6๓ อนึ่ง มีทางเคียวเท่านึ่นที่จะกล่าวถึงเกำโกร สมเด็จพระพทธะ เก,าโกรงนึ่นมีอยู่แล้วในวิธีที่สมเด็จพระพุทธ ทรงแสดงไว้ในป^มเทศนาอ้นเรียกว่าธรรมจ*กรอ้ปปว*ตนสูตร น'ยหนึ่งการวางราก^านแห่งภาวะสไมาปฏิบัติ ซึ่งพระพุทธองค แสดงแก่บ่ญจวกคีย์ ณ อิสิปตนมฤคทายอ้น ใกล้กรุงพาราณสี บทสำ*ทาย เพ็ญกลางเดือนหกบ่นึ่ ตรงก่บว่นศกรีที่ ๓ ๐ พฤษภากม แล ในอ้นเพ็ญกลางเดือนหกดงว่าบรรดาพุทธมามกที่งํ้หลายในประเทศ จะพาก่นไปทำบญกํกบาตร และนำธป ๓ ดอก เทียน ๑ เล่ม และ คอกบ*ว ๒-๓ ดอกไปทำการเการพสไการะ ณ เบองหนำ,พระพุทธรู เบนการน*อ์มจิตรำลึกนึกถึงกวามคีที่พระองค'ทรงมีเมตตาสอนส เวไนยสํฅว์ เบื่นการชั้ทางให้ได้บรรลุถึงพระนิพพานอ้นเบนจดหมาย ปลายทางของพุทธมามกทุกๆกน แต่บางท่านอาจฉงนใจว่า ทำไมจึ ตไงใช้บชาดไยดอกบ*วกํวย ที่งนึ่ก็เพราะว่าดอกบวน1นเบ็่นเครื่องห ในทางติลปที่สำแดงคีงปร'ชญาแห่งพระพุทธศาสนาและที่งไค้ ‘แก่นอย่างแพร่หลายกว่างขวางแต่นานมาแก่ว กวามหมายของคอกบ นึ่นก็คือว่า ผงรากในเธื!อกตม แต่ก็งอกงามโผล่ผิวนาขนมากํวย ล'กษณะสะอาดเอี่ยม และงดงามอย่างแจ่มจำนำดู แล่วก็แย เบ่งบานอย่างบริสทธผดผ่องพวยพ่งขนสู่ทํองพานภาลไเ อ้นเป
๘๔ กบสรวงสวรรค ฐานที่พระพทธศาสนาเบนส*จ์ธรรมรึงเปรียบไค้เสมอ กบคอกบ*ว ซึ่งอำนาจอํนล็ลบทำให้ดอกงอกออกมาจากพั้นฐานอ*น เบ็นเบือกฅม เช่นเคียวกบคติในพระพทธศาสนา ซึ่งมนหมายที อยู่เสึยให้พ*นจากภาวะอวิชชา และ'โลกอ''นสบสนอลหม่านของมนุษย์ มีดอกไม้ชนิดอื่น ๆ อีกเหมือนก''นที่ใช้บชาพระก*'นถึงคอกไม้ ชนิดอื่น ๆ ก็เช่นเคียวก*บดอกบํว ย่อมเบี่นส*ญญลกชณ์สำแด ในธรรมชาติ ซงสวยงามที่สุค แด่ก็มืภาวะอนิจจ*'งที่สค คือบ บุปผาผกาชาติทงหลายท1งปวงน8น ด่างก็เบ่งบานดอกออกอย่างเติมที่ ทงนีก็เพอทจะอบเฉาโรยราและย่อยย*ปลง บปผชาตินานาพรรณมี ทรง มีกวามงามผิดแผกแดกด่างก*น ด้วยกล็น ทรงกลีบ และรป ดอก แด่ในชีวิฅของบรรดาคอกไม้แด่ละดอกน1นก็มืมรณะควบก่อย่ ด้วย จริงอยู่มีดวามเติบโดและงอกงาม แด่ก็มีกวามเสื่อมสลายเคียงก อยู่ควย แม้กวามงามของดอกไม้นํ้นใช่ว่าจะกงทนอย่ไค้น ไม่ชาไม่นานก็จะฅองถึงกาลอวสานของมน ด*งนเองคอกไม้จึงเ ส*'ญญล''กขณ์เสมอเหมือนก*'บ ทุกข์ อ*นมีอย่ในส*งสารว'ฏ เบืนภาวะ อนิจจ*งและเบนความหม่นหมองของสี่งที่งหลาย โดยทำนองเค บรรดาดอกไม้ที่งหลายยิงให้เกิดเมล็ดเพื่อการเกิดขนมาใหม่ เตือนใจเราท่านได้อย่างคีถึงภาวะ กรรม ซึงมนษย์ได้ประกอบกรรม
๘๕ ทาขนไไว้ดๅย‘[จุกิ^Vเรือการกระทำ จะเบ็่นผลชกนำให้มนษย์ เกดใหม่ในภพหนา นีเบ่นกติในพร\"พทธศๅสนๅอีๆ!,-หม่อนกน สญญลกขณ์อีกอย่างหนึ่งชองพระพทธศาสนา ก็กึอรป ธรรมจกร ซงเราเห็นก่นที่,วไปบนธง ซึ่งพุทธมามกช*กก*นตามบาน ไนวนนึ่ จิตรกร นกเขียน นกปร*ชญา และศิลบิ'น แผนกฅกแต่ง ย่อมพากนใช้เครืองหมายธรรมจ*กร เพื่อต,องการจะสำแดงออกซึ่ กวามคิดเกี่ยวก*บธรรมะในพระพุทธศาสนา การหมุนธรรมจุ*กรย่อม หมายถึงการเทศนา หรือการทำให้ธรรมะได้มีภาวะดำเนิน!,ดินไป ซลอแปดซน*นหมายถึงมรรคแปด และล้อแต่ละซี่มีกวาม ยาวเท่า ๆ กนนน ต1งํ้ใจให้หมายถึงความยุติธรรม ในวงล้อน,นหมาย ถึงบญญาอไเจะสามารถผ่านไปได้ไม่ว่าที่ไหน ใกล้หรือไกล คม นนหมายถึงความสงบเสงี่ยมและความมีแก่ใจ ส่วนท่อนเพลาล้อนน คือส*จจะซึ่งจ'กรแห่งชีวิตหมุนไปบนเพลา,น ในที่สดนึ่ ไม่มีอะไรเหมาะสมไปกว่าที่จะทำก นอบน้อมพระร'ฅนฅร”ยค'งนึ่
^ 0) “อุตมงค์โกเมศแมน กุสุมาลค์ แสงเนตรส่องเสนอปาVI ปทปแกว เสาวคนธ์ค่ใจบาน โอษฐ์เทยบ ธูปนา บูชิฅตริ!]รตน์แพร้ว พรํ่งพร*อมเอนทร่ย์” “อำนาจอันนอบน,อม ไตรยร่ฅน์ สรวมสร่างสรรพพิบฅิ วิบากเศร่า มงคลศิริพิพ็ฒน์ พนเพิม ข้าแฮ อานุภาพพระเกลี่ยเกส่า สบสํ้นสงประสงค์”
/,1.\"/\" -''
บทฑ ๙ วํนอาสาฬหบชา ('ปงตรงถํบเทญกลา11ดอน ๘ และกำหนดให้เบน ทีระลถนอบนฮมต่อพระสง91) ด พิธีทางพระV'เทธศาสนา แท่ง-ว'นอาสาฬหบุ,ชาเบ็่นการ แซ่ซ่องเฉลิมฉลอง ซึ่งตงํ้ใจกำหนดให้เบ็นที่-ระลึก แก่การแลดงปฐม เทศนาของสมเด็จพระพทธองค์ และท8งย์งเบื่นสญญลำขณ์แห่งก ประกาศศาสนา ซึ่งหมายถึงการทรงต8งทันโปรดเทศนาพระธรรม กำสอนแก่เวไนยสํฅว์อีกคิวย อาสาฬห เบนชื่อดาวฤกษ์กล่มหนึ่ง และเมื่อถึงเดือน ๘ จนทรกฅิ ดวงจํนทร์ไค้โคจรผ่านกลุ่มคาวฤกษ์นึ่ ทังนนการเการพ บชาในเพ็ญกลางเดือน ๘ จึงไค้ชื่อว่า อาสาพหนู'ชา สมเด็จพระพทธองคทรงบรรลุโพธิญานในราตรีเพ็ญกลา เดือน ๖ ภายใต้สาขาของทันโพธิหรือไม้อสสำถริมผงแม่นาเนรีญ ตำบลอุรุเวลา ใกล้หมู่บ้านพุทธกยา ซึ่งอยู่ในรฐพิหารของอินเด บ้จจบ้น หล*'งจากที่'ไค้ทรงตรีสรู้แล*'ว พระองค์ไค้ทรงประทับอยู เบนเวลา ๗ สปคาห กอ ๔๙ วนเตม
๘ ในสํ!)คาห็ที่ ๗ ระหว่างทีทรงประทบอย่ ณ ท้น\"น มีช'1ย พี่น,องสองกน ซื่อ ฅปสส และ ภ่ลลิก ผู้ซึ่งคุมกองเกวียนมาหยุ ยงพกอากิยอย่ ณ ที่ใกล้ ‘คุ ไค้ประสบพบเห็นพระพทธองกิทร ลกษณะบรรเจิดเฉิดฉาย จากการที่ได้ทรงบรรลโพธิญาณมาให จึงได้ทำการน้อ์มถวายขำวส่ฅตแก่พระองกิ สมเด็จพระพุทธองค์ท ร*บของถวายจาก,ส่อด้าสองพี่น,องมาเสวย ส่วนสองพี่น้องน1นเล ทำการปวารณาตนเบั่นอบาสก เคารพนอบน้อมต่อพระพทธองค์และ ยึดธรรมเบนสรณะ ด้งนึ่นนายพาณิชท1งสองจึงไค้ซื่อว่า เบนเทว วาจิก คือ สาวกฆราวาสค่แรก เมื่อส*ปดาห็ที่ ๗ สั้นสดลงแล้ว ขณะที่สมเด็จพระพทธอง ประทํบอยู่ภายใต้สาขาของด้นไทรใหญ่ใบหนา ไค้ดรงฅริดรึก ว่า กวรจะไค้มีอะไรส*กอย่างหนึ่งไว้ให็ผู้มีจิดเลื่อมใสกราบไหว้ เพี่อเบนหล*กยึดถือ และกร8นแล้วก็ทรงมองไม่เห็นอื่นใดน พระธรรม พระองค์ทรงฅระหน*กว่า ส*จธรรมที่ทรงด้นพบนึ่น ย่อม เบั่นสี่งยากขื่งที่บรรดาเวไนยล้ต่ว์จะเข้าใจและหย่งร้ไค้ อนึ ทรงดำริด้วยเมฅฅาจิฅว่า สจธรรมย์น่คิมะ (ขน๒8(ธ น63!๒) ท พบไว้นึ่น่ ควรที่จะทำการประกาศเบั่คเผยเบั่นการแบ่งบั่นให้ผู ไค้เขาถึงด้วย แล้วแน่พระท'ยว่าจะด้องมีผู้กนชนเบั่นด้นมาก สามารถไค้รบประโยชนจากการกนพบของพระองค์กรงนึ่ แล้วในขณ
๘๙ ระยะนนเองผ้ที่พระองค์ได้ทรงรำลึกนึกถึงก่อนผ้อึ่นก็กือ อาฬารและ อุทก อดีตพระอาจารย์ของพระองค์ แด่หากนำพรฅทงสองบ'ดนหา ชีวิตไม่แล้ว จึงได้ทรงรำลึกนึกต่อไปถึงบญจวำคีย์ ผ้ซึ่งเค พระองค์มา สม',ยเมื่อพระองค์ทรงบำเพ็ญทุกข์กิริยา เมื่อคอนสม',ยแรกๆ แห่งการเสาะแสวงหาโมกขธรรมของพระองค์ ดำนํ้นพระองค์จึงได้ออกเสด็จไปย*งบาอิสิปฅนมฤคทายว', แห่งกรงพาราณสี พระองค์เสด็จถึงบานไเก่อนควงอาทิตย์อำดง ขั้น©๔กำ เดือนอาสาฬหกีอเดือน ๘ในบำแห่งน*นบญจวำคีย์ม เห็นพระพุทธองค์แต่ไกล จึงได้พยายามทำฅนแข็งกระดำงไม่เอาใจ ในพระองค์ และท8งยํงจะไม่แสดงกวามเการพอีกดำย โดยทิดเอาเอง ในใจว่า พระองค์กงค์องทรงล้มเหลว ไม่สามารถประสพพบส่จธรรม ตามที่ทรงค์นหานไแบนแน่ กร8ใ.แมื่อไค้เผชิญพระพ'ก์ฅร์พระองค ได้มองเห็นล',กษณะเฉิดฉายในพระองค์ บญจวำกีย์กล่มน้เกิดงง และตกตะลึงพรึงเพริค ได้ทำอะไรลงไปโดยไม่รู้สึกดำ และลืมกวาม ทิดที่จะทำการเหยียดหยามพระองค์จนหมดจนสิน แลำได้ช่วยก*,น การชำระค์างพระบาทให้พระพทธองค์ และนิมนต์ให้พระพทธอ ทรงพำนำค์างแรมดำยก*บ่ตน ต่อมาไม่ชาไม่นาน พระพุทธองค์ได้ ทรงตรำแก่บญจวำคีย์ที่ง ๕ ว่า พระองค์ได้ทรงบรรลุโพธิญา เพียรพยายามด*นค์นค์นหานํ้นแลำ และทงยำไค้ทรงค์างแรมในบ ตามที่บญจวกคีย์กราบทูลนิมนต์อีกดำย
๑๐0 ก!นใเอต้นร่งขน ต้นเบนเพ็ญเดือนอาสาฬห หรือเดือน ๘ ขณะที่ควงอาทิตย์กล,อยเคลื่อนเลื่อนตำใกล้จะตกดิน พระพุทธ ได้ทรงแสดงปฐมเทศนาแก่บญจต้กคืย์ที่ง ๕ เกยวกบทางสายกล ต้นเบนมัชฌิมมรรค คือทางแห่งคล โดยไม่มีการเอียง.อนเบน ทางสายกลางน้หาใช่อ้นใดอะไรอื่นไม่หรอก คือการขจ้คหรือหลีกเ เสียจากการลืมตํว ลุ่มหลงมัวเมาในความสุขความสำราญตระการใจ ไม่มีการยิบยงฐังใจ และการระเริงล่มหลงยินดีใน รป รส เสียง และโผฏฐัพพะ คือของที่มาต้องกาย โดยไม่มีการขีดค กางอย่างหนึ่ง และอีกอย่าหนึ่งก็คือ การหลีกเลี่ยงเสี เปล่าเปลือยปราศจากประโยชน์แห่งการกระทำทุกรกิริยา ทรมา ร่างกายให้เจ็บปวดรวครำวโดยไม่จำพ็่น ซึ่งหมายถึงการบำเพ็ ทางสายกลางหรือมัชฌิมมรรค นี่ก็คือ อารยมรรค อ้นมี องค์แปด ซึ่งจะช่กนำให้ไปถึงซึ่งการสั้นทุกข์ หรือสข นิพพาน ทางดงว่านึ่เบืนทางแห่งคุณาการ หรือกณธรรม ประกอบต้วย ลัมมาทิฎฐิ การปรบปรุงความเห็นให้ถกต้อง สมม สงกํใ]ปะ การใช้ความคืดริเร็่มในทางทถกต้อง ส้มมาวาจา การ เจรจาตกลงต้นชอบต้วยหลีกธรรม ส้มมาต้มมันตะ การประกอบก ต้นจะไม่เบนมัยแก่ตนและผ้อีน ส.ป,ป?โเาใIวะ การประกอบอาชีพ ในทางที่ชอบธรรม ส.ป.ป???ป?.ปะ? การใช้ความพยายามอย่างถกต้
6) 0 ชิ) สXเมาพีก การใช้สติเบื่นเกรื่องดำรงรำษาฅนดำยดี ส1เ1เาสI/า การอบรมจิตใจของตนให้ถกทาง กร1นแล้ว พระพุทธองค์ไค้ทรงเทศนาถึงอริยส*จอไแบี่น ธรรมสงสุด และเบนหำใจแห่งพระพทธศาสนา อริยสำ คือ สำธรรม อนสมบรณ์ ซึ่งจะปฏิเสธและเปลี่ยนแปลงหาไค้ไม่ เพราะว กวามจริงสดยอด อริยสำนํนคือ (๑) สภาพแห่งทุกช์ สภาพแหงทกข์น1นมีอย่เบื่นสากล อภิปรายอธิบายได้ว่า สึงที่มีชีวิตท1งหลายรวมทืงํ้มนุษย์แล ข้องเผชิญก'บสิ'งอนไม่รื่นรมย์ใจแห่งความเจ็บปวด และทุกข์ทรมา อยู่เสมอเบนปกติ โดยไม่มีการยกเร่นแต่อย่างใด การเกิด ความฅา ชราภาพ กวามหิว กวามกระหาย กวามร้สึกร่อน กวามร้สึกเย็น การทำงานไม'เบนปกติของร่างกาย พยาธิ โรคภโ)ไข้เจ็บ อุบ’ทร่นตรายทํ้งหลายทงสินเหล่านั้ คือ ทกข์ (๒) ทีมาแห่งหกข นํ้น ดำเหา คือความปรารถนา ความ คนรน กวามอยาก กวามเสน่หา และอาเวค หรือความสะเทือนใจ เบนบจจํย (๓) การขป็ดบดเบาหรอการเขยวขาลวามทกข์ คนเราจะ สามารถขจ'ดเททุแห่งความทุกข์เสึยไค้ก็ดำยการรู้จ่กห่กห่ามและควบคม ตนเอง และกำยการผื่กอบรมกายและจิต
๑๐!®ป็ (๔) นาง11นำไปสกา1สินทกข นนเรยกวา อรยมรวก อินเมีองค์ ๘ แล*วก็ทางนเบนทางเคียวซึงจะนำไปสู่การด1-1ทุกช ขจ้ดกวามโทมน‘สและกวามไม่สมหวง แลวกจะพาดำเนินเกินไปถงซง ภาวะสขศานกิ หรือนิพพาน อันเบนยอดแห่งความปรารถนาชอง พทธคาสนิกชนที่งหลาย อริยมรรกย์นมีองคํ ๘ น์นํ ประกอบดว ( ๑') กวามเห็นชอบหรือกวามเขำใจขนแรก (๒) กวามดำริหรอ กวามม่งหมายชอบ (๓) เจรจาชอบ (๔) การกระทาชอบ (๕)ประกอบอาชีพชอบ (๖) พยายามชอบ (๗) ความระลึกชอบ และ (๘) กวามที่งม่นชอบหรือกวามเจริญทางจิดใจอันนำไปสู่ เต็มภากภมิ หรือที่เรียกว่า การตริสริ อริยมรรคน,น อินที่จริงแล*ว มีลึกษณะมากมีงยื่งยวดเส กว่ากฎ หรือขอบงอับทางศีลธรรมเสียซาไป เบนก้ลลองแห่ง เบื่นทางนำไปส่โลกซึ่งผิดแผกแดกดำงกว่าโลกที่เมนอยู่ช ภพหรือ ภว ซึ่งเบนเสรีจาก ที่งรูป และอรูปภาวะ ไม่มีทุกข์ โท}!น*สไม่ยินดี แล่วก็ภาวะอิงน้ยากที่มนุษย์ที่จะหยงรู้แ อย่างไรก็ตาม เบนภาวะแห่งการปลดปล่อย หรือหลุดพ*นํ ที่ผู้'ซึ่ง บรรลุถึงภาวะอิงว่านน จะมีเสรีจากการที่องไปเกิดใหม่ พุด ก็กือ ไม1มีการเกิดอีกต่อไป และภาวะน'นก็คือ นิพพาน อันเบ็่น จดหมายปลายทางของพระพุทธกาสนาชองเรา
๑0๓ เมือไค้สกไ]ป3มเทศนาของพระ:พุทธองค์ บญจว'กกีย์รป หนึงชือ โกณ'ขญญะ สามารถเข้าถึงธรรมตามทิพระองค์ทรงเทศนา คือเกิดไค้ธรรมจกษุขั้นมา โดยล่วงร้เข้าใจไค้ถึงว่า เมื่อม จะดองมีการคบ การเสอมสลายไปเบี่นธรรมดา เมื่อทรงเห็นเบนนิมีฅ เช่นน้น พระพุทธองค์จึงไค้ทรงครสว่า “อ*ญญาสิ อญญาสิ หมายกวามว่า โกณขญญะ เข้าถึงธรรมแล้ว ก่อแก่นึ่นมา ฑณญะ จึงไค้รไ]ฉายาว่า อ*ญญะโกณฑญญะ แล้วโกณข*ญญะ ทำ การปวารณาฅนเข้าขอบรรพชาอุปสไ)ปทา โกณข'ญญะไค้ชื่อว่าเบน เอห็ภิกขุองค์แรกในพระพุทธศาสนา เอห็ภิกข นึ่น คือ สงฆ์ซึ่ง พระองค์ทรงกระทำพิธีบวชให้ด้วยพระองค์เอง การบรรพชาอุปสมบทของโกณข*ญญะ ทำให้ โกณข*ญญะ เบนสาวกองศ์แรกของพระพุทธองค์ เราท่านย่อมร้ว่า ร'ฅนตร*ยนึ หมายถึง พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ แล้วกิก่อนเวลาท โกณข'ญญะปวารณาตนเข้าอปสมบทน1น มีแก่พระพทธ ก*บพระธรรม เท่านึ่น เพราะฉะนน การบวชของโกณข'ญญะ จึงมีกวามสำด้ญอยู ไม่นไ)ย คือการทำให้กรบล้วนองค์ ๓ ของไตรรฅน์ คือ พระ พระธรรม และพระสงฆ์ ด้งได้กล่าวมาแล้ว และการกรบล้วนกระบวน องค์ ๓ ของร*ตนฅรไนนสไ)ฤทธขั้นในว*นอาสาพ:ห นั้จึงเบ็่นกวาม สำก'ญประการหนึ่งของว'นอาสาฬหบูชา ส่วนบญจว'กคืย์อีก ๔ องค์
ใค้เขำร่วม'ในสิงฆบริษ*ทในระยะเวลาท่อมาหลงจากทีไต้'ซึ่งซาบ พระธรรมแล่ว หาใช่ในล่นนึ่นไม่ ล่งน1น ล่าจะพดล่นให้ถูกให้ฅองแลว เพ็ญกลางเดือน ๘ น ย่อมมีความสำก'ญมากหลายแก่พุทธศาสนิกชน เบ็นวนอาสาฬหบูชา ร์งพทธบริษ้ทํควรจะทำการเฉลิมฉลองกราบไหว้บูชา และทำบุญ ทานกนในล่นน้ เพราะล่าเบ็่นวนทระลึกของเหคุการณสำกญหลาย อย่างหลายประการควยล่น อนนบเนืองเกยวของกบพระพุทธศาสนา โคขสรปไค้ล่งนิ คือ ๑. สมเด็จพระพุทธองค์ทรงแสคงป5มเทศนา ซึ่งเบ็นการ จ้แจงแสดงให้เห็นถึงการแพร่พระธรรมให้แผ่ชยาย และทงยงฌ็ ส*ญญล่กขณ์แห่งการประกาศพระพุทธศ'1สน'' หรือนยหนึ่งเ กำเนิดเกิดพระพุทธศาสนาอีกควย ๒. การบรรพชาอุปสมบทสงฆ์องค์แรกในโลก ล่นเบนการ ล่อกำเนิดของล่งฆบริบทขั้นมา และ ๓. ล่วยการปวารณาเช่าบวชของสงฆ์รูปแรกนิเอง เบึนผล ทำให้องค์ ๓ ของร*ฅนฅร่ยบรรจบครบถ,วนสมบูรณ์ คือไค้ทำให้ ศาสนา
๑๐๕ เมื่อวนวสาขนชา กำหนคให้เบนที่ระลึกนอบน,อมต่อพระ- พุทธองค์ และว*นมาฆบชาน1นเล่า กำหนดให้เบ็1นที่ระลึก นอบน1อ พระธรรมกำสอนขนแล้ว ฉะน1น ล้นอาสาห’หนชา จึงเบนล้นที่กำหนด ให้จดจึารำลึก เพื่อทำการนอนน,,อมการวะฅ่อพระสงฆ์ เบื่นอ*นค ล้วนกระบวนความ คือองค์ ๓ แห่งไฅรร'ฅน่ ซึ่งประกอบก'นเบน ส่วนสำก*ญแห่งบวรพทธศาสนา ฉะน*น ล้นอาสาฬหบชา จึงมีความสำล้ญย็ง คงได้ยกให เห็นเบนที่สว่างกระจ่างชดแล้ว จึงเบ็๋นการกวรยี่ง ที่พุทธศาส จะได้พร,อมใจทำการทำบุญล้กบาฅร และพงเทศน์พ้งธรรมล้นใ เพ็ญกลางเดือน ๘ ดือล้นอาสาฬหบชา พอร่งขนเดือน ๘ แรม ๑ กำ ก็ถึงล้นเล้าพรรษา ซึ่งก็เบ็นอีกล้นหนึ่งซึ่งเราควรพาล้นไปล้ ทำบญสนทาน และ'พงเทศน์ ล้นเบ็1นเครื่องส่อแสดงถึงความเลื่อมใส ศร*ทธาของเรา เพราะล้นเล้าพรรษาน,นก็มีกวามสำก*ญและเพรียบพร1อม ล้วยปร'ชญาเช่นล้น ดำกล่าวแสดงไว้ในบทอื่นในหนำสือนั้ อนึ่ง เบ็นล้อน่าสำเกดว่า ล้นอาสาฬหบชานึ่ ทาง เพ็งจะได้ทำการกำหนด และประกาศให้เบนล้นสำค*ญทางพระพุทธ- ศาสนา และเบนล้นหยดราชการอีกล้นหนึ่ง เอาเมอ พ.ศ. ๒๕๐0 นึ่ เอง แต่อย่างไรก็ฅาม ล้นอาสาฬหบูชานึ่ ย่อมมีความสำล้ญยวด ทางพทธศาสนาอีกล้นหนึ่ง ดงได้ชีแจงแสดงให้เห็นไว้แลว
บทที่ ๘ วํนเขาพรรษา (ตรงก*บเดลน ๘ แรม ๑ คำ5 ด เข้าพรรษาคือเทศกาลรำพรรษาของบรรดาพระภิกษุสง ซึ่งมีกำหนดระยะเวลา ๓ เดือน ในระหว่างฤดูฝน ตงแค่เดือน ๘ แรม 6 กำ และไปสั้นสุดลงกลางเดือน ลด เบนการถูกกองแลวที เราเรียกเข้าพรรษา ว่าเทศกาลรำพรรษา เพราะว่าในระหว่างระย เวลา ๓ เดือนด้งว่าน บรรดาพระภิกษุสงฆ์จะตองประจำอยู โดยจะไปทำการอ่างอ่างแรมที่อื่นหาได้ไม่ เทศกาลจำพรร กรงพทธกาลแอ่ว สาเหตุเกิดจากภิกษุฉ”พพคีย์ จำนวน ๖ รูป ผู้ซึง ไม่ร,จกเวลาและฤดกาล ได้ทำการด้นด้นไปไหนต่อไหนด้งปกติ กระทงในฤดฝน ผู้กนไค้ร'บกวามเดือดร่อนจากการที่ฉ'พพคีย์ภิกช เหยียบยำลงไปในผืนนา ทำให้ด้นกล่าที่ไค้ทำการบกดำลงไว้เส จึงได้พาก*น ไปร่อง ทุกข์ต่อพระ พุทธ องค์จึง ทรง ประ กาศให้ทำ การ กำหนดเข้าพรรษาอ่นเบนฤดูฝน เบนเทศกาลจำพรรษาของสงฆ์ขํ้ ซึ่งหำมพระภิกษุสงฆทงหลายจรคลคนด้น ควยเกรงว่าจะเหยียบยำล ไปในไร่นาที่ผู้กนทำการหว่าน หรือเพาะลงไว้ให้เกิดกวามเสียหา
ร!&รษ. .■ะ.-.^:.^...^...-
๑0(ท) ไค้ หรือมิฉะน1นก็อาจจะเหยียบยำติวิแมลงบรรดาที่มีอยู่ชุกชุมในไร ระหว่างฤดฝนให้เสียหายฅายลงไค้ สมเด็จพระพทธองค์ ได้ทรงปฏิบัติเบนติวิอย่างที่ดี จำพรรษาคามกำบัญญัติติงว่า โดยการประติบัอย่เสีย ณ ว'ดเชฅจํ านาราม ข้นมีชื่อเสียงของอนาถบิณติก ในกรุงสาว'ฅถีที่รุ่งเรือง และม'งติง และไม่ทรงส*'ญจรไปไหนๆเบี่นจำนวนถึง ๒๕ หน’าฝน คือ นานกว่าที่จำพรรษาอย่ ณ อารามแห่งอื่นๆท8งสีน จึงเบนทีน่าสนใจใคร่ร้ว่าอนาถบิณ1ติกผ้น้ได้เชฅวนมหาวิหารแลำยก ถวายให้สมเด็จพระพุทธองค์และสงฆ์สาวกใช้เบนที่ประติบและพำน' อาศโ]ในระหว่างฤดฝนมาอย่างไรบัาง อนาถบิณติกผ้นึ่มีอาชีพเบ็1นพํอข้าที่ขนช บกกลที่ม'งก'งที่สดของอินเด็ยในสมโ]น1น โดยที่เบนพุทธมาม แข็งเด็ดเคี่ยว จึงปรารถนาที่จะถวายสวนใหญ่ส*กแห่งหนึ่ง พระพทธองค์และสงฆ์สาวก และจ*'คสร*างขนเบนอาราม และสวน แห่งน,น'จะติองมีลกษณะงดงามมากหลาย อ*น่ไม่มีแห่ง,ใดสู้'ได้ ใหญ่ที่อนาถบิณติกมนหมายใจไว้นน บังเอิญเบนของเข้าเชค ติง อนาถบิณ,ติกจึงไค้ไปหาเข้แชตแล,วิสูลว่า ใกร่ที่จะซอสวน ไม่ว่าเข้าเชฅจะทรงอิดราคาคำงวดข้อเติาใด อนาถบิณติ คอบจากเข้าเชฅว่า สวนแห่งนทรงขายให้ไม่ไค้ไม่ว่าจะให้
๑0^ แก่ไหน แต่อนาถบิณฑิกก็ยืนย'นอย่เช่นเดิมว่าใคร่จะ:ฃอซื ในทสค เพื่อที่จะทำการเสือกไส อนาถบิณจ่เกให้ไปพนเส คำยสำเนียงเสียงกรำว ๆ ขั้นว่า “นอกจากว่าท่านจะหาเหรี วางเรียงให้เต็มพื่นสวน ท่านจึงจะซอสวนนึ่ไปไต้” หล่งจากนีนไม่นาน บรรคาเกวียนก็เกลื่อนขบวนกนเขาม ยำสวนนึ่น ทุกวน ๆ เห็นผ้คนจำนวนหลายรอยสาสะวนท่างานก'น’คง กลางว'นและกลางคืนในการวางเรียงเหรียญทองลงตามพื่นดินภายใน สวน กรํนแลำ เจ่าว'นหนึ่งอนาถป็ณฑิกไปเผาเจ่าเชฅ ฅนเองมีอะไรที่ใคร่จะถวายให้ชม และทลขอให้เจ่าเชฅเสค็จต เช้าไปในสวน เมื่อมาถึง เจ่าเชฅทรงตะถึงงงง'น ที่ไต้ทอดพระเนต เห็นทำพั้นสวนดาดาษไปคำยทองคำธรรมชาติอนน์บเบนสีงประหลาค หลาย จากนี่นมาสวนแห่งนึ่นก็ได้นามว่า เชฅวันมหาวิหาร แปลว่า วัดสวนเจ่าเชฅเราติ ๆ นี่เอง ซึ่งยำกงมีร่องรอยแห่งก ปวักหำพำเหลืออยู่ในอินเดียตราบเท่าทกว่เนนี่ นี่แหละคือเรื่องราวของอาราม ซึ่งสมเด็จพระพทธองค์ท ประท'ปจำพรรษาน'บได้เบ็นเวลา ๒๕ หนำฝน ถูกแลำ ย่อมมีเนี่อหาสาระสำก'ญอย่ในเทศกาลจำพ ดำยพิธีเจ่าพรรษาน์น บีนีฅรงก'บวนที ๒๙ กรกฎากม ซึ่งในวั เบื่นวันสำก'ญทางศาสนาวันหนงนีน บรรดาพระภิกษสงฆ์จะพาก่น
๑๐^ ทวาคชำระล่างทำกวามสะอาดอารามของฅน ที่งย'งจะจ'คอาสนะ1ห้เบน ระ1.{เยบเรียบร่อยสะอาดหมดจด แล่วเดรึยมฅ้วเฅรึยมดนทีจะปฏิบัติ ดำเนินกิจการทางล่นถธุระให้ลล่วงไปด้วยดีดลอดระยะเวลาเข้าพ อีกด้วย ที่งนั้เพื่อที่จะได้ถ่ายทอดกวามร้ที่ฅนมีอยู่ไปให้ก ทีวไป ซึ่งเบนการปฏิบัติหน้าที่กรณียกิจประจำข้นของพระ แ ข้นศาสนาข้นนั้เอง เมื่อซาบซงถึงกิจข้ดรอ*นิติงามของบรรดาพระภ 'บรรดาประชาชนก็จะพาก'นิหล*งไหลไปข้งข้ด เพอทำบุอ]สุนทาน ด้วยการถวายโภชนาหาร และเกรองชำระลางทำกวามสะอาดด่าง \"I รวมที่งเครื่องส*กิการบชา มีดอกไม้ด่าง ๆ ที่)จริงและที่งที่ทำเที ในดอนเข้า แล่วสด้บดร'บพงพระธรรมเทศนาหล่ง,จากเพลแล่ว พอดกบ่าย บรรดาพระภิกษุสงฆ์ก็รีะพาก*นิลงโบสถ์สวดม กรนแล’วพระที่อ่อนอายก็จะทำการเการพนบนอบบรรดาพว-ผู้ให ขมาในการที่ที่แล่'วมาอาจจะกระทำการปฏิบัติบกพร่องขั้น’ไค้ ปฏิบัติธรรม แล่วขอคำสงสอนแนะนำจากบรรดาพระอาวุโส เพ ๙VI จ จะได้จดจำรำลึกไว้ปฏิบัติหน้าที่ให้ดีงามต่อไปดลอดหน้าฝมที่ การจำพรรษาอย่น้ เทศกาลเข้าพรรษาเบนเวลาที่ประชาชนประกอ พิธีบวชหรืออปสมบท อ'นิที่จริงการบวชนากน8นได้พำก*นิเบื่นเวลา ๒ เดือนมาแข้วก่อนจะถึงข้นเข้าพรรษา ซึ่งเบื่นข้นสนสุดแห่งก บวชเรียน ถือก'นิเบนประเพณีอ'นิติงามว่าบรรดาชายหนุ่มที่งห
6) (ริ) 0 อายุย่างเข่า ๒® กวรจะทองทำการบวชเรียนเสีย ๓ เดือน และโกย ทวไปแล้วก็บวชด้นในระหว่างเข่าพรรษาด้งว่านเอง อนเบ บรรคาชาวไร,ชาวนาทำการไถกราก ดกกล้าและปลูกข่าวเสรจเรียบร แลํว์ ชายผู้ใดที่ด้งไม่ได้บวชก็จะถกหาว่าย*งเบน “กน ผู้ที่บวชที่เรียนแล้วก็จะไค้ร*บฉายาน่ายกย่องว่าเบน '‘ก ดามประเพณีแล้ว บรรคาพ่อแม่หญิงจะก่องพอใจไค้ลกเขยท สกแล้วด้วยก*นที่งนั้น ในว*นเข่าพรรษาน้ ย่อมเบนประเพณีทํวไป ที่บรรดาผ ทำบุญสุนทานที่ว*ก จะด้องพาก*นแห่เทียนเข่าพรรษาไ เทียนเข่าพรรษาดิงว่าน้สามารถจุดทนไปได้ถึง ๓ เดือน เทศกาลจำพรรษาเบนเทียนเคี่ยวขนาดใหญ่พิเศษ และโดยมากมีขน ใหญ่และสงเท่าขนาดกนเราดื ๆ ทีเดียว อย่างไรก็ดื ย่อมมีกวามหมายอ้นซาบซั้งฅรึงใจในเทียน เข่าพรรษาที่ว่านั้อยู่ไม่นอย ถูกแล่วแสงเทียนที่ฅ1งบ ประธานในโบสถ์เบนสี่งที่น่าเอาใจใส่เทียบไค้เช่นเดียว ดิน ประกอบด้วยส่วนฅ่าง ๆ ดือชผงแตะ,ใส้ เมื่อด้งไม่จุดน สำแดงถึงโมหะหวือกวามหลงงมงายในด้วฅนหรืออ*ฅฅาและประโยชน โภชน์ผลของตนเองเท่าน,น เมื่อจุดขั้นก็เกิดกวามร่อนแล้
6) 6) © เบ็นแสงฃึน ระยะนืเองเทียนทำหนำที่ฅามกวามประสงถ์ที่นำข็ผงแล ไส้มาประกอบก'นเข้า อ'แง เทียนส่องแสง'ให้ความสว่างออกจากกวามมืค แล หาใช่แสงชนิดเดียวก'บแสงทีอย่เหนือพนจากความมืคและอวิชชา ความโง่เขลาเฉาโฉดไม่หรอก เมื่อเทียนลกอย่น8น ไม่เทียงแด่ ถีงกวามไม่กงทนถาวรของสสารกายภาพคำขการเปลี่ยนสภาพจากของ แข็ง'ไปเบนก็าซ ยำไค้ส่อสำแดงถึงโมหะหรือภาวะลวงที่ยึคมื่นว่ กวามหมายเดียว ซึ่งอินที่จริงนนมีมากความหมาย ที่ถกนนก็คือ เทียนน1นส่องสาดแสงไปในทีภพอ'นมีดมิด และโดยที่เราร*บว่า จึงพอให้กวามเข้าใจแก่เร าได้บ้าง เทียนเข้าพรรษาเดี่ยวที่จุดอยู่ในโบสถ์ในว'นเข้า ส*ญผล*กขณ์ที่น่าเอาใจใส่สนใจ ไฟที่เทียนนนเผากวามไม่บริสุทธ ให้หมดไป เหลือไว้แด่ธาตุบริสุทธน1น มนุษย์เราก็เหมือนก*น คว ที่'จะพาก''แเผากากหรือขยะสะสมพอกพูนเข้าไว้หลายต่อหลายบื่มาแลำ จากการคิดผิด ๆ ของเรา เราจะไค้ประสบพบกวามคิดหรือทศนะของ เนั้อหาหรือสาระที่ผ่องแผ่วกน เมื่อข็ผํ้งละลายไปหมดแล้ว เทียนก็จะหมดสภาพเบนเทียน อิกต่อไป ทํ้งนั้ก็เช่นเดียวก้บความงมงายหลงผิดว่าเขาเบนเรา ก้องจะละลายกระจายไป ไม่ว่าจะเบื่นเทียนหรือเบนบกกล หรือความ งมงาย,ไนก้วฅนและความสำก้ญ'ของก้วฅน
๑๑ไ® เมื่อใดม่านแห่งาวามงมงายเผยขืน กวาม.ขาโจทมกว'เมรก กวามเมฅฅา เกี่ยวก'บชีวิฅทกดำ'นทกทางก็เขามาสำแดงแทน,ท เ•ทยน ฉายแสงออกมาจากความมืดมิดนะแ เทียนไค้ก้บพระพุทธศาสนา ชง ย',งใท้เกิดสไ)โพธิญาณออกมาจากอวิชชาฉนนน ในพทธศาสนานํ้น กวามร้เชิงจิตวิสยที่งหลายท”งสน กวามเข้าใจเชิงว'ฅถุวิส*ยเต็มรปอย่ข้วย ด*งเช่นในการศึกษาวิชาพิ เราเรียนร้ว่า กำปราศจากว'ฅถที่จะสะท*อนหรือปฎิการให้เกิดแสง เสียแล*ว แสงนนก็ใม่สามารจะเกิดมีขั้น การที่เราไม่สามารถเข้ ถึงแสงได้เช่นนั้ เราเรียกว่ากวามมีดมิคและอวิชชา ในการศึกษาท พทธศาสนาของเราก็เหมือนก'น เราพบว่าอวิชชาหรีอกวามมีดน้ หาใ ภาวะอ'นแท้จรีงไม่ แต่เบนล'กษณะนิเษทที่สข้างภาวะไม่มีแ ต่างหาก กำไค้ร'บว'ฅถุที่ถกที่เหมาะสม แสงแห่งกวามเข้ สะท,อนขั้นมาในชีวิตของเรา ไม่ใช่อะไรอื่น การสะทอนของแสงด ที่น จะฉายเบนลำแสงแห่งกวามเข้าใจชนสุดยอดทางมรรค ๘ น*นเอง
บทที่ (5? วนออกพรรษา (ตรงก*นเพญกลา4เดอน ๑©) พรรษา แปลว่า ฤดฝน ออกพรรษา แปลฅรง,'ๅก็กือ การออกไปหรือพนไปของฤดูฝนน'นเอง ว'นออกพรรษาฅรงก*บวนเพ็ญ กลางเดือน ด® สาร*ฅถสำค่ญของว'นออกพรรษาน5นก็อือ น*บแฅ่วํนนึ่ เบนฅนไปจนกว่าจะถึงว*นเขำพรรษาใหม่ บรรคาพระภิกษสงฆ์'ซึ่งท การจำพรรษามาแล,วเบนเวลา ๓ เดือนเต็ม คือน*บแต่-ว*นเพ็ญกลาง เดือน ๘ ถึงเพ็ญกลางเดือน ๑® จำต’องปฏิบัติตามพระวิน*ยคือจะออก ไปทำการค่างอ้างแรม ณ ที่แห่งหนึ่งแห่งใค นอกจากว*คที่ท่า พำนกอยู่หาได้ไม่นน ว*นออกพรรษาเบื่นเครื่องหมายถึงการสั้ แห่งการจำพรรษา และบรรดาพระภิกษุสงฆ์จะออกไปทำการค่ แรมนอกวดที่สำน*กพํกประจำอยู่ได้ ตามความจำเบนของท่าน กวามสำค่ญอีกอย่างหนึ่งของว*นออกพรรษาถืกือ ฅลอ เวลา ๓ เดือนแห่งการจำพรรษานึ่น บรรดาพระภิกษุสงฆ์จะค่ ปาฏิโมกข์ในโบสถ์ทุกๆ®๕วน ปาฏิโมกข์นนหาใช่อะไรอื่น ๒๒๗ ขอ ที่บรรดาพระภิกษุสงฆ์จำดองถือปฏิบัตินนเอง และ'น
๑®^ ว*นออกพรรษาเบนก*นไป บรรดาพระภิกษุสงฆจะ เด้รบการผอนผนใบ ไม่จำก*องสวดปาฏิโมกข์ทก ๆ ๒ ส''บ่คาห์ใด้ และความสำก'ญอีกอย่างหนึงของวนออกพรรบ’อคอ วนน ถือว่าเบึนวนปวารณา ซึงบรรดาพทธศาสนิกจะVกกนหล\"ง ไหลไปวด ทำบญฅกบาฅร และถวายอาหารให้บรรดาพระภิกษุสงนิได้ขบฉน อน เบื่นการทำบญสนทานที่'จำ.บน ส่วนพระภิกษุสงฆจะลง.บสถ์ในดอ บ่าย ทำการสารภาพความผิดกวามบกพร่องว่ามีอนใดบางทีพระภิอษุ สงนิพึงปฏิบัติดาม แล้วทำการขออภิยขอลุแก่โทษในขอบกพร่องพล พลาคน5น และให้กำม'นส'ญญาว่าจะได้ปร'บฅนแก้ไขให้ดีให้สมมู ต่อไป กรนแล้วทำการสดปดรบพึงกำฅ้กเดือนแนะนำจากพระผู ที่ช่วยกกเดือนและแนะนำให้เพี่อพระบวรพุทธศาสนาจะได้ด ถาวรยืนยาว และผุดผ่องเบนยองใย นี่แหละคือหล'กและปร'ชญาของว'นออกพรรษาคือแสดงออก บอกถึงสไ)พ*น้ธภาพล้นิดีระหว่างพระภิกษุสงนิผู้อาวโส ซึ่งมีห กอยแนะนำด'กเดือนพระผู้อ่อนอาวุโสหรืออ่อนประสบการณ์ ให้ปฏิบัติ กนด*ว่ยดีมีคณธรรม ส่วนพระผู้อ่อนอาวุโสน8นเล่า ก็เชื่อพึงและแก้ ปรบปรุงกนให้ด*องดามพระวินัย และปฏิบัติกนให้ถกก*องส ยี่ง ๆ ขน
© 3) &. ส่วนสมพันธภาพอ'น้ดีที่มือย่กับประชาชนนนเล่า ประช ยอมมีภาระถวายด้ต่ตาหารและเครื่องใช้ไม้สอยอ้นจำเบน เพื่อท เบ็นเกรองการช่วยอยู่ยงย'งชีพของบ-:รดาพะ[ะภิกษสงฆ์ ส่วนพระภิ สงฆก็ย่อมจะฅองสำนึกถึงหน,าทีที่มือย่ติอประชาชนอย่เสมอ คื ศึกษาผืกฝน ให้เบนที่ประจ'กษ์แจ่งเจนจ่ค์ในพทธธรรมในอ้นที่จะ สามารถเทศนาสงสอนให้ประชาชนได้เข่าใจ และล่วงร้ในพระธรรมกำ สอน เพื่อได้เถึคความเลื่อมใสศร'•ทธาปสาทะอย่างมนกงไม่เสื่อมคล แลวทำการสำรวจตรวจคตนเองว่า ตลอดเวลา ๓ เดือนที่จำพรร มาน1น ได้ปฏิบัติตนบกพร่องผิดพลาดขาดความสมบรณ์อะไรลงไปบ่ ล่ามีก็ติดแก้ไขปร'บ่ปรุงเสียใหม่ให้ดีให้สมบรณ์ขน ล่ามืการปฏิบั หล่กการด้งว่าน การติดต่อสไ)พ'นธ์ระหว่างพระก'บ่ชาวบ่าน ก็จะ ดำเน้นเดินไปด้วยดี คือต่างก็ฅระหน'กถึงการร่วมมืออปการะปฏิการะ ต,อก*นอ'นเบนสื่งจำเบนของส'งกม อนึ่งมีข่อกวามปรากฏอยู่อีกอย่างหนึ่งว่า เมื่ออ พระสไ)มาสไ)พุทธเจ่าทรงบรรลอนุฅฅรส*มโพธิญาณแล่ว พระพทธองค ทรงรำลึกถึงพระพุทธมารดาซึ่งเสวยสุขอย่บนสวรรค์ช1นดสิฅ สวรรค นั้นมีอย่ด้วยล่นรวม ๖ ชนคือ ๑. จาตุมหาราชิก ๒. ดาวดึงส์ ซึ่งเบนสวรรค์ชนของพระอินทร์
® & า) ๓. ยามา ๔. ดสิฅ ๕. นิมมานนรด็ และ ๖. ปรนืมมีฅวสวํสดี สวรรค์ช,นดสิตน'บว่าเบื่นสวรรค์อยู่ในชนสูงชนหนง กอ ชนที่ ๔ แต่อย่างไรก็ฅาม บรรดาทวยเทพซึ่งเสวยสุขอยู่บน ช1นต่าง ๆ นน ก็ย'งกงต้องข่องอย่ในส*งสารว้ฎฏิอย่างเดียวก้บมน จึงไค้นามว่า กามาวจร กือกู้ที่ย'งบ้องอย่ในกาม ทางที่ดีทีสุดนน พระพทธองค์แนจำจะก้องทรงโปรดให้พระพุทธมารดาหย่งเห็นหย่ ถึงปรม'ดค์ส'จจธรรมจึงจะเบนแนวทางให้ประสบพบภาวะอยู่เหนือ พ่นวฏฏสงสาร โดยหมดสภาพที่จะเบนกามาวจรอีกต่อไป ก้วยมีพระพุทธประสงฆ์จำนงหมายด'งว่าน สมเด็จพระ พทธองค์จึงทรงเสด็จชนไปโปรดพระพุทธมารดา แต่หาไค้ทรงเสด็ ขั้นไปถึงสวรรค์ชนกสดแต่อย่างใดไม่ ไค้เสด็จขั้นไปแก่ ดาวดึงส์ซึ่งเบนเพียงสวรรค์ชนที่ ๒ เท่าน1น ที่งนืโดย พระพทธมารดาใช้กวาม เพียรพยายามลำบาก ดรากฅรำพระวรกายบ้าง ในการที่พระพทธมารดาเสด็จไต่เก้าจากสวรรค์ ชํ้นดุสิฅ ลงมายงสวร ชนดาวดึงส์ เพื่อสดบพระธรรมเทศนาพระอภิธรรม ๗ คม่ภิร์
๑๑ (ท) พระพุทธองกทรงแสดงถวายเบนการโปรตพระพทธมารดาคามพุทธ- ประสงค์ จนพระพุทธมารดาทรงบรรลุอรห่นฅภาพ เวลาที่พระพุทธองค์ทรงเสด็จข้นไปนึ่นเบนเทศกาลเข้าพรร กรนเมื่อเสด็จกลบลงมาถึงมนษยโลก คือ ณ ว่คสํงก*สแห่งส*งก*สนกร กรงพุทธกาลนน พอดิบพอด็ก*บเทศกาลว*นออกพรรษา คือแรม ๑ กำ เดือน ๑© อนึ่งบรรดาผ้คนพลเมืองซึ่งพาก*นวิฅกก*งวลและเบน ห่วงใยว่าสมเด็จพระพทธองค์จะทรงพราก จากไปเลยบนสวรรค์ชน ดาวดึงส์ไม่ทรงกล*บฅรงลงมาอีก กรนเมื่อไค้เสด็จกล*บลงมาเช่น ฝูงชนจึงด่างแซ่ซ่องและยินดีเบื่นทียง ไค้พาก*นใส่บาดรก'นเบนก ใหญ่ อ*นไค้ชื่อว่าก'กบาฅรเทโว ด*งนึ่นจึงได้มืประเพณีท่าบุญก*กบากรเทโวก*นในว*นออก พรรษาสืบต่อก*นมาจนกระทำบจจบ'นทุกว*นนึ่ ถือก*นเบนสำก*ญว่า สมเด็จพระพทธองค์เสด็จลงมาจากเทวโสก และชาวพุทธบางท่องถื ถือวนแรม ๑ กำ เดือน @๑ ว่าเบนว*น '‘พระพุทธเจ้าเบี่คโลก\" และพิธี1ด*งว่านึ่เรียกก*นทีวไป'ว่า เทโวโรหนะ ซึ่งแ “การหยำลงจากเทวโลก” เพื่อบองก'นไม่ให้ชนบางกลุ่มท่องพิศวงสงส*ย จึงใ อธิบายไว้ด้วยว่า ผู้ร้ผู้สนใจในพระพุทธศาสนา ย่อมกระหน*กประจ ว่า■อี พระพุทธศาสนานนเน’นึ่ให้เห็นสื่ง กาย ก*บ จิฅ และการ สวรรค์ค*งว่านึ่ ก็ คือโดยทางกระแสจิฅนึ่นเอง
ส®๘ การทอดกฐน 7นออกพรรษาฅามฅิคค1ว่ยการทอคกฐิน วนออกพรรษา กรงก*บเดือน ๑© ขั้น ๑๕ กำ พอว้นํรุ่งขั้นคือเดือน ๑© แรม © กา ก็เบ็๋นว*นํเรีมฅํนํแห่งการทอดกฐิน ซึ่งมีระยะเวลายาวนาน © เดือน เต็ม คือกงแต่ก่นเดือน ๑๑ แรม ๑ กำ ไปจนถึงเพ็ญกลางเดือน ๑๒ อ'นเบนว*นลอยกระทง ซึ่งจะไม่ขอกล่าวในที่นั้ เพราะว่าไม่ใช่พิธีทาง พระพุทธศาสนา กวามสำค*ญของการทอดกฐินน,นทีคือ การนำผ้ากฐินไป ถวายยำอารามต่างๆ โดยปกติผู้คนผู้เบนพุทธศาสนิก จะนำผ้ากฐิน ไปถวายที่-ว้ด์ก้นํเบึนหม่เบื่นพวก ไม่ใช่บุกคลกนเดียว และโดย ประเพณีนิยมม*กจะทำพิธีแห่แหนไปกนอย่างครึกกร้นรื่นรมย์ คำ การประโกมดำยดนกรี บี๋พาทย์ หรือเกรื่งดนฅรีชนิดอื่น ๆ มีว*ด เบื่นจำนวนมากที่เบนพระอารามหลวง และ ณ พระอารามหลวงดำว่า นั้ พระบาทสมเด็จพระเจ่าอยู่หำทรงเลือกสรรว*คไปทรงทำการทอด ดำยพระองค์เองบำง และพระราชทานให้บรรดาพระบรมวงศานวงศ์ ทรงทอดบ้าง พระราชทานให้ส่วนราชการต่างๆ องศ์การ บ้างรำน และสถาบนบางแห่ง และบุกคลบางกน เบ็นผู้รไ]มอบหมายให้ไป ทอดบ้าง ผล*ดเปลี่ยนเวียนกนไป แต่ละบื่บ้กไม่ค่อยซาก*'น
1 7 91 4♦๚4เ^ - 1 / ***■*^* ' 'ฒ®เ2®ฒ' ^แฮ’;',เ!^' , ร์เ ': ;^ ^ชิ^^^'1วิชิเ®^&^1*8)8^^5^8^^^^:^^’ ฟ่^801เ เ816 1^8 111 I 1‘^'^' ■^ * ^ - 1' ...'^ปี *^& & ฅ ^^ ^ ^*'-' แ& '-'' -5 11 10 1'- I®7
6) 6) 5 เร์องราวของการทอดกฐินมีมาก่งแต่กรงพุทธกาล คือ กรงหนึงมีภิกษชาวเมืองปาไถยรํฐิ ๓๐ รป จะมาเผาสมเก็จพระ สมมาสไพทธเจำ ณ เชฅวนาราม เมืองสาว*คลี แต่มาไม่ทไพรรษา จึงจำด้องพ*กจำพรรษาอย่เสียที่เมืองสาเกด พอออกพรรษาแล่ว่ก จะไปเผา เดินกรำแดคกรำฝนมาฅามทางที่เค็มไปก็ว์ยเบือกฅก จีวร ชุ่มโชกและเน้อฅำเบืยกปอน เมื่อมาลีงวไเชฅวนและเข่าเผาพระพุท องค์ สมเด็จพระบรมศาสดา ทรงทราบถึงความลำบากตรากกรำของ ภิกษุเหล่านึ่น จึงทรงพระพทธานุญาฅให้ภิกษเหล่าน,นรไผ่าก ระยะเวลาหล่งออกพรรษาไปแล่วหนึ่งเดือนได้จึงไค้กลายเบืนประ กระทำสืบต่อล่นมาจนบืจจบ่นพุกว*นน้ กร1นต่อๆ มาการรไก3นเก ความลำบากขั้นเบ็1นฅ่น-ว่า ล่ากฐินที่ถวายไม่พอแก่'จำนวนสงฆ์ ไม่สามารถจะด'คสินได้ว่า ผ่านนสงฆ์องค์ใกก วรจะเบืนผู้ไ สมเด็จพระผ้มืพระภากจึงทรงบ'ญญัฅิสิกขาบทเพื่มเดิม เบนการผ่อนล่น ให้เบืนกวามสะดวกในพระธรรมกิน'ย ประทานพระบรมพุทธานญาด ให้ภิกษผ้จำพรรษามา ๓ เดือนเค็ม ผู้มีจีวรเก่ากว่าเพื่อน และเจ ในพระธรรมกิน'ย เบืนผู้รไผ่ากฐิน และให้ภิกษุที่จำพรรษามาด้วยล ทำการอนโมทนาสาธุ ประเพณีการทอดกฐินของไทยนน ได้ปฏิบักิจ*,คทำล่นอย่าง แพร่หลาย คือที่,วที่1งประเทศ และ,ในหมู่ประชาชนกนที่วไป นั
๑๒๐ องค์พระมหากษ้ฅริย์ลงมาจุนถึงบกคลธรรมดาสามญ นบไค้ว่าเบ แสดงออกบอกถึงส*มพินธภๅพอ*นิคีที่มีอย่ระหว่างพระกบประชาชน หนำที่ของพระนํ้นเล่า คือการเอาใจใส่ศึกษาอบรมให้เจนจ กาลนึ่และธรรมวิน์ย แล้วทำการเทศนาส่งสอนให้ประชาชน ไค้ล่วงร้ถึงพระธรรมกำสอนของพระพุทธองค์ เพื่อได้เกิดกวาม ใสเกิดศร*ทธาปสาทะ ร้จ*กดระหน*กถึงถนนหนทางที่จะนำไปสู่จุดหมาย ปลายทางของพระพทธศาสนา คือนิพพาน หรึอความหลุดพ*น ด้นนำ มาซื่งสขล้นกิยอดแห่งกวามปรารถนาของมนุษย์ และหนำที่ของประชาชนน\"นกิคือ การกอยระว*งระไวเอา ใจใส่ไปทำบญกิกบาฅรถวายอาหาร และเครื่องใช้ไม้สอยด้นจำเบ อย่างอื่นสำหร'บพระ เพราะว่าภิกขุนึ่นแปลว่าผู้'ขอ ด้วยการมีใจกศลอนเคราะห์อุปการะของประชาชนแก่พระ รวมที่งกา นำล้ากฐินไปถวายเปลี่ยนเครื่องสบงจีวรชุดเก่าที่หย่อนอ่อนสภาพล แล้ว ด้งในกรณีทอดกฐินด้งกล่าวมาแล้วด้วย ที่งนํ น*บไค้ว่าเบนสมานฉ*นทํด้นน่าจรรโลงใจระห พระกบประชาชน พิธีทอดกฐินของชาวบ่านรำนถนน,นทีคือ ทำการแห่แหน องค์กฐินไปยงวดทจองใว้ในการทอด พรอมดวยเครื่องประโคมด้น ครึกกรื่นรื่นรมย์ พิธีทอดกฐินของชาวบำนนึ่ เบนสึงที่น่า รมณีย์ และน่าแซ่ซ้องสนบสนุน เบ็1นการร่วมก*นทำบุญสนทาน จีฅใจชี่นบานสนุกสนาน ด้งการไปร่วมสนุกบี่กน้คด้นอีกโสดห
(3) เดา (5) ตามประเพณของชๅๅบา!!น1น เบื่อการแห1แหนองค์กทุน ไปถงวคแลว กไปทำการชุมนุมก*'นพื่ศาลาการเปรียผู แล้ ถวายภฅดาหารเพลแก่บรรดาพ7.;พำ)กก หล้งจากพระขบฉ*นเสร็จ เรยบรอยแลว บรรดาผู้กนท้ไปร่วมชมนมทอดกฐินถึร*บประทาน อาหารร่วมกนอนเบ็นสี่งท!!นรมย์ไจุใบ้ความสขยี่งน,ก กรไเพอ เทยงไปแลว บางรายกมีเทศน์ ® กณ,'ท อนธรรมกถึกแสดงถึง อานิสงส์ของการทอดกฐิน หล้งจากนนพาก่นแห่องค์กฐินไปเดิน เวียนขวารอบ เบสถ์ ๓ รอบ และในการเดินแห่รอบโบสถ์น้น้ ม มวงกลองยาวทำการประ เกมไปควยดามประเพณี แล้วก็น์าล้ากฐ เขาโบสถ์ ซึ่งมีบรรดาพระทํงจ้คนงชุมนมรอกอยอยุ่ แล้วก็มาถึง ท้เบ็นหวใจของการทอดกฐิน คือการกรานกฐินซึ่งผ้เบื่นบกกลเจ้า ของกฐิน จะกล่าวกรานกฐินต่อหน้าชุมนมสงฆ์ค*'งต่อไปน้ “ขาแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ขำพเจ้าทํงหลายขอนอมถ กฐิน ก่บท่งํ้บริวารเหล่านํ้แก่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงร*'บล้าก ทํงบริวารเหล่านของข้าพเจ้าทํงหลาย รบแล้ว,จงกรานกฐินด้วย เพื่อประโยชน์และกวามสุขแก่ขาพเจ้าทงหลาย สั้นกาลนานเทอญ” พอจบกำถวาย พระสงฆ์เาร้บ สาธุ พร้อมก่น กรนแล้วเจ้าอาวาสจะ เบื่นผ้กล้าวต่อชุมนมสง'มเบ็นภาษ'!บ'1ลีชง1■เปลออกไค้เบื่นใจกวาม
๑๒๒ “ผ้ากฐินนั้ ถวายไห้ด้บชมนมสงฆของเราโดยพุทธท’1สนกไ! รึ!ศร*ทธาปสาทะ และเพรียบพรอมอยู่ควยคุณงามกว’\"1มดมสมมาจาร และได้อฅส่าห์มาว่คด้วยตนเอง เพอถวายผ้ากฐินนิ 1คยมิไคทาการ กำหนดลงไปโคขเฉพาะเจาะจงว่า ถวายแก่สงฆองกใด โคยมอบให ชมนมสงฆ์ของเราเบ่นผ้พิจารณาวินิจฉํยด้นเอรว''1 สงฆ์ ชมนมของเราจำเบนคองใช้กรองไคร'แ และสงฆองกโคในชุมนุมของ เรา ถึงแล่วซึ่งอานิสงส์ประการที่ ๕ คือการกระทำให้ก่อเก และความไพบลย์ในทางสมณกิจ และสงฆ์องค์ใดในชุมนุมนิทปฏิบั โดยเคร่งกรีดคามวินิยมาคิกาทง ๘ ประการ’ ส่านรายละเอียดแห่รนิธกรรมในการถรานตากฐิน นนม ดงน์ เมื่อทายกได้กล่าววาจาถวายด้ากฐินจบลงแลว ต่อจากนนก็ เบนหน’รีที่ของพระสงฆ์ ซึ่งจะดองทำพิธีกรรมต่อไป เบองแรกนน ถึจุะค*!องทำการอุปโลกน์กรรมเสียก่อน เพื่อตกลงก่นว่า ภิกษ ผ้มีกณสมบัติที่กวรวิะครองIผา'กฐิน กำอุปโลกนกฐินนนแบ่งเบน ๒ แบบ คือ 9. แบบมหานิกายใช้อุปโลกน์ดำยภาษาไทยล1,วน ๆ ๒. แบบธรรมยุคนิกายใช้อุปโลกน์ด้วยภาษาบาลี ถาหากกฐินหลวง กำอปโลกน์จะด้องระบุพระบรมนามา ภิไธยของพระบาทสมเด็จพระเด้าอยู่ด้วด้วย (เฉพาะรูปที่
๑เตุป็๓ อุปโลกน์รูปท ๒, ๓, ๔, ก็เบ็นแบบเคียวก้นหมดที่งแบบกฐินห และราษฎร์ คำอปโลกน์ รปที ๑ (โดยมากนิยมให้เจ้าอาวาสอุปโลกน์) “ผ้ากฐินทาน กบทงผ้าอานิสงส์บริวารที่งํ้ปวงน์เ สมเด็จบรมบพิฅรพระราชสมภาร พระองค์สมเด็จพระปรมินทรม ธรรมิราชาธิราชเจ้า ผู้ทรงพระคุณก้นประเสริฐ กอปรด้วยพ ราชศร'ทธาทรงพระอุตสาหะ เสด็จพระราชดำเนินนำมาพร,ก้มด้วยพระ บรมวงศานุวงศ์เสนามาฅยราชบริพาร พระราชทานแด่พระกิกษสงฆ ซึ่งอย่พรรษากาลด้วนไตรมาส ในอาวาสวิหารน์ ก็แลฟ้าพระกฐินทานน์ บ่งเกิดมีแก้สงฆ์ในกาลก้นสมควร แก้กฐินํตการกิจด้งน์ มีพระบรมพุทธานุญากไว้ว่า ให้กิกษซ์ พรรษากาลด้วนไตรมาสแลวทำกฐิน์ตการพิธีด้วยผ้าที่บ่งเกิดใน เช่นนํ้ เมื่อได้กรานกฐินนํ้นแด้ว่ อานิสงส์คุณหำประ แค'สงฆ์ท1งปวง ผ้ใดได้กรานกฐิน คือไม่ตองอาบัติโทษด้วยจาริ สิกขาบท ด. ผ้ปราศจากไตรจีวรไค้ไม่ตองอาบัติด้ว์ยทุติยกฐินสิกขาบท ๑. ฉนคณะโภชน์ได้ไม่เบนอาบัติด้วยคณะโภชน์สิกขาบท ๑. เก็ อดิเรกจีวรไค้ไม่เบ็1นอาบัติดวยปฐมกฐินสิขาบท ด. จีวรลาภก
๑ใดุป็๔ ขนไนอาวาสจะเบืนของภิกษผู้กรานกฐินแล้ว ๑. ก*บทงจีวรกาลย ออกไปในฤดเหม่นทงํ้สี่เดือน คํงนั้ บ*ด์นํ้ พระสงฆ์ทงป ปรารถนาเพื่อทำกไนิฅถารกิจหรือไม่ ล้ามีความสาม่กกียิน อ้นจะทำกฐิน'ฅถารกิจแล้วไซร้ จงให้สํพย์ส้ญญาสาธุการให้พรอมก (พระสงฆ์รไ] “สาธุ”* คำอปโลกน รปห ๒ “สมเด็จพระผ้มีพระภาคเจ้า ทรงอนุญาตกฐิน*ฅ์ถารกิจนน,ให้ เบนการเฉพาะบกกล สงฆ์ก็คี จะกรานกฐินไม่ได้ แก่เพราะอนุโมทน แห่งสงฆ์และคณะ และอ้ฅถารกิจแห่งบุกกล กฐินเบนอ*นสงฆ์อ' อ้นบุกคล กรานแล้ว ดังนิ ก็แลล้าพระกฐินทานนั้ กวรแก่ภิก มีจีวรอ้นเก่าหรือมีจีวรทุพพลภาพ หรือภิกษุรูปใดจะอุดสาห สามารถทำจีวรกรรมให้สำเร็จได้ในรันเดียว ให้เบนกฐิน*ก ดามพระบรมพทธานญาด มีให้วิธีวิน*ยนิยมเกลื่อนกลาดได้ บดน พระสงฆ์ทงปวงจะเห็นสมกวรแก่พระภิกษุรูปใด จงพรอมอ้นอนุญา ให้แก่ภิกษุรูปนนเทอญ” (พระสงฆ์ริบ “สาธุ”, คำอปโลกน รปที ๓ “อ้าพระกฐินทาน อ้บทเงอ้าอานิสงส์บริวารท1งปวงนิ พิจารณาเห็นสมกจรแก่พ่านผู้มีชื่กน (ลงชื่อพ่านผู้จะได้รั
๑]®0๕ แลวต่อไปให้ยกคุณ,ตามที่มี คือ ผู้เบนอธิบดีสงฆ์ในพระอาราม มีวสสายุกาลมาก หรือเบื่นพหสฅผ้ทรงธรรมทรงวิน์ยหรือเบ็1น ชแจงชกนำให้พรหมจารีสงฆ์ บริษ*ทรื่นเริงหรือเบนอบชฌาย์อาจ ของกุลบุตรเบืนอนมาก หรือเบนผ้ให้โอวาทานุสาสน์แก่ภิกษุสามเ และคฤหสถ์ หรือเบี่นผู้ทรงกฐินมาติกาฉลาดร้ในวิน์ยกรรม จะไม วินยนน \"I กำเริบ) มีสติบญญาสามารถ อาจจะทำกฐินน*ฅถารกิจให้ ตองตามพระบรมพุทธานญาฅไค้ เพราะฉะนั้น ข,าพเจำรึงอนมัติ พระสงฆ์ท1งปวง จะยินยอมพร,อมก่นถวายผ่าพระกฐินทาน กบทํงํ้ผ อานิสงส์บริวารทํงปวงน้แก่ท่านผู้มีชี่อนั้.ลำภิกษรูป ไม่สมควร จงทํกทํวงขั้นในท่ามกลางสงฆ์ ลำเห็นสมควร สาธการขั้นให้พร,อมก่น” (พระสงฆ์ริบ “สาธุ”) คำฮปโล?)น รปที่๔ “ผ่าพระกฐินทาน ก่บทํงผ่าอนิสงส์บริวารท1งปวงนั้ แลพระภิกษสงฆ์บริษ'ทมีเอกฉํนํทานุมัติพรํอมก่นยอมถวายแค่ท่านผ ชึ่อน์.ก่วยอุปโลกน์วาจานั้ ส่วนผ่ากฐินทานนั้น แม้ถึงพระสงฆ์ท5งปวงจะยินยอมพ ก่นถวายก่วยอุปโลกน์วาจา ตามพระบรมพุทธานุญาฅ เพราะฉะนั้ ขอพระสงฆ์จงทำกรรมสนนิษ^านว่า จะถวายผ่าพระกฐินนั้
๑]® ๖ แลวดำเนินการสวดญัติทุติยกรรมต่อไป กำอปโลกน์ค'งกล่าวมานั้ เบนแบบคณะมหานิกายใช้ก ในบ่จจุบ่น วิธีการอปโลกน์ กำหากเบนกฐินราษฎรถวายก็ให้ติดกำว่า '■พระ'’ จากคำว่ากฐินออกเสียใช้เพียง “กฐิน” และจากคำว ชอง.ก็ให้ระบุชื่อผู้เบนบจจไ]ทานาธิบติตามฐานานุฐานะของผู้ถวาย ว่าตามหล'กแลำ ไตรกฐิน'แกวรจะได้แก่พระที่ขาดแกลน กำ^ไตร และเบนสมณะที่ปฏิบัติศาสนกิจเบ็่นอย่างดี กีอ มีการ เกร่งกร่คทามธรรมวินไ] และเทศนาเผยแพร่พุทธธรรมแก่ประชาชน ได้อย่างคีมีผล แต่ในทางปฏิบัตินึ่นเบนอีกอย่างหนึ่ง กึอม่กจะอุ เจาอาวาสให้เบื่นผู้ได้รบไตรกฐินแทบทุกรายไป เมื่อสงฆ์ผ้ได้รบ กรองไฅรเร็ยบร่อย ก็มีการสวดของชุมนุมสงฆ์ เบื่นการอวยช้ย่ใ แก่ผู้กนที่ร่วมก่นมาทอดกฐินเบ็เนภาษาบาลี ซึ่งแปลออกได้ใจก ติงนึ่คือ “ขอให้ท่านที่งหลายมีอายุยืนยาวถึงร่อยบี่ มีร่ ปราศจากโรกาพยาธิ ประสงค์ปรารถนาสีงใคขอให้บรรลุตามใจหมาย จะทำการงานสีงใดขอให้พบประสบความสำเร็จ ได้ร่บแก่ประโยชน โภชผลยี่งๆขน ขอจงได้รบชไเชนะและความสำเร็จเสมอไป ท่าน พทธศาสน้กผ้มีจิคเลื่อมใสคร่ท่ธ'! เราขอให้พรติงว่านึ่แก่ท่าน-
๑!ด0๓) เมอพระให้ศีลให้พรแล้ๅ ก็เบึนอ*'14เสร็จสินพิธี ผ้กน กินออกจากโบสถ์ ส่วนที่เกี่ยวนํบพิธีหลวงน1น จะเบนค''งนึ่ คือ เมื่อพระสวดญ*ตทุติยกรรมจบแล้ว พระสงฆ์เจ่าอาวาส องค์กรองกฐิน บางนํดก็พินทุที่อาสนสงฆ์ฅ่อหนำพระสงฆ์แล้วจึง จากอาสนสงฆ์ไปกรอง บางองค์ก็อุ้มนำไฅรกฐินลงจากอาสนสงฆ เจ*าหนำที่ล้งฆการีจะฅีระฆ'งล้ญญาณให้บี่1พาทย์บรรเลงจนกว่ กรองนำเส?จ กล*บมาน'งยํงอาสนสงฆ์ ฅอนพระองค์กรองกลบมาจะ นำวขํ้นย'งอาสนสงฆ์ เจ*าหนำที่จะฅีระฆ*งอีกกรีงหนึ่ง เบื บื่พาทย์หยดบรรเลง ฅ่อจากนํนพระบาทสมเด็จพระเจ*าอยู่ห'ว จะโป เกนำๆ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จไปทรงประเกนเครื่อ พระกศีน เสร็จแนํวพระสงฆ์องค์กรองต*ง,พ*คขํ้นยถา ๆลๆ พระสงฆ ที่งนํแกงพิคยศขั้นพรอม'นํน พระบาทสมเด็จพระเนํอย่หํวท จากพระเนำนํกษิโณทกกรวอนา พระสงฆ์ร*บ สพฺพี ๆลๆ สธํ พลิ แนํวพระองค์ครองขน เกณิยานุโมทนากาถา ว่ารูปเดียวจนจบ อกกิหฅฺฅํ มุขา ยญฺญา กลๆ ทายกา ปุณฺญกามิโนจบแล้ว พระรปที่ ๒ ขน กาเล ททนฺฅิ ๆลๆ เมื่อสวดกาลทานกาถาจบแล้ว รปที่ฌ็ ประธานกล่าวถวายอฅิเร'กวิบ ขอถวายพระพร แล้วสวด ภวฅ
๑1ข้)๘ สพฺพมงฺกลํ ๆลๆ ภวนฺฅ เต เบนอ'นิจบพิธี (VIกล่าวมานึ่เบ พระราชทาน) ทล*ง-จากถวายผากเนอ'นเบนศาสนพิธีเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ มาถึงพิธีดามประเพณีของชาวบ้านคือการแข่งเรือ อ'นิเบ็๋นการปฏ จ*ดทำที่ควบกู่ก'นิไปก'ปการทอดกฏิน ประเทศไทยเบื่นประเทศกสิกรรม มีแม่นาลำกลองมากมาย ฉะนน คามปกติในดอนบ่ายของว*นิทอดกเน คามวกที่อยู่คามริมผืงแม'นาลำกลอง ม'กจะด้องมีการแข่ง ไปด้วย อ้นิเบึนประเพณีนิยมของชาวบ้านรำนลื่นมานมนานแล้ว แข่งเรือนึ่เบื่นการกระทำอ้นตงใจให้เกิดกวามสนุกกรนเกรง ห สาวๆ แค่งคำอย่างบรรเจิดเฉิดฉินด้วยเสั้อฟ้าอ้นมีสีส้นิค่างๆ และอย่างหมดจดงดงาม แล้วลงนิงพายในเรือมาด เรือลำบน จาแข่งก รางว'ลนนก็เบนสิ'งเล็กน์อย เพื่อให้ชื่นใจ คือ เรือลำผายหญิง การแข่งก็จะได้ร'ปรางว'ลผำแถบคล้องหำเรือหนึ่งผืน ถำเบน ชายที่มีช'ขชนะก็จะได้ผำขาวมำคล’องหำเรือมาดทำนองเดียวก'นิ โนการ นึ่เจำภาพผ้เบนเจ่าของงานทอดกเนม'กจะแจกข่าวคมลูกโยน และล้ม สกลกไม้แก่บรรดากนในเรือแพค่าง ๆ ที่มาร่วมงานโดยการโยนไปให้ ในเรือ กวามม่งหมายของการแข่งเรือ ก็เพื่อจะให้เกิดความร ๆ ๆ ได้ใจ และให้โอกาสบรรดาหนุ่ม สาว พูดจาหยอกล้อร้จ่กบ
๑!ลุ)^ และทาให้เจาของกฐินได้ดีบกวามยอย่องสรร!,สรีญ ในการที่ ทำให้ผู้กนชนละแวก-ว'คนน ได้มีโอกาสพบปะสิงสรรค์ ได้ร*บกวาม ซนชมรมณีย์ น'บได้ว่าเบนประเพณียินดีงาม และแสดงออก วฌนธรรมของประชาชนกนไทข การทอดกฐินอ'นเบ็นศาสนกิจลล่วง ลงไปแลว นบว่าเบ็!นการเสร็จกิจพิธี แล่วบรรดาผ้ที่มาร่ วนนียงได้รบความฉำชื่นสนกสนานกรื่นเครงอ'นประท*บใจ ช้กิจงให เขาอยากมาร่วมทำบุญอีกในบี!ต่อ \"I ไปควย เบนการช่วยทำให้ สามารถดำรงกงไว้ซึ่งประเพณีทางพระพุทธศาสนา และประเพณี ดีฌนธรรมของไทยได้ถาวรสืบต่อไป ส่วนไนกรงเทพ ๆ น1นเล่า บางบี!ก็มี'ราชพิธี'พระราชทานผ กฐิน [ดยทางชลมารค โดยมีกระบวนเรือสพรรณหงส์ เรืออน*นก¬ นากราช และเรอกระบวนอนพุ ^ ชงมลกษณะงดงามอรามกา พรอม คำยผี่พายพายออกจากทำวาสุกรี เพรียบพร่อมดีว่ยการร่องของผื่ ดีว่ยทำนองเพลงเห่เรือ และพระบาทสมเด็จพระเจำอย่หำ ทรงประท*บ บนเรือสำดีญ เสด็จไปยำดีดอรุณราชวราราม แล่วเสด็จกล*บก็นยำท วาสกรี ภาพนั้เบนภาพที่น่าดื่นเล่นประท*บใจยวคยึง ผ้กนจะห มายำผึงแม่นาเผาชมพระบารมีดีนอย่างล่นหลาม น'บ'ว่าเบนราชพ สำดีญยิงในการทอดกฐิน ซึ่งชาวต่างประเทศท1งหลายใช้พลอยชมพระ บารมี และชมราชพิธีสำดีญของไทย อ'นเบนที่รื่นรมย์ประท ข ให้ชาวต่างประเทศเข่ามาเที่ยวเมืองไทยได้อีกทางหนึ่งคำย
๑๓๐ ในการน เห็นเบนการสมกวรที่ระได้นำกาพย์ชมเริ ทนงสพรรณหงส์ มาประด*บแต้มแฅ่งให้สารคดีเกิดสีสน เบ็น แสดงออกซึ่งว่ฌนธรรมย์นเบื่นมรดกฅกของไทย และท้งเฬือเบ็นก แสดงให้ดระหน์กประย์กษ์ถึงว่า ราชประเพณีเสด็จทอดพระ ชลมารกน1นไค้มีมาเบ็่นเวลาชำนานแล่ว ฅํ้งแต่กรํ้งํ้สมยอยุธยา ดงคำ ประพ้นธ์ฅ่อไปน้ กาพยช้มเรอฟระทน่งส์วรรณหงส สุพรรณหงส์ทรงพ่ท้อย งามชดช้อยลอยหลงสินท้ เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ ดินลาศเลื่อนเดือนดาชม เจาพาธรรมธิเบศร์ สพรรณหงส์ทรงพู่ห*อ์ย งามชดช้อยลอยหล*งยสินธ* เพียงหงส์ทรงพรหมินทร์ บินแฅ่พ้ามาส่บญ ผจงจ*ดประภ*ศรไชย หลาววงละไมแลอ่อนละมุน ลายเด่นเห็นด้งดน ท้องคำชล*บขบทองวาว สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเธอ เจาพากรมพระยานริศรานจ้ด็ฅิวงด็ สพรรณหงส์ทรงพระพุทธ บริสทธื้ สดสุกใส พ1พ้อย รอยมาลย ผองอาไพ พสดาร
ซิ๓๑ บุษบก บิลลํงก์ร่ฅน์ ทงชํ้นฉํฅร ช*ชวาล บ่งสรย์ สริย์ฉาน และลาน ฅระการฅา ชคช่อย ลอยละล่อง อยู่กลางห,อง ท,องกงกา เล่ห์หงส์ ลอยเวหา ร่อนลงมา ส่สากร กลองใน นาวาฅาม ก็งคงาม เมื่อยามจร พลพาย กรีดกรายกร สลํบสลอน อยู่เรียงร่น ายฉนท์ ขำวิไล สุพรรณหงส์เพียงหงส์พรหม บินลอยลมลงน์ทที เบนอาสน์พระพุทธมี สิริส่องทองชลาลไ) นายหรือ เรืองฤทธ งามผงาคราชพาหเพยง พรหมทรง พระธินั๋งกรีสพรรณหงส์ ร เห็คหวง หงส์ห์องล่องลอยลง รองบาท พระฤๅ กลอนเกรนเพลินพายจํวง พากย์แจวจำเรียง ถวายแล ๆ พระราชวรวงศเธอ กรมหมนพทยาลงก:ณ กาบนั้มีปราโมทย์ ทรงสมโภชราชภารา โดยชลมารกมากพลแมน บี่นราชย์พยหยาตรา และระหงส่งแสงแสน ทรงศวริส'ุ.พรร,ณหงส ไม่เพริศพรั้งยี่งเรือทรง หงส์ทองล่องมาแทน
๑๓!®0 พลเรือเสํ้อแคงดาษ คผุดผาดเอี่ยมอาจอง มือกรายพายยรรยง ยกร่อนร่าท่านกบิน เรือขบวนยวนฅายล เรี่ยวแรงพลในชลสินธ งามองค์ทรงแผ่นดิน คํงเจำหล้ามาธรณี พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมึนพิทยาลงกรณ์ ศรีสุพรรณหงส์หำหงส์ ช่อชพ*กฅร์ก่งคอชู พ่จามะรีสีสะลอย กาบปากหอยหาวปลิว ท่ายกนกลิวลมเชิด แสงสุวรรณะเฉิดฉายวะว*บ แกมแก้วประคบดิลกงาม กราบทองอร่ามลายแพรว สองแถวพละพายฉกาจ หมวกทรงประพาสเส์อแดง พายทองฅระแบงบนบ่า แสนสง่าราชิศวะริยะเลิศ หวทายเทดธงชย เกรีองสงไสวฅลอดล้า พระแสงประจำฅีนฅอง บุษบกทองเถลิงอาสน์ พระยิพ่ลาดเขนยอิง บ่งสูรย์สิหงก์กลดฅาด พคโบกมาษปฤษฎางค์ ดาวว*ลละภางก์เชิญดร เชิญราชปะเภกพิลาศ ลอยลำผงาดชละฉาน พระเจาบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพํนธ์พงศ์
บทท 00 วนมานบชา (ตรงกบเพญ กลางเดอน ๓ และกำหนดเบนทีระลก นอบน์อมตอพระธรรม) ! -- มาฆบูชา คือ ว'นประกอบพิธีทางพระพทธศาสนา ใน กลางเคือน ๓ ซึงเทียบได้ก'บว'นที่ระลึกแก่บรรดาน*กบญฅ่างพุ ประเทศกะวนฅก และว*นมาฆบูชานั้ กำหนดให้เบืนที่ระลึกนอบนํ 'ก่อพระธรรมกำสอน ในการกล่าวอธิบายถึงสาร'ฅถสำค'ญของว'นมาฆบชา เราว ฅํองกั้งก้นด,วยการรำลึกถึงไกรสรณ.ากมเบึนเบั้องแรก คือ พระพ พระธรรม พระสงฆ์ ษระพหธเปีา หาใช่พระผู้เบนเจ่าหรือผ้ได้ จากพระผู้เบนเจ่าไม่ พระพุทธเจ่าทรงเบนปกติชนคนเราดี\" คือทรงประสติและกบข*นธ์ พระพุทธศาสนาซึ่งก่อเกิดมาจากพร พทธเจ่า เบนค'ลลองแห่งซึวิฅของพุทธมามก ร์งมิใช่อะไรอื ความประพฤติชอบ ประพฤติดี จากการอบรมผีกฝนจิกใจ ซึงการ ผึ'กฝนอบก่งว่า‘แจะชกนำให้ไปส่สํนติสุข คือนิพพาน
๑๓๔ นระพทธเปีา คือองค์แห่งเมตตา กรุณ.า มิฅรภาพ สจจะ และส้นติ ผ้ใคที่แสวงส้นติสฃก็จะหาได้ในธรรมะของพระพุทธเจา นระธรรม คือกำสอนของพระพุทธเจ่า ซึ่งถ่าผ้ใดเลื่อมใส ปฏิบัติทามและผึกฝนให้ถูกแล้ว ผ้นํ้นก็ประสบพบส้นติสุขในทีสุด ผระฝึงม์ คือบรรดาสาวกผ้ยึดและปฏิบัติธรรมแลวถ่ายท ส่งสอนให้แก่ประชาชนกนทำไปซึ่งเลอมใสศรํทธา ฅามความนิยมของชาวพทธ มาฆบชาคือเทศกาลททำการ กำหนดไว้ให้เบนที่ระลึกแก่ธรรมะ ฉะน8น จึงเบึนการเหมาะสมแลว ที่จะยกสาร,ตถสำก,ญของพทธธรรมขนมากล่าวในโอกาสน ธรรมะ ธรรมะคือวจนะหรือกำสอน และอาจหมายถึงความยุติธรรม ส้มมาปฏิบัติหรือกฎธรรมชาติได้ดำย ถ่าผู้ใดปฏิบัติธรรม ก็หมายความ ว่าผ้นํ้นไค้วางตนให้กลมกลืนก'บธรรมชาติ ซึ่งควบคุมจกรวาลอ และความคิดเห็นในกฎธรรมชาติ1•หล่าน1น ก็คือที่เกี่ยวกบล้ก่ษณะ เบนไป ๓ ประการ คือ อนิจจง ทุกขำ และอน์ฅตา มนุษย์ทุ ทกนามจะติองผกพ*นอย่ล้บล้อษณะความเบ็๋นไป ๓ ประการดำว่าน!โดย ไม่มีการยกเจ่นแต่อย่ารใด ล,กษณะความเบนไป ๓ ประการดำว่าน แหละ คือกฎธรรมชาติต่างๆของโลก กายภาพ ปี117จ่ไ? คือข,อสรุป
๑๓๕ ทีว่า ไม่ว่าในภพใดย่อมหามีส่งใดไม่หรอกที่จุะนบได้ว่าม ถาวร ทกขง น์นก็คือ ว่าในชีวิฅมนษย์เราน8นย่อมมีกวามไม่สมหว'ง เกลาระกนอยู่ท่วิยทุกผู้ทกนาม ส่วน อ'แคคา นํ้นเส่าม่งหม ฅระหนกประจุำษ์ว่า ในบรรดาชีวิฅท8งหลายท8งปวงน8น ไม่มีอะไร หรอกทีจุะเรียกได้ว่าเบื่นส่งที่มีวิญญาณ ลำษณะกวามเบ ประการน้กือ เน้อหาใหญ่ในพระพทธธรรม ยึนิปีปี'วิ หรือภาวะไม่เที่ยงแท้แน่นอนน้ ไม่เพี แก่บรรดาลำวโสกเท่าน8น ย'ง่จุะเกิดขนแก่ทก ทุ ส่งทก ทุ อย่างใน จำรวาลอีกท่วิย ไม่มีอะไรหรอกที่มีรปกายจุะยืนยงถาวร ไม่เร็ว ก็จะท่องสึกหรอ แดกหำ ถกทำลาย หรือเสื่อมสลายไป แลวิถือ กำเหนิดเกิดขนในรปใหม่ หกข'วิ นนกือ ทุกข์หรือภาวะไม่สมหว*งย่อมมีอย่ใน!,ลกน้ ทกข์น8นเกิดจากสาเหตุ ๓ ประการกือ (๑) การที่มนษย์ท่องขำอำยาศ*ยก*บธรรมชาฅิ (๒) การที่มนษย์ท่องขำอำยาศ*ยกับมนุษย์อื่น ท (๓) การที่มนุษย์ท่องขำอำยากัยกับฅำเอง ฮน่ตตา หรือน*ยหนึ่งการไม่มีท่วิฅน หมายถืงทกส ทกอย่างที่เกิดอย่ มีอยู่ แค่เราเกี่ยวของกับส่งน้นเ กวามส่ม่พำธ์กบมวลมนุษย์ บรรดาส่งที่งหลายที่ทรงชีพน
๑๓๖ วิญญาณ หรือไม่มีตำฅน วิญญาณหรือตำตนน8น คือกวามน่กคิดใน- แนวปร*ชญาอ*นึมีต่อส่วนที่เบึ่นอสสารของมนุษยส่วนหนง ซงเมอเรือน ร่างแตกด*บไปแลำก็คำรงกงอยู่ต่อไปอีก ทํ้งธรรมะและวิทยาศาสตร์ สม่ย'ใหม่สอนหล*กมลฐานอย่างเดียวก้นกึอสอนว่า อ*น,ปุถุชนกนเร นํ้นประกอบคำยจิฅและกายเท่านน ไม่มีอย่างอื่นอีก จิตและกาย สองอย่างน้ผกพ*นก*นอย่างแนบแน่น เมื่อตายหรือถืงกาลกบขนธลง ก็คํองสนสภาพไปดำยก*น ใช่ว่าเมื่อสงหนื่งสั้นสภาพแลว อีก จะดำรงกงอย่ต่อไปก็หามิไค้ ท1งสองลิเงเบนหน่วยหนีงหน่ว ซึ่งเราเรียกก*นว่ามนุษย์ และมนษย์น่ ไม่ชำไม่นานก็จะต ตามกฎของอนิจจำ กึอภาวะไม่เที่ยง ไม่แน่นอน กรรมและการเกิดอก กรรมแปลตามตำว่าการกระทำ จะกล่าวก็ไค้ว่า กร พลำที่มีขีดกำหนดชะตาหรือกวามเบนไปในภพนของเขา และทงสรร- ส ร่างภาวะในภพหนำของเราอีกดำย พลำคำว่าน่แหละที่เมื่อมน ดไ)ขนธ์ลงไปแลำจะดำรงภาวะอยู่ต่อไป และเชื่อมโยงภพนั้ ลำปราศจากกรรมแลำก็ไม่มีการเกิดอีก ทงจิฅและกายจะไม่มีการเกิด อีก แต่สี่งที่จะเกิดอีกน1นคือพลำงานอ'นทรงอำนาจของกรรมเท่าน กรรมนนจะดีหรือไม่ดีก็ไค้ท1งนก็สุดแก่การกระทำของจิต ของวาจา หรือของตำของเราเอง ไม่ว่าจะกรรมดีหรือกรรมไม่ดีก็ตาม ยำให้มี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192