Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ✍️ กำกึ๊ดกำปาก

✍️ กำกึ๊ดกำปาก

Description: ✍️ กำกึ๊ดกำปาก

Search

Read the Text Version

250 ก�ำ ก๊ดึ กำ�ปาก ผตู้ ดิ เชอื้ เอดสไ์ ดพ้ ยายามผสมผสานภมู ปิ ญั ญาพนื้ บา้ นอนื่ ๆ อกี มากมายในการดแู ล ตัวเอง เพราะพวกเขาส่วนใหญ่ยงั เข้าถงึ ระบบการแพทย์สมยั ใหม่ได้ยาก นอกจากนั้นยังมีงานวิจัยที่พยายามจะศึกษาการรักษาทางเลือกที่ใช้กับ โรคอนื่ ๆ อกี ด้วย เช่น วทิ ยานพิ นธ์ของ Hunsa Payomyong Sethabouppha (2002) เรอ่ื ง ‘Buddhist Family Care Giving: A Phenomenological Study of Family Caregiving to the Seriously Mentally Ill in Thailand’ ได้พบว่า ส�ำหรบั โรคด้านจติ ใจร้ายแรงนน้ั การดูแลรักษาของครอบครัวตามคติในพุทธศาสนานน้ั เป็นพลังส�ำคัญในการช่วย เยียวยาได้มากกว่าการรกั ษาในระบบการแพทย์สมยั ใหม่ ส่วนบทความวิจัยเรื่อง “(Re)placing health and health care: mapping the competing discourses and practices of ‘traditional’ and ‘modern’ Thai medicine” (Del Casino Jr. 2004) ก็ได้ชี้ให้เห็นว่า การเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ติดเช้ือเอชไอวี ลักษณะต่างๆ นน้ั เป็นส่วนหนง่ึ ของการช่วงชิงพ้ืนที่ของชุดความรู้ท่ีแตกต่างกัน ระหวา่ งการรกั ษาพยาบาลพนื้ บา้ นกบั การแพทยส์ มยั ใหม่ ซงึ่ พบวา่ หลงั วกิ ฤตกิ ารณ์ โรคเอดส์ได้มีการร้ือฟื้นการรักษาโรคแบบจารีตข้ึนมาใหม่กันอย่างคึกคัก เพ่ือ ช่วยดูแลสุขภาพของผู้ติดเช้ือเอชไอวี และแสดงนัยของการท้าทายอ�ำนาจของ วาทกรรมการแพทย์สมัยใหม่ หลังจากที่เคยผูกขาดการดูแลสุขภาพในสังคมไทย มาอย่างช้านาน 5.4 พลงั ภูมปิ ญั ญากบั พลวตั ของการจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการเกษตร ความสนใจศกึ ษาดา้ นพลงั ความคดิ และภมู ปิ ญั ญาในภาคเหนอื อนั ดบั ถดั มา คือ ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติซึ่งสามารถส�ำรวจและรวบรวม ออกมาได้จ�ำนวน 25 รายการ ก่อนหน้าปี พ.ศ. 2538 ยังไม่ค่อยเห็นงานเขียน เผยแพร่ในด้านน้มี ากนกั แต่นบั จากปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา มกี ารผลติ งานเขียน

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 251 เกี่ยวกับประเด็นน้ีมาอย่างต่อเน่ืองทุกปี เช่น อุไรวรรณ ตันกิมยง (2538) ศึกษา ภูมิปัญญาของชาวนาพ้ืนราบภาคเหนือในการจัดการระบบเหมืองฝายซ่ึงมีส่วน อย่างส�ำคัญในการสร้างความเข้มแข็งขององค์กรชุมชน ในการปรบั ตวั ของท้องถิ่น ทา่ มกลางความเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ และชสู ทิ ธิ์ ชชู าติ (2538, 2543) ศกึ ษาการจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องชาวกะเหรย่ี ง ละเวอื ะ และชาวไทยทต่ี งั้ ถนิ่ ฐานอยบู่ นพน้ื ทส่ี งู ซงึ่ สามารถนำ� เอาภมู ิปัญญาท้องถ่นิ มาช่วยแก้ปัญหาทเี่ กดิ จากภยั แล้ง หลังจากนน้ั ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (2539) จึงศึกษาระบบการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติของชาวกะเหร่ียงในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร โดยเน้นให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติและส่ิงเหนือธรรมชาติ สว่ นประเสรฐิ ตระการศภุ กร (2541) ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ภมู ปิ ญั ญาของกลมุ่ ชาตพิ นั ธบ์ุ นพน้ื ทส่ี งู ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตมิ สี ่วนอยา่ งสำ� คญั ในการรกั ษาความหลากหลาย ทางชีวภาพขณะท่ีการศึกษาของ มนตรี จันทวงศ์ และปริศนา พรหมมา (2541) ก็สนบั สนนุ ว่า การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตขิ องชาวกะเหรีย่ งในชุมชน 2 แห่งใน จังหวัดเชียงใหม่ช่วยรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ พร้อมๆ กันนน้ั งานของ เบญจา ศิลารักษ์ และกรรณกิ าร์ พรมเสาร์ (2542) ก็น�ำเสนอให้เหน็ อย่างชัดเจนว่า ความรู้ของผู้รู้ชาวปกาเกอะญอแสดงถึงความเข้าใจความหลากหลายทางชีวภาพ จากความสามารถในการอธิบายความซับซ้อนของป่าประเภทต่างๆ ได้อย่างลกึ ซ้ึง ซ่งึ เกยี่ วข้องกับคตคิ วามเชอื่ ต่างๆ อย่างมากมายในวัฒนธรรมของพวกเขา ในระยะตอ่ มาจงึ มงี านศกึ ษาทเี่ ชอื่ มโยงใหเ้ หน็ วา่ พลงั ของภมู ปิ ญั ญาในการ จดั การทรพั ยากรธรรมชาตนิ น้ั ยงั เกยี่ วขอ้ งกบั พธิ กี รรมความเชอ่ื ดว้ ย เชน่ การศกึ ษา พธิ ีกรรมจบั ปลาบกึ ในลุ่มน้�ำโขง ในงานวจิ ยั ของ วเิ ชยี ร มบี ุญ (2541) ท่ีชี้ให้เห็นว่า พิธีกรรมบางอย่างมีส่วนเก่ียวข้องกับจารีตและกฎเกณฑ์ ตลอดจนความเข้าใจ ของท้องถ่นิ ในการดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และการเสริมอ�ำนาจของท้องถนิ่ ในการมีส่วนร่วมจดั การทรัพยากร ขณะที่หนงั สือของ ชิเกฮารุ ทานาเบ้ (2547) เร่ือง นุ่งเหลือง-นุ่งด�ำ ได้ วิเคราะห์ให้เห็นถึงความสามารถของผู้น�ำชาวนาในการสร้างพลังอ�ำนาจของตน

252 ก�ำ ก๊ดึ กำ�ปาก ด้วยคติความเชื่อท้องถิ่นเร่ืองอ�ำนาจศักดิ์สิทธิ์เพ่ือเสริมบารมีให้กับตนเองในการ จดั การระบบเหมอื งฝายซึง่ เกย่ี วข้องกับผู้คนจ�ำนวนมาก เพื่อให้เกดิ ความยตุ ธิ รรม ในการจัดสรรน�้ำ ที่เริ่มขัดแย้งกันอย่างมาก เมื่อชาวบ้านหันไปผลิตเชิงพาณชิ ย์ อย่างเข้มข้นมากขึ้น ในช่วงทศวรรษท่ี 2540 น้ัน มีการศึกษาพลังภูมิปัญญาในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติกันจ�ำนวนมากอย่างคึกคัก เริ่มจากงานวิจัยของวันเพ็ญ สุรฤกษ์ (2543) ซึ่งศึกษาภูมิปัญญาในการจัดการระบบเหมืองฝายของชาวนา ในพ้ืนราบภาคเหนือ ส่วน สุรินทร์ อ้นพรหม (2543) ก็น�ำเสนอให้เห็นภูมิปัญญา พ้ืนบ้านในการท�ำแนวกันไฟและการชิงเผาเพื่อป้องกันไฟป่า และงานของ เสถียร ฉนั ทะ (2543) เร่ือง ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ในการจัดการความหลากหลายทางชวี ภาพ พืชสมนุ ไพรของชาวไทล้อื เป็นต้น นอกจากน้นั ยังมีงานศึกษาอีกจ�ำนวนมาก เช่น ยศ สันตสมบัติ (2542) เป็นบรรณาธิการในการรวมบทความท่ีเป็นภูมิปัญญาในด้านต่างๆ ของกลุ่ม ชาติพันธุ์ท่ีหลากหลาย ผู้เขียนนำ� เสนอภาพรวมตามแนวทางนิเวศวิทยาชาติพันธุ์ และงานของ อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล (2547, 2548) ศกึ ษาการตง้ั ถิน่ ฐานของกลุ่ม ชาติพันธ์ุบนพ้นื ที่สงู ในอำ� เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน และการใช้ภมู ิปัญญา พืน้ บ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น ส�ำหรับงานศึกษาพลังภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในบทความภาษาองั กฤษกม็ มี ากเชน่ เดยี วกนั ตวั อยา่ งเชน่ บทความของ Leo Alting von Geusau (1993) ศึกษาความสามารถของกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นท่ีสูง ในการ รักษาระบบนิเวศในภาคเหนือของไทย เม่ือต้องเผชิญกับแรงกดดันต่างๆ มากข้ึน ขณะทบี่ ทความของ Philip Dearden และ Chusak Wittayapak (1999) พบวา่ ศกั ยภาพ ของการจดั การลมุ่ น้�ำบนฐานชมุ ชนนน้ั ขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถของชาวบา้ นในการ ตดั สนิ ใจตามคตใิ นทอ้ งถน่ิ สว่ นบทความของ Santita Ganjanapan (1997) ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ ระบบการจัดจ�ำแนกประเภทป่าและที่ดินของชนพ้ืนเมืองมักจะสอดคล้องมากกว่า ขดั แย้งกับหลกั ทางวิทยาศาสตร์

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 253 แม้การศึกษาต่างๆ ทั้งหลายจะยืนยันอย่างหนักแน่นตรงกันว่า ชุมชน ท้องถ่ินมีภูมิปัญญาท่ีมีศักยภาพในการจัดการทรัพยากรของตนเอง แต่งานวิจัย ของ วิเศษ สุจินพรหั ม (2545) ก็ได้นำ� เสนอให้เห็นถึงประเด็นปัญหาในการจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติว่าเกิดจากระบบการจัดการของรัฐ ซ่ึงได้เข้ามาเบียดขับพลัง ของชุมชนออกไปทั้งๆ ที่การจัดการของท้องถิ่นมีประสิทธิภาพมากกว่า โดยยก กรณีศึกษาจากชุมชนต่างๆ ในภาคเหนือที่มีระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพมาเปรยี บเทียบ ทง้ั นง้ี านวจิ ัยของ ปิ่นแก้ว เหลอื งอร่ามศรี (2547) แสดงให้เห็นว่า ความรู้เก่ียวกับป่าไม้ของรัฐนน้ั มีลักษณะเป็นการเมืองของการ แย่งชงิ พืน้ ทรี่ ะหว่างรฐั กบั ชุมชนท้องถ่นิ แต่ประสบการณ์ของชาวบ้านถวาย ในจังหวัดเชียงใหม่ ท่ีพบในงานวิจัย ของ อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ (2543) ก็ช้ีให้เห็นอีกด้านหน่ึงว่าปัญหาหลักของ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชนในปัจจุบันสามารถเกิดขึ้นได้เช่นกัน เม่ือชุมชนก้าวเข้าสู่การผลิตสินค้าจ�ำหน่ายในทางธุรกิจ และมีผลให้ระบบ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติตามประเพณีเริ่มเส่ือมโทรมลงจนไร้พลังและ ศักยภาพในการดแู ลทรัพยากรอย่างเพียงพอ สำ� หรบั ระบบภมู ปิ ญั ญาดา้ นการเกษตรกถ็ อื เปน็ อกี ประเดน็ หนงึ่ ทมี่ งี านวจิ ยั จ�ำนวนมากให้ความสนใจ การศึกษาคร้ังน้ีสามารถรวบรวมได้งานวิจัยจ�ำนวน 20 รายการ ผสู้ นใจศกึ ษาเกยี่ วกบั ภมู ปิ ญั ญาดา้ นการเกษตรนม้ี จี ดุ เนน้ แตกตา่ งกนั ไป อยหู่ ลายทศิ ทางดว้ ยกนั โดยเรม่ิ ศกึ ษาการเกษตรของกลมุ่ ชาตพิ นั ธใ์ุ นงานของ Paul Durrenberger และ Nicola Tannenbaum (1985) ซง่ึ ศกึ ษาการเพาะปลกู ของชาวไทยใหญ่ แต่งานส�ำคัญในกลุ่มนี้มักจะเป็นการประมวลรวบรวมความรู้เก่ียวกับพืชพันธุ์ เช่น งานของ Edward F. Anderson (1993) ซ่ึงศึกษารวบรวมพชื กว่า 1,000 ชนดิ ท่ีกลุ่มชาติพันธุ์บนพ้ืนที่สูง 6 กลุ่มได้ใช้ประโยชน์ทั้งในแปลงเกษตรและพืชใน ธรรมชาติ นอกจากนนั้ จะเปน็ การศกึ ษาวฒั นธรรมดา้ นการเกษตรอยา่ งกวา้ งๆ เชน่ บทความของ Sukanya Sujachary (2002) ซงึ่ ศกึ ษาวฒั นธรรมขา้ วของชาวไทยเปน็ ตน้

254 กำ�กด๊ึ กำ�ปาก สว่ นกลมุ่ ทส่ี นใจศกึ ษาเกยี่ วกบั รปู แบบหรอื ระบบการเกษตรแบบใดแบบหนง่ึ มักจะเน้นลักษณะการเกษตรที่มีเฉพาะในภาคเหนือ กรณีแรกคือ การศึกษา ไร่หมุนเวียน ตัวอย่าง เช่น วราลักษณ์ อิทธิพลโอฬาร (2541) ซ่ึงช้ีเห็นว่า การท�ำไร่หมุนเวียนนน้ั เป็นระบบการเกษตรที่ต้องอาศัยภูมิปัญญาในด้านต่างๆ อยา่ งซบั ซอ้ น และมคี วามสามารถในการปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งดี แตง่ านวจิ ยั ของ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ และคณะ (2547) กลบั พบวา่ การทำ� ไรห่ มนุ เวยี นจะปรบั ตวั ไดห้ รอื ไมน่ นั้ ข้ึนอยู่กับเงื่อนไขของระบบนิเวศและความสัมพันธ์กับสังคมภายนอก ในเง่ือนไข ทร่ี ะบบนเิ วศยงั สมบรู ณ์ การทำ� ไรห่ มนุ เวยี นจะมคี วามมนั่ คงสงู ขณะทไ่ี รห่ มนุ เวยี น บางระบบถกู แรงกดดนั จากรฐั ใหล้ ดรอบหมนุ เวยี นลง กจ็ ะทำ� ใหก้ ารทำ� ไรห่ มนุ เวยี น ค่อยๆ ไร้ความมัน่ คง และกลายเป็นไร่ถาวรในทีส่ ดุ เพราะไม่สามารถปรับตัวได้อีก ต่อไป และต้องหนั ไปพ่งึ พาเศรษฐกจิ ภายนอกมากยง่ิ ขนึ้ กรณตี ่อมาคือ การศึกษาสวนเม่ียง ดังจะเห็นได้จากงานวิจัยของ ชมชวน บญุ ระหงษ์ และสมศกั ด์ิ ดวงแก้วเรอื น (2544) ซง่ึ พบว่า สวนเมยี่ งเป็นรูปแบบของ สวนผสมผสานบนท่สี งู ทีส่ ามารถจัดการให้ดำ� รงอยู่ได้อย่างย่งั ยืน และมีศักยภาพ เพียงพอท่ีจะพฒั นาไปสู่สวนไม้ผลแบบผสมผสานได้ในอนาคต และสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ พรชยั ปรีชาปัญญา (2544) ส่วนกรณีของการท�ำสวนผลไม้แบบผสมผสานน้ันยังพบได้ในภาคเหนือ ตอนล่างเช่นเดียวกัน ดังตัวอย่างในงานวิจัยของบุญแรม โม้เมือง (2544) ซ่ึงมี สว่ นสำ� คญั ในการอนรุ กั ษพ์ นั ธไ์ุ มผ้ ลไดอ้ ยา่ งดี แตง่ านของวฑิ รู ย์ เลย่ี นจ�ำรญู (2544) ช้ีว่าภูมิปัญญาในการท�ำสวนไม้ผลแบบผสมผสานนี้ยังต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของคติ แบบพุทธเกษตรกรรมอีกด้วยซึ่งมีส่วนส�ำคัญท่ีจะน�ำไปสู่เกษตรกรรมแบบย่ังยืน ขณะทง่ี านของ อนสุ รณ์ อณุ โณ (2548) ถอื วา่ เปน็ ความพยายามรกุ คบื และการโตก้ ลบั ของภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ต่อการเกษตรสมยั ใหม่ที่สร้างผลกระทบอย่างมากมาย นอกจากนั้นกรณีศึกษาภูมิปัญญาด้านการเกษตรยังมักจะเช่ือมโยงกับ ภูมิปัญญาด้านอาหาร ดังตัวอย่างเช่น งานวิจัยของ กมลาภรณ์ เสราดี (2535) ทศี่ กึ ษาวฒั นธรรมความเชอื่ เกย่ี วกบั คณุ คา่ ของพชื ผกั พนื้ บา้ นภาคเหนอื เชน่ เดยี วกบั งานของ กญั จนา ดีวเิ ศษ (2542) เร่ืองผักพื้นบ้านภาคเหนือ

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 255 อย่างไรก็ดี การเน้นถึงความส�ำคัญและพลังของภูมิปัญญาพ้ืนบ้านต่างๆ อย่างมากในงานศึกษาการเกษตรข้างต้นกลับถูกวิพากษ์วิจารณ์ในบทความของ Andrew Walker (2004) ดว้ ยการพยายามโตแ้ ยง้ วา่ การมองพลงั ภมู ปิ ญั ญาพนื้ บา้ น ในดา้ นการเกษตรเปน็ มมุ มองในเชงิ อดุ มคตมิ ากเกนิ ไป เพราะผศู้ กึ ษามกั มงุ่ เปา้ ไปที่ ความต้องการอนุรักษ์ป่า จึงมองเห็นแต่ต้นไม้เป็นหลักแทนท่ีจะมองตัวชาวบ้าน ในฐานะเกษตรกรจรงิ ๆ ซง่ึ มชี วี ติ เกย่ี วขอ้ งกบั ดา้ นอนื่ ๆ อกี มากมาย นอกจากตน้ ไม้ เท่านน้ั แต่ข้อโต้แย้งของ Andrew Walker ดังกล่าวก็อาจจะสะท้อนเพียงมุมมอง ที่จ�ำกัดอยู่กับสถานการณ์เฉพาะหน้าของเกษตรกรมากกว่าประเด็นปัญหา ทพ่ี วกเขาต้องเผชิญในระยะยาวก็เป็นได้ 5.5 พลวัตของภมู ปิ ัญญากบั ความเขม้ แข็ง ของวัฒนธรรมชุมชน งานวิจัยในประเด็นน้ีมุ่งศึกษาพลวัตของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในที่นจ้ี ะขอ เรียกรวมๆ ว่า ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมชุมชน โดยเชื่อมโยงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์กับความเข้มแข็งของชุมชน ท้ังน้ีเพราะงานศึกษาเหล่านี้ส่วนใหญ่ มกั จะเนน้ การศกึ ษาในมติ ขิ องการพฒั นาชมุ ชน ซง่ึ ชยนั ต์ วรรธนะภตู ิ (2040) ถอื วา่ วฒั นธรรมชุมชนเป็นส่วนหนง่ึ ของระบบความรู้พนื้ บ้านที่มพี ลัง ในฐานะทเี่ ป็นชีวิต ทางวัฒนธรรมของชุมชน เพราะมีพลวัตท่ีแสดงออกผ่านกระบวนการเรียนรู้เพ่ือ ปรบั ตวั ขณะท่ี ยศ สนั ตสมบตั ิ (2042) กเ็ ห็นด้วยว่า พลวตั ของภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เปน็ ศกั ยภาพพน้ื ฐานของชวี ติ ทางวฒั นธรรมของชมุ ชน ในการเสรมิ สรา้ งการพฒั นา อย่างย่ังยนื เช่นเดียวกนั แตผ่ ลงานในประเดน็ นจี้ ำ� นวนหนง่ึ ทม่ี าจากวทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาโทนน้ั มักจะมุ่งศึกษาวัฒนธรรมชุมชนเฉพาะในด้านศิลปวัฒนธรรมและความเชื่อ ด้านต่างๆ ของชุมชนหมู่บ้าน โดยเน้นแต่ด้านรูปแบบท่ีมีลักษณะหยุดน่ิงและ ตายตัว ในฐานะที่เป็นเพียงงานเชิงส�ำรวจพื้นฐานต่างๆ ของศิลปวัฒนธรรม อยา่ งละเอยี ดเทา่ นนั้ ดงั ตวั อยา่ งเชน่ งานของวชั รากร คดคง (2538) ศกึ ษาการละเลน่

256 ก�ำ กึ๊ดกำ�ปาก พนื้ บา้ นและประเพณคี วามเชอ่ื ของชาวบา้ นในอำ� เภอพรหมพริ าม จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ในท�ำนองเดียวกบั งานของ สุรพล สกณุ า (2540) ซงึ่ ศึกษาการละเล่นพนื้ บ้านและ ประเพณคี วามเชือ่ ของชาวบ้านในอ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวดั อุทยั ธานี นอกจาก น้ี และยงั มงี านเขยี นในภาษาไทยในดา้ นอน่ื ๆ อกี จ�ำนวนหนงึ่ ซง่ึ ศกึ ษาเกยี่ วขอ้ งกบั ภมู ปิ ญั ญาดา้ นวรรณกรรมมขุ ปาฐะ ภมู ปิ ญั ญาดา้ นงานชา่ งฝมี อื และภมู ปิ ญั ญา ด้านเทคโนโลยีพื้นบ้าน และภูมิปัญญาด้านทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ งานศึกษาเหล่านจี้ ึงเป็นเพียงการรวบรวมพื้นฐานความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและ ความเชือ่ ด้านต่างๆ ของหมู่บ้านเท่านน้ั ส่วนกรณีศึกษาที่น่าสนใจในประเด็นนี้อยู่ที่การหันมามองวัฒนธรรมชุมชน ในแง่ของชีวิตวัฒนธรรมมากข้ึนกว่าเพียงการมองในแง่ของศิลปวัฒนธรรมที่ ตายตวั เทา่ นนั้ เพอื่ อธบิ ายพลวตั ของภมู ปิ ญั ญาในการพฒั นา ซง่ึ แสดงให้เหน็ จาก การปรบั ตวั เพอื่ สรา้ งรายได้ หรอื แกป้ ญั หาของชมุ ชน ดงั ตวั อยา่ งเชน่ อารยะ ภสู าหสั และศักด์ิ รัตนชัย (2539) พยายามอธิบายศักยภาพในการปรับตัวของชุมชน ห่างไกล ด้วยการศกึ ษา ชาวบ้านในอ�ำเภอแจ้ห่ม จังหวัดล�ำปางซึง่ สามารถน�ำเอา ศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน ในรูปของหัตถกรรมการจักสานไม้ไผ่ มาช่วยเสริมสร้าง กระบวนการเรียนรู้ และสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมแบบใหม่ ในการปรับตัว ต่อกระแสการเปล่ยี นแปลง ที่ไปลดทอนแรงเกาะเก่ียวในชุมชนลงไป ในขณะทง่ี านของ ยง่ิ ยง เทาประเสรฐิ (2538) กไ็ ดศ้ กึ ษาพลวตั ในการปรบั ตวั ของชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ในอ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ซ่ึงก็สามารถพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ จากภูมิปัญญาท้องถ่ินได้เช่นเดียวกัน ส่วนงานวิจัยของ นกุ ูล บ�ำรุงไทย (2540) พบว่าชาวบ้านในจังหวัดตากสามารถน�ำเอาภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนแบบพ่ึงตนเองขึ้นมา เพ่ือช่วยในการ ปรบั ตัวของพวกเขา ซงึ่ กค็ ล้ายคลึงกบั งานวิจัยของ มนตรา พงษ์นลิ (2548) เรอ่ื ง “ภมู ปิ ญั ญากวา๊ นพะเยา: บนเสน้ ทาง ‘ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน’ กบั คนกนิ น�้ำแมเ่ ดยี วกนั ” ทวี่ เิ คราะหว์ า่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มพี ลวตั ไดก้ ด็ ว้ ยพลงั ของวฒั นธรรมชมุ ชนทเ่ี ขม้ แขง็ จนสามารถพฒั นา ‘ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน’ ใหม่ๆ ขนึ้ มาได้

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 257 ส่วนผลงานวิจัยต่างๆ ของเอกวิทย์ ณ ถลาง (2541 และ 2546) จะเรียก กระบวนการเรยี นรดู้ งั กลา่ วขา้ งตน้ วา่ ภมู ปิ ญั ญาในการจดั การความรู้ เพอื่ แกป้ ญั หา ในด้านต่างๆ ท่ีชาวบ้านต้องเผชิญในช่วงของการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง รวดเรว็ มาก ขณะท่ี พชั รนิ ทร์ สริ สนุ ทร (2543 และ 2544) กเ็ หน็ ไปในทำ� นองเดยี วกนั วา่ กระบวนการจัดการความรู้ดังกล่าวถือเป็นทุนทางวัฒนธรรมท่ีส�ำคัญของผู้รู้ ในทอ้ งถน่ิ ทม่ี ศี กั ยภาพอยา่ งยง่ิ ตอ่ การพฒั นาชนบท ทง้ั นง้ี านวจิ ยั ของ ทรงจติ พลู ลาภ (2544) กไ็ ดส้ นบั สนนุ วา่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ มศี กั ยภาพตอ่ การพฒั นาใหช้ มุ ชนเขม้ แขง็ และยั่งยนื ด้วยเช่นเดียวกนั 5.6 บทสรปุ จากการส�ำรวจรวบรวมวรรณกรรมที่มีการเผยแพร่เกี่ยวกับพลังความคิด และภูมิปัญญาในภาคเหนือของประเทศไทยในรอบ 10 ปี นับย้อนหลังจากปี พ.ศ. 2547/2548 ถงึ แมจ้ ะพบวา่ มจี ำ� นวนเอกสารทมี่ กี ารเผยแพรใ่ นรปู แบบใดแบบหนงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ ภาคภาษาไทย หากกลา่ วโดยภาพรวม จะเหน็ วา่ มขี อ้ แตกตา่ งอยบู่ า้ ง ระหว่างวรรณกรรมในภาคภาษาองั กฤษกับภาคภาษาไทย เอกสารภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการค้นหาค�ำอธิบายในเชิง โครงสรา้ ง หรอื ความคดิ เบอื้ งหลงั พฤตกิ รรมทป่ี รากฏ หรอื มากกวา่ ตวั ปรากฏการณ์ งานศึกษาส่วนใหญ่ซึ่งด�ำเนินการโดยผู้ศึกษาชาวต่างชาติจึงมุ่งหาความหมาย หรือค�ำอธิบายความคิดที่อยู่เบื้องหลังจากการศึกษาระบบความเชื่อทางศาสนา หรืออีกนัยหน่ึงคือ อุดมการณ์เชิงอ�ำนาจที่เป็นฐานรองรับหรือเป็นปัจจัยก�ำกับ การขบั เคลอื่ นทางสงั คม ในอกี ดา้ นหนงึ่ วรรณกรรมภาษาไทยสว่ นใหญท่ ศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั พลงั ความคดิ และภมู ปิ ญั ญาในภาคเหนอื ของประเทศไทยเปน็ การศกึ ษาทม่ี งุ่ เพอื่ การประยกุ ตใ์ ช้ ในทางปฏบิ ตั มิ ากกวา่ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั ดงั นน้ั งานศกึ ษาวจิ ยั ในภาคภาษาไทยทดี่ จู ะ มีความครอบคลุมด้านต่างๆ ของชีวิตมากกว่าวรรณกรรมภาคภาษาอังกฤษ แต่

258 ก�ำ ก๊ดึ ก�ำ ปาก การศึกษาเชิงลึกท่ีมุ่งอธิบายเชิงโครงสร้าง หรือเชิงกรอบคิดที่เป็นอุดมการณ์ เบอ้ื งหลงั ปรากฏการณย์ งั มจี ำ� นวนนอ้ ยในวรรณกรรมภาษาไทย ทงั้ ในหมนู่ กั ศกึ ษา อาจารย์ และนกั วชิ าการมสี ังกัดและไม่มสี ังกดั การรวบรวมขอ้ มลู จากเอกสารประเภทตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วกบั พลงั ความคดิ และ ภูมิปัญญาในภาคเหนือของประเทศไทย ทำ� ให้ได้เหน็ บทบาทของภมู ปิ ัญญาในมติ ิ ตา่ งๆ กลา่ วคอื นอกจากท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ อดุ มการณพ์ นื้ ฐานทใี่ หแ้ นวทางเพอ่ื การปฏบิ ตั ิ ในชีวิตประจ�ำวนั แล้ว ระบบภมู ิปัญญาในด้านต่างๆ เหล่าน้ียังช่วยเสรมิ สร้างพลงั ของความเป็นชุมชนหรือสังคม ท่ีไม่เพียงแต่แสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มสังคมหนง่ึ ๆ เท่านั้น แต่ยังสามารถใช้เป็นทางออกหรือทางเลือกส�ำหรับวิถีชีวิตที่ประสบกับ ความยากล�ำบากจากความเปล่ียนแปลงท่ีถาโถมเข้าสู่ชุมชน ไม่ว่าจะมาจาก อ�ำนาจรัฐหรือจากอิทธิพลของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมก็ตาม ตัวอย่างของ การหันเข้าหาการดูแลรักษาสุขภาพแบบพ้ืนบ้าน หรือการใช้ภูมิปัญญา ตามประเพณีในการจัดการทรัพยากร หรือการหันกลับมาเน้นเศรษฐกิจแบบ พ่ึงตนเองให้มากขึ้น ซ่ึงยังมีนัยเช่ือมโยงไปถึงความมั่นคงทางอาหารของชุมชน อีกด้วย เหล่าน้ีเป็นตัวอย่างมากพอท่ีจะลงความเห็นได้ว่า ชุมชนได้ใช้ระบบ ภูมปิ ัญญาที่ตนมีอยู่เพือ่ ท่จี ะลดทอน ถ่วงดลุ หรอื โต้ตอบกบั อำ� นาจทค่ี รอบงำ� จาก ภายนอกอย่างชาญฉลาด อย่างไรก็ตาม งานศึกษาด้านภูมิปัญญาเหล่าน้ียังสะท้อนให้เห็นด้วยว่า เม่ือตกอยู่ภายใต้เงื่อนไขท่ีจ�ำเป็นหรือจ�ำยอม ชุมชนยังสามารถปรับปรุงหรือ เปล่ียนแปลงระบบภูมิปัญญาของตนให้ตอบสนองต่อเงื่อนไขเหล่านั้นได้ แตเ่ มอ่ื ใดกต็ ามทว่ี ถิ ชี วี ติ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงใหมเ่ กดิ ปญั หาขน้ึ ชมุ ชนกพ็ รอ้ มทจี่ ะหนั กลบั ไปฟื้นฟรู ะบบภมู ิปัญญาตามประเพณีได้อีกเช่นกัน โดยอาจกลบั มาในรูปลกั ษณ์ท่ี เหมือนเดิมหรือต่างจากเดิมไปบ้างก็เป็นได้โดยท่ียังสามารถรักษาอุดมการณ์และ คุณค่าของความเป็นชมุ ชนไว้ได้

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 259 เอกสารอา้ งอิง กมลาภรณ์ เสราดี (2535) “วฒั นธรรมความเชื่อเก่ียวกับคณุ ค่าของพืชผกั พืน้ บ้านภาคเหนือ” ส�ำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ กรกนก รัตนวราภรณ์ (2545) “จกั รวาลคตใิ นการวางผงั วดั หลวงล้านนา: สญั ลกั ษณ์สะท้อนอำ� นาจรัฐ ในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต (สาขาภูมิภาคศึกษา) บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ กรรณิการ์ กนั ธะรักษา (2536) “ความเชื่อแผนโบราณและพฤตกิ รรมการรักษาเยียวยาแบบพืน้ บ้าน ของชาวบ้าน บ้านห้วยสะแพท อ�ำเภอจอมทอง จงั หวดั เชียงใหม่” คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ กฤษฎา บญุ ชยั (2539) ‘พลวตั ชมุ ชนล้านนาในการจดั การความหลากหลายทางชวี ภาพ’ วทิ ยานพิ นธ์ มหาบณั ฑิต สงั คมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา (สงั คมวทิ ยา) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ กญั จนา ดีวเิ ศษ (2542) ผักพนื้ บ้านภาคเหนือ กรุงเทพฯ: โครงการพฒั นาตำ� รา สถาบนั การแพทย์ แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ โกมาตร จงึ เสถียรทรัพย์ และราตรี ป่ิ นแก้ว (2547) “ชาตพิ นั ธ์ุ รัฐเวชกรรม และการแพทย์สญั ชาติ ไทยในชมุ ชนม้ง” ใน ชาตพิ นั ธ์ุกับการแพทย์ กรุงเทพฯ: โอ เอส พรินติง้ เฮาส์ คมเนตร เชษฐพฒั นวนิช ( 2540) ความเช่ือพืน้ บ้านล้านนา สถาบนั วิจยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ____ (2540) ขดึ : ข้อห้ามล้านนา สถาบนั วิจยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ งามเนตร จริงสงู เนิน (2538) ‘องค์กรชมุ ชนเครือขา่ ยเพ่ือการจดั การทรัพยากรธรรมชาตใิ นเขตพืน้ ที่ ล่มุ น�ำ้ : กรณีศึกษาองค์กรชมุ ชนเครือข่ายล่มุ น�ำ้ แม่ราก-แม่เลา ต�ำบลป่ าแป๋ อ�ำเภอแม่แตง จงั หวดั เชยี งใหม’่ , วทิ ยานพิ นธ์มหาบณั ฑติ พฒั นาสงั คม (การจดั การการพฒั นาสงั คม) สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ จิราลกั ษณ์ จงสถิต์มน่ั (2538) รายงานการวจิ ยั การรักษาผู้ตดิ เชือ้ เอดส์ด้วยการปฏบิ ตั ธิ รรม: ศกึ ษากรณีวัดดอยเกงิ้ อำ� เภอแม่สะเรียง จงั หวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม:่ ศนู ย์สตรีศกึ ษา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ จิราลกั ษณ์ จงสถิต์มน่ั (2538) รายงานการวจิ ยั การรักษาผู้ตดิ เชือ้ เอดส์ด้วยการปฏบิ ตั ธิ รรม: ศกึ ษากรณีวัดดอยเกงิ้ อำ� เภอแม่สะเรียง จงั หวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม:่ ศนู ย์สตรีศกึ ษา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ____ (2542) การปรับตัวทางด้านศาสนากับการสร้างทุนทางวัฒนธรรมและการพัฒนา คุณภาพชีวิตของผู้คน: ศึกษาเฉพาะกรณีพระอาจารย์รัตน์ รตนญาโณ ส�ำนกั งาน คณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ

260 ก�ำ กึด๊ ก�ำ ปาก จงุ โกะ อีดะ (2547) “การสง่ เสริมการนวดแผนไทยในหม่บู ้านทางภาคเหนือของไทย: การปฏิบตั ิ ของคนท้องถิ่นและอ�ำนาจของวาทกรรม ‘ภูมิปัญญาไทย’ เอกสารการประชุมประจ�ำปี ทางมานษุ ยวทิ ยา ครงั้ ท่ี 3 เร่ือง “ทบทวนภมู ปิ ัญญา ท้าทายความรู้” ณ ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ ินธร 24-26 มีนาคม ____(2548) “การส่งเสริมการนวดแผนไทยในหม่บู ้านทางภาคเหนือของไทย: การปฏิบตั ิของ คนท้องถน่ิ และอำ� นาจของวาทกรรม‘ภมู ปิ ัญญาไทย’ในภมู ปิ ัญญาสขุ ภาพ:ปฏบิ ตั กิ ารต่อรอง ของความรู้ท้องถ่นิ (หน้า 15-54) กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสริ ินธร ชมชวน บญุ ระหงษ์ และสมศกั ดิ์ ดวงแก้วเรือน (2544) “ความหลากหลายในสวนเม่ียงผสมผสาน รูปแบบสวนผสมผสานบนท่ีสงู กรณีศกึ ษา นายสมฤทธ์ิ – นางศรีนวล ยอดสร้อย บ้านผาเดง็ อ. แมแ่ ตง จ. เชยี งใหม”่ ใน “ศกั ยภาพของเกษตรกรและชมุ ชนในการอนรุ ักษ์พฒั นาความหลาก หลายของพนั ธ์ไุ ม้ผลในระบบสวนไทย”เอกสารประกอบการประชมุ เรื่อง “ปลกู ความหลากหลาย ให้โลกงาม” ณ วีเทรน ดอนเมือง กรุงเทพฯ: มลู นิธิเกษตรกรรมยงั่ ยืน 29-30 มิถนุ ายน ชยันต์ วรรธนะภูติ (2540) “ระบบความรู้พืน้ บ้านในทัศนะนักมานุษยวิทยา” (เรียบเรียงจาก “Approaches to the Study of Indegenous Knowledge Systems: Some Preliminary Thoughts” by Charles F. Keyes) ใน ชยนั ต์ วรรธนะภตู ิ และฉนั ทนา บรรพศิริโชติ (บก) ระบบความรู้พนื้ บ้านปัจจุบนั : การวจิ ยั และพฒั นา (หน้า 1-11) เชียงใหม:่ โครงการศกึ ษา ชาตพิ นั ธ์แุ ละการพฒั นาสถาบนั วจิ ยั สงั คม, มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ชิเกฮารุ ทานาเบ้ (2547) นุ่งเหลือง-นุ่งดำ� : ตำ� นานของผู้น�ำชาวนาแห่งล้านนาไทย กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ชสู ทิ ธิ์ ชชู าติ (2538) “การใช้ภมู ิปัญญาชาวบ้านในการอนรุ ักษ์ป่ าและระบบนิเวศเพื่อแก้ปัญหา ภยั แล้งของประเทศไทย” ส�ำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ____(2543) “การใช้ภมู ิปัญญาชาวบ้านในการอนรุ ักษ์ป่ าและระบบนิเวศเพ่ือแก้ปัญหาภยั แล้ง ของประเทศไทย” เอกสารประกอบการประชมุ ทางวิชาการเร่ือง “การเปล่ียนแปลงทางสงั คม วฒั นธรรมและเศรษฐกิจของชมุ ชนในภาคเหนือ” ณ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 28-29 มกราคม ญาวิณีย์ ศรีวงศ์ราช (2544) ‘การศกึ ษาแนวคดิ เชิงปรัชญาเรื่อง ‘ขวญั ’ ในวรรณกรรมพิธีกรรมล้าน นา’ วทิ ยานิพนธ์มหาบณั ฑิต (สาขาวชิ าปรัชญา) บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ทรงจติ พลู ลาภ (2544) “การศกึ ษาวจิ ยั ศกั ยภาพและสถานภาพของภมู ปิ ัญญาไทยเพอ่ื สง่ เสริมและ สนบั สนนุ การพฒั นาชมุ ชนให้เข้มแข็งและยง่ั ยืน” กรุงเทพฯ: สถาบนั ราชภฏั พระนคร ทรงวิทย์ เช่ือมสกลุ (2547) “ ‘ตลง๊ั ชวั่ ’ แนวคิดในการจดั การความเจ็บป่ วยกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุม้ง” ใน นิเวศวทิ ยาชาตพิ นั ธ์ุ ทรัพยากรชวี ภาพ และสทิ ธมิ นุษยชน (หน้า 37-69) เชยี งใหม:่ บริษทั วทิ อินดีไซน์จ�ำกดั ทวิช จตุวรพฤกษ์ (2547) “เกียรติยศ และศกั ด์ิศรีแห่งหมอยาลีซู” ใน นิเวศวิทยาชาติพันธ์ุ ทรัพยากรชีวภาพ และสทิ ธิมนุษยชน (หน้า 113-155) เชียงใหม:่ บริษัทวิทอินดีไซน์จ�ำกดั

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 261 ธวชั มณีผ่อง (2546) ‘กระบวนการสร้ างความรู้ชายขอบในวิกฤตการณ์สุขภาพ: กรณีศึกษา ส�ำนกั ทรงแหง่ หนง่ึ ในจงั หวดั เชียงใหม’่ วิทยานิพนธ์มหาบณั ฑิต (สาขาวิชาการพฒั นาสงั คม) บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ___ (2548) “ความรู้ชายขอบ: อ�ำนาจและปฏิบตั กิ ารของสำ� นกั ทรงในผ้ปู ่ วย ‘กากโรงพยาบาล’” ใน ภมู ปิ ัญญากับการสร้างพลังชุมชน (หน้า 155-210) กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสริ ินธร ธารา ออ่ นชมจนั ทร์ (2535) “งานวิจยั ศกั ยภาพหมอพืน้ บ้านกบั การสาธารณสขุ มลู ฐาน: กรณีศกึ ษา จงั หวดั เชียงราย”, กรุงเทพฯ: สำ� นกั งานคณะกรรมการสาธารณสขุ มลู ฐาน ธารา ออ่ นชมจนั ทร์ และยิ่งยง เทาประเสริฐ (2537) “ศกั ยภาพของภมู ิปัญญาพืน้ บ้านด้านการดแู ล รักษาสขุ ภาพ: กรณีศกึ ษากระดกู หกั ของหมอเมืองและการดแู ลครรภ์ของชาวอ่าข่า จงั หวดั เชียงราย” กรุงเทพฯ: ส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั ธิติมา ทิพย์สงั วาล (2544) ‘กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถ่ินในการผลิตอุตสาหกรรม เคร่ืองปัน้ ดินเผา ต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย’ วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั นเรศวร ธีรพงษ์ บวั หล้า (2545) “ผีในป่ า...การเรียนรู้เชิงอนรุ ักษ์” ใน ดิเรก ปัทมสิริวฒั น์ และพชั รินทร์ สริ สนุ ทร(บก.) วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ในสังคมไทย (หน้า 292-313) คณะมนษุ ยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เธียรชาย อกั ษรดษิ ฐ์ (2545) ‘ชธุ าต:ุ บทบาทและความหมายของพระธาตใุ นอนภุ มู ิภาคอษุ าคเนย์ กรณีศึกษาความเชื่อเรื่องพระธาตปุ ี เกิดในล้านนา’ วิทยานิพนธ์มหาบณั ฑิต (สาขาภมู ิภาค ศกึ ษา) บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ นิตยา กิจไพศาล (2539) ‘การศกึ ษาภมู ิปัญญาหมอพืน้ บ้านรักษากระดกู : กรณีศกึ ษาหมอคนหนง่ึ ในต�ำบลเมือง อ�ำเภอพิชยั จงั หวดั อตุ รดติ ถ์’ วทิ ยานิพนธ์ศลิ ปศาสตร์มหาบณั ฑิต (วฒั นธรรม ศกึ ษา) สถาบนั วิจยั ภาษาและวฒั นธรรมเพื่อการพฒั นาชนบท มหาวิทยาลยั มหิดล นกุ ลู บำ� รุงไทย (2540) “ภมู ปิ ัญญาชาวบ้านกบั การพฒั นาเศรษฐกิจชมุ ชนแบบพง่ึ ตนเองของจงั หวดั ตาก” มหาวทิ ยาลยั นเรศวร บญุ แรม โม้เมือง (2544) “ความหลากหลายในสวนผสมผสานคลองกระจง อ. สวรรคโลก จ. สโุ ขทยั ” ใน “ศกั ยภาพของเกษตรกรและชมุ ชนในการอนรุ ักษ์พฒั นาความหลากหลายของพนั ธ์ไุ ม้ผลใน ระบบสวนไทย” เอกสารประกอบการประชมุ เรื่อง “ปลูกความหลากหลายให้โลกงาม” ณ วีเทรน ดอนเมือง กรุงเทพฯ: มลู นิธิเกษตรกรรมยงั่ ยืน 29-30 มิถนุ ายน บษุ ยมาศ สินธุประมา (2538) “การด�ำรงอย่แู ละการปรับตวั ของแพทย์พืน้ บ้านในเมืองเชียงใหม่” สถาบนั การแพทย์แผนไทย กระทรวงสาธารณสขุ เบญจา ศลิ ารักษ์ และกรรณิการ์ พรมเสาร์ (2542) ป่ าเจด็ ชัน้ : ปัญญาปราชญ์ กรุงเทพฯ: มลู นิธิ เรือนปัญญา เบญจวรรณ วงศ์คำ� (2546) ‘อา่ ขา่ ’ พิธีกรรม ความเช่ือ ความจริง และความงาม” ส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั

262 กำ�กดึ๊ ก�ำ ปาก ประดษิ ฐ์ จริ เดชประไพ (2540) ‘การดำ� รงอยแู่ ละการปรับเปลย่ี นของระบบการแพทย์พนื ้ บ้าน: ศกึ ษา กรณีการใช้สมนุ ไพร ในจงั หวดั พิษณโุ ลก’ วิทยานิพนธ์ดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาพฒั นศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประเสริฐ ตระการศภุ กร (2541) “ภมู ิปัญญาท้องถิ่นในการจดั การทรัพยากรความหลากหลาย ทางชีวภาพตามประเพณีของกล่มุ ชาติพนั ธ์ุ” เอกสารประกอบการสมั มนานานาชาติ เร่ือง “การจัดการลุ่มน�ำ้ ต้นน�ำ้ และปลายน�ำ้ ในการจัดการป่ าอนุรักษ์สู่หลักการและแนวทาง ปฏิบตั ใิ หม”่ สมาคมศนู ย์รวมการศกึ ษาและวฒั นธรรมของชาวไทยภเู ขาในประเทศไทย ป่ิ นแก้ว เหลอื งอร่ามศรี (2539) ภมู ปิ ัญญานิเวศวทิ ยาชนพนื้ เมือง ศกึ ษากรณีชุมชนกะเหร่ียง ในป่ าท่งุ ใหญ่นเรศวร กรุงเทพฯ: มลู นิธิฟื น้ ฟชู ีวติ และธรรมชาติ ___ (2547)“ความจริงวฒั นธรรมและความเชอื่ :การเมอื งและการผลติ ความรู้เกย่ี วกบั กรมป่าไม้ไทย” เอกสารการประชมุ ประจ�ำปีทางมานษุ ยวทิ ยา ครัง้ ท่ี 3 เร่ือง “ทบทวนภมู ปิ ัญญา ท้าทายความรู้” ณ ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสริ ินธร, 24-26 มีนาคม พรชยั ปรีชาปัญญา (2544) “ภมู ปิ ัญญาพนื ้ บ้านเก่ียวกบั ระบบนเิ วศวนเกษตรบนแหลง่ ต้นนำ� ้ ลำ� ธาร ในภาคเหนือเชียงใหม”่ สถานีวจิ ยั ลมุ่ น�ำ้ ดอยเชียงดาว พรพรรณ แซห่ ลม่ิ (2544) ‘ภมู ิปัญญาพืน้ บ้านปกาเกอะญอเกี่ยวกบั การจดั การลมุ่ น�ำ้ กรณีศกึ ษา บ้านแมแ่ ฮใต้ หมู่ 9 ตำ� บลปางหนิ ฝน อำ� เภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม’่ วทิ ยานพิ นธ์วทิ ยาศาสตร์ มหาบณั ฑิต คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ พชั รา ก้อยชสู กลุ และยง่ิ ยงเทาประเสริฐ (2543) องค์ความรู้วถิ กี ารดแู ลสุขภาพพนื้ บ้านล้านนา, เชียงราย: ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการแพทย์พืน้ บ้าน สถาบนั ราชภฏั เชียงราย พชั รินทร์ สิรสนุ ทร (2543) “การศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งภมู ิปัญญาไทยกบั การพฒั นาชนบท: กรณีศกึ ษาจงั หวดั พิษณโุ ลก” คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ___ (2544) “ทนุ ทางวฒั นธรรมกบั การพฒั นาท่ียงั่ ยืน: กรณีศกึ ษาการจดั ระบบองค์ความรู้ด้าน การแพทย์พืน้ บ้าน เขตภาคเหนือตอนล่าง” ส�ำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงศกึ ษาธิการ ____ (2546) “ภูมิปัญญาชาวบ้านและกระบวนการจัดการองค์ความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน: กรณีศกึ ษาเขตภาคเหนือตอนลา่ ง” คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ (2541) “การใช้สมนุ ไพรพืน้ บ้านของชาวเขา: กรณีศกึ ษาชาวเขาเผ่าแม้ว ในภาคเหนือของประเทศไทย” สถาบนั การแพทย์แผนไทย กระทรวงสาธารณสขุ มนตรา พงษ์นิล (2548) “ภมู ิปัญญากว๊านพะเยา: บนเส้นทาง ‘ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน’ กบั คนกินน�ำ้ แมเ่ ดยี วกนั ” ใน ภมู ปิ ัญญากบั การสร้างพลงั ชมุ ชน (หน้า 7-62) กรุงเทพฯ: ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยา สริ ินธร มนตรี จนั ทวงศ์ และปริศนา พรหมมา (2541) ชุมชนท้องถ่นิ กับการจดั การความหลากหลาย ทางชีวภาพ เชียงใหม:่ โครงการพฒั นาลมุ่ น�ำ้ ภาคเหนือโดยองค์กรชมุ ชน

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 263 มาณพ มานะแซม (2541) “การศกึ ษาเชิงปรัชญาเร่ืองคติความเชื่อเรื่องการฟ้ อนผีในภาคเหนือ” วทิ ยานิพนธ์มหาบณั ฑิต (สาขาวชิ าปรัชญา) บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ มาลี สิทธิเกรียงไกร (2545) “การเปลี่ยนแปลงและวิวฒั นาการของระบบการแพทย์ภาคเหนือ” ใน โกมาตร จงึ เสถียรทรัพย์ และชาตชิ าย มกุ สง (บก.) พรมแดนความรู้ประวตั ศิ าสตร์การแพทย์ และสาธารณสุขไทย (หน้า 189-200) สถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสขุ ยศ สนั ตสมบตั ิ (2542) ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถ่ินเพ่ือการพัฒนา อย่างย่งั ยนื ภาควชิ าสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ย่ิงยง เทาประเสริฐ (2538) “กระบวนการเรียนรู้และการปรับตวั ของชมุ ชนก่ึงเมืองกึ่งชนบท: กรณี ศึกษาบ้านป่ าห้า ต�ำบลนางแล อ�ำเภอเมือง จังหวดั เชียงราย” ส�ำนักงานคณะกรรมการ วฒั นธรรมแหง่ ชาต,ิ กระทรวงศกึ ษาธิการ, รงั สรรค์จนั ต๊ะ(2547)ภมู ปิ ัญญาพนื้ บ้าน: มติ ทิ างวฒั นธรรมในการดแู ลรักษาผ้ตู ดิ เชอื้ และผ้ปู ่ วย เอดส์ในภาคเหนือของประเทศไทย กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั รุจนิ าถ อรรถสษิ ฐ์ (2538) “การปรับตวั ของการนวดพนื ้ บ้านในสงั คมชนบท: กรณีศกึ ษาชมุ ชนแหง่ หนง่ึ ในภาคเหนือตอนลา่ ง” ส�ำนกั งานคณะกรรมการสาธารณสขุ มลู ฐาน ส�ำนกั งานปลดั กระทรวง สาธารณสขุ วรรธนะ มลู ข�ำ (2545) ‘ร่องรอยและอิทธิพลของคติพุทธศาสนามหายานท่ีมีต่อความเชื่อและ พิธีกรรมพืน้ บ้านในจงั หวดั เชียงใหม’่ สาขาวชิ าโบราณคดีสมยั ประวตั ศิ าสตร์ บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร วราลกั ษณ์ อทิ ธิพลโอฬาร (2541)ไร่หมนุ เวยี น: มารดาแห่งพนั ธ์พุ ชื โครงการพฒั นาลมุ่ นำ� ้ ภาคเหนอื โดยองค์กรชมุ ชน วชั รากร คดคง (2538) ‘วฒั นธรรมของหม่บู ้านในชนบท จงั หวดั พิษณโุ ลก: ศกึ ษาเฉพาะประเพณี ความเชอ่ื และการละเลน่ ของหมบู่ ้านไผข่ อนำ� ้ อำ� เภอพรหมพริ าม จงั หวดั พษิ ณโุ ลก’ วทิ ยานพิ นธ์ ศลิ ปศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าไทยคดีศกึ ษา มหาวิทยาลยั นเรศวร วนั เพ็ญ สรุ ฤกษ์ (2543) “วิถีชีวิตล่มุ น�ำ้ : ชุมชนเหมืองฝายในภาคเหนือของประเทศไทย”, ใน ศนู ย์มานุษยวิทยาสิรินธร (บก.) ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย (หน้า 179-246) กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์ พริน้ ตงิ ้ แอนด์พบั ลชิ ช่ิง จ�ำกดั (มหาชน) วิเชียร มีบญุ (2541) “พิธีกรรมจบั ปลาบกึ ในลมุ่ น�ำ้ โขง บ้านหาดไคร้ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงของ จงั หวดั เชียงราย” สาขาวิชาไทยคดีศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหาสารคาม วเิ ชยี ร อนั ประเสริฐ (2547) “กะเหร่ียงกบั การจดั การทรัพยากรและความเจบ็ ป่ วย”ใน นเิ วศวทิ ยาชาติ พนั ธ์ุ ทรัพยากรชวี ภาพ และสทิ ธมิ นษุ ยชน (หน้า 197-235) เชยี งใหม:่ บริษทั วทิ อนิ ดไี ซนจ์ ำ� กดั วิฑรู ย์ เลี่ยนจ�ำรูญ (2544) “พทุ ธเกษตรกรรมกบั ความหลากหลายทางชีวภาพ ประสบการณ์ของ ฉลวย แก้วคง” ใน “ศกั ยภาพของเกษตรกรและชมุ ชนในการอนรุ ักษ์พฒั นาความหลากหลาย ของพนั ธ์ุไม้ผลในระบบสวนไทย” เอกสารประกอบการประชมุ เร่ือง “ปลกู ความหลากหลาย ให้โลกงาม” ณ วีเทรน ดอนเมือง กรุงเทพฯ: มลู นิธิเกษตรกรรมยงั่ ยืน, 29-30 มิถนุ ายน

264 กำ�กึด๊ ก�ำ ปาก วิพุธ วิวรณ์วรรณ (2545) จักสานบ้านเนินน�ำ้ เย็นและงานภูมิปัญญาชาวบ้านปากน�ำ้ โพ กรุงเทพฯ: บริษัทโรงพิมพ์ไทยวฒั นาพานิช จ�ำกดั วเิ ศษ สจุ ินพรัหม (2545) คนอยู่ป่ า: ใช้เพ่อื อยู่ อยู่เพ่อื รักษา เครือขา่ ยป่ าชมุ ชนภาคเหนือ วรี ะพงษ์ แสงชโู ต (2543) “การวเิ คราะห์ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ และเทคโนโลยพี นื ้ บ้านในทางวทิ ยาศาสตร์ ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย” เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการเร่ือง “การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม วฒั นธรรมและเศรษฐกิจของชมุ ชนในภาคเหนือ” ณ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 28-29 มกราคม สมเกียรติ จ�ำลอง (2547) “องค์ความรู้ในการจดั การทรัพยากรและสขุ ภาพของชาวเมี่ยน” ใน นิเวศวิทยาชาติพันธ์ุ ทรัพยากรชีวภาพ และสิทธิมนุษยชน (หน้า 70-112) เชียงใหม่: บริษัทวทิ อินดีไซน์จ�ำกดั สุกัญญา จันทะสูน (2538) ‘ภูมิปัญญาชาวบ้านและกระบวนการถ่ายทอด: การศึกษา “พิธีเสนเรือน” ของชาวลาวโซ่ง จงั หวดั พิษณุโลก’ วิทยานิพนธ์มหาบณั ฑิต ศึกษาศาสตร์ (การศกึ ษาผ้ใู หญ่และการศกึ ษาตอ่ เนื่อง) มหาวิทยาลยั นเรศวร สนุ นั ท์ ไชยสมภาร(2545) ‘บทบาทของผ้หู ญิงในการสบื ทอดความเชอื่ และพธิ ีกรรมในชมุ ชนภาคเหนอื ’ วทิ ยานพิ นธ์มหาบณั ฑติ (สาขาวชิ าการศกึ ษานอกระบบ) บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ สพุ จน์ พฤกษวนั (2540) “การดแู ลรักษาสขุ ภาพและการรักษาพยาบาล กรณีศึกษาจงั หวดั พษิ ณโุ ลก” ใน ชยนั ต์ วรรธนะภตู ิ และฉนั ทนา บรรพศริ ิโชติ (บก.)ระบบความรู้พนื้ บ้านปัจจบุ นั : การวิจัยและพัฒนา (หน้า 73-80) เชียงใหม่: โครงการศึกษาชาติพนั ธ์ุและการพฒั นา สถาบนั วจิ ยั สงั คม มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ สรุ พล สกณุ า (2540) ‘วฒั นธรรมของหม่บู ้านในชนบท จงั หวดั อทุ ยั ธานี: ศกึ ษาเฉพาะประเพณี ความเชื่อ และการละเล่นของหมู่บ้านท่าโพพนั สี อ�ำเภอหนองขาหย่าง จังหวดั อุทยั ธานี’ วทิ ยานิพนธ์ศลิ ปศาสตร์มหาบณั ฑิต (ไทยคดีศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร สรุ ินทร์ อ้นพรม (2543) “จากแนวกนั ไฟสกู่ ารชิงเผา: รูปแบบการจดั การไฟของชมุ ชน กรณีศกึ ษา ชมุ ชนต�ำบลแม่ทา ก่ิงอ�ำเภอแม่ออน จงั หวดั เชียงใหม่” ใน การจัดการไฟป่ าโดยองค์กร ชุมชน, เอกสารประกอบการสมั มนา เรื่อง “เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจดั การไฟป่ า” (หน้า 70-77) ณ สมาคมวาย เอม็ ซี เอ เชียงใหม,่ 13-14 กนั ยายน เสถียร ฉนั ทะ (2543) “ภมู ิปัญญาท้องถิ่นกบั การจดั การความหลากหลายทางชีวภาพพืชสมนุ ไพร: กรณศี กึ ษาในวถิ ชี วี ติ ชมุ ชนไทลอื ้ จงั หวดั เชยี งราย”สถาบนั การแพทยแ์ ผนไทยกระทรวงสาธารณสขุ ____ (2547) “เร๊ะ ตู๊ เร๊ง: การจดั การทรัพยากรและความเจ็บป่ วย” ใน นิเวศวิทยาชาติพันธ์ุ ทรัพยากรชีวภาพ และสิทธิมนุษยชน (หน้า 277-312) เชียงใหม:่ บริษัทวทิ อินดีไซน์จ�ำกดั ศูนย์วิจัยและพัฒนาการแพทย์พืน้ บ้าน สถาบนั ราชภัฏเชียงราย (2544) “โครงการสงั คายนา องค์ความรู้ ‘หมอเมือง’ เพื่อพฒั นาระบบและต�ำราอ้างอิงของการแพทย์พืน้ บ้านล้านนา” กรุงเทพฯ: ส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 265 อนรุ ักษ์ ปัญญานวุ ฒั น์ (2543) “ผลกระทบการถ่ายทอดภมู ิปัญญาท้องถิ่นเชิงธรุ กิจตอ่ การจดั การ ทรัพยากรธรรมชาติในภาคเหนือตอนบน: กรณีการศึกษาการจัดท�ำสินค้าเลียนแบบของ โบราณ” เอกสารประกอบการประชมุ ทางวชิ าการเร่ือง “การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม วฒั นธรรม และเศรษฐกิจของชมุ ชนในภาคเหนือ” ณ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 28-29 มกราคม อนสุ รณ์ อณุ โณ (2548) “เกษตรกรรมยงั่ ยืน: การรุกคืบของภมู ิปัญญาท้องถ่ินและการโต้กลบั ” ใน ความรู้กับการเมืองเร่ืองทรัพยากร (หน้า 191-279) กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสริ ินธร อรัญญา มโนสร้อย และจีรเดช มโนสร้อย (2537) เภสัชกรรมล้านนา: ตำ� รับยาสมุนไพรล้านนา กรุงเทพฯ: สถาบนั การแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ อัจฉรา รักยุติธรรม (2548) “นิเวศวิทยาพืน้ บ้าน การต่อสู้ของคนชายขอบเพื่อสร้ างพืน้ ที่ ทางสงั คมของคนกบั ป่ า”, ใน ความรู้กับการเมืองเร่ืองทรัพยากร (หน้า 47-72) กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสริ ินธร อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ (2536) “ผีมด ผีเมง็ : ผีบรรพบรุ ุษของคนมอญ” The Earth 2000 1 (3): 86-98 (และรวมพิมพ์อยใู่ น อานนั ท์ 2555) ____ (2546) “ความเชื่อมโยงของระบบหมอพืน้ บ้าน” ใน กระบวนทศั น์การแพทย์พนื้ บ้านไทย (นน 61-78) กรุงเทพฯ: กลมุ่ งานการแพทย์พืน้ บ้านไทย อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ (2555) เจ้าท่แี ละผปี ่ ยู ่า: พลวตั ของความรู้ชาวบ้าน อำ� นาจและตวั ตนของ คนท้องถ่นิ เชยี งใหม:่ ภาควชิ าสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ และคณะ (2547) ระบบการเกษตรแบบไร่หมุนเวยี น: สถานภาพและการ เปล่ียนแปลง คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ อารยะ ภูสาหสั และศกั ดิ์ รัตนชยั (2539) “วิถีชีวิตของชุมชนจกั สานไม้ไผ่ กระบวนการเรียนรู้ การปรับตวั และความสมั พนั ธ์แบบใหม่ในกระแสการเปล่ียนแปลง: กรณีศกึ ษาบ้านไผ่แพะ ต�ำบลเมืองมาย อ�ำเภอแจ้หม่ จงั หวดั ลำ� ปาง” สำ� นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ อารยะ ภูสาหสั (2541) “วิถีชีวิตของชุมชนจกั สานไม้ไผ่: กระบวนการเรียนรู้ การปรับตวั และ ความสมั พนั ธ์แบบใหมใ่ นกระแสการเปลี่ยนแปลง” สถาบนั วิจยั โยนก วทิ ยาลยั โยนก อุดม ธีรพัฒนานนทกุล (2545) ‘บทบาทของพระสงฆ์ในฐานะผู้เชื่อมความสัมพันธ์ ทางวัฒนธรรมบริเวณภาคเหนือตอนบนของไทยกับรัฐฉานของพม่า’ วิทยานิพนธ์ มหาบณั ฑิต (สาขาวชิ าภมู ิภาคศกึ ษา) บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ อุดมลกั ษณ์ ฮุ่นตระกูล (2547) “การตงั้ ถ่ินฐานของคนบนพืน้ ท่ีสูง: ภูมิปัญญาในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ” เอกสารการประชมุ ประจ�ำปี ทางมานษุ ยวิทยา ครัง้ ที่ 3 เรื่อง “ทบทวน ภมู ิปัญญา ท้าทายความรู้” ณ ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสริ ินธร 24-26 มีนาคม ___ (2548) “การตงั้ ถ่ินฐานของกลมุ่ คนบนพืน้ ท่ีสงู : ภมู ิปัญญาในการจดั การทรัพยากรธรรมชาต”ิ ใน ภมู ปิ ัญญากับการสร้างพลังชุมชน (หน้า 63-108) กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสริ ินธร

266 ก�ำ กด๊ึ ก�ำ ปาก อไุ รวรรณ ตนั กิมยง (2538) “ระบบเหมืองฝายชุมชนเพ่อื ชุมชน: การเสริมสร้างศักยภาพและ ความเข้มแขง็ ขององค์กรชุมชน” กรุงเทพฯ: สถาบนั วิจยั สงั คม จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั อไุ รวรรณ แสงศร (2547) “ภูมิปัญญาในการจดั การทรัพยากรและการดแู ลความเจ็บป่ วยของ อา่ ขา่ ” ใน นิเวศวทิ ยาชาตพิ นั ธ์ุ ทรัพยากรชีวภาพ และสิทธิมนุษยชน (หน้า 156-196) เชียงใหม:่ บริษัทวทิ อินดีไซน์จ�ำกดั เอกวิทย์ ณ ถลาง (2541) วิถีชีวิตและการเรียนรู้-แก้ปัญหาของชาวบ้านไทย กรุงเทพฯ: มลู นิธิภมู ิปัญญา ___ (2544) ภมู ปิ ัญญาล้านนา กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพ์อมรินทร์ ___ (2546) ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ กับการจดั การความรู้ กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพ์อมรินทร์ Alting von Geusau, Leo (1993) “Eco-Systems in the Triangle Area in Particular Northern Thailand: Property Systems, Stress, Sustainable Management”, Paper presentation of the Fourth Annual Property Conference of IASCP, Manila, Philippines, 16-19 June. Anan Ganjanapan (2000) “Changing Power and Positions of Mo Muang in Northern Thai Healing Rituals”, The Journal of the Siam Society 88 (1-2): 58-71. (ภาคภาษาไทย รวมพิมพ์อยใู่ น อานนั ท์ 2555) Anderson, Edward F. (1993) Plants and People of the Golden Triangle: Ethnobotany of the Hill. Bangkok: White Lotus. Bowie, Katherine A. (1998) “The Alchemy of Charity: Of Class and Buddhism in Northern Thailand”, in American Anthropologist 100(2): 469-481. Brun, Viggo and Trond Schumacher (1987) Traditional Herbal Medicine in Northern Thailand. Los Angeles: The Regents of the University of California. Corlin, Claes (2000) “The Politics of Cosmology: An Introduction to Millenarianism and Ethnicity among Highland Minorities of Northern Thailand”, in Andrew Turton (ed.) Civility and Savagery: Social Identity in Tai States. (pp. 104-121) Richmond, Surrey: Curzon Press. Dearden, Philip and Chusak Wittayapak (1999) “Decision-Making Arrangements in Community-Based Watershed management in Northern Thailand”, Society and Natural Resources 12(7): 673-691. Del Casino, Vincent J., Jr. (2004) “(Re)placing Health and Health Care: Mapping the Competing Discourses and Practices of ‘Traditional’ and ‘Modern’ Thai Medicine.” Health & Place 10(1): 59-73. Durrenberger, Paul (1979) “Misfortune and Therapy among the Lisu of Northern Thailand”, Anthropological Quarterly 52(4): 204-210.

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 267 ____ (1980) “Annual Non-Buddhist Religious Observances of Mae Hong Son Shan”, Journal of the Siam Society 68(2): 48-56. _____ (1981) “The Southeast Asian Context of Theravada Buddhism”, Anthropology 5(2):45-62. ___ (1983) “The Shan Rocket Festival: Buddhist and Non-Buddhist Aspects of Shan Religion”, Journal of the Siam Society, 71(1): 63-74. Durrenberger, Paul and Nicola Tannenbaum (1983) “A Diachronic Analysis of Shan Cropping Systems”, Ethnos: Journal of Anthropology 48(3-4):177-194. Grand, Amanda Le (1993) “Enhancing Appropriate Drug Use: The Contribution of Herbal Medicine Promotion: A Case Study in Rural Thailand”, Social Science & Medicine 36(8): 1023-1035. Grave, Peter (1995) “Beyond the Mandala: Buddhist Landscapes and Upland-Lowland Interaction in North-West Thailand AD1200-1659”, World Archaeology, 27(2): 243-265. HunsaPayomyongSethabouppha(2002) ‘Buddhist Family Care Giving: A Phenomenological Study of Family Caregiving to the Seriously Mentally Ill in Thailand’, Ph. D. Dissertation, University of Virginia. Iida, Junko (2003) ‘Thai Massage and the Construction of Thai Traditional Medicine: Diversity of Authoritative Knowledge among Social Contexts’, Ph.D. Dissertation, The School of Social and Cultural Studies, Graduate University of Advanced Studies, Osaka: National Museum of Ethnology,. Irvin, Walter (1982) ‘The Thai-Yuan ‘Madman’ and the Modernising Developing Thai Nation, as Bounded Entities Under Threat: A Study in the Replication of a Single Image’, Ph. D. Dissertation, SOAS, University of London. Jiradej Manosroi (2005) “Translation of Lanna Medicinal Plant Recipes for Research and Development of Modern Pharmaceuticals and the Understanding of the Lanna Thai Cultures and Histories”, Paper presented at the 9th International Conference on Thai Studies, Northern Illinois University, 3-6 April. Kammerer, Cornelia Ann(1996) “Begging for Blessing Among Akha Highlanders of Northern Thailand”, in Cornelia Ann Kammerer and Nicola Beth Tannenbaum (ed.) Merit and Blessing in Mainland Southeast Asia in Comparative Perspective ( pp. 79-97). Connecticut: Yale University Southeast Asia Studies. Kwanchewan Buadaeng (2001) ‘Negotiating Religious Practices in a Changing Sgaw Karen Community in North Thailand.’ Ph. D. Dissertation, Department of Anthropology, University of Sydney.

268 กำ�ก๊ดึ กำ�ปาก ____ (2003) Buddhism, Christianity, and the Ancestors: Religion and Pragmatism of North Thailand. Chiang Mai: Social Research Institute, Chiang Mai University. McDaniel, Justin Thomas (2003) ‘Invoking the Source: Nissaya Manuscripts, Pedagogy and Sermon-Making in Northern Thai and Lao Buddhism.’ Ph. D. Dissertation, Harvard University. Morris, Rosalind C. (2000) In the Place of Origins: Modernity and its Mediums in Northern Thailand. Durham: Duke University Press. _____ (2002) “Crisis of the Modern in Northern Thailand: Ritual, Tradition, and the New Value of Pastness”, in Shigeharu Tanabe and Charles F. Keyes (eds.) Cultural Crisis and Social Memory: Modernity and Identity in Thailand and Laos (pp. 68-94). London: Routledge Curzon. Pattana Kittiarsa (1999) ‘You May Not Believe, But Never Offend the Spirits: Spirits-Medium Cult Discourse and the Postmodernization of Thai Region.’ Ph. D. Dissertation, University of Washington. Rhum, Michael R. (1994) The Ancestral Lords: Gender, Descent, and Spirits in a Northern Thai Village. Illinois: Northern Illinois University. Santita Ganjanapan (1997) “Indigenous and Scientific Concepts of Forest and Land Classification in Northern Thailand”, in Philip Hirsch (ed.) Seeing Forest for Trees: Environment and Environmentalism in Thailand (pp. 247-267). Chiang Mai: Silkworm Books, Swearer, Donald K. (1995) “Hypostasizing the Buddha: Buddha Image Consecration in Northern Thailand”, History of Religions, 34(4): 263-280. Symond, Patricia V. (1996) “Blessing Among the White Hmong of Northern Thailand”, in Cornelia Ann Kammerer and Nicola Beth Tannenbaum (eds.) Merit and Blessing in Mainland Southeast Asia in Comparative Perspective (pp. 98-115). New Haven, Conn: Yale University Southeast Asia Studies. Tanabe, Shigeharu (2000) “Memories Displaced by Ritual: Cognitive Processes in the Spirit Cults of Northern Thailand”, Bulletin of the National Museum of Ethnology, 24 (4): 707-726. ____ (2000) “Autochthony and the Inthakhin Cult of Chiang Mai”, in Andrew Turton ( ed.) Civility and Savagery: Social Identity in Tai States (pp. 294-318) .Richmond, Surrey: Curzon Press.

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ 269 ____ (2001) “Community and Identity across the Modern in Modernity Reflexive in Northern Thai Spirit Cults”, Paper presented at the JSPS International Symposium on “Everyday Life Experience of Modernity in Thailand: An Ethnographic Approach.” Suan Bua Thani Resort, Chiang Mai, Thailand, 13-14 January. ___ (2002) “The Person in Transformation”, in Shigeharu Tanabe and Charles F. Keyes, ( eds.) Cultural Crisis and Social Memory: Modernity and Identity in Thailand and Laos (pp. 43-67). London: Routledge Curzon. Tannenbaum, Nicola (1987) “Tattoos: Invulnerability and Power in Shan Cosmology”, American Ethnologist 14(4): 693-711. ___ (1988) “Shan Calendrical Systems: The Everyday Use of Esoteric Knowledge”, Mankind 18(1): 14-25. ___ (1989) “Power and Its Shan Transformation”, in Susan Russell (ed.) Ritual, Power, and Economy: Upland-Lowland Contrasts in Mainland Southeast Asia. Center for Southeast Asian Studies Occasional Paper Series, no. 14, (pp. 67-88). DeKalb: Northern Illinois University Press. ____ (1991) “Haeng and Takho: Power in Shan Cosmology”, Ethnos: Journal of Anthropology 56(1-2): 67-81. ____ (1993) “Witches, Fortune, and Misfortune among the Shan of Northwestern Thailand”, in C. W. Watsan and Roy Ellen (eds.) Understanding Witchcraft and Sorcery in Southeast Asia (pp. 67-80). Hawaii: University of Hawaii Press. ____ (1995) Who Can Compete Against the World?: Power-Protection and Buddhism in Shan Worldview. Ann Arber: The Association for Asian Studies Michigan University. ____ and Paul Durrenberger (1989) “Control, Change, and Suffering: The Messages of Shan Buddhist Sermons”, Mankind 18(3): 121-132. Turton, Andrew (1980) “The Thai House: Domestication of Ideology”, Architectural Association Quarterly 12(2): 4-11. Veidlinger, Daniel Marc (2002) ‘Spreading the Dhamma: The Written Word and the Transmission of Pali Texts in Pre-modern Northern Thailand.’ Ph.D Dissertation, University of Chicago. Walker, Andrew (2004) “Seeing Farmers for the Trees: Community Forestry and the Arborealisation of Agriculture in Northern Thailand”, Asia Pacific Viewpoint 45(3): 311-324.

270 กำ�ก๊ดึ กำ�ปาก แนะนำ� ผเู้ ขียน กาญจนา เงารงั สี ศาสตราจารยค์ ณะมนษุ ยศาสตร์ และอดตี รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยนเรศวรผู้มผี ลงานวิจยั ด้านภาษาและวฒั นธรรม ขวัญชีวัน บัวแดง อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาควิชาวิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวทิ ยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ผู้มงี านวิจยั จำ� นวนมาก เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ โดยเฉพาะชาวปกาเกอะญอ ชูพินิจ เกษมณี อาจารย์ประจ�ำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวโิ รฒ ผู้เช่ียวชาญด้านวฒั นธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ หทัยชนก อินทรกำ� แหง นกั วจิ ยั มหาวทิ ยาลยั นเรศวร อภิญญา เฟื่องฟูสกุล อาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาควิชาวิชาสังคมวิทยา และมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ผมู้ ผี ลงานวจิ ยั ส�ำคญั ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ภาควชิ าวชิ าสงั คมวทิ ยา และมานษุ ยวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ผมู้ ผี ลงานจ�ำนวนมาก ด้านการศึกษาวัฒนธรรมและแนวทางการวิเคราะห์สังคมไทย อดีตประธานคณะ อนกุ รรมการวจิ ัยวัฒนธรรมภาคเหนือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook