Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทานชาดกอันดับที่4

นิทานชาดกอันดับที่4

Description: นิทานชาดกอันดับที่4

Search

Read the Text Version

๑๐๐ นิทานชาดกเล่มส ๕. ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม ดังเซ่น อนาถบิณฑิก เศรษฐี และเศรษฐีพระโพธิสัตว์เป็นตัวอย่างที่เห็นได้อย่างซัดเจนแล้ว ๖. ในการทำศวามดี ควรมีจิตตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว พร้อมที่จะ ฟันฝ่าอุปสรรคทงปวงที่ขวางกน พร้อมที่จะสละทุกสิ่งอันเป็นทรัพย์ ภายนอก ซึ่งได้แก่ ทรัพย์สินเงินทอง หรือแม้แต่ชีวิตเพื่อรักษาความดี อันเป็นอริยทรัพย์ไว้ เพราะเมื่อเราสิ้นชีวิตไปแล้ว ความดีน้นมิได้ สิ้นสูญไปด้วย แต่จะติดตามข้ามภพข้ามชาติไปส่งผลให้เราอีก อร'นๆยฟัฬท์ ขทิรังคารชาดก (อ่านว่า ขะ-ทิ-รัง-คา-ระ-ชา-ดก) ขทิร ไม้ตะเคียน อังดาร วิหาร ถ่านเพลิง โกฏิ วัด หรือที่อยู่ของพระภิกษุ ข้าวยาด ซื่อมาตรานับ เท่ากับ ๑๐ ล้าน ข้าวต้ม ไข้ข้าวที่ยังไม่แก่จัด ต้มจนเละ นตยภัต เป็นเนื้อเดียวกัน อาจผสมนมสดลงไป ด้วย นิยมถวายพระ เพื่อให็ดี่มแก้หิว มิจฉาทิฎฐ กระหายก่อนบิณฑบาต อาหารที่ถวายพระภิกษุสามเณรเป็น ประจำ ความเห็นผิดจากคลองธรรม ได้แก่ การที่มีความเห็นว่า ทำ ดีได้ชั่ว ทำ ชั่ว ได้ดี, บิดามารดาไม'มีพระคุณต่อเรา, นรกสวรรค็ไม'มี, บุญ บาป ไม'มี เป็นต้น

นิทานชาดกเล่มสี่ <S)0<S) amvi'รดๆ คือผู้ที่เกิดในเขตของตน ในวิมานของ ตนก็ถือว่าเป็นลูก นม่นๆอจิรวดี ชื๋อเฝนํ้าลายหนึ่งใน ๕ สายของอินเดีย โบราณ อยู่ใกล้เมืองลาวัตถื ฟ้าวบลายเกเยน ปลายข้าวขนาดเล็ก ฬระอริยบุคคล บุคคลผู้ห่างไกลจากกิเลส แบ'งออกได้ เป็น จำ พวก คือ พระผู้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติมรรคและพระผู้ ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล พระผู้ตั้งอยู่ในสกทาคามิมรรคและ พระผู้ตั้งอยู่ในสกทาคามิผล พระผู้ตั้งอยู่ในอนาคามิมรรคและพระผู้ ตั้งอยู่ในอนาคามิผล พระผู้ตั้งอยู่ในอรหัตมรรคและพระผู้ ตั้งอยู่ในอรหัตผล ฎ,ยยา0,กย99ม ธรรมอันเป็นเครื่องนำสัตว์ออกจาก วัฏสงสาร เทวคาฟ้เกษา'M9ะนค9 เทวดาที่มืบุญมาก คอยคุ้มครองผู้ที่ทำ ความดี ทํเาวจคมทา9าชทง ๔ เทวดาซนด้นซึ่งอยู่บนสวรรค์ซนที่ ๑ มื (T ท่าน มืหน้าที่ปกครองเทวดา ตั้งหลาย ทาวส์กรินท9เทว9าซ เทวดาผู้เป็นใหญ่ในสวรรค์ชนดาวดึงส์

๑๐๒ นิทานชาดกเล่มสี่ ราคะ หรือเรียกกันว่า ท้าวสักกะหรือพรร โทสะ อินทร์ โมทะ ความกำห'นัดยินดี ความโลภ อจซสๆ ความโกรธ ความ'ขุ่นเคือง ความคิด ทุทรอุ'ชฐๆก ประ'ทุษร้าย นโรรสมๆ'บัดิ ลภาวะหลงในอารมณ์ ความหลง ทระสัททัญผฺตญๆผ, ความโง'เขลา ทระโพรญๆณ, ความหลง ความเขลา ความไม่รู้ อรยสัจ cr ผู้คอยรับไซ้พระสัมมาสัม'คุทธเจ้าใน ครั้ง'ทุทธกาล มีพระอานนท์•พุทธอ\"นุชา เป็นผู้เลิศไนเรื่องนี้ การเซ้านิโรธ คือดับสัญญาความจำได้ หมายรู้ และเวทนาการเสวยอารมณ์ เป็นวิธี'ทักผ่อนของท่านผู้Iด้ญาณ ญาณอันเป็นเครื่องหยั่งรู้อุปนิสัย และ วาระจิตของสัตว์โลก'กั้งที่เป็นอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้ ความตรัสรู้ที่ ทำ ไ'ห้สำแจเป็นพระสัมมาสัม'แทธเจ้า

นิทานชาดกเล่มสี่ (ร)0๓ พระคาดา1Jระจำชาดก กามํ ปตามิ นิรยํ อุทฺธํ ปาโท อวํลิโร นานริยํ กริลฺสามิ หนุท ปีณฺฑํ ปฏิคฺคห ถึงแม้ข้าพเจ้าจะตกลงในหลุมนรท มีเท้าขึ้นเบื้องบน มีศีรษะลงเบืองล่างก็ตาม ข้าพเจ้าจักไม่กระทำกรรมอันไม่ประเสริฐเลย ขอเชิญท่านจงรับก้อนข้าวนีเถิด

๑๐(ร: \"นิทานชาดกคือคำสอนแบบเล่านิทานคติธรรม คืาว่า ขาตกหรือชาดกแปลว่า ผูเ้กิด คือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้า ทรงเวียนว่ายตายเกิด ถือเอากำเนิดในชาติต่าง ๆ ได้พบปะ ผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบาง แตกได้พยายามทำความดี ติดต่อกันมากบ้างบ้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้า ในชาติสุดบ้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง จะถือว่านิทานชาดก เป็นวีกัฒนาการ แห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของ พระพุทธเจ้า ตั้งแต่ยัง เป็นพระใพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ลาระล่าด้ญจึงอยู่ทคุณงามความดี ๆ_ และอย่ทีคติธรรมในนิทาน'' จใก พระไตรปีฎกฉบับสำหรับประชาชน

วิธีแกสมาธิเบื้องด้น สมาร คือความสงบ สบาย และ ซ้าย มือขวาทับมือซ้าย นี้วขึ้ขวาจรด ความรู้สิกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนนย์ ทัวแม่มือซ้าย นั่งให้อยู่ในจังหวะพอดี สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยคนเอง เป็นยิ่ง ไม่ตินร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับ ที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อ เกร็ง แต่อย่าให้หสังโด้งงอ หสับตาพอ ควรปฏิบัติเพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่าง สบายคล้ายกับกำสังพักผ่อนไม่บีบกล้าม เป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัม เนี้อดาหรือว่าขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น ปชัญญะ และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่ วางอารมณํเสบาย สร้างความรู้ลืกให้ เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ พร้อมทั้งกายและใจ ว่ากำสังจะเข้าไป ดังวิธีปฏิบัติที่ พระเดชพระคุณพระ ฝูภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง มงคลเทพมุนี {สด จนฺทสโร) หลวงพ่อ ๔. นึกกำหนตนีมิค เป็น\"ควงแก้ว วัดปากนํ้าภาษีเจริญได้เมดดาสังสอน กลมใส\" ขนาดเท่าแก้วดาดำ ใสสนิท พุ ^ ^ ปราศจากราคี หรือรอยดำหนิใดๆ ขาว ไวดังน 0. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็น ใสเย็นดาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว การเตรียมตัวเตรียมใจให้นุ่มนวลไว้เป็น ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมนิมิต เบื้องด้น แล้วสมาทานคืลห้าหรือคืล นึกสบายๆ นึกเหมือนดวงแก้วนั้นมา แปดเพื่อยํ้าความมั่นคงในคุณธรรมของ นิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่เจ็ด ตนเอง นึกไปภาวนาไปอย่างนุ่มนวลเป็นพุทธา ๒.คุกเข่าหรือนั่งพ้บเพียบสบายๆ นุสติว่า \"สัมมาอะระทัง\" หรือค่อยๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้กระทำแล้วใน น้อมนึกดวงแก้ว กลมใสให้ค่อยๆ เคลื่อน วันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไป ในอนาคตจนราวกับว่าร่างกายทั้งหมด เข้าฝูศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดย เริ่มด้นตั้งแต่ฐานที่หนิ่งเป็นด้นไป น้อม ประกอบขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณงามความ ด้วยการนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไป ดีล้วนๆ พร้อมๆ กับดำภาวนา ๓. นั่งขัคสมาธิ เท้าขวาทับเท้า อนิ่ง เมื่อนึมิดดวงใส และกลมสนิท

ปรากฏแล้ว ณ กลางกายให้วางอารมณ์ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สมาเสมอ สบายๆ กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่า เป็นประจำ ทำ เรื่อยๆ ทำ อย่างสบายๆ ดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ๋งของอารมณ์หาก ไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำ ไต้แค่ไหนให้พอใจ ดวงนิมิตนั้นอันตรธานหายไป ก็ไม่ต้อง แค่นั้นอันจะเป็นเครื่องสกัดกั้นมิให้เกิด นึกเสิยดาย ให้วางอารมณ์สบายแล้ว ความอยากจนเกินไปจนถึงกับทำให้ใจ นึกนึมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือ ต้องสูญเลึยความเป็นกลาง และเมื่อ เมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มิใช่ศูนย์ การปฏิบัติบังเกิดผลแล้ว ให้หมั่นดรืก กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามา ระลึกนึกถึงอยู่เสมอ จนกระทั่งดวงปฐม อย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มืการบังคับ มรรคกลายเป็นอันหนึ๋งอันเดียวกับลม และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณ ศูนย์กลาง หายใจ หรือนึกเมือใดเป็นเห็นไต้ทุกที กาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลาง อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะทำ ของดวงนิมิต ต้วยความรู้สิกคล้ายมิ ให้ชีวิตดำรงอยู่บนเล้นทางแห่งความสุข ดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ๋งข้อนอยู่ ความสำเร็จ และความไม่ประมาทไต้ ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจ ตลอดไป ทั้งยังจะทำให้สมาธิละเอียด เอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไป อ่อนก้าวหน้าไปเรื่อยๆ ไต้อีกต้วย เรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดไต้ถูกส่วน แล้วจากนั้นทุกอย่างจะค่อยๆ ปรากฏ ข้อควรระวัง ให้เห็นไต้ต้วยตนเอง เป็นภาวะของ 0. อย่าใข้กำสัง คือ ไม่ใข้กำลัง ดวงกลม ที่ทั้งใสทั้งสว่างผุดข้อนขึ้นมา ใดๆ ทั้งเน เช่นไม่บีบกล้ามเนี้อตา เพี่อ จากกึ๋งกลางดวงนิมิต ตรงที่เราเอาใจ จะให้เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่ ใส่อย่างสมื่าเสมอ เกร็งกล้ามเนี้อหน้าห้องไม่เกร็งตัว ฯลฯ ดวงนี้เรืยกว่า \"ควงธรรม\" หรือ เพราะการใข้กำลังตรงส่วนไหนของ \"ดวงปฐมมรรค\"อันเป็นประตูเบื้องต้น ร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนจาก ที่จะเป็ดไปส่หนทางแห่งมรรคผลนิพ- ศูนย์กลางกายไปส่จุดนั้น พาน การระลึกนึกถึงนิมิด หรือดวงปฐม ๒.อย่าอยากเห็น คือทำใจให้เป็น มรรคสามารถทำไต้ในทุกแห่งทุกที่ ทุก กลาง ประคองสติมิให้เผลอจากบริกรรม อีรืยาบถ เพราะควงธรรมนี้คือที่พึ่งอัน ภาวนาและบริกรรมนิมิต ส่วนจะเห็น เป็นที่สุคนล้วชองมนุนย์ นิมิตเมื่อใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลา

ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ฐาน {หญิงข้างซ้าย ฐานที่ ๑ ปากซ่องจยูก ชายข้างขวา ฐานที่ ๒ เพลาตา {หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา ฐานที่ ๓ จอมประสาท ฐานที่ ๔ ซ่องเพดาน ฐานที่ ๕ ซ่องปากลำคอ ลูานที่ ๖ ศนย์กลางกายระดับสะดือ ฐานที ๗ สูนยกลางกายทีดังจิตถาวร ภาพแสดงที่ตั้งจิตทั้ง ๗ฐาน {หญิงข้างซ้าย ฐานที่ ๑ ปากซ่องจยูก ชายข้างขวา ฐานที่ ๒ เพลาตา {หญิงข้างข้าย ชายข้างขวา ฐานที่ ๓ จอมประสาท ฐานที่ ๔ ซ่องเพดาน ฐานที่ ๕ ซ่องปากลำคอ !ฐานที ๖ สูนยกลางกาไย1ระด.ับฯส.ะด^ื.อ ฐานที่ ๗ ศูนย์กลางกายที่ตั้งจิตถาวร

แล้วย่อมเห็นเอง การบังเกิดของดวง จะได้เป็นการพักผ่อนหลังจากการ นิมิดนั้น อุปมาเสมือนการขึ้นและตก ปฏิบัติหน้าที่ภารกิจประจำวัน โดยไม่ ของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ ปรารถนาจะทำให้ถืงที่สุดแห่งกอง'ทุกข์ ๓. อย่ากังวลถึงการกำทนดฟิม ยังติดอยู่ว่าการอยู่กับบุตรภรรยาการ หายใจเข้าออก เพราะการแกสมาธิ มิหน้ามืตาหางโลก การท่องเที่ยวอยู่ใน เจริญภาวนาวิชชาธรรมกาย อาด้'ย วัฏฏสงสาร เป็นสุขกว่าการเข้านิพพาน การเพ่ง \"อาโลกกสิณ\" คือกสิณความ เสมือนทหารเกณ'ท์ที่ไม่ติดจะเอาติใน สว่าง เปีนบาทเบื้องด้น เมื่อเกิดนิมิต ราชการอีกต่อไปแล้ว เป็นดวงสว่างแล้วค่อยเจริญวิปัสสนา การแกสมาธิเบื้องด้นเท่าที่กล่าว ในภายหลัง จึงไม่มืดวามจำเป็นด้อง มาตั้งหมดนี้ก็พอเป็นปัจจัยให้เกิดความ กำ หนดลมหายใจเข้าออกแต่ประการใด สุขได้พอสมควร เมื่อซักซ้อมปฏิบัติอยู่ ๔. เมือเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ เสมอๆ ไม่ทอดทิ้ง จนได้ดวงปฐมมรรค ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายที่เดียวไม่ว่าจะ แล้ว ก็ให้หมั่นประคองรักษาดวงปฐม อยู่ในอิริยาบถใดก็ตาม เซ่นยืนก็คื เดิน มรรคนั้นไว้ตลอดซีวิด และอย่ากระทำ ก็ดิ นอนก็ดิ หรือนั่งก็ดี อย่าย้ายฐานที่ ความชั่วอีก เป็นอันมั่นใจได้ว่าถึงอย่างไร ตั้งจิตไปไว้ที่อีนเป็นอันขาด ให้ตั้งใจ ชาตินี้ ก็พอมืที่พื่งที่เกาะที่ดีพอสมควร บริกรรมภาวนา พร้อมกับนิกถึงบริกรรม คือเป็นหลักประกันได้ว่าจะไม่ด้องตก นิมิตเป็นดวงแก้วใสควบคู่กันตลอดไป นรกแล้วตั้งชาตินี้ และชาติต่อๆ ไป ๕. นิมิตด่าง'7 ที่เกิดขึ้นจะต้อง น้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกาย'ตั้งหมด ถ้า ประโยชน์ของการแกสมาธิ นิมิตที่เกิดขึ้นแล้วหายไป ก็ไม่ด้องตาม 0. ผลด่อดนเอง หาให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ 0.0 ต้านสุขภาพจิต ในที่สุดเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฏ - ล่งเสริมให้คุณภาพของใจติขึ้น คือ ขึ้นใหม่อีก ทำ ให้จิตใจผ่องใส สะอาด บริสุหธึ๊ สงบ ลัาหรับผู้ที่นับถือพระพุหธศาสนา เยือกเย็น ปลอดโปร่ง โล่ง เบา สบาย เพียงเพื่ออาภรณ์ประดับกาย หรือเพื่อ มืดวามจำ และสติปัญญาดีขึ้น เป็นพีธิการชนิดหนึ่ง หรือผู้ที่ด้องการ - ล่งเสริมสมรรถภาพหางใจ ทำ ให้ แกสมาธิเพียงเพื่อให้เกิดความสบายใจ คิดอะไรได้รวดเร็วถกด้อง และเลือก

คิดแต่ในสิงที่ดีเท่านั้น เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประ 0.๒ ด้านพัฒนาบุคลิกภาพ โยชน์ส่วนตัว ย่อมเป็นผู้มีส์'มมาคารวะ - จะเป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉับ และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน กระเฉง กระปรี้กระเปร่า มีความองอาจ สง่าผ่าเผย มีผิวพรรณผ่องใส ๒. ผลต่อครอบครัว - มีความมั่นคงทางอารมณ์ หนัก ๒.© ทำ ให้ครอบครัวมีความสงบสุข แน่น เยือกเย็นและเชื่อมั่นในคนเอง เพราะสมาซิกในครอบครัวเห็นประ - มีมนุษยส์'มพันธ์ดี วางตัวได้ โยชน์ชองการประพฤติธรรม ทุกคนทั้ง เหมาะสมกับกาลเทศะเป็นผู้มีเสน่ห์ มั่นอยู่ในดีล ปกครองกันด้วยธรรม เพราะไม่มักโกรธ มีความเมคตากรุณา เด็กเคารพผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เมตตาเด็กทุก ต่อบุคคลทั่วไป คนมีความรักใคร่ลามัคดีเป็นนั้าหนื่งใจ ©.๓ ด้านชีวิตประจำวัน เดียวกัน - ช่วยให้คลายเครียด เป็นเครื่อง ๒.๒ ทำ ให้ครอบครัวมีความเจริญ เสริมประสิทธิภาพในการทำงาน และ ก้าวหน้า เพราะสมาซิกต่างก็ทำหน้าที่ การสืกษาเล่าเรียน ชองตนโดยไม่บกพร่อง เป็นผู้มีใจคอ - ช่วยเสริมให้มีสุขภาพร่างกาย หนักแน่น เมี่อมีปัญหาครอบครัวหริอมี อุปสรรคอันใด ย่อมร่วมใจกันแก้ไช แข็งแรง เพราะร่างกายกับจิตใจย่อม ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ มีอิทธิพลต่อกันถ้าจิตใจเข้มแข็งย่อม เป็นภูมีด้านทานโรคไปในตัว ©.๔ ด้านสืลธรรมจรรยา ฅ. ผลต่อสังคมและประเทศชาติ - ย่อมเป็นผู้มีส์'มมาทิฏฐิ เชื่อกฎแท่ง เท.© ทำ ให้สังคมสงบสุข ปราศจาก กรรม สามารถคุ้มครองตนให้พ้นจาก ปัญหาอาชญากรรม และปัญหาสังศม ความชั่วทั้งหลายได้ เป็นผู้มีความ อื้นรุ เพราะปัญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นใน ประพฤติดี เนื่องจากจิตใจดี ทำ ให้ความ สังคม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการฆ่า การ ประพฤติทางกายและวาจาดีตามไปด้วย ช่มขืน โจรผู้ร้าย การทุจริตคอรัปชั่น - ย่อมเป็นผ้มีความมักน้อย สิ'นโคษ ล้วนเกิดขึ้นมาจากคนที่ชาดคุณธรรม รักสงบและมีขันติเป็นเลิศ เป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอหวั่นไหวต่ออำนาจ สิงยั่วยวนหริอกิเลสได้ง่าย ผู้ที่ผิกสมาธิ ย่อมเป็นผ้มีความเอื้อเฟ้อเผื่อแผ่

ย่อมมีจิตใจเข้มแข็ง มีคุณรรรมโนใจสูง หนักแน่น มีเหตุผลและเป็นผู้รักสงบ ถ้าแต่ละคนในสังคมต่างแกฝนอบรมใจ ของตนให้หนักแน่น มั่นคงปัญหาเหล่า ๔. ผลต่อศาสนา นี้ก็จะไม่เกิดขึ้นล่งผลให้สังคมสงบสุขได้ ๔.© ทำ ให้เข้าใจพระพุหธศาสนาได้ ท.๒ ทำ ให้เกิดความมีระเบียบวินัย อย่างถูกด้อง และรู้ขึ้งถึงคุณค่าของ พระพุทซศาสนารวมทั้งรู้เห็นด้วยดัวเอง และเกิดความประหยัด ผู้ที่แกใจให้ ดีงามด้วยการทำสมาธิอยู่เสมอ ย่อม ว่าการแกสมาธิไม่ใช่เรื่องเหลวไหล หาก เป็นผู้รักความมีระเบียบวินัย รักความ แต่เป็นวิธิเดียวที่จะทำให้พ้นทุกข์เข้าล่ สะอาด มีความเคารพกฎหมายของบ้าน นิพพานได้ เมีอง ดังนั้นบ้านเมีองเราก็จะสะอาด ๔.๒ ทำ ให้เกิดศรัทธาดั้งมั่นในพระ น่าอยู่ไม่มีคนมักง่ายทิ้งขยะลงบนพื้น รัตนตรัย พร้อมที่จะเป็นทนายแก้ต่าง ถนน จะข้ามถนน ก็เฉพาะตรงทางข้าม ให้กับพระศาสนาอันจะเป็นกำสังล่าดัญ เป็นด้น เป็นเหตุให้ประเทศชาติไม่ด้อง ในการเผยแผ่การปฏิบัติธรรม ที่ถูก สินเปลืองงบประมาณ เวลา และ ด้องให้แพร่หลายไปอย่างกว้างขวาง กำ สังเจ้าหน้าที่ ที่จะไปใข้ล่าหรับแก้ ๔.ท เป็นการสับอายุพระพุทธ- ศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองดลอดไป เพราะ ปัญหาที่เกิตขึ้นจากความไม่มีระเบียบ ตราบใดที่พุทธศาสนิกซนยังสนใจปฏิบัติ วินัยของประขาซน ท.ท ทำ ให้สังคมเจริญก้าวหน้า เมื่อ ธรรมเจริญภาวนาอยู่พระพุทธศาสนา สมาซิกในสังคมมีสุขภาพจิตดี รักความ ก็จะเจริญรุ่งเรืองอยู่ตราบนั้น เจริญก้าวหน้า มีประสิทธิภาพในการ ๔.๔ จะเป็นกำสังส่งเสริมหะนบำรุง ทำ งานสูง ย่อมล่งผลให้สังคมเจริญก้าว ศาสนา โดยเมื่อเข้าใจซาบขึ้งถึงประ หน้าตามไปด้วย และเมื่อมีกิจกรรมของ โยชน์ของการปฏิบัติธรรมด้วยตนเอง ล่วนรวม สมาซิกในสังคมก็ย่อมพร้อม แล้วย่อมจะซักซวนผู้อื่นให้ทำทาน ที่จะสละความสุขล่วนตน ให้ความ รักษาดีล เจริญภาวนาดามไปด้วย และ ร่วมมีอกับล่วนรวมอย่างเต็มที่ และถ้า เมื่อใดที่ทุกศนในสังคมตั้งใจปฏิบ้ดีธรรม มีผู้ไม่ประสงค์ดีต่อสังคม จะมายุแหย่ให้ ทำ ทานรักษาสืล และเจริญภาวนา เมื่อ เกิดความแตกแยกก็จะไม่เป็นผลล่าเร็จ นั้นย่อมเป็นที่หวังได้ว่าสันติสุขที่แท้จริง เพราะสมาซิกในสังคมเป็นฟ้มีจิตใจ ก็จะบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน

บรรณานุกรม • พระไตรป็ฎกภาษาไทย ฉบบหลวง (กรุงเทพฯ, กรมการศาสนา, ๒๕๒๕) เป็นพระไตรปิฎกฉบับแปลจากภาษาบาลีที่สมบูรณ์ฉบับ แรกในประเทศไทย มีความสำคัญอย่างยิ่งโนการสืกษาค้นคว้าทาง พุทรศาสนาในส่วนที่เป็นชาดกจะมีเฉพาะพุทธพจน์หรือคำสุภาษิต สํนๆ เป็นเนื้อหาธรรมะล้วนๆ ผู้อ่านจำเป็นต้องมีความรู้พี้นฐาน ทางศาสนา แสะภาษาบาลี ใ'รเป็นหลักในการค้นคว้าของนักคักษา วิชาการศาสนา • พระคัมภีร์ชาดกแปล ฉบับ ส.อ.ส. (พระนคร, โรง\"ศิมพ์ยิ้มศรี, ๒๔๙๓)เป็นฉบับแปลจากภาษาบาลี ซึ๋งแต่งโดยพระพุทธโฆษาจารย์ พระเถระ ชาวอินเดีย เมื่อประมาณ พ.ศ. ๙00โดยนำพุทธพจน์ใน พระไตรปิฎกมาชยายความเป็นอรรถกถาให้อ่านเข้าใจง่ายขึ้น • พระสูตรและอรรถกถาแปล ของมหามกุฏราชวิทยาลัย(กรุงเทพฯ เฉลิมชาญการพิมพ์, ๒๕๒๖) เป็นฉบับแปลจากภาษาบาลีชองพระ พุทธโฆษาจารย์เซ่นเดียวกับคัมภีร์ชาดกฉบับ ส.อ.ส. แต่เป็นอีก สำ นวนหนึ่ง • พระเจ้า ๕00 ชาติ โดยซุย แสงฉาย (กรุงเทพฯ, สำ นักพิมพ์ ส.ธรรมภักดี, ๒๕0๔) แปลจากพระไตรปิฎก และอรรถกถาต่างๆ เรียบเรียงเป็นคำเทศน์แบบสรุปเอาความโดยย่อใข้ภาษาอ่านเข้าใจ ง่าย แต่รายละเอียดถูกตัดทอนไปมาก • ชีวประว้ติพุทธลาวก (ประวัติอัจฉริยะเถระ)โดย จำ เนียร ทรงฤกษ์ (กรุงเทพฯ, มูลนีธิอภีธรรมมหาธาตุวิทยาลัย, ๒๕๒๕) เป็นหนังสือ รวบรวมประว้ตโดยละเอียดชองพระอรหันตสาวกที่เป็นกำลังสำคัญ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยปฐมโพธิกาล

การเดินทางไปวัด รถประจำทาง รถประจำทางหลายสายสุดทางที่รังสิต (สาย ๒๙, ต๔, ๓๙, ปอ.รอ, ปอ.รต) จากรังสิตมีรถเมล์สาย 000๘ ไปถึงคลองสาม รถส่วนตัว ใช้เวลาประมาณ ๔๕ นาที จากอนุสาวรีย์ซัยสมรภูมี วันอาทิตย์ธรรมดา วันอาทิตย์ต้นเดือน และวันสำคัญทางศาสนา มีรถออกจาก - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถจอดหน้าป้ม ปดท. ใกล้ ททบ.๕ ถนนพหลโยธิน รถออก เวลา ๖.00-๘.00 น. - สนามหลวง รถจอดหน้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้านตรงข้ามสนามหสวง วันอาทิตย์ธรรมดา รถออก ๗.ตอ น. วันอาทิตย์แรกของเดือน รถออกเวลา ๗.ออ-๘.ออ น. - มหาวิทยาลัยรามคำแหง รถจอดหน้าตึกอรการบดืรถออกเวลา ๗.ตอ น. - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน รถจอดระหว่างหอประชุมและสระนํ้าใน มหาวิทยาลัย ด้านถนนพหสโยธิน รถออกเวลา ๗.ตอ น. •*-. _วัดพระธรรมกาย *5^ หากท่านต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ แผนกจราจร สำ นักบริการกลาง วัดพระธรรมกาย โทร. £๒๔-๐๒๕๗-๖ฅ ต่อ ๒๐๒๔,๒๐๒๕

^I^ #■^ M Pl^' '^^'''c^: นิทาน■ชาดก เป็นสมบัติลํ้าค่าของซาวพุทธ นิทานใทดn มิใช่เรื่องที่แต่งขึนเพื่อสอนคุณธรรม แต่นิทานซาดท คือเรื่องในอดีตซาติของพระสัมมาส้มพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรงแสดงแก่พระภิกษุในโอกาสต่าง เพื่อเป็นแบบแผนในการทำความดี ผู้อ่านหรือฟิงนิทานซาดก จึงควรอ่านหรือ ฟ้งด้วยความพิจารณา และในที่สุด นำ หสักธรรมที่ได้ ไปใช้เป็นคุณประโยซน์แก่ตนเองและผ้อื่น ISBN 974-89321-3-3 9 789748 932132


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook