Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทานชาดกอันดับที่4

นิทานชาดกอันดับที่4

Description: นิทานชาดกอันดับที่4

Search

Read the Text Version

น m

นิทานชาดกเล่มสี่ &'๑ .ต่อมาไม่นานนัก มีลมพายุพัดอื้ออึงมาเป็นเวลานาน กิ่งไม้ ถูกลมพัดเสียดสีไปมาจนเกิดเป็นสะเก็ดไฟ กระเด็นไปถูกใบไม้แห้ง ที่ร่วงหล่นอยู่ชึ่งเป็นเชื้อเพลิงอย่างดี เปลวไฟจึงลุกโชติช่วงขืนและ ลามติดต้นไม้ไนบริเวณนนอย่างรวดเร็ว นกที่งหลายเหล่านั้นต่างบิน ออกจากรังไปคนละทิศคนละทาง แต่ไม่ว่ามันจะบินไปทางใด ก็เห็น แต่ควันไฟหนาทึบปิดนั้นไว้ทุกทาง นกเหล่านั้นต่างสำลักควันไฟ สิ้นแรงตกลงในกองเพลิงอย่างอเนจอนาถ 'ประซุมขๆดก ครั้นพระลัมมาลัมพุทธเจ้าตรัสชาดกจบลงแล้ว ทรงแสดง อริยลัจ ar โดยอเนกปริยายไปตามสำดับ พระภิกษุรูปนั้นสามารถ ทำ ใจให้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกาย ได้เข้าถึงธรรมกายพระโสดา บรรลุ ธรรมเป็นพระโสดาบัน ณ ที่นั้นเอง พระลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า นก'เทง'ฬลๆยทึ่เชื๋อฟ้ฃ ในครั้งนั้น ใต้มาเป็นพุทธบริษัท ในครงนี 'พญานก ได้มาเป็นพระองค์เอง ฟ้อคิดจๆกฃาดก ๑. การจะทำกิจทงหลายทั้งทางโลกและทางธรรมให้สำเร็จ ลุล่วงใต้ผลดีนั้น ที่อยู่อาศัยตลอดจนสิ่งแวดล้อมที่ดี ที่สบาย เป็น บัจจัยที่สำศัญประการหนิ่ง จึงสมควรศึกษาให้รูให้เข้าใจอย่างถูกต้อง และร้จ้กเลือกให้เหมาะสมกับตนเอง

(St๒ นิทานชาดกเล่มสี่ ๒. หมั่นปึกตนให้เป็นคนช่างสังเกต รู้จักระวังภัย เมื่อมี เหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึนอย่าเพิกเฉย ต้องตื่นตัว รู้จักคิดพิจารณา ถึงเหตุถึงผลที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า แล้วหาทางป๋องภันและแกไขเสีย ดังเช่นพญานกเห็นควันไฟเพียงเล็กน้อยก็สามารถพิจารณาเห็นภัย ที่จะตามมา และตัดสินใจแกไขโดยไม'รอช้า ๓. ไม่ควรยึดถึอในสิ่งที่คุ้นเคย เช่น ที่อยู่ที่สุขสบาย จนไม่ ตระหนักถึงภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า ตังเช่นพญานก ตัดสินใจทิงต้นไม้ที่ตนเคยอยู่อย่างสุขสบาย โดยไม่อาลัยอาวรณ์ เพื่อไปหาที่อยู่ใหม่ <£. การเป็นคนดือ ว่ายากสอนยาก เป็นการทำลายประโยซนั ตน และเป็นโทษต่อตนอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่โง่แล้ว ยังอวดฉลาด ในที่สุดมักจะไต้รับโทษภัยอย่างมหันต์ จนอาจถึงแก่ ชีวิตไต้ อรบายตัฬฬ สกุณซาดก (อ่านว่า สะ-ก-นะ-ชา-ดก) สกุณ นก ฬระกรรมฐาน วิธีฝืกอบรมจิตใจ

นิทานชาดกเล่มสี่ ๕€ก 'พระคาดา'ประจำชาดก ยนฺนิสฺลิตา ปถวีรุหํ วิหงคมๆ สายํ อคคึ ปมุจจติ ทิสๆ ภชถ วงฺกงคา ซาตํ ลรณโต ภยํ นกทั้งหลายอาศัยต้นไjTIด บัดนี้ต้นไม้นนจะเกิดไฟไหมขึ้นแล้ว ท่านทั้งหลายจงพากันไปอยู่เลียที่อื่นเถิด ภัยเกิดจากที่พึ่งของพวกเราแล้ว

ติตติรชาดก ซาดกว่าด้วยความเคารพ อ่อนน้อม สตๆนที่ดรสซๆดก ณ สถานที่ประทับระหว่างนครไพสาลี กับ นครสาวัตถี สาเทดุที่ดรสซๆดก เมื่ออนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างเซตวันมหาวิหาร ณ นครสาวัตถี เสเจแล้ว ได้ส่งคนไปกราบพูลพระสัมมาล้มพุทธเจ้าให้ทรงทราบ พระพุทธองค์จึงเสด็จออกจากกรุงราชคฤห์ ในระหว่างทางเสด็จนั้น พระพทธองค'ได้ประทับแรม ณ นครไพสาลี

นิทานชาดกเล่มสี่ ๕๕ ในระหว่างการเดินทางครั้งนน พระภิกษุ ๖ รูป เรียกว่า พระฉ้พพัคคีย์ เป็น^ม'ประมาณตน ไม่ประมาณบุคคล ได้กระทำ ไนสิ่งที่ไม่เหมาะสมคือ ไหศิษฺย์เดินทางล่วงหน้าไปก่อนเพื่อจับจอง เลนพนะ ไว้ให้พวกตน พระภิกษุทั้งหลายรวมทั้งพระลารีบุตรเดินทางมาถึงทีหลัง จึงไม่มีที่ฬก เพราะเสนาสนะถูกศิษย์ของพระฉัพพํโคคีย์จับจอง ^ ไปหมดแล้ว พระลารีบุตรนั้นท่านเป็นพระผู้!หญ' ได้รับการยกย่องว่าเป็น อัครสาวกเบื้องขวาของพระลัมมาลัมพุทธเจ้า แม้ท่านจะไม'มีที่พัก ก็มิได้ปริปากปนแต่อย่างไร กลับไปอาศัยโคนไม้ต้นหนึ่งซึ่งอยู่ใกล้กับ เสนาสนะของพระบรมศาสดาเป็นที่นงเจริญภาวนาและเดินจงกรม เช้ามืดวันรุ่งฃึน พระลัมมาลัมพุทธเจ้าเสด็จออกมาพบจึง ทรงกระแอมขึ้น ก็มืเลียงกระแอมตอบ พระพุทธองค์ตรัสถาม ก็ ได้ความว่าเป็นธรรมเสนาบดีลารีบุตร จึงทรงซักถามถึงสาเหตุที่ มาอยู่โคนไม้ เมื่อทรงทราบคำตอบแล้วก็ทรงสลดพระพัย เกิดธรรม ลังเวชว่า \"ขณะที่เราย้งปีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความเคารพ ยำ เกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็น อย่างไร\" ครั้นเวลารุ่งเช้า พระพุทธองค์จึงมืรับสั่งไห้ภิกษุมาประชุมกัน เมือทรงสอบถามถึงเหตุดังกล่าวแล้ว ทรงติเตียนพระภิกษุอัพพัคคีย์นั้น แล้วทรงตั้งคำถามขึ้นไนที่ประชุมสงฆ์ว่า

lirb นิทานชาดกเล่มสี่ ir. \"หากมีอาหาร นํ้า และที่อยู่อาศัยอันสะอาด ประณีต เป็นเ^ * ภิกษุประเภทใดควรได้รับสิงของเหล่านั้น\" พระภิกษุทั้งหลายต่างกราบทูลแตกต่างกันไป เซ่น ให้ผู้ที่ บวชจากตระกูลกษัตริยไ,ด้รับก่อนบ้าง s จากตระกูลพราหมณ์ได้รับ ก่อนบ้าง บางรูปก็ให้ พระวินัยธร และ พระธรรมกถึก บางรูป ให้พิจารณาจากระดับธรรมที่ได้ คือ พิจารณาจากพระอรหันต์ลงมา บ้าง เหล่านี้เป็นต้น พระบรมคาสดาจึงตรัสว่า \"ดูก่อนภิกษุทงหลาย ข้อที่กล่าวมาทงหมดนั้น ไม่ควรนำมา เป็นเครื่องพิจารณา พระผู้ใหญ่ผู้เจริญด้วยคุณวุฒิและรัยวุฒิ ต่างหากเล่า จึงจะเป็นผู้ที่สมควรได้รับของอันเลิศ ควรได้รับการ กราบไหว้ การลุกขึ้นด้อนรับ การแสดงความเคารพยกย่องตาม สมควร สาริบุตรอัครสาวกของเราควรจะได้รับเสนาสนะอัดจากเรา แต่กลับต้องอยู่โคนไม้ตลอดทงคืน เพราะพวกเธอขาดความเคารพ ย่าเกรง นับว่าประพฤติไม่สมควรต่อท่าน ป'จจุบันพวกเธออังเป็น อย่างนี้แล้วต่อไปภายหน้าจะเป็นเข่นไร\" พระบรมศาสดาทรงมีพระประสงค์จะประทานโอวาทแก่ พระภิกษุเหล่านั้น จึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ แล้วตรัสว่า \"ในกาลก่อน แม้ลัตว้เดียรัจฉานทงหลายอังคำนึงถึงการ ปฎิปติข้อนี้ จึงพยายามเลือกหาผู้มีอายุและมีคุณธรรมสูงกว่าใน หมู่ตน เพื่อแสดงความเคารพย่าเกรง\"

นิทานชาดกเล่มสี่ (Srcii ตรัสดังนั้นแล้ว พระพุทธองค์ทรงน่า ดิตติรขๆดก มาแสดง ดังนี้ (.นอหาซาดก ในอดีตกาล ณ ป่าใหญ่แห่งหนึ่ง มีสัตว์ ๓ ชนิด คือ นกกระทา ลิง และช้าง อาศัยอยู่ด้วยกันที่ต้นใทรใหญ่กลางป่า สัตว์แต่ละดัวต่างมีความถือดี ประพฤติตนตามใจชอบโดยไม'เคารพ ยำ เกรง ซึ่งกันและกัน ช้างถือว่าตนเป็นสัตว์ใหญ่ เมื่อดันสีข้างก็จะเอาลำดัวอันใหญ่ ไตช่องมันถูกกับต้นใทรจนต้นไทรสะเทือน หรือไม่ก็จับต้นไม้เขย่า เล่นบ้าง เมื่ออยากร้องก็แผดเสียงดังลั่นป่าจนนกกระทาและลิง สะดุ้งตกใจ ส่วนลิง ถือว่าตนมีความคล่องแคล่วว่องไว ปีนต้นไม้เก่ง ช้างไล่จับตัวไม'ทัน จึงชอบแกล้งช้างโดยหักกิ่งไม้ที่มีรังมดแดงโยนไล่ ช้างบ้าง หรือนึกสนุกขึ้นมาก็รื้อรังนกกระทาทิงเสียบ้าง ส่วนนก กระทา แม้จะตัวเล็กที่ลุด แต่ก็ถือว่าตัวเองบินไดีจึงถ่ายรดหัวลิง และช้างบ้าง อยากจะขันขึ้นมาเมื่อไร ก็ล่งเสียงทันทืโดยไม'เลือกเวลา สัตJ^สามจึงหาค-วามสง1เไม'ได้ ต่างมีความรู้สึกโกรธเคืองกันอยู่ เนือง ๆ วันหนึ่ง ลิงหักกิ่งไม้มาเคาะหัวช้าง ช้างโมโหจึงเขย่าด้นไทร นกกระทารำคาญมากจึงร้องขึ้นว่า \"เจาลิงนี่น่าเบื่อจริง ๆ ชอบแกล้งเจ้าช้างอยู่เรื่อย ส่วนเจ้า

๕๘ นิทานชาดกเล่มสี ช้างก็ตัวโตเลียเปล่า ยังเล่นเป็นเด็กๆอยู่ไตั' ช้างจึงย้อนว่า \"ถ้าไม่อยากให้ช้าเล่นเป็นเด็ก ๆ ก็เรียกช้าว่าพี่ลี\" \"เฮ'ย! จะมากไปเจ้าช้างเอ๋ย ช้าว่าช้าแก'กว่าเจ้าตั้งเยอะ เจ้านันแหละควรเรียกช้าว่าพี\" ลิงใต้กลับท้นที แต่ช้างยังคงเถียง อีกว่า \"ใครตัวโตกว่าก็ควรเป็นพี่ลี เจ้าตั้งสองตัวเล็กกว่า ควรเป็น น้องถึงจะถูก\" แต่ลิงและนกกระทาไม'ยอมรับข้อสรุปของช้าง นกกระทา กล่าวว่า \"ผู้เกิดก่อน ควรเป็นพี'ถึงจะถูก\" \"ก็ถูกละ แต่จะรูไตัอย่างไรล่ะ? ว่าพวกเราตั้งสามนี่ ใคร เกิดก่อนใคร\" ลิงถาม ลัตว์ทงสามครุ่นคิดหาวิธีนับอายุของพวกตนว่าใครจะแก่ กว่ากันอยู่เป็นเวลาหลายวัน ในที่ลุด วันหนึ่ง นกกระทาและลิง ถามช้างว่า \"ปี....เจ้าช้าง! เจ้ารู้หรีอเปล่า ว่าตันไทรพี่เราอยู่นี่ มันอายุ เท่าไรแล้ว?\" ช้างตอบว่า \"อายุเท่าไรปะ ช้าไม่รู'หรอก รูแ้ต่ว่า เมื่อช้ายังตัวเล็ก ๆ อยู่ปะ ตันไทรนี่สูงแค'ท้องของช้า เวลาเดินช้ามตันไทรยังรูสึกจั๊กจ ท้องเลย\" ว่าแล้วช้างกับนกกระทาก็ถามลิงบ้าง

m

bo นิทานชาดกเล่มสี \"พูดแล้วจะว่าคุย\" ลิงตอบ \"เมื่อข้ายังเล็ก ๆข้าชอบเล่น ข้างต้นไทรนี่ นึกอยากกินยอดต้นไทรเมื่อไร ข้ากํอ้าปากงับกินไต้ สบาย ๆ ไมต้องชะเง้อให้เมื่อยคอต้วยซํ้า\" ช้างกับลิงจึงถามนกกระทาบ้าง นกกระทาจึงตอบว่า \"เมื่อข้ายังเล็ก ๆ น่ะ ทีต่รงนี่ยังไม่มีต้นไทรหรอก มีแต่ ต้นไทรใหญ่ที่เห็นอยู่ไกล ๆต้นให้น ข้าไปกินลูกไทรที่ต้นนี่น แล้วมาถ่ายลงที่นี่ ต่อมาต้นไทรก็งอกขึ้น ข้ารูจกต้นไทรนี่ตงแต่มันยัง ไม่เกิดเลย เพราะฉะนี่น ถ้านับอายุกันแล้ว ในพวกเราทั้งสามนี่ ข้าแก'ที่สด\" เมื่อรู้ว่าใครแก่กว่ากันแล้ว นกกระทาซึ่งตัวเล็กที่สุด จึงเป็น พี่ใหญ่ ลิงเป็นพี่รอง ส่วนช้างตัวใหญ่เป็นน้องเล็กส้ตว์ที่งฟิามต่าง มีความเคารพกันตามลำตับอาวุใล เลิกกลํ่นแกล้งรังแกกัน มีอะไร ก็หันหน้าเขาปรึกษาหารือกัน แม้เมื่อจะออกไปหาอาหารกินก็ไป ด้วยกัน โดยนกกระทาจะขี่หลังช้างไป ส่วนลิงจะห้อยโหนไปตาม กิ่งไม้บ้าง กระโดดขี่หลังช้างบ้าง เมื่อไปถึงต้นไม้ที่ต้องการ ลิงจะ ปีนขึ้นไปเก็บผลไม้ แล้วส่งไห้ช้างนำลงมากินด้วยกันอย่างอิ่มหนำ ลำ ราญทั้งลามพี่น้อง และยังบรรทุกผลไม้กลับมาเก็บที่ต้นไทรไว่กิน ไนวันต่อไปอีกด้วย นกกระทาผู้เป็นพี่ไหญ่นน เป็นผู้มีความรู้ความคิดดี จึงคอย ไหโอวาทแก่น้องทั้งสองเสมอ ทั้งยังชักชวนไห้รักษาศีลห้าอีกด้วย ลัตว์ทั้งสามจึงอยู่ด้วยกันอย่างผาสุกตลอดชีวิต ครั้นลิ้นชีวิตไปแล้ว ได้ไปเกิดเป็นเทวดาบนสรวงสวรรค์ด้วยกันทั้งหมด

นิทานชาดกเล่มสี่ ๖๑ 'ประซุมซๆดก เมื่อตรัส ดิดดิรซๆดก จบลงแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงให้โอวาทแก่พระภิกษุทงหลายว่า \"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้สัตว์เดียร้จฉานยังมีความเคารพ ยำ เกรงซึ่งก้นและก้น เธอทั้งหลายมาบวชในพระธรรมวินัยที่เรา กล่าวไวิดีแล้ว เพราะเหตุใดจึงไม่เคารพยำเกรงซึ่งก้นและก้นเล่า ต่อไปนี้ เธอจงลุกขึ้นต้อนร้บ แสดงความเคารพและปฎิปีติต้วยดี ต่อผู้ที่มีความเจริญกว่าโดยลำดับ บุคคลผู้เจริญต้วยคุณและวัย นั่นแหละ เป็นผู้สมควรไดัรับเสนาสนะและบิณฑบาตอันลาเลิศ ทัง้แต่บัดนี้ไปห้ามภิกษุผู้มีพรรษาน้อยภิดก้นเสนาสนะต่อพระภิกษุ ผู้มีพรรษามากกว่าตน ภิกษุใดละเมิด ต้องอาปีติทุกกฎ\" แล้วตรัสว่า \"ผู้ใดฉลาดในธรรม อ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ บูชาต่อผู้เจริญ ผู้นนย'อมไต้รับการสรรเสริญในชาตินี้ และมีสุคติเป็นที่ไปใน เบื้องหน้า\" พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า ช้าง ได้มาเป็นพระโมคคัลลานะ นกกระ'ตา ได้มาเป็นพระองค์เอง สิง ได้มาเป็นพระสารีบตร

๖๒ นิทานชาดกเล่มสี่ ข้อคิดจๆกปีๆดก ๑. บุคคลที่จัดว่าเป็นผู้!หญ่ ควรแก่การเคารพกราบไหว้ ได้แก่ ๑ ผู้!หญ่โดยกำเนิด เช่น พระมหากษัตริย์ ๒ ผู้ใหญ่โดยคุณธรรม เช่น พระภิกษุสงฆ์ ครูบา อาจารย์ ผู้ษังคับบัญชา ๓ ผู้ใหญ่โดยอายุ เช่น พี่ ปัา น้า อา พ่อแม่ หรือ ผ้ที่แก่กว่าเรา ข ๒. วิธีแสดงความเคารพต่อผู้!หญ' เช่น ๑ ไหว้ กราบ ๒ แสดงกิริยาอ่อนน้อมให้เกียรติ เช่น ลุกขึ้นยืน ต้อนรับ หลีกทางให้ ให้ที่นั่งแก่ท่าน ไม่บังหน้า ท่าน เป็นต้น ๓ ต้องอยู่ในโอวาท คือ ปฎิบ้ติตามคำสั่งสอน ของท่าน ๓. สิ่งที่ผู้น้อยไต้รับจากการปฏิปติต่อผู้ใหญ่ด้วยความเคารพ ได้แก่ ๑ ได้รับคำสั่งสอนให้ตั้งอยู่ในความดี ละเว้น ความชั่ว ๒ ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้ ๓ ได้รับความช่วยเหลือ <r ได้ฬงสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง และได้รับการขยายความ สิ่งที่เคยฟังแล้วให้แจ่มแจ้งยิ่งขึ้น

นิทานชาดกเล่มสี่ ben sr. ความเคารพ อ่อนน้อมถ่อมตน เป็นบ่อเกิดของความลุข เพราะ ๑ ทำ ให้เป็นคนน่ารัก น่าเอ็นดู น่าเกรงใจ ๒ เป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ไม่มีเวร ไม่มีภัย อยู่เป็นสุข ๓ ทำ ให้เกิดความสามัคคีในหมู'คณะ sr ทำ ไหได้คบกัลยาณมิตร ๕ ทำ ไหใด้ที่พึ่งทั้งในภพนี้ และภพหน้า อธิบๆยฅั'ฬท์ ติตติรชาดก (อ่านว่า ติด-ติ-ระ-ชา-ดก) ติตติร นกกระทา 'พระฉั'พ'พคคีย์ เป็นภิกษุกลุ่มหนึ่งไนลมัย'พุทธกาล มี ๖ รูบ่ มีความประพฤติไม่เรียบร้อย ไม'ตงไจบ่ฎิปติธรรม มักประพฤติไม'ลมควรเลมอ ๆ เป็นเหตุไห้ พระสัมมาสัม'พุทธเจ้าต้องทรงบัญญ้ติพระวินัย ปอย ๆ เสนาสนะ ที่นอน ที่นั่ง ที่อยู่อาศัย 'พระวิ'นัยธร พระภิกษุผู้มีความแตกฉานไนเรื่องพระวินัย มี หน้าที่ตัดสินปัญหาต่าง ๆ ทางวินัยของลงฆ์ 'พระธรรมกสีก พระภิกษุผู้มีความลามารถไนการแลดงพระธรรม เทศนา

๖(ร: นิทานชาดกเล่มสี่ พระคาถา'ประจำขาดก เย วุฑฺฒมปจายนติ นรา ธมฺมลล โกวิทา ทิฎเ^ ธมฺเม จ ปาลํสา สมฺปราเย จ สุคติ ผู้Iดฉลาดในธรรม มีดวามอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ บซาต่อผู้เจริญ ผู้นั้น ย่อมได้รับความสุขในชาตินี้ และมีสุคติเป็นที่ใปในเบื้องหน้า

พกชาดก ชาดกว่าด้วยผู้ฉลาดแกมโกง สถๆนทีดรสชๆดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเทดุที่ดรสชาดก ในสมัยพุทธกาล ณ เซตวันมหาวิหาร มีพระภิกษุรปหนึ่ง เป็นผู้มีศิลปะในการตัด-เย็บ-ย้อม-และรีดจีวร สามารถทำผ้าเก่า ให้ดูเหมีอนผ้าใหม่ได้อย่างสวยงามประณีต โดยการนำผ้าเก่ามาซัก ให้สะอาด ตัดเย็บเป็พีวรแล้วย้อมด้วยสีที่ผสมขึ้นเป็นพิเศษ จากนั้น ก็ลงแปังอย่างดี แปังนั้นเมือละลายนำแล้วจะเข้าไปอุดตามรูเล็ก อุ ของผ้าเก่าทำให้เนื้อผ้าดูแน่นขึ้น หลังจากนั้นก็รีดด้วยหอยสังข์ ขนาดใหญ่เพื่อให้เรียบเป็นเงางาม

นิทานชาดกเล่มส ความสามารถในการตัด-เย็บ-และย้อมจีวรของภิกษุรูปนี เป็นที่ยอมรับกันในหมู่สงฆ์ จนได้รับฉายานามว่า ๆ((ระจีวรวัฑฒกะ ซึ่งแปลว่า ผู้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม เมื่อวันเวลาล่วงผ่านใป พระจีวรวัฑฒกะรูปนีเกิดมีจิตคิด ละโมบ กล่าวคือ คราวใดที่ภิกษุบวชใหม่นำผ้าใหม่เนือดีมาขอร้อง ให้ท่านอษุเคราะห์ตัดเย็บให้ ท่านก็มักทำอุบายขอแลกเปลี่ยนจีวรเก่า ซึ่งได้เก็บสะสมไว้ กับผ้าใหม่เนื้อดีของภิกษุเหล่านั้นอยู่เสมอ โดย อ้างว่าการนำผ้าใหม่มาท่าจีวรนั้นยาก ต้องใช้เวลานานหลายวัน ซึ่งผ้าจีวรที่ท่าเอาไว้แล้วนื้ก็ดีเหมือน ๆ กัน แล้วมอบผ้าจีวรเก่านั้น ให้ภิกษุบวชใหม่ไป ครั้นภิกษุบวชใหม่นั้งหลายนำจีวรที่แลกมาได้นั้นไปซักด้วย นํ้าร้อน แย้งที่ลงไว้อย่างดีก็ละลายออก เห็นได้ซัดว่าเป็นผ้าเก่า เนื้อหยาบ มีรูพรุนตลอดทั้งผืน ภิกษุเหล่านันจึงรู้ว่าตนถูกหลอก ต่างก็ปนว่าต่าง ๆนานาด้วยความไม่พอใจ พฤติกรรมอันน่ารังเกียจ ของพระจีวรวัฑฒกะรูปนีเป็นที่เลื่องลือไปทั่วเขตวันมหาวิหาร ณ วัดอีกแห่งหนึ่งในซนบท ไกลออกไปจากเมืองสาวัตถี มืพระภิกษุผู้เชี่ยวชาญในการตัดเย็บจีวรอีกรูปหนึ่ง มีพฤติกรรม เช่นเดียวกับพระจีวรวัฑฒกะแห่งเซตวันฯ พระภิกษุทั้งหลายในวัด ซนบทแห่งนั้นเมื่อถูกหลอก จีงกล่าวติเตียนว่า ท่านนีมืนิสัยเช่น เดียวกับพระภิกษุรูปหนึงทีเขตวันมหาวิหารไม'ผิดเพียนกันทีเดียว เมื่อพระจีวรวัฑฒกะแห่งชนบททราบตังนั้น แทนที่จะ ละอายใจ กสับคิดอยากลองผืมือในการหลอกลวงว่าใครจะมีความ

นิทานชาดกเล่มสี่ ๖๗ แนบเนียนประณีตกว่ากัน จึงนุ่งห่มจีวรเก่าที่แสร้งทำให้ดูสวยงาม มีราคาแพง แล้วออกเดินทางไปเซตวันมหาวิหารทันที ด้วยความที่หลอกลวงคนอื่นมามาก ไม'ได้นึกเฉลียวใจว่า ตนจะถูกหลอกบ้าง ดังนั้น เมื่อพระจีวรวัฑฒกะแห่งเซตวันฯ เห็น จีวรที่สวยงามของพระจากซนบทก็ซอบไจ บังเกิดความอยากได้ ขึ้นมาเป็นกำลัง จึงแกล้งซวนพระจีวรวัฑฒกะแห่งซนบทสนทนา แล้วไซ้อุบายขอแลกจีวรนั้นกับผ้าเก่าของตน แต่บังเอิญผ้าจีวรเก่า ที่ซักรีดสะสมเอาไว้หมดลงพอดี จึงด้องนำเอาผ้าไหม'เนื้อดีที่มีอยู่ ออกมาแลกเปลี่ยน พระจีวรวัฑฒกะแห่งเซตวันฯ นำ จีวรที่แลกมาได้นั้นห่มด้วย ความชื่นซม นึกกระหยิ่มไจไนความฉลาดแกมโกงของตนเป็นยิ่งนัก แต่ความเบิกบานนั้นมีอยู่ได้เพียง 2-3 วัน ก็รู้ว่าตนถูกหลอกเสียแล้ว เพราะเมื่อนำผ้านั้นไปซักด้วยนื้าร้อน ความเก่าครํ่าคร่าของผ้าก็ ปรากฏขึ้นทันที พระจีวรวัฑฒกะแห่งเซตวันฯ รูลึกอับอายขายหน้า มาก พยายามปิดบังเรื่องนื้ไว้แต่ก็ไม'มิด ความเรื่องนื้กลับเลื่องลือ ไปทั่วทงเซตวันมหาวิหาร ครั้นพระภิกษุทั่งหลายพากันกล่าวถึงเรื่องนื้ไนธรรมสภา พระลัมมาลัมพุทธเจ้าจึงทรงระลึกซาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ แล้วตรัสว่า \"ดูก่อนภิกษุ 'หระจีวรวัฑฒกะแฟงเซตวันมหาวิหารนี้ มิไต้หลอกลวงผู้อื่น แต่บัดนี้เท่านี้น แม้ในกาลก่อน ก็หลอกลวง ผู้อื่นมาแล้วเหมือนกัน และ'หระจีวรวัฑฒกะแห่งชนบทนี้นก็มิไต้

๖๘ นิทานชาดกเล่มส หลอกลวงพระจีวรวัฑฒกะแห่งเซตว้นๆ ในบัดนี้เท่านั้น แม้ใน กาลก่อนก็ได้หลอกลวงแล้วเช่นก้น\" ตรัสแล้วพระพุทธองค์ทรงนำ พกชาตก มาตรัสเล่า ดังนี้ เนอหๆชาดก ในอดีตกาล ณ หนองนํ้ากลางป่าแห่งหนึ่ง เป็นที่อาศัยของ ป่ลาเป็นจำนวนมาก ฝูงปลาเหล่านี้อาศัยอยู่รวมกันด้วยความผาลุก ตลอดมา คราวหนึ่งในฤดูแล้ง นํ้าในหนองได้งวดลงมากกว่าทุกปี มีนกยางตัวหนึ่งบินผ่านหนอุงนํ้านี้น เห็นปลาแหวกว่ายกันอยู่อย่าง แออัด ก็เกิดความอยากจะกินปลาเหล่านั้น จึงร่อนลงไปริมหนอง แล้วแกล้งทำอุบายยืนจับเจ่าดีหน้าเศร้าอยู่ ปลานั้งหลายลงลัยในอาการของนกยาง จึงว่ายอยู่ห่าง ๆ แล้วร้องตะโกนถามว่า \"ท่านกำลังทำอะไรอยู่น่ะ ดูทำ นไม่ค่อยสบายเลย\" นกยางแสร้งตอบเสียงเรียบ ๆ ว่า \"ข้ากำลังนึกสงสารพวกเจ้า ทีำก' ลังจะต้องตายกันหมดน่ะซี เพราะปีนี้อากาคร้อนจัดกว่าทุกปี ฝนไม่ตกลงมาเลย อีกไม่ข้านํ้า ก็คงจะแห้งขอดเช่นเดียวกับหนอง■นาทั้งหลายในละแวกนี้\" ฝูงปลาต่างตระหนกตกใจเมื่อได้ฬงคำของนกยาง จึงรุมถาม ต่อไปว่า

นิทานชาดกเล่มสี่ ๖๙ \"แล้วพวกเราจะทำอย่างไรกันดีล่ะนี่\" นกยางแกล้งทำทีว่ามีเมตตา พูดว่า \"ข้าเองน่ะบินไปไหนมาไหนได้ ก็เลยอยากจะบอกพวกท่าน เพื่อเอาบุญว่า ไม่ไกลจากหนองนํ้านี้มีสระบัวใหญ่อยู่แห่งหนึ่ง แม้นี่าจะลดลงบ้างเหมีอนกัน แต่ก็ไม่มีวันแห้งขอดเหมีอนที่นี่ เอาเถอะ ข้าจะช่วยชีวิตพวกเจ้าเอาบุญ โดยจะต่อย ๆคาบพวกเจ้า ไปที่สระนํ้านั้นทีละตัว ๆ\" ปลาทีงหลายต่างดีใจที่จะรอดตาย แต่ถึงกระนั้นก็ไม่วาย คิดระแวงว่า นกยางจะหลอกจับกิน จึงต่างรีๆรอๆหันหน้า ปรึกษากัน นกยางสังเกตเห็นว่าปลามีทีท่าไม'ไว้ใจตน จึงพูดขืนว่า \"พวกเจ้าอาจจะยังไม่เชื่อข้าก็ได้เอาอย่างมีซิ จงตัดเลือก ตัวแทนไปดูสระใหญ่นํ้นกับข้าก่อนก็ได้นี่นะ\" ไนที่สุด ฝูงปลาจึงตกลงไจคัดเลือกปลาหมอตัวไหญ่ทีมีเกล็ด แข็ง สามารถอย'บนบกได้นานเป็นตัวแทนไปพิสูจน์คำพดฃองนกยาง ข่ ขุ่ ฝ่ายนกยางเมื่อคาบปลาหมอไปถึงสระนั้นแล้ว ก็ปล่อยไห้ ปลาหมอดำผุดดำว่ายสำรวจดู จนทั่วสระเป็นที่สำราญไจ แล้วจึง คาบปลาหมอนั้นกสับมายังหนองนํ้าเดิม ครนฝูงปลารุมซักถาม ปลาหมอจึงคุยไห้ฟังว่า \"สระที'ข้าไปมานั้น ใหญโตกว้างขวาง นั้าใสสะอาดชื่นใจ ริมฝังมีด้นไม่ใบหญ้าขึ้นเชียวชอุ่ม ในสระนั้นมีดอกบัวถึง 5 สี น่าอยู่อาศัยจริง ๆ\"

i /ไ^'^' f ^M :2 H ไ^^<:^!^ ^Sr\"w ^

นิทานชาดกเล่มสี่ ๗๑ ปลาทั้งหลายฟังดังนั้นก็ตื่นเต้นดีใจ ต่างขอร้องไห้นกยาง ช่วยคาบตนไปปล่อยยังสระใหญ่นั้น นกยางนึกกระหยิ่มไจยิ่งนัก ที่ฝูงปลาหลงกลตามแผนของตน จึงรับปากกับพวกปลาว่า \"เอาล่ะ ๆข้าจะช่วยคาบพวกเจ้าไปจนครบหมดทุกตัวทีเ^ยว\" ว่าแล้ว นกยางก็คาบเอาปลาหมอตัวเดิมไปก่อน แต่แทนที่ จะปล่อยลงไนสระใหญ่ มันกลับบินร่อนลงที่ต้นทุ่มริมสระ เอาปลา สอดเข้าระหว่างกิ่งไม้ ไมให้ปลาดิ้นหนีลงนํ้าไต้ แล้วไข้จงอยปากจิก กินเนื้อปลาจนหมด ทิ้งก้างปลาไว่ใคนต้นทุ่มนั่นเอง ครั้นแล้ว นกยางก็บินกส์บไปคาบปลาตัวไหม'จากหนองนํ้า มากินที่โคนต้นทุ่มอีกทีละตัว ๆ ทิ้งก้างปลาเกลื่อนกลาดอยู่ไต้ โคนต้นทุ่มนั้นเอง จนกระนั่งปลาหมดหนองนำ เหลือเพียงปูเดินงุ่มง่ามอยู่ ตัวเดียว นกยางจึงไข้อุบายเดิมจะหลอกกินปู ปูนั้นถึงแม้จะไม'ไว่ไจนกยางเลยลักนิด แต่ก็จนไจเพราะนํ้า ไนหนองนั้นงวดลงทุกที เมื่อนกยางอาสาจะคาบไปยังสระไหญ' ปจึงกล่าวว่า \"รูปร่างของข้าไม่เหมือนปลา กระดองข้าไวนแข็ง ท่านคง คาบไม่ถนัด ข้าขออนุญาตเอาก้ามของข้าหนีบคอท่านไว้ ไม่อย่างนํ้น ข้าอาจตกลงมาตาย\"

๗๒ นิทานชาดกเล่มสี่ นกยางนั้นแม้ฉลาด แต่ขาดความเฉลียว หลงเข้าใจว่าปโง' ข หลอกได้ง่ายเหมือนพวกปลา จึงยอมให้ปหนีบคอตัวไวI %้^ ครํ้นบินมาถึงสระใหญ่ นกยางก็ม่ายหน้าไปทางด้มกุ่ม ปูเห็นตังนั้นจึงร้องว่า \"เอ๊ะ ทำ ไมท่านมาทางนี้ ไม่ไปสระนี้าล่ะ\" นกยางหัวเราะ แล้วตอบว่า \"เจ้าปูเอ๋ย ข้าไมใช่คนรับใช้ของเจ้านี่นะ จะได้เที่ยวพาเจ้า ไปไหนต่อไหนตามใจขอบ ประเดี๋ยวข้าก็จะกินเจ้าที่ด้นทุ่มเหมือน ปลาโง่ๆ พวกนี้นนั่นแหละ\" คราวนี้ปูกลับหัวเราะขึ้นอย่างใจเย็น แล้วพูดขึ้นบ้างว่า \"เจ้านั่นแหละโง่ เรื่องอะไรข้าจะยอมให้เจ้ากิน อย่าลืมว่า ก้ามของข้าหนีบคอเจ้าอยู่ ก้ามของข้าทั้งใหญ่และแข็งแรง พอที่จะ ตัดคอเจ้าขาดได้ในพริบตา ถึงข้าจะด้องตกลงไปตาย แต่เจ้าก็จะด้อง ตายก่อน\" ว่าตังนั้นแล้ว ปูก็บีบก้ามให้กระชับขึ้นอีกเล็กน้อย นกยาง ถึงกับอ้าปากนํ้าตาไหลพราก เพราะหายใจไม่ออก คิดว่าปล่อยปู ไปดีกว่าที่จะคอขาดตาย จึงรีบละลํ่าละลักขอโทษปู แล้วบินม่ายหน้า ไปทางสระนํ้า เมื่อร่อนลงจวนถึงพื้น ปูยึดขาลงแตะโคลนริมสระได้ ก็บีบ ก้ามจนสุดแรงหนีบคอนกยางขาดทันที จากนั้นจึงเดินลงนํ้าไป รุกขเทวดาซึ่งสิงสถิตอยู่ที่ด้นทุ่ม เห็นเหตุการณ์เหล่านี้โดย

นิทานชาดกเล่มสี่ ๗๓ ตลอด จึงกล่าวสุภาษิตขึ้นว่า \"บุคคลใดใช้ปัญญาหลอกลวงผู้อื่น ย่อมไม่ได้ร้บความสุข เป็นนิจ เพราะผู้ใช้ปัญญาหลอกลวงผู้อึ่น ย่อมประสบผลบาปกรรม ที'ตนทำไว้ เหมือนนกยางถูกปูหนีบคอฉะนน\" บระซุมซๆดก พระสัมมาล้มพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า นกยาง ได้มาเป็นพระจีวรวัฑฒกะแห่งเซตวันมหาวิหาร 'ปู ได้มาเป็นพระจีวรวัฑฒกะแห่งชนบท รกขเ'ฬชดา ได้มาเป็นพระองค์เอง ซ้อคิดจากชาดก ๑. คนเราควรพึ่งตนเองให้มากที่สุด อย่าคิดพึ่ง^น งานใด ที่พอแกได้พอทำได้ ก็ควรแกควรทำเอง ๒. อย่าไวิใจคำพูดชักจูงของตัวแทนมากเกินไป นโยบาย ชวนเชื่อหรือหลอกลวงประชาชนหมู่ใหญ่โดยการส่งตัวแทนไปดู เหตุการณ์ต่าง ๆ แล้วกสับมาเล่าลู่กันฟังเอง จะได้ตายใจ หลงเชื่อ ได้ง่ายนั้น มีอยู่'สุกยุคทุกสมัย นักเรืยน นิสิต นักศึกษา ตลอดจนผู้หลัก ผู้ใหญ่ทงหลายพึงระวังไว้ ๓. ผู้ที่มากด้วยเล่ห์กล ชอบหลอกลวงคนอื่น สักวันหนึ่ง จะถูกเขาซ้อนกลให้บ้าง fiT. บุคคลใดคิด'ชั่ว ทำ ชั่ว ย่อมได้รับผลชั่วตอบสนองอย่าง แ'น่นอน

๗cs: นิทานชาดกเล่มสี อธิ'นๆยฟ้'ฬท์ พกชาดก (อ่านว่า พะ-กะ-ชา-ดก) \"พก (พะ-กะ) นกยาง เป็นนกกินปลาชนิดหนึ่ง ปากแหลม ขายาว ชอบหากินตามชายนํ้า 'พระคาดๆ\"ชระจำชาดก นาจจนุตํ นิกติปฺปณโณ นิกตยา สุขเมธติ อาราเธ นิกติปปณฺโณ พโก กกฺกฏกามิว บุคคลใดใ'ช้ปัญญาหลอกลวง^น ย่อมไม่ได้รับความสุขเป็นนิจ เพราะผู้Iช้ปัญญาหลอกลวง^น ย่อมประสบผลบาปกรรมที่ตนทำไว้ เหมือนนกยางถูกปูหนีบคอฉะนี้

นันทซาดก ซาดกว่าด้วยความมานะถือตัว สคๆนที่ดรสซาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเทดุที่ตรสซาดก พระสารีบุตรเถระ' ^ด้ชื่อว่าเป็นเลิศทางปัญญาและเป็น พระอัครสาวกเบื้องขวาของพระสัมมาลัมพุทธเจ้านน ท่านมีลูกศิษย์ มากมาย และเอาใจใส่สั่งสอนอบรมลูกศิษย์ของท่านอย่างเต็ม ความสามารถโดยไมปีดปังอำพราง ส่วนศิษย์ทงหลายก็มีความเคารพ นบนอบ อยู่ในโอวาทของท่านอย่างดียิ่ง

๗๖ นิทานชาดกเล่มสี่ อยู่มาคราวหนึ่ง พระลารีบุตรได้พูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพือ จาริก ไปยังทักขิณาคีรีซนบท ด้วยประสงค์จะเผยแผ่พระพุทธ ศาลนาไปสู'หมู'ชนที'อยู่ห่างไกลเหล่านั้น โดยมีพระภิกษุผู้เป็นศิษย์ รูปหนึงซึงมีความประพฤติเรียบร้อย รู้จักเอาใจไล่ปรนนิปติอย่างดี ติดตามไปรับใช้ด้วย ครั้นถึงเขตชนบทแล้ว ศิษย์ผู้เรียบร้อยเคยอยู่ในโอวาทผู้นี้ กสับประพฤติตนผิดจากเดิม ราวหน้ามือเป็นหลังมือ คีอมีท่าที กระด้างกระเดื่อง ไม'เชื่อฟัง พูดจายอกย้อนโต้เถียง งานการที่เคย ปฎิปติกลับละเลยเสียสิ้น พระลารีบุตรเห็นผิดสังเกตไปมาก และ แมีใด้สำรวจตนเองแล้วว่ามีช้อบกพร่องประการใด ศิษย์จึงได้ขาด ความเคารพถึงเพียงนี้ ก็หาได้พบช้อบกพร่องเหล่านั้นไม' จึงได้แต่ เก็บความลงลัยนั้นไว้ตลอดเวลา เมื่อเลเจลินภารกิจแล้ว ท่านจึงได้เดินทางกลับ เมื่อกลับ เช้ามาอยู่ในเชตวันมหาวิหารอีกครั้งหนึ่ง ศิษย์ฒูกลับมีนิลัยอ่อนโยน ปรนนิปติรับใช้อย่างดีเยี่ยมเช่นเคย ลร้างความแปลกใจให้ท่าน เป็นอย่างยิ่ง เพราะท่านเองก็มิใด้ประพฤติตนผิดไปจากเดิมแต่ ประการใดเลย เมื่อพระลารีบุตรมาเฝัาพระสัมมาลัมพุ่ทธเจ้า จึงกราบทูล เรีองศิษย์ผู้นีให้ทรงทราบ พระพุทธองค์ทรงระลึกชาติด้วยบุพเพ นิวาลานุลติญาณ แล้วตรัลว่า \"ดูก่อนสารีบุตร มิใช่แต่ปัจจุบ้นเท่านนที่'ภิกษุรูปนี้ประพฤติ ตนด้งที่กล่าวมา แม้ในชาติก่อน เมื่ออยู่ในที่แห่งหนึ่ง ก็ท่าด้วราวกับ

นิทานชาดกเล่มสี่ 6ป๗ ทาสที'เขาไถ่มาด้วยเงิน ๑๐๐ กหาปณะ แต่ครั้นไปอยู่อีกที'หนึ่ง กลับทำต้วเป็นศัตรูกับนายเสีย\" พระลารีบุตรจึงกราบพูลอาราธนาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ให้ทรงเล่าเรื่องราวแต่หนหสัง พระพุทธองค์จึงทรงนำ นนทชาตก มาตรัส ดังนี้ เนื้อหาชาดก ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตครองราชลมบ้ติ ณ กรุง พาราณสี มีชายชราฐานะรํ่ารวยคนหนึ่งไปได้ภรรยาที่ยังเป็นลาวรุ่น ทั้งลองอยู่ด้วยกันจนกระทั่งมีบุตรชายคนหนึ่ง วันหนึ่ง ชายชราคิดคำนึงถึงตนเองว่า เรานี้อายุก็มากแล้ว เปรียบเหมือนไมใกล้ฝัง จะตาย วันตายพรุ่งไม่รูได้ ถ้าเราตายไป เมืยเราคงหาพ่อไหมให้ลูก เขา จะเลยงลูกเราอย่างไร ไม่อาจรูได้เรานำสมบัติไปฝังไว้ก่อนดีกว่า รอให้ลูกโตแล้วค่อยมาขุดเอาไปใล้' คิดดังนี้แล้ว จึงเรียกนายนันทะ ทาลซึ่งตนไว้วางใจที่สุดมาหา แล้วชวนกันนำลมปติไปฝังไว่ไนป้า \"นันทะ เมื่อครั้งพ่อแม่ของเรายังอยู่ แม่ของเล้าไดีชื่อว่า เป็นคนที่ครอบครัวเราไวัเนี้อเชื่อใจที'สด มาในครั้งนี้ ก็มืเล้านี่แหละ ที่เราไว้วางใจยิ'งกว่าใคร จึงอยากให้เล้าช่วยเป็นธุระดูแลทรัพย์ •สมบัติไว่ให้ลกของเราจนกว่าเขาจะโต เราจะได้ตายตาหลับ....



นิทานชาดกเล่มสี่ ๗๙ และช่วยอบรมสั่งสอนให้เขาเป็นคนดีปีคีลธรรม ปีความขยันหมั่นเพียร จะให้รักษาทรัพย์ให้ และจะให้ปีความกตัฌญร้คฺณต่อเจ้าห้วย\" ®' ร/ชิ 9 ต่อมาไม'นาน ชายชราได้สิ้นชีวิตลง ฝ่ายภรรยาก็เลี้ยงดู ลูกน้อยของนางจนกระทั่งเติบใหญ่ขึ้น วันหนึ่ง นางได้กล่าวกับลูกว่า \"ลูกเอ๋ย ก่อนที'พ่อของลูกจะเสียชีวิตลง ให้ชวนลุงนันทะ ใปฝังสมบ้ติใวิในปา แม่เห็นว่าถึงเวลาที'ลูกจะขวนลุงนันทะใปขุด สมบัติเอามาใชีให้แล้ว จะให้นำมาเป็นทุนสร้างเนื้อสร้างตัวต่อใป\" ชายหน่มจึงไปหานายนันทะ แล้วกล่าวว่า \"\"ลุงจ„๊ะ เJดียวปมีัฉ่ันกJ็oใตเ\"ป็นหนุ,่มแล้Jว ถึงเวสาทีจะก่อร่าง สร้างตัวเสียที ต่อใปภายหน้าจะให้เลยงดูแม่และลุงใม่ให้ลำบาก ฉันอยากให้ลุงพาฉันใปขุดสมบัติที'พ่อฝังใว้มาทำทุนสักหน่อย\" นายนันทะรีบกุลีกุจอนำจอบเลียมไปยังป่าที่ฝังสมบ้ติไว้ แต่พอไปถึงที่ที่ฝังลมปติกลับยืนนึ่งเฉยเสีย ชํ้ายังหันมาตะคอก ชายหนุ่มว่า \"อะใรกัน เจ้านํะหรือจะปีทรัพย์สมบัติมาแต่ใหน ถ้าปี แม่ของเจ้าก็ห้องเป็นคนดูแลสิ เจ้าคนนนี่ แปลกพีลึก!\" นายนันทะยังกล่าววาจากระทบกระเทียบต่าง ๆ นานา ชายหนุ่มเห็นท่าไม่ดี จึงชวนกลับบ้าน ครนถึงบ้านแล้ว นายน้นทะ กลับพูดจาอ่อนโยนสนิทสนมเหมือนเติม ต่อมาอีกสองสามวัน ชายหนุ่มเห็นนายนันทะมือารมณ์ดี จึงชวนไปขดสมปติในป่าอีก นายน้นทะรีบไปด้วยความเต็มใจ

<^๐ นิทานชาดกเล่มสี่ ครนไปถึงที่ฝังทรัพย์ กลับพูดจาหยาบคายกระทบกระเทียบ โยน จอบโยนเลียมทิ้ง ชายหนุ่มมิไดโต้ตอบประการใด ไต้แต่ซวนกลับบาน เซ่นคราวก่อน ชายหนุ่มมีความแปลกใจยิ่งนัก แต่ไม่รู้จะทำประการใด พลันนึกถึงเพื่อนเก่าของพ่อ ซึ่งเป็นที่นับถือของคนทั่วไปว่าเป็น บัณฑิต จึงไปหาแล้วเล่าเรื่องทั่งหมดให้ฟัง บัณฑิตผู้เฒ่าลีบสาวราวเรื่องทั่งหมดแล้ว พอจะเข้าใจไต้ว่า นายนันทะผู้เป็นทาสนี้ เมื่อไปถึงที่ฝังทรัพย์คงเกิดมานะถือตัวว่า ตนผู้เดียวเท่าทั่นที่รู้ที่ฝังทรัพย์ นายจะต้องพื่งพาอาศัยตน หาก แม้ตนจะคิดคดโกงมาเลียทั่งหมดก็ไม่มีใครรูไต้ เพราะความลำพอง ใจจนลืมตัวเซ่นนี้ จึงกล้ากล่าววาจาซ่มขู่นาย แต่ครั้นมาถึงบ้าน ที่ตนอาศัยเขาอยู่อย่างทาสรับใข้ ก็บังเกิดความคุ้นเคย แสดงตนเป็น ทาสตังเดิม คิดดังนี้แล้ว บัณฑิตเฒ่าจึงกล่าวกับชายหนุ่มว่า \"หลานเอ๋ย หากนายนันทะบุตรของนางทพี ยืนกล่าว คำ หยาบคายอยู่ตรงไหน ตรงนํ้นแหละเป็นที่ฝ็งทรัพย์ลมปติของ พ่อเจ้า\" วันรุ่งขึ้น ชายหนุ่มจึงชวนนายนันทะเข้าป่าไปขุดสมปติอีก เมื่อไปถึงที่ฝังทรัพย์ นายนันทะก็ด่าว่าด้วยวาจาหยาบคายเซ่นเดิม แต่คราวนี้ ชายหนุ่มกลับออกคำทั่งให้นายนันทะขุดสมปติ ณ ที่ทั่น เมื่อขุดขึ้นมาไต้แล้ว จึงทั่งให้นายนันทะแบกกลับบ้าน ซึ่งเมื่อนาย

นิทานชาดกเล่มส ๘๑ นันทะกลับมาถึงบ้านแล้ว ก็กลายเป็นคนสุภาพอ่อนโยนเซ่นเคย อีกครั้งหนึ่ง 'ประชุมฃๆดก พระลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงประชุมซาดกว่า •นน'ทฑๆส ได้มาเป็นภิกษุลูกศิษย์ผู้นี้ของพระลารีบุตร ชาย'พนุ่ม ได้มาเป็นพระลารีบุตร บัฌ,'สิตเฒ่า ได้มาเป็นพระองค์เอง ย้อคิดจากชาดก ๑. \"คนแกมเมียสาว\" จะด้องเป็นทุกข์ดังนี้ คือ เมื่อยังมีชีวิตอยู่ เป็นทุกข์เพราะลังขารที่ต่างกัน เมื่อถึงคราวจะตาย เป็นทุกข์เพราะห่วงภรรยา ห่วงลูก โบราณจึงห้ามว่า 3 สิ่งนี้ไม่ควรทำคือ 0. มีเมียเด็ก เพราะด้องตามหึง ตามห่วง ตาม หวงอยู่ตลอดเวลา ๒. ซึ้อคจายเด็ก เพราะชุกซน และร้องหาแม่ทงวัน 7tท้งคน ท. ทำ นาดอน เพราะถ้าฝนไม่ตกหนักจริง ๆ จะ ด้องวิดนำเข้านาอยู่เรื่อย ๆ ๒. คนบางคนเมื่อมีฐานะดีฃึ้น มียศ มีตำ แหน่งสูงขึ้น จะให้ ความสำคัญกับตัวเองมาก ถึงขนาดลืมคัว ไข้วาจาข่มขู่ ลบหลู่คุณท่าน ตัวอย่างเซ่น

(^๒ นิทานชาดกเล่มสี่ \"ลูกจ้างกรรมกรบางคนสมัครเข้ามาทำงานทั้งที่ไม่มี ความรู้ความสามารถเลย นายจ้างต้องแกสอนให้ทุกอย่าง ครั้นรูวิธี มีความชำนาญ มีฝืมือดีแล้ว กลับตั้งแง'ตั้งเงื่อนไขกับนายจ้าง หา ข้อเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ อย่างไม่สมเหตุสมผล ถ้าไม่ไต้ ก็ข่มขู่ สร้าง ความเดือดร้อนให้\" \"คนบางคนแค'มีเงินใข้สอยบ้างเท่านน ทำ หยิ่งยโสเสียแล้ว แม้ว่าจะจ้างให้ทำงานก็ไม'สนใจ ต่อเมื่อเงินหมดจึงชมซานมาขอ งานทำ\" \"กรณีเพื่อนฝูงบางคน เมื่อครั้งยังตกทุกข่ไต้ยากอยู่ ก็ร้กใคร่กันดีมาตลอด ต่อเมื่อมีตำแหน่ง มีฐานะแล้ว กลับไม'พูดดีด้วย เหมือนเดิม\" \"บางคน เมื่อทำงานเป็นกลุ่ม หากผลประโยชน์ของกลุ่ม เป็นส่วนที่เพื่อนทำขึ้นมา ก็อยากได้ส่วนแปงจากผลประโยชน์ทั้น เท่า ๆ กัน แต่ครั้นเมื่อตนเป็นผู้นำผลประโยชน์มาเอง กลับยกความ สำ คัญของตนเองเป็นข้ออ้าง ขอรับผลประโยชน์มากกว่า\" \"ศิษย์บางคนเมื่อไดิดีแล้วดีเสมอ หรือบางครั้งถึงกับดูหมิ่น ครูบาอาจารย์\" บุคคลดังที่กส่าวถึงมานี้มีอยู่ไม'น้อย ต้องเตรียมใจไว้รับ และไม'ควรร่วมงานด้วยต่อไป

นิทานชาดกเล่มสี «^๓ อรบาย ท์ นันทซาดก (อ่านว่า นัน-ทะ-ชา-ดก) จารก ท่องเที่ยวไป กหาบณะ มาตราเงินในสมัยโบราณ ๑ กหาปณะ เท่ากับ ๒๐ มาสก หรือ <r บาท หาสื ทาสหญิง คนรับใช้สมัยโบราณ 'พระคาถาบระจำชาดก มณฺเณ โสวณณโย ราลิ โสวณฺณมาลา จ นนทโก ยตฺถ ทาโส อามชาโต รืโต ถูลาหิ ตชชติ ทาสซื่อมันทะเป็นบุตรของนางทาสี ยืนกล่าวคำหยาบในที่ใด เรารู้ว่ากองแห่งรัตนะ'กั้งหลาย และดอกไม้ทองมีอยู่ในที่'กั้น

ฃทิรังคารชาดก ชาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีจิตใจมั่นคง สคๆนที่ดรร}ปีๆดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี ร}ๆเหดุฑื่ดรสปีๆตก ในสมัยพุทธกาล ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีมหาอุบาสก ผู้มีความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า ได้ปรารภ ทีจะสร้าง พระวิหาร ถวายพระบรมศาสดาและพระภิกษุสงฆ์ ท่าน เห็นว่ามีที่แห่งหนึ่งอยู่ไม่ใกลไม'ไกลจากหมู่บ้าน การสัญจรไปมา สะดวก มีความเงียบส่งฺบทงเวสากลางวันและกลางคืน มีต้นไม้ แน่นหนา ร่มรืน เห่มาะสำหรับเป็นที่สำราญพระอิริยาบทของ พระตถาคตเจ้า และเป็นฺทีตรึกตรองพระธรรมของเหล่าพระภิกษุสงฆ์ แต่ทีแห่งนีเป็นอุทยานของเจ้าเชือพระวงศ์องค์หนึ่งมีพระนามว่ๆ เจ้าเปีด

นิทานขาดทเล่มสี่ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีจึงติดต่อขอซื้ออุทยานแห่งนี้จาก เจ้าเซต เนื่องจากเจ้าเซตเห็นว่า ผู้ซื้อรํ่ารวยถึงขนเศรษฐีมีเงินและ ที่ดินมากมายมหาศาลอยู่แล้ว กลับต้องการเฉพาะที่ดินของตน จึง ถือโอกาลโก่งราคาทันที โดยกล่าวว่า \"หากท่านเศรษฐีต้องการที่ดินผืนนี้จริง ให้นำทองคำมาปู ให้เต็มพื้นที่อุทยาน เรายินดีจะขายให้ในราคาเท่ากับทองคำที่ นำ มาปูนี้น\" แม้ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีจะรู้ว่าการที่เจ้าเซตตีราศาที่ดิน สูงถึงเพียงนี้ เพราะต้องการกลั่นแกล้งลองตีกับตน แต่ท่านก็ไม่เลิก ล้มความตงใจ กลับคิดว่า \"เราตงใจทำบุญในพระพุทธศาสนาแล้ว ถึงแม้จะหมดสน ทรัพย์ไปเท่าไร เราก็ไม'นึกเสียดายเลย\" ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีจึงลั่งให้วัดพื้นที่และจัดท่าแผ่น ทองคำ นำ ไปปูลงบนพื้นอุทยานของเจ้าเซตจนทั่ว เมื่อบริวาร ท่านเศรษฐีปู่แผ่นทองคำไปจนถึงบริเวณที่จะทำซุ้มประตูแล้ว เจ้าเซต จึงบอกยกเนี้อที่บริเวณนี้นให้ โดยมีข้อแม้ว่าจะต้องตงชื่อวิหาร ตามชื่อของตน ซึ่งท่านเศรษฐีก็ยินยอม ในศรงนี้น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีใช้จ่ายทรัพย์ไปทั่งลิ้น รวม ๕(ร: โกฏิ จึงซื้ออุทยานของเจ้าเซตไต้ และเมื่อลร้างพระวิหาร เสร็จแล้ว ไต้ทั่งชื่อพระวิหารนนว่า เขตวันม'ฬๆวิหๆร หลังจากท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างเชตวันมหาวิหาร

<^๖ ป็ทๆนชาดกเล่มสี่ ถวายพระสัมมาลัมพุทธเจ้าแล้วท่านยังคงเอาใจใส่บำรุงพระภิกษุสงฆ์ อย่างสมํ่าเสมอ ทุก ๆ เช้า ท่านจะนำ ข้าวยาคู ไปถวายพระสัมมา สัมพุทธเจ้าและพระภิกษุสงฆ์ อีกทงคอยดูว่าพระภิกษุสงฆ์ยังขาด ปัจจัยใดอีกหรือใม' ในเวลากลางวันท่านจะนำเนยใส นํ้าผึ้ง นํ้าอ้อย ไปถวาย และคอยดูว่าพระภิกษุสงฆ์มีอาหารฉันกันเพียงพอหรือไม' ครั้นเวลาเย็นท่านจะเช้าไบํฬงธรรมของพระบรมศาสดา พร้อมทั้ง นำ ของหอมและดอกไม้เช้าไปถวายด้วย ทุกครั้งที่ท่านเศรษฐีเช้าไปในเซตวันมหาวิหารนน ไม'เคยมี ครั้งไดเลยที่จะเห็นท่านไปมีอเปส่า ทานทั้งหลายที่ท่านบริจาคทั้น มากมายจนมิอาจจะประมาณค่าได้ เรือนของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีมีรั้วล้อมรอบถึง ๗ ซน ทุก ๆ วันท่านจะจัด นิตยภัต คือเลี้ยงพระวันละ &-๐0 รูปอยู่เป็นนิจ เรือนของท่านเศรษฐีจึงเ!รืยบเสมีอนเรือนแห่งบิดามารดาของพระภิกษุ ทั้งหลาย ณ ซุ้มประตูที่ sr ของเรือนนี้ มีเทวดา มิจฉาทิฎฐิ องค์หนึ่ง เช้าไปอาศัยอยู่โดยมิได้ทำประใยขน์อันไดไห้ ทุกศรั้งที่พระสัมมา สัมพุทธเจ้าและพุทธสาวกเสด็จผ่านเช้าไปไนเรือน เทวดาองค์นี้ จะไม'พอไจ เพราะต้องอุ้มลูกลงไปอยู่ที่พื้นดินช้างส่างเนื่องจาก ตนมีคุณธริรมตํ่ากว่า ดังนนจึงคิดหาทางไมไห้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระภิกษุอื่น ๆ เช้ามาที่เรือนนี้ คืนหนึ่ง ขณะที่พ่อบ้านของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีกำสัง จะเช้านอน เทวดาองค์นี้ได้แผ่รัศมีปรากฏกายไห้เห็น พร้อมกับ กส่าวว่า

นิทานชาดกเล่มสี่ •๗ \"นี่แนะพ่อบ้าน ท่านอนาถป็ณฑิกเศรษฐีนายของท่านน่ะ มิไดคิดถึงกาลข้างหบ้า คิดแต่จะนำทรัพย์ออกบริจาคบำรุงพระสมณ ใดดมและพระภิกษุสงฆ์แต่เพียงอย่างเดียว ไม'สนใจประกอบกิจการ ค้าให้เจริญรุ่งเรือง ท่านจงหาโอกาสเตือนท่านเศรษฐีเสียบ้างว่า อย่ามัวแต่เอาใจใส่พระสมณโศดมแสะสาวกทั้งหลายอยู่เลย\" พ่อบานจึงกล่าวตอบว่า \"ชะชะ!!เทวดาอันธพาล ท่านมิตาแต่หามีแววไม' การที่ ท่านเศรษฐีสละทรัพย์ทั้น ก็เพื่อประโยชน์อันสูงสุด เพื่อดำรงไว้ ชิ่งพระพุทธศาสนาอันเป็นเศรึ่องนำสัตว้โลกออกจากทุกข์ ศนอย่าง เราทั้น แบ้ว่าท่านเศรษฐีจะจิกผมเรา ลากเราไปขายเพื่อเอาเงินมา ทำ บุญ เราก็จะไม'ปริปากปนเลยสักดำ ท่านจงไปให้พ้นเดียวนี่\" เมื่อเทวดาถูกพ่อบ้านขับไล่ออกมาแล้ว คืนต่อมา จึงไป ปรากฏกายให้บุตรชายของท่านเศรษฐีเห็น แล้วแผ่รัศมีสว่างเรืองรอง กล่าวยุยงบุตรชายของท่านเศรษฐีในลักษณะเดียวกัน แต่กลับถูก ตวาดและขับไล่ออกไปอีก แมถึงที่สุดแล้วเทวดาก็ยังไม่กล้าไปพูด กับท่านเศรษฐีเอง ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีนั้น นอกจากจะเป็นผู้ฝักใฝ่ในการ บำ รุงพระศาสนาแล้ว ท่านยังมีจิตใจเอื้อเพ่อเผื่อแผ่ต่อบุคคลทั่วไป ผู้Iดมีความเดีอดร้อนขาดแคลนเงินทอง ก็มาขอยืมจากท่านได้ ต่อเมื่อ ใดลงทุนมีกำไรแล้วจึงค่อยนำมาใ'!คืน แม่ใครไม'ใ'!คืนท่านก็มิได้ว่า อะไร หากจะรวมทรัพย์สินเงินทองที่มีผู้เ^มจากท่านไปแล้ว จะรวม ไดีถีง ๑^ โกฏิทีเดียว นอกจากนี้ท่านเศรษฐียังได้ฝังทรัพย์สมปติ

นิทานชาดกเล่มสี่ มีมูลค่าถึง ©c? โกฏิไว้พมฝังแม่นำอจิรวดีอีกด้วย แต่ต่อมาเมื่อเวลา ผ่านไปนานเข้า ๆ ตลิ่งได้พังลงด้วยกำลังคลื่นที่เซาะอยู่ทุกวัน ทรัพย์ ลมปตินั้นจึงเคลื่อนลงสู่ท้องทะเล รวมทรัพย์ที่ลูญเลียไปทงลิ้น ๓๖ โกฏิด้วยกัน แม้ทรัพย์ที่สูญไปถึงเพียงนั้น ก็มิได้ทำให้ท่านเศรษฐีเสื่อม จากความเลื่อมใสในคุณของพระรัตนตรัยลงแม้แต่น้อย ท่านยัง ฝักใฝ่ให้ทานอยู่เป็นนิตย์ จนกระทั่งท่านถึงความยากจนลงโดยลำดับ วันหนึ่ง ลมเด็จพระบรมศาสดาได้ตรัสถามท่านอนาถบิณฑิก เศรษฐีว่า \"ดูก่อน ท่านคฤหบดี ท่านยังท่าทานดีอยู่หรือ\" ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีกราบทูลว่า \"พระพุทธเจ้าข้า แต่ทานนั้นเป็นของเศร้าหมอง มีแต่ ข้าวปลายเกรืยน กับผักดองเท่านั้น พระพุทธเจ้าข้า\" พระพุทธองค์จึงตรัสว่า \"ดูก่อน ท่านเศรษฐี ท่านอย่าคิดว่าทานนั้นเศร้าหมองเลย เมื่อมีจิตใจผ่องใสแล้ว ทานที่ถวายย่อมผ่องใสด้วย ล้าบุคคล ไม่สามารถท่าจิตใจให้ผ่องใส ทานนั้นจึงชื่อว่าเศร้าหมอง ท่านให้ ทานแก'พระตถาคตและสาวกย่อมมีผลมาก นี่แน่ะท่านเศรษฐี แม้ท่านจะกล่าวว่าทานนั้นเศร้าหมอง ท่านก็ยังได้ให้แก่ พระอริย บุคคล ๘ จำ พวก โดยแท้ ในอดีตกาลเมื่อตถาศตเกิดเป็น เวรๆม ฬรๆทมณ์ ได้บำเพ็ญทานเป็นการใหญ่ แทบจะเรียกได้ว่าท่าให้ คนทงแผ่นดินพากันหยุดงานมารับทานบริจาคทานก็ว่าได้ แต่ใน

นิทานชาดกเล่มสี่ <^๙ ครั้งนั้นจะหาบุคคลผู้เลื่อมใสในmะร้ตนตรัย ตงอยู่ในศืลห้า เหมาะ สมแก'การรับทานสักคนก็ย้งมิได้ ด้วยยังไม่มิพระพุทธเจ้ามาบังเกิด เพราะฉะนั้น ท่านอย่าได้เสียใจว่าทานของท่านเศร้าหมองเลย\" เมื่อท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีได้ฟังพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตรัสดังนั้น จึงบังเกิดความปีติโสมนัสยิ่งนัก คืนหนึ่ง เทวดาผู้มีมิจฉาทิฎฐินั้นคิดว่า \"....ตอนที่ท่านเศรษฐียังรํ่ารวยอยู่คงไม่ยอมฟังเรา แต่เวลาปี ท่านเศรษฐียากจนลงแล้ว คงจะฟังเราบัางเป็นแน่ ถ้าท่านเศรษฐี เชื่อเรา เลิกทำบุญเสียงพระ เราก็จะไม่ต้องลงจากวิมานบนซุ้ม ประตอีก\" คิดดังนั้นแล้ว จึงเข้าไปในห้องท่านเศรษฐี แผ่รัศมีสว่างไสว ยืนอยู่บนอากาศ เมื่อท่านเศรษฐีเห็นเทวดาปรากฏอยู่เบืองหนัา เช่นนั้น ก็ไม่รูลึกอัศจรรยืใจแต่อย่างใด เพราะดัวท่านเองนั้นได้บรรลุ ธรรมเป็นพระโสดาบันแล้ว ธรรมกายพระโสดานั้นมีความสว่างเย็นตา เย็นใจกว่ารัศมีของเทวดานั้นเลียอีก เทวดาได้กล่าวว่า \"ดูก่อนท่านเศรษฐี ท่านไม่คิดถึงกาลข้างหน้า ไม่ดูแลบุตร ธิดาให้ลมบูรณ์ดี ไม่ประกอบกิจการค้าให้เจริญรุ่งเรือง นับตํ้งแต' ท่านคบหาพระสมณโศดมแล้ว ท่านมีแต่จะยากจนลงทุกวัน กระทัง ถึงที่สุดเช่นขณะนี้ตงแต่วันนี้เป็นต้นไป ท่านจงอย่าให้พระสมณ โคดมกันพระสาวกเข้ามาสู'เรือนปีอีกเลย แม้ตัวท่านเองก่อย่าไต้ ไปสู'สำนักพระสมณใคดมและพระสงฆ์สาวกอีก ลิงของใดทีถวาย แก'พระสมณโคดมและพุทธสาวกก่มีไต้กลับคืนมายังท่าน ท่านควร

นิทานชาดกเล่มสี่ สละพระสมณใคดมแล้วเอาเวลาไปเร่งประกอบกิจการค้าสั่งสม ทรัพย์สมปติเกิด\" ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีได้ฟังแล้ว จึงย้อนตอบว่า \"นี่หรือเรื่องที่ท่านจะบอกกับเรา ถึงแม้จะมีเทวดาอีกสักร้อย สักพันสักแสนมาบอกกล่าวแก'เราเช่นท่าน ก็มิอาจทำให้เราเสื่อม ศรัทธาหรือหวั่นไหวในพระรัตนตรัยไค้ ศรัทธาที่เรามีต่อพระรัตนตรัย นัน้ มั่นคงดังเขาพระสุเมรุ เราสละทรัพย์ในพระศาสนาอันเป็น นิยยานิกธรรม ท่านเป็นเทวดามิจฉาทิฏฐิ มีความเห็นผิด เป็น กาลกิณี ไร้มารยาท ไร่ศีลธรรม บังอาจกล่าววาจาเช่นนี่ ไม่สมควร อยู่ร่วมเรือนเดียวกับเราอีกต่อไป ท่านจงออกจากเรือนของเรา ไปอยู่เสียที่อื่นโดยเร็ว\" เมื่อเทวดาถูกท่านเศรษฐีซึ่งเป็นเล้าของบ้านขับไล่เช่นนน ก็มิอาจอยู่ต่อไปได้ จึงอุ้มลูกออกไปหาที่อยู่ใหม่ แต่ไม่ลามารถหาได้ ในที่สุดเกิดสำนึกผิดคิดหาทางให้ท่านเศรษฐียกโทษให้ จึงไปยัง สำ นักของ เทวดาผู้ร้กษาพระนคร ทำ ความเคารพแล้วยืนอยู่ เมื่อ เทวดาผู้รักษาพระนครแลเห็น จึงถามว่า \"ท่านมาที่นี่ มีธุระอะไรหรือ\" เมื่อเทวดาผู้มีมิจฉาทิฎฐิเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้ฟังแล้ว เทวดา ผู้รักษาพระนครจึงกล่าวว่า \"ท่านไค้กล่าวถ้อยคำอันไม่สมควร ประทุษร้ายต่อพระพุทธ ศาสนาเช่นนั้น เราไม่อาจพาท่านไปสู'เรือนท่านเศรษฐีไค้' เมื่อไม่ได้รับการลงเคราะห์จากเทวดาผู้รักษาพระนครตาม

นิทานชาดกเล่มสี่ ๙๑ ที่ขอร้อง เทวดานนจึงไปขอพึ่ง ท้าวจตุมหาราชทั้ง ๔'แต่ท่านก็ไม่ ลามารถช่วยได้เช่นกัน เพราะเห็นว่าทำความผิดอย่างใหญ่หลวง เมื่อเป็นดังนี้ เทวดาผู้มีมิจฉาทิฎฐิจึงไปเข้าเฝัา ท้าวส้กรินทร เทวราช ผู้เป็นใหญ่ในเทวดาที่งปวง กราบทูลเหตุตั้งแต่ด้นจนจบ ให้ทรงทราบ แล้ววิงวอนอย่างที่ลุดว่า \"ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นราชาแห่งเทพทั้งหลาย นับตงแต่ข้า พระพุทธเจ้าถูกขับไล่ออกจากบ้านของท่านอนาถป็ณฑิกเศรษฐีแลว ต้องกลายเป็นผู้อนาถาอุ้มลูกหาทีอยู่มิได้ ขอพระองค์ทรงพระเมตตา ใบ้ท่านเศรษฐียกโทษแก'ข้าพระพุทธเจ้าด้วยเถิด\" ท้าวลักรินทรเทวราชจึงตรัลยำในความผิดนี้นว่า \"เจ้าทำกรรมอันไม่ชอบ บังอาจประทุษร้ายต่อพระพุทธ ศาสนาของสมเด็จพระพิชิตมารพุทธเจ้า ถึงเราจะได้ชื่อว่าเป็นใหญ' ในหมู'เทวดาทั้งปวง ก็ไม'อาจจะเอาเรื่องของเจ้าไปพูดกับท่านเศรษฐี ได้เช่นกัน แด'เอาเถิด เราจะบอกอุบายอย่างหนึ่งแก'เจ้า เผื่อว่าท่าน เศรษฐีจะยอมยกโทษใบ้บ้าง เจ้ารู้อยู่มิใช่หรือว่า ทรัพย์สมบัติของท่านเศรษฐีที'ถูกพ'อต้า ถูยืมไปบังมิได้รับคืนมานน ปีถึง ๑๘ โกฏิ ท่านจงแปลงกายเป็น คนเก็บเงินของท่านเศรษฐีโดยไมให่ใศรล่วงรู้เรื่องนี้ แล้วชวนบักษ์ หนุ่ม ๆบริวารของท่านไปสักสองสามตน ถือหนังสือสัญญาถูปีมเงิน ไปบังเรือนของพ่อต้าเหล่านี้น ไข้อำนาจของบักษ์ขู่ใบ้พ่อคากสัว แล้วบอกว่า เมื่อครั้งท่านเศรษฐีปีทรัพย์บริบูรณ์อยู่นี้น พวกเขา ได้เอ่ยปากขอยืมทรัพย์สินเงินทองของท่านไป มาบัดปี ท่านเศรษฐี

๙๒ นิทานชาดกเล่มสี่ ยากจนลงแล้ว ขอให้พวกเขานำทรัพย์ที่ยมไปนั้นคืนมาโดยเร็วด้วย เจ้าจงไปติดตามเอาคืนมาใหได้ครบทัง ©ST โกฏิ แล้วนำมาใส่ไว้ ในคลังของท่านเศรษฐี นอกจากนี้ยังปีทรัพย์ที่ท่านเศรษฐีได้ฝังไว้ ใกล้ฝังแม่นี้าอจิรวดีอีก โกฏิ ซึ่งถูกนี้าพัดพาจมหายไปหมด เนื่องจากนี้าเซาะตลิ่งพังลงไป เจ้าจงไปนำทรัพย์นั้นมาใสไว้ในคลัง อีก ไม่เพียงเฟเท่านั้น ยังปีทรัพย์ที่ไม่ปีเจ้าของที่จมอยู่ในมหาสมุทร อีก ๑e^ โกฏิ ซึ่งเจ้าจะด้องไปนำมาไว้ให้เต็มคลัง เมื่อรวบรวมทรัพย์ นัง้ หมดได้๕ร: โกฏิแล้ว จึงไปหาท่านเศรษฐีให้ท่านยกโทษให้' เทวดามิจฉาทิฎเรับเทวโองการจากท้าวสักรินทรเทวราชแล้ว ดำ เนินการตามอุบายนั้นทุกขนตอน เมื่อเรียบร้อยแล้ว จึงไปปรากฏ กายในห้องของท่านเศรษฐีในเวลาเที่ยงคืน แผ่รัศมีให้สว่างยืนอยู่บน อากาศ กล่าวนอบน้อมต่อท่านเศรษฐีว่า \"ข้าแต่ท่านเศรษฐี ข้าพเจ้าคือเทวดาอันธพาลผูสิงสถิต อยู่ที่ซุ้มประตูที่ <r ของเรือนท่าน เมื่อวันก่อนข้าพเจ้าได้กล'าว ถ้อยคำอันไม่สมควรกับท่าน เพราะความเขลาเบาปัญญา ไม'รู้ พระพุทธคุณของพระบรมคาสดา ขอท่านไดโปรดยกโทษนั้นแก' ข้าพเจ้าด้วยเถิด ส่วนตัวข้าพเจ้านั้นได้ลงโทษตัวเองแล้ว ตาม เทวปัญขาแห่งท้าวลักรินทรเทวราช ด้วยการติดตามทรัพย์ที่พ่อค้า นัง้หลายได้ถูปีมไปจากท่านรวม ๑๘ โกฏิ อีกนั้งทรัพย์ที่จมอยู่ใน แม่นำอจิรวดี๑๘ โกฏิ นอกจากนียังได้รวบรวมทรัพย์อันหาเจ้าของ ปีได้ ในท้องสมุทรมาอีก ๑๘ โกฏิ รวมทรัพย์นั้งสิ้น ๕ร: โกฏิ มาบรรจไว้เต็มคลังแล้วในปัดปี ขณะที่ข้าพเจ้าหาที่อย่มิได้นี้ด้อง

นิทานชาดกเล่มสี่ ๙๓ ผจญกับความยากลำบากยิ่งนัก ถ้อยคำใด ๆ ทีข้าพเจ้าได้กล่าว ไปแล้ว ด้วยความไม่รูผิดชอบ เพราะความโง่เขลาเบาปัญญา ขอท่านได้โปรดยกโทษได้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด\" ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีได้ฟังคำของเทวดาดังนั้น คิดสงสาร ว่าเทวดาฒูยอมรับความผิดของตน อีกนั้งได้แจ้งถึงโทษของตนเอง และยังได้ลงโทษตัวเองด้วย น่าที่ตนจะนำเทวดานี้ไปเข้าเฝัาพระบรม ศาสดาเพื่อให้พระพุทธองค์ทรงแนะนำให้!ถึงคุณของพระศาสนา ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีจึงพูดกับเทวดาว่า \"เอาละท่าน หากท่านปรารถนาจะได้เรายกโทษได้ก็ได้ แต่เราจะยกโทษไหไนสำนักของพระบรมคาลดา\" ครั้นวันรุ่งขึ้น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีจึงพาเทวดานั้นไปยัง เซตวันมหาวิหาร กราบทูลเรื่องราวทงหมดให้ทรงทราบ เมื่อพระพุทธ องคํได้สดับถ้อยคำของท่านอนาถบิณฑิกเศรษเแล้ว จึงตรัสว่า \"ดูก่อนคฤหบดี บุคคลผู้กระทำกรรมลามกในโลกนี้เมื่อ กรรมอันเป็นบาปนี้น อังไม่ให้ผล บุคคลผู้นี้นก็อังได้ร้บความสุข ความเจริญอยู่ ต่อเมื่อใด กรรมอันเป็นบาปนี้นไห้ผล ตนจึงจะได้รับ ผลแห่งบาปนี้น ถึงแม้บุคคลผู้กระทำกรรมดีก็เช่นอัน เมื่อกรรมดี อังไม่ให้ผล บุคคลนี้นก็อังได้รับผลบาปอยู่ ต่อเมื่อใดกรรมดีนี้น ให้ผล ตนจึงเห็นกรรมอันเจริญเมื่อนี้น\" เมื่อจบพระคาถา เทวดานั้นใด้บรรลุโสดาปัตติผล เป็น พระโสดาบัน จึงหมอบกราบลงแทบพระยุคลบาทขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพทธเจ้า แล้วกราบทลว่า

๙(ร: นิทานชาดกเล่มสี่ \"ถ้อยคำอันใดที่ข้าพระพุทธเจ้า ^จิตชุ่มไปด้วย ราคะ ปี โทสะ ประทุษร้าย หลงด้วย โมหะ ปีดมนด้วย อวิชชา ได้กล่าว ออกไปโดย มิรู้พระคุณแห่งพระพุทธองค์ ขอพระพุทธองค์ได้ทรง โปรดยกโทษแก'ข้าพระพุทธเจ้าด้วยเลิด\" จาก,นั้น เทวดาจึงขอให้ท่านเศรษฐียกโทษให้ด้วย เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าและพระสงฆ์สาวกทงปวงอีกทง ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐียกโทษให้แก่เทวดานั้นแล้ว ท่านอนาถ บิณฑิกเศรษฐีได้กราบทูลพระบรมศาสดาว่า \"เทวดาองค์นี้ห้ามข้าพระพุทธเจ้าทำกิจอันเป็นมหาทาน อันได้แก่ห้ามข้าพระพุทธเจ้ามาสู' พุทธอุปฐาก มิให้ข้าพระพุทธเจ้า ให้ทาน แด'ก็มิอาจจะห้ามข้าพระพทธเจ้าได้' พระสัมมาสัมพทธเจ้าจึงตรัสว่า \"ดูก่อนคฤหบดี ท่านได้บรรลุโสดาบ้นแล้วย่อมเป็นผูม ศร้ทธาไม่หวั่นไหวและปีความเห็นบริสุทธ การที่เทวดาผู้น้อยนี้ ห้ามท่านไม่ได้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร แต่ปางก่อนนี้นสิ เมื่อ พระพุทธเจ้ายังไม่อุปติขึ้น บ้ณฑิตผู้ปีญาณยังไม'แก'กล้าถูกพญา มารห้ามท่าทาน พร้อมก้บขู่ว่าถ้าขืนดื้อดึงจะให้ทาน จักต้องตกลง ในหลมถ่านเพลิงลึก ๘๐ ศอก ว่าแล้วก็นิรมิตหลมถ่านเพลิงอ้น ร้อนแรงขึ้นขวางหน้า แต่บัณฑิตยังกล้ายืนให้ทานอยู่บนดอกบัว กลางหลุมถ่านเพลิงนี้น นี่แหละจึงน่าอ้คจรรย์\" อนาถบิณฑิกเศรษฐีจึงกราบทูลอาราธนาให้พระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงเล่าเรื่องให้ฬง พระพุทธองค์จึงทรงนำ ขทิธ้งดๆร ชาตก มาแสดงดังต่อไปนี้

นิทานชาดกเล่มตี่ ๙๕ เนอทๆขๆดก ในอดีตกาล ณ กรุงพาราณสี มีชายหนุ่มคนหนึ่งเกิดใน ตระกูลเศรษฐี ใดีรบการเลี้ยงดูอย่างดีราวกับโอรสพระราชา เมื่อ มีอายุเพียง ๑๖ ปีเท่านั้นก็เป็นผู้มีความสามารถรอบรู้ชำนาญใน ศิลปศาสตร์ทงปวง เมื่อท่านเศรษฐีผู้เป็นบิดาลิ้นชีวิตลง ชายหนุ่ม จึงได้รับทรัพย์สมปติเป็นเศรษฐีสืบทอดมานับแต่บัดนั้น เศรษฐีหนุ่มผู้เป็นบัณฑิตนี้มีนํ้าใจดีงาม มีความเมตตากรุณา ยิ่งนัก ปรารถนาจะช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ผู้ยากไร้ทั้งหลาย' จึงได้ สร้างศาลาบำเพ็ญทานขึ้น ๖ แห่ง คือที่ประตูพระนครทั้ง <r ที่ ใจกลางเมืองและที่ประตูบ้านของท่านเองอีกแห่งหนึ่ง ท่านเศรษฐี บริจาศท่านเป็นอันมากทุก ๆ วัน ด้วยคิดว่าสมปติทั้งปวงนั้น แม้ เมื่อตายไปแล้วก็นำไปไม'ได้ นอกจากนั้นยังได้รักษาศีลห้าและ อุโบสถศีลตามกาลอยู่เสมอ ไนครั้งนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังไม่อุปติขึ้น มีแต่พระ ปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งนั่งเข้า นิโรธสมาบ้ติ จนเวลาล่วงไปถึง ๗ วัน จึงได้ออกบิณฑบาต โดยเหาะมาทางเรือนของเศรษฐีหนุ่ม เพราะทราบด้วย พระส้พพ้ญณุตญาณ ว่าเศรษฐีผู้นี้เป็นผู้ปรารถนา พระโพธิญาณ ไนเบื้องหน้า หากได้ทำบุญกับผู้เป็นบัจเจกพุทธเจ้า ผู้เต็มเปียมไปด้วยบุญไนบัดนี้ ก็จะได้บุญบารมีมากเต็มบริบูรโน เป็นโอกาสไห้เข้าถึงพระโพธิญาณได้ง่ายขึ้น ขณะที่คนรับไข้นำอาหารรสเลิศเข้าไปไห้ท่านเศรษฐีบริโภค นั้น เป็นเวลาเดียวกับที่พระปัจเจกพุทธเจ้าเสด็จมาถึงประตูเรือน

๙๖ นิทานชาดกเล่มสึ๋ เศรษฐีเห็นดังนั้น จึงรีบลุกขึ้นแสดงความเคารพ แล้วสั่งคนรับใช้!ปรับ บาตรของพระปัจเจกพุทธเจ้ามา ฝ่ายพญามารเห็นการกระทำนั้นก็คิดว่า พระปัจเจกพุทธเจ้า มิได้ฉันอาหารถึง ๗ วันแล้ว ถ้าไม่ได้อาหารในวันนั้นอีกเพียงวันเดียว จะด้องสิ้นชีวิตแน่ หากเป็นดังคิด เศรษฐีจะไม่มีทางได้บำเพ็ญ มหาทานบารมีไนครั้งนี้ โอกาสที่จะบรรลุพระโพธิญาณนั้นก็จะ เป็นไปได้ยาก พญามารด้องการขัดขวางการสร้างบุญบารมีครั้งนี้ ไห็ได้ จึงเนรมิตหลุมถ่านเพลิงลึกประมาณ «^๐ คอก มีถ่านไม้ตะเคียน ลุกโชติช่วงราวกับเพลิงนรกสั่นอยู่ระหว่างท่านเศรษฐีกับพระปัจเจก พุทธเจ้า .. ขณะนั้นคนรับไซ้ของท่านเศรษฐีกำลังเดินไปรับบาตรจาก พระปัจเจกพุทธเจ้า ครั้นเห็นหลุมถ่านเพลิงขวางอยู่ก็ตกไจ รีบ ลนลานกลับมาแจ้งไห้ท่านเศรษฐีทราบ เศรษฐีหนุ่มจึงไห้คนรับไซ้ คนอื่นไปบ้าง ต่างก็ลนลานกลับมาไนลักษณฺะเดียวกัน ท่านเศรษฐี คิดว่า \"....พญามารคงต้องการขัดขวางไม'ให้เราทำทานเป็นแน่ แต่พญามารไม่ทราบว่าเราไม่เคยสะดุ้งกลัวเลยแม้แต่น้อย ต่อให้ ปีมารมากมายอีกนับร้อยนับพันนับแสนก็ไม่อาจทำให้เราหวั่นไหวไต้ วันนี้คงจะไต้ร้กันว่ามารหรือเราเป็นม้ที่ปีกำลังและอานุภาพมาก กว่ากัน\" คิดดังนั้นแล้ว จึงยกภาชนะไล่อาหารเดินออกมาที่ปากหลุม ถ่านเพลิง แล้วมองขึ้นไปบนอากาศ เมื่อเห็นพญามารจึงลอบถาม เมื่อได้ความตามเป็นจริงแล้ว จึงกล่าวว่า



๙ นิทานชาดกเล่มสี่ \"ปีแน่ะพญามาร เราจะไม'ยอมใหทานขัดขวางการบำเพ็ญ ทานของเรา และจะไม่ยอมให้ท่านทำลายชีวิตพระบํจเจกพทธเจ้า ด้วย วันปีจะได้รู้กัวเสียทีว่าเราหรือท่านปีกำลังและอานุภาพมาก กว่ากัน\" จากนันุ ท่านเศรษฐีกล่าวกับพระปัจเจกพุทธเจ้าว่า \"ขาแตพระผูเป็นเจ้าผู้เจริญ แม้ว่าคีรษะของข้าพระ'ตุทปีเจ้ๆ จะทิมลงไปในหลุมถ่านเพลิงนรกนี้ ข้าพระพทธเจ้าก็จะไม่เลิกล้ม ความตงใจในการบำเพ็ญทาน ขอพระผู้เป็นเจ้าได้!บํรดรับอาหาร ที่ข้าพระพุทธเจ้าถวายนี้ด้วยเถิด\" เมื่อกล่าวจบ เศรษฐีก็กระซับภาชนะที่ใล่อาหารไว้มั่น แล้ว วิ่งไปบนหลุมถ่านเพลิงทันที ทันไดนนปรากฎดอกบัวไหญ'บาน สะพรั่งดอกหนึ่ง ผุดขึ้นจากหลุมถ่านเพลิงนั้นเช้า รองรับเท้าทั้งสอง ของท่านเศรษฐี ละอองเกสรมากมายฟังขจรขจายตกลงมาบนศีรษะ และลำตัวของท่านเศรษฐีดูราวกับละอองทอง เศรษฐีหนุ่มยืนอยู่บน ดอกบัวนั้นพร้อมกับน้อมนำอาหารไล่ลงไนบาตรของพระปัจเจก พุทธเจ้า พระองค์ทรงรับอาหารนั้นมาฉันแล้วกระทำอนุโมทนา จากนั้นทรงโยนบาตรขึ้นไปบนอากาศ แล้วทรงเหาะกลับไปยังป่า หิมพานต์ท่ามกลางความตื่นตะลึงของมหาซนที่ได้มาประสบเหตุการณ์ ไนครั้งนั้น ล่วนพญามารเมื่อพ่ายแพ้แล้วก็หายตัวกลับไปยังที่อยู่ ของตน เศรษฐีซึ่งยืนอยู่บนดอกบัวจึงกล่าวพระธรรมเทศนาพรรณนา ถึงการบำเพ็ญทานและรักษาศีลแก่มหาชนที่ชุมนุมกันอยู่ ณ ที่นั้น ยังความเลื่อมไสศรัทธาไห้เกิดขึ้นแก่มหาชนเหล่านั้น และต่างพากัน บำ เพ็ญบุญไปจนตลอดชีวิต

นิทานชาดทเล่มสี่ ๙๙ tJstaมซๆดก เมื่อจบพระธรรมเทศนาแล้ว พระสัมมาลัมพุทธเจ้าทรง ประชุมซาดกว่า 'พ§ะป้จเจก'พุทธเจ้าในครั้งนั้น ได้ปรินิพพานแล้ว เศรษฐีชาวเมือซ'Nๆราผ>สิ ได้มาเป็นพระองค์เอง ขอคดจากปีๆดก ๑. มิจฉาทิฎฐิมีทงไนเทวดาและมนุษย์ ดังนั้น สมาซิก ไtเศรอบครัวเดียวกันควรต่างเอาไจไส่และหมันศึกษาอุปนิสัยไจคอ ของกันและกันไ'พ เป็นกัลยาณมิตรซึงกันและกัน เ'พือคอยดักเตือน และอบรมไ\"ด้ต่างมีความเห็นที่ถูกต้องและดีงามอยู่เสมอ ครอบครัว นั้นก็จะเป็นสุขได้ ๒. การ'ฒัาอาศัยอยู่กับ^นไนฐานะไดก็ตาม อย่าไดีนิงดูดาย ควร'กำตนไ'ด้เป็นประใยช'เ!ต่อเจ้าบ้าน แม้จะช่วยได้เ'พียงเล็กน้อย ก็ควร'กำ ดังสุภาษิตโบราณที่ว่า \"อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย บ้นว้ว ป้^นควายให้ลูกท่านเล่น\" ๓. การติดต่อประสานงานกับบุคคลฝ่ายต่าง ๆ ควรเริ่มจาก ขั้นด้น ๆ แล้วดำเนินการตามลำดับจนถึงขั้นสูงสุด อย่าได้เร่งรัด ข้ามขันตอน แม้ผู้ที่อยู่ไนระดับรอง ๆ ถึงจะช่วยเหลือไม'ได้ แต่ก็จะ ไห้ความเมตตา เพราะเห็นว่าเรามีความเคารพนับถึอท่าน ar. ผู้ที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนโดยไม่คำนึงถึงความถูกด้อง หรือความเดีอดร้อนของ^น นอกจากจะไม่เป็นทียกย่องของบัณฑิต แล้ว ยังนำความเดือดร้อนมาสู่ตนเองไนภายหสังอีกด้วย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook