Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 5 ระบอบการเมือง

หน่วยที่ 5 ระบอบการเมือง

Published by นางกมลพร สวนทวี, 2021-09-25 15:42:34

Description: new64หน่วยที่ 5 ระบอบการเมือง

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 5 ระบอบการเมืองการปกครอง รายวชิ า ส31101 หน้าทพี่ ลเมอื ง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4

ตวั ช้ีวัด ส 2.2 ม 4-6/1 วิเคราะห์ปญั หาการเมอื งทีส่ าคัญ ในประเทศจากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ พรอ้ มท้ังเสนอ แนวทางการแกไ้ ข ส2.2 ม 4-6/2 เสนอแนวทางการเมอื งการ ปกครองที่นาไปสูค่ วามเขา้ ใจและประสาน ประโยชน์ร่วมกันระหวา่ งประเทศ ส2.2 ม 4-6/3วเิ คราะหค์ วามสาคญั และความจาเปน็ ทีต่ อ้ ง ดารงรกั ษาไว้ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

ข้อสอบ o – net ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ ทรงเปน็ ประมขุ ใครมอี านาจสูงสดุ ของประเทศ 1. พระมหากษตั รยิ ์ 2. ประชาชน 3. รฐั สภา 4. รฐั บาล

ขอ้ สอบ o – net พระมหากษัตริย์ไทยทางใชอ้ านาจนิติบัญญตั โิ ดยผ่าน ทางสถาบนั ทางการเมืองใด 1. ศาล 2. รฐั สภา 3. คณะรัฐมนตรี 4. คณะองคมนตรี

ลกั ษณะการเมืองการปกครอง

ประเทศต่าง ๆ ย่อมมีระบบการเมอื งการปกครองทปี่ ระชาชนสว่ นใหญ่ ของประเทศเช่อื ว่าเหมาะสม สอดคล้องกบั ความคิดความเชอ่ื ประวัติศาสตร์ และสภาพทางเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ของประเทศนั้น ๆ หากระบอบการเมอื งการปกครองในขณะนัน้ เกิดความไมเ่ หมาะสมตอ้ ง มีการเปลย่ี นแปลงและพัฒนารูปแบบการเมืองการปกครองให้เหมาะสม ระบอบการปกครองทปี่ ระเทศต่าง ๆ ใช้กนั อยู่ มี 2 ระบอบ คอื ระบอบประชาธิปไตย และ ระบอบเผดจ็ การ

หลกั การของระบอบประชาธิปไตย 1. อานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสดุ ในการปกครองประเทศ เป็นอานาจทม่ี าจากปวงชน “อานาจของรัฐ” โดยผู้ที่จะได้อานาจปกครองจะต้องไดร้ ับความยินยอมจากประชาชนส่วนใหญ่ ในประเทศ 2.ประชาชนมสี ทิ ธ์ทิ ่ีจะมอบอานาจปกครองใหแ้ ก่ประชาชนดว้ ยกนั โดยการออกเสยี ง เลือกตง้ั ประชาชนกล่มุ หนึ่งทอ่ี าสามาเป็นผบู้ ริหารประเทศแทนประชาชน โดยมกี ารเลอื กต้ัง ตวั แทนประชาชนพร้อมกนั ทั่วประเทศ

หลักการของระบอบประชาธิปไตย(ตอ่ ) 3. รัฐบาลจะตอ้ งเคารพสิทธแิ ละเสรภี าพขัน้ พ้นื ฐานของประชาชน 4. ประชาชนทุกคนมสี ิทธิเสมอภาคกนั 5. รัฐบาลถือกฎหมายและความเปน็ ธรรมมาเป็นบรรทดั ฐานในการปกครองและแก้ปญั หา ความขัดแย้งตา่ ง ๆ ภายในประเทศ โดยรัฐบาลจะต้องไม่ออกกฎหมายท่ีมผี ลลงโทษบุคคล ยอ้ นหลัง

รปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย มี 2 รูปแบบ 1. ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 2. ระบอบประชาธิปไตยทมี่ ปี ระธานาธบิ ดเี ป็นประมุข

点击此处输入标题内容 ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพะมหากษตั รยิ ์ ระบอบประชาธิปไตยที่มี ทรงเปน็ ประมุข ประธานาธบิ ดเี ปน็ ประมุข ไทย ญป่ี ่นุ สหรฐั อเมริกา บราซลิ สหราชอาณาจักร เม็กซิโก อนิ โดนีเซยี นอรเ์ วย์ สวีเดน เกาหลีใต้ ฯลฯ เนเธอร์แลนด์ ภฎู าน ฯ



การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมมี หากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข พระมหากษัตริยจ์ ะทรงใช้อานาจอธปิ ไตยผา่ นสถาบันการปกครอง ไดแ้ ก่ รัฐมนตรี รัฐสภา และศาล โดยมนี ายกรัฐมนตรเี ป็ นหวั หน้ารัฐบาลหรือฝ่ ายบริหาร

การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยที่มปี ระธานาธบิ ดีเปน็ ประมุข ประธานาธบิ ดีจะดารงตาแหน่งทัง้ ประมขุ ของประเทศและหวั หน้าฝ่ายรฐั บาล โดยประธานาธิบดีจะมาจากการเลือกตง้ั และอยู่ในตาแหน่งจนกวา่ จะครบวาระ สหรัฐอเมริกา ฟิ ลิปปิ นส์ อนิ โดนเี ซีย

ระบอบเผดจ็ การ เปน็ ระบบการเมอื งการปกครองทม่ี ีลักษณะเด่นอยูท่ ี่การรวมอานาจ ทางการเมอื งการปกครองไว้ที่บคุ คลเพียงคนเดียว คณะเดยี ว หรอื พรรคเดยี ว โดย บุคคล คณะบุคคล หรอื พรรคดังกลา่ ว สามารถใช้อานาจควบคมุ ประชาชนไดโ้ ดย เดด็ ขาด ถ้าประชาชนคนใดคัดคา้ นผ้นู าหรอื คณะผนู้ าจะถกู ลงโทษดว้ ยมาตรการต่าง ๆ

หลกั การของระบอบเผด็จการ 1. ผู้นาคนเดียว หรือคณะผู้นาของกองทพั หรือพรรคการเมืองเพียงกล่มุ เดียว มีอานาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ และสามารถใช้อานาจนน้ั อย่างเตม็ ท่ี 2. การรักษาความม่นั คงของผู้นา หรือคณะผนู้ าสาคญั กวา่ การคมุ้ ครองสทิ ธิและ เสรีภาพของประชาชน ประชาชนไม่สามารถวิพากษ์วิจารณก์ ารกระทาของผูน้ าได้อย่าง เปิดเผย

หลกั การของระบอบเผดจ็ การ 3. ผนู้ าหรือคณะผนู้ าสามารถอยูใ่ นอานาจไดน้ านภายใต้การสนบั สนนุ ของ กองทัพ ประชาชนทว่ั ไปไมม่ ีสทิ ธิเปล่ียนผู้นา 4. รฐั ธรรมนญู และการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผแู้ ทนท่ีได้จดั ข้ึนตามรัฐธรรมนญู และรัฐสภา ไม่สาคัญตอ่ กระบวนการปกครองเหมือนระบอบประชาธปิ ไตย โดย รัฐธรรมนูญเปน็ เพยี งแค่รากฐานรองรับอานาจของผูน้ าหรอื คณะผ้นู าเทา่ นน้ั

ระบอบเผด็จการ 3 แบบ คอื 1. เผดจ็ การทหาร 2. เผด็จการฟาสซสิ ต์ 3. เผดจ็ การคอมมิวนสิ ต์

ระบอบเผดจ็ การทหาร หมายถงึ ระบอบเผดจ็ การท่คี ณะผนู้ าฝา่ ยทหารเปน็ ผู้ใช้อานาจเผดจ็ การ ในการปกครองโดยตรงหรอื โดยทางอ้อม ผา่ นทางพลเรือนที่พวกตนสนับสนุน และมกั ใชก้ ฎอัยการศกึ หรือรัฐธรรมนูญท่คี ณะของตนสรา้ งขึ้นเป็นเครอ่ื งมอื ใน การปกครอง

ระบอบเผดจ็ การฟาสซิสต์ หมายถึง ระบอบการปกครองท่ีเนน้ ความสาคญั ของผูน้ าว่ามีอานาจเหนอื ประชาชน เปน็ ลทั ธชิ ้ีนาการปกครองและมงุ่ ใช้อานาจเผด็จการของผนู้ าปกครอง ประเทศเปน็ การถาวร เช่น การปกครองของอติ าลีในสมัยเบนโิ ต มสุ โสลินี การปกครองของเยอรมนี ในสมัยอดอลฟ์ ฮิตเลอร์

ระบอบเผดจ็ การคอมมวิ นิสต์ หมายถงึ ระบอบเผด็จการที่มพี รรคคอมมิวนิสตเ์ พยี งพรรคเดียวได้รบั การ ยอมรับ หรอื สนบั สนนุ จากกล่มุ บุคคลตา่ ง ๆ และกองทพั ใหเ้ ปน็ ผใู้ ชอ้ านาจเผดจ็ การ ปกครองประเทศ เช่น สหภาพโซเวยี ตในอดีต หรือ ประเทศสาธารณรฐั ประชาชน จนี มีการปกครองแบบคอมมวิ นสิ ต์ทเี่ ป็นแบบฉบบั ของตนเอง ระบอบเผด็จการคอมมวิ นิสต์ นักรฐั ศาสตร์เรียกว่า “ระบอบเผด็จการแบบ เบด็ เสร็จ” เพราะควบคมุ ดา้ นการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม

รปู แบบของรัฐแบ่งได้ 2 รปู แบบได้แก่ 1. เอกรฐั หรอื รฐั เดีย่ ว (Unitary State or Single Stage) หมายถึง รัฐท่มี ี รฐั บาลกลางเพียงรฐั เดียวใชอ้ านาจอธิปไตยปกครองดนิ แดนทงั้ หมด อาจมีการ กระจายอานาจให้ท้องถนิ่ ไดบ้ รหิ ารได้ตามท่รี ัฐบาลเหน็ สมควร ประเทศทมี่ ีรูปแบบรัฐเดี่ยว เชน่ ราชอาณาจกั รสเปน ญีป่ ุ่น สาธารณรฐั สงิ คโปร์ ราชอาณาจกั รไทย เปน็ ตน้ ผลดขี องรูปแบบนี้ คือ มคี วามเปน็ เอกภาพสงู มีความเปน็ ปกึ แผ่นมัน่ คง และประหยดั งบประมาณในการบริหารประเทศ

รปู แบบของรฐั แบง่ ได้ 2 รปู แบบได้แก่ 2. สหพนั ธรัฐหรอื รัฐรวม (Federal State or Dual State) หมายถึง รฐั ที่มี รัฐบาล 2 ระดบั คอื รฐั บาลกลางและรัฐบาลทอ้ งถิน่ ของแตล่ ะมลรัฐ รฐั บาลในแต่ละระดบั จะใช้อานาจอธิปไตยปกครองตามทร่ี ฐั ธรรมนญู กาหนดไว้ รฐั บาลกลางเป็นผ้ใู ชอ้ านาจในกจิ การท่เี กีย่ วข้องหรือกระทบต่อผลประโยชน์สว่ นรวม ของชาติ เช่น การทหาร การตา่ งประเทศการคลงั ส่วนรฐั บาลท้องถ่นิ มีอานาจใน กจิ การท่ีเกี่ยวกับทอ้ งถนิ่ ของตนโดยเฉพาะ เช่น การศึกษา การสาธารณสขุ การไฟฟ้า การรักษาความสงบเรยี บร้อย เป็นต้น

ประเทศที่มีรปู แบบของรัฐในลักษะน้ี ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สมาพนั ธรัฐรัสเซีย มาเลเซยี เปน็ ต้น ผลดขี องรปู แบบน้ี คอื ทาให้การปกครองท้องถ่นิ เป็นไปอย่างทว่ั ถึง สามารถ แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ได้รวดเรว็ ลดภาระของรฐั บาลกลาง ส่งผลให้ประเทศพฒั นาอย่าง รวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพ ผวู้ ่าการรฐั แคลิฟอรเ์ นีย

ประเทศไทยมีรปู แบบการปกครองแบบเอกรัฐหรือรฐั เดีย่ ว โดยบญั ญตั ิไว้ใน รัฐธรรมนูญวา่ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหน่งึ อนั เดียวจะแบ่งแยกมิได้ และ จะตอ้ งพทิ กั ษ์รกั ษาไว้ซง่ึ สถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธปิ ไตย และบูรณภาพแห่ง อานาจ และจะตอ้ งจัดใหม้ กี าลงั ทหาร อาวุธยทุ โธปกรณ์ และเทคโนโลยีทที่ นั สมยั จาเป็นและเพยี งพอเพ่อื พิทกั ษร์ ักษา เอกราช อธปิ ไตย ความม่ันคงของรัฐสถาบัน พระมหากษัตรยิ ์ ผลประโยชน์แหง่ ชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข และเพ่อื พฒั นาประเทศ

การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ประเทศไทยมีการปกครองในรูปแบบระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ พระมหากษัตริย์ทรงอย่เู หนอื การเมอื งและทรงใช้อานาจอธิปไตยแทนปวงชน รวมท้ัง ปฏบิ ัตพิ ระราชกรณียกิจอื่น ๆ ตามทก่ี าหนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ จะทรงใช้อานาจอธิปไตยผา่ นสถาบนั การปกครอง ไดแ้ ก่ รัฐมนตรี รฐั สภา และศาล โดยมีนายกรัฐมนตรเี ปน็ หัวหนา้ รัฐบาลหรือฝา่ ยบรหิ าร

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ อานาจอธิปไตย อานาจนติ ิบัญญัติ อานาจบรหิ าร อานาจตุลาการ

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข อานาจอธิปไตย ปวงชนชาวไทย อานาจนิตบิ ญั ญตั ิ อานาจบรหิ าร อานาจตุลาการ รัฐสภา คณะรฐั มนตรี ศาล

อานาจนิติบญั ญตั ิ สภา อานาจหนา้ ท่ี ผแู้ ทนราษฎร - เสนอและพจิ ารณากฎหมาย - ควบคมุ การบรหิ ารราชการแผ่นดิน รฐั สภา - สทิ ธเิ ข้าช่ือเพ่อื ทาการถอดถอนผดู้ ารงตาแหนง่ ทาง การเมือง วฒุ ิสภา - ควบคุมการตรากฎหมายทีข่ ัดหรือแย้งตอ่ รฐั ธรรมนญู อานาจหน้าท่ี - พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัติ - ควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน่ ดิน - มีอานาจให้ความเห็นชอบแตง่ ต้ังตุลาการศาล รฐั ธรรมนูญ - ใหค้ วามเหน็ ชอบกรณแี ก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนญู

อานาจบรหิ าร อานาจหน้าที่ คณะรัฐมนตรี 1. กาหนดนโยบายบริหารราชการแผ่นดินและ บรหิ ารใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย 2. รักษากฎหมายและความสงบเรียบรอ้ ย เพือ่ ให้ ประชาชนปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์สินและให้มกี าร ดาเนินชวี ติ โดยปกติสขุ 3. ควบคุมขา้ ราชการประจาให้นานโยบายไปปฏบิ ัติ ให้บงั เกิดผล 4. ประสานงานกับกระทรวงต่าง ๆ ให้เปน็ ไปใน แนวทางเดยี วกันและสอดคลอ้ งกัน 5. ออกมตติ า่ ง ๆ เพ่ือใหก้ ระทรวง กรมตา่ ง ๆ ถอื ปฏบิ ัติ 6. เสนอกฎหมาย พระราชบญั ญตั ิ พระราชบญั ญตั ิ ประกอบรัฐธรรมนูญรวมท้งั ออกพระราชกาหนดให้ บังคบั ใช้

อานาจตุลาการ ศาล ศาล ศาล ศาล ศาล รฐั ธรรมนญู ยุติธรรม ปกครอง ทหาร ศาลช้นั ต้น ศาลปกครองชน้ั ต้น ศาลทหารชัน้ ต้น ศาลอทุ ธรณ์ ศาลฎกี า ศาลปกครองสูงสุด ศาลทหารกลาง ศาลทหารสูงสุด

อานาจตุลาการ ศาล - พจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนูญ ที่ผา่ นการเหน็ ชอบจากรัฐสภา ศาล ศาลยุตธิ รรม - พิจารณาวินจิ ฉัยบทบญั ญัตแิ ห่งกฎหมายมี - อานาจอื่นตามทร่ี ัฐธรรมนญู บัญญตั ิ ศาลปกครอง - พิจารณาพพิ ากษาคดที ัง้ ปวง ศาลทหาร - พจิ ารณาคดีแพง่ และคดีอาญาที่มกี ารอทุ ธรณ์ - พิจารณาพิพากษาคดที ่ีรฐั ธรรมนญู หรือ กฎหมายบญั ญัติไว้ - พิพากษาคดีเนอื่ งมาจากการใช้อานาจ ปกครองทางกฎหมาย - พจิ ารณาพพิ าทษาคดีอาญาทผ่ี กู้ ระทาผิด เปน็ บคุ คลทอ่ี ยอู่ านาจศาลทหาร และคดอี ่นื ที่ กฎหมายบญั ญตั ิ

ประมขุ 3 ฝ่ายของอานาจอธิปไตย อานาจ อานาจบรหิ าร อานาจตุลาการ นติ ิบัญัติ 标题 输入文字内容 นายชวน หลีกภัย พลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นางเมทนิ ี ชโลธร

ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์

พระราชสถานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั ริย์ รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ไดก้ าหนดไว้ในรัฐธรรมนญู ไทยทุกฉบับ อันเป็นกฎหมายแม่บทสูงสดุ ในการปกครองประเทศ จะตอ้ งกลา่ วถงึ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ไ์ วใ้ น รฐั ธรรมนูญ เพราะรูปแบบประมุขของประเทศไทย คือ พระมหากษตั ริยท์ ี่สบื เนอื่ งกันมาอยา่ ง ยาวนาน ตามประเพณกี ารปกครองไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมขุ และตามรฐั ธรรมนญู พระมหากษัตริย์จะมพี ระราชสถานะและตาแหน่งหน้าที่ต่าง ๆ มี 2 ประการ คอื 1. พระราชสถานะและพระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์ทบี่ ญั ญตั ิไวใ้ นรฐั ธรรมนูญ 2. พระราชสถานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ต์ ามประเพณีการปกครอง

พระราชสถานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ ท่ีบญั ญตั ไิ ว้ในรฐั ธรรมนูญ ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศ ทรงเป็นกลางและอยเู่ หนอื การเมอื ง ทรงดารงอยใู่ นฐานะอนั เป็นท่เี คารพสกั การะ ทรงเปน็ พทุ ธมามกะ และ ทรงเป็นอคั รศาสนูปถมั ภก ทรงดารงตาแหนง่ จอมทัพไทย

พระราชสถานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ์ ตามประเพณกี ารปกครอง ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศ ทรงเป็นตวั แทนของปวงชนชาวไทย ทรงเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละศนู ย์รวมแหง่ ความสามคั คี

พระราชสถานะของพระมหากษัตริย์ท่ีบญั ญตั ไิ ว้ในรัฐธรรมนญู ทรงอยู่ในฐานะประมขุ ของประเทศ ทรงเป็นกลางและอยู่เหนือการเมอื ง

พระราชสถานะของพระมหากษัตรยิ ์ท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นรัฐธรรมนญู ทรงดารงอยู่ในฐานะอันเปน็ ท่ีเคารพสกั การะ

พระราชสถานะของพระมหากษตั รยิ ท์ ่ีบญั ญตั ไิ ว้ในรัฐธรรมนญู ทรงเป็นพุทธมามกะ และ ทรงเป็นอัครศาสนปู ถัมภก

พระราชสถานะของพระมหากษตั ริย์ที่บญั ญัตไิ ว้ในรัฐธรรมนูญ ทรงดารงตาแหนง่ จอมทพั ไทย

พระราชสถานะของพระมหากษัตรยิ ์ตามประเพณกี ารปกครอง ทรงเป็นตวั แทนของปวงชนชาวไทย

พระราชสถานะของพระมหากษตั ริย์ตามประเพณกี ารปกครอง ทรงเป็นเอกลกั ษณแ์ ละศูนยร์ วมแหง่ ความสามคั คี

พระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ - การแตง่ ต้งั องคมนตรี - การแต่งตง้ั ผ้สู าเร็จราชการแทนพระองค์ - การแตง่ ตั้งรชั ทายาท - การแก้ไขกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตตวิ งศ์

พระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์ - การพระราชทานอภัยโทษ - การสถาปนาและถอดถอนฐานนั ดร - การตราพระราชกฤษฎกี า

พระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์

สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอเจ้าฟา้ พัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสริ พิ ชั ร มหาวชั รราชธิดา

พระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์ - การเรยี กประชมุ เปิดประชุม ปิดประชุม และขยายเวลาการประชมุ ของรัฐสภา - การยุบสภา แต่งตงั้ ประธานสภา สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒิสภา

พระราชอานาจของพระมหากษัตรยิ ์ - การแตง่ ตั้งนายกรัฐมนตรี - การใหร้ ฐั มนตรีพน้ จากความเปน็ รฐั มนตรี

พระราชอานาจของพระมหากษตั รยิ ์ - การแต่งต้งั คณะกรรมการองคก์ รอสิ ระ - คณะกรรมการการเลอื กตง้ั - ผู้ตรวจการแผน่ ดิน - คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชน - คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ - คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook