Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หอดินอิฐ ฟื้น ชีวิต สู่พิพิธภัณฑ์ ❝แบ่งปันโดย [email protected]

หอดินอิฐ ฟื้น ชีวิต สู่พิพิธภัณฑ์ ❝แบ่งปันโดย [email protected]

Description:

Search

Read the Text Version

ภายหลังจากท่ีกรุงศรีอยุธยาเสียใหแกพมาในป ตอมาหลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด 2310 สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีไดมีพระราชดำริยาย ฟาจุฬาโลก (รัชกาลท่ี 1) ปราบดาภิเษกข้ึนเปนพระ เมืองหลวงจากกรุงศรีอยุธยามาที่พ้ืนท่ีเมืองธนบุรีศรี มหากษัตริยพระองคแรกในราชวงศจักรี พระองคทรง มหาสมุทร ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชวังข้ึน โปรดเกลาฯ ใหยายศูนยกลางพระนครขามจากฝง บริเวณฝงธนบุรี สวนฝงพระนครน้ันทรงโปรดเกลาฯ ธนบุรีมาอยูบนพื้นท่ีฝงพระนคร ในการน้ีทรงโปรด ใหเจาพระยาจักรี (รัชกาลท่ี 1) เปนแมงานขุดคลอง เกลาฯ ใหขยายพื้นที่เมืองฝงพระนครออกไปทางทิศ คเู มอื งบรเิ วณฝง พระนคร (ปจ จบุ นั คอื คลองคเู มอื งเดมิ ) ตะวันออก โดยทำการขุดคลองคูพระนครขึ้นใหม โดย รื้อปอมวิชาเยนทรลง และสรางกำแพงเมืองข้ึนโดย ทำการขุดคลองแยกจากแมน้ำเจาพระยาตรงบางลำพู รอบ ทต่ี ัง้ ของกระทรวงพาณิชยจ ึงไดกลายมาเปนพืน้ ที่ วกมาออกแมน้ำเจาพระยาอีกดานตรงวัดบพิตรพิมุข ภายในพระนครของกรงุ ธนบรุ ใี นท่ีสดุ ปจจุบันรูจักในชื่อวา “คลองโองอางบางลำภู” หรือ “คลองรอบกรงุ ” After Ayutthaya fell to the Burmese in 1767, the King of Thon Buri had the capital moved After King Rama I’s ascension to the throne from Ayutthaya to Thon Buri Si Mahasamut. He as the first monarch of Chakri Dynasty, he had also had a palace built on Thon Buri side. As the capital moved from Thon Buri to Phra Nakhon for Phra Nakhon side, the King assigned Chao and expanded the area of Phra Nakhon to the Phraya Chakri (later became King Rama I) to east by digging a new city moat. The new moat take charge of the digging of a city moat on was dug branching from the Chao Phraya River Phra Nakhon side (Khlon Khu Mueang Doem), at Bang Lamphu and meet the river again near dismantling the Wichayen Fortress and building Wat Bophitphimuk. This canal is now known as of a city wall. Thus, the location of the Ministry “Khlong On-Ang Bang Lamphu” or “Khlong Rob of Commerce has become an area inside the city Krung”. wall of Thon Buri. 56

57

รัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนาพระบรมมหาราชวัง In the reign of King Rama III, the area at และวัดพระแกวข้ึนบนพื้นท่ีฝงพระนครริมแมน้ำ the rear of Wat Phra Chetuphon was allocated เจา พระยา และโปรดเกลาฯ ใหปฏสิ งั ขรณว ัดโพธาราม to be palaces for 5 members of royal. Since ข้ึนใหม พระราชทานนามภายหลังวาวัดพระเชตุพนฯ that time, the land had become palaces for many พ้ืนที่กระทรวงพาณิชยในสมัยน้ีไดกลายเปนพื้นที่รูป princes in the reign of King Rama IV and King สามเหลี่ยมชายธงที่ติดกับทายวัดพระเชตุพนฯ ดังที่ Rama V consecutively. ปรากฏใหเ หน็ ในปจจุบัน แตย งั ไมม ีหลักฐานแนชดั วา มี การใชพื้นทใี่ นบริเวณนอ้ี ยางไร ความเปลี่ยนแปลงคร้ังสำคัญในพื้นท่ีดังกลาว เริ่มข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 6 เมื่อพระองคไดทรงจัดตั้ง King Rama I had the Grand Palace and the กระทรวงพาณิชยข้ึนในป 2463 และไดยกพ้ืนท่ี Temple of the Emerald Buddha constructed on the บริเวณสามเหล่ียมชายธงทายวัดพระเชตุพนฯ น้ีให bank of Chao Phraya River on Phra Nakhon side. เปนท่ีทำการของกระทรวงพาณิชย เร่ือยมาจนกระท่ัง He had Wat Photharam restored and named the ในปจจุบันไดมีการยายท่ีทำการกระทรวงพาณิชยไปยัง temple after restoration “Wat Phra Chetuphon”. ท่ีใหม และไดปรับเปล่ียนอาคารกระทรวงพาณิชยเดิม At the rear of Wat Phra Chetuphon, the site of ใหกลายเปน สถาบันการเรียนรูและสรางสรรค ใน the Ministry of Commerce is formed in triangular ปจ จุบนั shape as seen today. Nevertheless, no evidence is found concerning the use of the land in those In reign of King Rama VI, he set up Ministry days. of Commerce and uses this land, four palaces except Krommamuen Naruban’s palace, was ในสมัยรชั กาลท่ี 3 พื้นที่ทา ยวดั พระเชตพุ นฯ ได Phrarajawang police station. After that Ministry ถกู ยกใหเ ปน วงั เจา นาย 5 พระองค และหลงั จากนนั้ มา of Commerce still here until 2004 was moved to พนื้ ที่วังทง้ั 5 ก็ไดถ ูกยกใหเ จานายในสมยั รัชกาลท่ี 4 Nonthaburi, then this land belong to NDMI until และรชั กาลท่ี 5 พำนักอาศยั ตอ มาโดยลำดบั แตพ นื้ ที่ now. ของกระทรวงพาณิชยครอบคลุมพื้นที่วังเพียง 4 วัง เทาน้ัน สวนวังท่ี 5 ในปจจุบันไดกลายเปนสถานี ตำรวจนครบาลพระราชวงั 58

59

กอ นคน พบทม่ี วิ เซยี มสยาม ตอ งขดุ คน กอ น BmeufsotreexcSaevaartciohninfgirsatt Museum Siam, we พ้ืนทีข่ องมิวเซียมสยาม หรือ กระทรวงพาณิชย โบราณคดีท่ีจะชวยเติมเต็มเน้ือหาทางประวัติศาสตร เดมิ ตง้ั อยบู นพน้ื ทปี่ ระวตั ศิ าสตรท มี่ คี วามสำคญั อยา งยง่ิ การใชสถานท่ีแหงนี้ในอดีต ซึ่งรายละเอียดและ โดยเฉพาะต้ังแตกรุงรัตนโกสินทรตอนตนจนถึงปจจุบัน รายงานการขุดคนจะไดรับการเผยแพรและตีพิมพใน ดังนั้นกอนการปรับปรุงภูมิทัศนใหเปนมิวเซียมสยาม โอกาสตอไป อยางสมบูรณนั้น การดำเนินงานทางโบราณคดีจึงอยู ในแผนงานเพื่อใหม กี ารศกึ ษาท้งั ทางดานประวัตศิ าสตร In the area of Museum Siam or former การใชพ นื้ ที่ การขดุ คน และขดุ แตง ทางโบราณคดจี ะทำให Ministry of Commerce that stand on historical ไดขอมูลท้ังทางดานประวัติศาสตรและสถาปตยกรรม space which very important, especially from คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงไดระดมนัก the beginning of Rattanakosin era to present. โบราณคดมี าทำการขดุ คน สำรวจ และเกบ็ ขอ มลู โดย Thus, before the renovation to be Museum Siam การทำงานขั้นดำเนินการภายหลังมีการรื้อถอนอาคาร must have archaeology excavation, by students ในยุคหลังท่ีถูกตองอยางแออัด พื้นที่การขุดคนไดรับ and archeologists from faculty of archaeology การแบงออกเปน 7 พ้ืนที่ที่ใชในการขุดคน โดยแบง Silpakorn University, for historical research of พื้นท่ีตามลักษณะพื้นท่ีท่ีเอื้ออำนวยตอการขุดคนและ this area. Because we must know history and ตำแหนงพื้นที่ที่คาดวานาจะพบหลักฐานทางดาน architecture knowledge from this excavation, by separate area to 7 area. For detail of this excavation to publics later. 60

61

4 7 5 6 62

2 3 1 63

พื้นท่ีกระทรวงพาณิชย ต้ังอยูเกาะรัตนโกสินทร เพื่อใชสำหรบั งานประดับ เชน บานประตู เครอ่ื งเรือน ซึ่งนับวาเปนพ้ืนท่ีสำคัญทางประวัติศาสตร จึงจำเปน ฯลฯ จึงอาจสันนิษฐานไดวาบริเวณที่พบเปลือกหอย ตองทำการขุดคนทางโบราณคดี เพ่ือตรวจตอบพ้ืนที่ มุกอาจเปนถานที่ทำมุก หรืออาจเปนสถานท่ีสำหรับ การใชงานในอดีตของพื้นที่บริเวณนี้โดยไดพบหลักฐาน ใชท ิง้ เปลอื กหอยมกุ จากการแปรรูปแลว ทางโบราณคดที นี่ า สนใจ คือ In this excavation was found many species of เปลอื กหอยมกุ pearl oyster. It’s spread in corner of the north Pearl oyster or the north gate of former building Ministry of Commerce. These pieces maybe rubbish from พบวา มเี ปลอื กหอยมกุ ชนดิ ตา งๆ เปน จำนวนมาก making pearl oyster. Because, it has a trail from กระจายตัวอยางหนาแนนในบริเวณหัวมุมทิศเหนือ scrub in many type and it is a raw material of หรือตรงประตูทางเขาทิศเหนือ ของตัวอาคาร doing the object that decorate with pearl oyster, กระทรวงพาณิชย (เดิม) ชิ้นสวนของเปลือกหอยมุก example : door, furniture. It can assume that, this เหลานี้ คาดวาเปนเศษที่เหลือจากการทำมุก เพราะ area maybe a bin for unuseful pearl oyster. บางชนิ้ มรี อยขดั ฝนในลกั ษณะ รปู แบบตา งๆ เปลอื กหอย มกุ เหลานี้ ถือเปนวัตถุดิบสำคัญอยางย่ิงในการทำมุก ซง่ึ ตามประวตั วิ งั พบวา มเี จา ของวงั 2 พระองค เคยดำรงตำแหนงเจากรมมุก คือ กรมหมื่นเชษฐา- ธเิ บนทร เจา ของวงั ท่ี 1 สมยั รชั กาลท่ี 3 และกรมหมนื่ - ทวิ ากรวงศประวตั ิ เจาของวังท่ี 2 ในสมัยรชั กาลที่ 5 โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยรัชกาลที่ 3 เปนรัชสมัยที่มี 64

การสราง บูรณะ และปฏิสังขรณ วัดวาอาราม เปน กระดกู สตั ว จำนวนมาก งานประดับมุกถือเปนงานชางชั้นสูงท่ีมี Animal bone, horse skeleton สวนสำคัญในการประดับตกแตง เชน การประดับมุก ที่บานประตู บานหนาตาง เปนตน ดังนั้นมุกที่พบใน โครงกระดูกมา ท่พี บมสี ภาพคอนขางสมบรู ณ อยู ฐาน อ่นื ๆทเี่ ก่ียวของกบั มา คอื เกือกมา แปรงขนมา บริเวณน้ีนาจะมีความสัมพันธในการทำบานประตูมุก ทานอนตะแคง คาดวามาตัวน้ีถูกฝงหลังจากท่ีตายลง เปนตน ใหก บั วัดตางๆ ในรัชกาลที่ 3 คาดวานาจะเปนมาของกรมหลวงอดิศรอุดมเดช ซึ่ง เปนทหารมามหาดเล็กรักษาพระองค เจาของวังท่ี 1 This horse skeleton is nearly prefect and It have the information that, two princes ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองคทรงเปนทหารมาตั้งแตป lie on one’s side, it can assume that a house who stayed here were control the department of พ.ศ. 2414 เปน ตนมา โดยในครงั้ แรกทรงเปนทหาร was buried after its dead and maybe a horse of pearl artisan, Prince Krommamuen Chetthathiben มหาดเล็กรักษาพระองค จนตอมาในป พ.ศ. 2460 Prince Krommaluang Adisorn Udomdej, the owner the first owner of the 1st palace in the reign of ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหยายมาเปนจเรสัตว the 1st palace in reign of King Rama V ; he was King Rama III and Prince Krommamuen Thiwakorn พาหนะทหารบกและการทหารมา และมีหนาท่ีดูแล a cavalry royal page in King Rama V. So, the Wongprawat who stayed in the 2nd palace in the เก่ียวกับมาทั้งปวง จึงเปนไปไดวาในอดีตภายในวังน้ี 1st palaces in the past maybe a place to treat a reign of King Rama V. Especially, in the reign of อาจใชเปนสถานที่เล้ียงมาดวยเน่ืองจากขุดพบหลัก horse, and found the others that relate a horse King Rama III, that was the golden age of artisan, example : a horseshoe and horse-brush, etc. because that time it’s restore and built many temples. A pearl oyster was an important to decorate door and window in the temple. 65

ประเภทเครอ่ื งเคลอื บ pPoietcteersyof coat สวนใหญแลวพบวาเปนเครื่องเคลือบที่นาจะนำ It’s almost from a foreign country ; it can เขา มาจากตางประเทศ สามารถแบง ไดเ ปน 2 กลุมคอื divine in 2 types : หนึ่ง เครื่องเคลือบที่มาจากประเทศจีนหรือประเทศ ญี่ปนุ โดยจะพบลักษณะของเครือ่ งเคลือบ 2 ประเภท 1. Coat pottery that from Japan and China, คือ เขียนลายสีน้ำเงินใตเคลือบใส และเขียนสีบน are blue-paint under coat and paint over coat. เคลอื บ รปู ทรงภาชนะสวนใหญ ที่พบ ไดแ ก ชามมฝี า The shapes that find are bowl with cover, teapot กาน้ำชา กระถางตนไม เปนตน ลวดลายท่ีพบสวน and flower pot, etc. ใหญ ไดแก ลายเทพนม ลายเครื่องมงคลของจีน และลายวิวทิวทัศน เปนตน นอกจากน้ีบางสวนเปน 2. Coat pottery that from Europe are paint ประเภทเครื่องถวยเบญจรงค แตสวนมากสีที่ใชเขียน over coat, pink and green coat, sometime has the มักจะหลุดลอนเกือบหมด ลวดลายท่ีพบไดแก view painting or flower painting. The shapes that ดอกไม อักษรจีน เปนตน find are bowl with cover, plate bottle and narrow bowl, etc. Some pieces stamp the trademark. สอง เครื่องเคลือบท่ีมาจากประเทศในทวีปยุโรป รูปทรงของภาชนะสวนใหญท่ีพบ ไดแก จาน ชามกน ตน้ื และขวด เปนตน โดยสว นมากจะตกแตงดวยการ เขียนลวดลาย สีตางๆ เชน สีเขยี ว สชี มพู ลายทอง ลวดลายท่ีเขียน เชน ลายวิวทิวทัศน ลายดอกไม เปนตน บางช้ินพบวาท่ีกนภาชนะมีการตีตรายี่หอ แหลงผลิตเครื่องเคลือบ นอกจากนี้ยังพบขวดที่ใช บรรจุนำ้ แรเ ต็มใบ จำนวน 1 ใบ 66

67

วงั 4 แหง บนพน้ื ทกี่ ระทรวงพาณชิ ยเ ปน ของใครบา ง? Whom of 4 palaces in NDMI area? บนพ้ืนที่ของมิวเซียมสยามนั้นสามารถสืบคนไป By the way, the area of Ministry of Commerce ไดถึงสมัยตนรัตนโกสินทรวาเปนหมูวังท่ีเรียกกันโดย had cover only the area of 4 palaces, for the 5th ทัว่ ไปวา “วงั ทายวดั พระเชตุพน” ซึ่งเปนท่รี จู กั วา มี 5 palace is the Phrasachawang police station, so, วัง แตวังที่ต้ังอยูในเขตพ้ืนท่ีของมิวเซียมสยามใน this book has present the information only 4 ปจจุบันมีอยู 4 วัง ดวยกัน โดยการเรียงลำดับของ palaces. เจานายท่ีครอบครองวงั บรเิ วณนี้ตามเอกสารโบราณ มี การผลดั เปล่ยี นกนั ดงั น้ี ตารางท่ี 2.1 แสดงเจาของวังทายวดั พระเชตพุ นฯ วงั ท่ี 1-5 ในรัชกาลตา งๆ 68

69

วงั ทา ยวดั พระเชตพุ นฯ วงั ที่ 1 The first Palace เปน วงั ทต่ี ง้ั อยทู างทศิ เหนอื หนั หนา สถู นนสนามชยั Chetthathiben, he control the department of pearl โดยมีเจานายที่ประทับตามลำดับคือ กรมหมื่นเชษฐา artisan and died when he was 46 years old in ธเิ บนทร หรอื พระองคเ จา โกเมน (ตน ราชสกลุ “โกเมน reign of King Rama IV .After his death ,the first ณ อยธุ ยา”) ทรงเปน พระราชโอรส ใน รชั กาลที่ 3 ตอ rear of Wat Phra Chetuphon’s Palace was blank มาในรัชกาลที่ 4 ทรงสถาปนาเปนกรมหมื่นเชษฐา until King Rama V . ธิเบนทร กำกับกรมชา งมุก เมอื่ พระองคสน้ิ พระชนม ลง วงั ทา ยวดั พระเชตพุ นฯ วงั ท่ี 1 น้ี หมอ มเจา ในกรม - HRH Prince Krommaluang Adisorn ไดป ระทับตอ มาจนถึงรัชกาลท่ี 5 วังน้จี งึ วางลง Udomdej or Prince Suksawasdee (descent of “Suksawas Na Ayuthaya”) he was the 23rd son รัชกาลท่ี 5 ไดพระราชทานวังนี้แก กรมหม่ืน of King Rama IV and Chaojom Chan, born in อดิศรอดุ มเดช หรือ พลโท พระเจาบรมวงศเ ธอ พระ A.D. 1855. In reign of King Rama V he set up องคเ จา ศขุ สวสั ดี กรมหลวงอดศิ รอดุ มเดช (ตน ราชสกลุ Prince Suksawasdee been Krommaluang Adisorn ศขุ สวัสดิ)์ ทรงรบั ราชการเปนจเรสัตวพ าหนะทหารบก Udomdej, after that he removed from the Grand และการทหารมา ในป พ.ศ. 2460 และดำรงตำแหนง นี้ Palace follow the court rite, thus the King gave จนตลอดพระชนมายุ พระองคไดประทับท่ีวังนี้จนถึง the first rear of Wat Phra Chetuphon’s Palace รัชกาลที่ 6 จึงยายวังไปสรางใหมบริเวณริมแมน้ำท่ี to him and he stayed until in reign of King Rama ถนนพระอาทิตยแทน สวนวังทายวัดพระเชตุพนฯ น้ี VI. After that, he removed to the new palace at พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 6 Pra Arthit Road, he bought by himself, and died โปรดเกลาฯ ใหซื้อที่ท้ังหมดของวังเพ่ือสรางเปนสถาน there. ท่ีราชการตอ ไป กรมหลวงอดศิ รอุดมเดช For the first rear of Wat Phra Chetuphon’s This palace located in the north and turn Palace was change been the official place by to face Sanamchai Road, has the royalty stayed order King Rama VI. here as follows. HRH Krommaluang Adisorn Udomdej controls - HRH Prince Krommamuen Chetthathiben or the department of จเรสัตวพ าหนะทหารบกและการ Prince Komen (descent of “Komen Na Ayuthaya”) ทหารมา and died when he was 69 years old in He was the 11th son of King Rama III and Chaojom A.D. 1925 Fuang, born in A.D. 1815. In reign of King Rama IV, he set up Prince Komen been Krommamuen 70

วงั ทา ยวดั พระเชตพุ นฯ ตั้งอยูทางดานหลังของวังทายวัดพระเชตุพนฯ reign of King Rama V. Though, he stayed in this วงั ที่ 2 วังท่ี 1 หันหนาวังสูถนนมหาราช โดยมีเจานายท่ี palace for a short time because King Rama III The second Palace ประทับตามลำดับคือ กรมหมืน่ อมเรนทรบดนิ ทร หรือ ordered him move to another palace. พระองคเจาชายคเนจร (ตนราชสกุล “คเนจร”) ทรง เปนพระราชโอรสในรัชกาลท่ี 3 ไดรับการสถาปนา - HRH Prince Lam-yong (descent of “Lam- เปนกรมหม่ืนอมเรนทรบดินทร เม่ือป พ.ศ. 2388 yong Na Ayuthaya”) he was the 39th son of King ทรงกำกับกรมชางมุก พระองคทรงประทับท่ีวังนี้ได Rama III and Chaojom Wan ,born in A.D. 1846. เพียงระยะเดียว เพราะรัชกาลท่ี 3 ทรงโปรดฯ ให He received this palace from his father, after เสดจ็ ไปประทบั ทีว่ งั อนื่ แทน Prince Kanenjon move from. He stayed there until he died in the reign of King Rama IV, this เจา นายพระองคตอ มาที่ประทบั วังนคี้ อื พระองค palace was blank since King Rama IV. เจา ลำยอง (ตนราชสกลุ “ลำยอง ณ อยธุ ยา”) ทรง เปนพระราชโอรส ในรัชกาลท่ี 3 พระองคทรงไดรับ - HRH Prince Krommamuen Thiwakorn พระราชทานวังนี้จากรัชกาลที่ 3 ใหประทับตอจาก Wongprawat or Prince Kasemsri Supayok กรมหม่ืนอมเรนทรบดินทร พระองคไดประทับที่วังน้ี (descent of “Kasemsri Na Ayuthaya”) he was the จนส้ินพระชนม เจานายองคสุดทายท่ีไดครองวังน้ีคือ 30th son of King Rama IV, born in A.D. 1857. กรมหม่ืนทิวากรวงศประวัติ หรือ พระองคเจาชาย King Rama V set up him been Krommamuen เกษมศรศี ุภโยค (ตน ราชสกุล “เกษมศร”ี ) พระองคได Thiwakorn Wongprawat in A.D. 1886, and control รับพระราชทานวงั นจ้ี ากรชั กาลท่ี 5 เพราะวังน้วี างอยู the department of pearl artisan. He died in the แตพระองคเลือกท่ีจะประทับอยูที่วังกรมหลวงอดิศร reign of King Rama VI when he was 59 years อดุ มเดช (วงั ทา ยวดั พระเชตพุ นฯ วงั ที่ 1) ซง่ึ พระองค old, A.D.1915. ทรงเปน พระเชษฐารว มเจา จอมมารดาเดยี วกนั จงึ ไมไ ด สรางพระตำหนกั ใหมท ่ีวังที่ 2 น้ี จนถึงรชั กาลที่ 6 ได Prince Krommamuen Thiwakorn Wongprawat ถกู ร้ือทำเปนสถานทร่ี าชการ had received this palace from King Rama V, it was blank since Prince Lam-yong dead. But he This palace stayed behind the 1st palace chose to stay with his brother, HRH Prince and turn to face Marahrat Road, has the royalty Krommaluang Adisorn Udomdej, in the first rear stayed here as follows. of Wat Phra Chetuphon’s Palace ,so ,it has not the new building in this palace. Later, he bought - HRH Krommamuen Amarenthara Thibodin the land for himself at Samsen, in the north of or Prince Kanenjon (descent of “Kanenjon Na Wat Som Kleang, stayed that until he died. Ayuthaya”) he was the 12th son of King Rama III and Chaojom Noi Muang ,born in A.D. 1815 and For the second rear of Wat Phra Chetuphon’s set up been Krommamuen Amarenthara Thibodin Palace, after Prince Krommamuen Thiwakorn in A.D. 1845. He controls the department of pearl Wongprawat moved, it may blank until king Rama artisan and died when he was 64 years old in VI it was change to the official place. 71

วงั ทา ยวดั พระเชตพุ นฯ - HRH Prince Peark (descent of “Piyakorn วงั ท่ี 3 Na Ayuthaya”) he was the 27th son of King Rama The third Palace III and Chaojaom Mern, born in A.D. 1819. He died in the reign of King Rama IV when he was 37 วังนี้หันหนาวังออกถนนสนามไชย เปนวังกลาง years old, A.D.1855, in this palace. After that, อยรู ะหวา งวงั ท่ี 1 กบั วงั ที่ 5 หนั หนา วงั สถู นนสนามชยั this palace was blank until King Rama V. โดยมเี จา นายประทบั ตามลำดับคอื พระองคเจา งอนรถ หรือพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจางอนรถ (ตน - HRH Prince Kommakun Bodinthara Phai- ราชสกลุ “งอนรถ ณ อยธุ ยา”) พระองคท รงประทับท่ี sansophon or Prince Singhara (descent of “Sing- วงั น้ตี ง้ั แตรัชกาลที่ 3 จนกระทง้ั สนิ้ พระชนมเ มือ่ พ.ศ. hara Na Ayuthaya”) he was the 48th son of King 2393 รชั กาลที่ 3 จึงพระราชทานใหเ จานายองคอ่นื Rama III and Chaojom Klay, born in A.D.1816.He ตอ มาคอื พระองคเจา เปยก หรือ พระเจา บรมวงศเธอ died in the reign of King Rama V when he was พระองคเจาชายเปยก (ตนราชสกุล “ปยากร ณ 77 years old, A.D. 1923, in this palace. After อยุธยา”) พระองคสิ้นพระชนมในรัชกาลท่ี 4 และไม his dead this palace belongs to his son and in ปรากฏวารชั กาลที่ 4 พระราชทานวังนแี้ กใ คร วังน้จี งึ the reign of King Rama VI this palace became a วางลง official place. สมัยรัชกาลท่ี 5 ทรงพระราชทานวังน้ีแก กรม King Rama IV set up him to been Krommamuen หลวงบดินทรไพศาลโสภณ ทีฆชนมเชษฐประยูร เม่ือ Aksornsansopon and control the department of พ.ศ. 2439 พระองคป ระทบั ทว่ี งั นจ้ี นสนิ้ พระชนม ในป พระอาลักษณ, after that, King Rama V upgrade พ.ศ. รัชกาลท่ี 5 พระราชทานตอใหหมอมเจาในกรม him to Kommakun Bodinthara Phaisansophon and เสด็จประทับตอมา จนถึงรัชกาลท่ี 6 บริเวณวังน้ีจึง control the department of Arts and the department ถกู เปลย่ี นแปลงเปน สถานทรี่ าชการ of Royal law court ,in A.D. 1896 ,upgraded to Kommakun Bodinthara Phaisansophon Thikachon- This palace stayed between the 1st palace chetaprayoon. and the 5th palace, turn to face Sanamchai Road. It has the royalty stayed here as follows. Prince Krommakun Bodinthara Phaisansophon - HRH Prince Ngon-Rot (descent of “Ngon-Rot moved to this palace in the reign of King Rama V, Na Ayuthaya”) he was the 14th son of King Rama since blanked 15 years, because the King worn III and Chaojaom Jad, born in A.D. 1815. He died to built Wat Rajaborpit and the land of Wat over in the reign of King Rama III when he was 36 in the old palace of him. years old, A.D. 1850, in this palace. When the King Rama V restored Wat Rajathivas, he ordered to move the hall of Prince Kommakun Bodinthara Phaisansophon to been a hall of pray in this Wat ,because it very beautiful and the owner of this palace was died, and it unused. 72

วงั ทา ยวดั พระเชตพุ นฯ วงั ที่ 4 The fourth Palace วังน้เี ปน วังทอ่ี ยูต รงกลางระหวางวงั ท่ี 2 กบั วังท่ี his son and in the reign of King Rama VI this 5 หันหนาออกถนนมหาราช โดยมีเจานายประทับ palace became official place. เพียงพระองคเดียว คือ กรมหม่ืนภูมินทรภักดี หรือ พระองคเจาชายลดาวัลย (ตนราชสกุล “ลดาวัลย ณ A significant change began in the reign of อยธุ ยา”) ทรงเปน พระราชโอรสในรชั กาลที่ 3 ตอ มาใน King Rama VI when he found the Ministry of สมัยรัชกาลที่ 4 ทรงสถาปนาเปนกรมหมื่นภูมินทร Commerce in 1920 and the area was assigned ภักดี โปรดใหทรงกำกับกรมชางสิบหมู พระองค as the location of the new ministry. Today, the สนิ้ พระชนมใ นรชั กาลท่ี 5 พระชันษา 60 ป จากนนั้ Ministry of Commerce has moved to a new office หมอมเจาในกรมประทับตอมาจนถึงรัชกาลที่ 6 หลัง and the former Ministry of Commerce building จากนั้นบริเวณพ้ืนที่ของวังน้ีจึงถูกร้ือสรางเปนสถานที่ has been renovated to house the National ราชการ Discovery Museum Institute as seen today. พ้ืนที่วังท้ัง 4 แหงน้ี กอนที่จะมีการดำเนินการ ปรับปรุงเปนสถาบันการเรียนรูและสรางสรรคนั้น ไดมี การขุดคนทางโบราณคดี เพื่อตรวจสอบการใชพื้นท่ีใน อดีต ซึ่งจากการขุดคนทำใหพบขอมูลทางโบราณคดีท่ี นา สนใจเปนจำนวนมาก This palace stayed between the 2nd palace and the 5th palace, turn to face Mararat Road. It has the only one royalty stayed here was. - HRH Prince Krommamuen Phuminthara- phakdi or Prince Ladawan (descent of “Ladawan Na Ayuthaya”) he was the 15th son of King Rama III and Chaojom Aim-Noi, born in A.D. 1815. He died in the reign of King Rama V when he was 60 years old. In the reign of King Rama IV, he set up Prince Ladawan to Krommamuen Phu- mintharaphakdi and controls the department of ชางสิบหมู. After his dead this palace belongs to 73

๒๔๔๐ 1800 74

๒๕๔๙ 2006 75

บทท่ี

ออกแบบตกึ เกา ใหเ ปนพิพธิ ภัณฑใหมอยางไร? How to design old building to be the new museum?

78

ออกแบบตกึ เกา ใหเ ปน พพิ ธิ ภณั ฑใ หมอ ยา งไร? How to design old building to be the new museum? เมื่อเลือกวาจะกอสรางพิพิธภัณฑการเรียนรูแหง โดยเนน ความแตกตา งแตไ มแ ตกแยกกันระหวา ง ความ แรกท่ีตึกกระทรวงพาณิชย ปญหาสำคัญคือ การ เกาแกของอาคารกับการออกแบบนิทรรศการที่ทัน ออกแบบและกอสรางของใหมแทรกลงไปในอาคารเกา สมัย หรือภูมิทัศนที่ทันสมัยบนฉากอาคารโบราณ ซ่ึงไดขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถาน และท่ีสำคัญคือ สถานท้ังหมดน้ีเพ่ือสื่อใหเห็นถึงยุคสมัยและกาลเวลา อาคารหลังน้ียังตั้งอยูในเขตกรุงรัตนโกสินทรช้ันในอันมี ท่ีหมนุ เปลีย่ นเวียนไปอยูต ลอดเวลา ตัวอยา งเชน คณุ คาทางประวัตศิ าสตรใ นระดับสูงมาก ดังน้นั การท่ี จะออกแบบอาคารเกาใหเปนพิพิธภัณฑการเรียนรูแหง Preserving the old Ministry of Commerce ชาติที่มีการใชสอยใหม ซึ่งมีความแตกตางกันโดยสิ้น building and adapting Ministry of Commerce to เชิงกับการใชสอยเดิมน้ัน ตองกระทำดวยความ become the Institute Discovery & Creative. ระมัดระวัง ไมใหทำลายคุณคาทางประวัติศาสตรเดิม ในขณะเดียวกันก็ตองใชสอยในรูปแบบใหมไดอยางเต็ม The Preservation Concept, This beautiful old ทดี่ วย building, part of the forbidden area of Rattana- kosin, used to house the Ministry of Commerce. การถกเถียงระหวาง “การอนุรักษ” และ To adapt it so that it could become the Institute “พัฒนา” จึงเปนประเด็นถกเถียงหลักในการออกแบบ Discovery & Creative required an integrated การอนุรักษกับการพัฒนาท่ีแตกตางน้ีจะสามารถ approach to preservation, balancing the high ดำเนินไปได จำเปนท่ีจะตองรักษาสมดุลยระหวาง architectural value of the registered building คุณคาท้ังสองไว โดยการใชกรอบแนวคิดของการ with its use as a public venue. อนุรกั ษเชงิ บรู ณาการ และ หรอื กรอบแนวคิดของการ พฒั นาที่ยั่งยืน เปน ตัวนำไปสกู ระบวนการ การทำงาน Preserving the old Ministry of Commerce ท่ีมององครวม และเนนความเช่ือมโยงของสรรพสิ่ง building and adapting Ministry of Commerce เพ่ือสรางสมดุลยรวมกันระหวางแนวทางท่ีดูเหมือน to become the Institute Discovery & Creative. แตกตาง ในสัดสวนทเี่ หมาะสมบนความหลากหลาย A modern approach to exhibition and the inter- pretation of Thai history was always intended ทง้ั นแ้ี นวคดิ ของ หยนิ -หยาง หรอื ความแตกตา ง for this elegant building. That created a tension ท่ีสามารถอยูรวมกันไดอยางสมดุลยไดถูกเลือกนำมา between the ‘old’ and the ‘new’. To reconcile ประยุกตใชเปนแนวความคิดหลักในการอออกแบบ the two concepts was a challenge. 79





การติดตั้งลิฟทโดยสารภายในอาคาร ซึ่งลิฟท หรือในเชิงจินตภาพหรือจิตวิญญาณ ที่มีการ โ ด ย ส า ร ดั ง ก ล า ว มี รู ป แ บ บ ที่ ทั น ส มั ย แ ต ก ต า ง แต สรางความเชื่อมโยงระหวางภายในอาคารกับภายนอก ไมแปลกแยกกับตัวอาคาร นอกจากนี้ผนังภายใน อาคาร โดยการใชสัญลักษณ “รุง” เปนเครื่องมือใน ของลิฟทโดยสารนี้ยังเปนกระจกใส ดังน้ันเมื่อมีการ การส่ือความหมายของการเช่ือมโยงระหวางอดีตกับ โดยสารลิฟทน้ีก็ทำใหเราเห็นผนังเดิมของอาคาร ปจจุบัน หรือการใชหลุมขุดคน ทางโบราณคดีเปน ทีละช้ันท่ีไดทำการเปดพื้นผิวออกเพ่ือโชวความเปน ตัวกลางแสดงถึงอดตี ของสถานทแ่ี หงนี้ หรอื แมก ระทั่ง โบราณสถานเอาไว เปนดังการเรียนรูกาลเวลาผาน การสรางความเชื่อมโยงระหวางเน้ือหาของพื้นท่ีและ สถาปตยกรรม อาคารกระทรวงพาณิชย (เดิม) ที่มีการเปลี่ยนผาน ของกาลเวลา จากทะเลตมมาสูความเปนวังจนกลาย และเปนเทคนิคเดียวกับที่ใชจัดแสดงในหองท่ี มาเปนสถานที่ทำการของรัฐ ซึ่งถูกจัดแสดงเนื้อหาอยู ประวัติและการอนุรักษท่ีมีการนำพื้นไมอาคารออก ภายในนิทรรศการ “จากสุวรรณภูมิสูสยามประเทศ เ พื่ อ แ ส ด ง โ ค ร ง ส ร า ง แ ผ น พ้ื น ค อ น ก รี ต โ ค ง ที่ เ ป น และประเทศไทย” ผานทางการออกแบบเชิงบูรณาการ โครงสรางท่ีสามารถปองกันความชื้นจากดินที่ชุมน้ำ เปนตน ของดินท่ีติดแมน้ำ อันเปนภูมิปญญาของวิศวกรผู กอสรางท่ีพบไดในอาคารเพียงไมกี่หลังในยุคน้ัน หรือ ทั้งนี้ในการแปลความและการนำเสนอสาระ การที่สถาปนิกผูอนุรักษอาคารหลังน้ีไดทำการลอกสี ดงั กลา ว จะใชก ระบวนการจดั การองคค วามรทู เ่ี หมาะสม อาคารท่ีมีการทาในชวงหลังใหเห็นในทุกๆ หองโดยไม และหลากหลาย เปนกรอบในการศึกษา วิเคราะห รบกวนพืน้ ที่ใชส อยในปจจุบนั รวบรวม เรียบเรียง แปลความ ออกแบบ นำเสนอ และบรหิ ารจดั การ ทงั้ นทิ รรศการ อาคาร พน้ื ทภ่ี มู ทิ ศั น และกิจกรรม เพ่ือใหเกิดรูปแบบของพ้ืนที่ใหมท่ีจะ เปนการกระตุนการเรียนรู อยางสนุกสนานและ เพลิดเพลนิ ของผคู นทุกเพศ ทุกวยั ทุกพ้ืนท่ี ทกุ เวลา 82

83

The concept of a Roong (rainbow), weaving - The rainbow allows us to follow a path its way through the interior spaces and leading through the old building, even when a glass the visitor from one ‘play-learning’ experience to elevator is installed for modern convenience, the next, became the uniting factor between the without obscuring the feeling of the well-pro- architecture of the 90 year old building and its portioned rooms. present use as a Museum. - We get glimpses of the exterior land- The rainbow takes us from present to past, scaping as it was in the 1920s, repeated in this from the mud and sand under the sea, from modern interpretation. Suvarnabhumi, to Siam, to Thailand today and tomorrow. It connects the exterior of the building to - Throughout the process of renovation and history by revealing the archeology site in front preservation, the idea has been to create an of the building, where the remains of previous atmosphere of discovery and fun. palaces can be seen. 84

85

มวิ เซยี มสยามแหง แรก จะเลา อะไรใหฟ ง ? การสรางสรรคเนื้อหาและออกแบบการจัดแสดง ชวงท่ี 1 “สุวรรณภูม”ิ เปน การเลา เร่ืองราว ที่เลาใหฟงในมวิ เซียมสยาม พพิ ิธพันธก ารเรียนรแู หงที่ ของดินแดนประเทศไทยในปจจุบันที่ยอนกลับไปไกล 1 นนั้ ไมใชเรอ่ื งงายๆเลยที่จะทำใหเ นอื้ หารอ ยเรียงออก ราว 3,000 ปก อ น กอนที่ดินแดนในบรเิ วณนจี้ ะรบั มาใหสอดคลอ งกนั อานแลว กลมกลอ ม ไมสะดุด พุทธศาสนาและศาสนาฮนิ ดูจากอนิ เดีย อารมณ อกี ทั้งยังจะตองทำหนาที่ในการเปน ผสู งสาร และสาระใหผชู ม ในรปู แบบDiscovery learning ซง่ึ ชว งที่ 2 “พุทธิปญญา” เปน ชวงการรับพุทธ ทางสถาบันไมไดทำงานโดยลำพัง เรามคี ณะทำงานที่ ศาสนาและศาสนาฮินดูเขามาในดินแดนสุวรรณภูมิ มุง มน่ั และตง้ั ใจ ทม่ี งุ หวงั วา จะสรา งสงั คมไทยใหเ ปน และไดกลายมาเปนศาสนาหลักในดินแดนแถบน้ีจนถึง สงั คมแหงการเรียนรู โดยเรารว มทำงานกบั บรษิ ทั ปโก ปจจุบนั และ บริษัท Story Inc! ซง่ึ เปน ผูอ อกแบบและจดั สรา งนิทรรศการนนั่ เอง ชว งท่ี 3 “สยามประเทศ” เปนการเลา ถงึ การ สถาปนาอาณาจักรอยุธยาซ่ึงถือไดวาเปนอาณาจักร เน้ือหาของพิพิธภัณฑภายในอาคารกระทรวง ใหญท่ีครอบคลุมดินแดนท่ีเปนประเทศไทยในปจจุบัน พาณิชย ซ่งึ เปน อาคารพิพธิ ภัณฑแ หงท่ี 1 ของสถาบัน เกอื บทัง้ หมด ถอื เปนจุดเปลีย่ นผา นสำคัญในการ การเรียนรแู ละสรางสรรค จะใชจ ดั แสดงนทิ รรศการ กำเนดิ ขน้ึ “สยามประเทศ” ถาวร วาดวยเรอ่ื ง “สวุ รรณภูมิ ถึงสยามประเทศ สู ประเทศไทย” ซ่ึงเปน การเลาพฒั นาการดา นตางๆ ของ ชว งที่ 4 “ประเทศไทย” เปนการเลา ถึง ภูมภิ าคอุษาคเนยน บั ต้งั แตอ ดตี เมื่อกวา 3,000 ป พฒั นาการของผคู น สังคม และดนิ แดนทกี่ า วผานรปู กอ น หรอื ท่ีเรียกวา “สุวรรณภูมิ” ไดแ ก อารยธรรม แบบทางสังคมแบบจารตี มาสูส งั คมสมัยใหมใ นปจ จบุ ัน ตางๆ ในดินแดนอุษาคเนยกอนการรับวัฒนธรรมใหญ ทั้ง 4 ชวงใหญจะถกู อธบิ ายแยกยอยลงไปในราย จากอินเดียและจีน เรอ่ื ยมาจนกระทั่งการสง ผา น ละเอยี ดผา นหองนิทรรศการจำนวน 16 หอ ง ซง่ึ วัฒนธรรมทางพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูจากอินเดีย แตล ะหองมีรายละเอียดสังเขปดงั ตอไปน้ี ในราว 2,500 ปกอ น เรอ่ื ยมาจนถึงกำเนดิ สยาม ประเทศและกา วเขา สูประเทศไทยในปจจบุ นั ในสวนของนิทรรศการถาวรน้ันแบงการนำเสนอออก เปน 4 ชวง ใหญๆ โดยแนวคิดในการนำเสนอของ แตละชว งดังน้ี 086

หองท่ี 1 “หองเบิกโรง” เปน การเกรน่ิ นำเปดสู หอ งท่ี 4 “หองสุวรรณภูมิ” เลา ถึงอารยธรรม เรือ่ งราวที่ผชู มจะไดพ บตอ ไป โดยผานตวั ละคร หลกั ๆ 6-7 ตวั ท่ีจะเปน ตัวเลาเร่ืองราวในหอง ตา งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ โดยรอบบริเวณสวุ รรณภมู ิแหง น้ี ตางๆ ไดแ ก เดก็ นอยตวั ดำเนินเรอ่ื งกับกบ, นายชาง ทำสำริด-พอ คา ขายกวยเตย๋ี ว นางพญาโคกพนมด-ี แบงเปน 5 สว นหลกั ๆ คอื นกั การเมืองหญงิ , คณุ ทา วทองกบี มา-พนักงาน ตอนรับของโรงแรม, ขุนนางช้ันสงู สมัยกรุงศรีอยุธยา- “ผี พราหมณ พุทธ รากเหงาแหง ความเชื่อ” ที่ พอ คา กูรขู องเกา , พอ คา ชาวคลองทอม- พระภิกษุ และ ควาญชา งกรงุ ศรอี ยธุ ยา- พระภิกษุ บอกเลาถึงการอยูรวมกันของหลากหลายศาสนา หลากหลายความเช่ือในดินแดนเดยี วกนั ณ ทีแ่ หง น้ี ไดอยา งสงบสขุ และรมเยน็ โดย ผชู มสามารถใชไ ฟฉาย สอ งลงใน Graphic Board กจ็ ะคนพบวา กจิ กรรม ตา งๆ ในดินแดนแหงน้ีมรี ากเหงาจากความเช่ือหรอื ศาสนาอะไร หองท่ี 2 “หองไทยแท” นำเสนอการตง้ั คำถาม “โลกการคา ในแผน ดินทอง” สวุ รรณภมู ิเปนดนิ ถงึ ความเปน ไทยวา คอื อะไร มีทีม่ าอยา งไร และ มีอะไรบาง เชน ความเปนมาของตัวอกั ษรไทย แดนทีเ่ รยี กวา “สหประชาชาติ” ลว นเตม็ ไปดว ยผูคน ศาลาเฉลมิ ไทย เวทมี วยราชดำเนนิ โรงลเิ ก การรำ แกบ น ถนนเยาวราช เสาชงิ ชา ศาลพระภูมิ รวมท้ัง หลากชาตหิ ลายภาษา มกี ารตดิ ตอคาขายกันอยา ง สญั ลกั ษณอ ยาง รถตกุ ตุก การไหวแ บบตา งๆ รถเขน็ ขายสม ตำ น้ำพริกกะป ตม ยำกุง ฯลฯ มาไวในที่ คับค่งั มาเปน เวลากวาพนั ๆ ป ผชู มจะสามารถ เดยี วกนั เปนการตงั้ คำถามวา อะไรคือไทยแท โดยคน ชมจะไดส ัมผัสทงั้ แสง สี เสยี งของสงิ่ ที่ฝรัง่ เรยี กวา ส นุ ก ส น า น ไ ป กั บ ก า ร ค า ข า ย ร ว ม กั น กั บ พ อ ค า Typically Thai สุวรรณภูมิผานเกมสการแลกเปล่ียนสินคาอันหลาก หลายที่ท้ังมีรูปรางแปลกตาและชื่อเรียกท่ีแปลกหู พ ร อ ม ทั้ ง ท ำ ค ว า ม รู จั ก กั บ ม ร ด ก ท า ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วัฒนธรรมของคนโบราณในอดตี อาทิ วฒั นธรรม กลองมโหระทึก วฒั นธรรมการใชล ูกปด และ เคร่ืองปน ดินเผา นานาชนดิ หองท่ี 3 “หอ งเปด ตำนานสุวรรณภมู ิ” จดุ เดน “โลหะเหลา หลอมอารยธรรม” เม่ือโลหะเขามา ของหองอยูท่ีการจำลอง “หลมุ ฝงศพ” มนุษย มีบทบาทในสังคม วิถีชวี ติ และวัฒนธรรมก็ เพศหญิง ทนี่ ักโบราณคดีใหช อ่ื วา “นางพญา เปลีย่ นแปลงไปอยางนาอศั จรรย ผูชมจะไดพบกบั โคกพนมดี” มาใหผชู มไดสมั ผสั และสวมบทบาทของ เทคนิคการกอสรางปราสาทหินทรายสีชมพูขนาดใหญ นกั โบราณคดีทำการขุดคน วเิ คราะห และไขความลบั ท่ีสวยงามทสี่ ุดในโลก ดวยเครื่องมอื โลหะชนิ้ ขนาดจว๋ิ จากหลมุ ศพปรศิ นา ไดพดู คุยกบั นกั โบราณคดีตัวจรงิ จำนวนกวา หลายหมื่นชน้ิ รวมไปถงึ การทราบวาครง้ั เสียงจรงิ ตลอดจนไดตดิ ตามชีวติ อนั ลีล้ ับแหง หนึ่งดินแดนแหงนี้เคยเปนแหลงเหมืองทองแดงที่ใหญ นางพญาโคกพนมดที ไี่ มเ คยทราบท่ไี หนมากอ น ทีส่ ุดในอษุ าคเนยเ ลยทีเดียว 087

“เกิดบา น กอเมือง กำเนดิ รัฐ” ผูช มจะ หองท่ี 6 “หอ งกำเนิดสยามประเทศ” อธิบาย สนุกสนานไปกับการสรางเมืองรวมกันกับคนในชุมชน ถึงกวาจะเปน “สยามประเทศ” ผา นการนำ สวุ รรณภมู ิ โดยแตล ะคนจะมีวถิ ีชวี ติ ที่แตกตา งกันไป เสนอแบบ Star War และแผนทดี่ วงดาวทต่ี ระ ตามแตละอาชีพ เชน ผูนำชมุ ชน พระสงฆ คนตางถ่นิ การตานาตืน่ ตาตน่ื ใจ พรอมตำนานการเกดิ สยาม ควาญชาง ชา งสำรดิ นกั ดนตรี เดก็ แลวเราจะทราบ ประเทศทงั้ 5 ตำนาน ในรปู แบบหนังเงยี บในยุคของ วาพวกเขาเหลาน้ันมีสวนรวมในการสรางบานแปลง ชาลี แชบปลิ้น เมอื งกนั อยางไรจากเกมสขนาดใหญก ลางหอง หองท่ี 7 “หอ งสยามประเทศ” สอื่ ใหเหน็ “แกะรอยบรรพชน” ผชู มจะทราบถงึ เรื่องราว ความรงุ เรืองของกรงุ ศรีอยุธยาเม่ือครงั้ อดตี ผู ของพธิ ีกรรมขอฝนในสมัยโบราณ บอกเลา ผานตำนาน ชมจะพบกับความรุงเรืองแหงอาณาจักรกรุง ของพญาคนั คาก หรอื คางคกในรูปแบบทนี่ า รัก นา ชม ศรีอยธุ ยาครง้ั อดีตกาล รว้ิ กระบวนพยุหยาตราทาง โดย เม่ือลองตีบนกลองมโหระทึกสำริด เสยี งและการ ชลมารค ทไี่ หลเล้ือยลงมาจากดา นบนราวหยาดฟาลง ส่ันสะเทือนของกลองจะพาเราไปพบกับเร่ืองราวแหง มาดนิ ความอลังการของดินแดนทเ่ี ตม็ ไปดวยวดั วา ตำนาน รวมทงั้ เราจะไดเรยี นรถู ึงการทักทายดวย อารามสีทอง ขนบธรรม เนียม ประเพณี วัฒนธรรม สำเนียงนาเอ็นดูจากเด็กนอยชนเผา ตางๆ ในดนิ แดน อันงดงามตางๆทีห่ าดูไมไดใ นปจ จบุ ัน ดังคำทวี่ า แหง นี้ ไมวา จะเปน หนนู อยซาไก ลาว ปะกากะญอ “อยุธยายศยงิ่ ฟา ลงดิน มาฤๅ” การหลัง่ ไหลเขามา มอญ เปนตน ของผูคนหลากหลายเชอื้ ชาติ ผวิ พรรณ ความเปนอยู วิถีชีวิต อาหารการกนิ ตลอดจนโรคภัยไขเจบ็ ของ หองที่ 5 “หอ งพทุ ธปิ ญ ญา” บอกเลา ถงึ เสน ชุมชนแหงนำ้ ซงึ่ เราจะประหลาดใจกับความชาญ ท า ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ท่ี เ ข า ม า สู ดิ น แ ด น ฉลาดในการเลือก รับ ปรบั ใชข องคนในดินแดนแหงนี้ สุวรรณภมู ิ โดยนำเสนอถงึ เร่ืองราวท่พี ระบรม ไดอยางงดงาม กลมกลืน ศาสดาทรงสัง่ สอนพุทธศาสนกิ ชน ไดแก หลักปฏิ จจสมุปบาท หรอื วงจรแหงการเกดิ ดบั ซึ่งเปน หลกั หองท่ี 8 “หองสยามยทุ ธ” จำลองเหตกุ ารณ วิทยาศาสตร เปน เหตุและเปน ผลตอกนั ในรูปแบบ ของสยามประเทศเม่ือคร้ังอยูในหวงสงคราม ของกรณศี กึ ษางายๆ แตม ีความหมายท่ลี ึกซ้งึ เชน เห กลยุทธทางการศึกผานการบอกเลาของควาญ ตกุ ารณสนึ ามิ นทิ านและเพลงพืน้ บา นของไทย ไดแ ก ชา งหนมุ การเรียนรกู ารสรู บและวางแผนการศกึ ตาม เพลงฝนเอยทำไมจงึ ตก นทิ านตากับยายปลูกถั่วปลูก ตำราพิชัยสงคราม การยิงปน ใหญสรู บกบั ขาศกึ ตลอด งาใหห ลานเฝา แลวนำเสนอบทสรุปแตล ะเรือ่ งโดย ว. จนชื่นชมกับอาวุธยุทโธปกรณแบบโบราณคร้ังกรุง วชิรเมธี ปรชั ญาเมธีทานหนง่ึ แหง วงการสงฆไ ทย เม่ือ ศรีอยุธยา ท่ชี างฝม ือตัง้ ใจรงั สรรคขึ้นดว ยหวั ใจใหมี ฟงกรณศี กึ ษาจบแลว อาจมาน่งั พกั ตาม ลมหายใจ ความละเอยี ดออน วิจติ ร ประณีต บรรจงประดุจ แหง สติดวยธรรมะบรรยายเรื่อง “การควบคมุ กระแส อาวุธชิน้ งามในสมยั นัน้ จริงๆ ปฏจิ จสมุปบาท” จากทานพทุ ธทาสภิกขุบรเิ วณ Sound Dome บริเวณกลางหอง 088

หอ งที่ 9 “หองดินแดน ความยอกยอ นบน หอ งที่ 11 “หอ งชวี ิตนอกกรงุ เทพฯ” ขณะที่ กระดาษ” สยามประเทศในยุคอาณานิคมทชี่ าติ ชีวติ เมืองกรงุ กำลังฟเู ฟอ ง นอกเมืองกย็ งั มีการ ตะวนั ตกเขา มาขดี เสน แบง เขตแดน ปรากฏให ปลกู ขาวปลูกนาอยู เด็กๆ และผชู มทส่ี นใจจะได เหน็ ชดั เจนในแผนท่ีโบราณ โดยในอดีตนนั้ เราอยกู นั สนกุ กบั ของเลน พน้ื เมอื งแบบตางๆ ของเลนบางชิ้น โดยไรซึ่งเสน แบง แยกพรมแดนอยา งสงบสขุ ผชู มจะได อาจไมเปน ทีร่ จู กั ของเด็กๆ ในปจ จบุ นั ไดเ รียนรูภูมิ สนกุ สนานกับเกมสการสรา งอาณาจกั รของตนเอง โดย ปญญาอันชาญฉลาดของคนชนบทมาแตคร้ังโบราณ ใชสทิ ธิ์ในการหาพ้ืนทแี่ ละทรัพยากรธรรมชาติ ในดิน ตำรายา การทำนา เพาะปลกู ขา วตั้งแตเร่ิมหัวปไ ปจน แดนนน้ั ๆ เหมอื นกับเราเปนนกั ลา อาณานิคมในยคุ ทายแหงปซ่ึงประกอบไปดวยพิธีกรรมอันละเมียดละไม น้นั ๆ เลยทเี ดียว และแฝงไปดว ยคติธรรม ความคิดทน่ี า ยกยอ ง ชน่ื ชม หองที่ 10 “หอ งกรุงเทพฯ ภายใตฉ าก หอ งท่ี 12 “หอ งแปลงโฉมสยาม” สมยั รชั กาล อยธุ ยา” เดนิ เร่ืองอยใู นชว งรตั นโกสินทรต อน ที่ 4-5 สยามมีการเปลยี่ นแปลงทสี่ ำคัญ โดย ตน จบลงทส่ี มยั รชั กาลที่ 3 ผูชมจะ เฉพาะการคมนาคม เรม่ิ มกี ารตดั ถนนสายแรก สนกุ สนานกบั เร่อื งราวของชนชาตติ า งๆ ทีเ่ ขามาพงึ่ คอื ถนนเจริญกรงุ การเปล่ยี นแปลงจากการถอ เรือมา พระบรมโพธิสมภารต้ังแตครั้งแผนดินตนรัตนโกสินทร เปนการแลนรถ กำเนดิ การรถไฟ ไปรษณีย การ ทั้งเครื่องใชไ มสอย ขา วของเครื่องใชทองถ่ินประจำ ประปา เรอ่ื งราวของการใชแชนเดอเลยี ตวั แรกใน ชาติในสมัยโบราณ สำเนียงลีลาภาษาทนี่ า สนใจ ผา บางกอก การแตงกายทเี่ ปล่ียนจากการ “นุง ผืน หม ผอนทอนแพรประจำชาติท่ีมีความงดงามแปลกตา ผืน” มาเปนแบบฝรัง่ ตะวนั ตกที่สตรชี ั้นสงู ของไทยนยิ ม ผูคนเหลาน้ีน่ีเองที่มีบทบาทสำคัญตางๆลวนประกอบ เส้อื แขนพองหรูหรา เรียกวา ”เส้ือแขนหมแู ฮม” แต กันจนเปนกรงุ เทพฯข้นึ ตลอดจนเกมสก ารสมั ผสั การ ฝรง่ั กลบั เรียกวา “เส้ือขาแกะ” ผชู มจะสนุกสนานกบั จำลองเมอื งหลวงอยธุ ยา-บางกอก ท่ีทำใหเ ราทราบ การทดลองสวมเสื้อผาในสมัยกอนแลวถายรูปกับ วา เมืองหลวงท้งั สองเมืองเหมือนกนั ราวกับเมืองคแู ฝด กระจกเงาโบราณบานใหญ และคน หาบา นของตัวเอง จาก model กรุงเทพฯโบราณขนาดใหญก ลางหอ ง 089

หองท่ี 13 “หองกำเนิดประเทศไทย” จดุ หอ งที่ 15 “หองเมืองไทยวันนี้” หองนี้ผูชมจะ เปลย่ี นจาก “สยาม” เปน “ประเทศไทย” ผชู ม ไดรับรูถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมใน จะไดพบกับเรื่องราวในสมัยการเปล่ียนแปลง สงั คมไทยในกระแสโลกปจจุบนั สถานการณ บานเมอื ง เชน ภาพถายโบราณทีห่ าไดยาก ภาพ ตางๆ เหตกุ ารณบ า นเมือง กระแสความนิยม เทรนด โปสเตอรห าเสียง โฆษณา ประกาศตา งๆ เรอ่ื งราวของ ตลอดจนวิถีการใชชีวิตของคนในยุคโลกาภิวัฒนผานจอ การศึกสงครามกับญ่ีปุนนางสาวไทยคนแรกของไทยที่ ทีวีกวา 70 จอในหองท่นี ำเสนอเปน รูปเกลียวหมนุ เรยี กวา นางสาวสยาม เพลงชาตไิ ทย เพลงปลกุ ใจและ คลาย DNA ในรางกายของมนษุ ย เพลงรำวงในสมัยนนั้ ตลอดจนเสยี งจรงิ ๆ ของพระยา พหลพลพยหุ เสนา ทีพ่ ดู ถึงความสมั พนั ธร ะหวา งไทย หองท่ี 16 “หองมองไปขา งหนา” ตงั้ คำถาม กับญี่ปุนและพลาดไมไดกับการทดลองอานขาวในหอง เปดกบั ผชู มวา อยากใหเ มอื งไทยเปนอยางไร สงจำลองยคุ ชองสี่บางขุนพรหม โดยเราสามารถเขียนความรูสึกนึกคิดของเราลง บนจอคอมพวิ เตอร Touch Screen แลว สงไป หอ งที่ 14 “หอ งสีสันตะวนั ตก” ยุคสงคราม ขอความของเราจะปรากฏบนจอขนาดใหญดานหนา เยน็ ไทยรบั อิทธพิ ลอเมริกาเขามา เชน เม่อื เราเดินผา นจอนน้ั ไป ขอ ความของเรากจ็ ะปรากฏ รถฟอรด เพลงเอลวิส ขาวผดั อเมริกนั ฯลฯ อยใู น Bubble ตามศรี ษะของเราไปจนกวา เราจะออก เรียกวา ยคุ รีโทร (retro) ผชู มจะเพลดิ เพลนิ กบั ไปจากหอ ง แลวความคิดของเรานน้ั กจ็ ะลอยขน้ึ ไปรวม บทเพลงในยคุ 60s-70s ทงั้ ไทยและเทศกวา 50 อยูก บั ความคดิ อ่นื ๆอกี หลากหลายความคิดในหอ งนั้น เพลงใน Juck Box กลาง Coffee Shop ภาพยนตร ของเอลวิส เพลสล่ยี  และภาพยนตรของมติ ร ชัย บัญชาและเพชรา เชาวราษฎร ผชู มอาจจะรำลกึ ถงึ ความหลังไปกับภาพถายเกาท่ีหาดูไดยากของดารา นักแสดง และคนทมี่ ีช่ือเสียงในสงั คมยคุ น้นั ๆ ท่ีนำมา จดั แสดงกวา 30 รปู 090

What is the first Museum Siam, Want to Tell? The contents of the museum at the Min- administration system in early 20th century. istry of Commerce building, which is the first It tells about social and cultural development museum building of the National Discovery from absolute monarchy to democracy in 1932, Museum, emphasize on “Suvannbhumi to Siam and about economic, social and cultural influ- to Thailand”. The story tells the evolution of ences from America which affected Thai society. Southeast Asia since before adoption of main Finally, it tells the complex changes of modern cultures from India and China, to the transfer world which have brought along changes in a of Buddhism and Hinduism cultures from India diversity of dimensions that have created the circa 2,500 years ago.It tells the influences society of present day Thailand. of inter-regional trade between Southeast Asia and other regions of the world, which affected All these stories relate an overall pic- the peoples and societies in the land where the ture of changes of society, economy, politics present Thailand is located, causing changes and culture of the peoples and lands of Thai- and developments to the founding of communi- land from ancient times to the present day ties and towns that became more and more in the framework of new perception on his- complex over time. tory. This new perception is not based on the framework of wars as in the past, which has It tells the cultural growth in the area of always created problems and conflicts rather the present Thailand in various aspects, from than creating wisdom. It does not hold fast to Dvaravati, Srivijaya, Lopburi etc. until the time “Thainess”, which is frozen and fixed as pre- of “Siam” when large city states were formed sented in old textbooks but is a new effort to i.e. Nakhon Si Thammarat, Pattani, Suphan- relate “Thainess” that is connected to the peo- naphum, Lavo, Sukhothai, etc. ple, nationalities and culture which are diverse and complex based on modern and verifiable It tells the development from city states historical and archaeological evidences. to the “Kingdom of Siam”, cantered at Ayut- thaya, and spread its civilization to Thon Buri and Rattanakosin successively. It tells about social and cultural chang- es at the turning point of adoption of cultural influences from Europe which led Siam to a reformation to absolute monarchy political and 091

กวาจะเปน “หอ งเบิกโรง” 092

093

กวาจะเปน “หอ งไทยแท” 094

095

กวา จะเปน “หอ งเปด ตำนานสุวรรณภมู ”ิ 096

097

กวา จะเปน “หอ งสวุ รรณภมู ”ิ 098

099

กวา จะเปน “หอ งพทุ ธิปญ ญา” 100

กวาจะเปน “หอ งกำเนิดสยามประเทศ” 101

กวา จะเปน “หอ งสยามประเทศ” 102

103

104

บรรยายภาพ บรรยายภาพ บรรยายภาพ บรรยายภาพ บรรยายภาพ บรรยายภาพ บรรยายภาพ บรรยายภาพ It tells about social and cultural changes at the turning point of adoption of cultural influences 105