Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5

หน่วยที่ 5

Published by Amnaj Samervong, 2023-07-17 04:26:09

Description: งานกัดเฟืองตรง

Search

Read the Text Version

20102-2102 ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องมือกล 2 งานกัดเฟืองตรง โดย ครูอำนาจ เสมอวงศ์ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคชุมพร

1 คูมือครู ชดุ การสอน เรื่อง : งานกดั เฟองตรง คำชีแ้ จง : ชดุ การสอนเรอ่ื งงานกัดเฟองตรง ตองการใหน ักเรียนมคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกบั งานกดั เฟอง ตรงดวยเครอื่ งกัด 1. สมรรถนะหลัก (สมรรถนะประจำหนว ย) แสดงความรเู ก่ียวกบั หลักการทำงาน การใชเครือ่ งมือและอุปกรณงานกัดเฟองตรง 2. สมรรถนะยอย (สมรรถนะการเรียนรู) 2.1 สมรรถนะท่วั ไป (ทฤษฎี) 2.1.1 แสดงความเขา ใจเก่ียวกบั หลกั การใชเ คร่ืองมือและอปุ กรณงานกดั เฟอ งตรง 2.1.2 แสดงความเขาใจเกย่ี วความปลอดภัยและการบำรุงรักษาเคร่ืองมือกลงานกัดเฟองตรง 2.2 สมรรถนะท่พี ึงประสงค (ทฤษฎี) เมื่อผเู รยี นไดศ ึกษาเน้อื หาในบทนแ้ี ลว ผเู รยี นสามารถ 2.2.1 อธิบายหลกั การใชเ คร่ืองมือและอุปกรณง านกัดเฟองตรงไดถ ูกตอ ง 2.2.2 อธบิ ายหลักความปลอดภัยและการบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือกลงานกัดเฟอ งตรงไดถูกตอง 2.3 สมรรถนะทวั่ ไป (ปฏบิ ตั ิ) 2.3.1 แสดงทกั ษะการตดิ ตงั้ อุปกรณ ประกอบงานกัดเฟองตรง 2.3.2 แสดงทักษะการกดั เฟองตรงตามแบบงาน 2.4 สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค (ปฏิบตั )ิ 2.4.1 ติดต้ังอปุ กรณ ประกอบงานกัดเฟองตรงไดถ ูกตอง 2.4.2 กดั เฟองตรงตามแบบงานไดถกู ตอง 3. สว นประกอบของชุดการสอน ประกอบดวย 3.1 คูมือครู 3.2 โครงการสอน เรื่องงานกัดเฟองตรง 3.3 แผนการจัดการเรียนรู 3.5 ชดุ การสอนสำหรบั นกั เรียน ประกอบดวย 3.5.1 คำแนะนำสำหรบั นักเรยี น 3.5.2 จดุ ประสงคเชิงพฤตกิ รรม 3.5.3 หวั ขอชุดการสอนสำหรับนกั เรียน 3.5.4 แบบทดสอบกอ นเรียนและหลังเรยี น 3.5.5 ใบเนอื้ หา 3.5.6 แบบฝก หดั 3.5.7 ใบงาน 3.5.8 แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน 3.5.9 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

2 3.6 ส่อื ประกอบการเรยี นการสอนชดุ การสอน 3.6.1 คำแนะนำการใชส่ือการสอน 3.6.2 วธิ กี ารใชส ่ือการสอน Power Point 3.6.3 สือ่ การสอน Power Point เรือ่ งงานกัดเฟองตรง 3.7 ภาคผนวก 3.7.1 เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี นและหลงั เรยี น 3.7.2 เฉลยแบบฝกหดั 3.7.3 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรูรายบคุ คล 3.7.4 แบบประเมนิ เจตคติและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค 4. เวลาท่ใี ชจัดการเรยี นรู ใชเ วลาในการสอนจำนวน 24 ชวั่ โมง 5. การเตรยี มการลวงหนา สิง่ ท่ีครตู องเตรยี มการลวงหนา มดี ังนี้ 5.1 ศึกษาคมู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู 5.2 เตรียมเครอ่ื งฉายภาพโปรเจคเตอร 5.3 ศกึ ษาใบเนื้อหา เรื่องงานกัดเฟองตรง 5.4 ศกึ ษาใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน 5.5 เตรยี มการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรูรายบุคคล 5.6 ศึกษาการใชแบบประเมนิ เจตคตแิ ละคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค 5.7 เตรยี มการเฉลยแบบฝก หัด 5.8 เตรยี มเฉลยแบบทดสอบกอ นเรียนและหลงั เรยี น 5.9 เตรยี มเฉลยใบงาน 5.10 เตรยี มเฉลยแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 6. ส่ือการเรยี นการสอน 6.1 ชดุ การสอน เรอื่ งงานกดั เฟองตรง 6.2 สอื่ ของจริง เชน เครอ่ื งกัด อุปกรณจ ับยึด คมตดั 6.3 สอื่ Power Point ชุดการสอน เร่อื งงานกดั เฟองตรง 7.การจดั ชัน้ เรยี นภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ใชการจัดชั้นเรียนตามปกติสำหรับการสอนภาคทฤษฎี โดยการจัดการเรียนการสอนแบบบรรยายหรือ ถามตอบ สภาพการจัดชัน้ เรยี นตองจดั เพ่ือใหเ หมาะสมสามารถจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแกผเู รียนอยางท่ัวถึง สว นการสอนภาคปฏิบตั ิจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการใหผเู รียนปฏิบตั ติ ามกิจกรรมที่เสนอไวใ นแผนการสอน 8. ข้ันตอนการใชช ดุ การสอน มีดังนี้ 8.1 ศึกษาคมู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู 8.2 ศกึ ษาการใชสอื่ การเรยี นการสอน 8.3 ศกึ ษาความรูเกี่ยวกบั งานกัดเฟองตรง 8.4 ศกึ ษาวธิ วี ดั ผลและประเมินผล 9. ขนั้ ดำเนินการสอน ชดุ การสอน ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรูมีขัน้ ตอนการดำเนนิ การสอนดังน้ี 9.1 ครใู หน ักเรียนอานคำแนะนำการใชเ อกสารประกอบการเรยี น 9.2 ครเู ตรยี มเครื่องมือ อุปกรณ สำหรบั การสอนแบบบรรยายและการสาธติ แบบฝกปฏิบัติ

3 9.3 จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ดวยเทคนิคการสอนแบบการฝกลงมือปฏบิ ัติงาน แบงเปน 4 ข้ัน ดงั น้ี ขัน้ ท่ี 1 ขั้นเตรยี ม ขน้ั ท่ี 2 ข้ันดำเนนิ การสอนและปฏบิ ตั ิ ขน้ั ท่ี 3 ขั้นลงมอื ปฏบิ ตั ิ ข้นั ท่ี 4 ขัน้ สรปุ 9.4 ครูบรรยายเนื้อหาความรูเกี่ยวกับงานกัดเฟองตรง พรอมกับสาธิตการใชงาน ใบขั้นตอนการ ปฏิบตั งิ าน สาธิตแบบฝก ปฏบิ ัตงิ าน 9.5 นักเรียนปฏิบัติตามข้ันตอนของแบบฝกปฏิบัติ ครูควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของนักเรียนและใหคำ แนะนำ ชวยเหลือแกน ักเรียนทมี่ ปี ญ หาขณะปฏิบัติงาน 9.6 นกั เรยี นทำแบบฝกหดัเสรจ็ แลว ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยแบบฝกหดั 9.7 ครูควบคมุ ติดตามผลการปฏบิ ัติงานของนกั เรียนใหเ ปนไปตามคำสัง่ ใบส่ังงาน 9.8 ครสู ังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระหวางเรยี นและฝกปฏิบัตงิ าน 9.9 ครปู ระเมนิ เจตคตแิ ละคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค 9.10 ครูตรวจประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามแบบประเมิน 9.11 สรปุ เนอื้ หาบทเรียนและการปฏบิ ัติงานควรเปน กิจกรรมรวมกันของครูกบั นักเรยี น โดยครูถามแลว ใหน ักเรยี นชวยกัน ตอบทั้งหอ ง หรือถา หากไมมีใครตอบก็ใหครูถามแบบเจาะจง เปนรายบคุ คล 9.12 นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน ชุดการสอน เร่อื งงานกดั เฟองตรง 9.13 ครตู รวจผลการทดสอบหลงั เรยี นแลวแจง ผลใหน กั เรียนทราบ 9.14 สอนซอ มเสริมใหแ กนักเรียนที่ปฏบิ ตั ิงานและทำแบบทดสอบหลงั เรียนไมผ านเกณฑ 10. วิธกี ารใชสื่อการเรยี นการสอน นักเรียน ศึกษาคำแนะนา สำหรับผูเรียนหรือครูชี้แจงใหนักเรียนทราบวิธีการเรียนรูดวยตัวเองโดยใช เอกสารประกอบการเรยี นเร่อื งงานกดั เฟองตรง ครู ศกึ ษาคำแนะนำการใชส ื่อการเรียนการสอนและวิธกี ารใชส ื่อการสอน ของชดุ การสอน 11. บทบาทของนักเรียน มดี ังนี้ 11.1 นกั เรยี นตองปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำของครู 11.2 นักเรยี นตองทำกิจกรรมระหวางเรียนตามที่มอบหมาย 11.3 นักเรียนตองปฏิบตั งิ านใหเสร็จตามเวลาท่กี ำหนด 12. การวดั และประเมินผลการเรยี น มีดงั น้ี 12.1 วิธปี ระเมนิ ผลการเรียนดงั น้ี อาศยั ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา ดว ยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรยี น หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเมินผลการเรียนตามสภาพจริงตอเนื่อง ตลอดภาคเรียนทั้งดาน ความรู ความสามารถและคุณลักษณะอันพึงประสงคจากกิจกรรมการเรียน การสอน การฝกปฏิบัติรวมทั้งการ วัดผลปลายภาคเรียน 12.2 เคร่ืองมอื วดั ผล มดี งั นี้ 12.2.1 แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ใบส่งั งาน 12.2.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น 12.2.3 แบบประเมนิ เจตคติและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค 12.2.4 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (ขอสอบปลายภาคเรยี น)

4 12.3 เกณฑก ารประเมินผลการเรยี น กำหนดเกณฑ แบงสวนคะแนนดังน้ี 12.3.1 คะแนนเกบ็ รอ ยละ 80 ปฏบิ ัติ 60 คะแนน ทฤษฎี 20 คะแนน รวม 80 คะแนน 12.3.2 คะแนนคุณลักษณะอนั พึงประสงค รอยละ 20 คิดเปน 20 คะแนน 12.4 การประเมินผลแผนการจัดการเรียนรู ดงั น้ี 12.4.1 คะแนนประเมินผลการปฏิบัตงิ านไมต่ำกวา รอยละ 70 12.4.2 คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนไมตำ่ กวา รอยละ 70 12.4.3 คะแนนพฤติกรรมระหวางเรยี นและการปฏบิ ตั ิงานไมต ่ำกวา ระดับดี 12.4.4 เจตคตแิ ละคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคไมต ่ำกวา ระดับดี

5 โครงการสอน เรอื่ ง งานกดั เฟองตรง

แผนการจดั การเรยี นรู 6 รหัสวิชา 20102-2102 ชอื่ วิชาผลติ ชน้ิ สว นดวยเคร่อื งมือกล 2 ชวั่ โมงรวม 144 ชม. ช่ือหนวย งานกัดเฟองตรง สอนคร้ังท่ี 11-13 ช่ือเรอื่ ง งานกัดเฟอ งตรง จำนวน 24 ชัว่ โมง 1. หวั ขอเรอ่ื ง 5.1 การใชเ ครอื่ งมอื และอุปกรณงานกัดเฟองตรง 5.2 การติดตัง้ อุปกรณ ประกอบงานกัดเฟองตรง 5.3 การกดั เฟอ งตรง 5.4 ความปลอดภัยและการบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือกลงานกัดเฟองตรง 2. สาระสำคญั เฟองตรง (Spur gear) เปนเฟองที่มีใชงานกันมากที่สุดในบรรดาเฟองชนิดตาง ๆ จะมีลักษณะเฉพาะคือ ฟนของเฟองจะเปนแนวขนานไปกับรูเพลา โดยเฟองตรงเรียกอีกอยางหนึ่งวาเฟองขนานกับเพลา (Parallel– shaft Gear) เฟอ งตรงเปนเฟองท่มี ีโครงสรางงา ยและไมส ลับซบั ซอน โดยถา เฟอ งตรงสองตัวขบกันเราเรยี กวา เฟองพีเนียน (Pinion Gears) โดยทั่วไปแลวเฟองตรงที่ใชสงกำลังแตละคูนั้นจะมีขนาดของฟนเฟองหรือโมดูล (Module, m) เทา ๆ กัน หมุนดวยความเรว็ เชิงเสนท่ีเทา กันแตการไดเปรียบเชิงกลท่ีเกิดขึ้นจะเกิดจากจำนวน ฟนที่ตางกัน (อัตราทด, Ratio) ของเฟองแตละตัว เฟองตรงสวนมากจะนำมาใชในระบบสงกำลัง (Transmission Component) 3. สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจำหนวย) แสดงความรูเก่ียวกบั หลักการทำงาน การใชเ ครื่องมือและอุปกรณง านกัดเฟองตรง 4. สมรรถนะยอ ย (สมรรถนะการเรียนรู) 4.1 สมรรถนะทั่วไป (ทฤษฎ)ี 4.1.1 แสดงความเขา ใจเก่ยี วกับหลักการใชเ คร่ืองมือและอุปกรณง านกัดเฟอ งตรง 4.1.2 แสดงความเขา ใจเกี่ยวความปลอดภยั และการบำรงุ รักษาเครื่องมือกลงานกัดเฟองตรง 4.2 สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค (ทฤษฎ)ี เมือ่ ผเู รียนไดศึกษาเน้ือหาในบทนี้แลว ผเู รยี นสามารถ 4.2.1 อธิบายหลกั การใชเ ครื่องมือและอปุ กรณงานกดั เฟอ งตรงไดถกู ตอง 4.2.2 อธบิ ายหลกั ความปลอดภัยและการบำรุงรักษาเครื่องมือกลงานกัดเฟองตรงไดถ ูกตอ ง 4.3 สมรรถนะทว่ั ไป (ปฏิบัต)ิ 4.3.1 แสดงทกั ษะการติดตัง้ อปุ กรณ ประกอบงานกัดเฟองตรง 4.3.2 แสดงทักษะการกดั เฟองตรงตามแบบงาน 4.4 สมรรถนะท่ีพึงประสงค (ปฏิบตั )ิ 4.4.1 ตดิ ต้งั อุปกรณ ประกอบงานกัดเฟองตรงไดถกู ตอง 4.4.2 กัดเฟองตรงตามแบบงานไดถูกตอง

แผนการจดั การเรยี นรู 7 รหัสวิชา 20102-2102 ช่ือวิชาผลติ ชิน้ สวนดว ยเคร่อื งมอื กล 2 ชว่ั โมงรวม 144 ชม. ช่ือหนวย งานกดั เฟอ งตรง สอนคร้ังท่ี 11-13 ชอ่ื เรอ่ื ง งานกดั เฟองตรง จำนวน 24 ชั่วโมง 5. กิจกรรมการเรยี นการสอน ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาผลิตชิ้นสวนดวยเครื่องมือกล 2 เรื่องงานกัดเฟองตรง ไดกำหนด กิจกรรมการเรียนการสอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูโดยใชวิธีการจัดการเรียนรูฐานสมรรถนะเชิงรุก (Active Learning Competency Based) ดา นเทคนิคการจัดการเรยี นการสอนแบบ MAIP โดยมขี ้นั ตอนในการดำเนิน กจิ กรรมการเรยี นการสอน ดังนี้ 5.1 ขนั้ นำเขาสูบทเรยี น กจิ กรรมผสู อน 1) ผูสอนนำเขาสูบทเรียนโดยกลาวถึงความสำคัญของเรื่องที่จะเรียน และโดยเชื่อมโยงความรู เดิม กบั ความรูใ หมท ่ีผูเรยี นจะไดเ รียนรู โดยการใชค ำถามหรอื แบบฝก 2) ผูสอนวิเคราะห สังเคราะหคำตอบผูเรียน แลวชวยเหลือผูเรียนที่มีความรูไมเพียงพอที่จะ เชอ่ื มโยงความรใู หมโ ดยการอธบิ าย กจิ กรรมผเู รยี น 1) ผเู รยี นตอบคำถามหรอื ทำแบบฝกทผี่ สู อนกำหนดให 2) ผเู รียนรับฟงพรอมทำความเขา ในกบั คำอธิบายของผสู อน 5.2 ขัน้ ปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมผูส อน 1) ผูสอนใหผูเรียนแบงกลุมๆ ละ 2-4 คน/กลุม (จำนวนคนตอกลุมใหพิจารณาตามความยาก งา ยของเนอ้ื หา) 2) ผูสอนแจกใบกิจกรรมการเรียนรกู ับผูเรียนพรอมท้งั อธิบายวิธีการดำเนนิ กิจกรรม โดยผูสอน จะคอยเปนผแู นะนำ 3) ใหผูสอนแจงใหผเู รยี นสรุปความรูห รือประสบการณใ หมดวยตนเอง โดยการทำแบบทดสอบ กจิ กรรมผูเ รยี น 1) ผูเรียนแบงกลุมๆ ละ 2-4 คน 2) ผเู รยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ ตามที่ไดร ับมอบหมาย 3) ผูเ รยี นสรปุ ความรหู รือประสบการณใหมดวยตนเอง โดยการทำแบบทดสอบ 5.3 ข้นั สรปุ กิจกรรมการเรยี นรู กจิ กรรมผสู อน 1) ผสู อนตรวจสอบการสรุปความรหู รือประสบการณใหมข องผเู รยี น (ตรวจใบงาน/ใบ กิจกรรม) 2) ผูสอนสะทอนขอมลู เกย่ี วกับการสรปุ ความรูข องผเู รยี น เพอ่ื ใหผ เู รียนนำไปปรบั ปรุงตนเอง

8 แผนการจัดการเรยี นรู ชว่ั โมงรวม 144 ชม. รหสั วิชา 20102-2102 ชอื่ วิชาผลิตชิ้นสว นดวยเครื่องมือกล 2 ชอื่ หนวย งานกดั เฟองตรง สอนครัง้ ท่ี 11-13 ช่อื เรอื่ ง งานกดั เฟอ งตรง จำนวน 24 ช่ัวโมง 5.3 ขนั้ สรปุ กิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมผสู อน 3) ถาผูเ รยี นมผี ลการสรุปความรูไมเ ปนไปตามเกณฑ ใหผูสอนกระตนุ ใหเ กดิ ความมัน่ ใจและ หากผเู รียนมผี ลการเรียนรูเปนไปตามเกณฑ ผสู อนกระตนุ ใหผเู รียนรูสกึ เกดิ แรงบันดาลใจ กิจกรรมผเู รียน 1) ผเู รยี นรับทราบขอมลู สะทอนกลับ เพื่อปรับปรุงการเรียนรขู องตนเอง 5.4 ข้นั สะทอ นความคิด กจิ กรรมผสู อน 1) ผสู อนมอบหมายใหผ ูเรยี นสะทอนความรู นำเสนอความสำเร็จ หรอื ความผดิ พลาดของ ตนเอง (อาจมอบหมายใหค นทส่ี ำเรจ็ 1 คน และคนที่ไมสำเรจ็ 1 คน เพือ่ นำเสนอ) กจิ กรรมผูเรยี น 1) ผเู รยี นสะทอนความรู นำเสนอความสำเรจ็ หรือความผดิ พลาดของตนเอง 5.5 ขน้ั สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู กจิ กรรมผูสอน 1) ผสู อนแจง ใหผ ูเรยี นประเมินตนเอง 2) ผูสอนมอบหมายงานใหผูเรียนศึกษาคนควา หรอื เรียนรเู พมิ่ เตมิ กิจกรรมผเู รียน 1) ผเู รียนประเมินตนเอง 2) ผูเ รียนศึกษาคนควา หรอื เรยี นรูเพิ่มเตมิ จากประเดน็ ท่ีผูสอนไดมอบหมาย 6. สือ่ การสอน 6.1 เอกสารประกอบการสอน 6.2 เอกสารประกอบการเรยี น 6.3 สอื่ นำเสนอ PowerPoint 6.4 สอื่ ช้นิ งานของจริง

แผนการจัดการเรียนรู 9 รหสั วิชา 20102-2102 ช่ือวิชาผลิตช้นิ สวนดว ยเครอื่ งมอื กล 2 ชั่วโมงรวม 144 ชม. ช่ือหนวย งานกัดเฟองตรง สอนครัง้ ท่ี 11-13 ชอ่ื เร่ือง งานกัดเฟองตรง จำนวน 24 ชว่ั โมง 7. งานท่ีมอบหมาย/กจิ กรรม 7.1 แบบฝก หดั 7.2 แบบทดสอบ 7.3 ใบงานที่ 6.1, 6.2 8. การวดั และประเมนิ ผล สมรรถนะทพี่ ึง วธิ ีการวดั เคร่ืองมอื เกณฑการประเมิน ประสงค - ปฏิบตั กิ ิจกรรม การเรยี นรู - ใบกิจกรรมการเรยี น - ผานเกณฑรอ ยละ 70 1. ดานความรู - ตรวจสอบชนิ้ งาน (Knowledge) - ประเมินคณุ ลักษณะ - แบบประเมนิ ผลการ - ผานเกณฑรอ ยละ 70 อันพึงประสงค ปฏิบตั งิ าน 2. ดา นทกั ษะ - แบบประเมินคุณลักษณะ - ผา นเกณฑรอยละ 80 (Skill) อนั พงึ ประสงค 3. คณุ ลักษณะอนั พึง ประสงค (Attitude)

10 คำแนะนำสำหรบั นกั เรยี น 1. ชดุ การสอน : เรื่องงานกดั เฟองตรง 1.1 นกั เรยี นตอ งปฏิบตั ิตามคำแนะนำ และขั้นตอนการปฏิบัตงิ านอยา งเครง ครดั 1.2 นักเรยี นตองมีความซื่อสัตยตอตนเองโดยไมล อกหรือใหเ พ่ือนลอกคำตอบแบบทดสอบกอ น/หลงั เรยี น แบบฝกหัดและแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 1.3 ทำแบบทดสอบกอนเรียนลงในกระดาษคำตอบท่ีครูแจกใหจำนวน 15 ขอ 10 นาที 1.4 ศกึ ษาใบเนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรียนเรื่องงานกดั เฟองตรง 1.5 ทำแบบฝก ปฏบิ ัตติ ามท่ีครสู าธิตดวยความตง้ั ใจ 1.6 ทำแบบฝกหัดดว ยความรอบคอบ 1.7 ศึกษาจุดประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานตามใบส่งั งาน 1.8 ปฏบิ ตั งิ านตามใบสัง่ งานดวยความรบั ผดิ ชอบ 1.9 ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นลงในกระดาษคำตอบทีค่ รูแจกให จำนวน 15 ขอ10 นาที 1.10 ทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนลงในกระดาษคำตอบท่ีครแู จกให จำนวน 15 ขอ10 นาที 1.11 ตรวจผลการทำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรว มกับครู 1.12 ฟง ผลการประเมนิ การปฏบิ ัติงานตามใบสัง่ งานจากครูจดบันทกึ การนัดหมายจากครู ในการเรียน ซอ มเสริมสำหรับนักเรียนที่ไมผา นการประเมินการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2. สมรรถนะหลกั (สมรรถนะประจำหนว ย) แสดงความรเู ก่ยี วกบั หลักการทำงาน การใชเคร่อื งมอื และอปุ กรณง านกัดเฟอ งตรง 3. สมรรถนะยอย (สมรรถนะการเรยี นรู) 3.1.1 สมรรถนะท่ัวไป (ทฤษฎ)ี 3.1.1.1 แสดงความเขาใจเกีย่ วกับหลักการใชเ คร่ืองมือและอปุ กรณงานกดั เฟองตรง 3.1.1.2 แสดงความเขา ใจเกีย่ วความปลอดภัยและการบำรงุ รักษาเครอ่ื งมอื กลงานกดั เฟองตรง 3.1.2 สมรรถนะท่ีพึงประสงค (ทฤษฎี) เม่ือผเู รยี นไดศึกษาเน้ือหาในบทนีแ้ ลว ผเู รียนสามาร 3.1.2.1 อธบิ ายหลักการใชเคร่ืองมือและอปุ กรณง านกดั เฟองตรงไดถ ูกตอง 3.1.2.2 อธบิ ายหลักความปลอดภยั และการบำรุงรกั ษาเครอ่ื งมอื กลงานกดั เฟองตรงไดถูกตอง 3.1.3 สมรรถนะทั่วไป (ปฏิบัต)ิ 3.1.3.1 แสดงทกั ษะการตดิ ตงั้ อุปกรณ ประกอบงานกัดเฟอ งตรง 3.1.3.2 แสดงทักษะการกดั เฟองตรงตามแบบงาน 4.1.4 สมรรถนะทพี่ ึงประสงค (ปฏิบตั )ิ 4.1.4.1 ติดตงั้ อปุ กรณ ประกอบงานกัดเฟองตรงไดถูกตอง 4.1.4.2 กดั เฟองตรงตามแบบงานไดถูกตอง

11 4. ชุดการสอน มี 5 หัวขอ ดังน้ี 4.1 หลกั การทำงานเคร่ืองกดั 4.2 การใชเครอ่ื งมอื และอปุ กรณง านกดั เฟอ งตรง 4.3 การตดิ ตัง้ อุปกรณ ประกอบงานกดั เฟองตรง 4.4 การกดั เฟอ งตรง 4.5 ความปลอดภัยและการบำรุงรักษาเคร่ืองมือกลงานกดั เฟองตรง

12 แผนการจดั การเรยี นรู

ตารางแผนการสอนทฤษฎี (MIAP) แผนการสอนทฤษฎี วิชา : ผลิตช้นิ สว นดว ยเครื่องมอื กล 2 เรือ่ ง : งานกดั เฟองตรง MI วตั ถปุ ระสงค หวั ขอหลัก วิธ AP ครถู าม นำเขาสูบทเรียน สรางความ งานกัดเฟองตรง - การข สนใจ อยางไ - ใหผเู M กอนเร 1. อธิบายสวนประกอบของ สวนประกอบของเฟองตรง ครบู รร เฟอ งตรงไดถูกตอง - สวนป ตรง 2. บอกหลักการใชเ คร่ืองมือ หลักการใชเครื่องมือและ ครบู รร I และอปุ กรณง านกัดเฟอ งตรง อปุ กรณงานกัดเฟองตรง - หลัก อุปกรณ 3. อธิบายการติดต้งั อปุ กรณ หลกั การตดิ ตั้งอุปกรณ ครบู รร ประกอบงานกดั เฟองตรง ประกอบงานกัดเฟองตรง - หลกั ประกอ

ครั้งที่ 1 เวลา 120 นาที ธสี อน / ถามตอบ แนวคำตอบ/กิจกรรม สือ่ ท่ีใช เวลา ม (นาที) ข้นึ รปู เฟองทำได ผูเรียน - PowerPoint 2 5 ไรบาง - อธิบายข้นั ตอนตามความ เขาใจ เรยี นทำแบบทดสอบ - ทำแบบทดสอบกอน - แบบทดสอบกอน 10 รียน เรียน เรยี น 50 รยาย ผูเรียน - PowerPoint 3-21 ประกอบของเฟอ ง - บันทึกเน้อื หาใจความ - เอกสาร ประกอบการสอน สำคัญและซักถาม รยาย ผูเรยี น - PowerPoint กการใชเ คร่อื งมือและ - บนั ทึกเนอ้ื หาใจความ 22-43 ณงานกดั เฟองตรง สำคัญและซักถาม - เอกสาร ประกอบการสอน รยาย ผูเ รยี น - PowerPoint กการติดตัง้ อปุ กรณ - บันทึกเนอ้ื หาใจความ 44,45,46 อบงานกัดเฟองตรง สำคญั และซักถาม - เอกสาร ประกอบการสอน

ตารางแผนการสอนทฤษฎี (แบบ MIAP) แผนการสอนทฤษฎี วิชา : ผลติ ชนิ้ สว นดวยเครือ่ งมอื กล 2 เร่อื ง : งานกัดเฟองตรง MI วัตถปุ ระสงค หัวขอหลัก วธิ AP ครูบรร I 4. อธบิ ายการกดั เฟองตรงได หลักการกัดเฟองตรง - หลกั ถูกตอง ตางๆ 5. อธิบายหลกั ความปลอดภยั หลักความปลอดภยั และการ ครูบรร และการบำรุงรกั ษาเคร่ืองมือ บำรุงรกั ษาเครอ่ื งมือกลงาน - หลกั กลงานกัดเฟอ งตรงไดถ ูกตอง กดั เฟองตรง การบำ กลงาน A วัดผลการเรียนรู - ทำแบบฝกหัดตาม ครผู ูส อ วัตถุประสงค - แจกแ - ทำแบบทดสอบตาม อธิบาย วตั ถุประสงค - แจกแ อธบิ าย P ประเมนิ ผลการเรยี น - เฉลยแบบฝก หดั ครูผูส อ - เฉลยแบบทดสอบ -เฉลยแ - ใหน กั เรียนแกไขในสวนท่ี แบบท ทำผิด - นกั เร ทำผิด - อธบิ

ธีสอน / ถามตอบ แนวคำตอบ/กจิ กรรม เวลา 120 นาที สอ่ื ทใ่ี ช เวลา (นาที) รยาย ผูเ รยี น - PowerPoint กการกัดเฟอ งตรง - บันทกึ เน้ือหาใจความ 47-58 สำคญั และซักถาม - เอกสาร ประกอบการสอน รยาย ผูเ รยี น - PowerPoint กความปลอดภยั และ - บันทึกเนอ้ื หาใจความ 59,60 ำรงุ รักษาเครื่องมือ สำคัญและซักถาม - เอกสาร นกัดเฟอ งตรง ผเู รยี น ประกอบการสอน อน - ทำแบบฝกหัด ใบแบบฝกหัด 30 แบบฝก หดั และ - ทำแบบทดสอบ ใบแบบทดสอบ ยการทำ แบบทดสอบและ ตามใบเฉลยแบบฝก หดั แบบเฉลยแบบฝก หดั 25 ยการทำ ตามใบเฉลยแบบทดสอบ แบบเฉลยทดสอบ อน แบบฝกหดั และ ทดสอบ รยี นแกไขในสวนท่ี บายซ้ำขอ ทที่ ำผิด

ตารางแผนการสอนปฏบิ ัติ (MIAP) แผนการสอนปฏบิ ัตวิ ชิ า : ผลติ ชน้ิ สวนดว ยเคร่อื งมอื กล 2 เรื่อง : งานกดั เฟองตรง วัตถุประสงค : 1. ตดิ ตั้งอุปกรณ ประกอบงานกัดเฟองตรงไดถูกตอง MIAP วัตถุประสงค หัวขอหลัก วิธ M นำเขาสบู ทเรียนสรางความ - การติดตง้ั อุปกรณ ประกอบ ครถู าม งานกัดเฟอ งตรง - อปุ กรณ สนใจ เฟอ งตร I 1. ติดตั้งอุปกรณ ประกอบงาน - การติดตงั้ อุปกรณ ประกอบ ครูบรรย กดั เฟองตรงไดถูกตอง งานกดั เฟอ งตรง - การตดิ งานกัดเฟ - ถาม ต ครูสาธติ - ตดิ ตง้ั อ กดั เฟอง A วัดผลการเรียนรู - การตดิ ตั้งอุปกรณ ประกอบ ครูผสู อน P ประเมนิ ผลการเรียน งานกดั เฟองตรง - ใหน ักเ - ติดตง้ั อุปกรณ ประกอบงาน ครผู สู อน กดั เฟองตรง - ตรวจส - ใหน ักเรียนแกไขสวนทีท่ ำผิด - ใหน กั เ

คร้ังที่ 1 เวลา 180 นาที ธสี อน / ถามตอบ แนวคำตอบ/กจิ กรรม สือ่ ทใี่ ช เวลา ณ ประกอบงานกัด นกั เรยี นตอบ (นาที) รง มีอะไรบาง - เครอ่ื งกดั เครื่องกดั นอน 10 - อปุ กรณจ ับยึดชน้ิ งาน - อปุ กรณจ ับยดึ คมตัด ยาย นกั เรียน - เครือ่ งกัดนอน 20 ดต้งั อปุ กรณ ประกอบ - บันทกึ เนือ้ หาใจความ - อุปกรณจบั ยดึ ชิน้ งาน ฟองตรง สำคัญ - อุปกรณจบั ยึดคมตดั ตอบ กบั นักเรียน ต นักเรียน 40 อุปกรณ ประกอบงาน - ทำตามทค่ี รูสาธติ งตรง - ฝกการติดตั้งอุปกรณ 80 ประกอบงานกัดเฟองตรง 30 น นกั เรียน ใบงานท่ี 6.1 เรียนทำใบงาน -ทำใบงาน ใบประเมินผลการ น นกั เรยี น ปฏิบตั งิ าน สอบความถูกตอง - แกไ ขในสวนทท่ี ำผิด เรยี นแกไขสว นที่ทำผิด

ตารางแผนการสอนปฏิบตั ิ (MIAP) แผนการสอนปฏิบตั วิ ชิ า : ผลติ ชิน้ สวนดวยเครื่องมอื กล 2 เร่อื ง : งานกดั เฟองตรง วตั ถุประสงค : 1. กัดเฟองตรงตามแบบงานไดถกู ตอง MIAP ลำดบั ข้ันการปฏิบัตงิ าน /รปู ภาพแสดงขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ าน M การจูงใจเขาสูการปฏิบตั ิ ครูผูสอน อธบิ าย - แบบช้นิ งาน ถาม - ขน้ั ตอนการกดั เฟอ ผูเรียน ตอบ - ติดตง้ั หวั แบง และ - ตรวจสอบศนู ยร ะห - ตรวจสอบศนู ยร ะห - จับยดึ ดอกกดั บนแ - ปรบั ตง้ั ระยะหางด - ปรับต้ังการปอนกัด - หมุนหัวแบง I 1. คำนวณการแบงในการใชห ัวแบง ครูผูส อน อธบิ าย - การคำนวณการแ ผเู รียนปฏิบตั ิ - คำนวณการแบงโด

วธิ สี อน/กิจกรรม ส่อื ครงั้ ที่ 2 แบบงาน เวลา 480 นาที องตามแบบที่กำหนด ใบงานท่ี 6.2 ะยันศูนยทาย เวลา หวา งหวั แบงกบั ศูนยท ายในแนวระดับ (นาที) หวางหวั แบงกบั ศูนยทายในแนวนอน 10 แกนเพลาเคร่อื งกดั ดอกกดั กบั ชิ้นงาน - จานแบง 60 ดความลึก แบงโดยใชห ัวแบง ดยใชห ัวแบง

ตารางแผนการสอนปฏิบัติ (MIAP) แผนการสอนปฏบิ ัตวิ ชิ า : ผลิตช้นิ สวนดว ยเครอ่ื งมือกล 2 เร่ือง : งานกดั เฟองตรง วัตถุประสงค : 1. กดั เฟองตรงตามแบบงานไดถกู ตอง MIAP ลำดับขนั้ การปฏิบัตงิ าน /รปู ภาพแสดงขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 2. กลงึ ช้นิ งานใหไ ดข นาดเสนผานศูนยกลาง ครผู ูส อน ตามขนาดโดยการคำนวณตามจำนวนฟน ท่ี ครูสาธิต – การคำนวณหาข ตอ งการ ผเู รยี นปฏบิ ัติ - กลึงช้ินงานตามข I 3. กลึงแกนอัดช้ินงานเพื่อใชยึดชิ้นงานขณะทำ ครูผูสอน การกดั เฟอ ง ครสู าธติ – การอัดชิน้ งานเพ ผเู รยี นปฏิบัติ - กลงึ แกนอันชิ้นง - อัดชิ้นงานเขากบั

วธิ สี อน/กจิ กรรม ครง้ั ท่ี 2 ขนาดชนิ้ งานกดั เฟองตรง เวลา 480 นาที ขนาดที่ตองการ เวลา สอ่ื (นาที) -เครื่องกลงึ -ชิ้นงาน พือ่ ใชย ดึ ช้ินงานเขากบั แกนอัด -เครื่องกลงึ งาน บแกนอัด

ตารางแผนการสอนปฏบิ ัติ (MIAP) แผนการสอนปฏบิ ตั วิ ชิ า : ผลิตชิน้ สว นดว ยเคร่ืองมอื กล 2 เร่อื ง : งานกดั เฟองตรง วตั ถุประสงค : 1. กดั เฟองตรงตามแบบงานไดถูกตอง MIAP ลำดบั ขั้นการปฏิบตั ิงาน /รูปภาพแสดงข้ันตอนการปฏิบัติงาน 4. ติดตัง้ หวั แบง และยันศนู ยทาย โดยการจบั ครผู ูสอน ยึดบนโตะงาน ครสู าธิต – ติดตง้ั หวั แบง แล ผูเรยี น ปฏิบัติ - ตดิ ต้งั หัวแบง และ I 5. ตรวจสอบศูนยระหวา งหัวแบงกับศนู ยทาย ครูผสู อน ในแนวระดับ ครสู าธิต – ปรับตง้ั ศนู ยชน้ิ ง ผเู รยี น ปฏบิ ัติ – ปรบั ตง้ั ศูนยชิ้นงา

วิธีสอน/กิจกรรม ครง้ั ท่ี 2 ละยันศูนยทา ย โดยการจบั ยดึ บนโตะ งาน เวลา 480 นาที ะยันศูนยทาย โดยการจับยดึ บนโตะงาน เวลา สื่อ (นาที) -เครอ่ื งกัดนอน -ชดุ หัวแบง -ยนั ศูนยท าย -นากิ าวัด งานระหวา งหวั แบง กับศนู ยท ายในแนวระดบั านระหวางหวั แบง กบั ศูนยทา ยในแนวระดับ

ตารางแผนการสอนปฏิบัติ (MIAP) แผนการสอนปฏิบตั วิ ชิ า : ผลิตชิน้ สว นดว ยเครอ่ื งมือกล 2 เรอื่ ง : งานกัดเฟองตรง วัตถุประสงค : 1. กดั เฟองตรงตามแบบงานไดถกู ตอง MIAP ลำดบั ขั้นการปฏิบัติงาน /รูปภาพแสดงขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน 6. ตรวจสอบศนู ยระหวางหัวแบง กับศูนยทาย ครูผูส อน ในแนวนอนดวยนาิกาวดั ครสู าธิต – ปรบั ตง้ั ศูนยชิ้นง ผูเรยี น ปฏิบัติ – ปรบั ต้ังศนู ยชิ้นงา I 7. จับยึดชน้ิ งานโดยใชห ัวจับและยนั ศนู ยทาย ครูผูสอน ครูสาธิต – จบั ยดึ ช้ินงานโด ผเู รียน ปฏิบัติ – จับยดึ ชน้ิ งานโดยใ

วิธสี อน/กจิ กรรม ครง้ั ท่ี 2 งานระหวา งหัวแบง กบั ศูนยทายในแนวนอน เวลา 480 นาที เวลา สื่อ (นาที) -นาิกาวัด านระหวา งหัวแบง กับศูนยท ายในแนวนอน ดยใชห ัวจับและยันศูนยทา ย -ชิ้นงาน ใชห ัวจบั และยนั ศูนยทาย -หวั จบั -ยันศูนยทา ย

ตารางแผนการสอนปฏิบัติ (MIAP) แผนการสอนปฏบิ ัตวิ ิชา : ผลิตชน้ิ สว นดว ยเคร่อื งมือกล 2 เร่อื ง : งานกัดเฟองตรง วัตถุประสงค : 1. กดั เฟองตรงตามแบบงานไดถูกตอง MIAP ลำดบั ข้ันการปฏบิ ัติงาน /รูปภาพแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. จับยดึ ดอกกัดบนแกนเพลาเคร่ืองกัด ครผู สู อน ครูสาธติ – จบั ยึดดอกกดั บน ผูเรยี น ปฏบิ ัติ – จบั ยดึ ดอกกัดบนแ I 9. ปรบั ตำแหนง ของดอกกัดใหอ ยใู นตำแหนง ครผู สู อน กง่ึ กลางชนิ้ งาน ครสู าธิต – ปรับตำแหนงขอ ผูเรียน ปฏบิ ตั ิ – ปรบั ตำแหนง ของ

วิธีสอน/กจิ กรรม ครั้งท่ี 2 นแกนเพลาเครือ่ งกดั เวลา 480 นาที แกนเพลาเครื่องกัด เวลา ส่ือ (นาที) -แกนสวมดอกกดั -ดอกกัด -แหวนประกบ -แขนรับแกนสวมมีดกัด -นอ ตล็อค องดอกกัดใหอยใู นตำแหนงก่ึงกลางชิ้นงาน -ฉากเหลก็ -เวอรเนียรค าลบิ เปอร งดอกกัดใหอ ยูในตำแหนง กึ่งกลางช้ินงาน

ตารางแผนการสอนปฏบิ ัติ (MIAP) แผนการสอนปฏบิ ตั วิ ชิ า : ผลิตชิน้ สว นดวยเครือ่ งมอื กล 2 เรอื่ ง : งานกดั เฟองตรง วัตถุประสงค : 1. กัดเฟองตรงตามแบบงานไดถูกตอง MIAP ลำดบั ขน้ั การปฏิบตั งิ าน /รปู ภาพแสดงข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน 10. ปรบั ตั้งระยะหางดอกกัดกับชน้ิ งาน ครผู สู อน ครูสาธิต – ปรบั ต้งั ระยะหา ผูเ รยี น ปฏิบัติ – ปรบั ตัง้ ระยะหา งด I ครผู ูสอน ครสู าธิต – ปรับตั้งสเกลควา 11. ปรับตง้ั สเกลความลกึ ใหเปน ศูนย ผูเรยี น ปฏิบตั ิ – ปรบั ต้ังสเกลความ

วธิ ีสอน/กจิ กรรม ครง้ั ท่ี 2 างดอกกดั กับช้ินงาน เวลา 480 นาที ดอกกัดกับชนิ้ งาน เวลา ามลึกใหเปนศูนย สื่อ (นาที) มลกึ ใหเปน ศนู ย - เครอื่ งกัดแนวนอน - เครือ่ งกดั แนวนอน

ตารางแผนการสอนปฏิบัติ (MIAP) แผนการสอนปฏิบัตวิ ิชา : ผลติ ชนิ้ สวนดว ยเคร่ืองมือกล 2 เรอ่ื ง : งานกดั เฟองตรง วตั ถุประสงค : 1. กดั เฟองตรงตามแบบงานไดถูกตอง MIAP ลำดบั ข้นั การปฏิบตั ิงาน /รปู ภาพแสดงข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน 12. ปรบั ตัง้ การปอนกัดความลกึ ครผู สู อน ครสู าธติ – ปรับตัง้ การปอน ผเู รยี น ปฏบิ ตั ิ – ปรับตั้งการปอนก I ครูผสู อน ครูสาธิต – การปอนกัดชิ้นง 13. การปอนกดั ช้ินงาน ผูเรียน ปฏิบตั ิ – การปอนกดั ชิน้ งา

วธิ สี อน/กิจกรรม ครั้งที่ 2 นกัดความลกึ เวลา 480 นาที กัดความลึก เวลา งาน สอ่ื (นาที) าน - เครอ่ื งกัดแนวนอน - เครื่องกัดแนวนอน

ตารางแผนการสอนปฏิบัติ (MIAP) แผนการสอนปฏบิ ตั วิ ชิ า : ผลติ ช้ินสวนดวยเครื่องมอื กล 2 เรื่อง : งานกดั เฟองตรง วัตถุประสงค : 1. กัดเฟองตรงตามแบบงานไดถูกตอง MIAP ลำดับข้ันการปฏิบัติงาน /รปู ภาพแสดงขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน I 14. หมนุ หัวแบง ครูผสู อน ครสู าธิต – หมนุ หวั แบงกัดต ผูเ รยี น ปฏบิ ัติ – หมนุ หวั แบง กัดตา A วดั ผลการเรยี นรู ครูผูสอน P ประเมนิ ผลการเรยี น - ใหนักเรียนทำใบงาน - นกั เรียนฝกปฏบิ ัติ ครผู สู อน - ใหน กั เรยี นแกไขสว นที่ทำ - สังเกตประเมนิ ผลตามแบบ - สรปุ เนือ้ หาและตอบปญห

วธิ ีสอน/กจิ กรรม ครั้งที่ 2 ตามจำนวนฟนตามที่ตอ งการ เวลา 480 นาที ามจำนวนฟนตามทต่ี องการ เวลา ำผิด สอ่ื (นาที) บประเมิน - เคร่ืองกัดแนวนอน หาขอ สงสัยตา งๆ ใบงานที่ 6.2 380 ใบประเมินผลการ 30 ปฏิบตั ิงาน

23 แบบทดสอบ ระดับ ปวช. ชั้นปท ่ี 2 ชื่อรายวชิ า ผลติ ชิน้ สวนดว ยเครือ่ งมือกล 2 รหสั วิชา 20102-2102 หวั ขอ/งาน งานกัดเฟองตรง 1. จากรูปหมายเลข 1 คือสวนประกอบของเฟอ งตรง เรียกวาอะไร ก. Clearance ข. Working depth ค. Tooth thickness ง. Bottom land 2. จากรูปหมายเลข 2 คือสวนประกอบของเฟองตรง เรียกวาอะไร ก. Clearance ข. Working depth ค. Tooth thickness ง. Bottom land 3. หนวยท่ีใชใ นเฟอ งระบบโมดุล (Module) คืออะไร ก. นว้ิ ข. ฟุต ค. เซน็ ตเิ มตร ง. มลิ ลิเมตร 4. ขอใดกลาวไดถูกตองเกยี่ วกับลักษณะเฟองระบบโมดลุ ก. เฟอ งโมดลุ เลขนอ ยจะมีขนาดฟน ของเฟองเล็ก ข. เฟองโมดลุ เลขมากจะมจี ำนวนฟนเฟองมาก ค. เฟอ งโมดลุ จะเปนเฟองระบบอังกฤษ ง. เฟองโมดลุ จะเปน เฟองตรงอยา งเดียว

24 5. ขอใดกลาวไดถ ูกตอ งเกีย่ วกบั ลักษณะเฟอ งระบบ DP ก. เฟอ ง DP เลขนอยจะมีขนาดฟน ของเฟอ งเล็ก ข. เฟอ ง DP จะมีหนว ยทใี่ ชเ ปนมลิ ลเิ มตร ค. เฟอ ง DP จะเปนเฟองระบบอังกฤษ ง. เฟองโมดุลจะเปน เฟองตรงอยา งเดียว 6. จงหาขนาดของหมายเลข 1 จากรปู ที่กำหนดใหถา ตองการกดั เฟองจำนวน 28 ฟน ใชเ ฟอ งโมดลุ 2 ก. 50 มลิ ลเิ มตร ข. 60 มลิ ลิเมตร ค. 70 มิลลเิ มตร ง. 75 มลิ ลิเมตร 7. จงหาขนาดของหมายเลข 1 จากรูปท่กี ำหนดใหถา ตอ งการกัดเฟองจำนวน 28 ฟน ใชเ ฟองโมดลุ 2 ก. 4.33 มลิ ลเิ มตร ข. 5.50 มลิ ลิเมตร ค. 6.00 มิลลิเมตร ง. 6.25 มลิ ลิเมตร 8. จากรปู ขอท่ี 7 ถาตองการกดั เฟอง DP16 จำนวนฟน เฟอง 42 ฟน จงคำนวณหาคาตามหมายเลขที่กำหนด ก. 2.520 มิลลเิ มตร ข. 3.423 มิลลเิ มตร ค. 4.250 มลิ ลิเมตร ง. 5.125 มิลลเิ มตร

25 9. ขอ ใดกลาวไมถูกตองในการใชง านเครอื่ งกัดแนวนอน ก. แครเ ล่อื น จะวางอยูระหวา งแทนรองโตะงานและฐานเครอ่ื ง ข. การเคลือ่ นท่ใี นแนวต้ัง Z ขนึ้ และลง โดยการเล่ือนแทน รองโตะงาน ค. การเคลือ่ นทตี่ ัดขวาง Y เขาหรือออก โดยการเลอ่ื นแครเลอ่ื นสมั พนั ธกับแทนรองโตะ ง. การเคลือ่ นทต่ี ามยาว X ซา ยมือหรอื ขวามือ โดยมือหมุนเลอื่ นท่ตี ิดตง้ั อยูดานขาง 10. ขอ ไมใ ชสว นประกอบของหวั แบง ก. Sector Arm ข. Index Plates ค. Crank ง. Arbor 11. ขอใดไมใ ชว ิธีการแบงกดั ช้นิ งานดวยหัวแบง ก. Simple Indexing ข. Direct Indexing ค. Differential Indexing ง. Double Indexing 12. ตองการกดั ช้ินงานออกเปน 8 สว นเทาๆ กนั ดวยหัวแบงโดยใชจ านแบงแบบ Brown and Sharpe จงคำนวณหาวิธีการหมนุ แบง ก. หมนุ แบง จะหมุนแบง ไปครง้ั ละ 3 รอบ ดวยหนา จานท่มี กี รี่ ูกไ็ ด ข. หมนุ แบงจะหมุนแบง ไปครัง้ ละ 5 รอบ ดวยหนา จานท่ีมีก่ีรูก็ได ค. หมนุ แบงจะหมนุ แบง ไปคร้งั ละ 6 รอบ ดว ยหนา จานท่มี ีกี่รูก็ได ง. หมนุ แบง จะหมุนแบง ไปคร้ังละ 8 รอบ ดว ยหนาจานทีม่ ีกีร่ ูก็ได 13. ตอ งการกดั เฟองจำนวน 32 ฟน ดว ยหัวแบงโดยใชจานแบงแบบ Brown and Sharpe จงคำนวณหา วิธกี ารหมนุ แบง และเลือกใชจานแบง แผน ท่เี ทาไหร ก. การหมนุ ไปครัง้ ละ 1 รอบ กับอีก 2 รู โดยเลอื กหนา จานท่มี ี 16 รู ข. การหมุนไปครัง้ ละ 1 รอบ กบั อกี 4 รู โดยเลือกหนาจานทม่ี ี 18 รู ค. การหมุนไปคร้งั ละ 1 รอบ กบั อกี 5 รู โดยเลอื กหนา จานท่มี ี 20 รู ง. การหมนุ ไปคร้งั ละ 1 รอบ กับอีก 6 รู โดยเลือกหนา จานทม่ี ี 27 รู 14. ขอใดคอื จำนวนรบู นจานแบงแบบ Brown and Sharpe ก. 14-16-17-18-19-20 ข. 15-16-17-18-19-20 ค. 15-16-17-18-20-21 ง. 15-18-19-20-21-22

26 15. ขอใดไมใชขั้นตอนในการปฏิบัติงานกดั เฟอ งตรง ก. ปรบั ตัง้ สเกลความลึกใหเปน ศนู ย ข. การจับยดึ ช้นิ งานโดยใชห วั จบั และยันศูนยท าย ค. ปรบั ตำแหนงของดอกกดั ใหอ ยูในตำแหนงกง่ึ กลางชิน้ งาน ง. หมุนหวั แบงปอ นกดั ชิน้ งานเพ่ือใหไ ดความลกึ ของเฟองท่ีตองการ

27 ใบเน้ือหา (Information Sheet) หนว ยท่ี 5 งานกดั เฟอ งตรง เฟองตรง(Spur gear) เปนเฟองท่ีนิยมใชงานกันมากที่สุดในบรรดาเฟองชนิดตางๆ จะมี ลกั ษณะเฉพาะคือ - ฟนของเฟองจะเปนแนวขนานไปกับรูเพลา โดยเฟองตรงเรียกอีกอยางหน่ึงวาเฟองขนาน กบั เพลา (Parallel–shaft Gear) เฟอ งตรงเปนเฟองทีม่ ีโครงสรา งงา ยและไมส ลบั ซับซอ น ฟน ของเฟอง เพลา รปู ท่ี5.1 เฟองตรง (ท่มี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565) โดยถาเฟองตรงสองตัวขบกันเราเรียกวาเฟองพีเนียน (Pinion Gears) โดยทั่วไปแลวเฟอ งตรงที่ ใชสงกำลังแตละคูน้ันจะมีขนาดของฟนเฟองหรอื โมดูล (Module, m) เทา ๆ กัน หมุนดวยความเร็วเชิงเสนท่ี เทากันแตการไดเปรียบเชิงกลที่เกิดขึ้นจะเกิดจากจำนวนฟนที่ตางกัน (อัตราทด, Ratio) ของเฟองแตละตัว เฟองตรงสว นมากจะนำมาใชในระบบสง กำลัง (Transmission Component) รปู ท่ี 5.2 ลักษณะเฟอ งตรงสองตัวขบกัน (ท่มี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565)

5.1 สวนประกอบของเฟองตรง 28 Face Flank Top land Bottom land Fillet radius Tooth thickness Clearance Working depth รปู ท่ี 5.3 สวนประกอบของเฟองตรง (ที่มา : อำนาจ เสมอวงศ, 2565)

29 5.2 ระบบของเฟอง 5.2.1 เฟองระบบโมดุล (Module) เฟองระบบนี้จะเปนเฟองระบบเมตริก หนวยที่ใชจะเปนมิลลิเมตร ถาเฟอ งโมดลุ เลขนอยจะมขี นาดฟนของเฟอ งเล็ก ถา โมดุลเลขมากจะมีขนาดฟน ของเฟองใหญ Module 2.5 Module 6.5 รูปท่ี 5.4 ลักษณะของเฟองระบบโมดลุ (ทม่ี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565) ตารางท่ี 5.1 ขนาดของเฟองระบบโมดุลท่นี ิยมใช ระบบโมดลุ (m) 0.50 0.75 1.00 1.25 1.50 1.75 2.00 2.25 2.50 2.75 3.00 3.25 3.50 3.75 4.00 4.50 5.00 5.50 6.00 6.50 7.00 8.00 9.00 10.00 5.2.2 เฟองระบบ DP (Diametral Pitch) เฟองระบบนี้จะเปนเฟองระบบนิ้ว หนวยที่ใชจะเปนนิ้ว สามารถเปลย่ี นมิลลิเมตร โดยวิธีการคณู ดวย 25.4 มม. ลกั ษณะของเฟอง DP เลขนอ ยจะมีขนาดฟนของเฟอง ใหญ ถาเฟอ ง DP เลขมากจะมขี นาดฟน ของเฟองเล็ก DP 4 DP 12 รปู ท่ี 5.5 ลกั ษณะของเฟองระบบ DP (ท่มี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565)

30 5.3 สตู รในการคำนวณหาคาตางๆ ของเฟอ ง 5.3.1 ระบบเฟอ ง DP และระบบเฟอง Module N+2 =DPPND Module OD π da d p DP= หรอื หรือ= CP m= z+2 หรอื = z หรือ= π โมดลุ DP = Diametral Pitch m = N = จำนวนฟน z = จำนวนฟน CP = ระยะพิตชของฟนเฟอง da = เสน ผานศนู ยก ลางยอดฟน PD = เสน ผา นศูนยก ลางวงกลมพิตช p = ระยะพิตชของฟน เฟอ ง OD = เสนผานศนู ยกลางยอดฟน d = เสน ผา นศนู ยกลางวงกลมพิตช 5.3.2 ขนาดเสนผานศูนยกลางยอดฟน (Outside Diameter) Outside Diameter N+2 DP 2 Module DP DP da=(z+2)m หรือ = d+2m OP= หรอื =PD+ da = เสน ผา นศนู ยกลางยอดฟน z = จำนวนฟน OD = เสน ผา นศนู ยกลางยอดฟน m = โมดลุ N = จำนวนฟน d = เสนผา นศูนยกลางวงกลมพิตช DP = Diametral Pitch PD = เสน ผานศูนยกลางวงกลมพติ ช

31 5.3.3 เสน ผา นศนู ยกลางวงกลมพิตช (Pitch Diameter) Pitch Diameter PD= N DP - 2 Module DP หรอื =OD DP d=z×mหรือห=รzือz×+=d2ada – 2m d = เสน ผา นศนู ยก ลางวงกลมพติ ช หรอื = N×OD หรือ = N×CP da = เสน ผานศูนยก ลางยอดฟน N+2 π z = จำนวนฟน m = โมดลุ PD = เสน ผา นศูนยกลางวงกลมพติ ช CP = ระยะพติ ชข องฟนเฟอง 5.3.4 ความลึกทั้งหมดของฟน เฟอง (Whole Depth) Whole Depth DP Module 2.157 h = 2.166m WD= DP h = ความลกึ ทงั้ หมดของฟนเฟอง WD = ความลึกทั้งหมดของฟนเฟอ ง m = โมดลุ DP = Diametral Pitch

32 5.3.5 ชวงสูงบนหรือความสงู ยอดฟน (Addendum) Addendum DP Module A = ชว งสงู บนหรอื Aค=วDา1มPสูงยอดฟน ha = m ha = ชวงสูงบนหรอื ความสงู ยอดฟน 5.3.6 ชว งสูงลางหรือความสงู โคนฟน (Dedendum) Dedendum DP Module D = ชว งสงู ลา งหDรือ=ค1ว.Dา1Pม5ส7งู โคนฟน hf = m hf = ชวงสูงลา งหรือความสงู โคนฟน 5.3.7 ระยะพติ ชข องฟนเฟอ ง วดั ทีว่ งกลมพติ ช (Circular Pitch) Circular Pitch DP πPD Module πd ระยะพCิตPช=ขDอπPงฟหนรเฟืออ =ง N z p= πm หรือ = p = ระยะพิตชข องฟน เฟอง CP = m = โมดูล PD = เสนผานศนู ยกลางวงกลมพติ ช d = เสน ผา นศูนยก ลางวงกลมพติ ช

5.3.8 จำนวนฟน (Number of Teeth) 33 Number of Teeth DP πPD d Module πd CP m p N=PD×DP หรอื = z= หรือ = จำนวนฟน N = z = จำนวนฟน CP = ระยะพิตชของฟนเฟอง PD = เสน ผานศนู ยกลางวงกลมพิตช p = ระยะพิตชของฟนเฟอง m = โมดูล DP = Diametral Pitch d = เสนผา นศนู ยกลางวงกลมพิตช 5.3.9 ระยะหา งระหวางจุดศูนยก ลางของเฟองทั้งสอง (Center Distance) Center Distance DP Module CD = ระยะหCาDงร=ะห(PวDา)ง1จ+2ุด(ศPDูนย)2กลางของ a = ระยะหา งระหวaา ง=จdดุ 1ศ+2ูนdย2กลางของ เฟอ งทงั้ สอง เฟองท้ังสอง (PD)1 = เสนผา นศูนยกลางวงกลมพิตชเฟอ งตัวที่ 1 d1 = เสนผานศูนยก ลางวงกลมพิตชเ ฟองตวั ท่ี 1 (PD)2 = เสน ผา นศนู ยกลางวงกลมพิตชเ ฟอ งตัวท่ี 2 d2 = เสนผา นศูนยกลางวงกลมพติ ชเฟองตัวที่ 2

34 5.4 ตัวอยา งการคำนวณหาคาตา งๆ ของเฟองตรง ตัวอยา งท่ี 1 ตองการกัดเฟองโมดุล 2.5 จำนวนฟน เฟอง ดงั รูปท่กี ำหนด จงคำนวณหาคาตามหมายเลขท่ี กำหนดคือหมายเลข 1,2 และ 3 วธิ ีการคำนวณ หมายเลข 1 ความลกึ ท้งั หมดของฟนเฟอง (h) h = 2.166 x m h = 2.166 x 2.5 h = 5.42 มม. หมายเลข 2 เสน ผา นศนู ยก ลางยอดฟน (da) da = (z + 2) m da = (20 + 2) 2.5 da = 55 มม. หมายเลข 3 เสนผา นศูนยก ลางวงกลมพิตช (d) d = da – 2m d = 55 – 2(2.5) d = 50 มม. ตวั อยางที่ 2 ตองการกัดเฟอ ง DP12 จำนวนฟนเฟอง 40 ฟน จงคำนวณหาคาตามหมายเลขที่กำหนด คือหมายเลข 1,2 และ 3 ดังตัวอยา งท่ี 1 วิธีการคำนวณ หมายเลข 1 ความลึกทง้ั หมดของฟน เฟอง (WD) WD = 2.157/DP WD = 2.157/12 WD = 0.1797 น้วิ = 0.1797 x 25.4 = 4.56 มม. หมายเลข 2 เสนผา นศนู ยกลางยอดฟน (OD) OD = (N + 2)/DP OD = (40 + 2)/12 OD = 3.5 นว้ิ = 3.5 x 25.4 = 89 มม. หมายเลข 3 เสนผานศูนยก ลางวงกลมพติ ช (PD) PD = N/DP PD = 40/12 PD = 3.33 นวิ้ = 3.33 x 25.4 = 84.58 มม.

35 5.5 การใชเครื่องมือและอุปกรณง านกดั เฟอ งตรง 5.5.1 เคร่ืองกดั นอน (Horizontal milling) เครื่องกัดนอน (Horizontal milling) เครื่องกัดชนิดน้ีแกนของเครื่องมอื กัดหมนุ ในแนวนอนขนาน กับโตะจับงานเหมาะกับการกัดผิวหนาขนาน โตะจับชิ้นงานจะเคลื่อนที่ในแกน x-y-z เครื่องมือกัดถูกติดตั้ง อยา งหนาแนนในแกนสวมเครอื่ งมอื กัด ทำใหสามารถกดั งานหนักไดดี กำจัดวัสดไุ ดอยา งรวดเรว็ เหมาะกับการ กัดเซาะรอ งหรอื บา ฉาก และการกดั เฟอ ง รปู ที่ 5.6 เครอ่ื งกัดนอน (Horizontal milling) คานเพลา (ทม่ี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565) 5.5.1.1 สวนประกอบของเครือ่ งกัดนอน แขนรบั แกน สวมมีดกัด โตะงาน แครเล่ือน เสาเคร่อื ง แทนรอง ฐานเครื่อง โตะ งาน สกรขู บั โตะ งาน รูปที่ 5.7 สว นประกอบเคร่ืองกัดนอน (Horizontal milling) (ท่มี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565)

36 1) ฐานเครื่อง จะมีความแข็งแกรงและเปน สวนท่รี องรบั อปุ กรณตางๆ ของเคร่อื งกัด และ ยังทำหนา ทเี่ ปนอา งเกบ็ น้ำหลอเยน็ 2) เสาเครื่อง โครงยึดหลักที่ติดตั้งในแนวตั้งบนฐานเครื่อง เสาเครื่องมีรูปทรงเปนชอง ดา นในและมกี ลไกขับเคลื่อนสำหรบั แกนหมุนและโตะงาน 3) แทนรองโตะงาน เปนเหล็กหลอแข็งที่ติดตั้งไวที่ดานหนาของเสาเครื่อง แทนรองโตะ งานจะเคล่อื นที่ในแนวตัง้ และการเคลอ่ื นท่ีชวยในการปรับระยะหางระหวางเครื่องมือกดั กบั ชิ้นงานที่ติดต้ังอยู บนโตะงาน 4) แครเล่อื น จะวางอยรู ะหวา งแทน รองโตะงานและโตะงาน แครเ ล่อื นจะเคล่ือนชน้ิ งาน ตัดขวางกบั มดี กัดคอื การเคลื่อนทีเ่ ขาหรือเคลื่อนท่ีอกบนรางเล่อื นของแทนรองโตะงาน 5) โตะงาน จะวางอยูบนรางเลื่อนในแครเลื่อนและเปนที่ยึดชิ้นงาน โตะงานทำจาก เหล็กหลอและมีพื้นผิวดานบนที่ราบเรียบและรางรองตัวทีเพื่อติดตั้งสลักเกลียวยึดชิ้นงาน โตะงานสามารถ เคลือ่ นทไี่ ด 3 ทิศทาง - การเคลื่อนทใี่ นแนวต้ัง Z ข้ึนและลง โดยการเล่อื นแทน รองโตะงาน - การเคล่ือนทต่ี ดั ขวาง Y เขา หรอื ออก โดยการเลือ่ นแครเ ลอื่ นสัมพนั ธกับแทนรองโตะ - การเคลอื่ นท่ตี ามยาว X ซายมือหรอื ขวามือ โดยมอื หมุนเลื่อนทีต่ ดิ ตั้งอยูดา นขา ง 6) คานเพลา ตดิ ต้งั อยูทดี่ านบนของเสาเครื่อง ใชเ ปน อุปกรณร องรบั แกนสวมมีดกัดและ ใหอยูในตำแหนงทีถ่ ูกตอ งกบั พื้นผวิ ทถี่ ูกกดั 7) แขนรับแกนสวมมดี กัด จะถกู ตดิ ตั้งเขากับคานเพลาจบั มีดกัด และสามารถยึดมีดกัดท่ี ตำแหนงตางๆ บนคานเพลาจับมีดกัด หนาที่ของแขนรับแกนสวมมีดกัดคือ การจัดตำแหนงและรองรับแกน สวมมดี กดั และขบั มีดกัด 8) สกรูขับโตะงาน แทนรองโตะงานและโตะงานจะเคลื่อนที่ขึ้นหรือลงดวยสกรูขับโตะ งานทท่ี ำงานดวยมือหรือการปอนอตั โนมัติ 5.5.2 แกนเพลาจบั มีดกัด (Arbor) ยึดติดกับแกนเพลาหวั เครื่องกัดทำหนาท่ีจบั ยึดมดี กัดพามดี หมนุ ตัด ชนิ้ งาน ใชค กู ับเครื่องกัดเพลานอน แกนเพลาจับมีดกัด รูปท่ี 5.8 แกนเพลาจบั มดี กดั (ท่มี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565)

37 5.5.3 ยันศนู ย (Foot Stock ) ทำหนาทีย่ ึดช้นิ งานและปรับตั้งตำแหนง ของชิ้นงานทต่ี องการกดั ใหอยูใน แนวระดบั และแนวนอน รูปที่ 5.9 ยันศนู ย (ทม่ี า : อำนาจ เสมอวงศ, 2565) 5.5.4 ดอกกัดเฟองตรง (Involute Spur Gear) ใชสำหรบั กดั เฟองตรงบนเครอื่ งกดั เพลานอนและ สามารถกดั เฟองเฉยี งหรือเฟอ งดอกจอก เฟอ งตรง (Spur Gears) เฟองเฉยี ง (Helical Gears) เฟอ งดอกจอก (Bevel Gears) รปู ที่ 5.10 การใชงานดอกกดั เฟอ ง (ท่ีมา : อำนาจ เสมอวงศ, 2565)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook