Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทานชาดกอันดับที่4

นิทานชาดกอันดับที่4

Description: นิทานชาดกอันดับที่4

Search

Read the Text Version

(ร*^',^'' /AVtftf

นิทานชาดก Iciu ๔ พระธรรบเทศนาของ พระกาวนาวิรยคุณ (เผด็จ ทตฺตBโว) รองเจาอาวไสวัดเข่ระธรรบกาย จ.ป่ทบธานี ขอมอบเป็นธรรมบรรณาการ

นิฑานขาดก เล่ม ๔ พระธรรมเทศนาของ พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี จัดพิมพ์และพิมพ์โดย ๑๐(ร:/๑๙-๒๑ ถนนนเรศ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ๑๐๕๐๐ โทร.๒๓๓๐๓๐๒-(ร: โทรสาร ๒๓(๙(ร:๙ร:(^ จัดจำหน่ายโดย บริษัท บีเอน!ค Ufilcf จำ กัด 03:๖ ถนนลี่พระยา แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ๑๐๕๐๐ โทร.๒๓(ร:๐๓ร:๐-๑ โทรสาร ๒๓(๙(ร:๐๙(ร: ธนาณ้ติสั่งจ่าย \"บริษัท ปีเอ็นเด ปัคส์ จำ กัด\"ป.ณ.กลาง ลิขลิทธิ้เป็นของมูลนิธิธรรมกาย ISBN 974-89321-3-3 ราคา cyo บาท 007-2-0142-3000

: ■; .

คำ ปรารภ คนในโลกนี้อยากทำดี อยากเป็นคนดีทุกคน แต่เพราะเหตุ ที่ไม่มีต้นแบบดีๆ เป็นแบบอย่าง จึงต่างคิดหามาตรฐานทำความดี ต่างๆ กันไป ที่พอมี{[ญญาก็ทำดีถูกวิธีไต้ลร้างลมความดีเป็นบารมี เพิ่มพูนติดตัวไป ไม่เลียทีที่ไต้เกิดมาเป็นคน แต่ที่มี'กัญญาน้อย เห็นผิดเป็นชอบก็หลงทาง ขาดทุนไปชาติหนึ่ง ต้วยเหตุนี้เราจึงควรศึกษาต้นแบบการทำความดีจาก \"ชาดก\" แม้ว่ามีบางเรื่องที่เป็นนิทานพื้นบ้านปนเปเข้ามา แต่กระนั้นก็ดีเรา ก็น่าจะศึกษาชาดกไนต้านที่เป็นวัฒนธรรมชาวพุทธ แทนที่จะตั้งข้อ กังขาไนเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อเดีอนมิถุนายน พ.ศ. ๒(รr๒๙ ระหว่างที่เดินทางไปยุโรป และประเทคอังกฤษ อาตมภาพไต้มีโอกาสพบปะ สนทนากับ อาจารย์ทางปรัชญาไนมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด แสะเคมบริดจ์ หลายท่านศาสตราจารย์ทำนหนึ่งไดีไห้ข้อคิดว่า ทำ นไต้ทราบข่าวว่าขณะนี้พระภิกษุไทยและพุทธคาสนิก-ชน ชาวไทยไม่สนไจชาดก เนึ่องจากเพราะไต้พบว่า บางเรื่องมีนิทาน พื้นบ้านมาปะปนอยู่ต้วย เดี๋ยวนี้!ครพูดถึงชาดกทำไห้รู้สึกว่าเป็น เรื่องครํ่าครึ งมงาย ดังใfนท่านจึงขอฝากเตือนใจว่า คนที่คิดอย่างนี้นั้นแหละ งมงาย เพราะถ้าเราเรียนแต่ทฤษฎีล้วนๆ เราก็ได้แต่ท่องจำเป็น เพียงความรู้ดิบ ความรู้เกิดจากการจำนั้นไม่สามารถนำมาใช้งาน

อย่าว่าแต่จะไปสอนลูกหลานเลย แม้แต่จะนำมาลอนตัวเองก็ไม่ได้ ความรู้ทางทฤษฏีเช่นนี ผู้เป็นครูบาอาจารย์ ด้องลองแล้วลองอีก กว่าจะได้ความรู้สุกๆ ขึน้ มา ก็ผ่านการลองชนิดผิดๆ ถูกๆ มาเสีย มากต่อมาก แต่ล้ามีเรื่องราวประกอบ ก็จะมองเห็นวิธีการนำ ทฤษฏีมาใช้เปลี่ยนจากนามธรรมเป็นรูปธรรม ได้ชัดเจนขึ้น ท่านคาลตราจารยํได้ยกตัวอย่างถึงนิทานอีลป ซึ่งเป็นเรื่อง ไม่จริง ก็ยังเอามาลอนคนได้ ส่วนนิทานชาดกเป็นวัฒนธรรมขาว พุทธเป็นแบบแผนในการทำความดี เป็นเครื่องรนยัน การเวียนว่าย ตายเกิด ชาวพุทธเองยังเมินไม่เอาใจใลใยดี เป็นการดูถูกคำลอน ของพระสัมมาส้มพุทธเล้า และดูถูกตัวเอง ดังนั้นอาตมภาพจึงใคร่ขอให้เราลองพิจารณาความหมาย และคุณค่าของนิทานชาดก ซึ่งเป็นสมบัติทางปั'ญญาอันลาค่าของ ชาวพุทธ ใหถี่ถ้วนและรอบคอบ นิทาน แปลว่า เหตุเป็นเครื่องมอบใใงซึ่งผล, มูลเค้า, เรื่อง เดิม, สมุฏฐาน ชาดก แปลว่า ประว้ติการทำความดีของพระสัมมาสัมพุทธเค้า ที่มีมาในชาติก่อนๆ นิทานชาดก มิใช่เรื่องที่แต่งขึ้นเพื่อลอนคุณธรรม แต่นิทาน ชาดก คือ เรื่องในอดีดชาติของพระสัมมาสัมพุทธเค้า ที่พระองค์ ทรงแสดงแก่พระภิกษุในโอกาสต่าง ๆ บางครั้งก็เพื่อแสดงภูมิหสัง ของผู้ที่พระองค์ต้องการแสดงธรรมให้ฟัง บางครั้งก็เพื่ออธิบาย เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น เมื่ออ่านนิทานชาดก นอกจากจะไต้ทราบเหตุการณ์ต่าง ๆ

แล้วเรายังได้ทราบอุปนิสัยใจคอของบุคคล ในแง่มุมที่เราอาจนึกไม่ ถึงว่าจะมีหรือเป็นไปได้อีกด้วย ไม่เพียงแต่เท่านี้ เรายังทราบอีกว่า ทำ ไมเขาจึงเป็นเช่นนี้น และพระพุทธองค็ได้ทรงช่วยเหลือเขา อย่างไรบ้าง ในวัฏสงสารอันยาวนานนับภพนับชาติไม่ถ้วนนี้ พระพุทธ- องค์ เมื่อครั้งดำรงพระชนม์เป็นพระโพธิสัตว์ ได้เวียนว่ายตาย เกิดเป็นมนุษย์บ้าง พลาดพลั้งไปเป็นสัตว์เดียรัจฉานบ้าง แต่ก็ ได้ประกอบคุณงามความดีมาทุกภพทุกชาติ จนกระทั่งได้มาเป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพระชาติสุดท้าย ผู้ที่อ่านหรือฟังนิทานชาดก จึงควรอ่านหรือฟังด้วยความ พิจารณา และในที่สุด นำ หสักธรรมที่ไดํไปใช้เป็นคุณประโยชน์แก่ ตนเองแสะผู้อื่น จึงจะถึอว่าถูกด้อง ส่วนความสนุกสนานเพลิดเพลิน นั้น ใหถือว่าเป็นเพียงผลพลอยได้เท่านั้น จึงจะนับว่าได้ประโยชน์ จากนิทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไวีให้แล้วอย่างแท้จรืง ๑ มโ!ร!คม ๒๕๓๑

คำ นำ ในระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕:๒๗ ถึงต้นปี ๒๕:๒ร? หลวงพ่อ ทัตตซีโว ไต้นำ นิทานชาดก มาแสดงพระธรรมเทศนาทุกบ่าย วันอาทิตย์ ติดต่อกันเป็นเวลากว่า ๑ ปี การเล่านิทานชาดกของ หลวงพ่อมิไต้เป็นเพียงการเล่าเรื่องลู่กันฟั'งอย่างเดียวเท่านั้น แต่ ท่านไต้อธิบายลรุบ่ และวิเคราะห์ชาดกเรื่องนั้นๆ ทั้งยังไห้ข้อคิด จากชาดกอันเป็นบ่ระโยชน์ต่อผู้ฟั'งอย่างยิ่ง ทำ ไห้การพี'งพระธรรม เทศนาเป็นเรื่องที่ต้องติดตามพี'ง ติดต่อกันทุกสับ่ดาห์ ผู้พี'งต่าง จดบันทึกเอาไว้เพื่อจะไต้อ่านอีกไนภายหลัง อาทิตย์ไดที่มิไดีไบ่วัด ทำ ไห้ต้องพลาดเรื่องชาดกก็จะต้องติดตามขออ่านจากบันทึก ของ กัลยาณมิตรที่ไต้บันทึกไว้ กาลเวลาผ่านไบ่ ผู้ที่เคยพีงนิทานชาดก ยังคงระลึกถึงเรื่องราว ที่ลนุกลนานของชาดก แม้จะไต้มีการนำนิทานชาดกหลายเรื่องมา เรียบเรียงไหม่ ลำ หรับนักอ่านรุ่นเยาว์ แต่หลายคนยังคงระลึกถึง ต้นเรื่อง ที่หลวงพ่อไต้แลดงพระธรรมเทศนาไว้ นิทานชาดก ที่บริษัท กราพีคอาร์ต 28 จำ กัด ไดีรับอนุญาต ไห้นำมาจัดพีมฟไนครั้งนี้ เป็นการรวมหัวข้อนิทานชาดก ที่หลวงพ่อ เทศน์ทั้งหมด เรียงลำดับไนอรรถกถา จากวรรค ๑ ถึงวรรค ๗ และ เพื่อความเหมาะลมไนการจัดพีมพ์ จึงไต้แยกพิมพ์เป็น ๗ เล่ม บริษัท กราพีคอาร์ต 28 จำ กัด ขอกราบขอบพระคุณหลวงพ่อ ทัตตซีโว ที่ไต้อนุญาตไห้จัดพิมพ์หนังลือเล่มนี้ขึ้น



นทานซาดก ๑๐๙ เล่ม ๔ โมรนัจจชาดก ส์โมโมทมานชาดก มัจฉชาดก วัฏฏกชาดก สกณชาดก ติตติรชาดก พกชาดก นันทชาดก ขทิรังดารชาดก วิธี ผกสมาธิ

โมรนัจจชาดก ชาดกว่าด้วยความไม่ร้จักละอายต่อบาป สถานทีดเ■สชาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเฬดุฑึ่ตรัสชาดก ในสมัยพุทธกาล มีพระภิกษุรูปหนึ่งซึ่งเมื่อครั้งยังเป็น ฆราวาสมีฐานะดี เคยมีภรรยามาแล้วครั้นภรรยาตายก็ออกบวช

นิทานชาดกเล่มสี่ ๑๑ พื้นนิสัยของพระภิกุษุรูปนี้ตั้งแ(ส่เมื่อครั้งยังเป็นฆราวาส จัดเป็นคนประเภทหยิบโหย่ง เวลาเจองานหนักใจก็ไม่สู้เลียแล้ว อย่างที่มักเรียกว่า พวกเหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ หรือพวกเหลือการเบา ยิ่งกว่านั้นยังเป็นคนว่ายากสอนยาก เวลาถูกใครตักเตือนก็มักโกรธ แต่อย่างไรก็ตาม นิสัยที่เป็นส่วนดีก็ยังมีอยู่บ้าง คือมีความ ศรัทธาในพระพุทธศาสนา สนใจทำบุญให้ทานอยู่เสมอ เมื่อได้ฟัง พระธรรมเทศนาซองพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ก็เกิดความเลื่อมใส ศรัทธาจึงออกบวช แต่โดยนิสัยกลัวความลำบากมาตงแต่ต้น ตังนั้นก่อนบวช จึงได้จัดเตรียมเครื่องอำนวยความสะดวกสำหรับตนไว้อย่างพรักพร้อม คือจัดการสร้างกุฏิไว้อย่างดี มีโรงครัวและโรงอบสมุนไพรไว้ใช้เป็น การส่วนตัวโดยเฉพาะ สะสมของกินของใช้ เครื่องนุ่งห่มไว้มากมาย หลายสำรับ มิหนำชํ้ายังเรียกคนรับใช้มาคอยปรนนิปติเมื่อท่าน บวชแล้วอีกด้วย เพื่อนพระภิกษุด้วยกันเห็นท่านสะสมบริขารไว้มาก ผิดวิสัย สมณะซึ่งจำกัดให้มีเพียง อฐับริขาร เท่านั้น ก็พากันตำหนิและ ตักเตือนแต่โดยดี แต่ท่านกสับโกรธและโต้เถียงไม่ลดละ พระภิกษุ 1 , , , , 7, H r I , 11 เหล่านนเห็นว่า ถ้าขืนปล่อยไว้อย่างนีต่อไปก็จะเป็นตัวอย่างทีไม่ดี แก่^นและนำความเสื่อมเลียมาส่หมุ่สงฆ์ จึงพากันฉุดรั้งตัวท่านไป เฝ่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระบรมศาสดาทรงช้กถามได้ความโดยตลอดแล้ว ทรงตำหนิ ชำ อีกและตรัสเตือนว่า

๑๒ นิทานชาดกเล่มสี่ \"ดูก่อนภิกษุ เธอมาบวชในคาสนาของเราแล้ว เหตุไฉน จึงสะสมบริขารมากมายเช่นนี้เล่า ไม่เป็นการสมควรเลย\" พระภิกษุรูปนั้นได้ยินพระพุทธดำรัสแล้วแทนที่จะไสัคิด กลับโกรธพลุ่งพล่านขึ้นมาทันที พร้อมกับผลุดลุกขึ้นยืน กระซาก จีวรเครื่องนุ่งห่มออกจากตัวจนหมดสิ้น ยืนเปลือยกายอยู่ต่อหน้า พระบรมศาสดา ท่ามกลางหมู่สงฆ์และอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย พร้อมทั้งพูดด้วยอารมณ์ฉุนเฉียวว่า \"ถ้าเช่นนี้น ต่อไปนี้ข้าพระพุทธเจ้าจะอยู่ตัวเปล่า ๆอย่างนี้ แหละ!\" คนทั้งหลายเห็นกิริยาหยาบคาย ที่พระภิกษุรูปนั้นแสดงต่อ พระบรมศาสดา ก็โกรธแค้นพากันกล่าวคำบริภาษขึ้นด้วยความ เกลืยดชัง พระภิกษุผูไม่มี หิริ โอตตัปปะ ไม่อาจทนสู้หน้าอยู่ได้ ก็สึกเสียในวันนั้น แล้วเดินเปลือยกายโทง ๆ ออกจากพระเซตวัน มหาวิหารไป หลังจากวันนั้นแล้ว พระภิกษุทั้งหลายยังคงสนทนาติเตียน พระภิกษุผู้นั้นด้วยความสลดใจว่า \"ทำไมหนอ คนเช่นนี้จึงยังคงมีอยู่ในโลก อุตล่าห์เกิดมาพบ พระสัมมาล้มพุทธเจ้า พบพระรัตนตรัยแล้ว ยังเจ้าอารมณ์ดื้อด้าน หยาบคาย จะสะด้งกสัวต่อบาปแม้สักนิดก็ไมมีต่อหน้าพระบรม คาสดาแท้ๆ ยังทำได้ถึงเพียงนี้\"

นิทานชาดกเล่มสี่ ๑๓ ขณะนั้น พระสัมมาส้มพุทธเจ้าเสด็จมายังที่ประชุม ทรงถาม ถึงเรื่องที่พระภิกษุกำสังสนทนากันอยู่ ครั้นทรงทราบความแล้ว จึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณแล้วตรัสว่า \"ดก่อน ภิกษุทั้งหลายภิกษุรปนื้มิใช่จะเสื่อมจากพระรัตนตรัยๆ ข^ 93/ เฉพาะชาตินเท่าทั้น แม้เมื่อชาติก่อนก็เคยเสื่อมจากลาภที่จะได้ นางแก้ว เพราะขาดหิริ โอตตัปปะเหมือนก้น\" แล้วพระพุทธองค์ทรงนำ โมรนัจจซๆดก มาตรัสเล่าดังนี้ เนอหๆซๆดก ในอดีตกาลเมื่อครั้งด้น ๆ กัป โลกนี้มีแต่ความร่มรื่น สวยสด งดงาม อุดมไปด้วยพืชพันธุธัญญาหาร หมู่สัตว์อยู่ร่วมกันอย่างมี ระเบียบวินัย มีความเคารพซึ่งกันและกัน ในครั้งนั้นราชสีห์เป็น หัวหน้าของสัตว์ลี่เท้าทั้งหลาย ปลาอานนท์เป็นหัวหน้าของปลา ทั้งหลาย และพญาหงส์เป็นหัวหน้าของบรรดานกทั้งหลาย พญาหงส์ทองนั้นมีลูกสาวอยู่ตัวหนึ่ง รูปร่างและสีสันของ นางสวยงามเป็นที่เลื่องลึอ กิริยามารยาทอ่อนช้อย เรียบร้อยและ สง่างามสมเป็นธิดาพญาหงส์ เมื่อนางเจริญวัยสมควรจะมีคู'ได้แล้ว พญาหงส์จึงประกาศป่าวร้องใหับรรดานกทั้งหลายมาประชุมกันยัง ลานอันร่มรื่นงดงามแห่งหนึ่งในป่า เพื่อไห่นางเลึอกคู่ครองตามใจชอบ บรรดานกหนุ่ม ๆ ทั้งหลายที่มาประชุมกันนั้น ต่างใฝ่ฝัน ที่จะได้ครองใจธิดาพญาหงส์ แต่นางมีความพอใจนกยูงหนุ่มผู้สง่างาม ตัวหนึ่ง จึงกล่าวกับบิดาว่า

G)(t นิทานชาดกเล่มสี \"พ่อคะ นกยูงตัวนั้นดูงดงามเด่นเป็นสง่ายิ่งกว่านกใด ๆ ลูกขอเลือกนกยูงตัวนั้นนะคะ\" เมื่อพญาหงส์ทราบเซ่นนั้น จึงประกาศเรียกนกยูงหนุ่ม ออกมากลางลานประชุม นกทงหลายจึงพากันรุมล้อมนกยูงหนุ่ม เพื่อแสดงความยินดีด้วย นกยูงหนุ่มรูลึกลำพองใจยิงนักจึงกล่าวว่า \"เพื่อนเอ๋ย เป็นธรรมดาที่^ความสง่างามอย่างเรา จะเป็น ที่หมายปองของสตรีนั้งหลาย แด่ความงามที่ท่านเห็นอยูนั้ยังน้อยนัก จงดนพ ข ว่าแล้วนกยูงหนุ่มก็รำแพนหางกางปีกรำอยู่ท่ามกลางฝูงนก พญาหงส์เห็นดังนั้นรูสึกขัดเคืองใจยิ่งนัก นึกตำหนิว่า นกยูงดัวนี้ขาด หิริ คือ ไม่มีความละอายใจแม้แต่น้อย ชํ้ายังขาด โอตตัปปะ ไม่เกรง คำ นินทา กล้ารำอวดตัวท่ามกลางที่ประชุมซนเซ่นนั้น จึงกล่าวขึ้นว่า \"นี่แน่ะ เจ้านกยูงเอ๋ย! เสียงของเจ้านั้นไพเราะจับใจ หลัง ของเจ้าก็งามสง่า ลำ คอเป็นเงางามราวกับแก้วไพฑูรย์ หางก็ยาว ตงวา แด่จะหาความละอายใจและลำรวมกายแม้ลักนิดก็ไมม จึง ได้มารำแพนหางกางปีกรำเช่นนี่ เราไม'ยกลูกสาวให้เจ้า\" พูดตังนั้นแล้ว พญาหงส์ก็ประกาศยกธิดาของตนให้หงส์ ผู้เป็นหลาน เมื่อนกยูงหนุ่มไม่ไดีธิดาพญาหงส์มาเป็นคู' ก็เลึกอับอาย ขายหน้ายิ่งนัก จึงบินหนีไปจากที่นั้นทันที

i i fr.Tt^ ■I.ไ^:miiW' I ®พ

๑๖ นิทานชาดกเล่มสี่ บระชุมชาดก เมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัส โมรนจจชาดก จบแล้ว ทรงประชุมซาดกว่า นกยูง ในคเงนน ได้มาเป็นภิกษุผู้ขาดความละอายรูปนี้ พญาหงส์ ได้มาเป็นพระองค์เอง ช้อดิดจากชาดก ๑. ผู้ไดที่รู้ตัวว่านิสัยไมดี เซ่น เกียจคร้าน เห็นแก่ความสะดวก สบายเกินเหตุ ไม'ยอมรับระเบียบวินัย หรือนักแสดงกิริยาวาจา หยาบคายอยู่เสมอ ควรรืบปรับปรุงตัวเสียไหม' เพื่อแก้นิสัยทีไม'ดี ไห้หมดไป อย่าปล่อยไห้เคยชิน มิฉะนั้น นิสัยตังกล่าวจะติดตัว ข้ามภพข้ามชาติไปด้วย ๒. เมื่ออยู่ไนที่ประชุมชนไดก็ตาม จะด้องสำรวมกิริยา มารยาทไห้เรืยบร้อย ไม'แสดงท่าทีเย่อหยิง โอ้อวด เพราะจะเป็นท รังเกียจแก่ผู้พบเห็น ผู้ที่มีความอ่อนน้อมถ่อมตนอยู่เสมอ ย่อมได้รับ ความเอ็นดูจากผู้Iหญ' แมไนหผู่คนที่เสมอกันก็ไห้ความรักไคร่สนิทสนม ๓. ผู้ที่ฝืกสมาธิอยู่สมํ่าเสมอ จะมีความสำรวม กาย วาจาไจ เพราะมีสติคอยกำกับการกระทำอยู่ตลอดเวลา

นิทานชาดกเล่มสี่ ๑๗ อริบๆยฟั'ฬท์ โมรนัจจชาดก (อ่านว่า โม-ระ-นัด-จะ-ชา-ดก) อัฐบเชาร เครื่องใช้ส่วนตัวที่จำเป็นสำหรับพระภิกษุ ^ อย่าง ได้แก่ ๕ มีดโกน ๑ สบง ๒ จีวร ๖ บาตร ๓ สังฆาฏิ ๗ เข็มเย็บผ้า (ร: รัดประคด กระบอกกรองนํ้า จำ ง่าย ๆ ว่า ผ้า <r เหล็ก ๓ นํ้า ๑ ของแปดอย่างนี้ กะทัดรัด เหมีอนเครื่องสนามของทหาร ^^ามารถ นำ ติดตัวไปได้ง่าย เมื่อครองผ้าเสร็จแล้วของทุกอย่าง จัดไส่บาตรได้หมด !ริ ความละอายต่อความชั่ว ๓ ประการ คือ คิดชั่ว พูดชั่ว ทำ ชั่ว ซึ่งเป็นเจตนาทีเกิดขึ้นเพราะปรารภตัวของ เราเองเป็นเหตุ โอดดั'ป'ปะ ความเกรงภัยจากผลของความชั่ว เช่น กสัวตกนรก กสัวคนนินทา ฯลฯ เป็นเจตนาที่เกิดขึ้นเพราะปรารภ สิ่งนอกตัวเป็นเหตุ คุณธรรมที่งสองประการนิ บางครํ้งเรียกว่า เทวธรรม แปลว่า ธรรมที่ทำไห้เป็นเทวดา บางครั้งเรียกว่า โลกบาล แปลว่า ธรรมเป็นเครื่องคุ้มครองชาวโลก ไห้อยู่ร่วมกันด้วยความลงบลข

๑ นิทานชาดกเล่มส รํๆน'ฬน ลักษณะที่นกยูงกางหางของตนออกกรีดกราย ปกติ นกยูงจะรำแพนหางก็เฉพาะเมื่อเข้าฤดูผสมพันธุเท่านน ไพรุ'เรย์ แก้วมณีชนิดหนึ่งในจำนวนนพรัตน์ มีสีเหลืองแกม เขียว หรีอนำตาลเทา มีความแวววาวดังสายรุ้งกลอก ไปมา 'พระคาดา\"ชระจำชาดก รุ่ทํ มนุณฺณํ รุจิรา จ ปิฎ? เวฬุริยวณฺณูปฎิภา จ ศีวา พยามมตฺตานิ จ เปกฃณานิ นจุเจน เต ธีตรํโน ททามิ เลียงของท่านก็เพราะ หลังของท่านก็งาม ขนของท่านเปรียบลีแก้วไพ'ทูรย์ หางของท่านก็ยาวตงวา แต่เราจะไม่ยกสกสาวไห้ท่าน เพราะการรำแพนหาง

เโมโมทมานซาดก ซาดกว่าด้วยโทษของการแตกสามัคคี สฟิๆนทีดรร}ซๆดก นิใครธาราม กรุงกบิลพัสดุ ร}ๆ!.ทดุทีตรัสซๆตก กรุงกบิลพัสดุ ซึ่งเป็นดินแดนของพระประยูรญาติฝ่าย พระราชบิดา และกรุงเทวทหะ ซึ่งเป็นดินแดนของพระประยูรญาติ ฝ่ายพระราชมารดา ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น มีแมนั้าใหญ่ สายหนึ่งไหลผ่านและถือเป็นเส้นแบ'งเขตแดนของนั้งสองพระนคร ชาวเมืองทั้งสองฟากฝังต่างอาศัยนำจากแม่นำสายนี้ทำการเกษตร กรรมเลี้ยงชีพด้วยความผาสกตสอดมา

๒๐ นิทาI ชาดกเล่มส ต่อมาในฤดูแล้งครั้งหนึ่ง นํ้าในแมนานี้ได้งวดลงไปมาก ผิดปกติ ประชาซนทงสองฟากฝังต่างได้ร้บความเดือดร้อน เพราะ นํ้าไม'พอทำนา ดังนั้น ต่างฝ่ายจึงพยายามหาวิธีกักเก็บนำเข้านา ของตนไห้มากที่สุด ไนที่สุด ก็เกิดการทะเลาะวิวาททุ่มเถียง ด่าทอ ซึ่งกันและกัน ต่างสรรหาคำพูดอันเผ็ดร้อนมาด่าว่ากัน แล้วเลย ลามปามถากถางไปถึงราชตระกูลของฝ่ายตรงข้ามด้วยคำที่เสียดสี หยาบคาย เมื่อต่างฝ่ายต่างดืงเอาสถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็น ที่เคารพลักการะสูงสุดของกันและกันขึ้นมาด่าว่าเซ่นนี้ เรื่องราว จึงขยายตัวลุกลามไปจนถึงขนมีการจับอาวุธเข้าต่อสู้ ทำ ไห้ผู้Iหญ' ไนหมู่บ้านด้องมาว่ากล่าวห้ามปราม แต่แทนที่เหตุการถ!จะสงบ เรียบร้อยลง การถ!กลับเป็นว่าการต่อสู้ทำร้ายยิ่งทวีความรุนแรง และขยายตัวมากขึ้นอีก ร้อนถึงเสนาอำมาตย์ต้องลงมาไกล่เกลี่ย เพื่อระงับเหตุการถ! แต่ความขัดแย้งได้ทวีขืนถึงขนมีการกะเกณฑ์ ผู้คนกันแล้ว การด่าทอและต่อสู้ทำร้ายของทงสองฝ่ายได้สร้างความ เคียดแค้นไห้กันและกันอย่างรุนแรง จนไนที่สุด กษัตริย์ของทงสอง พระนครถึงกับยกทัพมาประชิดชายแดน ตงกองทหารประจันหน้ากัน คนละฝังแม่นํ้า เตรียมพร้อมที่จะทำสงครามกัน เมื่อพระลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงทราบว่าเหตุร้ายกำลังจะเกิดขึ้น กับพระประยูรญาติทงสองฝ่ายของพระองค์ จึงเสด็จมายังชายแดน เพื่อจะทรงระงับศึกครั้งนี

นิทานชาดกเล่มสี่ ๒๑ เมื่อกษัตริย์ของทั้งลองพระนครทรงทราบว่าพระพุทธองค์ เสด็จมา จึงไปกราบพระบาทด้วยความเคารพ และพูลขอคำปรึกษา หารือ พระพุทธองค์ทรงชักถามถึงลาเหตุที่เกิดความขัดแย้งครั้งนี้ พระประยูรญาติทั้งลองฝ่ายต่างทูลว่า ลาเหตุเพราะต่างแย่งนํ้าเข้านา ของตน พระพุทธองค์จึงตรัลถามเป็นเซิงให้ลติว่า \"ดูก่อน มหาบพิตร ระหว่างนํ้ากับเลือด สิ่งใหนจะมีค่า มากกว่ากัน ?\" พระประยูรญาติทั้งลองฝ่ายต่างตอบเป็นเลียงเดียวกันว่า \"เลือดย่อมมีค่ามากกว่านํ้าเปีนธรรมดา พระพุทธเจ้าข้า\" พระพุทธองค์จึงตรัลต่อว่า \"เมื่อเลือดมีค่ามากกว่านํ้า และโดยเฉพาะอย่างสิ่งเป็นเลือด ของพระประยูรญาติกันเองด้วยแล้ว ทำ ไมจึงด้องมาทำสงคราม เพื่อแลกกับนํ้าด้วยเล่า ขึน้ ชื่อว่าการทะเลาะวิวาทกันนน ไม่ควร ให้เกิดขึ้นในหมู่ญาติเลย ในกาลก่อน แม้ล้ตว์เดียรัจฉาน เมื่อมี ความสาม้คดีปรองดองกัน กังสามารถรอดพ้นภัยจากศ้ตรูได้ แต่ เมื่อทะเลาะเบาะแว้งกัน ความพินาศวอดวายก็มาถึง\" พระประยูรญาติทั้งลองฝ่ายจึงกราบทูลอาราธนาให้พระสัมมา สัมพุทธเจ้าแลดงเรื่องในกาลก่อนนน พระพุทธองค์จึงทรงระลึกชาติ ด้วยบุพเพนิวาลานลติญาณ แล้วตรัลเล่า สัมโมทมๆนขๆดก ดังนี้

๒๒ นิทานชาดกเล่มสี่ เนอ'ฬๆชๆดก ในอดีตกาล ลมัยพระเจ้าพรหมทัดครองกรุงพาราณสี มี พญา นกกระจาบ ตัวหนึ่งคุมปริวารจำนวนนับพัน ๆ ตัว ท่องเทียว หากินอยู่ในป่าใหญ่ได้รับความผาสุกตลอดมา อยู่มาวันหนึ่ง พรานล่านกบังเอิญมาพบนกกระจาบฝูงนีเข้า จึงเข้าไปแอบชุ่มอยู่หลังพุ่มไม้ แล้วทำเลียงร้องเลียนแบบนกกระจาบ เมื่อนกกระจาบใดียินเข้า จึงหลงเข้าใจผิดคิดว่าพวกของตนร้องเรียก จึงบินลงมารวมกันที่พื้นดินข้างพุ่มไม้นั้น นายพรานซึ่งคอยทีอยู่ แล้วก็ทอด ตาข่าย ลงอย่างรวดเร็ว จับนกกระจาบไปได้อย่างสบาย หลังจากวันนั้น นายพรานก็มาทอดตาข่ายจับนกไปได้ทุกวัน จนนกกระจาบร่อยหรอลงไปมาก พญานกกระจาบพยายามอย่างยิ่ง ที่จะคิดหาทางช่วยเหลือบริวารของตน จนกระทั่งวันหนึ่ง พญา นกกระจาบเรียกประชุมบริวารที่เหลือและบอกอุบายว่า \"ครั้งต่อไป ถ้าพวกเราถูกนายพรานทอดตาข่ายอีกละก้อ อย่าตกใจ จงตั้งสติไหดี ให้แต่ละตัวเอาหัวสอดเข้าในช่องตาข่าย ตัวละตา แล้วบินขึ้นพร้อมๆกัน ยกเอาตาข่ายนนไปพาดทิ้งไว้บน ยอดไผ่ที่อยู่ไกล ๆ แล้วปลดตัวเองออกมาก็จะสามารถหนีรอดไตั'

นิทานชาดกเล่มสี่ ๒๓ วันต่อๆมา เมื่อพรานนกน่าตาข่ายมาทอดอีก นกกระจาบ ก็พร้อมใจกันบินขึ้น ยกเอาตาข่ายไปทิ้งไว้บนยอดไผ่ตามคำแนะนำ ของพญานกเสมอ พรานนกจึงจับนกกระจาบไมใด้เลย ได้แต่เดินตาม หาตาข่ายที่นกนำไปพาดทิงไว้ กว่าจะขืนไปปลดตาข่ายแต่ละตา ไห้หลุดจากยอดไผ่แขนงไผ่ได้หมด ก็เลียเวลาไปทิ้งวัน จึงได้แต่เดิน มือเปล่ากลับบ้านเป็นประจำ ครั้นเป็นเข่นนี้หลาย ๆ วันเข้า ภรรยานายพรานก็โกรธ ระแวงว่าสามืนอกไจแอบไปมืภรรยาน้อย พรานนกจำต้องเล่าเรื่อง ที่เกิดขึ้นไห้ฟัง แล้วปลอบนางว่า \"ขอให้เธอใจเย็น ๆ ไว้เถิด ขณะนพวกนกมีความพร้อมใจ กัน จึงหอบเอาตาข่ายไปได้ แต่ถ้าเมื่อใดมันทะเลาะกัน เมื่อนน มันไม'พนมีอฉันไปได้หรอก ฉันจะหอบมันมาให้เธอทงฝูง ให้เธอ ยิม้ หน้าบานไปเลย\" ต่อมาไม'นาน มืนกกระจาบซุ่มซ่ามตัวหนึ่งโผลงมาบนพื้นดิน แต่บังเอิญพลาดไปเหยียบเอาหัวนกกระจาบอีกตัวViนึ่งเข้า นกกระจาบ ตัวนั้นโกรธมากถึงกับร้องขึ้นว่า \"เอ๊ะ! ใครนะมาเหยียบหัวเราได้ ตาบอดหรือยังไง\" นกกระจาบซุ่มซ่ามรีบขอโทษทันที \"ขอโทษจ๊ะ ฉันไม่ทันเห็นจริงๆอย่าโกรธเลยนะ ขอโทษ เถอะ\"

}''}^-^k

นิทานชาดกเล่มสี่ ๒(Sr แต่ถึงจะอ้อนวอนขอโทษอย่างไร นกตัวที่ถูกเหยียบหัว ก็ไม่ยอมใหัอภัย ที่งยังพูดจากวนโทสะซํ้า ๆซาก ๆอีกจนเกิดทะเลาะ วิวาทภันขึน ฝ่ายนกกระจาบตัวอื่น ๆ พยายามพูดจาไกล่เกลี่ย แต่บางตัวก็เข้าข้างนกตัวที่ถูกเหยียบหัว บางตัวก็เข้าข้างนกซุ่มซ่าม จนกลายเป็นแบ่งพรรคแบ่งพวกกัน ต่างพูดจากระทบกระเทียบ แดกตันกันต่าง ๆ นานา พญานกกระจาบเห็นตังนั้นจึงเข้าห้ามบ่ราม แต่เพราะความ มานะถือดี นกกระจาบเหล่านันไม่ยอมฟัง พญานกกระจาบจึง กล่าวว่า \"ขึ้นชื่อว่าการทะเลาะกัน หากเกิดขึ้นที่ใด ที่นั่นย่อมไม่มี ความปลอดภัย ต่อไปความพินาศจะเกิดขึ้นแก่นกกระจาบทั้งหลาย เป็นแน่\" พญานกมองการณ์ไกลเซ่นนั้นแล้ว จึงพานกบริวารที่เชื่อฟัง แยกฝูงออกไบ่หากินที่อื่น หลังจากนั้นไม่นาน พรานนกได้มาตักนกกระจาบอีกเซ่นเคย นกกระจาบเหล่านั้นเมื่อถูกตาข่ายครอบแล้ว ต่างมัวเถียงกันว่า \"ไดยินว่าเจ้ายกตาข่ายจนขนหัวร่วง เจ้าก็ยกสิ\" นกอีกตัวพูดว่า \"ไดยินว่าเจ้ายกจนขนปีกร่วง ก็ยกเองซิ\"

๒๖ นิทานชาดกเล่มสี่ นกกระจาบต่างทุ่มเถียงทะเลาะกันอย่างไม่ลดละ แม้บางตัว จะพยายามยกตาข่ายขึ้นแต่เมื่อไมม้ความพร้อมเพรียงกัน กำ ลังแรง จึงไม่พอที่จะนำเอาตาข่ายขึ้นไปได้ พรานนกจึงจับนกกระจาบ เหล่านั้นไปอย่างง่ายดาย 'ประซุมซๆดก เมื่อพระลัมมาลัมพุทธเจ้าตรัสเล่า สัมโมทมๆนขๆดก จบแล้ว ทรงไหโอวาทแก่พระประยูรญาติทงลองฝ่ายว่า •'การทะเลาะวิวาทกันในระหว่างญาตินั้นไม่ลมควรเลย เพราะการทะเลาะวิวาทเป็นมลเหตุแห่งความพินาศสถานเดียว\" จากนั้น พระสัมมาลัมพุทธเจ้า ทรงประชุมซาดกว่า นกกระจาบ'พาล ในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระเทวทัต พญานกกระจาบ ได้มาเป็นพระองค์เอง ฃ้อคิดจากซาดก ๑. คนพาล มักโกรธง่าย และผูกเวร ตังนั้น เราควรป๋องกัน การทะเลาะวิวาทเลียแต่ด้นมือด้วยการระมัดระวังตัว มืลติ ไม่ทำสิ่งใด ให้กระทบกระเทือนบุคคลอื่น การรีเกสมาธิแผ่เมตตาเป็นประจำ ทำ ให้เป็นคนโกรธได้ยาก \"ผู้ที่ฆ่าความโกรธได้ ย่อมนอนหลับเป็นสุข\"

นิทานชาดกเล่มสี่ lacil ๒. ที่ใดมีเรื่องทะเลาะวิวาท ขาดความเคารพเชื่อฟัง ที่นั่น ย่อมไม่ปลอดภัย ควรปลีกตัวออกให้ห่างไกล ๓. การคบบัณฑิตย่อมทำให้ห่างไกลจากภัยพาล ดังเซ่น นกกระจาบที่เชื่อฟังจ่าฝูง sr. เมื่อเราผิด ขอโทษแล้วเขาไม่ให้อภัย ก็อย่าโกรธตอบ หากถูกด่าก็ให้คิดเลียว่า คำ ด่านั่นใช้ชํ้าซากมาตั้งแต่สมัยโบราณ จนถึงปัจจุบัน จืดเลียแล้ว ไม'คิดเจ็บใจ ไม่เอาใจใส่ ๕. หากรู้ตัวว่ากำลังโกรธและจะให้อภัยไม่ได้ ให้ปิดปาก เงียบไม่ต่อว่าต่อขาน เพราะการโด้ตอบในขณะโกรธ จะทำให้เรื่อง ลุกลามยิ่งขึ้น ๖. ไม่ยกเอาความดีของตนขึ้นข่มบุคคลอื่น เป็นการกลบ เกลือนความผิดของตน ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ๗. เมื่อมีการทะเลาะวิวาทกัน ควรวางตัวเป็นกลาง ไม่เช้า ช้างฝ่ายใด และหาทางไกล่เกลี่ยยุติเรื่องบาดหมางนั่นเลีย อริ'บๆยฟั'ฬท์ สัมโมทมานชาดก (อ่านว่า สำ -ใม-ทะ-มา-นะ-ชา-ดก) สัมโมทมๆน ความพร้อมใจ ความสามัคคี นกกระจาฆ นกตัวเล็ก ๆ.ขนาดเท'านกกระจอก ทำ รังด้วยหญ้า ตาข่าย ห้อยอยู่กับกิ่งไม้ อยู่รวมกันเป็นหมู' ชอบกิน ช้าวเปลือกและเมล็ดหญ้า เครื่องตักสัตว์ กักเป็นตา, ร่างแห

๒ นิทานชาดกเล่มสี่ 'พระคาดา'ประจำชาดก ลมโมทมานา คจฺฉนติ ชาลมาทาย ปกขิโน ยทา เต วิวทิสฺสนฺติ ตทา เอหินุติ เม วสํ นกทั้งหลายมีความพร้อมใจกัน จึงหอบเอาตาข่ายไปได้ เมื่อไดมันทะเลาะกัน เมื่อนน มันจักตกอยู่ไนอำนาจของเรา

มัจฉชาดก ชาดกว่าด้วยความรักใคร่ สดๆนทีดรสซๆดก เซตวันมหาวิหาร สาเหดุทีดรสซาดก ชายผู้หนึ่งได้ฬงธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว บังเกิด ความศรัทธาเลื่อมใส จึงขออนุญาตภรรยาเข้ามาบวชในพระพุทร ศาสนา ฝ่ายภรรยาก็อนุญาตแม้จะไม'เต็มใจนักก็ตาม

๓๐ นิทานชาดกเล่มสี่ เมื่อชายผู้นี้บวชเป็นพระภิกษุแล้ว นางผู้เป็นภรรยาก็มักนำ อาหารที่ท่านเคยชอบมาถวายอยู่เสมอ ยิ่งกว่านน ทุกครั้งที่ไปหา พระภิกษุอดีตสามี นางจะแต่งตัวงดงาม ที่งยังนำเรื่องทางโลกมาพูด ให้ท่านฟังเป็นประจำ ทำ ให้ภิกษุนนกระวนกระวายใจ ห่วงหาอาลัย ใคร่จะลึกกลับไปครองเรือนตามเดิม เมื่อพระบรมศาสดาทรงทราบถึงความเลึกของพระภิกษุรูปนี้ จึงตรัสถาม ท่านก็ยอมรับแต่โดยดี พระพุทธองค์ทรงเปียมด้วย พระเมตตาและพระกรุณาธิคุณ ปรารถนาจะเตือนสติพระภิกษุนี้น ให้เลิกล้มความตั้งใจที่จะหวนกลับไปเวียนว่ายอยู่ในกองทุกข์อีก จึงทรงระลึกชาติแต่หนหลังของพระภิกษุรูปนี้ด้วยบุพเพนิวาสานุสติ ญาณ แล้วตรัสว่า \"ดูก่อนภิกษุ มิใช่แต่เดียวนี้เท่านํ้นที่หญิงผู้นี้จะทำความ ฉิบหายให้แก'เธอ แม้เมื่อชาติก่อนโน้น เธอก็เกือบจะต้องตาย เพราะหญิงคนนี้ แต่เคราะห้ดีที่เราช่วยเธอไว้ไต้\" ตรัสตังนั้นแล้วพระบรมศาสดาก็นิ่งเสีย ภิกษุรูปนั้นจึง อาราธนาให้พระพุทธองค์ทรงแสดงเรื่องในอดีตชาติของตนให้ฟัง พระพุทธองค์จึงตรัส มัจฉชาดก ตังนี้ เนี้อหาชาดก ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตครองกรุงพาราณลึ ณ คุ้งนี้าหน้าเมีอง มีปลาใหญ่ตัวหนิ่งเกิดติดใจรักใคร่นางปลาสาว จึงว่ายติดตามหยอกเย้าเคล้าเคลียนางปลาไม่ยอมห่าง

นิทานชาดกเล่มส ขณะที่กำลังว่ายนำเคียงกันอยู่นน นางปลาได้กลิ่นแหที่ซาว ประมงนำมาดักไว้ จึงว่ายหลบฉากออกไปทันที ฝ่ายปลาตัวผู้นั้น คิดแต่จะไล่ด้อนนางปลา ไม่สนใจอะไรทงสิน จึงว่ายพุ่งเลยเข้าไป ติดแห ซาวประมงรู้ว่ามีปลาเข้ามาติดแล้วจึงรีบยกแหขึ้นจับเอาปลา ใหญ่นั้นไป เมีอจับได้แล้ว ซาวประมงก็โยนทิ้งไว้บนเนินทรายริมฝัง รวมกับปลาอื่น ๆ ที่ถูกจับมาก่อนหน้านั้น แล้วเตรียมก่อไฟ เหลาไม้ แหลมไว้ ตงใจจะย่างปลากินให้อร่อย ปลาใหญ่นั้นดิ้นทุรนทุรายฟาดหัวฟาดหางอยู่บนตลิ่ง แต่ แทนที่มันจะหวั่นกลัวความตายที่ก่าลังจะมาถึง มันกลับครํ่าครวญ รำ พันถึงนางปลาว่า \"ตัวเรานี ความหนาว ความร้อน ความลำบากที่ติดแหอยูน หรือแมจะถูกเสียบด้วยไม้แหลม จะถูกย่างบนกองไฟอันร้อนแรง หรือตกเป็นอาหารอันโอขะของชาวประมง ทัง้หมดนี้ก็ยังไม่ทำให้ เราทุกข์ใจมากเท่ากับความทุกข์อันเกิดจากความคิดถึงนางปลา ผูเ้ป็นที่รัก เกรงแต่ว่านางปลาจะเข้าใจผิด คิดว่าเราแอบหลบหน้า ไปติดพันนางปลาตัวอื่น นางคงไม่รู้หรอกว่าเราติดแหอยู่ และกำลัง จะถูกเสียบไม้ย่างไฟอยู่แล้ว\" ขณะนั้น พราหมณ์ปุโรหิตผู้หนีงของพระเจ้าพรหมทัต ซึ่ง เป็นผูรู้ภาษาลัตว์นั้งหลาย กำ ลังเดินออกมาอาบนํ้าที่ท่านํ้าหน้าเมือง พร้อมด้วยข้าทาลบริวาร ท่านเห็นปลาใหญ่กำลังดิ้นทุรนทุราย ครำครวญอยู่ ก็คิดลงสารว่า



นิทานชาดกเล่มสี ๓๓ ถ้าเราปล่อยให้ปลาตัวนี้ตายไปในขณะที่กำลังกระสับ กระล่าย มีจิตใจเร่าร้อนอยู่ด้วยกามราคะเข่นนี้ มันจะด้องไปเกิด ในนรกอย่างแน่นอน เราควรทำตัวเป็นที่พึ่งของปลาตัวนี้ดีกว่า\" คิดดังนี้แล้ว ท่านปุโรหิตจึงเดินเข้าไปหาซาวประมงเจ้าของ ปลาซึ่งคุ้นเคยกันดี แล้วกล่าวว่า \"พ่อลุง.....วันนี้ลับปลาได้เยอะลัง ไม่แบ'งกันกินบ้างเลยนะ\" ซาวประมงรีบกล่าวตอบด้วยความนอบน้อมว่า \"พูดอะไรอย่างนี้นท่านปุโรหิต ท่านชอบใจปลาตัวไหน จะกี'ตัวก็ตาม เชิญเลือกเอาได้เลย ไม่ต้องเกรงใจ\" ท่านปุโรหิตจึงกล่าวว่า \"ขอบใจมากพ่อลุง ถ้าอย่างนี้น ฉันขอปลาตัวใหญ่นี้ตัวเดียว ก็พอ\" แล้วพราหมณ์ปุโรหิตก็จับปลาตัวใหญ่นี้นพาเดินไปที่ท่านํ้า แล้วกล่าวสั่งสอนปลาว่า \"เจ้าปลาเอ๋ย เพราะความรักใคร่ติดพันนางปลานั่นทีเดียว เจ้าเกือบจะต้องตายเสียแล้ว หากข้าไม่บังเอิญมาพบเจ้าเสียกํอน ต่อไปนี้ เจ้าต้องหนั่นสำรวมระวัง อย่าปล่อยให้อำนาจกิเลสเข้า ครอบงำ อย่ามัวหลงติดอยู่ในกามอีกเลยนะ\" กล่าวเสเจแล้ว ก็ปล่อยปลาลงนี้า ณ ท่านํ้านี้นเอง

๓(T นทานชาดกเล่มสี บระขุมฃๆดก พระสัมมาลั°มพ;ุทธเจ้าต,รัส มัIจฉซไา, ด7ก จบแล้ว^ทรงไแลดไง อริยสัจ ar โดยนัยต่าง ๆ อย่างละเอียดลึกซึง พระภิกษุนนฟัง พระธรรมเทศนาแล้ว ก็ลามารถทำใจให้หยุดนิ่งเข้าถึงธรรมกาย พระโลดา สำ เร็จเป็นพระโลดาบัน ณ ที่นั้นเอง จากนั้นพระพุทธองค์ทรงประชุมชาดกว่า นาง•ปลา ในครั้งนั้น ได้มาเป็นภรรยาเก่าของภิกษุผู้อยากสึก •ปลาใหญ่ ได้มาเป็นภิกษุผู้อยากสึกรูปนี้ หรา•พมณ์•ปุนฺหิต ได้มาเป็นพระองค์เอง ฟ้อคิดจากซาดก ๑. ผู้ที่ตกอยู่ในอำนาจของความรัก มักใข้เวลาส่วนใหญ่ หมกมุ่นครุ่นคิดถึงแต่ความรักจนจิตใจฟังซ่านไม'เป็นลมาธิ หากเกิด แก่ผู้ที่อยู่ในวัยเรียน การเรียนจะตกตํ่าลง เพราะลมาธิในการเรียน เลียไป บางคนถูกอำนาจกามซักนำ ถึงกับลึมตัว ก่อปัญหาก่อบาป ให้ตนเอง บางครั้งถึงกับซักนำตนเองไปลู่ความตาย ๒. เยาวชนทงหลายอย่าหมกมุ่น หลงติดอยู่ในกาม อย่า เข้าไปในลถานเริงโลกีย์ อนาคตจะตับ

นิทานชาดกเล่มสี่ ในที่บางแห่ง พระพุทธองค์ตรัลเปรียบเทียบถึงความยาก ลำ บากของสัตว์เดียรัจฉานทีจะมาเกิดเป็นมนุษย์ว่า ใช้เวลายาวนาน มาก อุปมาเหมือนเต่าทะเลตัวหนึ่งซึ่งตาบอดที่งลองช้าง ทุก ๆ ๑๐๐ ปี มันิจะโผล่ขึนมาหายใจเหนือพืนนำสักครั้งหนึ่ง แล้วดำลงไป ใหม่ เมื่อครบ ๑๐๐ ปี ก็จะโผล่ขึ้นมาอีก ดำ ผุดดำโผล่อยู่เช่นนี้ เป็นเวลานานแสนนาน จนบังเอิญไปประจวบกับโอกาลที่ห่วงตาเดียว อันหนืงลอยอยู่กลางทะเล แล้วเต่าตัวนนโผลขนมาเอาหัวลอดเช้า กลางห่วงพอดี ซึ่งโอกาลที่เต่าจะลอดหัวเช้าห่วงพอดีนี้เกิดขึ้นได้ยาก ยิงนัก และกว่าจะได้พบห่วงนนก็กินเวลานานจนสุดประมาณได้ ถึงกระนน ก็ยังยากกว่าโอกาลที่สัตว์เดียรัจฉาน หรือสัตว์นรกจะได้ มาเกิดเป็นคนเลียอีก ๓. คนทีกำสังจะตาย หากยังมืไจเร่าร้อนและหมกมุ่นอยู่กับ ความโลภ โกรธและหลง เมื่อละโลกไปแล้ว อำ นาจบาปนนจะชักนำ ไห่ไปลู่นรก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเคยตรัลเปรียบเทียบไห้พุทธบริษัทฟัง ไนขณะที่พระพุทธองค์ทรงแลดงธรรมอยู่ แล้วมืลมบ้าหมูพัดมาว่า \"มนุษย์ทั้งหลาย ตายแล้วไปตกนรก ไปเกิดเป็นล้ตวํ เดียรจฉาน มีจำ นวนมากกว่าเม็ดฝุนในจักรวาล คนที่ตายแล้ว ไปเกิดในสวรรค์มีเพียงเท่ากับ หรือน้อยกว่าเม็ดฝุนที่ติดอยู่ในเล็บมีอ แต่คนทีบรรลุธรรมนน มีน้อยกว่าเม็ดฝุนที่อยู่ในเล็บมีอเสียอีก\" วิธีเตรียมตัวตายที่ดีที่สุด ได้แก่ การปีกลมาธิไห้มาก ๆไจ จะได้ผ่องไล ตายเมื่อไรก็ไปดีเมื่อนน

6nb นิทานชาดกเล่มส เมื่อการเกิดเป็นคนนีแสนยาก ดังนั้น ก่อนจะตายพึงรู้จัก ทำ ใจใฟ้ดี เพื่อเตรียมตัวตาย ไม่ควรทำจิตใจให้ขุ่นมัวเศร้าหมอง เป็นอันขาด มิฉะนั้น จะตกนรกหรีอใปเกิดเป็นสัตว์เดียรัจฉานอย่าง น่าเลียดาย ๕. โบราณเตือนว่า \"คนเราตราบใดที่ยังไม่หมดกิเลส ถึงจะเคยอยูในโอวาท พ่อแม่มาดีอย่างไร แต่พอเริ่มมีความรัก ก็เริ่มจะไม่อยู่ในโอวาท กล้ากล่าวเท็จ มีเล่ห์เหลี่ยมต่อท่านอย่างไม่น่าเชื่อ\" ดังนั้น เมื่อคิดจะรักใคร ก็ควรสำรวมระวังให้เป็นคนชื่อ ๆ ตรงไปตรงมา อย่ามีเล่ห์เหลี่ยมกับพ่อแม่ มิฉะนั้นจะไม่พ้นนรก ยิ่งกว่านั้นก่อนจะรักใครให้ชั่งนํ้าหนักใจตนเองดูก่อนว่า ถ้าเรากับคนรักนั้นต่างตกอยู่ในอันตรายด้วยกัน เซ่น มีใครเอาถ่านไพ่ แดง ๆ มาวางบนศีรษะทั้งเราและเขาคนละก้อน เราจะซ่วยเขาก่อน ตัวเราหรีอไม่ ถ้าไม' เขาก็คงไม่ซ่วยเราก่อนเหมือนกัน แลดงว่า เรากับคนรักยังรักกันไม่มากพอ จึงไม่ควร แต่งงานกัน แต่ถ้าบังเอิญเขารักเรามากพอ ถึงขนาดซ่วยเราให้พ้น อันตรายก่อนตัวเขาอย่างนี ให้พิจารณาตัวเราเองว่า เรานั้นมีความรู้ ความลามารถ ความประพฤติดีเป็นเลิศหรือไม่ ถ้าเราไม'เป็นเลิศ เป็นเพียงคนธรรมดา ๆ ให้ลงสัยใวัก่อนเลยว่า คนที่มารักเรามาก ถึงขนาดนั้น \"ยัญญาอ่อนหรือเปล่า\"

นิทานชาดกเล่มสี่ ๓๗ ถ้าใครหมั่นคิด หมั่นตริตรองอย่างละเอียดลออถึงเพียงนี้ เป็นประจำแล้ว โอกาลจะเผลอใจไปรักใคร หรือไปแต่งงานมีครอบครัว ให้ยุ่งใจจะมีน้อยมาก แล้วตลอดชีวิตจะมีความสุข มีอิสระเสรี เหมีอนนกน้อยในอากาศ เหมีอนปลาในทะเลลึก ไม่ต้องติดในแหอวน ตาข่าย ปวงความรัก ให้เกิดทุกข่ใด ๆ เลย อธิบายสั'พท์ ม้จฉชาดก (อ่านว่า มัด-ฉะ-ชา-ดก) ฟ้จฉ.. มัจฉา ปลา แห เครื่องมีอจับปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นตาข่าย ใช้ทอด แผ่ใปในนี้าแล้วค่อย ๆดึงขึ้นมา พระคาดา'ประจำชาดก น มํ สีตํ น มํ อุณฺหํ น มํซาลลฺมึ พาธนํ ยณฺจ มํ มฌฺณเต มจฉิ อณฺณํ ใส รติยา คใต ความเย็น ความร้อน แล'ะการติดอยู่ในแห ใม'ไต้เบียดเบียนให้ใต้รับทุกข์เลย แต่ช้อที่นางปลาสำคัญว่าเราไปหลงนางปลาตัวอื่นมั่นแหละ เบียดเบียนให้ใต้รับทกข์

วัฏฏกชาดก ชาดกว่าด้วยอำนาจแห่งการตงสัตยาธิษราน สดๆนทีดรร}ซาดก ซนบทแห่งหนึ่งในแคว้นมคธ สๆเทดุทีดรสซๆดก ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จ ไปยังชนบทแห่งหนึ่งในแคว้นมคธ วันหนึ่ง หลังจากที่พระพุทธองค์ ฉันภัตตาหารแล้ว ทรงนำหมู่สงฆ์เข้าไปในป่าลึกเพื่อแสวงหาที่สงบ บริเวณสำหรับเจริญภาวนา

นิทานชาดกเล่มสี่ ๓ ขณะนน พระภิกษุสงฆ์ได้กลิ่นควันไฟพร้อมกับเห็นไฟป่า ลุกไหม้อยู่ไกล ๆ ครนมองไปรอบ ๆ เพื่อจะหาทางหลบหนี กลับเห็น ไฟล้อมไว้ทุกทิศแล้ว พระภิกษุกลุ่มหนึ่งจึงซวนกัน จุดไฟร้บไฟปา ในขณะที่กำลังไซไม้ลีไฟอยู่นั้น เพื่อนพระภิกษุได้เข้ามากล่าว เตือนว่า \"ขณะน พวกเราตามเสด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธ องค์ทรงเป็น สัพพัญณู เป็นผูยิ่งด้วยบุญบารมีไมมใครเหมือน พวกท่านทำโดยพลการเช่นนี้ กล่าวได้ว่าท่านไม่เคารพในพระพุทธองค์ อุปมาเหมีอนคนมองไม่เห็นรัคมีของพระจันทร์ ไม่เห็นความสว่าง ของพระอาทิตย์ เหมือนคนปีนอยูร์มทะเลแต่มองไม่เห็นทะเล หรือคนปีนพิงภูเขาแต่มองไม่เห็นภูเขา เราควรไปเด้าพระบรมศาลดา เพื่อขอความเห็นจากพระพุทธองค์พร้อม ๆ กันจะดีกว่า\" ในขณะที่เปลวไฟกำลังโหม ประกอบกับลมที่พัดกระหนึ่า มาอย่างแรง โดยมีด้นไม้ในปาเป็นเชื้อเพลิงที่ดียิ่ง ไฟจึงลุกลาม อย่างรวดแวจนใกล้ตัวเข้ามาทุกที ๆ รอบบริเวณนั้นดังสนั่นไปด้วย เสียงกิ่งไม้ปะทุราวกับประทัดแตก อีกทงเลียงลัตว์ปาที่คำรามร้อง ด้วยความหวาดกลัว ยิ่งซวนให้อกลั่นขวัญแขวนเป็นทวีคูณ ช่วง เวลานั้น พระบรมศาสดาทรงประทับยืนอย่างสงบอยู่ท่ามกลางหมู' สงฆ์ทงหลาย มิปรากฏพระอาการหวาดหลั่นแต่ประการใด ทันใดนั้น เปลวไฟที่ลุกโหมอย่างรวดเร็ว กลับหยุดสนิทดุจ คบเพลิงที'จุ่มลงในนํ้า เป็นอาณาบริเวณโดยรอบในรัศมี ๑๖ กรีส ยังความอัศจรรย่ใจแก่หมู่สงฆ์ยิ่งนัก

<£■๐ นิทานชาดทเล่มสี พระภิกษุทั้งหลายเห็นความอัศจรรย์เช่นนั้น ต่างพากัน สรรเสริญพระพุทธคุณว่า \"พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงปีอานุภาพยิ่งนัก แมไฟนัาชิ่ง เป็นเรื่องของธรรมชาติไม่ปีชีวิตจิตใจ ยังไม่อาจไหม้ลามมาถึงที่ที่ พระพุทธองค์ประทับอยู่ไจ้' พระสัมมาลัมพุทธเจ้าได้สดับถ้อยคำของพระภิกษุสงฆ์ ทั้งหลายแล้ว จึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสาษุสติญาณ แล้ว ตรัสว่า \"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การที่ไฟป็าไหม้เข้ามาถึงบริเวณนี้ แล้วดับลงเองนน มิใช่เป็นเพราะอานุภาพของตถาคตในบัดนี้ แต่เป็น เพราะอำนาจแห่งสัตยาธิษฐานของตถาคตในชาติก่อนโน้น และน้บแต่ชาตินี้นมา ที่บริเวณนี้ไฟจักไม่ไหม้เป็นอันขาด และ จะเป็นปาฏิหาริย์เช่นนี้ตลอดกัป\" พระภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลอาราธนาให้พระพุทธองค์ ทรงเล่าเรื่องราวในอดีต พระบรมศาสดาจึงตรัสเล่า วัฎฏกชาดก ดังต่อไปนี้

นิทานขาดกเส่มสี่ <£๑ เนื้อฬๆซาดก ในอดีตกาล ณ ป่าใหญ่แหงหนึ่งในแคว้นมคธ ใดี'เกิดใฟไหม้ ป่ากินอาณาบริเวณกว้างขวาง ต้นไม้น้อยใหญ่ถูกใฟใหม้ลุกโพลง อยู่ทั่วไป ควันไฟถูกพายุพัดโหมลอยแน่นอยู่เต็มท้องฟัา สะเก็ดไฟ ตามกิ่งไม้กระเด็นไปทั่วด้วยแรงเหวี่ยงของกิ่งไม้ที่ต้องพายุ เสียง ต้นไม้กิ่งไม้ปะทุไฟหักโค่นลงระคนกับเสียงร้องของสัตว์ป่าดังก้อง ไป่ทั่ว บรรดาสัตว์ทั่งหลายต่างกิ่งหนีเอาดัวรอดกันชุลมุน บ้าง กิ่งไปจนลุดชีวิตแล้วก็ยังไม่พันวงล้อมของพระเพลิงที่โหมเข้ามา บรรดานกที่มีกำสังน้อยต่างถูกควันไฟและไอร้อนตกลงไนกองไฟ ราวกับใบไม้ร่วง ไนภาวะที่ล่อแหลมต่อความเป็นความตายเซ่นนี้ สัตว์ทุกตัว .ต่างหนีเอาตัวรอดจนสุดกำสัง ไม่มีไครซ่วยไครไต้เลย เซ่นเดียวกับ ลูกนกคุ่ม ตัวหนึ่งซึ่งเพิ่งออกจากไข่ไดีไม'กี่วัน ขนยังขึ้นไม่เต็มตัว ปีกยังไม่กล้า ขายังไม่แข็ง ยังต้องอาศัยอาหาร ที่ฟอแม่คาบมาปีอน เมื่อเกิดไฟไหม้ป่าเซ่นนี้จึงถูกทอดทิ้งไห้เผชิญ ความตายตามลำพัง ลูกนกคุ่มชะเง้อคอขึ้นจากรังเห็นไฟกำสังไหม้ ใกล้เข้ามาทุกที ๆ จึงไต้แต่คิดไนไจว่า \" นี่ถ้าปีกของเราปีขนพอที่จะบินได้ เราก็จะบินไป ถ้าเท้าของเราปีแรงพอที่จะเดินได้ เราก็จะเดินไป จะไม่นอนรอ

<r๒ นิทานชาดกเล่มสี่ ความตายอยู่อย่างนี้....ดูเอาเถิด แม้แต่พ่อแม่ของเรายังทิ้งเราเพื่อ เอาชีวิตรอด ขณะนี้เราใม่ปีที่พื่งทิ้ใหนอีกแล้ว....\" แต่ด้วยอานุภาพแห่งความดีที่ได้ตั้งใจทำมานับภพนับชาติ ไม่ถ้วน แม้จะเกิดเป็นนก ลูกนกคุ่มก็ยังคุมสติได้ไม่ลนลาน มีใจลงบ ผ่องใล ลามารถระลึกถึงคุณแห่งศีลและสัจจะได้ว่าเป็นของมีอยู่คูโลก ตลอดมา และลามารถคุ้มครองผู้มีศีลมีสัตยั!ดอีกด้วย แม้แต่พระสัมมา สัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ในอดีต ยังต้องบำเพ็ญศีลและสัจจะมา อย่างเต็มที่ก่อนแล้วทงนน ลูกนกคุ่มจึงระลึกถึงคุณของพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทงหลายในอดีต คุณของพระธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทงหลายไต้ตรัลไว่ดีแล้ว คุณแห่งศีลที่มีอยู่ในโลก แล้วอ้างถึงลภาวะ ธรรม คือ ความจริงที่ตนกำลังเผชิญอยู่ขณะนน กระทำสัตยาธิษฐานว่า \"ปีกของเรามีอยู่แต่บินไม่ได้ เม้าทิ้งลองของเรามีอยู่แต่ก็เดิน ไม่ได้ พ่อแม่ของเรามีอยู่แตกบินหนีเราไปเสียแล้ว ด้วยสัจวาจานี้ ไพ่เอ๋ย แม้เล้าจะไม่มีชีวิตจิตไจ ก็จงถอยกสับไปเสียเถิด อย่าได้ ทำ อันตรายแก'เราและสัตว์ทิ้งหลายเลย\" ต้วยบุญญาบารมีที่ลูกนกคุ่มเคยบำเพ็ญมานับภพนับชาติ ไม'ถ้วน และด้วยสัตยาธิษฐานนี เปลวไฟที่กำลังลุกไล่เข้ามาจึงดับ ลนิทดุจคบเพลิงที่จุ่มลงในนำ เป็นรัศมี ๑๖ กริล จากรังของลูกนกคุ่ม นนเอง

m

ร:(ร: นิทานชาดกเล่มสี่ 1]9ะซุมซๆดก เมื่อจบพระธรรมเทศนาแล้ว พระพุทธองค์จึงตรัสว่า ด้วย สัตยาธิษฐานในครงนั้น ณ บริเวณในรัศมี ๑๖ กรีสนี้ จะไม'เกิด ใฟไหมีขึ้นเลยตลอดกัป จากนั้น พระพุทธองค์ทรงแสดงอริยสัจ <r โดยอเนกปริยาย พระภิกษุในที่นั้นบังเกิดความ!รีดาปราโมทย์ ร่าเริง อยู่ในธรรม ซาบขึ้งในคุณธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างสุด ประมาณ ต่างสดับเสียงพระธรรมเทศนาพร้อมกับประคับประคอง ใจให้หยุดนิ่ง ณ ศูนย์กลางกาย เข้าถึงพระธรรมกายในดัวลุ่มลึก ต่าง ๆ กัน ได้บรรสุธรรมเป็นพระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรห้นต่ไปตามลำดับ จากนั้นพระพุทธองค์ทรงประชุมชาดกว่า ฬ่อนม่ฃอฃดูกนกตุ่ม ได้มาเป็นพระเจ้าสุทโธทนะและ พระนางสิริมหามายา ซึ่งเป็น พระพุทธบิดาและพระพุทธมารดา ลกนกคุ่ม ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจๆกซาดก ๑. เมื่อคิดจะทำการใดต่อหน้าผู้ใหญ่ ควรบอกและขอคำ ปรึกษาหารีอจากท่านเสียก่อนเพื่อฟ้องกันข้อผิดพลาด •อีกทั้งเป็น การแสดงความเคารพท่านด้วย เพราะผู้ใหญ่ย่อมมองการณ์ไกล และมีประลบการณ์มากกว่า

นิทานชาดกเล่มสี่ (ร:^ ๒. ความลำแจในการกระทำสัตยาธิษฐาน จะต้องตั้งอยู่ บนพืนฐาน sr ประการ ดังนี้คือ ๑ ระลึกถึงคุณของพระfตนตรัยเป็นที่ตั้ง ๒ มีความเชื่อมั่นในศีล และสัจจะของตนที่ไต้ บำ เพ็ญมาดีแล้ว ๓ ตั้งจิตอธิษฐานโดยยกสัจจะนั้นขืนอ้าง ar สิงทีปรารถนานนต้องเป็นไปเพือความถูกต้อง ดีงาม อรบายสัฬท์ วัฎฎกชาดก (อ่านว่า วัด-ตะ-กะ-ชา-ดก) วัฏฎก, จัฏฎกา นกคุ่ม หรือหมายถึงนกกระจาบ นกกระจิบ นกเขา นกไล้ นกคุ่ม เป็นนกตัวเล็ก ๆ รูปร่างคล้ายไก่ ชอบทำรัง บนพืนดินไต้กอหญ้า หรือไต้พุ'มไม้ ไม่อยู่บน ต้นไม้ จุดไฟรบไฟป่า เป็นการจุดไฟขึ้นดักไฟป่าที่กำสังลุกลามเข้ามา เมื่อไฟป่าลุกลามเข้ามาถึงบริเวณที่ไฟไหม้ สัฬ'ฬญผู ไปแล้วก็จะไม'ลุกเข้ามาอีก ผู้รู้ทั่ว เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า กรอ มาตราว้'ดพืนที่ ๑ กรส เท่ากับ ๒^ ศอท ๑๖ กรืส เท่ากับ ๒,0๐๐ ศอกหรือ ๑ กิโลเมตร

csr๖ นิทานชาดกเล่มสี่ <ฬ9ะคๆตาบระจํๆซๆดก สนติ ปกขา อปตนา สนติ ปาทา อวณฺจนา มาตาปิตา จ นิกฺขนตา ซาตเวท ปติกฺกม ปีกทั้งสองของเรามีอยู่แต่ยังบินไม'ได้ เท้าทั้งสองของเรามีอยู่แต่ยังเดินไม่ได้ มารดาและบิดาของเราก็บินหนีไปเสียแล้ว ดก่อนเปลวไฟ ท่านจงกลับไปเสียเถิด

สกุณชาดก ชาดกว่าด้วยการรู้จักเลือกที่อยู่ สตๆนที่ดรสขาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สา!,'ฬดุที่ดรสขๆดก ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล มีพระภิกษุรูปหนึ่งตงใจศึกษา เล่าเรียน พระกรรมฐาน จากพระสัมมาล้มพุทธเจ้าเป็นอย่างดี ครั้นใกล้เวลาเข้าพรรษาจึงได้กราบลาพระพุทธองคิใปเจริญภาวนา ตามลำพังในเขตซนบทแคว้นโกศล โดยอาศัยศาลาแห่งหนึ่งเป็นที่ พักพิง

(ร: นิทานชาดกเล่มสี่ แต่ต่อมาอีกไม่กี่วัน ศาลานนถูกไฟใหม่ไปส่วนหนึ่งไม' ลามารถใช้คุ้มแดดคุ้มฝนได' พระภิกษุรูปนั้นจึงขอร้องชาวบ้าน ให้ช่วยซ่อมแซมให้ แม้จะขอร้องอยู่หลายครั้ง แต่ชาวบ้านก็ขอผลัด ไปก่อนเสียทุกครั้ง โดยอ้างว่าขอระบายนํ้าเช้านาก่อนบ้าง ขอหว่าน ช้าวก่อนบ้าง ขอเก็บเกี่ยวก่อนบ้าง เป็นอยู่เซ่นนี้ จนกระทั่งเวลา ล'วงเลยไปถึง ๓ เดือน ท่านจึงไม'ลามารถเจริญภาวนาให้ก้าวหน้า ได้ดังที่ตั้งใจไว้ ครั้นออกพรรษาแล้ว พระภิกษุรูปนั้นจึงกลับไปกราบ พระลัมมาลัมพุทธเล้าที่เชตวันมหาวิหาร พระพุทธองค'ได้ตรัลถาม ถึงความก้าวหน้าในการปฏิบ้ติธรรม พระภิกษุนั้นจึงกราบทูลว่า \"ข้าพระองค็ไม่สามารถปฏิบัติธรรมให้เจริญก้าวหน้าได้ เพราะไฟไดไหม้ศาลาที่พักไปแถบหนึ่ง ต้องอยู่ด้วยความลำบาก ตลอดพรรษา พระพุทธเจ้าข้า\" พระลัมมาลัมพุทธเล้าได้สดับดังนั้น จึงทรงตำหนิว่า \"ดูก่อนภิกษุ ในกาลก่อน แม้ส้ตว์เดียรัจฉานย้งรู้พเลือก ที่อยู่ให้สบาย เหตุใดเธอจึงไม่รู้ว่าที่ไหนควรอยู่ ที่ไหนไม่ควรอยู่\" ตรัลดังนีแล้ว ทรงนำ สกุผ.ซๆดก มาตรัลเส่าเปรียบเทียบ ดังd

นิทานชาดกเล่มสิ (£๙ (.นอทๆซๆดก ในอดีตกาล ณ ป่าใหญ่แห่งหนึ่ง มีพญานกตัวหนึ่งใดี'พา บริวารนับพัน ๆ ตัวเข้ามาทำรังอยู่ที่ต้นไม้ใกล้ๆ กัน นกที่งหลาย ต่างหากินอย'ในป่าต้วยความผาสุกตลอดมา อยู่มาวันหนึ่ง มีลมพัดแรงจัดเป็นเวลานาน ทำ ให่กิ่งไม้แห้ง ในบริเวณนึ่นเสียดสีกันจนเกิดควันขึ้น พญานกเห็นเซ่นนนจึงคิดว่า สักวันหนึ่ง ไฟจะต้องลุกไหม้ต้นไม้เหล่านี้อย่างแน่นอน จึงบอกกับ บริวารที่งหลายว่า \"นกทั้งหลายเอ๋ย ใครอาศัยตนไม้ต้นใด บัดนี้ต้นไม้ทั้น จะเกิดไฟไหมขึ้นแล้ว พวกเล้าทั้งหลายจงพากันไปอยู่เลียที่อื่นเลิด ภัยกำลังจะเกิดจากที่พึ'งของเราแล้ว\" บริวารที่เชื่อพังก็พากันบินตามพญานกไป่หาที่อยู่ใหม่ แต่ บริวารอีกสุ'วนหนึ่งกสับดื้อดึง อวดดี ไม'ยอมทิ้งรังตามไปด้วย ชํ้ายัง กล่าวว่า \"โธ่เอ๋ย ทำ เป็นขึ้ขลาดดาขาวไปไต้ แค'เห็นนี้าหยดเดียว ก็กลัวว่าจะมีจระเข้เลียแล้ว\" บางตัวก็ทำเป็นอวดรู้ว่า \"ธรรมดาไฟไหม้ปา ไปใช่ว่าจะเกิดขึ้นไต้ง่าย ๆ เราอยู่กัน มาตงแด'เกิดแล้ว ไม'เห็นจะมีอันดรายอะไรเลย\"


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook