ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 49 พระราชพงศาวดารกรงุ ธนบรุ ี ฉบับพันจนั ทนุมาศ (เจมิ ). พิมพ์คร้ังที่ ๒. กรงุ เทพฯ: องค์การค้าของครุ สุ ภา, ๒๕๒๘. เยาวนุช เวศร์ภาดา และวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์. ข้าว...วัฒนธรรม แหง่ ชีวติ . กรุงเทพฯ: แปลน โมทิฟ, ๒๕๔๑.
คตคิ วามเชอ่ื เกยี่ วกับข้าว และการท�ำนาปลกู ขา้ ว โดย นางสาวกมลพรรณ บุญสทุ ธ์ิ
52 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย คตคิ วามเชอื่ เก่ียวกบั ข้าว และการท�ำนาปลกู ข้าว เมืองไทยในอดีตยังขาดความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี อยา่ งทกุ วนั น้ี วถิ ชี วี ติ ของผคู้ นตง้ั แตเ่ กดิ จนตายจงึ พง่ึ พาธรรมชาตเิ ปน็ หลกั เพราะธรรมชาติเป็นส่ิงใกล้ตัวมนุษย์มากที่สุด คนไทยจึงเรียนรู้จาก การสังเกตถึงการเปล่ียนแปลงของฤดูกาลและสภาพแวดล้อมต่าง ๆ การเจรญิ เตบิ โตของพชื พรรณธญั ญาหารหลายหลากชนดิ ตลอดจนวงจรชวี ติ ของสตั ว์ จงึ มกี ารสรา้ งกระบวนการเรยี นรขู้ นึ้ มา เชน่ การนำ� เอาพชื บางชนดิ มาสกัดเป็นยารักษาโรค การปลูกข้าวในสภาพพื้นที่เหมาะสม การสร้าง เครื่องมือเคร่ืองใช้เพ่ือน�ำมาเป็นเคร่ืองทุ่นแรงและอ�ำนวยความสะดวก ในการทำ� มาหากนิ รวมถงึ การมปี ระเพณี พธิ กี รรม และความเชอ่ื ตา่ ง ๆ ทม่ี ี การบอกเลา่ และปฏบิ ตั สิ บื ทอดตอ่ กนั มาจากรนุ่ ปยู่ า่ ตายายจนสรู่ นุ่ ลกู หลาน สิ่งเหล่านี้นับว่าเป็นเคร่ืองมืออย่างหน่ึงที่ช่วยก�ำกับให้ผู้คนในสังคม ดำ� เนนิ ชวี ติ อยใู่ นกฎระเบยี บ และเคารพกตกิ าของสงั คมเพอ่ื ใหไ้ ปในทศิ ทาง เดยี วกนั สงั คมจงึ ไมเ่ กดิ ความสบั สนวนุ่ วาย นบั วา่ เปน็ องคค์ วามรทู้ เี่ กดิ จาก การสงั่ สมมาเปน็ ระยะเวลานานจนกระทง่ั ตกผลกึ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทมี่ คี ณุ คา่ ตอ่ การด�ำรงชวี ติ ของผคู้ นในสงั คม คนในสมยั กอ่ นจะมคี วามเชอื่ เกย่ี วกบั ผี ค�ำว่า “ผ”ี ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถานให้ความหมายว่า “ส่ิงที่ มนษุ ยเ์ ชอ่ื วา่ เปน็ ภาพลกึ ลบั มองไมเ่ หน็ ตวั แตอ่ าจปรากฏเหมอื นมตี วั ตนได้ อาจให้คุณและโทษได้ มีท้ังดีและร้าย” ซ่ึงชาวบ้านมีความเช่ือเรื่องผี เปน็ อยา่ งมาก แตไ่ มส่ ามารถอธบิ ายถงึ รปู รา่ ง ลกั ษณะของผไี ดว้ า่ เปน็ อยา่ งไร
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 53 แต่เชื่อกันว่าผีมีพลังอ�ำนาจเร้นลับ สามารถดลบันดาลให้มนุษย์พบกับ เหตกุ ารณใ์ ด ๆ กไ็ ด้ ไมว่ า่ จะเปน็ ในทางดหี รอื ทางรา้ ย จะใหค้ ณุ หรอื ใหโ้ ทษ ก็ได้เช่นกัน และมีอิทธิพลต่อชีวิตจิตใจของมนุษย์อย่างย่ิง นอกจากน้ัน มีการจินตนาการถึงรูปลักษณ์ การเรียกชื่อ และการนับถือผี ยังมคี วามแตกตา่ งกันไปตามวถิ กี ารดำ� รงชวี ติ และการทำ� มาหากินอีกด้วย ในส่วนท่ีเกย่ี วกบั ขา้ วและการทำ� นาปลูกขา้ ว มีคตคิ วามเชอ่ื และสัญลักษณ์ในเร่ืองของเทพเจ้า ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ และผีที่เกี่ยวข้องกับข้าว และการท�ำนา พิธีกรรมที่เกี่ยวกับข้าวและการท�ำนาเป็นส่วนส�ำคัญ อย่างย่ิงต่อการท�ำนาปลูกข้าวตามความเชื่อของชาวบ้านมาตั้งแต่อดีต ดงั นน้ั การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ อ่ เทพเจา้ สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ และผที เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ขา้ ว และการท�ำนาจงึ แสดงถงึ ความเคารพนบั ถืออยา่ งยง่ิ มีการจัดพธิ กี รรมข้ึน เพอื่ แสดงถงึ การเคารพและความเชอ่ื มนั่ รวมทง้ั เปน็ เครอื่ งยดึ เหนย่ี วจติ ใจ ของชาวนา ผู้ร่วมพิธีจึงมาร่วมงานกันอย่างพร้อมเพรียง โดยมุ่งหวังให้ สงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ นี่ บั ถอื นชี้ ว่ ยดลบนั ดาลใหก้ ารทำ� นาและผลผลติ ในแตล่ ะครงั้ ประสบผลส�ำเร็จ รวมท้ังช่วยคุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินของตนเอง และครอบครวั ให้มคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งตลอดไป ตอ่ มาเมอ่ื พระพุทธศาสนา และศาสนาฮินดูเผยแผ่เข้ามา ประกอบกับบ้านเมืองได้มีการพัฒนา ใหเ้ จริญรุ่งเรือง ลักษณะของพิธีกรรมที่เก่ียวกับข้าวจึงเป็นการผสมผสาน ระหว่างพิธีพุทธและพิธีพราหมณ์ เช่น มีการนิมนต์พระสงฆ์มาสวดมนต์ มีการท�ำบุญท�ำทาน รวมท้ังมีการน�ำข้าวไปร่วมประกอบพิธีเพ่ือ ความศักดิ์สิทธิ์ และความน่าเช่ือถือในราชส�ำนักซ่ึงจะมีอิทธิพลยิ่ง โดยสะทอ้ นกลบั ไปยงั ความเชอื่ ของชาวบา้ นอกี ทอดหนงึ่ ดงั นน้ั ในปจั จบุ นั พธิ กี รรมทเี่ กย่ี วกบั ขา้ วจงึ เปน็ การผสมผสานระหวา่ งคตคิ วามเชอ่ื ในเรอื่ งผี
54 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย อำ� นาจลกึ ลบั เหนอื ธรรมชาตติ า่ ง ๆ ความเชอ่ื ของผคู้ นในทอ้ งถนิ่ ความเชอ่ื ในพระพทุ ธศาสนาและศาสนาฮินดู เทพเจ้า ส่ิงศักดิส์ ิทธ์ิ และผที ่เี ก่ียวขอ้ งกับข้าว และการทำ� นาปลูกขา้ ว ๑. นางโพสพหรอื แม่โพสพ โดยทัว่ ไปเช่อื กนั ว่า “ข้าว” มีเทพธดิ าประจำ� อยู่เรียกกันว่า “นางโพสพ” หรือ “แม่โพสพ” ผู้คนได้สร้างรูปเคารพขึ้นมาเพ่ือบูชา มีรูปร่างลักษณะเป็นหญิงสาว ผมยาวประบ่า ใส่กรอบหน้า ทัดดอกไม้ อยใู่ นทา่ ทางอ่อนชอ้ ยสวยงาม คอื นั่งพับเพยี บ มือขวาถือรวงขา้ ว มอื ซ้าย อุ้มถุงข้าว การแตง่ กายคอื หม่ สไบเฉยี งรดั ทรง นุง่ ผา้ ถุง คร้ันเมอื่ ประกอบ พิธีกรรมจะน�ำรูปเคารพมาร่วมพิธีหรือไม่ก็ได้ หากไม่มีรูปเคารพมักนิยม ใช้รวงข้าวเป็นสัญลักษณ์แทนความอ่อนน้อมและความกตัญญูรู้คุณ ของคนไทยทมี่ ตี อ่ อำ� นาจเหนอื ธรรมชาติ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ไดจ้ ากการเรยี กชอื่ ของสง่ิ เหลา่ นน้ั จะขน้ึ ตน้ ดว้ ยคำ� วา่ “แม”่ แมน่ น้ั เปน็ ผใู้ หก้ ำ� เนดิ และเปน็ ผมู้ ี บทบาทสำ� คญั ในครอบครวั และสงั คม การใชค้ ำ� วา่ แมเ่ รยี กขา้ ววา่ “แมโ่ พสพ” จึงเป็นการแสดงความเคารพและยกย่องอย่างสูง เช่ือกันว่าแม่โพสพ มีอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ สามารถดลบันดาลความสุขสมบูรณ์แก่ผู้ประพฤติ ปฏบิ ตั ดิ ีต่อนาง แตถ่ า้ ใครประพฤตปิ ฏิบตั ิไมด่ จี ะไดผ้ ลลพั ธ์ในทางตรงข้าม เป็นเทพที ่คี อยดูแลรกั ษาพชื พรรณธญั ญาหารให้อุดมสมบูรณ์
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 55 ๒. แถนหรือแถง “แถน” หรอื “แถง” เป็นเทวดาหรือผีฟา้ เช่ือว่าเปน็ ผีช้นั สูง อยู่บนสวรรค์ที่มีอิทธิพลต่อการท�ำมาหากินและความเป็นอยู่ของผู้คน เปน็ ผสู้ รา้ งทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งไมว่ า่ จะเปน็ ดนิ นำ�้ ลม ไฟ ตลอดจนเครอ่ื งใชไ้ มส้ อย มีพลังอ�ำนาจดลบันดาลให้เกิดภัยธรรมชาติต่าง ๆ ขึ้น ส่งผลกระทบ ในวงกวา้ งตอ่ สงิ่ มชี วี ติ อน่ื ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ มนษุ ย์ สตั ว์ และพชื พรรณธญั ญาหาร บนโลกมนษุ ย์ เชน่ ทำ� ใหเ้ กดิ ฝนตก นำ้� ทว่ ม ฝนแลง้ และพชื พรรณธญั ญาหาร เสยี หาย เปน็ ตน้ ทำ� ใหผ้ คู้ นเกรงกลวั “แถน” กนั มาก นอกจากนน้ั ยงั พงึ่ พา อำ� นาจพระยาแถนใหช้ ว่ ยขจดั ปดั เปา่ ปญั หาตา่ ง ๆ แถนไมม่ สี ญั ลกั ษณใ์ ด ๆ ใช้แทนในช่วงเวลาประกอบพิธีกรรม มีเพียงการกล่าวถึงชื่อและเอ่ยชื่อ ข้ึนมาเท่าน้ัน ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือแถนหรือผีฟ้าอย่างยิ่ง คร้ันเกิดความทุกข์ร้อนใด ๆ ชาวบ้านจะบนบานศาลกล่าวขอให้แถน ช่วยเหลือ ในส่วนที่เก่ียวข้องกับการท�ำนานั้น ชาวบ้านเช่ือว่าแถน มีพลังอ�ำนาจท�ำให้ฝนตกได้ จากความเชื่อน้ีจึงมีพิธีกรรมท่ีสื่อให้เห็นถึง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยแ์ ละสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ ชี่ าวบา้ นเคารพนบั ถอื เลอื่ มใส ศรัทธาเป็นพิธีที่ส�ำคัญต่อการท�ำมาหากิน และการปลูกข้าวของคนไทย ที่อาศัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ พิธีจุดบั้งไฟเพื่อส่งสารไปถึง พระยาแถน โดยในแต่ละปีมีการจุดบั้งไฟบูชาแถน เพื่อให้แถนขอให้ ผู้มีหน้าท่ีท�ำให้ฝนตก เช่น นาค พระพิรุณ ประทานให้ฝนตกลงมา ซ่งึ เป็นประโยชนต์ อ่ การท�ำนาปลูกขา้ ว เปน็ ตน้ ๓. นางธรณีหรอื แม่ธรณี “นางธรณี” หรือ “แม่ธรณี” เป็นเทพเจ้าแห่งพ้ืนดินและ เปน็ สงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ป่ี กปกั รกั ษาพนื้ ดนิ ซงึ่ กอ่ นทช่ี าวนาจะไถนาหรอื ปลกู ขา้ ว ต้องมีการบอกกล่าวขออนุญาตต่อแม่ธรณีเสียก่อน แม่ธรณีมีสัญลักษณ์
56 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เป็นรูปปั้นหรือรูปภาพเป็นหญิงสาวที่มีความงดงาม ผมยาวเกล้ามวย มกี ารแตง่ กายคอื หม่ สไบ นงุ่ ผา้ ถงุ มกั ปรากฏในภาพทอ่ี ยใู่ นทา่ ยนื บบี มวยผม ให้น้�ำไหลออกมา ครั้นเม่ือประกอบพิธีกรรมชาวบ้านจะใช้ก้อนดิน แทนรูปเคารพ เพราะถือว่าดินเป็นตัวแทนของแม่ธรณี มีการท�ำพิธี เซน่ ไหวด้ ว้ ยขา้ วนง่ึ ไขไ่ ก่ และมกี ารบนบานออ้ นวอนใหแ้ มธ่ รณชี ว่ ยปกปกั รักษาข้าวในนา อย่าให้มีศัตรูหรืออุปสรรคใด ๆ และขอให้การท�ำนา มีความสะดวกราบรืน่ ตลอดฤดูกาล ๔. ปตู่ าหรือภูตา “ปู่ตา” หรือ “ภูตา” เป็นผีบรรพบุรุษท่ีล่วงลับไปแล้ว แต่เช่ือว่าดวงวิญญาณยังห่วงลูกหลาน จึงคอยสอดส่องดูแลลูกหลาน ในหมู่บา้ นและชุมชนให้อย่เู ย็นเปน็ สุข เม่ือลกู หลานประสบกบั เคราะหภ์ ยั กจ็ ะคอยชว่ ยเหลอื นอกจากนน้ั ยงั คอยพทิ กั ษร์ กั ษาสตั ว์ พชื พรรณธญั ญาหาร ในหมู่บ้านและชุมชนให้แคล้วคลาดปลอดภัยอีกด้วย ปู่ตาหรือภูตาไม่มี สัญลักษณ์ใด ๆ เป็นตวั แทน มีเพยี งศาลเจ้าเล็ก ๆ ท่ชี าวบ้านสร้างขน้ึ มา และอัญเชิญปู่ตาให้มาอยู่ที่นี่ รวมท้ังใช้ศาลเจ้าน้ีเป็นท่ีประกอบพิธีด้วย เรยี กวา่ “ศาลปตู่ า่ ”หรอื “หอปตู่ า”หรอื “เฮอื นปตู่ า”หรอื “ตบู ปตู่ า”ประจำ� หมู่บา้ น โดยทัว่ ไปแลว้ มักเลอื กสถานทท่ี มี่ ีความรม่ รน่ื เงียบสงบ อุดมดว้ ย ตน้ ไมใ้ หญม่ ปี า่ ไมร้ กครม้ึ ซง่ึ หากพจิ ารณาอกี ดา้ นหนงึ่ นน้ั อาจเปน็ ประโยชน์ ต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในหมู่บ้านและชุมชนให้คงอยู่ต่อไป โดยศาลนั้นมีลักษณะคล้ายบ้านหลังเล็ก ๆ อาจมีฝาบ้านหรือไม่มีก็ได้ จะมีการท�ำพิธีกรรมเซ่นไหว้หรือเล้ียงผีเป็นประจ�ำทุกปี คร้ันเมื่อถึง เดือน ๖ (พฤษภาคม) ของทกุ ปีจะมีพธิ ีบวงสรวงปู่ตา และมกี ารเสยี่ งทาย เรือ่ งราวต่าง ๆ เชน่ ความสุขสมบรู ณ์ของหมบู่ ้าน ทำ� นายปรมิ าณน�้ำฝน ในปีน้นั ๆ เป็นตน้ เพื่อความเปน็ สริ ิมงคลแกช่ วี ิตและการท�ำมาหากนิ ดว้ ย
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 57 ภาพรวมของการประกอบพิธีกรรม คือ เริ่มต้นในตอนเช้าชาวบ้าน ทกุ ครัวเรอื นร่วมกนั บรจิ าคเงินเพือ่ จดั ซือ้ ข้าวของมาเซน่ ไหว้ เชน่ อาหาร ไก่ สุรา เปน็ ตน้ แมว้ า่ ในแต่ละพ้ืนทอ่ี าจมขี ้นั ตอนการประกอบพธิ แี ตกตา่ ง กันบ้าง แต่มีส่ิงท่ีเหมือนกัน คือ การประกอบพิธีกรรมน้ีก็เพ่ือเป็น เครอ่ื งยดึ เหนยี่ วจติ ใจของชาวบา้ น ใหม้ พี ลงั ในการดำ� เนนิ ชวี ติ และประกอบ อาชีพได้อย่างราบรื่น วิธีการติดต่อส่ือสารระหว่างปู่ตากับชาวบ้านนั้น จะมีส่ือกลางคือ คนทรงหรือที่เรียกว่า “เฒ่าจ้�ำ”1 เป็นผู้ท�ำหน้าท่ีติดต่อ ปตู่ าและผปู้ ระกอบพธิ กี รรม รวมทงั้ ตอ้ งทำ� หนา้ ทด่ี แู ลรกั ษาพนื้ ทต่ี งั้ ของศาล ปู่ตาและบริเวณรอบ ๆ นั้นดว้ ย “เฒ่าจ้�ำ” “ขะจ้�ำ” “ข้าวจ้�ำ” “เฒ่าประจ�ำ” “เจ้าจ�้ำ” อาจเรียกได้หลายชื่อแตกต่างกันไปตามท้องถ่ิน การคัดเลือกเฒ่าจ้�ำน้ัน จะไดร้ บั การตรวจสอบและคดั เลอื กจากบคุ คลในหมบู่ า้ นทม่ี คี วามประพฤติ และบุคลิกภาพดีเป็นที่ยอมรับของคนในหมู่บ้านและชุมชน เมื่อได้ตัดสิน และก�ำหนดว่าผู้ใดเป็นเฒ่าจ้�ำแล้ว บุคคลผู้นั้นก็มิอาจหลีกเล่ียง และปฏเิ สธได้ เพราะเชอ่ื วา่ เปน็ ความประสงคข์ องผปี ตู่ า และคนในหมบู่ า้ น ตอ้ งการใหเ้ ปน็ เชน่ นน้ั ในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ อาจมวี ธิ เี ลอื กเฒา่ จำ้� แตกตา่ งกนั อาทิ เลอื กเฒา่ จำ�้ จากการสบื ทอดของบคุ คลในตระกลู คอื เมอื่ สามเี คยเปน็ เฒา่ จำ้� และเสียชีวิตลง ภรรยาหรือบุตรชายก็ต้องท�ำหน้าท่ีสืบแทน บางท้องถิ่น กก็ ำ� หนดวา่ เฒา่ จำ้� ตอ้ งเปน็ ผชู้ ายเทา่ นน้ั ในบางแหง่ จะเปน็ ผหู้ ญงิ หรอื ผชู้ าย กไ็ ด้ แตส่ ว่ นใหญม่ กั เปน็ ผชู้ าย บางแหง่ กำ� หนดใหม้ เี ฒา่ จำ�้ ๒ คน และบางแหง่ กใ็ ห้ท้งั สามีและภรรยาเปน็ เฒ่าจำ้� ทัง้ คแู่ ละท�ำพิธรี ่วมกัน 1 กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดยโสธร (กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๒), หน้า ๑๓๘.
58 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย ๕. ตาแฮกหรือผตี าแฮก “ตาแฮก” หรือ “ผีตาแฮก” เป็นผีประจ�ำท้องไร่ท้องนา คอยปกปักรักษาท้องไร่ท้องนาป้องกันไม่ให้ข้าวกล้าในนาเกิดภัยพิบัติ เสยี หาย และเปน็ ผที มี่ าจากความเชอ่ื ในการประกอบอาชพี ครนั้ เมอ่ื ชาวนา หักร้างถางพงแปรสภาพท่ีดินเป็นที่นา จะมีการท�ำพิธีเชิญผีตาแฮก ตนหนง่ึ มาเปน็ ผเู้ ฝา้ ปกปกั รกั ษาทน่ี าและขา้ วกลา้ โดยแตล่ ะปเี จา้ ของทนี่ า ต้องท�ำพิธีเซ่นสังเวยก่อนลงไถนา เม่ือเก็บเก่ียวแล้วเสร็จต้องแบ่งข้าว สี่เกวยี น (จำ� ลองเลก็ ๆ) ให้แกผ่ ีตาแฮกดว้ ย ๖. นาค นาคเป็นสัตว์ในอุดมคติท่ีเชื่อว่าอาศัยอยู่ในโลกบาดาล มีหน้าท่ีในการพ่นฝนให้ตกลงในจักรวาลนี้คือ มหาสมุทร โลกมนุษย์ และป่าหิมพานต์ สัญลักษณ์ท่ัวไปของนาคจะเป็นรูปภาพหรือรูปปั้น มีลักษณะคล้ายงูใหญ่ ในสว่ นท่เี กยี่ วข้องกบั การท�ำนานัน้ นาคเป็นผทู้ �ำให้ ฝนตกลงมาซึ่งเป็นผลดีต่อผืนนา นอกจากน้ี มีนาคอีกแบบหน่ึงเรียกว่า “นาคทรงแผ่นดิน” ร่วมอยู่ในพิธีกรรมด้วยในช่วงเวลาท�ำพิธีแรกไถนา ชาวนาจะดูวัน เดือน ปี และทิศท่ีจะบ่ายหน้าควาย ไม่ควรใหค้ วายลากไถ ไปในทิศทางท่ีทวนเกล็ดนาคเพราะเชื่อว่าจะท�ำให้การท�ำนาในปีน้ัน ๆ พบแตป่ ญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 59 การก�ำเนดิ พิธกี รรมและความเชื่อท่เี ก่ยี วกบั ข้าว ห า ก ก ล ่ า ว ถึ ง พิ ธี ก ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ เ ก่ี ย ว กั บ ข ้ า ว ในสังคมไทยสมัยก่อนแล้ว อาจกล่าวได้ว่าหมายถึงพิธีกรรมท่ีรวมเกือบ ทั้งหมดในสังคมไทย เพราะผู้คนในสังคมไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมเป็นชาวไร่ชาวนา ท�ำการเพาะปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น พธิ กี รรมทเ่ี กดิ ขน้ึ จงึ ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การทำ� มาหากนิ อยา่ งยง่ิ ซงึ่ จดุ มงุ่ หมาย ของพิธีกรรมท่ีเกี่ยวกับข้าวเพ่ือให้เกิดความอุดมสมบูรณ์น่ันเอง โดยพิธีกรรมทั้งหมดรวมท้ังจุดมุ่งหมายหลักล้วนแสดงให้เห็นถึงวิธีการ แก้ไขปญั หา เมอ่ื เผชิญกบั ความไม่แนน่ อนของธรรมชาติ เปน็ การสะทอ้ น ให้เห็นถึงภูมิปัญญาของชาวบ้านในการแก้ปัญหาเร่ืองการท�ำมาหากิน เพ่ือความอยู่รอดต่อไป สังคมไทยโบราณก่อนการรับพระพุทธศาสนา และศาสนาฮนิ ดเู ขา้ มานน้ั การประกอบพธิ กี รรมแบบดง้ั เดมิ จะใหค้ วามสำ� คญั แกอ่ ำ� นาจเหนอื ธรรมชาตหิ รอื ผี เพราะเชอื่ วา่ ผมี อี ำ� นาจมหาศาล และมอี ทิ ธพิ ล ต่อผลผลิตรวมทั้งสภาพแวดล้อมใด ๆ ท้ังมวล หากพิจารณาถึงพิธีกรรม ท่ีเก่ียวกับข้าวทั้งหมดน้ัน ล้วนเป็นพิธีกรรมท่ีท�ำข้ึนตามฤดูกาล และมคี วามสมั พนั ธก์ บั การเพาะปลกู ทง้ั สน้ิ ปญั หาสำ� คญั ทสี่ ดุ ของการทำ� นา คือ ปัญหาเรื่องน้�ำฝน เพราะการท�ำนาในอดีตน้ันเป็นนาน้�ำฝนที่จ�ำเป็น ต้องพ่ึงพิงธรรมชาติ ดิน ฟ้า อากาศ ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีไม่แน่นอนไม่สามารถ ควบคุมได้ ดังน้ันจึงจ�ำเป็นต้องอาศัยอ�ำนาจลึกลับเหนือธรรมชาติ หรอื ผีสางเทวดา เป็นตัวช่วยขจดั ปัดเปา่ ภยั อนั ตรายต่าง ๆ โดยใชว้ ธิ กี าร เลย้ี งดูเอาอกเอาใจ เช่น มีการไหวภ้ ูต ผี หรืออ�ำนาจลกึ ลับเหนอื ธรรมชาติ ต่อมาเมื่อมีการรับพุทธศาสนาเข้ามาจึงมีการปรับเปลี่ยนผสมผสาน มพี ธิ สี งฆเ์ ขา้ มาเปน็ สว่ นประกอบในพธิ กี รรมดว้ ย นอกจากนน้ั พธิ กี รรมอน่ื ๆ
60 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ที่เป็นพิธีของชาวบ้านที่เรียกว่า พิธีราษฎร์ ก็มีการปรับเป็นพระราชพิธี หรือทเ่ี รยี กว่าพิธีหลวงอกี ด้วย พิธีกรรมท่ีเก่ียวกับข้าวถือว่าเป็นพิธีกรรมท่ีมีความส�ำคัญ ต่อชาวบ้านมากที่สุด เพราะเกี่ยวข้องกับการเล้ียงปากเล้ียงท้อง การทำ� มาหากนิ ของชาวบา้ น โดยการประกอบพธิ กี รรมจดั ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตลอดปีตามล�ำดับและสัมพันธ์กับการเพาะปลูกข้าว พิธีกรรมข้าว มี ๔ ขน้ั ตอนใหญ่ ๆ ดังน้ี ๑. พธิ กี รรมกอ่ นการเพาะปลกู มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื บวงสรวง บูชาส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ บรรพบุรุษที่เคารพให้คุ้มครองและดลบันดาลให้ชีวิต ทรพั ย์สินสมบูรณ์ มคี วามสุข ปลอดภัย และยงั เป็นการสรา้ งความเชอ่ื ม่นั ต่อการด�ำรงชีวิตอีกด้วย เช่น พิธีเลี้ยงผีปู่ตาประกอบการเส่ียงทาย พธิ แี หน่ างแมว พิธีป้นั เมฆ พธิ บี ญุ บง้ั ไฟ และพธิ บี ุญซ�ำฮะ เปน็ ต้น ๒. พิธกี รรมช่วงการเพาะปลูก มีจดุ มุ่งหมายเพือ่ บวงสรวง บนบาน ฝากฝังเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับข้าว และการเพาะปลูกแก่เทพเจ้า และสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ขอให้ช่วยคุ้มครองให้การเพาะปลูกข้าวด�ำเนินไป อยา่ งราบรื่น เชน่ พิธแี ฮกไถนา พิธีแฮกด�ำนา เป็นต้น ๓. พิธีเพ่ือการบ�ำรุงรักษา เพ่ือขอให้ข้าวงอกงาม อยู่รอด ปลอดภยั จากศตั รพู ชื ตา่ ง ๆ การประกอบพธิ กี รรมจะจดั ขนึ้ ในชว่ งระหวา่ ง การเพาะปลูกจนกระท่ังถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต เช่น พิธีไล่น้�ำ พธิ ปี ักตาเหลว พธิ ีรับขวญั แมโ่ พสพ เปน็ ต้น ๔. พิธีกรรมเพื่อการเก็บเกี่ยวฉลองผลผลิต เพ่ือขอให้ ได้ผลผลิตจ�ำนวนมาก ยังเป็นการแสดงถึงความกตัญญูส�ำนึกในบุญคุณ ต่อข้าวและสิ่งท่ีเกี่ยวข้องอีกด้วย การประกอบพิธีกรรมจัดขึ้นในช่วง
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 61 ฤดูกาลเก็บเกี่ยว เช่น พิธีแรกเก่ียวข้าว พิธีเชิญข้าวขวัญ และพิธีขนข้าว ขึน้ ยุ้ง เป็นต้น พธิ กี รรมเกี่ยวกบั ขา้ วและการทำ� นาปลูกข้าว สภาพสังคมและวิถีการด�ำเนินชีวิตของคนไทยสมัยก่อน ทม่ี ชี วี ติ แวดลอ้ มดว้ ยความอดุ มสมบรู ณข์ องทรพั ยากรธรรมชาติ ทำ� ใหผ้ คู้ น ไมต่ อ้ งดน้ิ รนตอ่ สตู้ อ่ การยงั ชพี มากนกั ไมไ่ ดค้ ำ� นงึ ถงึ การผลติ เพอื่ การคา้ ขาย เป็นเพียงแค่สร้างผลผลิตข้ึนมาเพื่อการบริโภคในครัวเรือนเท่านั้น แม้จะ ไม่คอ่ ยมสี ิง่ อ�ำนวยความสะดวกแต่สามารถดำ� รงชีวิตได้ เช่น ไม่มไี ฟฟา้ ใช้ ชาวบ้านก็จะใช้ตะเกียงแทนได้ จึงเป็นการด�ำรงชีพอย่างเรียบง่าย ต่อมา เมอื่ สภาพสงั คมและวถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของผคู้ นไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป ประเพณี และวฒั นธรรมบางอยา่ งกม็ กี ารเปลยี่ นแปลงไปบา้ ง บางอยา่ งกส็ ญู หายไป บางอยา่ งกย็ งั คงอยแู่ ตไ่ ดถ้ กู ปรบั เปลย่ี นใหแ้ ตกตา่ งไปจากเดมิ ซงึ่ เปน็ กลไก ของพัฒนาการของวิถีแห่งวัฒนธรรม ดังเช่นพิธีกรรมที่เก่ียวกับข้าว และการท�ำนาปลูกขา้ ว กไ็ มอ่ าจหลีกหนีกลไกแหง่ วิถีวัฒนธรรมไปได้ โดยทั่วไปแล้วในรอบปีหนึ่ง ๆ มีพิธีกรรมและความเชื่อ ท่ีเก่ียวกับข้าวและการท�ำนาปลูกข้าวอยู่หลายช่วงเวลาและหลายข้ันตอน ในการประกอบพิธีกรรม ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังให้สิ่งศักด์ิสิทธ์ิท่ีชาวบ้านนับถือ ดลบันดาลให้การท�ำนา การด�ำเนินชีวิตของตนเองและครอบครัว ประสบกับความสุขความเจริญตลอดไป แม้ว่าในบางพื้นท่ีอาจมีข้ันตอน การประกอบพธิ ีกรรมแตกตา่ งกันบ้าง แต่มีสง่ิ ทีเ่ หมอื นกัน คอื จุดมุ่งหมาย ของการประกอบพิธีกรรมเหล่าน้ีเพ่ือเป็นเครื่องยึดเหน่ียวจิตใจ
62 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ของชาวบ้านให้มีพลังใจในการด�ำเนินชีวิตและประกอบอาชีพต่อไป ในทน่ี จี้ ะกลา่ วถงึ พอสงั เขปเทา่ นน้ั อาทิ พธิ เี ลยี้ งผปี ตู่ าประกอบการเสยี่ งทาย พิธแี ฮกไถนา และพธิ แี ฮกด�ำนาหรือปลกู ข้าวตาแฮก เป็นตน้ ๑. พิธีเล้ียงผปี ตู่ าประกอบการเสย่ี งทาย โดยทั่วไปการเลี้ยงผีปู่ตาจะกระท�ำพิธีในวันพุธ และจะท�ำ เป็นประจ�ำทุกปี ในปีหน่ึง ๆ จะทำ� พิธี ๒ ครั้ง คือในตอนลงนาคร้ังหน่ึง และในตอนข้ึนนาอีกครั้งหน่ึง ส�ำหรับในตอนลงนาน้ันจะท�ำพิธีในช่วง เดอื น ๖ เรยี กว่า “เลย้ี งลง” การเล้ยี งครง้ั น้เี พ่ือเปน็ การเสี่ยงทายเกยี่ วกับ การท�ำนาและการเก็บเกี่ยวผลผลิต คร้ันเดือน ๓ เป็นการข้ึนจากนา และถงึ ฤดกู าลเกบ็ เกย่ี ว กจ็ ะทำ� การเสยี่ งทายอกี ครงั้ หนง่ึ เรยี กวา่ “เลย้ี งขน้ึ ” ในการเล้ียงครั้งนี้เป็นการเส่ียงทายเร่ืองเศรษฐกิจ อาหารการกิน ความเปน็ อยู่ รวมถงึ ความปลอดภยั ของคนในครอบครวั และชมุ ชนอกี ดว้ ย โดยมเี ฒ่าจำ้� เป็นผดู้ �ำเนนิ พิธีกรรมตัง้ แต่ตน้ จนจบ เม่อื ถงึ วนั ทกี่ �ำหนดแล้ว ชาวบ้านทุกครัวเรือนจะน�ำหัวหมู ไก่ เหล้า มาร่วมพิธี บางแห่งก�ำหนด ให้เป็นไก่บ่าวและไก่สาวท่ีนึ่งหรือต้มอย่างละ ๑ ตัว พร้อมด้วยเหล้า เมื่อกระทำ� พิธเี สรจ็ ก็จะน�ำอาหารเหล่านม้ี าแบง่ ปันกันรับประทาน ในวันเล้ียงลงจะมีการประกอบพิธีกรรมค่อนข้างใหญ่ เพราะเป็นพิธีเล้ียงประกอบการเสี่ยงทายก่อนจะเข้าสู่ฤดูกาลปักด�ำ รายละเอียดในการประกอบพิธีอาจแตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่น ทส่ี บื ตอ่ กนั มาอาทิบางทอ้ งถน่ิ จะเสยี่ งทายดว้ ยคางไก่เรยี กวา่ การเสยี่ งคางไก ่2 โดยเฒา่ จำ�้ จะเลอื กเอาไกบ่ า่ วหรอื ไกส่ าวขน้ึ ไปไวบ้ นหอปตู่ า ๑ ตวั และเหลา้ 2 บญุ ยงค์ เกศเทศ, ผปี า่ ดงภู เจ้าปูข่ นุ น้�ำ (กรงุ เทพฯ: ส�ำนักพมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, ๒๕๕๐), หน้า ๒๙.
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 63 ๑ แกว้ จากนัน้ ทำ� การจดุ ธูปเพื่อบอกกล่าวแก่ผปี ตู่ า เฒ่าจำ�้ จะเอาคางไก่ ลงมาจากหอปตู่ าและดวู า่ คางไกน่ น้ั เรยี วโคง้ หรอื หงกิ งอ ซง่ึ เชอ่ื กนั วา่ ผปี ตู่ า ดลบันดาลให้คางไก่เป็นไปเช่นนั้น ถ้าหากว่าคางไก่เรียว โค้ง สวยงาม เหมือนเคียวก็ท�ำนายว่าฝนตกต้องตามฤดูกาล ข้าวปลาอุดมสมบูรณ์ การท�ำนาได้ผลผลิตดี แต่ถ้าคางไก่หงิกงอ ท�ำนายได้ว่าจะเกิด ความแห้งแล้ง จากน้ันเฒ่าจ้�ำจะน�ำน�้ำหอมท่ีใช้บูชาปู่ตามาประพรม ใหช้ าวบา้ น เพอ่ื แสดงวา่ ปตู่ าไดป้ ระทานความรม่ เยน็ เปน็ สขุ ใหแ้ กล่ กู หลาน เม่ือพิธีเลี้ยงปู่ตาแล้วเสร็จ เฒ่าจ้�ำจะน�ำอาหารท่ีเซ่นสรวงบูชาเหล่านั้น แจกจา่ ยแบง่ ปนั และรบั ประทานรว่ มกนั มกี ารเลน่ รอ้ งรำ� ทำ� เพลงสนกุ สนาน รน่ื เรงิ อาจพจิ ารณาไดว้ า่ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ ทต่ี อ้ งการใหล้ กู หลาน มีความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และเตรียมพร้อม ท�ำกิจกรรมอื่นต่อไปในเดือน ๖ หรือเดือน ๗ ท่ีก�ำลังจะมาถึงในไม่ช้า รวมท้ังความมุ่งหวังจากผลของการเส่ียงทาย เพ่ือจะได้เตรียมรับมือ กับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างไม่ประมาทและรอบคอบ ที่ส�ำคัญ ยังเป็นการแสดงความขอบคุณผีปู่ตาที่ได้ดลบันดาลให้ประสบแต่สิ่งดี ๆ สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อ ความศรัทธาท่ีเป็นแรงผลักดันให้ผู้คน เกดิ ความรักและความสามคั คใี นชมุ ชนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ๒. พธิ แี ฮกไถนา พิธีกรรมความเช่ือท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่อง “ข้าว” ในแต่ละช่วง ของการทำ� นานนั้ โดยทวั่ ไปจะคลา้ ยกนั อาจมคี วามแตกตา่ งในรายละเอยี ด ปลกี ยอ่ ยเทา่ นน้ั เชน่ ชว่ งเวลาเรม่ิ ตน้ การทำ� นา ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรยี กวา่ “พธิ แี ฮกไถนา” สว่ นในภาคกลาง เรยี กวา่ “พธิ แี รกนา” แตม่ ขี นั้ ตอน การประกอบพธิ กี รรมคลา้ ยกนั คอื ในชว่ งกอ่ นทชี่ าวนาจะทำ� การไถนาจรงิ ๆ
64 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ชาวนาตอ้ งทำ� การไถดะใหท้ วั่ นาในรอบเดยี ว และใหเ้ สรจ็ สนิ้ ภายในวนั นน้ั แล้วจึงหยุดเป็นอันเสร็จส้ินพิธี จากท่ีกล่าวมาเป็นการอธิบายถึงภาพรวม ของพิธีแรกนาหรือแฮกนาเท่าน้ัน ต่อจากน้ีจะอธิบายถึงพิธีแฮกนา ของชาวนาในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือซ่งึ มขี น้ั ตอนการประกอบพธิ ีกรรม พอสงั เขป ดังนี้ พิธีแฮกไถนาจะกระท�ำในเดือน ๖ ตอนเช้า มีเจ้าของนา เป็นผู้ประกอบพิธี โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เทพเจ้า ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ และผี ช่วยคุ้มครองดูแลรักษาชีวิตท้ังคน สัตว์ และข้าวกล้าในนาให้ปลอดภัย ปราศจากศตั รแู ละอปุ สรรค รวมทงั้ เปน็ การบอกกลา่ วขออนญุ าตตอ่ เทพเจา้ ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในการเตรียมดินให้พร้อมส�ำหรับปลูกข้าวในปีน้ัน ๆ ด้วย ในการประกอบพิธีกรรมนั้นจะมีเทพเจ้าหลัก สิ่งศักดิ์สิทธ์ิส�ำคัญท่ีเคารพ นบั ถอื ร่วมในพธิ ีน้ี คอื แมธ่ รณี (เทพเจ้าแหง่ พ้ืนดิน) หรอื อาจเป็นผีตาแฮก (ผีประจ�ำท้องไร่ท้องนา) เลือกองค์ใดองค์หนึ่งที่เจ้าของที่นาเคารพนับถือ นอกจากน้ันยงั มีเทพเจ้าองค์อ่ืนมาเปน็ สว่ นประกอบในพธิ ีน้ี เชน่ พระภูมิ เจา้ ทแี่ ละรกุ ขเทวดา รวมทง้ั มเี ครอ่ื งสงั เวยเปน็ เครอ่ื งประกอบพธิ กี รรมดว้ ย คอื พาหวาน ๔ พา ยา ๔ กอก3 (“พา” คอื สำ� รบั วางอาหาร มลี กั ษณะคลา้ ย โตก สานด้วยไมไ้ ผแ่ ละหวาย) อาจมีการเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม ของบุคคลและสถานท่ี โดยเจ้าของที่นาจะน�ำเครื่องประกอบพิธีกรรมน้ี ไปเซ่นสังเวย บอกกล่าวแก่เทพเจ้าว่าจะท�ำการแฮกไถนา แล้วขอให้ ช่วยคุ้มครองดูแลรักษาให้ทุกอย่างราบรื่นไม่มีอุปสรรคขัดขวาง แล้วจึง เร่ิมท�ำการไถนาไปในทิศทางตามเกล็ดนาค จ�ำนวน ๓ รอบ ห้ามไถทวน 3 เอยี่ ม ทองด,ี ขา้ ว วฒั นธรรมและการเปลยี่ นแปลง (กรงุ เทพฯ: มติชน, ๒๕๓๘), หนา้ ๓๓.
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 65 เกลด็ นาค เมอ่ื ครบ ๓ รอบแลว้ จงึ หยดุ และปล่อยควายไปพกั ผอ่ น เป็นอนั เสรจ็ พธิ ีแฮกไถนา ในวนั รุ่งข้ึนเจ้าของทนี่ าจึงเร่มิ ทำ� การไถนาไดต้ ามปกติ ๓. พิธแี ฮกดำ� นาหรอื ปลูกขา้ วตาแฮก ในช่วงของการก่อนปักด�ำ ชาวนาท่ีเป็นเจ้าของที่นาจะต้อง สร้างที่อยู่อาศัยให้กับเจ้าที่เจ้าทางที่เรียกกันว่า “ตาแฮก” โดยน�ำไม้ไผ่ มาสานเปน็ ตาเลก็ ๆ แลว้ นำ� ไปปกั ไวใ้ กล้ ๆ กบั จอมปลวก ตอ่ มาจงึ เชญิ ตาแฮก ให้ไปอยู่ท่ีน่ัน ส่วนในช่วงของการด�ำนาเสร็จแล้ว ต้นกล้าที่เหลือจาก การดำ� นาจะนำ� ไปใหค้ วายกนิ เพอ่ื เปน็ การขอบคณุ ทช่ี ว่ ยกนั ทำ� งานจนเสรจ็ พรอ้ มทงั้ นำ� เหลา้ ไก่ อาหารอนื่ ๆ ไปเซน่ ไหวผ้ ตี าแฮกอกี ครง้ั หนงึ่ เพอ่ื ขอให้ ช่วยดูแลปกปักรักษาต้นกล้าให้เจริญเติบโตแข็งแรง จากท่ีกล่าวมาน้ัน เป็นการอธิบายถึงภาพรวมของพิธีกรรมความเช่ือเร่ืองข้าวในช่วงเวลา ก่อนการปักด�ำ และจากน้ีจะเป็นการอธิบายในรายละเอียดและขั้นตอน การประกอบพธิ กี รรมการแฮกดำ� นาหรอื การปลกู ขา้ วตาแฮก พอสงั เขปดงั น้ี พธิ แี ฮกดำ� นาหรอื ปลกู ขา้ วตาแฮก จะกระทำ� พธิ ใี นชว่ งเดอื น ๗ หรือเดือน ๘ (มิถุนายน - กรกฎาคม) วันประกอบพิธีมีอยู่หลายวัน ขน้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสมและความตอ้ งการของเจา้ ภาพ ไดแ้ ก่ วนั ฟู ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ วนั มงคลในการเรม่ิ ทำ� กจิ การใด ๆ กต็ าม หรอื วนั จนั ทร์ หรอื วนั พฤหสั บดี หรอื วนั คลา้ ยวนั เกดิ ของเจา้ ของทน่ี า และจะกระทำ� พธิ ใี นชว่ งเชา้ เมอื่ เลอื กวนั ได้แล้วเจ้าของท่ีนาอาจจะเป็นพ่อบ้านหรือแม่บ้านเป็นผู้ประกอบพิธี ก็ได้ ในพิธีแฮกด�ำนาหรือปลูกข้าวตาแฮกนี้ มีเทพเจ้าหลักและผีที่ส�ำคัญ มาเป็นส่วนประกอบส�ำคัญในพิธีคือ ผีตาแฮกหรือแม่ธรณี เลือกองค์ใด องคห์ นงึ่ มารว่ มพธิ ี นอกจากนสี้ ถานทส่ี ำ� หรบั ใชป้ ลกู ขา้ วตาแฮก เลอื กจาก บริเวณทม่ี ลี กั ษณะเปน็ เนินดนิ และเตรียมดนิ ใหม้ ีขนาดพอเหมาะส�ำหรับ
66 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ทจี่ ะปลกู ขา้ วตาแฮกประมาณ๗หรอื ๑๔กอ4 จากนนั้ สรา้ งรา้ นเลก็ ๆสำ� หรบั วางเครือ่ งสงั เวย สำ� หรบั เคร่ืองสงั เวยน้นั ก็เหมอื นกบั ท่ีใชใ้ นพิธีแฮกไถนา คือ พาหวาน ๔ พา ยา ๔ กอก จากน้ันเจ้าของท่ีนาท�ำการบอกกล่าว ออ้ นวอนตอ่ แมธ่ รณหี รอื ผตี าแฮก ใหช้ ว่ ยคมุ้ ครองดแู ลรกั ษาขา้ วกลา้ ในนา ให้เจริญงอกงามไม่มีส่ิงใดมาท�ำลาย แล้วจึงปักข้าวตาแฮกประมาณ ๗ หรือ ๑๔ กอ ก็เป็นอันเสร็จพิธี จุดมุ่งหมายท่ีเจ้าของที่นาท�ำพิธีน้ี เพ่ือต้องการให้ส่ิงศักดิ์สิทธิ์ช่วยคุ้มครองข้าวกล้าในนาให้แข็งแรงและ เจริญงอกงามดี ในกรณีทเ่ี จ้าของนานบั ถอื ผีตาแฮกและอัญเชญิ มาร่วมพธิ ี หลังจากเก็บเกย่ี วจะตอ้ งแบ่งขา้ วทไี่ ด้ให้ตาแฮก ๔ เกวยี น แตเ่ ป็นเกวยี น ขนาดจ�ำลองอกี ดว้ ย จากเรื่องราวท้ังหมดที่กล่าวถึงแล้วนั้นพบว่าวิถีชีวิต ความเปน็ อยขู่ องคนไทยในสมยั กอ่ น เปน็ สงั คมทอี่ ยกู่ นั แบบเรยี บงา่ ย และ เกยี่ วขอ้ งผกู พนั กบั ธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ ม ไมว่ า่ จะเปน็ วฏั จกั รวงจรชวี ติ มนษุ ย์ เร่ิมตั้งแต่เกิด เจริญเติบโตจนมีครอบครัว จนถึงยามแก่เฒ่า และตายลง ซงึ่ ลว้ นแลว้ แตเ่ กยี่ วพนั กบั ธรรมชาตทิ งั้ สน้ิ นอกจากนน้ั ในเรอื่ งปจั จยั พน้ื ฐาน การดำ� รงชวี ติ ไดแ้ ก่ อาหารการกนิ ทอ่ี ยอู่ าศยั เครอ่ื งนงุ่ หม่ และยารกั ษาโรค ตลอดจนเร่ืองของคติความเช่ือ ขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ก็ผูกพัน กบั ธรรมชาตเิ ชน่ กนั ในสมยั กอ่ นการทำ� นานน้ั ชาวนาจะทำ� นาปี โดยอาศยั นำ�้ ฝนตามธรรมชาติ และอาจใชน้ ำ้� จากแหลง่ นำ้� ธรรมชาตทิ มี่ อี ยอู่ ยา่ งสมบรู ณ์ ท�ำให้มีผลผลิตออกมาอย่างต่อเน่ือง และผลผลิตท่ีได้ส่วนใหญ่จะเก็บไว้ บรโิ ภคเองมากกวา่ เพ่อื นำ� ไปขาย ไมว่ า่ จะไดผ้ ลผลติ ในปรมิ าณทมี่ ากน้อย เพียงใดก็ตาม อาจถือได้ว่าเป็นค่านิยมของชาวนาในสมัยก่อนก็เป็นได้ 4 เรื่องเดียวกนั , หน้า ๓๕.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 67 เพราะชาวนามักจะวัดฐานะความเป็นอยู่จากปริมาณข้าวที่มีอยู่ในยุ้ง ทเ่ี กบ็ ขา้ วไวเ้ ตม็ ยงุ้ และไมข่ าย นอกจากนยี้ งั พบวา่ ในแตล่ ะบา้ นจะมขี า้ วกนั เตม็ ยงุ้ ทงั้ นน้ั แตก่ ม็ บี า้ งทน่ี ำ� ออกมาขายในยามทจ่ี ำ� เปน็ เทา่ นนั้ ซงึ่ แตกตา่ ง จากสภาพความเป็นอยู่ในปจั จุบนั ที่ชาวนาบางรายจะน�ำข้าวออกมาขาย ตง้ั แตย่ งั ไมถ่ งึ ฤดกู าลเกบ็ เกยี่ ว เพราะตอ้ งการนำ� เงนิ ไปใชห้ น้ี การทำ� นาจะใช้ แรงงานคนในครอบครวั แตก่ ม็ กี าร “ลงแขก” ทเ่ี ปน็ การรว่ มแรงรว่ มใจชว่ ยกนั ของเพื่อนบ้าน ในการทำ� นานั้นชาวนาจะได้คา่ ตอบแทนนอ้ ยทำ� ให้ชาวนา ส่วนใหญ่จึงมีฐานะยากจน แต่สภาพสังคมในสมัยก่อนยังไม่มีการแข่งขัน มากนัก ชาวนาก็จะด�ำรงชีวิตกันได้อย่างไม่เดือดร้อนขัดสน มีชีวิตอย่าง พอเพียง เพราะมีอาหารให้กินตลอดปี เพียงแค่รู้จักคิดรู้จักท�ำชาวนา กส็ ามารถดำ� รงชพี อยไู่ ดด้ ว้ ยการพง่ึ พาตนเอง ถา้ หากมผี ลผลติ เหลอื กนิ เหลอื ใช้ ก็รู้จักการแบ่งปันซ่ึงกันและกัน จึงเป็นวิถีชีวิตที่น�ำมาซ่ึงความสุขกาย สบายใจอยา่ งดี แตป่ จั จบุ นั วถิ ชี วี ติ ของชาวนาไทยไดเ้ ปลย่ี นแปลงไปตามกลไก ของธรรมชาติ ทั้งจากสภาพภูมิศาสตร์ การคมนาคม ความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การประกอบอาชีพของผู้คน ตลอดจนวถิ ชี วี ติ ของผคู้ นในทอ้ งถน่ิ โดยการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ นนั้ เปน็ ผล จากการพัฒนาในทุกด้านให้เจริญข้ึน การพัฒนาด้านคมนาคมก็เช่นกัน มกี ารสรา้ งถนนขนึ้ มาหลายสายใหเ้ ชอ่ื มโยงเขา้ ถงึ ไดท้ กุ พนื้ ที่ เปน็ ประโยชน์ ตอ่ การเดนิ ทาง และสะดวกในการตดิ ตอ่ ระหวา่ งกนั ทำ� ใหส้ ภาพชมุ ชนเดมิ ทเ่ี คยเงยี บสงบกลายเปน็ ชมุ ชนเมอื งขนาดใหญ่ มผี คู้ นตา่ งถนิ่ อพยพเขา้ มา ตั้งถิ่นฐานและท�ำมาหากินกันมากข้ึน นอกจากน้ันพ้ืนท่ีในการท�ำนา ลดน้อยลงแต่ก็ยังพอมีเหลือให้พบอยู่บ้าง จะท�ำท้ังนาปีและนาปรัง
68 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ซึ่งข้าวนาปีหรือข้าวนาน�้ำฝน5 เป็นข้าวท่ีปลูกในฤดูฝน การท�ำนาปกติ เร่ิมตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม และเก็บเกี่ยวเสร็จสิ้นไม่เกินเดือน กมุ ภาพันธ์ ขา้ วนาปรงั 6 เปน็ ข้าวทป่ี ลูกนอกฤดูการท�ำนาปกติ เริ่มต้งั แต่ เดอื นมกราคม ในบางท้องทีจ่ ะเก็บเก่ยี วอยา่ งช้าท่สี ุดไม่เกินเดอื นเมษายน มกั นยิ มปลูกในพ้นื ทท่ี ่กี ารชลประทานดี เช่น ในภาคกลาง 5 มูลนิธิชัยพัฒนา, ข้าว ศัพท์ควรรู้ในโครงการพระราชด�ำริ, เขา้ ถึงเมอื่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๙, เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.chaipat.or.th/ site_content/item/294-rice.html 6 เรือ่ งเดียวกนั .
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 69 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย. วัฒนธรรม พัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญาจังหวัดยโสธร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๒. (คณะกรรมการ ฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอ�ำนวย การจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนอ่ื งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒). บญุ ยงค์ เกศเทศ. ผปี า่ ดงภู เจา้ ปขู่ นุ นำ้� . กรงุ เทพฯ: สำ� นกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, ๒๕๕๐. พจนานกุ รมภาคอสี าน - ภาคกลาง ฉบบั ปณธิ านสมเดจ็ พระมหาธรี วงศ์. นครหลวงกรุงเทพธนบรุ ี: โรงพิมพ์ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๑๕. มูลนิธิชัยพัฒนา. ข้าว ศัพท์ควรรู้ในโครงการพระราชด�ำริ. เข้าถึงเม่ือ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๙. จาก https://www.chaipat.or.th/ site_content/item/294-rice.html ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบคุ๊ ส์พับลเิ คชั่น, ๒๕๔๖. วิบูลย์ ล้ีสุวรรณ. พจนานุกรมหัตถกรรมเคร่ืองมือเคร่ืองใช้พื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๔๖. เอี่ยม ทองด.ี ข้าว วัฒนธรรมและการเปลยี่ นแปลง. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๓๘.
เทวดาในนาขา้ ว โดย นางสาวพลอยชมพู ยามะเพวนั
72 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เทวดาในนาข้าว เมอ่ื ขวญั และกำ� ลงั ใจของคนปลกู ขา้ วอยใู่ นนา สงิ่ ทต่ี ามมาคอื ศรทั ธาและคตคิ วามเชอ่ื ดว้ ยเหตนุ ้ี เทวดาจงึ ไปอยใู่ นนาขา้ ว อยใู่ นเมลด็ ขา้ ว ในยุง้ ฉาง ในน้�ำฝน ตลอดจนดินฟ้าอากาศท่ีจะส่งผลดีผลร้ายให้แก่ชาวนา ในปัจจุบัน ชนชาติท่ีบริโภคข้าวหลายแห่งในโลกยังคง มีพิธีบูชาข้าว หรือน�ำข้าวมาประกอบในพิธีกรรม ซึ่งข้าวเป็นเสมือน ตัวแทนของความบรสิ ุทธิศ์ ักด์สิ ิทธิ์และอุดมสมบรู ณ์ เปน็ ศรี เป็นสิริมงคล เชน่ พธิ แี ตง่ งานของฮนิ ดู จะมกี ารนำ� ขา้ วเปยี กมาขยำ� แลว้ โปะลงบนหนา้ ผาก ของคู่บ่าวสาว หรือก่อนที่จะรับสะใภ้เข้าบ้าน สะใภ้ต้องเตะภาชนะ ท่ีบรรจุเมล็ดข้าวให้เมล็ดเหล่านั้นกระจายเข้าไปในบ้าน เพ่ือเป็น การน�ำความอุดมสมบูรณ์เขา้ มาส่เู รอื น เปน็ ต้น ส่วนคติความเชือ่ ของไทย นอกจากมีพิธีบูชาขวัญข้าวเพ่ือเป็นการแสดงความเคารพแม่โพสพแล้ว ขา้ วยงั ถกู นำ� มาใชใ้ นหลายพธิ กี รรมเชน่ กนั ตวั อยา่ งเชน่ ขา้ วสารเสก ทเ่ี ชอ่ื วา่ สามารถปัดเป่าส่งิ ชั่วร้ายให้หมดสนิ้ ไป นอกจากนีห้ ลายพิธีไดถ้ กู ประดษิ ฐ์ คดิ คน้ ข้ึนเพอ่ื สกั การะเทวดาที่ส่งผลดีผลรา้ ยให้แก่นาข้าวด้วยเชน่ กนั แม้พิธีกรรมบางอย่างอาจท�ำข้ึนเพื่อคลายความกังวลใจ ในส่ิงที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมได้ แต่อีกนัยหน่ึงก็ได้สะท้อนให้เห็นถึง แนวคดิ ของบรรพบรุ ษุ วา่ มคี วามกตญั ญกู ตเวทตี อ่ ธรรมชาตทิ เ่ี ปรยี บประดจุ เทพเจา้ ผู้มอบความอุดมสมบูรณใ์ หแ้ กส่ รรพชีวิต ซึ่งมนุษย์พยายามคิดหา วธิ กี ารสรรเสรญิ พระคณุ ของธรรมชาติด้วยพธิ กี รรมต่าง ๆ การบูชาเทวดา ในนาข้าวจึงเปรียบเสมือนการสื่อสารกับธรรมชาติเพื่อบอกว่ามนุษย์ ไดท้ ำ� การสรรเสริญบชู าผู้มีพระคุณของตนแลว้ นั่นเอง
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 73 ปราชญ์อินเดียในยุคแรก ๆ ได้พยายามหาข้ออธิบาย การก�ำเนิดของโลกจนเชื่อว่าทุกหนทุกแห่งในจักรวาลล้วนมีเทพยดา สิงสถิตอยู่ และสรรพชีวิตท้ังหลายล้วนแล้วเกิดมาจากฤทธิ์ของเทวดา ท่ีบนั ดาลให้ทุกสิ่งทุกอย่างในทุ่งนากเ็ ชน่ กัน หน่ึงในปรัมปราคติเชื่อว่าโลกเกิดจากการแยกออกจากกัน ระหว่างเทพบิดาทยาอุสหรือท้องฟ้า และเทพมารดาปฤถวีหรือปฐพี เม่ือท้ังสองแยกออกจากกันจนเกิดเป็นช่องว่างระหว่างผืนดินและผืนฟ้า ช่องว่างนั้นเองได้กลายเป็นแหล่งก�ำเนิดสรรพชีวิตต่าง ๆ น�้ำฝนท่ีตก จากฟ้าลงมาสู่ดินได้สร้างความเจริญงอกงามให้กับพืชพันธุ์ธัญญาหาร ทยาอสุ จงึ เปรยี บเสมอื นบดิ าผมู้ เี ชอ้ื แหง่ ชวี ติ สว่ นปฤถวเี ปรยี บไดด้ ง่ั มารดา ผู้ให้กำ� เนิดน่ันเอง แมท้ ยาอสุ ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นนา แตม่ คี วามสำ� คญั เนอ่ื งจากจะปรากฏ นามคกู่ ับปฤถวีเสมอ ทยาอสุ (ทวิ - สอ่ งแสง, พระผทู้ รงรศั มภี าพ) ถอื เปน็ เทพทส่ี ถติ ในสรวงสวรรค์ ในบรรดาเหล่าเทพของพระเวทนั้นถือว่าทยาอุสเป็นหนึ่ง ในจ�ำนวนเหล่าเทพท่ีส�ำคัญ โดยเป็นนามท่ีปรากฏในฤคเวทไม่ต่�ำกว่า ๕๐๐ ครั้ง จากการที่นามนี้ปรากฏบ่อยครั้งท�ำให้เห็นว่าเป็นการใช้แทน คำ� วา่ “ทอ้ งฟา้ ”นอกจากนี้ยงั มคี วามหมายวา่ “กลางวนั ”อกี ดว้ ยหากเทพผนู้ ้ี ปรากฏขึ้นในฐานะของเทพผู้ครองสวรรค์ก็มักจะปรากฏร่วมกับ ปฤถวี (แผ่นดิน) เป็นเทพคู่เรียกว่า “ทวายาปฤถวี” ซึ่งเป็นเทพบิดรมารดา บคุ ลกิ ของทยาอสุ นนั้ จะถกู จำ� กดั อยเู่ พยี งแงท่ เี่ ปน็ เทพผชู้ ายทำ� หนา้ ทบี่ ดิ า เม่ือปรากฏเกี่ยวกับเทพอ่ืนนอกเหนือจากปฤถวีแล้ว ก็จะท�ำหน้าที่เป็น เทพบดิ าเสมอไป โดยกรณนี ้ี อษุ า อศั วนิ อคั นี ปรชนั ยะ สรู ยะ อาทติ ย์ มารตุ และองั ครี ส (ฤๅษ)ี นบั เปน็ ลกู ชายของทยาอสุ ทงั้ สนิ้ เทา่ ทม่ี กี ารกลา่ วถงึ ทยาอสุ
74 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย โดยพิสดารทั้ง ๓๐ ครัง้ นน้ั นามนี้จะปรากฏเพียงล�ำพัง ๘ คร้ัง นอกนัน้ จะพบคกู่ บั ปฤถวเี สมอไป1 มกี ารอธบิ ายความเพมิ่ เตมิ วา่ เมอื่ ทยาอสุ ปรากฏ ล�ำพัง จะเหมือนกับโคแดง ซึ่ง โค คือมอบความอุดมสมบูรณ์ให้แก่โลก และมีกล่าวในอีกหลายแง่ที่เกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ ครั้งหน่ึงเคยท�ำ หน้าท่เี ทพผใู้ หญท่ ่ีทรงอำ� นาจครอบคลมุ เหล่ามนุษยแ์ ละเทพทงั้ ปวง ปฤถิว2ี (ปราถ - แผ่ ขยาย) หรือ พระแมธ่ รณี จัดเป็นเทวี ที่ส�ำคัญมากในหมู่เทพของพระเวท โดยทั่วไปแล้วจะปรากฏคู่กับทยาอุส เสมอ แต่ถึงกระนัน้ กม็ ีการกล่าวไว้ในบทสวดสัน้ ๆ บทหนง่ึ ในฤคเวทและ มีบทสดุดีถึงแม่ปฤถวิ ใี นอถรรพเวทบทหนง่ึ ซ่ึงมีความไพเราะเปน็ อย่างยิ่ง ลักษณะส�ำคัญของเทวีองค์นี้เท่าที่พบในอถรรพเวทคือความเป็นแผ่นโลก ท่ีนั้นเทวีจะปรากฏว่ามีความหนาอันมหาศาล และอาจรองรับขุนเขา และมวลหมไู่ ม้ไวไ้ ด้ท้ังส้นิ จะทำ� ใหเ้ กิดความชุ่มช้นื แก่เนื้อดนิ โดยกระจาย เม็ดฝนจากหมู่มวลเมฆ โดยท่ัวไปแล้วปฤถิวีจะมีลักษณะกว้างใหญ่ มคี วามงามและความมน่ั คง3 ทยาอุสและปฤถวี มีสัญลักษณ์เป็นวัวตัวผู้และวัวตัวเมีย เทพและเทพีทัง้ สององคน์ ้ี ชาวอินเดยี โบราณเชื่อวา่ เป็นผู้ใหก้ ำ� เนดิ บรรดา เทพและเทพีทัง้ หลายรวมท้งั มนษุ ย์ทัง้ ปวง4 1 อดุ ม รงุ่ เรืองศร,ี เทวดาพระเวท (กรงุ เทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป.), หนา้ ๒๗. 2 บางครง้ั เรยี ก ปฤถวี 3 อดุ ม รุ่งเรอื งศร,ี เทวดาพระเวท, หน้า ๕๘. 4 ผาสุข อินทราวุธ, รูปเคารพในศาสนาฮินดู (กรุงเทพฯ: ภาควชิ าโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๒๒), หนา้ ๓๓.
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 75 เทพนารีอีกองค์ที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระเวท และได้ชื่อว่า เป็นเทพแห่งรอยไถที่จะบันดาลให้เกิดความอุดมสมบูรณ์แก่ธัญญาหาร คอื สตี า จะเห็นได้ว่าแผ่นดินได้รับการยกย่องว่าเป็นเทพแห่ง การเกษตร เช่น เกษตร (พื้นท่ี) และ สีตา (รอยไถ) โดยนยั น้ี สีตาจงึ ไดร้ ับ การเทิดทูนให้เป็นเทวีแห่งรอยไถ และความในปรสกรคฤหยสูตรกล่าวว่า สีตาเป็นชายาของพระอินทร์ และย่อมเป็นปกติวิสัยที่พระอินทร์ซ่ึงเป็น เทพผอู้ ำ� นวยฝนและฟา้ รอ้ งจะสง่ เมด็ ฝนมาบำ� รงุ รอยไถ และเมอ่ื สตี าไดร้ บั การหวา่ นแลว้ กจ็ ะยงั เมลด็ พนั ธท์ุ ง้ั หลายใหผ้ ลดิ อกออกผล ทำ� นองเดยี วกนั ทพี่ ระรามซง่ึ มคี วามหมายนยั เดยี วกนั กบั พระอนิ ทรย์ อ่ มจะสยมุ พรกบั สตรี ซึ่งท้าวชนกก็ใช้ไถขุดค้นขึ้นมาจากแผ่นดิน ใจความในฤคเวทน้ันกล่าวว่า สตี าอาจอำ� นวยให้เกิดความม่ังคงั่ และความบรบิ รู ณ์แห่งธัญญาหาร5 นางสตี า ในวรรณคดเี รอื่ งรามยณะ หรอื นางสดี าในรามเกยี รติ์ ของไทย ถกู พบโดยบงั เอิญขณะไถพรวนดินจงึ ได้ช่ือวา่ สีตา หรอื นางสดี า แปลว่า รอยไถ ในคติความเช่ือของฮินดูเชื่อว่า นางสีตา คืออวตารของ พระลักษมีในรามาวตาร อันเป็นชายาของพระวิษณุหรือพระนารายณ์ ที่อวตารมาเกิดเป็นพระรามน่นั เอง ชาวฮินดูบูชาพระลักษมี เนื่องจากเช่ือว่านางคือเทวสตรี ที่มอบความอุดมสมบูรณ์ ความมั่งค่ัง ความส�ำเร็จ รวมถึงความรักให้แก่ ผบู้ ชู าพระองค์ ซงึ่ พระลกั ษมี ถกู เรยี กอกี พระนามหนงึ่ วา่ พระศรี ซง่ึ คำ� วา่ 5 อุดม รุ่งเรืองศรี, เทวดาพระเวท, หน้า ๘๕.
76 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ศรี พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕6 หมายถงึ มง่ิ สริ มิ งคล ความรงุ่ เรอื ง ความสว่างสุกใส ความงาม ความเจรญิ ชอ่ื ของพระลกั ษมี (มเหสขี องพระนารายณ)์ ผเู้ ปน็ แมเ่ จา้ แหง่ ความงดงาม หรอื แปลวา่ ผหู้ ญงิ ส่วนรากศัพท์ของคำ� วา่ ศรี ในภาษาสนั สกฤตนั้น ศรี ถอื เปน็ ค�ำศัพท์ทเ่ี ป็น เพศหญงิ เมื่อน�ำรากศัพท์ค�ำว่า ศรี ผนวกกับช่ือเรียกของพระศรี มาเช่ือมโยงกับรูปแบบศิลปะท่ีปรากฏต้ังแต่สมัยอินเดียโบราณจนเป็นท่ี แพรห่ ลายในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตน้ นั้ จะพบรปู สญั ลกั ษณท์ รงหา้ เหลยี่ ม หรอื ศรวี ตั สะ อนั หมายถึงทอ่ี ยขู่ องพระศรี ทป่ี รากฏอยู่บนเหรยี ญกษาปณ์ สมยั ทวารวดใี นดนิ แดนไทย ทำ� ใหน้ กึ ถงึ เฉลวทท่ี ำ� จากตอกสานเปน็ รปู ดาว ห้าแฉก ทีป่ กั ไวบ้ นหม้อยาหรือกลางท่งุ นา ซึ่งสญั ลกั ษณ์ดงั กล่าวมรี ูปรา่ ง คลา้ ยกบั ศรวี ตั สะ สญั ลกั ษณน์ อ้ี าจเชอ่ื มโยงถงึ ความเชอ่ื เรอ่ื งการบชู าพระศรี หรือพระลกั ษมีเพอื่ ความอดุ มสมบรู ณ์ หรือเจรญิ งอกงาม การนำ� ศรวี ัตสะ มาประดบั บนเหรยี ญกษาปณ์ อาจหมายถงึ สญั ลกั ษณแ์ หง่ ความมงั่ คงั่ รำ่� รวย การปักเฉลวทท่ี ุ่งนาจงึ อาจหมายถงึ ความอดุ มสมบรู ณก์ เ็ ป็นได้ ในหนังสือเทวดาพระเวท กล่าวถึง ศรี ว่าเป็นเทพแห่ง ความงาม โชคลาภ เทวีผู้น้ีปรากฏขึ้นในยุคหลังมาก แม้ว่าในปัจจุบัน 6 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มิได้ กล่าวถงึ ความหมายของ ศรี วา่ เป็นชอ่ื ของพระลกั ษมี แตย่ ังคงความหมายวา่ เป็น มิ่งสิริมงคล ความรุ่งเรือง ความสว่างสุกใส ความงาม ความเจริญ ดูเพิ่มเติมใน ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เน่ืองในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ (กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑิตสถาน ๒๕๕๖), หน้า ๑๑๓๗.
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 77 จะมีบทบาทมากก็ตาม ทั้งน้ีเร่ืองของเธอจะมีอยู่ในศาตปนะพราหมณะ ในแงเ่ ปน็ เทพแี หง่ ความงามและบางครงั้ ถอื วา่ เปน็ เทวแี หง่ โชคลาภอกี ดว้ ย มาในวรรณกรรมยคุ หลงั แลว้ ศรี หรอื พระลกั ษมี เปน็ ชายาแหง่ พระวษิ ณุ7 ความหมายในเชงิ ประตมิ านวทิ ยาของพระลกั ษมหี รอื พระศรนี นั้ มีกลา่ วไวใ้ นงานคน้ ควา้ เร่อื ง รปู เคารพในศาสนาฮินดู วา่ ลกั ษมี หรอื ศรี เปน็ เทพที ไี่ ดร้ บั ความนยิ มมากในชวา มลี ทั ธเิ ปน็ เอกเทศแยกจากพระวษิ ณุ ได้รับยกย่องเป็นเทพีแห่งแม่โพสพ (ข้าว) เพราะข้าวเป็นอาหารหลัก ของชนพ้ืนเมอื งชวา ศรี หรอื ชอ่ื ในชวา เรียก “ธีเรส” เทพแี หง่ แมโ่ พสพ จะถือรวงขา้ วไว้ในพระหตั ถข์ ้างหนงึ่ อีกข้างหนงึ่ เป็นทา่ ประทานพร8 เกษตรสตยปตี หรอื เทพรกั ษาทงุ่ นา จดั อยใู่ นกลมุ่ เทพารกั ษ์ นามของเทพเกษตรสตยปตี มีความหมายในฤคเวทว่า เทพผู้ดูแลทุ่งนา เป็นผู้ได้รับการบวงสรวงเพื่อท�ำให้ฝูงปศุสัตว์เพิ่มพูน เช่นเดียวกับที่ท�ำให้ สวรรคแ์ ละโลกเตมิ เตม็ บรบิ รู ณ์ พรรณไมแ้ ละแผน่ นำ�้ เตม็ ไปดว้ ยความหวาน มักจะได้รับการบูชาร่วมกับ สาวิตฤ อุษา และปรชันยะ เพ่ือยังให้เกิด โภคผลไพบูลย์ และทั้งน้ีคฤหทยสูตรได้กล่าวถึงเทพองค์น้ีไว้ ควรได้รับ การสังเวยเมื่อเริม่ การไถนา9 ส่วนความเช่ือของไทยน้ัน ในต�ำราพระภูมิเจ้าที่ของไทย กล่าวถึงพระภูมิ ๙ องค์ว่าเป็นพ่ีน้องกัน ในจ�ำนวนนี้มีพระภูมิยุ้งข้าว พระภมู นิ า พระภมู ลิ าน และพระภมู โิ รงววั โรงควาย สตั วเ์ ลยี้ ง รวมอยดู่ ว้ ย พระภูมิทกี่ ล่าวมาน้ี ไมค่ ่อยมีศาลถาวร เมือ่ ถงึ เวลาจะทำ� การบัตรพลีบูชา 7 อดุ ม รุ่งเรอื งศร,ี เทวดาพระเวท, หนา้ ๗๘. 8 ผาสุข อนิ ทราวธุ , รูปเคารพในศาสนาฮนิ ด,ู หน้า ๗๔. 9 อุดม รุ่งเรืองศร,ี เทวดาพระเวท, หน้า ๙๓.
78 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย เชน่ เมอื่ ถงึ เวลาทำ� นา หรอื ถงึ เวลานวดขา้ วกจ็ ะตอ้ งเรม่ิ ดว้ ยการไหวพ้ ระภมู นิ า พระภูมิโรงววั ควาย พระภูมิลาน ตามลำ� ดบั และเมื่อจะเกบ็ ข้าวเขา้ ย้งุ ฉาง ก็ต้องไหว้พระภูมิยุ้งข้าว ในการไหว้ดังกล่าวก็จะสร้างศาลเฉพาะกิจขึ้น ชั่วคราว มีความสงู ระดบั สายตาเรยี กว่า ศาลเพียงตา เพอื่ การท�ำพธิ 1ี 0 แม่โพสพ มักนิยมกันว่าเป็นเทวดาผู้หญิง เพราะพืชพรรณ ธัญญาหารโดยเฉพาะข้าวเป็นส่ิงหล่อเล้ียงชีวิตเปรียบเสมือนดังมารดา ท่ีเลี้ยงลูก คนไทยในภาคกลางและภาคใต้กล่าวนามผีหรือเทวดานี้ว่า “แมโ่ พสพ” หรอื เพย้ี นเปน็ พสพ หรอื ประสพ กม็ ี แมโ่ พสพเปน็ เทพพน้ื เมอื ง จงึ นยิ มทำ� เปน็ ผหู้ ญงิ ไวผ้ มยาวประบา่ มกี รอบหนา้ และจอนหู ประดบั ดว้ ย เครอ่ื งถนมิ พมิ พาภรณ์ หม่ ผา้ จบี สไบเฉยี งจากขวาไปซา้ ย แมโ่ พสพของเกา่ ที่พบว่ามีไว้บูชาตามบ้านเรือนบางแห่งน้ันจะน่ังพับเพียบอยู่บนแท่น ส่ีเหล่ียมผืนผ้า มือขวาวางทับบนเพลา ตรงนิ้วระหว่างหัวแม่มือกับนิ้วชี้ จบี เปน็ วงสำ� หรบั นำ� ตน้ ขา้ วมรี วงมาปกั ไวเ้ มอ่ื เวลากราบไหวบ้ ชู า สว่ นมอื ซา้ ย อยใู่ นทา่ เทา้ แขน แทน่ ทงั้ สด่ี า้ นเขยี นเปน็ ภาพในนา กลา่ วคอื มนี ำ�้ มตี น้ ขา้ ว ออกรวง กอบัว กอหญ้า และกุง้ ปลา พาหนะของแม่โพสพ คือ ปลากราย ปลาสลาด หรือปลาบู่ ตลอดจนปกู เ็ คยมี แสดงวา่ แมโ่ พสพเปน็ เทวดาน้�ำ มากกว่าเทวดาบก การที่แม่โพสพมีพาหนะดังนี้น้ัน มีเร่ืองปรากฏอยู่ใน คำ� กลา่ วผกู ขวญั ขา้ วทางภาคใตส้ รปุ ความวา่ พระมาตลุ แี ละพระวษิ ณกุ รรม ปรารถนาจะอญั เชญิ แมโ่ พสพจากถำ�้ ในภเู ขาเพชรกฎู ยอดแกว้ อนั ไกลโพน้ ซึ่งต้องเดินทางข้ามทิวเขาสัตบริภัณฑ์และแม่น้�ำสีทันดรที่ขวางกั้นอยู่ 10 ราศี บุรุษรัตนพันธุ์, “ศาลพระภูมิ ศาลเพียงตา แม่ย่านาง,” ใน นานาสาระวฒั นธรรมไทย เลม่ ๒, พมิ พค์ รง้ั ที่ ๒ (กรงุ เทพฯ: กราฟฟกิ ปรนิ้ ตงิ้ พรีเพลส ซสิ เต็มส์ (ประเทศไทย), ๒๕๔๗), หนา้ ๕.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 79 ๗ ชน้ั จงึ มีรับสง่ั ใหเ้ หล่าฝูงปลาอนั มปี ลากรายและปลาสลาดเป็นหัวหนา้ พากันเดินทางไปอัญเชิญ โดยแห่ห้อมล้อมแม่โพสพจากถ้�ำคีรีกลับมา คนื เมอื ง เหตนุ ีแ้ มโ่ พสพจึงทรงปลากรายหรือปลาสลาดเป็นพาหนะ11 ต�ำนานที่เก่ียวกับแม่โพสพ12 พบอยู่ในหลายภูมิภาค ในภาคกลางกลา่ วถงึ ตำ� นานเรอื่ งแมโ่ พสพวา่ ในสมยั พทุ ธกาล ชาวเมอื งไพศาลี ได้ถกเถียงกันว่าระหว่างพระพุทธเจ้ากับแม่โพสพผู้ใดให้คุณมากกว่ากัน ชาวเมืองท้ังหลายต่างพากันยกย่องว่าพระพุทธเจ้าเป็นผู้ทรงคุณมากกว่า เม่ือแม่โพสพทราบข่าวจึงเกิดความน้อยใจที่ตนเองได้ให้ประโยชน์แก่ มวลมนุษยชาติมากมายแต่ไม่มีใครเห็นความดี นางจึงได้หนีไปอยู่ บนเขาคิชกูฏในป่าหิมพานต์ ท�ำให้เกิดความแห้งแล้งแก่ข้าวในนา จนเดอื ดรอ้ นไปทกุ หยอ่ มหญา้ ขา้ วทป่ี ลกู หวา่ นไถกไ็ มข่ นึ้ จนชาวเมอื งพากนั ไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าให้หาทางช่วยเหลือ พระพุทธองค์จึงส่งพระมาตุลี ไปเจรจา แตพ่ ระมาตลุ ไี มส่ ามารถลอดชอ่ งเขา้ ไปได้ จงึ ใหป้ ลาสลาดไปตาม เมื่อตามจนพบ ปลาสลาดจึงได้อ้อนวอนขอให้แม่โพสพกลับคืนสู่โลก แตน่ างไมอ่ าจทำ� ใจกลบั มาได้ ใหม้ าเพยี งแคเ่ มลด็ ขา้ ว ๗ เมลด็ (บางแหง่ วา่ ๙ เมลด็ ) เมอ่ื ใดทเี่ กบ็ เกยี่ วขา้ วใหน้ กึ ถงึ นางและทำ� ขวญั ขา้ วเมอื่ ขา้ วทปี่ ลกู ใกล้สุก พร้อมทั้งน�ำปลาสลาดมาเป็นเครื่องสังเวยพลีกรรมเน่ืองจาก เปน็ ผบู้ อกทซี่ อ่ นของนาง เมอื่ พระมาตลุ ไี ดเ้ มลด็ ขา้ วระหวา่ งทางกลบั ไดถ้ กู 11 ฤดีรัตน์ กายราศ, “พระคงคา พระธรณี แม่โพสพ เทวดา ในวฒั นธรรมไทย,” ใน นานาสาระวฒั นธรรมไทย เลม่ ๑, พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒ (กรงุ เทพฯ: กราฟฟกิ ปรน้ิ ตง้ิ พรเี พลส ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย), ๒๕๔๗), หน้า ๑๔๐ - ๑๔๕. 12 ดูรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ ใน พลอยชมพู ยามะเพวนั , “แมโ่ พสพ,” ใน นามานกุ รมขนบประเพณไี ทย หมวดประเพณรี าษฎร์ เลม่ ๓ (คตคิ วามเชอื่ ) (กรุงเทพฯ: แอดวานซ์ วชิ ชน่ั เซอร์วสิ , ๒๕๕๒), หน้า ๒๓๐ - ๒๓๒.
80 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย นกกระจาบขโมยไปส่วนหนึ่ง ส่วนท่ีเหลือท่านน�ำไปถวายพระพุทธเจ้า และพระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงเรยี กมวลมนษุ ยม์ าชมุ นมุ พรอ้ มกนั แลว้ ทรงเทศนา สอนใหม้ นุษยแ์ จกจ่ายเมล็ดพันธ์ขุ า้ ว มนษุ ย์จงึ ไดท้ �ำพธิ ีเรียกขวญั อญั เชิญ แมโ่ พสพทุกครง้ั เมอ่ื ขา้ วสุกใกลฤ้ ดเู ก็บเก่ียวนบั แตน่ น้ั เป็นตน้ มา ตำ� นานเรอ่ื งแมโ่ พสพในภาคเหนอื และภาคอสี านนน้ั แตกตา่ ง ออกไปจากภาคกลาง โดยเชอ่ื วา่ มขี า้ วเกดิ ขน้ึ เองทอ่ี ทุ ยานของพญานาค แตล่ ะ ตน้ มขี นาด ๗ กำ� มอื เมลด็ ใหญเ่ ทา่ ลกู มะพรา้ ว มสี เี งนิ ยวง กลนิ่ หอมหวาน หญงิ หมา้ ยคนหนงึ่ ไมม่ มี ดี พรา้ จงึ นำ� ไมค้ านไปทบุ จนเมลด็ ขา้ วแตกกระจาย ไปเกิดเป็นข้าวไร่ ข้าวดอย บางส่วนไปเกิดเป็นข้าวนา แม่โพสพน้อยใจ ท่ีหญิงหม้ายใช้ไม้คานทุบอย่างรุนแรงจึงหนีไปอยู่ในถ�้ำ ส่งผลให้มนุษย์ อดขา้ วเปน็ เวลาพนั ปี จากนนั้ มลี กู ชายเศรษฐหี ลงทางไปพบกบั ปลากงั้ ทอ่ี ยู่ กับแม่โพสพ แล้วได้พบกับนางเข้า จึงขอร้องให้นางกลับคืนสู่เมืองมนุษย์ แม่โพสพเห็นแก่ค�ำอ้อนวอนจึงได้กลับมา ท�ำให้ข้าวปลาอุดมสมบูรณ์ ด้วยส�ำนึกในบุญคุณของแม่โพสพ ลูกเศรษฐีจึงชักชวนให้มนุษย์ยกย่อง นับถือนาง จากนั้นอีกพันปีชายโลภมากผู้หนึ่งได้สร้างยุ้งฉางเก็บข้าว ไว้แต่เพียงผู้เดียว ท�ำให้แม่โพสพโกรธและหนีไปอีก มนุษย์ต้องอดยาก อกี หลายรอ้ ยปี จนเทวดาตอ้ งมาขอรอ้ งใหน้ างกลบั คนื สเู่ มอื งมนษุ ย์ พรอ้ มกบั สอนให้มนุษย์รจู้ ักนบั ถือขา้ ว ทำ� ขวัญข้าว สว่ นบางสำ� นวนของชาวไทยลอื้ ในภาคเหนือเล่าว่าในสมัยพุทธกาล นางขวัญข้าวได้ถูกไล่ให้ไปอยู่กับ พวกครฑุ นาค จนเกดิ ความแหง้ แลง้ อดอยาก มนษุ ยจ์ งึ ทำ� พธิ เี ชญิ แมโ่ พสพ กลับมา เปน็ ตน้ ต�ำนานต่าง ๆ เกี่ยวกับแม่โพสพท่ียกมาน้ี มีความสัมพันธ์ เก่ียวข้องกบั วรรณกรรมของชนชาติไท โดย ศริ าพร ณ ถลาง ไดว้ ิเคราะห์ ต�ำนานข้าวของชนชาติไทไว้อย่างน่าสนใจว่า หากพิจารณาโครงเร่ือง
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 81 จะสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ กลุ่ม คือ “ข้าวถูกตีข้าวถูกขายจึงหนีไป” พบมากในต�ำนานข้าวของไทด�ำ ไทขาว ลาว และอีสาน อีกกลุ่มคือ “ย่าขวัญข้าวน้อยใจพระพุทธเจ้าจึงหนีไป” พบมากในต�ำนานข้าวของ ไทลื้อ ไทเขนิ ไทใต้คง ไทยวน (ลา้ นนา)13 ในนิทานหรือเร่ืองเล่าการก�ำเนิดโลกของชนชาติท่ีพูด ภาษาไท ที่ ศิราพร ณ ถลาง ไดว้ เิ คราะห์ไวใ้ นเรอื่ งชนชาติไทในนิทานน้นั ไดก้ ลา่ วถงึ ตำ� นานเรอ่ื งปสู่ งั กะสา-ยา่ สงั กะสีและตำ� นานเรอื่ งปแู่ ถน-ยา่ แถน ของชนชาตไิ ทในหลายพนื้ ที่ ซงึ่ จะมคี วามแตกตา่ งในรายละเอยี ดเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ที่แต่ละชนชาติอาจปรับเปล่ียนส�ำนวนให้เข้ากับรสนิยมของกลุ่มตน สะท้อนถึงต�ำนานสร้างโลกที่มีบรรพบุรุษคู่หญิงชายที่มีก�ำเนิดมาจากฟ้า มเี ทวดามากินง้วนดนิ จนติดใจไมก่ ลบั ไปอยู่สวรรค์ ต�ำนานปู่ยา่ สอนทำ� นา ปลูกขา้ ว และต�ำนานทมี่ นษุ ย์เกิดมาจากการกินขา้ ว และการน�ำเร่อื งราว มาผูกกบั เทพเจ้าหรอื พระพทุ ธศาสนา14 แสดงใหเ้ ห็นว่ามนษุ ยบ์ รโิ ภคขา้ ว มาอย่างยาวนาน และให้ความส�ำคัญกับท้องฟ้าจรดผืนดินท่ีดลบันดาล ให้เกิดข้าวปลาอาหารเล้ียงปากเล้ียงท้องของมนุษย์ ประดุจบรรพบุรุษ (ปู่ - ย่า) หรือยกย่องให้เป็นเทพเจ้า (แถน) สงิ่ ตา่ ง ๆ ทใี่ หค้ ณุ ใหโ้ ทษ ไมว่ า่ จะเปน็ ทอ้ งฟา้ ทใ่ี หฝ้ น แผน่ ดนิ ที่โอบอุ้มผืนนาไว้ รอยไถท่ีท�ำให้เกิดการเพาะปลูก ล้วนแล้วแต่สัมพันธ์ อย่างเหนียวแน่นกับข้าว เช่น ทยาอุสกับปฤถวีซ่ึงเป็นเทพกับเทพชายา ทีอ่ ยคู่ ูก่ ัน โดยฝา่ ยทโี่ อบอมุ้ และเปน็ ฐานแหง่ ชีวติ อันไดแ้ ก่แผ่นดนิ คอื แม่ 13 ศิราพร ณ ถลาง, ชนชาติไทในนิทาน (กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พรนิ้ ทต์ งิ้ เซ็นเตอร,์ ๒๕๔๕), หน้า ๑๐๘. 14 เร่ืองเดยี วกนั , หน้า ๕๑ - ๑๒๔.
82 ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย สว่ นฝ่ายท่บี �ำรุงใหเ้ กิดความเจริญงอกงาม คอื พ่อ เทวดาทอ่ี ย่บู นฟ้าและ อากาศสว่ นใหญจ่ งึ มกั เปน็ ผชู้ าย สว่ นเทวดาสว่ นใหญท่ อ่ี ยใู่ นโลกและสมั พนั ธ์ กับแผ่นดินและพืชพันธุ์จึงมักเป็นหญิง และบางคร้ังอาจมีความสัมพันธ์ แบบคู่สามีภรรยาผู้ให้ก�ำเนิดสรรพส่ิงดังเช่นเทพบิดามารดา ทยาปฤถิวี จึงอาจสันนิษฐานได้ว่าเทวดาแห่งข้าวหรือโพสพท่ีมีการอภิปรายกันว่า จะเปน็ หญงิ หรอื ชายนน้ั ผเู้ ขยี นขอวเิ คราะหว์ า่ หากโพสพถกู เรยี กบอ่ ย ๆ วา่ “แม่” และเป็นผู้ให้ก�ำเนิดเมล็ดพันธุ์ข้าว และนิยมเรียกต้นกล้าที่เร่ิม มีเมล็ดว่า ข้าวต้ังท้อง จากน้ันจึงออกรวง ซ่ึงค�ำว่า “ออก” ก็คงเหมือน กบั การคลอดบุตร ดงั นน้ั หากพนิ จิ จากหลายต�ำนานหลายส�ำนวน รวมถงึ ความสมั พันธก์ ับศรีหรอื ลักษมี รวมทง้ั สตี า แม่โพสพ หรอื เทวดาแหง่ ขา้ ว ในไทยก็น่าจะเป็นเพศหญิง แต่จะมีเชื่อมโยงเป็นเทพองค์เดียวกับพระศรี พระลักษมี เทพพ้ืนเมืองหรือไม่อย่างไรนั้นยังไม่อาจสรุปได้ เพียงแต่ เชือ่ วา่ นา่ จะมคี วามสมั พนั ธก์ ัน หากวิเคราะห์ว่าแล้วแม่โพสพคือใคร มาท�ำอะไรในนา แม่โพสพ ก็คือบุคลาธิษฐานของข้าวท่ีเกิดจากการท่ีมนุษย์น�ำเอาหัวจิต หัวใจและใสอ่ ารมณ์ความรู้สึกเขา้ ไปในเมลด็ ขา้ ว เหตุน้ีเมื่อมนุษย์ท�ำให้พอใจแม่โพสพก็จะดลบันดาล ความอุดมสมบูรณ์ให้ แต่หากท�ำให้ไม่พอใจก็จะบันดาลให้เกิดอุบาทว์ สรา้ งความแหง้ แล้งไปทกุ แห่งหน และเม่ือคนเชื่อว่าข้าวมีจิต ข้าวจึงมีขวัญ ดังน้ันจึงมี “ขวัญขา้ ว” จากสง่ิ ทง้ั หลายทก่ี ลา่ วมา มนษุ ยจ์ งึ มศี รทั ธาตอ่ เทวดาฟา้ ฝน ที่ส่งผลกับนาข้าว จนก่อให้เกิดขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ เช่น
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 83 การบูชาขวัญข้าว ซึ่งค�ำบูชาขวัญข้าวนี้มีอยู่หลายส�ำนวนตามแต่ละ ท้องถิ่น เพ่ือน�ำไปใช้สวดในการเชิญขวัญข้าวมาสู่เมล็ดข้าวในท้องนา ในยุ้งฉาง หรือบนลานกองข้าว เพื่อเป็นสิริมงคลและเป็นการเพิ่มขวัญ ก�ำลังใจตลอดฤดูท�ำนาจนกระทั่งเก็บเก่ียวข้าว ความเช่ือเรื่องการบูชา แม่ศรี (แมศ่ รโี พสพ) โดยมกี ารรอ้ งเพลงใหแ้ มศ่ รีมาประทบั ทรงแลว้ รา่ ยรำ� กลางทงุ่ นา เสมอื นวา่ แมศ่ รไี ดเ้ มตตาลงมาประทบั ทรงเพอ่ื สงั สรรคก์ บั ชาวนา ในฤดกู าลเกบ็ เกย่ี วขา้ ว นอกจากการบชู าแมโ่ พสพ ชาวนายงั กราบไหวบ้ ชู า เทวดาอื่น ๆ ท่ีให้คณุ ให้โทษแกท่ ุ่งนา เชน่ การบูชาพญาแถน การขอฝน การไหว้พระภูมนิ า พระภมู ิยงุ้ ขา้ ว พระภูมลิ าน พระภูมคิ อกสัตว์ การบชู า พระแม่ธรณี หรือการน�ำข้าวมาเป็นเครื่องประกอบในพิธีกรรมศักด์ิสิทธ์ิ หลาย ๆ พธิ ี เน่อื งจากข้าวเปน็ สว่ นหน่ึงของสัญลกั ษณแ์ หง่ ความงอกงาม จงึ ถือวา่ ข้าวเปน็ ของมงคล เปน็ ตน้ ในส่วนของราชส�ำนักมีพระราชพิธีที่เกี่ยวกับข้าวหนึ่งใน พระราชพิธีส�ำคัญคือ พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ โดยที่พระมหากษัตริย์หรือผู้แทนพระองค์จะทรงมาร่วมพระราชพิธีน้ี เพอ่ื พระราชทานขวญั และกำ� ลงั ใจใหแ้ กก่ สกิ รไทยทง้ั หลาย มกี ารจรดพระนงั คลั ไถนาหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวมงคล และให้พระโคกินอาหารเส่ียงทายว่า พชื พรรณธญั ญาหารในปนี นั้ ๆ จะเปน็ อยา่ งไร เพอ่ื เปน็ แนวทางใหเ้ กษตรกร ไดร้ สู้ ภาพดนิ ฟา้ อากาศกอ่ นเรม่ิ ฤดนู า แมป้ จั จบุ นั จะมกี ารพฒั นาเทคโนโลยี การเกษตรให้ตอบสนองสังคมเกษตรกรรมมากข้ึนเพียงใด แต่ชาวนาไทย ก็ยังคงมาร่วมงานวันพืชมงคลและปรารถนาจะได้ครอบครองเมล็ดพันธุ์ ข้าวมงคลที่ถูกหว่านลงครั้งแรกในวันที่พระยาแรกนาจรดพระนังคัล แรกนาขวญั
84 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย ท้ังนี้ เมื่อย้อนกลับไปดูค�ำว่า “กษัตริย์” ก็มีความหมาย ที่สัมพันธ์กับ “เกษตร” การมีศักดิ์ เป็น “พระมหากษัตริย์” หรือ “พระเจา้ แผน่ ดนิ ” จงึ ตอ้ งทำ� นบุ ำ� รงุ ใหแ้ ผน่ ดนิ นน้ั อดุ มสมบรู ณ์ แมท้ กุ วนั นี้ สังคมเกษตรกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงไป แต่คนไทยยังคงใช้ค�ำว่า พระมหากษัตริย์เรียกพระเจ้าแผ่นดิน พระราชพิธีหลวงและประเพณี ท้องถิ่นที่การบูชาดินฟ้าอากาศและทุ่งนาจึงยังคงได้รับการสืบทอดและ ถือปฏบิ ตั ิกนั มาจนถึงทกุ วันนี้ โดยสรุปแล้ว แม้มนุษย์จะพัฒนาไปมากเท่าใดก็ยังไม่เคย ยิง่ ใหญไ่ ปกวา่ ธรรมชาติ ไมส่ ามารถกำ� หนดดนิ ฟา้ อากาศไดอ้ ยา่ งเบ็ดเสรจ็ และมนษุ ยก์ ย็ งั คงเปน็ เพยี งสว่ นเลก็ ๆ สว่ นหนง่ึ ของธรรมชาตเิ ทา่ นน้ั ดงั นน้ั ประเพณีพิธีกรรมท่ีจะสามารถคลายความกังวลและสร้างขวัญก�ำลังใจ ให้กับมนุษย์ได้ จึงยังคงสามารถด�ำเนินต่อไปจนกว่ามนุษย์จะส้ินศรัทธา หรือจนกว่ามนษุ ยจ์ ะไม่ตอ้ งพงึ่ พาธรรมชาติ จนกว่าจะถึงวันนั้น...เทวดาก็จะยังคงอยู่ในนาข้าว และต�ำนานกจ็ ะยังถูกขบั ขานตอ่ ไป...
ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 85 บรรณานกุ รม ผาสขุ อนิ ทราวธุ . รปู เคารพในศาสนาฮนิ ด.ู กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, ๒๕๒๒. พลอยชมพู ยามะเพวัน. “แมโ่ พสพ.” ใน นามานุกรมขนบประเพณไี ทย หมวดประเพณีราษฎร์ เล่ม ๓ (คติความเช่ือ). กรุงเทพฯ: แอดวานซ์ วชิ ช่ัน เซอรว์ สิ , ๒๕๕๒. หน้า ๒๓๐ - ๒๓๒. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทศั น,์ ๒๕๒๖. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนอ่ื งในโอกาส พระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ: ราชบณั ฑติ ยสถาน, ๒๕๕๖. ราศี บรุ ษุ รตั นพนั ธ.์ุ “ศาลพระภมู ิ ศาลเพยี งตา แมย่ า่ นาง.” ใน นานาสาระ วฒั นธรรมไทย เลม่ ๒. พมิ พค์ รงั้ ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: กราฟฟกิ ปรนิ้ ตง้ิ พรเี พลส ซสิ เตม็ ส์ (ประเทศไทย), ๒๕๔๗. หน้า ๔ - ๗. ฤดรี ตั น์ กายราศ. “พระคงคา พระธรณี แมโ่ พสพ เทวดาในวฒั นธรรมไทย.” ใน นานาสาระวัฒนธรรมไทย เลม่ ๑. พิมพค์ ร้งั ท่ี ๒. กรงุ เทพฯ: กราฟฟิก ปริ้นติ้ง พรีเพลส ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย), ๒๕๔๗. หน้า ๑๔๐ - ๑๔๕. ศิราพร ณ ถลาง. ชนชาติไทในนิทาน. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ พร้ินท์ติ้ง เซ็นเตอร,์ ๒๕๔๕ อุดม รุ่งเรืองศรี. เทวดาพระเวท. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท., ม.ป.ป. (เอกสาร อัดสำ� เนา).
ประเพณีและคติความเช่ือเกีย่ วกับ การท�ำนาในพืน้ ทภ่ี าคใต้ โดย นายภวู นารถ สังข์เงิน
88 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย ประเพณีและคตคิ วามเช่อื เกีย่ วกบั การทำ� นาในพ้นื ท่ภี าคใต้ “ข้าวคือชีวิตคนไทย” คงเป็นค�ำกล่าวท่ีเราคุ้นหูกันดี ท้ังน้ี เนื่องจากการท�ำนาเป็นอาชีพท่ีมีความส�ำคัญและผูกพันกับสังคมไทย มาอย่างยาวนาน เพราะข้าวเป็นปัจจัยหลักในการด�ำรงชีพของคนไทย จากหลกั ฐานทางโบราณคดที ปี่ รากฏในประเทศไทย ทำ� ใหเ้ ราทราบวา่ ผคู้ น สมยั อดตี ในพนื้ ทปี่ ระเทศไทยปจั จบุ นั บรโิ ภคขา้ วเปน็ อาหารนบั พนั ปมี าแลว้ ระยะเวลาที่ยาวนานน้ีเองย่อมมีการส่ังสมประสบการณ์จนกลายเป็น ภูมปิ ัญญาและถา่ ยทอดสืบต่อกันมาจนถึงทกุ วนั นี้ จากสภาพภูมิศาสตร์บริเวณภาคใต้ของประเทศไทยท่ีมี ลักษณะทอดยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้ ขนาบด้วยทะเลทั้งสองฝั่ง คอื อา่ วไทยทางดา้ นทศิ ตะวนั ออก และทะเลอนั ดามนั ทางดา้ นทศิ ตะวนั ตก มีพ้ืนที่ราบชายฝั่งทะเลท่ีเหมาะแก่การเพาะปลูกจ�ำนวนไม่มากนัก เมอื่ เทียบกับภาคอืน่ ๆ ของประเทศ แตก่ ารปลกู ขา้ วในภาคใตก้ ็มกี ระจาย อยอู่ ยา่ งกวา้ งขวางทว่ั ทง้ั ภาค โดยมแี หลง่ ปลกู ขา้ วทส่ี �ำคญั ทสี่ ดุ ของภาคใต้ อยู่ในท่ีราบชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก บริเวณท่ีราบลุ่มแม่น้�ำปากพนัง และทะเลสาบสงขลาเขตรอยต่อจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และ สงขลา และบรเิ วณลมุ่ แมน่ ำ้� ปตั ตานี โดยขา้ วนบั วา่ เปน็ พชื เศรษฐกจิ ลำ� ดบั ท่ี ๓ ของภมู ภิ าค รองจากยางพาราและปาลม์ นำ�้ มนั จงั หวดั ทผ่ี ลติ ขา้ วนาปี ไดม้ ากทส่ี ดุ คอื จงั หวดั นครศรธี รรมราช และจงั หวดั ทผ่ี ลติ ขา้ วไดน้ อ้ ยทสี่ ดุ คอื จงั หวดั ภูเก็ต
ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย 89 ชาวนาในภาคใตจ้ ะเรม่ิ การทำ� นาลา่ ชา้ กวา่ ภาคอนื่ ๆ ประมาณ ๒ - ๓ เดอื น เพราะมฤี ดฝู นลา่ ชา้ กวา่ ภาคอน่ื ๆ โดยจะเรมิ่ เตรยี มพน้ื ทท่ี ำ� นา ในชว่ งเดอื นกรกฎาคมถงึ เดอื นสงิ หาคม และจะเกบ็ เกย่ี วในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ถึงเดือนมีนาคม โดยทางฝั่งทะเลอันดามันจะเริ่มเร็วกว่าฝั่งอ่าวไทย ประมาณ ๑ เดอื น และจากสภาพทางภมู ศิ าสตรข์ องภาคใตท้ ม่ี คี วามแตกตา่ ง หลากหลายของแต่ละพื้นที่น่ีเอง ท�ำให้ชาวนาในภาคใต้มีภูมิปัญญาใน การเลือกพื้นที่ท�ำนาลักษณะต่าง ๆ เพื่อจะได้คัดสรรพันธุ์ข้าวท่ีจะปลูก ได้อยา่ งเหมาะสมออกเปน็ ๔ ประเภท ดังนี้ ๑. นาไร่หรอื นาขา้ วไร่คอื พน้ื ทตี่ าม“ควน”คอื บรเิ วณเชงิ เขา หรือไหล่เขาท่ีปรบั ปรุงขน้ึ เพอื่ ใช้ทำ� นา มักเป็นทส่ี ูง ๆ ต่�ำ ๆ บางส่วนแคบ บางสว่ นกวา้ ง ไมอ่ าจจะทำ� นาโดยวธิ ไี ถหรอื ทำ� คนั กน้ั นำ้� เปน็ แปลงใหญ่ ๆ ได้ ชาวนาจะใชว้ ธิ ปี ลกู ขา้ วเปน็ พเิ ศษเนอ่ื งจากไมส่ ามารถดำ� นาหรอื นาหวา่ นได้ เรียกว่า “น่�ำข้าว” คือการ “แทงสัก” หรือเตรียมหลุมส�ำหรับหยอด เมล็ดพันธุ์ข้าว โดยใช้ “ไม้สัก” แทงก�ำหนดแนวและระยะห่าง โดยแทง ถอยหลังมาเรื่อย ๆ ตลอดท้ังแปลง จะมีคนแทงสักอีกคนแทงตามแนว ทก่ี �ำหนดไวต้ ลอดท้ังแปลง จากนนั้ จึงน�ำเมล็ดพนั ธใุ์ ส่ “บอกนำ�่ ” ซึง่ เป็น กระบอกไมไ้ ผข่ นาดเทา่ ขอ้ มอื หยอดเมลด็ พนั ธข์ุ า้ วใสห่ ลมุ หลมุ ละ ๑๐ - ๑๕ เมล็ด และปดิ ปากหลมุ ใหม้ ดิ ชิด ๒. นาลึก คือ นาท่ีอยู่ในพื้นท่ีลุ่มเป็นโคลนตม มีน้�ำท่า สมบรู ณแ์ ละท่วมขงั อยู่เป็นเวลานาน มักจะปลกู ข้าวโดยวิธี “ดำ� นา” ๓. นาดอนคอื นาทอี่ ยใู่ นทรี่ าบสงู มนี ำ้� นอ้ ยไมส่ ามารถดำ� นาได้ จะใช้วิธีปลกู ขา้ วโดยวิธหี วา่ นขา้ ว
90 ขา้ ว ต้นธารอารยธรรมไทย ๔. นาปรัง คือ นาทอ่ี ย่ใู นท่มี นี ำ้� ขงั ตลอดปแี ละต่อเนอื่ งกบั แหลง่ น้�ำใหญ่ สามารถท�ำนาไดต้ ลอดทั้งปี ด้วยความแตกต่างของพ้ืนท่ีปลูกข้าวในภาคใต้น้ีเอง ท�ำให้ พันธุ์ข้าวที่ชาวนาจะใช้ปลูกจึงแบ่งออกได้หลายชนิดตามพื้นที่ที่ปลูก และระยะเวลาทจ่ี ะใหผ้ ลผลติ ดงั ท่ี สธุ วิ งศ์ พงศไ์ พบลู ย์1 กลา่ วถงึ พนั ธข์ุ า้ ว ในภาคใต้ แบง่ ออกได้ ๓ ประเภท กลา่ วคือ ขา้ วเบา คอื ข้าวทป่ี ลูกแลว้ ใชเ้ วลาประมาณ ๓ - ๔ เดือน ก็เก็บเกี่ยวได้ เหมาะท่ีจะปลูกในปีที่ฝนตกน้อย หรือฝนมาช้ากว่าปกติ ทเ่ี รยี กวา่ “ฝนมาลา่ ” แตข่ า้ วประเภทนจี้ ะใหผ้ ลผลติ ตำ่� และหงุ ไมข่ น้ึ หมอ้ ชาวนาจึงไม่นิยมปลกู เชน่ ข้าวลกู ปลา ขา้ วไทร ข้าวสามเดอื น เป็นต้น ขา้ วหนกั คอื ขา้ วทป่ี ลกู แลว้ ตอ้ งใชเ้ วลาไมน่ อ้ ยกวา่ ๗ เดอื น จงึ ใหผ้ ลผลติ ขา้ วประเภทนช้ี าวนาภาคใตน้ ยิ มปลกู กนั มากเพราะเหมาะสม กบั ฤดกู าลทม่ี ฤี ดฝู นคอ่ นขา้ งนาน และเหมาะทจี่ ะปลกู ในพนื้ ทล่ี มุ่ หรอื นาลกึ ทงั้ ยงั ใหผ้ ลผลติ ทส่ี งู กวา่ ขา้ วเบาและหงุ ขน้ึ หมอ้ เชน่ ขา้ วนางฝา้ ย ขา้ วกลบี เมฆหนกั ข้าวนางหมุยดอกแฝก เป็นตน้ ขา้ วกลางปี คือ ข้าวทใี่ หผ้ ลผลติ เร็วกวา่ ข้าวหนักแตช่ ้ากวา่ ข้าวเบา คือใชเ้ วลาประมาณ ๕ - ๖ เดอื น ผลผลติ ตอ่ ไรป่ รมิ าณใกล้เคียง กบั ขา้ วหนกั จงึ เปน็ ทน่ี ยิ มของชาวนาพอ ๆ กบั ขา้ วหนกั เชน่ ขา้ วดอกหมาก ข้าวหอมจนั ทร์ ข้าวอแี กว้ เปน็ ต้น 1 สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, “วัฒนธรรมการท�ำนาของชาวภาคใต้,” สารานกุ รมวฒั นธรรมไทยภาคใต้ เลม่ ที่ ๔ (๒๕๒๙): ๑๕๔๙.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 91 อยา่ งไรกต็ าม ในปจั จบุ นั นช้ี าวนาในภาคใตส้ ว่ นใหญไ่ ดห้ นั มา ปลกู ขา้ วทไ่ี ดร้ บั การปรบั ปรงุ พนั ธข์ุ า้ วจากทางราชการ เพราะถอื วา่ เปน็ ขา้ ว ท่ีมคี ณุ ภาพดกี ว่า และให้ผลผลิตทสี่ ูงกวา่ เชน่ ขา้ ว กข ๗ ข้าว กข ๑๓ ขา้ ว กข ๒๑ ข้าวแกน่ จันทร์ เป็นต้น ปฐมบทการทำ� นา : ภมู ิปัญญาและความเชื่อ ในการเลือกพืน้ ที่ ในอดตี ชาวนาในภาคใตจ้ ะมคี ตคิ วามเชอ่ื เกย่ี วกบั การหกั รา้ ง ถางพงหรอื เปลยี่ นปา่ ใหเ้ ปน็ ทท่ี ำ� นา โดยจะเลอื กพนื้ ทที่ มี่ คี วามอดุ มสมบรู ณ์ ตามธรรมชาติ หรือท่ีเรียกว่า “ดินดี”2 เป็นพื้นที่ท่ีน้�ำทะเลหรือน้�ำเค็ม เข้าไปไม่ถึง และเมื่อมีฝนตกต้องตามฤดูกาลจะมีน้�ำท่วมถึงและสามารถ กกั เก็บนำ้� ไว้ใชใ้ นการปลกู ข้าวทำ� นาได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ชาวนาในภาคใตโ้ ดยเฉพาะในพนื้ ทล่ี ุม่ ทะเลสาบ สงขลา มีภูมิปัญญาในการเลือกพ้ืนที่ท�ำนาและการคาดคะเนสภาพ ภมู อิ ากาศในการท�ำนา ดงั น้ี หากพ้ืนที่บริเวณใดมีต้นกก ปรือ เบียน ผักบุ้ง ผักปอด ผกั เปด็ ผกั มันปู ผกั ร้ิน ผกั หวา และแหว้ หมูข้นึ งอกงาม แสดงว่าพนื้ ทน่ี นั้ เหมาะแกก่ ารท�ำนา 2 วิมล ด�ำศรี, วัฒนธรรมข้าวและพลังอ�ำนาจชุมชนรอบ ทะเลสาบสงขลา (กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๔), หนา้ ๓๙.
92 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย หากพนื้ ที่ใดมีตน้ กระจดู หญ้าครุน หญา้ คา ตน้ เสมด็ ล�ำภู แสม ตมุ่ และตน้ โกงกางขนึ้ งอกงาม แสดงวา่ พน้ื ทน่ี น้ั ไมเ่ หมาะแกก่ ารทำ� นา หากพื้นที่ใดมีลักษณะดินร่วนสีด�ำ และ “ฉัดดินปลิว” คือ การใช้เท้าเตะดินในหน้าแล้งขึ้นไปในอากาศ หากดินร่วงและปลิวขึ้นไป แสดงว่าพื้นที่บริเวณนั้นเหมาะแก่การท�ำนา และหากพื้นที่ใดดินเหนียว แข็งเป็นสีขาว เตะดินไม่ร่วงและปลิวไปในอากาศ บริเวณน้ันไม่เหมาะ แกก่ ารท�ำนา3 หากดอกชุมเห็ดบานตลอดช่อแสดงว่าฝนก�ำลังจะหยุดตก หากดอกชมุ เหด็ ยังบานไมต่ ลอดช่อแสดงว่าฝนยังตกตอ่ ไป หากลกู ยบั เยยี่ ว (ตน้ เลบ็ เหยย่ี ว) สกุ พองจนเปน็ สดี ำ� แสดงวา่ ฝนก�ำลังจะหยุดตก หากลูกยับเยี่ยวยังไม่เปลี่ยนเป็นสีด�ำ แสดงว่ายังมี ฝนตกต่อไปอีก หากดอกผกั ราด ตน้ ลม้ พลกุ (สาบเสอื ) ยงั บานอยอู่ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง แสดงว่าฝนจะตกต่อไปอีก หากดอกผักราดหยุดบานและเหี่ยวจนหมด แสดงว่าฝนจะหยดุ ตก หากใบหญา้ ครนุ มกี ว่ิ สองกว่ิ แสดงวา่ ปนี นั้ นำ�้ จะพา่ (นำ�้ ทว่ ม) สองคร้ัง ถ้าใบหญ้าครุนมีกิ่วเดียว แสดงว่าน้�ำพ่าครั้งเดียว ถ้ามีรอยก่ิว ที่โคนใบแสดงว่าน�้ำพ่าต้นปี รอยก่ิวกลางใบน้�ำจะพ่ากลางปี มีรอยกิ่ว ปลายใบนำ�้ จะพา่ ปลายปี หากต้นไผ่มีหน่อล�ำใหม่งอกสูงกว่าล�ำต้นเดิม แสดงว่าปีนั้น น้�ำจะมาก ระดบั น�ำ้ สูงกว่าปกติ 3 เร่ืองเดยี วกนั , หน้า ๔๕ - ๕๗.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 93 หากนกแมงค่าส่งเสียงร้อง ฝนจะเริ่มตก เพราะนกแมงค่า จะร้องขอฝน แต่ถ้าได้ยนิ นกดเุ หวา่ (กาเหวา่ ) ร้อง แสดงวา่ ฝนจะหยุดตก เข้าสู่หน้าแล้ง หากมีนกกระยางบินเป็นฝูงใหญ่ในท้องฟ้า แสดงว่า ฝนจะเริ่มตก หากปลาวา่ ยจากแมน่ ำ้� ลำ� คลองเขา้ สทู่ นี่ า เรยี กวา่ “ปลาขนึ้ ” แสดงว่าฝนตก น้�ำจะท่วม ในทางกลับกันถ้าปลาว่ายจากทุ่งนาสู่ล�ำคลอง เรยี กวา่ “ปลาลง” แสดงวา่ ฝนจะแลง้ หากปลาหมอ ปลาดกุ ในแมน่ ำ�้ ลำ� คลองบว้ นนำ�้ กระโดดขน้ึ สงู จากผิวนำ้� บ่อยครง้ั แสดงว่าฝนจะตกในไมช่ า้ หากปนู าคลานออกจากรู แสดงวา่ ฝนกำ� ลังจะตก หากฝูงมด ฝูงปลวกด�ำขนไข่ย้ายจากท่ีต่�ำไปท่ีสูง แสดงว่า ฝนก�ำลังจะตก ในทางกลับกันหากฝูงมด ฝูงปลวกด�ำขนไข่ย้ายจากท่ีสูง ไปสู่ท่ีตำ่� แสดงวา่ ฝนจะหยุดตกเขา้ ส่หู น้าแล้ง หากไสเ้ ดอื นพากนั คลานยา้ ยทอ่ี ยจู่ ากทส่ี วา่ งกลางแจง้ ไปสทู่ ่ี รม่ และชืน้ แสดงว่าฝนก�ำลงั จะหยดุ ตก ในทางกลับกนั หากไส้เดือนคลาน ยา้ ยจากที่ช้ืนสูท่ ี่สว่างกลางแจง้ แสดงวา่ ฝนจะตกในไมช่ า้ หากหอยโข่งวางไข่เหนือผิวน�้ำแค่ไหน แสดงว่าระดับน้�ำ จะท่วมสงู ไมเ่ กินต�ำแหนง่ ของไข่หอยโขง่ นอกจากนี้ ชาวนาภาคใต้อาศัยการสังเกตเสียงฟ้าร้อง และตำ� แหนง่ ของดวงดาวในการเรมิ่ ตน้ ทำ� นา ปรากฏใน ตำ� ราดนู มิ ติ (ปจั จบุ นั เก็บรักษาที่ศูนย์วัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช) เปน็ หนงั สอื บดุ ไทย (สมดุ ไทย) มเี นอื้ หาวา่ ดว้ ยลกั ษณะตำ� ราในการดดู วงดาว ปรากฏการณธ์ รรมชาติ ดังความตอนหน่งึ วา่
94 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย “ปีใด ฟา้ รอ้ งทางทศิ พายัพก่อนทิศอ่นื ปีนัน้ ฝนจะพอดีแต่ ขา้ วไม่งาม และผคู้ นลม้ ตายเป็นจำ� นวนมาก” “ปใี ด ฟ้ารอ้ งทางทศิ อุดรก่อนทศิ อน่ื ปีนนั้ ข้าวปลา ถ่วั งาดี คนทง้ั หลายจะอยูเ่ ป็นสุขหนักหนา” “ฟา้ ร้องวัน ๒ (วนั จันทร์) ข้าวปลาจะมียง่ิ นกั ” “ฟ้ารอ้ งวนั ๓ (วนั องั คาร) ฝนจะตกอดุ มสมบรู ณ”์ ในสว่ นของการเลอื กพนื้ ทใี่ นการทำ� ขา้ วไร่ ชาวนาจะพจิ ารณา เลือกพื้นที่ที่มีความสะดวกในการท่ีจะไปจัดการท�ำ ไม่มีสัตว์ป่าที่เป็นภัย ต่อข้าว เช่น ช้างป่า ลิง กวาง เป็นพ้ืนที่ท่ีไม่เป็นโทษแต่เป็นคุณ4 คอื หลกี เลย่ี งพนื้ ทดี่ นิ เปน็ ทรายมาก ดนิ ทมี่ ปี ยุ๋ นอ้ ย ชาวนาจะสงั เกตจากดนิ ทไ่ี มค่ อ่ ยมหี ญา้ งอก ดนิ ทม่ี หี ญา้ คามาก ดนิ ทม่ี ไี มส้ า้ นมาก ดนิ ทมี่ ลี กู รงั มาก ดนิ ลายเสือ ดินท่สี งสัยวา่ เป็นทอ่ี ยขู่ องปีศาจหรอื เทวดา นางไม้ แต่ชาวนา จะนิยมเลือกพื้นที่ท่ีดินร่วน อยู่ในป่าดงที่มีต้นไม้สูงใหญ่มานานปี ดินประเภทนี้หญ้าจะรบกวนนอ้ ย และอยูใ่ กลล้ ำ� ธารจะย่งิ ดี 4 สนิท พลเดช, “ท�ำข้าวไร่,” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ เลม่ ที่ ๔ (๒๕๒๙): ๑๕๔๔.
ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย 95 แรกนา : พิธกี รรมเรมิ่ ต้นการทำ� นา ชาวนาในภาคใต้ไม่ถือว่าพิธีแรกนาขวัญเป็นพิธีที่เคร่งครัด มากนกั โดยจะท�ำพธิ แี รกนาหลงั จากทปี่ ระกอบพระราชพธิ จี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั ลว่ งแลว้ เพราะถอื วา่ พธิ แี รกนาขวญั มขี นึ้ แลว้ เปน็ ทางราชการ ในส่วนท่ีชาวนาจะท�ำเพิ่มเติมไม่ค่อยส�ำคัญมากนัก แต่โดยมากมักจะ หลกี เลย่ี งวันพธุ เพราะถอื วา่ เปน็ วันเน่าวนั เป่อื ย ตน้ ข้าวมักจะเน่าเสียมาก พธิ แี รกนา เรมิ่ พธิ ชี าวนาจะนำ� หมากพลู ธปู เทยี น ไปอาราธนา เจ้าท่ีว่าจะเร่ิมลงมือท�ำนาในปีน้ี ขอให้ได้รับความสะดวกในขณะที่ท�ำนา อย่าให้เกิดอุบัติเหตุ เจ็บมือป่วยเท้า เม่ือฤดูท�ำนาล่วงไปแล้วก็จะมีพิธี เซ่นไหว้บวงสรวงด้วยเคร่ืองเซ่นอย่างใดอย่างหนึ่งท่ีเคยปฏิบัติมา ชาวนา ก็จะระบุไปตามแต่ละท้องท่ีนั้น ๆ เมื่อเสร็จแล้ว ก็จัดการไถโดยการไถ เวียนขวา ๓ รอบ เป็นอนั เสร็จพิธี นอกจากนย้ี งั มพี ธิ แี รกดำ� นา โดยชาวนาจะทำ� พธิ บี นบานเจา้ ท่ี ขอใหช้ ว่ ยดแู ลตน้ ขา้ ว อยา่ ใหม้ ศี ตั รขู า้ ว เชน่ ปนู า หนนู า พยาธิ มาเบยี ดเบยี น ต้นข้าว แล้วปักด�ำต้นกล้าลงในนา ซึ่งจ�ำนวนต้นข้าวที่เริ่มปักด�ำก�ำหนด เทา่ กบั จำ� นวนเดอื นทางจนั ทรคติ จากนน้ั ปกั ไมว้ า่ คาถาวงสายสญิ จนไ์ วบ้ น เปน็ อันเสรจ็ พิธี สว่ นการทำ� ขา้ วไรจ่ ะมคี วามเชอื่ และขน้ั ตอนมากกวา่ การทำ� นา ปกติ เร่ิมด้วยเม่ือชาวนาเลือกพื้นท่ีส�ำหรับปลูกข้าวไร่ที่เหมาะสมได้แล้ว จะใหห้ มอชาวบา้ นหาฤกษม์ งคล วนั จม - วนั ฟู เพื่อเรม่ิ ท�ำนา (เช่ือกนั วา่ วนั จม คอื วนั ไมค่ วรทำ� การอนั เปน็ มงคลตา่ ง ๆ เพราะจะน�ำไปสคู่ วามลม่ จม หายนะ สว่ นวนั ฟู คอื วนั ทเ่ี ฟอ่ื งฟเู ปน็ มงคลนำ� ไปสคู่ วามกา้ วหนา้ ) ในการนี้ ชาวนาจะต้องน�ำหมาก ๑ ค�ำ ให้หมอเพื่อเป็นเครื่องบูชาครูของหมอ
96 ข้าว ตน้ ธารอารยธรรมไทย หลังจากที่ต้ังครูหรือบูชาครูเสร็จแล้วหมอจะกินหมากค�ำนั้น เมื่อได้ฤกษ์ วันเวลาท่ีเป็นมงคลจากหมอชาวบ้านแล้ว ชาวนาจะเตรียมหมาก ๑ ค�ำ พลู ๑ ใบ ธูป ๑ ดอก และเทียน ๑ เล่ม ส�ำหรับท�ำพิธีขอท่ีจากเจ้าที่ โดยจะเลือกสถานที่ริมทางที่ผู้คนเดินไปมาเห็นได้ชัดเจน น่ังประนมมือ แลว้ กลา่ วว่า “เดชะนางธรณี กรงุ พาลี เจา้ ที่ เจา้ ทาง เจา้ ปา่ เจา้ ดง นายดำ� เจา้ ดนิ นายอนิ เจา้ ปา่ เจา้ หว้ ยเจา้ หนอง ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในสถานที่น้ี รู้จักช่ือบ้างไม่รู้จักชื่อบ้าง พระอิศวรได้สร้างแผ่นดินไว้ให้มนุษย์ท�ำมาหากิน เพื่อที่จะได้อยู่ท�ำบุญให้ทาน ท่านเป็นผู้รักษา เราต้องการท่ีท่ีน้ีท�ำไร่ข้าวกินช่ัวคราว ขอให้ท่าน รับเอา เคร่ืองบวงสรวงเล็กน้อยที่จัดมาในวันนี้ เม่ือ รับเอาเครื่องบวงสรวงแล้ว เราจะขอที่ ท�ำมาหากิน ในที่นที้ า่ นจะวา่ อยา่ งไร”5 เมอื่ บอกกลา่ วขอทจี่ ากเจา้ ทเ่ี สรจ็ แลว้ กท็ ำ� การแผว้ ถางพนื้ ที่ พอเป็นพิธี จากนั้นใช้ไม้ปักพาดเป็นราว แล้วใช้ไม้ตะขอเก่ียวไว้ท่ีราว โดยก�ำหนดจ�ำนวนไม้ตะขอเท่ากับจ�ำนวนข้าวท่ีจะใช้เป็นข้าวปลูกคิดเป็น ป๊บี หรือถัง เปน็ อันเสร็จพิธี ในคืนนั้นก่อนนอนชาวนาจะตั้งสติระลึกถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ได้ อาราธนาขอไว้ วันรุ่งขึ้นจะน�ำเรื่องราวความฝันมาทบทวนตีความแล้ว ทำ� นายเชอ่ื มโยงวา่ จะไดร้ บั อนญุ าตจากเจา้ ทใี่ หส้ ามารถทำ� ขา้ วไรใ่ นสถานที่ 5 เรื่องเดียวกัน, ๑๕๔๕.
ขา้ ว ตน้ ธารอารยธรรมไทย 97 ซงึ่ เลอื กไวไ้ ดห้ รอื ไม่ และมขี อ้ ปฏบิ ตั ใิ ดบา้ งทต่ี อ้ งถอื ปฏบิ ตั หิ รอื หา้ มปฏบิ ตั ิ เมอ่ื จะไปทำ� ขา้ วไร่ในสถานทน่ี นั้ ๆ คร้ันพิจารณาว่าได้รับอนุญาตจากเจ้าที่แล้ว ชาวนาจะเร่ิม ถางปา่ ปรบั พน้ื ทสี่ ำ� หรบั ทำ� ขา้ วไร่ ซงึ่ ตลอดระยะเวลาทถี่ างปา่ นน้ั มขี อ้ ปฏบิ ตั ิ สำ� คญั คอื กอ่ นทจ่ี ะเรมิ่ รับประทานอาหารเท่ียงทุกมื้อจะตอ้ งแบง่ อาหาร ทรี่ บั ประทานนนั้ บวงสรวงเจา้ ทเี่ จา้ ปา่ กอ่ นเสมอ นอกจากนม้ี ขี อ้ หา้ มตา่ ง ๆ เชน่ หากพบไมไ้ ผท่ แ่ี ตกออกเปน็ ๒ ปาง (ตน้ ไผท่ ลี่ ำ� ตน้ แตกออกเปน็ ๒ กง่ิ ) พบต้นตะเคียนใหญ่ พบต้นหลุมพอใหญ่ พบโป่งหรือดินปลวกที่มีรอย วัวป่าเลียกิน พบตราบหรือแอ่งน้�ำที่มีรอยสัตว์ป่าลงแช่ปลักในพื้นที่ซ่ึงไป ถางปา่ นนั้ เชอ่ื วา่ สงิ่ เหลา่ นล้ี ว้ นแตม่ ผี เี ปน็ เจา้ ของทจี่ ะเขา้ ไปแตะตอ้ งไมไ่ ด้ ระหว่างที่ผู้ชายไปถางป่าอยู่น้ัน ห้ามไม่ให้คนท่ีอยู่ทางบ้าน จะนั่งขวางประตูไม่ได้ เพราะท�ำให้เป็นอันตรายแก่ผู้ที่ไปถางป่า ส่วนผู้ท่ี ไปถางป่าห้ามพูดจาทะลึ่ง ห้ามผิวปากในป่าเพราะเชื่อว่าเสือจะมาหา หา้ มเปา่ ปเ่ี พราะเชอ่ื วา่ ผถี อื วา่ ดา่ เมอ่ื มเี สยี งคนเรยี กหากไมท่ ราบวา่ เปน็ ใคร เรียกหาหา้ มขานรับ หากได้ยินเสยี งแปลก ๆ ห้ามทักทาย เม่ือเร่ิมลงมือ ถางป่าแล้วห้ามตัดผมและเปลี่ยนเสื้อผ้าชุดท�ำงานจนกว่าจะเสร็จ การถางป่า เพราะเชื่อว่าผีจะแปลกหน้าและจะแกล้งให้ไม้ล้มทับตาย และถ้าวันใดตรงกับวันธรรมสวนะ จะต้องหยุดถางป่าเพื่อไปวัดท�ำบุญ ทงั้ หมดนเี้ ป็นข้อปฏบิ ัตทิ ี่จะต้องถอื ปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัด เมื่อขณะถางป่า ชาวนาจะสับกิ่งไม้เป็นท่อน ๆ เพ่ือให้จุด ตดิ ไฟไดด้ ี เรยี กวา่ “ตรำ� พา” และเมอื่ ถางปา่ จนทวั่ พน้ื ทแ่ี ลว้ จะหยดุ ถางปา่ ระยะหน่ึง เพ่ือรอให้ก่ิงไม้และใบไม้ผุแห้งลง เรียกว่า “ตากพา” เมื่อได้ ระยะเวลาพร้อมที่จะเผาตากพาแล้ว ชาวนาก็จะเร่ิมการเผาตากพา
98 ข้าว ต้นธารอารยธรรมไทย โดยมักจะเริม่ เผาปา่ ในระยะเดือน ๔ ขา้ งแรม กอ่ นทจี่ ะเริ่มเผาป่า ๓ วนั ชาวนาจะเดนิ รอบไร่กล่าววา่ “ผ้งึ กา่ จง้ิ จก คางคก จิง้ เหลน มด แมลง งู เงีย้ ว เข้ียว ตะเขบ็ สตั วเ์ ล็กสตั วใ์ หญท่ อ่ี ยู่ในป่าแหง่ นข้ี อใหร้ ีบออกไปเสยี เราจะท�ำการเผาป่าใน ๓ วันทีจ่ ะถงึ นี”้ 6 ซึง่ ในระยะทีเ่ ว้น ๓ วนั นี้ ชาวนา จะเตรียมท�ำ “ลอ่ งไฟ” หรือกวาดใบไม้ทางทศิ ใต้ลมใหเ้ ตยี นเปน็ ทางเดนิ เพอื่ ไมใ่ ห้ไฟลามออกนอกเขตทต่ี ้องการ พอถึงเดือน ๗ ชาวนาก็จะเร่ิมท�ำข้าวไร่ต่อ โดยจะเก็บไม้ ท่ีไฟไหม้ไม่หมดมากองรวมเผาใหม่ เรียกว่า “เก็บปรน” เมื่อผ่านการ เก็บปรนแล้ว ชาวนาจึงตัดผมและเปลี่ยนเสื้อผ้าชุดใหม่ได้ แต่ก็มีข้อห้าม ส�ำหรับผทู้ ่ีจะเขา้ ไปในพื้นที่นาข้าวไรเ่ พ่มิ เติมขึน้ มา คอื ห้ามใช้มีดพรา้ หรือ ขวานสับฟนั ตดิ ไวท้ ่ตี อไม้ในไร่ เพราะเชือ่ ว่าจะท�ำให้ตอไม้ต�ำเทา้ หา้ มขึ้น ขย่มขอนหรือกิ่งไม้ในไร่ ห้ามลากไม้หรือหวายเข้ามาในไร่ เพราะเช่ือว่า ชา้ งปา่ จะเขา้ กนิ พชื ในไร่ หา้ มพดู สบประมาทเสอื ชา้ ง ลงิ เพราะเชอื่ วา่ สตั ว์ เหลา่ นน้ั จะเขา้ มาทำ� รา้ ยคนและพชื เนอ่ื งจากสตั วเ์ หลา่ นน้ั มผี คี อยดแู ลรกั ษา จะเป็นเหตุให้ผีที่รักษาสัตว์เหล่านั้นโกรธเคืองบันดาลให้สัตว์เหล่านั้นมา ท�ำร้ายได้ เมือ่ เสรจ็ ขั้นตอนเหล่านี้ ชาวนากเ็ รม่ิ ปลกู ขา้ วโดยวิธี “นำ่� ขา้ ว” เปน็ ขนั้ ตอนตอ่ ไป อนงึ่ ชาวนาทท่ี ำ� ขา้ วไรย่ งั มคี วามเชอื่ อกี อยา่ งหนง่ึ วา่ หากมสี ตั ว์ มากัดกินข้าวอย่าได้แสดงความอาฆาต ต้องพูดกล่าวแต่ถ้อยค�ำที่ดี ๆ ในลักษณะขอร้อง ซ่ึงจะมีความเชื่อในการป้องกันสัตว์ชนิดต่าง ๆ มา กัดกินข้าวแตกต่างกันออกไป ดงั น้ี 6 เรอื่ งเดยี วกนั , หนา้ เดมิ .
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300