี 1.2 เร่ือง ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ข้ันสรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปแนวทางในการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาจากผลกระทบด้านลบจากการพัฒนา เทคโนโลยีรว่ มกนั 2. ครนู ำนักเรยี นอภปิ รายและสรปุ เร่ือง ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ตามประเด็น ดงั นี้ ผลกระทบของการพฒั นาเทคโนโลยีมดี า้ นใดบา้ ง การพฒั นาเทคโนโลยสี ง่ ผลกระทบตอ่ การดำเนินชวี ติ ทง้ั ด้านบวกและดา้ นลบอย่างไรบ้าง แนวทางในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาจากผลกระทบดา้ นลบท่ีนักเรยี นสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ มอี ะไรบา้ ง ระบบทางเทคโนโลยีมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตอย่างไร บอกองค์ประกอบหลักของระบบทาง เทคโนโลยี อธบิ ายลกั ษณะเฉพาะขององคป์ ระกอบหลักแต่ละสว่ น 3. ครูให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำ Unit Activity จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 หน้า 17 แล้วส่งครูตรวจในชว่ั โมงถัดไป 25
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แผนฯ ที่ 2 ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 2. ครูตรวจและประเมินผลใบงานที่ 1.2 เรื่อง ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี 3. ครูตรวจและประเมินผลผังมโนทศั น์ เร่อื ง ผลกระทบของการพัฒนาเทคโนโลยี 4. ครปู ระเมินผล โดยสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และการนำเสนอผลงาน 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วิธวี ดั เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมนิ ระหว่างการ จัดกิจกรรม 1) ผลกระทบของการ - ตรวจใบงานท่ี 1.2 - ใบงานท่ี 1.2 รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ เปล่ยี นแปลงของ เทคโนโลยี 2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - ผลงานทีน่ ำเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน ผ่านเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 รายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทำงานกลุม่ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ 5) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 อนั พงึ ประสงค์ รบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้ คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ และมงุ่ มั่นในการ อนั พึงประสงค์ ทำงาน 7.2 การประเมนิ หลังเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลังเรยี น รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรยี น หลงั เรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง เทคโนโลยีกับมนษุ ย์ 26
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เทคโนโลยกี ับมนุษย์ แผนฯ ที่ 2 ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 8. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.1 หน่วยการ เรียนรูท้ ่ี 1 เทคโนโลยีกบั มนุษย์ 2) ใบงานที่ 1.2 เร่ือง ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ 27
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เทคโนโลยกี ับมนษุ ย์ แผนฯ ที่ 2 ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี คำชแ้ี จง : ใหว้ ิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในดา้ นต่างๆ พรอ้ มบอกแนวทางแก้ไข ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี ด้านสง่ิ แวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ ด้านบวก ดา้ นบวก ดา้ นลบ ดา้ นลบ แนวทางแกไ้ ข แนวทางแก้ไข ดา้ นวฒั นธรรม ด้านการเมอื ง ดา้ นบวก ดา้ นบวก ด้านลบ ดา้ นลบ แนวทางแกไ้ ข แนวทางแกไ้ ข 28
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121