Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผู้นำแห่งอนาคต ความรู้ฉบับพกพา

ผู้นำแห่งอนาคต ความรู้ฉบับพกพา

Description: ผู้นำแห่งอนาคต ความรู้ฉบับพกพา

Search

Read the Text Version

ผนู้ ำ� แห่งอนาคต ความรู้ฉบบั พกพา

ผูน้ ำ� แหง่ อนาคต: ความรฉู้ บบั พกพา โครงการผู้น�ำแหง่ อนาคต พิมพค์ รงั้ แรก มกราคม 2560 จ�ำนวน 1,000 เลม่ ราคา 120 บาท ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของส�ำนักหอสมดุ แหง่ ชาติ ผ้นู ำ� แห่งอนาคต.-- นครปฐม: โครงการผนู้ �ำแหง่ อนาคต คณะวทิ ยาการเรยี นรู้ และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2560. 152 หนา้ 1. ภาวะผนู้ ำ� . I. อรทยั กศุ ลรุง่ รตั น,์ ผูว้ าดภาพประกอบ. II. ชือ่ เรือ่ ง. 658.4092 ISBN 978-974-466-962-9 จัดพมิ พโ์ ดย โครงการผู้นำ� แห่งอนาคต คณะวิทยาการเรยี นรูแ้ ละศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ เลขที่ 999 อาคารประชาสงั คมอดุ มพัฒน์ ช้นั 4 ถ.พุทธมณฑลสายสี่ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทรศพั ท์ 02-4415222 โทรสาร 02-4415223 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ http://www.leadershipforfuture.com เฟซบุก๊ https://www.facebook.com/leadershipforthefuture2014 บรรณาธิการ วรพงษ์ เวชมาลีนนท์ พสิ ูจน์อักษร อมรรตั น์ เกรยี งขจร แบบปก อัครา เมธาสขุ รปู เลม่ บุศรนิ ทร์ องั ศกุลชัย พิมพท์ ่ี โรงพิมพ์ ภาพพิมพ์

คำ� นำ� “โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต: สร้างเสริมเครือข่ายผู้น�ำสู่วิถีสุขภาวะทางปัญญา” ได้ท�ำการพัฒนาและเผยแผ่องค์ความรู้ด้านภาวะการน�ำกระบวนทัศน์ใหม่ท้ังในเชิง ทฤษฎีและเชงิ ปฏบิ ตั มิ าอยา่ งต่อเน่ือง เพอื่ ให้สงั คมไทยเข้าใจและเหน็ คณุ คา่ ของภาวะ การนำ� กระบวนทศั นใ์ หม่ อนั จะนำ� ไปสจู่ นิ ตนาการและคา่ นยิ มใหมใ่ นการเปลย่ี นแปลง ประเทศ ตลอดระยะเวลาท่ีผา่ นมา คณะท�ำงานไดร้ วบรวม สะสม ผสมผสาน และกลนั่ องคค์ วามรู้ด้านภาวะการนำ� กระบวนทัศน์ใหม่ ทั้งในแง่ของคลงั ความรู้ และในแง่ของ การถอดบทเรียนการทำ� งาน ออกมาเปน็ หนังสือเล่มเล็กๆ เลม่ นี้ หมวดทหี่ นงึ่ ของหนงั สอื เลม่ นค้ี อื รายงาน“ถอดบทเรยี นกจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพ เครอื ขา่ ยโครงการผนู้ ำ� แหง่ อนาคต” ซง่ึ เปน็ การทบทวนและถอดบทเรยี นกจิ กรรมของ โครงการ โดยหยิบยกประเด็นท่ีมีความส�ำคัญลุ่มลึกจากกิจกรรม และข้อคุณสมบัติ ต่างๆ ท่ีถือได้ว่าเป็นแก่นสารในการพัฒนาศักยภาพผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ มา อภิปรายและส�ำรวจว่า โครงการได้ใช้กระบวนการอะไรบ้างในการสร้างคุณสมบัติ เหล่านี้ให้เกิดขึ้น พร้อมกับการยกตัวอย่างกิจกรรมและเสียงสะท้อนจากผู้เข้าร่วม ว่ากิจกรรมเหลา่ น้สี ร้างความเปลีย่ นแปลงไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง หมวดที่สองของหนังสือคือ “คลังความรู้” ซึ่งเป็นการรวบรวมและอภิปราย ค�ำศัพท์ต่างๆ ซ่ึงถูกใช้ในงานของโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต ด้วยภาษาที่อ่านง่าย และกระชับ มีเน้ือหาประกอบด้วย การส�ำรวจท่ีมาท่ีไป ความหมาย แก่นสาร และ ข้อถกเถียงต่างๆ ของค�ำศัพท์แต่ละค�ำ โดยแบ่งประเภทเป็นค�ำศัพท์ท่ีเก่ียวข้องกับ 3ผ้นู ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

แนวคิดด้านภาวะการน�ำต่างๆ ค�ำศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับเคร่ืองมือและกระบวนการสร้าง การเรียนรู้ที่โครงการใช้ และค�ำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับมโนทัศน์ใหม่ในการขับเคลื่อน สงั คมและการอธบิ ายสภาพสงั คม โครงการผู้น�ำแห่งอนาคตหวังว่า องค์ความรู้จากหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ ส�ำหรับการเผยแผ่ความรู้ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะการน�ำกระบวนทัศน์ ใหม่ และมโนทัศนท์ ี่เกีย่ วข้องไปสวู่ งกวา้ งมากยงิ่ ขนึ้ โครงการผู้นำ� แหง่ อนาคต

กจิ กรรมโคเสรรงมิกศารถกั ผยอู้นภด�ำาแบพหเทง่คอรเนือราขยี ค่านตย

สารบญั 9 แนวทางการเรียนร้ขู องโครงการ 11 สนุ ทรยี สนทนา 17 การจัดพื้นท่ีการเรียนรู้ 19 มองตวั เองเปน็ ฟังเสยี งภายใน 29 เปิดรบั ความขัดแยง้ 37 มองเห็นราก 43 ดวงตาใหม่ นวัตกรรม 47 พลังของธรรมชาติ 53 ท�ำงานกับเยาวชน 57 กิจกรรมฐานกาย 61 สรปุ ขอ้ เสนอแนะ และมองไปข้างหนา้ • 63 เวทกี ารเรียนรู้ทง้ั หมดของโครงการผนู้ �ำแห่งอนาคตปีท่ี 1 - 2 70 รายละเอยี ดภาพประกอบ “ถอดบทเรียนฯ”

“โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต” เกิดขึ้นด้วยความเช่ือว่าสังคมไทยก�ำลังจะก้าวเข้าสู่ วิกฤตและความเปล่ียนแปลงในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็วรุนแรงในเวลาอีกไม่นาน ใน การรับมือกับภาวะวิกฤตที่จะเกิดขึ้น สังคมไทยจะต้องตระหนักว่า ในสถานการณ์ โลกท่ีมีความซับซ้อนและมีวิกฤตด้านต่างๆ เกิดข้ึนพร้อมกัน การคาดหวังว่าจะมีคน คนหนึ่งเข้ามาเป็นวีรบุรุษผู้สามารถแก้ไขและเปล่ียนแปลงทุกอย่าง เป็นไปไม่ได้อีก ต่อไป หากแต่โครงการเช่ือว่า สังคมไทยจ�ำเปน็ ตอ้ งเรยี นรทู้ จี่ ะมีภาวะการน�ำแบบใหม่ หรอื ท่ีเรียกอยา่ งเปน็ ทางการว่า “ภาวะการน�ำกระบวนทศั น์ใหม่” เช่น “การน�ำร่วม” ที่เปิดโอกาสใหบ้ คุ คลและความคิดท่หี ลายหลากเข้ามาน�ำพาสงั คม “การนำ� ทเ่ี ร่มิ จาก การเปล่ียนแปลงตนเองภายใน” ซง่ึ เป็นสง่ิ ที่ทุกๆ คนสามารถท�ำได้ หรือ “การนำ� โดย ใช้จรยิ ธรรม” โดยหวังว่าผ้นู �ำและภาวะการน�ำกระบวนทศั น์ใหมน่ น้ั จะเปน็ ความหวัง ทชี่ ่วยกอบกู้สังคมไทยเมอ่ื ต้องเผชิญกบั วิกฤตได้ ตลอดสองปีท่ีผ่านมา โครงการได้เปิดพื้นท่ีการเรียนรู้เพ่ือเสริมศักยภาพการน�ำ กระบวนทัศน์ใหม่ในแก่ผู้น�ำทางสังคมในหลายรูปแบบ โดยเชิญผู้เช่ียวชาญด้านภาวะ ผู้น�ำในมิติทางจิตวิญญาณทั้งจากในและต่างประเทศมาเป็นวิทยากรในการสัมมนา และการอบรมเชิงปฏิบัติการต่างๆ เพื่อพัฒนาทักษะและความรู้ในเรื่องภาวะการน�ำ 7ผูน้ ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

กระบวนทัศน์ใหม่ให้แก่สมาชิกในเครือข่ายอย่างต่อเน่ือง จนเกิดการยกระดับ การมองโลกและการท�ำงาน ซึ่งได้ผลพอสมควร เพราะนอกจากจะท�ำให้ผู้เข้าร่วม เกิดการสะท้อนย้อนมองตนเองและเข้าใจตนเองมากขึ้นแล้ว ยังท�ำให้พวกเขาเกิด แรงบันดาลใจใหม่ๆ ในการท�ำงาน และเกิดเครือข่ายการท�ำงานร่วมกันท่ีหลากหลาย ข้นึ อีกด้วย ดังนั้น เพ่ือให้กิจกรรมเสริมศักยภาพต่างๆ ของโครงการเกิดการขยายผล สามารถสืบทอดคุณค่าและความหมายต่อไปได้ในอนาคต จนส่งผลให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงและการฟื้นฟูสังคมได้อย่างมีพลัง โครงการจึงทบทวนการท�ำงานที่ ผ่านมาเพื่อถอดบทเรียนกิจกรรมต่างๆ ของโครงการอย่างเจาะลึก แล้วจัดท�ำป็น รายงาน“ถอดบทเรยี นกจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพเครอื ขา่ ยโครงการผนู้ ำ� แหง่ อนาคต”เพอ่ื วางรากฐานใหโ้ ครงการผนู้ ำ� แหง่ อนาคตและเครอื ขา่ ยสามารถนำ� ไปตอ่ ยอดหรอื พฒั นา กจิ กรรมเสริมศกั ยภาพต่างๆ ให้เหมาะสมกับบรบิ ทของตนเองต่อไป ดงั นี้ 8 l ผู้น�ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ

แนวทางการเรยี นรู้ของโครงการ โครงการผู้น�ำแห่งอนาคตมีความเชื่อว่า กระบวนการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่เน้น ใหผ้ ู้สอนบรรยายโดยมผี ูเ้ รียนเปน็ ผูร้ ับความรู้เชงิ ข้อมูลเพยี งอย่างเดยี วนั้น ไม่เพียงพอ ต่อการสร้างการเรียนรู้ในมิติต่างๆ ท่ีแตกต่างหลากหลายได้ ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ ตนเอง ปัญญากลมุ่ ปัญญาร่วม ความเปน็ ผู้นำ� จากภายใน และการเปล่ียนแปลงจาก ภายใน อันเป็นเป้าหมายของกิจกรรมเสริมศักยภาพแทบทุกกิจกรรมของโครงการ หากแต่ต้องอาศัยการเรียนรู้ท่ีเกิดจากตัวผู้เข้าร่วมเองและการเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ผเู้ ขา้ รว่ ม โครงการเชอื่ วา่ ความรเู้ ปน็ สงิ่ ทอ่ี ยใู่ นเนอ้ื ในตวั ของทกุ คนอยแู่ ลว้ หากมกี จิ กรรม หรือกระบวนการที่ช่วยให้แต่ละคนได้ใคร่ครวญตัวเอง รู้จักตัวเอง และส่ิงที่ตนเอง มีอยู่ ดึงตัวตนและความรู้ของแต่ละคนออกมาแลกเปลี่ยนกัน จะเป็นประโยชน์อย่าง มหาศาล เพราะการเรียนร้โู ดยการรบั ขอ้ มูลฝ่ายเดียวนั้น ความรู้ทเ่ี กดิ ข้ึนจะเปน็ เพยี ง ความรู้ของแต่ละคน แต่ถ้าน�ำส่ิงท่ีแต่ละคนเรียนรู้มาแบ่งปันกัน จะสร้างโอกาสใน การเรียนรู้ได้มากข้ึนเป็นทวีคูณ และยังช่วยสร้างความสัมพันธ์ มิตรภาพ ตลอดจน แรงบนั ดาลใจให้แกผ่ ูเ้ ข้ารว่ มอีกด้วย 9ผนู้ ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

ดงั นนั้ กจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพของโครงการผนู้ ำ� แหง่ อนาคตจงึ ไมเ่ นน้ การบรรยาย แต่เน้นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยมีกระบวนกรเป็นผู้ด�ำเนินกระบวนการเรียนรู้ท่ี ช่วยให้ผู้เข้าร่วมมีโอกาสใคร่ครวญ มองเห็นประเด็น และความเป็นไปได้ต่างๆ ท่ีอาจ จะไม่ตระหนกั ถึงมากอ่ น รวมถงึ สร้างบรรยากาศและกระบวนการทท่ี ำ� ใหผ้ ู้เข้าร่วมได้ เรยี นรเู้ กี่ยวกบั ตัวเอง และเรียนร้จู ากกันและกัน ผา่ นการแลกเปลี่ยนในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย โครงการถือว่า ผู้ท�ำหน้าที่กระบวนกร (Facilitator) น้ันไม่ได้มีบทบาทในการ สร้างการเรียนรู้เพียงอย่างเดียว แต่ยังต้องเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับผู้เข้าร่วมด้วย ไม่เป็น ผู้ผูกขาดความรู้ หรือตัดสินว่าความรู้แบบใดถูกต้องหรือไม่ถูกต้องเหมือนผู้สอนตาม แนวทางการเรียนรู้แบบด้ังเดิม ในการเรียนรู้แบบน้ี ผู้เข้าร่วมและกระบวนกรจึงเป็น เหมือนครขู องกนั และกนั 10 l ผ้นู ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ

สุนทรียสนทนา สุนทรียสนทนา (Dialogue) เป็นกระบวนการเรียนรู้หลักอย่างหนึ่งท่ีถูกน�ำมา ใช้ในทุกเวทีการเรียนรู้ของโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการแลก เปลย่ี นเรยี นรตู้ ามโจทยท์ กี่ ระบวนกรมอบให้ ซง่ึ สว่ นมากเปน็ ไปเพอื่ การใครค่ รวญและ สะท้อนย้อนมองตนเอง ส�ำหรับโครงการ เป้าหมายของการใช้สุนทรียสนทนาไม่ใช่มี ไวเ้ พอ่ื การแลกเปลยี่ นขอ้ มลู กนั ระหวา่ งผเู้ ขา้ รว่ มเพยี งอยา่ งเดยี ว หรอื มคี วามเชอื่ วา่ การ สนทนาท่ีดีจะต้องมีฐานมาจากการใช้ค�ำพูดสุภาพไพเราะ ความคิดที่โลดแล่น ไม่มี ความขัดแย้ง หรือต้องมีข้อมูลเนื้อหาท่ีฉลาดเฉลียวด่ังการสนทนาทั่วไป แต่เป็นการ สนทนาท่ีแต่ละคนเปิดใจเข้าหากันเพื่อเรียนรู้ไปด้วยกัน ซึ่งการที่จะท�ำเช่นน้ันได้ ผู้พดู จะต้องมีสติ มีความสามารถที่จะเห็นตัวเอง และรบั ฟังผู้อน่ื ได้อย่างลกึ ซ้ึง ส�ำหรับโครงการ สุนทรียสนทนาจึงเป็นกระบวนการที่จะช่วยให้ผู้เข้าร่วมได้ เรียนรู้และฝึกฝนการรับฟังผู้อื่นอย่างแท้จริง รวมทั้งเป็นแบบฝึกหัดในการสร้างการรู้ เท่าทันความคิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการสนทนาอีกด้วย ตัวอย่างเช่น การรู้เท่าทัน เสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ ของตนเองท่ีมีต่อค�ำพูดหรือความคิดเห็นของผู้อ่ืน เป็นต้น 11ผู้นำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

1 2 1 “ภาวนา” 2 “ใครค่ รวญอยู่กบั ตนเอง”

วงสนทนาใดทผ่ี เู้ ขา้ รว่ มไมไ่ ดฝ้ กึ ฝนการฟงั และการรเู้ ทา่ ทนั ตนเองไปดว้ ย กระบวนการ เรยี นรแู้ ละการเตบิ โตตามความตง้ั ใจของกจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพตา่ งๆ ของโครงการจะ เกิดข้ึนไดย้ าก ดังน้ัน ทุกคร้ังที่มีการจัดกิจกรรมเสริมศักยภาพ โครงการและกระบวนกรจึง ต้องเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เข้าร่วมด้วยวิธีการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ จัดภาวนา เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมได้อยู่กับตัวเองทุกๆ เช้าก่อนเร่ิมกิจกรรม เพราะเชื่อว่า ความสงบจากการอยู่กับตนเองจะช่วยให้ผู้เข้าร่วมส่ือสารและรับฟังผู้อื่นได้อย่างลึก ซงึ้ ขึ้น รวมถงึ การย�้ำกับผู้เข้ารว่ มทุกครั้งเรอื่ งกติกาและความมงุ่ หมายของการสนทนา ในกระบวนการเรียนร้ขู องโครงการ เมือ่ เทยี บกับการสนทนาพูดคยุ ทว่ั ไปว่า ไมใ่ ชก่ าร ฟังเน้ือหาแต่เพียงอย่างเดียว แต่คือการฟังโดยให้ความใส่ใจต่อคนที่เราสนทนาด้วย ใหค้ ดิ วา่ เรอ่ื งราวทค่ี สู่ นทนาของเรากำ� ลงั เลา่ อยเู่ ปน็ เรอื่ งสำ� คญั ทสี่ ดุ และคสู่ นทนาของ เราเป็นคนส�ำคัญท่ีสุด โดยการไม่ขัดขวางและรบกวนระหว่างที่อีกฝ่ายก�ำลังพูด เช่น การไมโ่ ต้แยง้ ไมแ่ ซว ไมต่ ั้งค�ำถาม ไมพ่ ดู แทรก เพราะพฤตกิ รรมเหลา่ นีแ้ สดงถึงการ ท่ีเราสนใจในความต้องการของตนเองมากกว่ารับฟังคู่สนทนาของเราจริงๆ หากมี การแซว พูดแทรกขัดจังหวะระหว่างที่มีคนพูดในวงแลกเปล่ียน กระบวนกรจะเข้า แทรกแซงทันที เพ่ือท�ำให้ผู้พูดแทรกและคนอ่ืนๆ ในวงสนทนาเกิดความตระหนักรู้ เชน่ การตง้ั ค�ำถามว่าการแซวกันระหว่างเพอื่ นพูด ท�ำใหเ้ ราฟังส่ิงทเ่ี พ่อื นสอ่ื สารไดจ้ รงิ หรือไม่ หรือการย�้ำเตือนว่า ไม่มีใครสบายใจเม่ือมีคนมาหัวเราะเร่ืองราวของตนเอง เป็นตน้ นอกจากในแง่ของการแสดงออกภายนอกแล้ว ในเชิงความคดิ เรามักจะคุน้ ชนิ กบั การตัดสิน วพิ ากษ์วิจารณ์ ตั้งคำ� ถามต่อส่ิงทคี่ นอ่นื สอื่ สาร จนอาจจะท�ำใหล้ ะเลย 13ผนู้ �ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

การรับฟังส่ิงที่ผู้อื่นพูด ผู้เขียนเอง จากการเข้าร่วมเรียนรู้หลายคร้ัง พบว่า บ่อยคร้ัง มากเวลาทส่ี นทนากบั ผู้อ่นื เมื่อจบบทสนทนาแลว้ ผ้เู ขยี นแทบจะจำ� สง่ิ ทค่ี นอื่นส่อื สาร ไม่ได้เลย แต่กลับจดจ�ำความคิดต่างๆ ของตัวเองที่เกิดข้ึนระหว่างการฟังได้มากกว่า ดังนั้น ในกระบวนการเรียนรู้ของโครงการ กระบวนกรจึงพยายามท�ำให้ผู้เข้าร่วมรู้ เท่าทันความคิดของตนเองตลอดเวลา มีการย�้ำกับผู้เข้าร่วมว่า ในระหว่างการรับฟัง ให้พยายามไม่ตัดสิน ไม่ด่วนสรุป ช้ีให้ตระหนักว่า ขณะน้ีตนเองก�ำลังคิดอยู่ มีเสียง ต่างๆ ในหวั อยู่ และใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มพยายามวางความคดิ ทีม่ อี ย่ลู ง เพอื่ กลับมารับฟังผอู้ ่นื ต่อดว้ ยใจและหวั ที่เปดิ กว้าง การฝึกฝนให้ผู้เข้าร่วมมองเห็นและตระหนักถึงความเคยชินดังกล่าวของตนเอง จึงเปน็ แบบฝึกหดั ท่พี บไดใ้ นทุกกิจกรรมเสริมศกั ยภาพของโครงการ นอกจากการสนทนาและการรบั ฟงั แลว้ แนวทางการเรยี นรทู้ ส่ี ำ� คญั ของโครงการ อีกอย่างหน่ึง ก็คือการให้ผู้เข้าร่วมได้ทบทวนตัวเอง ผ่านการย้อนมองตัวเองด้วยวิธี การต่างๆ ไมว่ า่ จะเปน็ การส�ำรวจความรู้สกึ และพฤตกิ รรมของตนเอง หรอื การครุ่นคดิ ใครค่ รวญทบทวนสิง่ ทไ่ี ด้เรียนรู้หลงั จากทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ ไปแล้ว ในทุกกิจกรรมเสริมศักยภาพของโครงการ หลังจากการสนทนาหรือการท�ำ กิจกรรมจบแล้ว จะมีอย่างน้อยหน่ึงช่วงเวลาท่ีกระบวนกรให้ผู้เข้าร่วมหยุดนิ่งอยู่กับ ตวั เอง เพอื่ กลน่ั กรองส่ิงทีไ่ ด้เรยี นรู้ไม่วา่ จะเป็นความคดิ ประสบการณ์ หรือความรู้สกึ ต่างๆ ที่เกิดขึ้น แล้วถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาหรือรูปวาดลงบนกระดาษ แม้จะเป็น เพียงช่วงเวลาส้ันๆ แต่โครงการเช่ือว่า การท่ีผู้เข้าร่วมได้มีโอกาสหยุดกระท�ำการ ต่างๆ และอยู่ในความสงบน่งิ จะทำ� ให้สงิ่ ตา่ งๆที่ไดเ้ รียนร้คู อ่ ยๆตกผลกึ เปน็ แกน่ สาระ 14 l ผ้นู ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ

ท่ีชัดเจนข้ึน ท่ีน่าสนใจคือ บางคร้ังสิ่งที่ผู้เข้าร่วมค้นพบไม่ได้เก่ียวข้องกับโจทย์ท่ี กระบวนกรให้ฝึกฝนเลย แต่กระบวนการต่างๆ และความสงบ กลับมีส่วนท�ำให้ ผเู้ ขา้ รว่ มเกิดความตระหนักบางอยา่ งเกี่ยวกับตนเองทไ่ี ม่เคยนึกถงึ มากอ่ น 15ผู้นำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

1 2 1 “พ้ืนท่ีธรรมชาต”ิ 2 “เวทกี ารเรยี นร้”ู

การจัดพนื้ ที่การเรยี นรู้ มผี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพของโครงการผนู้ ำ� แหง่ อนาคตหลายคนกลา่ ววา่ พวกเขาไม่เคยมางาน “ประชมุ ” หรอื “สมั มนา” ลักษณะนีม้ าก่อน เมื่อได้รบั เชิญมา เข้าร่วมการอบรม พวกเขามักจะคดิ ถึงภาพห้องเรยี น มีโต๊ะเกา้ อตี้ ้ังเรียงกันเป็นแถวๆ มีวิทยากรคอยบรรยายให้ความรู้บนเวที แต่โครงการเลือกจัดที่น่ังของผู้เข้าร่วมและ วทิ ยากรเปน็ วงกลม เนอื่ งจากวงกลมทสี่ มดลุ หมายถงึ พน้ื ทที่ ไ่ี มม่ ใี ครมอี ภสิ ทิ ธเิ์ หนอื ใคร ทกุ คนพรอ้ มมาเรยี นรจู้ ากกนั และกนั ทกุ คนอย่ใู นต�ำแหนง่ ทเี่ ทา่ เทยี มกนั สามารถมอง เห็นกัน สามารถสอื่ สารเสยี งและความคดิ เห็นได้อย่างท่ัวถงึ ในตอนแรก ผู้เข้าร่วมหลายคนบอกว่า ไม่คุ้นชินกับการจัดพ้ืนท่ีแบบน้ี ท�ำให้ รู้สึกแปลกๆ แต่เมื่อการอบรมจบลงแล้ว พวกเขาสะท้อนว่า การจัดพื้นท่ีการเรียนรู้ เปน็ วงกลมเปน็ สง่ิ ทดี่ ี ทำ� ใหร้ สู้ กึ ถงึ ความเปน็ มติ รและการมสี ว่ นรว่ มไดม้ ากกวา่ ไมท่ ำ� ให้ ง่วงนอนง่ายเหมือนการจัดพื้นที่ของเวทีการอบรมสัมมนาส่วนใหญ่ หลายคนบอกว่า หากพวกเขามีโอกาสจัดกจิ กรรมในท้องทข่ี องตนเอง จะนำ� เอาการจัดพน้ื ทกี่ ิจกรรมใน ลักษณะนี้ไปใชแ้ ทนแบบเดมิ 17ผนู้ ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

นอกจากน้ัน อีกส่ิงหน่ึงท่ีโครงการให้ความส�ำคัญในการจัดสถานท่ีท�ำกิจกรรม ทุกๆ ครั้ง คือ การมีพื้นท่ีธรรมชาติและพ้ืนที่สีเขียว เช่น การเลือกท่ีพักให้อยู่ใกล้ ชิดธรรมชาติ ติดริมแม่น�้ำและภูเขา เป็นต้น เนื่องจากโครงการเชื่อว่า บรรยากาศ ท่ีผ่อนคลายและสงบ จะช่วยให้ผู้เข้าร่วมได้เติมพลังท่ีเสียไปจากการท�ำงานในชีวิต ประจ�ำวัน ซ่ึงส่วนใหญ่ไม่มีโอกาสได้สัมผัสหรือใกล้ชิดธรรมชาติเลย อีกท้ังยังเชื่อใน ภูมิปัญญาและพลังของธรรมชาติว่า จะช่วยทำ� ให้การใคร่ครวญตัวเอง สะท้อนตัวเอง มคี วามลกึ ซง้ึ ยิ่งข้ึน 18 l ผนู้ ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ

มองตัวเองเปน็ ฟงั เสียงภายใน จากกระบวนการเรยี นรขู้ องโครงการ เชน่ สนุ ทรยี สนทนาและการฟงั อยา่ งลกึ ซงึ้ จะเหน็ วา่ คณุ สมบตั สิ ำ� คญั ทสี่ ดุ อยา่ งหนง่ึ ทนี่ า่ จะเรยี กไดว้ า่ เปน็ แกน่ แกนและพนื้ ฐานของ ภาวะการนำ� กระบวนทศั นใ์ หม่ คอื ความสามารถในการมองและสะทอ้ นตนเองไดอ้ ยา่ ง จริงแท้ ไม่ว่าจะเป็นด้านที่ดี ด้านที่นิยมชมชอบ หรือด้านที่แต่ละคนรู้สึกไม่ชอบและ ไม่พอใจ การสร้างภาวะการน�ำร่วม (Collective) การน�ำโดยการเปลย่ี นแปลงภายใน ทีส่ ่งผลใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงภายนอก (Transformative) และการนำ� โดยเหน็ ความ เชอ่ื มโยงของส่ิงต่างๆ และตระหนกั ถึงผลการกระทำ� ของตนเอง (Ethical) ล้วนแต่ต้อง อาศยั ความสามารถในการเห็นและรจู้ ักตัวเองอยา่ งซ่อื สตั ยท์ ้งั สน้ิ ถา้ ไม่มีทักษะเหล่าน้ี ภาวะการน�ำของแต่ละคนก็อาจจะไม่ต่างไปจากภาวะการน�ำในกระบวนทัศน์เก่า ที่มี ศกั ยภาพในการสรา้ งผลกระทบทงั้ ดา้ นบวกและลบมากมาย แตก่ ลบั ไมส่ ามารถมองเหน็ ผลกระทบจากการกระทำ� ของตนเองได้ เชน่ หลายคนเปน็ นกั เคลอื่ นไหวเพอ่ื ความเปน็ ธรรมทางสงั คม แตป่ ฏบิ ตั ติ อ่ คนใกลต้ วั ดว้ ยความรนุ แรงและอยตุ ธิ รรม ในขณะทบ่ี างคน อาจจะมองไม่เหน็ คณุ ค่าหรอื แกน่ แทข้ องสง่ิ ท่ตี นเองท�ำอยู่ จึงเกดิ อาการเหน่อื ยหน่าย ต่องานขับเคล่ือนสังคมของตนเอง โดยเฉพาะในบริบทสังคมไทยท่ีมีระบบอาวุโสและ 19ผนู้ ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

1 2 1 “วาดภาพตามฝัน” 2 “สัมภาษณ์ตัวตน”

ลำ� ดบั ชนั้ ทางสงั คมคอ่ นขา้ งเขม้ ขน้ ผนู้ ำ� หลายคนอาจจะไมม่ โี อกาสไดร้ บั ฟงั เสยี งสะทอ้ น ทส่ี ตั ยจ์ รงิ จากผอู้ นื่ เลยกเ็ ปน็ ได้ ทำ� ใหผ้ มู้ อี ำ� นาจหรอื คนกำ� หนดนโยบายจำ� นวนไมน่ อ้ ย ตัดสนิ ใจผิดพลาดซ�ำ้ แลว้ ซ้�ำเลา่ โดยไมม่ ีการปรบั ปรุงแกไ้ ขตนเอง ดังนั้น แทบทุกกิจกรรมในกิจกรรมเสริมศักยภาพของโครงการ ไม่ว่าจะมี เปา้ หมายหรอื มปี ระเดน็ การเรยี นรใู้ ดกต็ าม จะมคี วามเกยี่ วเนอ่ื งกบั การสรา้ งเสรมิ ความ สามารถในการสะท้อนยอ้ นมองตนเองในมิตติ ่างๆ เสมอ โดยกระบวนกรจะยำ้� ให้ผเู้ ขา้ รว่ มสงั เกตสงิ่ ที่เกิดขึน้ กบั ตนเองในเวลาทำ� กจิ กรรมต่างๆ ว่ารู้สึกอยา่ งไร อะไรท่ีท�ำให้ เราชอบหรือไม่ชอบเปน็ พเิ ศษ หรือในระหว่างกจิ กรรม เรามักจะเลอื กบทบาทเปน็ ใคร ทำ� อะไร เชน่ เปน็ คนพดู และแสดงออก หรอื เปน็ คนไมแ่ สดงออกและชอบสงั เกตการณ์ เปน็ ตน้ ซึง่ การสังเกตน้ที �ำให้ผเู้ ข้าร่วมหลายคนร้จู ักตนเองในแง่มุมต่างๆ ดีข้นึ อย่างเช่น ในเวทีเสริมศักยภาพคนรุ่นใหม่ปลุกพลังเปลี่ยนไทย (Inspiring Thailand) ครงั้ หนง่ึ มกี จิ กรรม“วาดรปู ความฝนั ” ทใ่ี หผ้ เู้ ขา้ รว่ มแตล่ ะคนวาดรปู ความ ฝันของตัวเองออกมา แล้วให้จับคู่กับผู้เข้าร่วมคนอื่น แลกกระดาษที่วาดรูปความฝัน กันเพื่อให้อีกฝ่ายหน่ึงช่วยแต่งเติม โดยผู้วาดจะเล่าความฝันให้คู่ฟัง หรือร้องขอให้คู่ ช่วยเติมอะไรลงไปในความฝันของตนหรือไม่ก็ได้ แต่มีข้อแม้ว่า ห้ามเจ้าของรูปวาด ภาพของตัวเองเพ่ิมโดยเด็ดขาด และให้มีการเปล่ียนคู่ไปเรื่อยๆ หลังจากท�ำกิจกรรม เสรจ็ แล้ว กระบวนกรจะถามผ้เู ขา้ รว่ มวา่ รสู้ กึ อยา่ งไรระหวา่ งท�ำกิจกรรม พฤตกิ รรม ใดของควู่ าดรปู ทท่ี �ำใหร้ ้สู กึ พอใจและไม่พอใจ ในขณะเดยี วกนั ก็ใหผ้ เู้ ข้าร่วมตรึกตรอง พฤตกิ รรมของตนเองระหวา่ งท�ำกิจกรรมไปด้วย เชน่ เราขออนุญาตเพอื่ นกอ่ นหรือไม่ เวลาจะเตมิ อะไรลงไปในภาพความฝนั ของเพอื่ น หรอื เราตดั สนิ ใจเตมิ รปู ลงไปตามสง่ิ ที่ 21ผู้น�ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

เราคดิ เลย เราเตมิ แค่เสน้ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ โดยไม่ยุง่ กับภาพวาดของเพื่อนมากนกั หรือเรา มกั จะเติมรูปใหญ่ๆ ลงไป เปน็ ต้น แม้จะมีผู้เข้าร่วมหลายคนท่ีไม่เข้าใจว่า การสะท้อนสภาวะต่างๆ ของตัวเอง ระหวา่ งท�ำกิจกรรมต้องท�ำอยา่ งไร เพราะไม่คุ้นชนิ แต่กม็ ีบางคนทีไ่ ด้คน้ พบตวั เองใน บางแง่มุม ผู้เขา้ ร่วมคนหนึง่ เลา่ ให้ฟงั วา่ สงิ่ ที่ทำ� ให้เธอไมพ่ อใจมากระหวา่ งทำ� กิจกรรม คือ การท่ีผู้เข้าร่วมบางคนท�ำให้รูปของเธอไม่สวย ในขณะท่ีเธอประทับใจคนที่ขอ อนุญาตก่อนจะวาดอะไรลงไปในรูปของเธอมาก โดยหลังจากได้พิจารณาใคร่ครวญดู แล้ว เธอพบว่าสิ่งที่กระทบความรู้สึกของตัวเธอเองมากๆ คือการรู้สึกว่าตนเองได้รับ ความใส่ใจหรือไม่ เธอรู้สกึ ว่า คนท่ที ำ� ให้รปู ของเธอดูไม่สวย ไม่ใสใจกับความฝนั และ ความตอ้ งการของเธอเท่าที่ควร จงึ ท�ำใหเ้ ธอร้สู ึกไมพ่ อใจ นอกจากการสงั เกตตนเองระหว่างทำ� กจิ กรรมแลว้ โครงการยังจดั กระบวนการ เรียนรู้ต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจตัวเองในระดับที่ลึกซึ้งข้ึน โดยเฉพาะใน เวทีการเรียนรู้ภาวะการน�ำเพ่ือการขับเคลื่อนสังคม (Social Facilitation) ครั้งท่ี 3 ทีม่ ีเป้าหมายหลกั คือการสรา้ งความสามารถในการเขา้ ใจตนเอง คุณคา่ และเป้าหมาย ของการมชี วี ติ ของตนเองอยา่ งลกึ ซงึ้ ยงิ่ ขน้ึ จงึ มกี จิ กรรมเพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มทำ� ความเขา้ ใจ ในสง่ิ ทต่ี นเองเปน็ เปา้ หมายและคณุ คา่ ทต่ี นเองยดึ ถอื และทำ� ความเขา้ ใจสง่ิ ทแ่ี ตล่ ะคน กดทบั หรือคดิ วา่ ตนเองไม่ได้เปน็ ซึ่งกระบวนกรเรยี กว่า “เงา (shadow)” เงา คือ ตัวตนบางด้านของตัวเราเองที่ถูกทอดท้ิงหรือปกปิดไว้ เนื่องจาก ประสบการณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเล้ียงดู หรือคุณค่าบางอย่างที่เรายึดถือเป็นหลัก ซงึ่ ตรงขา้ มกบั คณุ สมบตั ทิ แ่ี ตล่ ะคนเปน็ อยหู่ รอื ยดึ ถอื อยู่ เชน่ คนทร่ี กั ความสงบ ไมช่ อบ การปะทะ ก็จะมีเงาคือชอบความรุนแรงและการใช้ก�ำลัง เป็นต้น ยิ่งแต่ละคนยึดถือ 22 l ผนู้ ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ

คุณค่าบางอย่างไว้มากเท่าไหร่ และไม่ยอมรับเงาของตัวเองมากเพียงใด เงาก็จะยิ่ง ตอ้ งการแสดงออกอย่างรุนแรงมากข้นึ เทา่ น้นั และจะปรากฏออกมาอย่างไม่ทันตัง้ ตวั ในรปู แบบต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ ความฝัน เชน่ ผ้มู ีบคุ ลกิ นุ่มนวลและรกั สงบอาจจะฝันว่า ตัวเองฆ่าคนตาย หรือปรากฏในรูปแบบของพฤติกรรมท่ีแสดงออกกับคนใกล้ตัว เช่น ผูช้ ายคนหน่งึ อาจจะเปน็ คนสภุ าพนุ่มนวลในที่สาธารณะ แตก่ ลบั ก้าวร้าวและใช้ความ รุนแรงกบั คนในครอบครัว เปน็ ตน้ เน่ืองจากเงาคือตัวตนอีกส่วนหนึ่งของเรา การไม่ยอมรับเงาของตัวเองท�ำให้ ศักยภาพภายในที่แต่ละมีอยู่ไม่ถูกน�ำมาใช้อย่างเต็มท่ี ส่วนศักยภาพจากตัวตนและ คุณค่าเดิมๆ ทเี่ รายึดถือมาตลอดก็อาจจะถกู ใชจ้ นเกินขอบเขต เกดิ การลา้ การตดิ ขัด และให้ผลลบตา่ งๆ ได้ เปรยี บเหมอื นคนทมี่ ีสองขาแต่กลับเดินดว้ ยขาข้างเดียว จนขา อกี ขา้ งหนงึ่ ใชก้ ารไมไ่ ดใ้ นทส่ี ดุ ตวั อยา่ งเชน่ การมตี วั ตนทย่ี ดึ ถอื คณุ คา่ ความรบั ผดิ ชอบ อาจจะท�ำให้เราท�ำงานหนักเกินไป จนลืมพักผ่อน หรือละเลยการสร้างความสัมพันธ์ ท่ีดกี บั เพ่ือนร่วมงาน เปน็ ตน้ ในเวทีการเรียนรู้ภาวะการน�ำเพ่ือการขับเคลื่อนสังคม (Social Facilitation) คร้ังที่ 3 กิจกรรมสร้างการเรียนรู้และมองเห็นเงาของตนเอง เริ่มจากการให้ผู้เข้าร่วม ลองพจิ ารณาตรกึ ตรองดวู า่ คณุ สมบตั ใิ ดคอื ดา้ นบวกทเี่ รารสู้ กึ ภาคภมู ใิ จในตนเอง เปน็ คณุ คา่ สำ� คญั ทเี่ รายดึ ถอื ไวใ้ นการดำ� รงชวี ติ แลว้ คน้ หาวา่ ดา้ นตรงขา้ มกบั คณุ สมบตั ทิ เ่ี รา ยึดถอื คืออะไร นั่นแหละคอื ตัวตนที่เปน็ “เงา” ของแตล่ ะคน จากนั้น กระบวนกรจึงใหผ้ ู้เข้ารว่ มทดลองละทงิ้ ตวั ตน คณุ คา่ หลักทีย่ ดึ ถือ แล้ว ให้แต่ละคนสมมุติว่าตนเองเป็นตัวตนที่ไม่ชอบใจหรือไม่พอใจที่สุด แล้วประกาศออก มาใหผ้ ู้อ่ืนรับรู้ (ในกจิ กรรม การตรกึ ตรองจะใช้เวลานานมาก และผู้เขา้ ร่วมหลายคน 23ผู้นำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

ครนุ่ คดิ เรอื่ งการเปน็ สง่ิ ทต่ี นเองไมช่ อบอยา่ งเครง่ เครยี ด) เชน่ คนขยนั มคี วามรบั ผดิ ชอบ ก็ให้ประกาศออกไปว่า “ฉันเป็นคนขี้เกียจและเห็นแก่ตัว” เป็นต้น แม้จะดูเหมือน เปน็ กระบวนการสน้ั ๆ แต่กลับสน่ั สะเทือนความรสู้ ึกของผูเ้ ขา้ รว่ มอยา่ งมาก หลายคน สะทอ้ นวา่ ระหวา่ งพดู วา่ ตนเองเปน็ สง่ิ ทต่ี วั เองรงั เกยี จ รสู้ กึ ใจสนั่ ขนลกุ เหมอื นทำ� ความ ผิด มองเห็นความไม่ดีของตัวเอง บางคนถึงกับน้�ำตาไหล มีการสะท้อนว่า สิ่งได้จาก กิจกรรมน้ีคือการมองเห็นตัวเองในอีกแง่มุมหนึ่ง แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ตนเองรังเกียจหรือ ปกปดิ เอาไวเ้ นอื่ งดว้ ยสาเหตตุ า่ งๆ จนอาจจะจำ� ไมไ่ ดแ้ ลว้ วา่ มตี วั ตนเหลา่ นน้ั ซอ่ นอยใู่ น เบอ้ื งลกึ การไดท้ ดลองพดู ออกมาวา่ ตนเองเปน็ สง่ิ ทต่ี วั เองไมช่ อบนน้ั ทำ� ใหไ้ ดค้ รนุ่ คดิ วา่ ถา้ หากเขามีลักษณะนสิ ัยที่ตนเองไมช่ อบอยู่ในตวั มากขนึ้ อาจจะทำ� ใหช้ ีวติ สมดุลและ มีความสขุ กวา่ ท่เี ปน็ อย่ใู นปจั จบุ ันกไ็ ด้ การทดลองสวมบทบาทเปน็ ตัวตนอ่ืนที่ไมใ่ ช่ตวั ตนหลักทเ่ี รายึดถือ เป็นเพียงจุด เร่ิมต้นของการรู้จักเงา เพราะนอกจากการค้นพบเงาของตนเองแล้ว การเห็นคุณค่า ของเงาก็เป็นสิ่งส�ำคัญมากเช่นกัน กระบวนกรจึงได้จัดกิจกรรมให้ผู้เข้าร่วมตระหนัก ถงึ ประโยชนข์ องตวั ตนทเี่ ปน็ เงา และมองเหน็ โทษของการยดึ ตดิ ตวั ตนหรอื คณุ คา่ หลกั บางอย่างมากเกินไปด้วย เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมสามารถน�ำเอาศักยภาพภายในที่มีอยู่มาใช้ อย่างเต็มที่ ไม่ยึดติดตัวตนหรือคุณค่าหลักบางอย่างมากเกินไปจนกลายเป็นข้อจ�ำกัด โดยให้ผู้เข้าร่วมทดลองหาแก่นแท้และข้อดีของคุณสมบัติท่ีตนเองไม่ชอบ ว่าสามารถ สร้างประโยชน์และส่งเสริมศักยภาพของผู้เข้าร่วมได้อย่างไรบ้าง เช่น การไม่สู้คน หรอื หนปี ัญหา อาจจะมแี ก่นแทค้ ือการถอ่ มตัว หรือความเห็นแกต่ วั อาจจะมแี ก่นแท้ คือการไม่ยอมถูกเอาเปรียบ ซึ่งตามหลักการแล้ว หากผู้เข้าร่วมมองเห็นและยอมรับ แกน่ แทข้ องเงาตนเอง จะสามารถดงึ ศกั ยภาพภายในของตนเองทเ่ี คยถกู ละเลยมาใชไ้ ด้ อย่างสมบูรณข์ น้ึ 24 l ผ้นู ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรยี นฯ

นอกจากการค้นหาประโยชน์ของคุณสมบัติท่ีเป็นเงาแล้ว กระบวนกรยังให้ ผู้เข้าร่วมลองคิดว่าจะเกิดอะไรข้ึน ถ้าคุณสมบัติท่ีตนเองยึดถืออยู่ถูกใช้มากเกินไป โดยให้คนท่ีคิดว่ามีบุคลิกแตกต่างกัน มาจับกลุ่มช่วยกันสะท้อนย้อนมองประเด็น ดังกล่าว เพ่ือให้เห็นมุมมองของคนท่ีคุณสมบัติแตกต่างจากท่ีตนเองมีหรือเป็น เช่น ผู้เขา้ ร่วมทย่ี ดึ ถอื ความรบั ผิดชอบในหน้าที่การงาน อาจถูกเพอ่ื นสะท้อนว่า ถ้าบ้างาน มากเกินไปอาจท�ำให้ขาดการดูแลตนเอง หรือไม่สนใจมิติเรื่องความสัมพันธ์ในการ ท�ำงาน หรือคนท่ียึดถือความกล้าตัดสินใจ ถ้ามีมากเกินไปก็จะกลายเป็นความบ้าบิ่น ต่อจากนั้น กระบวนกรจึงให้ผู้เข้าร่วมวิเคราะห์ดูว่าแต่ละคนยึดถือคุณค่าอะไรมาก เกนิ ไป และตรึกตรองดวู ่า จะดงึ พลงั จากคณุ สมบตั ทิ ีเ่ ปน็ เงาอะไรบา้ งมาชว่ ยใหเ้ ราเกดิ ความสมดลุ ขึ้น หรอื ดแู ลเราในมิติตา่ งๆ ทห่ี ลากหลายขึ้น การทำ� เชน่ น้ี ทำ� ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มหลายคนเหน็ ประโยชนข์ องการปลดปลอ่ ยใหเ้ งาของ ตนเองมีบทบาทมากข้ึน “เห็นว่าส่ิงเหล่านี้อยู่ในตัวเรา และหลายๆ ครั้ง มันต้องการ แสดงตวั ออกมา แตห่ ลายๆ สภาวะ เราเลอื กจะปิดมนั ไว้ พอครัง้ ต่อไป มนั จะพยายาม ออกมามากกว่าเดมิ ถ้าเราไมย่ อมรับและแสดงออกมาบ้าง มนั จะกลายเปน็ ความเก็บ กดและซึมเศร้าทนั ที ถ้าเรายอมรับและจัดสมดุลได้ เราจะเป็นอสิ ระมาก” แต่การมองเห็นคุณค่าของตัวตนเงาไม่ใช่เรื่องง่าย ผู้เข้าร่วมบางท่านได้สะท้อน วา่ ท้ายที่สดุ แลว้ แตล่ ะคนอาจจะยดึ ถือตัวตนหรอื คณุ คา่ บางอยา่ งเอาไว้อยา่ งเหนยี ว แนน่ จนยากทจ่ี ะยอมรบั เงาของตนเองไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ อาการดงั กลา่ วเรยี กวา่ “การเสพ ตดิ ตวั ตน” แตก่ ารละวางการยดึ ถอื ตวั ตน (Disidentify Persona) เหลา่ นี้ สามารถทำ� ได้ หลายวธิ ี วธิ หี นง่ึ คอื “การพดู คยุ กบั ตวั ตน” ซงึ่ กระบวนกรประยกุ ตม์ าจากกระบวนการ 25ผูน้ ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

วอยซไ์ ดอะลอ็ ก (Voice Dialogue) โดยให้ผู้เข้ารว่ มสนทนากับตัวตนต่างๆของตนเอง โดยมผี ชู้ ่วยคอยต้ังค�ำถามต่างๆ เพอื่ ใหร้ ูจ้ กั ตนเองอย่างลึกซ้งึ ขึน้ กระบวนกรได้สาธิตให้ผู้เข้าร่วมนิยามความรู้สึกที่มีบทบาทต่อชีวิตของตัวเอง มากทสี่ ดุ เชน่ ความรสู้ กึ หงดุ หงิดทเี่ กิดขนึ้ บอ่ ยจนเจา้ ตวั รสู้ ึกไมช่ อบและรำ� คาญ หรอื คณุ สมบัติบางอย่างของตวั ตนทแ่ี ตล่ ะคนยดึ ถืออยา่ งมาก อย่างการเปน็ คนสภุ าพ หรือ การเปน็ คนทำ� งานหนกั แลว้ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มทดลองสวมบทบาทเสมอื นตนเองเปน็ ความรสู้ กึ หรือคณุ สมบตั นิ ั้น เช่น ทดลองสวมบทบาทเปน็ คุณ “ความโกรธ” จากน้ัน กระบวนกร จะสมั ภาษณ์เพอ่ื สบื ค้นวา่ ความรู้สกึ เหลา่ นเ้ี กดิ ขึ้นต้ังแต่เมื่อไหร่ มีทมี่ าและมบี ทบาท ต่อชวี ติ ของเราอย่างไร ตัวตนแบบน้ชี ว่ ยเราในเรอ่ื งอะไรบ้าง และเขาต้องการอะไร เน่ืองจากโดยความเชื่อพื้นฐานแล้ว ตัวตนและความรู้สึกเหล่าน้ีเปรียบเสมือน องครกั ษ์ หรอื ผพู้ ทิ กั ษท์ ค่ี อยปกปอ้ งเราแตล่ ะคนในบรบิ ทตา่ งๆ เชน่ จากความเจบ็ ปวด ความผิดหวัง หรือท�ำให้เกิดความม่ันใจในตัวเอง แต่ถ้าสามารถลดบทบาทตัวตน เหลา่ น้ี และเพมิ่ บทบาทตวั ตนแบบอน่ื ๆ เขา้ มา จะทำ� ใหเ้ รามที างเลอื กในการมผี ปู้ กปอ้ ง ที่หลากหลายกว่าการยดึ ตดิ กับตัวตนหรือคณุ ลกั ษณะใดเพยี งหน่งึ เดยี ว ผเู้ ขา้ รว่ มทไ่ี ดท้ ดลองนำ� ตวั ตนผพู้ ทิ กั ษอ์ อกมาใหส้ มั ภาษณ์ ไดส้ ะทอ้ นวา่ หลงั ผา่ น กระบวนการไปแล้ว รู้สึกโล่งใจอย่างไม่สามารถอธิบายเป็นค�ำพูดได้ สิ่งท่ีน่าสนใจคือ มกี ารสะทอ้ นวา่ การทเี่ ราสามารถยอมรบั และเหน็ คณุ คา่ ของความรสู้ กึ บางอยา่ งทก่ี ำ� ลงั รบกวนตวั เองอยนู่ นั้ กลบั ทำ� ใหเ้ ราสามารถควบคมุ ตวั ตนและความรสู้ กึ ทม่ี บี ทบาทสงู ใน ชวี ติ ไดด้ ขี ้นึ มีอสิ ระ และปล่อยวางตวั ตนท่ีครอบง�ำเราอยู่ได้มากข้ึน 26 l ผ้นู ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรยี นฯ

อย่างไรก็ตาม มีการตั้งข้อสงสัยในวงเกี่ยวกับกระบวนการสัมภาษณ์ตัวตน ว่า หากไม่มีผู้ช่วยคอยต้ังค�ำถามให้ เราจะสามารถสนทนากับตัวเองได้หรือไม่ กระบวนกรเห็นว่า การมีผู้ช่วยจะท�ำให้การแยกแยะตัวตนต่างๆ ท่ีถูกยึดถือง่ายขึ้น เพราะการสนทนากับตนเองอาจจะท�ำให้เกิดความสับสนว่า ท้ายที่สุดเราก�ำลังสวม บทบาทเป็นตัวตนแบบไหน เพราะคนเราจะมีตัวตนท่ียึดถือหลากหลายมาก อย่างไร กต็ าม สง่ิ สำ� คญั ทีส่ ดุ ในกระบวนการสัมภาษณ์ตวั ตนน้ี คอื “การร้ตู ัว” ดงั นัน้ หากจะ ใชว้ ธิ กี ารดังกลา่ วโดยไม่มีผูช้ ่วย แต่ละคนจะตอ้ งรู้ให้ชัดเจนวา่ กำ� ลงั อยูใ่ นบทบาทของ ตัวตนใด จะเหน็ ว่า กจิ กรรมการมองเห็นและทำ� ความเขา้ ใจตัวตนตา่ งๆ ของตวั เอง ต้อง อาศัยการพิจารณา ใคร่ครวญ และสะท้อนย้อนมองตัวเองอย่างจริงแท้เป็นพ้ืนฐาน โครงการจงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การฝกึ ฝนทกั ษะตา่ งๆ เหลา่ นอี้ ยา่ งยง่ิ ยวด โดยสอดแทรก เข้าไปในแทบทุกกิจกรรมของโครงการ และหลายส่วนถูกน�ำมากล่าวถึงในรายงาน ฉบบั น้ีดว้ ย 27ผ้นู ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

“เผชิญหนา้ กับความขัดแยง้ ”

เปดิ รับความขดั แยง้ โครงการผู้น�ำแห่งอนาคตคาดหวังว่า กิจกรรมของโครงการจะเป็นส่วนหน่ึงใน การสร้างผนู้ �ำที่จะช่วยขบั เคล่อื นบ้านเมืองใหพ้ น้ จากวกิ ฤต โดยเฉพาะทเ่ี กดิ จากความ ขัดแย้งในมิติต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม หรือการเมือง ที่ดูเหมือนจะมีความ รนุ แรงมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ดงั นน้ั การจดั กระบวนการเรยี นรใู้ หเ้ ครอื ขา่ ยไดท้ ดลองเผชญิ หนา้ กับความขัดแยง้ ที่อาจจะเกิดข้นึ ในการทำ� งานขับเคล่ือนสังคม เพือ่ ให้พวกเขาสามารถ ทำ� งานกบั กลมุ่ คนท่มี ีความแตกต่างหลากหลายและความขัดแย้งทางความคิดได้ จงึ มี ความสำ� คัญอย่างยงิ่ ด้วยเหตุน้ี ในเวทีการเรียนรู้ภาวะการน�ำเพ่ือการขับเคล่ือนสังคม (Social Facilitation) ครง้ั ที่ 1 ทางโครงการจึงออกแบบกิจกรรมต่างๆ ให้ผูเ้ ขา้ ร่วมไดท้ ดลอง ประสบกบั ภาวะความขัดแย้ง เพ่ือใหแ้ ตล่ ะคนมโี อกาสสงั เกตตนเองว่า เมอื่ ต้องเผชิญ กับสถานการณ์ความขัดแย้ง จะเกิดปฏิกิริยาภายในใจอย่างไร แล้วสามารถก้าวข้าม หรือปล่อยวางความขัดแย้งท่ีเกิดจากความคิด จนยอมรับความแตกต่างด้วยความ เมตตาได้หรือไม่ 29ผู้นำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

แต่ก่อนจะท�ำกิจกรรมดังกล่าว ทางโครงการได้จัดกิจกรรมแนะน�ำเครื่องมือ และแนวคิดต่างๆ ท่ีจะช่วยให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจความแตกต่างหลากหลาย และรับมือ กับความขัดแย้งโดยหลีกเล่ียงการใช้ความรุนแรงได้ เช่น แนวคิดเรื่องผู้น�ำ 4 ทิศจาก ภูมิปัญญาชนเผ่าอินเดียนแดง ที่เชื่อว่ามนุษย์เรามีพฤติกรรมพ้ืนฐานที่แตกต่างกัน โดยเปรียบเทียบตามพฤติกรรมของสัตว์ 4 ชนิด ได้แก่ กระทิง หนู หมี และอินทรี จึงมีลักษณะนิสัยและให้ความส�ำคัญกับคุณค่าแตกต่างกัน เช่น หนูจะให้ความส�ำคัญ กับความสัมพันธ์เป็นหลัก หมีจะให้ความส�ำคัญกับรายละเอียดและข้อมูลอย่างมาก กระทงิ จะใหค้ วามสำ� คญั กบั เปา้ หมาย สว่ นอนิ ทรจี ะใหค้ วามสำ� คญั กบั การมองภาพรวม และความคิดนอกกรอบ เป็นต้น ถ้าแต่ละกลุ่มมองไม่เห็นความแตกต่างและไม่เข้าใจ ว่าพน้ื ฐานนสิ ัยแตล่ ะแบบล้วนมขี ้อดขี อ้ เสีย อาจจะทำ� ให้เกิดความขดั แยง้ ไดไ้ มย่ าก นอกจากแนวคิดเรื่องผู้น�ำ 4 ทิศแล้ว โครงการยังให้ผู้เข้าร่วมเวทีได้เรียนรู้และ ทดลองใช้รูปแบบของภาษาและแนวทางการสื่อสารท่ีจะช่วยให้เข้าใจความรู้สึกของ ผู้อื่น เช่น กิจกรรมรูปแบบการพูด 8 อย่างที่ควรหลีกเลี่ยงเมื่อต้องรับฟังปัญหาของ ผอู้ ่ืน เชน่ การถามแทรก พยายามไกล่เกล่ีย ยแุ ยง วเิ คราะห์หาเหตุผล แนะน�ำสัง่ สอน แก้ปัญหาให้ และด่วนปลอบใจ หรือการฝึกให้เข้าถึงความรู้สึกและความต้องการท่ี แทจ้ รงิ นอกเหนอื คำ� พดู ของคนท่เี ราสอ่ื สารด้วย เป็นต้น ซงึ่ ล้วนแต่เปน็ เครอื่ งมือท่จี ะ ช่วยให้คู่ขัดแย้งมีความเข้าใจกันมากข้ึน ยอมรับความแตกต่างระหว่างกันได้ง่ายขึ้น และชว่ ยผ่อนคลายบรรยากาศไมใ่ หต้ งึ เครยี ดจนกลายเป็นความรนุ แรง ส�ำหรับกิจกรรมท่ีกระบวนกรได้จัดเตรียมให้ผู้เข้าร่วมอบรมเผชิญหน้ากับ ความขัดแย้งทางความคิด คือ กิจกรรม Group Process (กระบวนการกลุ่ม) โดย กระบวนกรได้เลือกประเด็นท่ีผู้เข้าร่วมช่วยกันระดม ซ่ึงเป็นประเด็นทางการเมืองท่ี 30 l ผ้นู ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรยี นฯ

ก่อให้เกิดความขัดแย้งและแตกแยกทางความคิดอย่างมากในสังคมไทยปัจจุบันมา หนึ่งประเด็น แล้วแบ่งผู้เข้าร่วมอบรมออกเป็นฝ่ายต่างๆ ตามความคิดเห็นท่ีแต่ละคน มีต่อประเด็นน้ัน ก่อนจะให้แต่ละฝ่ายมีโอกาสน�ำเสนอความคิด และถกเถียงอย่าง เท่าเทยี มกัน ดูเหมือนว่าการถกเถียงกันระหว่างผู้เข้าร่วมในเวที Social Facilitation ค่อน ข้างเป็นไปอย่างสุภาพ ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการให้ข้อมูล อธิบายเหตุผล และใช้ตรรกะ ต่างๆ มาสนับสนุนความคิดเห็นของฝ่ายตนเอง ซ่ึงไม่น่าแปลกใจ เน่ืองจากผู้เข้าร่วม ต่างมีประสบการณ์การท�ำงานมาอย่างยาวนาน และมีวุฒิภาวะสูง แต่ที่น่าสังเกต คือ ไม่ค่อยมีผู้เข้าร่วมคนใดพูดถึงประเด็นทางการเมืองดังกล่าวจากความรู้สึกภายใน หรือประสบการณ์ตรงของตนเอง รวมถึงความรู้สึกต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในระหว่างกิจกรรม มากนัก ซึ่งตามความเช่ือของ Group Process สิง่ เหล่าน้มี ีความสำ� คญั ตอ่ การชว่ ยให้ คขู่ ัดแยง้ หรือคนเหน็ ตา่ งสามารถเชือ่ มโยงและเข้าใจกันและกันไดม้ ากขึ้น แมว้ า่ ทมี กระบวนกรจะพยายามใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มหาขอ้ สรปุ รว่ มกนั ในการจดั การความ ขดั แยง้ เปน็ กระบวนการสดุ ทา้ ยกอ่ นจบกจิ กรรม รวมถงึ ใหฝ้ า่ ยทมี่ คี วามคดิ ไมเ่ หมอื นกนั พดู แทนความรสู้ กึ ของอกี ฝา่ ยหนง่ึ ออกมา เพอ่ื คลคี่ ลายบรรยากาศทอี่ มึ ครมึ ระหวา่ งการ ทำ� กจิ กรรมลง แตด่ เู หมอื นวา่ ทงั้ ผเู้ ขา้ รว่ มและกระบวนกรเองจะยงั มคี วามรสู้ กึ คา้ งคาใจ และรสู้ กึ วา่ กระบวนการยงั ไมไ่ ดค้ ลค่ี ลายอยา่ งแทจ้ รงิ ความเหน็ อกเหน็ ใจและเขา้ ใจตอ่ ฝา่ ยที่มีจุดยนื แตกต่างกนั อันเป็นเป้าหมายของกิจกรรม ดูเหมอื นจะยังไมเ่ กดิ ขึน้ อยา่ ง ชัดเจนนัก เพราะในช่วงท้ายของกิจกรรม เห็นได้ชัดว่า มีผู้เข้าร่วมบางส่วนเลิกสนใจ ต่อการถกเถยี งในวง และหนั ไปท�ำอยา่ งอืน่ เชน่ เล่นโทรศพั ทม์ อื ถอื แทน บรรยากาศ ในห้องจงึ เต็มไปด้วยความอึมครึมน่าอึดอัด 31ผนู้ �ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

ในคืนเดียวกันน้ันเอง โครงการและกระบวนกรจึงเสนอให้มีวงสนทนาพิเศษ อีกรอบหน่ึง เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมท่ียังรู้สึกค้างคาใจได้แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมในหัวข้อ ถกเถยี งเดิม หรอื สะท้อนย้อนมองกจิ กรรม Group Process ที่ไดท้ ำ� ไปแลว้ กลุ่มท่ีเป็นฝ่ายเสียงส่วนน้อยในด้านความคิดเห็นทางการเมืองจากกิจกรรม ดังกลา่ ว ได้ระบายความร้สู ึกว่า กอ่ นทพี่ วกเขาจะแสดงความคิดเหน็ ออกไปน้นั หลาย คนในกลุม่ กงั วลวา่ สิ่งท่ีพูดจะกระทบตอ่ ภาพลกั ษณข์ องตนเองหรือไม่ จะทำ� ให้เพื่อน มองตนเองอย่างไร และยังได้แสดงความไม่พอใจที่กระบวนกรไม่ห้ามปราม เมื่อฝ่าย เสียงสว่ นมากพดู ถึงฝา่ ยเสยี งสว่ นน้อยในแงท่ ีท่ ำ� ให้พวกเขาร้สู กึ ว่าถูกตดั สิน ปรากฏวา่ มผี เู้ ขา้ รว่ มคนหนงึ่ ทอี่ ยอู่ กี กลมุ่ (กลมุ่ ทดี่ เู หมอื นจะเปน็ คนกระแสหลกั ในสังคมไทย) และในระหว่างท�ำกิจกรรม เป็นกลุ่มท่ีแทบจะไม่ได้พูดหรือแสดงความ คดิ เหน็ เลย ไดแ้ บง่ ปนั วา่ ระหวา่ งทำ� กจิ กรรม ตวั เขาเองมคี วามเจบ็ ปวดและอดึ อดั มาก รสู้ กึ วา่ ไมส่ ามารถพดู อะไรได้ สว่ นหนง่ึ อาจเปน็ เพราะมขี อ้ มลู ไมม่ ากพอจะโตแ้ ยง้ ใครได้ การสะท้อนความรู้สึกดังกล่าว ท�ำให้ผู้เข้าร่วมในวงสนทนารวมถึงคนที่มองว่าตนเอง เปน็ เสยี งสว่ นนอ้ ยในกจิ กรรมตระหนกั วา่ ความจรงิ แลว้ คนทด่ี เู หมอื นเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ คนส่วนใหญ่ อาจจะเป็นคนส่วนน้อยท่ีสุดที่ถูกละเลย ไม่ถูกมองเห็นและได้ยินเสียงก็ เป็นได้ โดยเฉพาะถ้าเป็นกลุ่มคนที่ไม่ใช่นักพูด และมักจะใช้ความรู้สึกในการส่ือสาร มากกวา่ ใชเ้ หตผุ ลท่ีซบั ซ้อนมารองรบั ส่ิงทีต่ นเองเชือ่ ทางดา้ นทมี กระบวนกรกย็ อมรบั วา่ ระหวา่ งการดำ� เนนิ กจิ กรรม Group Process นน้ั พวกเขาไมไ่ ดส้ นใจทจ่ี ะดแู ลเยยี วยาความเจบ็ ปวดทเ่ี กดิ จากกระบวนการแกค่ นกลมุ่ ดงั กลา่ วสกั เทา่ ไร เนอื่ งจากคดิ วา่ เปน็ คนสว่ นใหญข่ องสงั คม จงึ สนใจทจ่ี ะทำ� ใหเ้ สยี งของ คนที่ดูเหมอื นเป็นคนสว่ นน้อยถกู รับฟังมากกวา่ 32 l ผู้นำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรยี นฯ

ผู้เข้าร่วมท่ีอยู่ฝ่ายเสียงส่วนน้อยหลายคนได้สะท้อนเพิ่มเติมว่า ในระหว่างท�ำ กิจกรรม พวกเขาเองก็มองเห็นแต่แง่มมุ ท่เี จ็บปวดของตนเอง ไม่ไดส้ ังเกตถึงความรู้สึก ภายในของฝ่ายที่คิดตรงข้ามเลย ท้ังๆ ที่เนื้อหาท่ีพวกเขาอภิปรายในกิจกรรมอาจจะ ท�ำร้ายจติ ใจกลมุ่ คนทไ่ี มไ่ ด้มคี วามคดิ ความเชือ่ แบบเดยี วกัน วงสนทนายังเกิดการเรียนรู้อีกว่า คนท่ีดูเหมือนจะเป็นกลุ่มเสียงส่วนน้อยของ สงั คมน้นั ในความเปน็ จรงิ แลว้ ยงั มมี ติ ิอื่นๆ เช่น ความเปน็ คนเมอื ง มีการศกึ ษาสูง และ เปน็ คนมโี วหารดี ทที่ ำ� ใหม้ เี สยี งดงั กวา่ คนอกี หลายๆกลมุ่ นบั เปน็ บทเรยี นทสี่ ำ� คญั ของ โครงการวา่ ในการจดั กจิ กรรมทอี่ าจสรา้ งบาดแผลและความขดั แยง้ แกผ่ เู้ ขา้ รว่ มไดน้ นั้ กระบวนกรจ�ำเป็นต้องมีความละเอียดอ่อนอย่างมาก จะต้องสนใจเสียงทุกเสียงอย่าง แทจ้ รงิ ไม่ถูกกรอบความเชือ่ ตา่ งๆ เชน่ ความเปน็ คนสว่ นใหญแ่ ละส่วนนอ้ ยมาบดบัง ตลอดจนตระหนกั ถงึ สถานะและภมู ิหลงั ท่ีแตกตา่ งกนั ของผู้เข้าร่วมแต่ละคนอกี ด้วย ... นอกจากกจิ กรรม Group Process ในเวที Social Facilitation แลว้ ในเวทเี สรมิ ศกั ยภาพคนรนุ่ ใหม่ “ปลกุ พลงั เปลี่ยนไทย” (Inspiring Thailand) ครงั้ หนึ่ง โครงการ ไดจ้ ดั กจิ กรรมในลกั ษณะใกลเ้ คยี งกนั คอื การโตว้ าทรี ะหวา่ งคนทม่ี คี วามคดิ เหน็ ไมต่ รง กันสองฝ่าย ในหัวข้อ “ขนมจีนหรือน้�ำบูดูควรจะเป็นอาหารประจ�ำภาคของภาคใต้” โดยก่อนจะท�ำกิจกรรม กระบวนกรได้ฝึกทักษะให้แก่ผู้เข้าร่วมเพ่ือลดความประหม่า และช่วยให้เข้าถึงบทบาทสมมุติ ผ่านกิจกรรมการละครอย่างง่ายๆ เช่น การให้ผู้เข้า รว่ มชว่ ยกนั ตอ่ ตวั เปน็ อนุสาวรีย์รปู แบบตา่ งๆ ภายในเวลา 10 วินาที เป็นตน้ เม่ือเร่ิมท�ำกิจกรรม พบว่าระหว่างการถกเถียงกันตามหัวข้อ ผู้เข้าร่วมจะมี อารมณ์รว่ มเปน็ อยา่ งมาก จนท�ำให้บรรยากาศของวงค่อยๆ เปลย่ี นจากการยกเหตุผล 33ผู้นำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

ว่าฝั่งของตนมีคุณสมบัติหรือข้อดีอย่างไร มาเป็นการถกเถียงกันว่าอีกฝ่ายมีข้อเสีย อย่างไร ทำ� ใหบ้ รรยากาศคุกรุ่นมากขึ้นเร่อื ยๆ มเี สียงโห่รอ้ งแสดงความสะใจเวลาฝ่าย ของตนพูดโจมตีฝ่ายตรงข้าม และเมื่อกิจกรรมด�ำเนินไปได้ระยะหน่ึง รูปแบบการ ถกเถียงจะค่อยๆ เปลี่ยนจากการให้เหตุผลหรือข้อมูลมาเป็นการใช้ค�ำพูดเร้าอารมณ์ เน้นความสะใจ และเริ่มโจมตีคุณลักษณะของฝ่ายตรงข้าม เช่น อีกฝ่ายเป็นคนอ้วน เพราะกนิ ขนมจนี เปน็ ตน้ เม่ือหมดเวลาท�ำกิจกรรม กระบวนกรจึงใหผ้ ้เู ข้ารว่ มเขา้ สภู่ าวะสงบนิง่ แล้วนกึ ทบทวนดวู า่ ในกจิ กรรมทผี่ า่ นมาเกดิ อะไรขนึ้ บา้ ง แตล่ ะคนเลอื กทจ่ี ะแสดงบทบาทอะไร รู้สึกพอใจและไมพ่ อใจตอ่ การกระทำ� หรือค�ำพดู แบบไหนบ้าง เพือ่ ใหผ้ ู้เข้าร่วมครุ่นคิด และยอ้ นมองตนเอง พร้อมตัง้ ค�ำถามต่อผ้เู ขา้ รว่ มวา่ มีใครบ้างทีช่ อบกนิ อาหารท้ังสอง อย่างนี้ ปรากฏวา่ ทกุ คนตา่ งยกมือขึน้ กระบวนกรจงึ ชใ้ี ห้เห็นว่า ส่งิ ที่น่าสนใจคอื เมื่อมี การเลอื กขา้ ง จะเกดิ การแบง่ แยกเปน็ พวกเขาพวกเราทพี่ รอ้ มจะทำ� ทกุ อยา่ งเพอื่ ใหฝ้ า่ ย ตนชนะอย่างเห็นได้ชัด เน้นการโจมตีติเตียนฝ่ายตรงข้ามจนไม่เหลือการรับฟังอยู่เลย พรอ้ มกบั แสดงทา่ ทขี องการตอ่ สอู้ กี ดว้ ย แมว้ า่ ในใจของแตล่ ะคนอาจจะมสี ว่ นทเ่ี หน็ ดว้ ย และไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั แตล่ ะฝา่ ย แตเ่ มอ่ื มคี วามขดั แยง้ สง่ิ ทแ่ี ตล่ ะคนเชอ่ื หรอื เปน็ จรงิ ๆ อาจ ไม่สำ� คญั เท่ากับความตอ้ งการเอาชนะกนั จึงไม่น่าแปลกใจว่าท�ำไมประเทศไทยจึงเกดิ ปญั หาความขัดแย้งทางการเมอื งขึน้ บอ่ ยคร้ัง และมีแนวโนม้ ทวคี วามรุนแรงขน้ึ เร่ือยๆ เม่อื เชอื่ มโยงเขา้ มาในชีวติ จรงิ ถา้ แต่ละคนมีความเห็นไมต่ รงกนั แลว้ เลอื กที่จะ ถกเถยี งกนั ดว้ ยทา่ ทมี งุ่ เอาชนะกนั อยา่ งเดยี ว เพอ่ื นสนทิ มติ รสหายกส็ ามารถเปลย่ี นไป เปน็ ศตั รไู ด้ ทำ� งานรว่ มกบั ใครกจ็ ะไมไ่ ดร้ บั ความรว่ มมอื แตเ่ กดิ ปญั หาและความขดั แยง้ ขนึ้ แทน จนงานไมก่ า้ วหนา้ หรอื สำ� เรจ็ ลลุ ว่ ง ทา้ ยทสี่ ดุ หลายคนหลายองคก์ รตอ้ งทำ� งาน 34 l ผ้นู ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ

แบบหวั เดยี วกระเทยี มลีบ ไม่สามารถสร้างเครือข่ายหรอื ผลกระทบในวงกวา้ งได้ และ ยังทำ� ใหเ้ กดิ ความสัมพันธ์ที่ไม่ดี สร้างความทุกข์ใจแก่ทุกฝา่ ยอีกด้วย ดังนั้น ในบริบทสังคมปัจจุบัน ไม่มีใครคนใดคนหนึ่งหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่ง สามารถขับเคลื่อนสังคมโดยปราศจากเครือข่ายและความร่วมมือจากผู้อื่นได้ การ พยายามไม่ตดั สนิ ต�ำหนิ ตเิ ตียน ประนามสง่ิ ท่แี ตกต่างจากความเชื่อหรือคา่ นิยมของ ตนเอง แต่พยายามเข้าใจผู้อ่ืน จึงเป็นส่ิงส�ำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยามท่ีบ้าน เมืองก�ำลังก้าวเข้าสู่วิกฤตท่ีพร้อมจะเกิดความขัดแย้งและมีการใช้ความรุนแรงอย่าง เช่นสงั คมไทยในปจั จบุ ัน 35ผนู้ ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

1 2 1, 2 “Systems Thinking”

มองเห็นราก ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมศักยภาพของโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต มักจะได้เห็น รูปวาดภูเขาน�้ำแข็งบนกระดาษฟลิปชาร์ตติดอยู่หน้าห้องกิจกรรมเสมอ เพราะรูป ดงั กล่าวถกู ใชเ้ ป็นสัญลกั ษณ์ของความซับซ้อนภายใตส้ ิง่ ทถี่ กู มองเห็น เนือ่ งจากมีเพยี ง 1 ใน 8 ส่วนของภูเขาน้�ำแข็งที่อยู่เหนือน�้ำ แต่เรามักจะมองไม่เห็นรากฐานส่วนใหญ่ ของภูเขาน้�ำแข็งท่ีอยู่ใต้น�้ำ ยอดภูเขาน�้ำแข็งจึงเปรียบเสมือนปรากฏการณ์ สิ่งท่ีเรา มองเห็นและรับรู้ ในขณะที่ส่วนที่อยู่ใต้น้�ำเปรียบเสมือนสิ่งที่เป็นรากเหง้าต้นตอของ แรงผลักดันให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ขึ้น แต่เรามักจะมองไม่เห็น หลายครั้งความ พยายามที่จะแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์ที่เป็นปัญหา หรือพฤติกรรมบาง อยา่ ง ได้ผลเพียงช่วั คราว แตเ่ ม่อื แก้ไขไปไดไ้ ม่นาน ปัญหารูปแบบเดิมๆ ก็กลบั มาเกิด ขึ้นอกี หรอื บางครง้ั รุนแรงยงิ่ กว่าเดมิ สาเหตุเนอ่ื งมาจากกระบวนการหรือวธิ ีการที่ใช้ เป็นการแก้ปัญหาในเชงิ ปรากฏการณ์ ไมไ่ ดแ้ ก้ไขหรอื เปลยี่ นแปลง “ราก” ของปญั หา ท่ีผลักดันให้เกิดปรากฏการณ์น้ันๆ น่ันเอง (ตัวอย่างเช่น สภาพความขัดแย้งทางการ เมืองในประเทศไทยตลอด 10 ปีท่ีผ่านมา แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงผู้น�ำทางการเมือง 37ผนู้ ำ� แหง่ อนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

หรือการร่างกฎหมาย กฎการปกครองประเทศใหม่ แตท่ ้ายที่สดุ ก็ยังเกิดความขัดแยง้ แบบเดิมๆ ข้นึ อย่ดู ี) ดังน้ัน กิจกรรมเสริมศักยภาพต่างๆ ของโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต เช่น ในเวที การเรียนรภู้ าวะการน�ำเพ่ือการขับเคล่อื นสังคม (Social Facilitation) ครั้งท่ี 2 และ เวทีเครือข่ายการเรียนรู้ผู้น�ำแห่งอนาคต (CL) ทุกคร้ัง จึงได้จัดให้มีกระบวนการหรือ กิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างเสริมให้ผู้เข้าร่วมสามารถมองเห็น “ราก” ของปรากฏการณ์ ทางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม รวมถึงทำ� ความเขา้ ใจตนเองและผูอ้ ืน่ ได้ดยี ิ่งขนึ้ โดยในเวทีเครือข่ายการเรียนรู้ผู้น�ำแห่งอนาคต (CL) กระบวนกรได้พยายาม ชี้ให้ผู้เข้าร่วมเห็นความเกี่ยวเน่ืองของสิ่งต่างๆ ผ่านการใคร่ครวญจนมองเห็นความ เช่ือมโยงระหว่างตนเองและบริบททางสังคมท่ีเป็นอยู่ พร้อมท้ังแสดงให้เห็นว่า ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นมีความซับซ้อนและถูกผลักดันด้วยปัจจัยหลายอย่างท่ี เก่ียวพันกัน ไม่ได้เกิดจากปัจจัยใดปัจจัยหน่ึง ดังนั้น การมองส่ิงต่างๆ เพียงมุมใดมุม หนงึ่ อยา่ งตายตวั หรอื การไมย่ อมเปดิ ใจลดกำ� แพงความคดิ ความเชอ่ื และวธิ กี ารทเ่ี คย ยึดถอื ปฏิบตั ิลง จะท�ำใหม้ องไมเ่ ห็นรากเหงา้ ของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ สำ� หรับเวทกี ารเรยี นรภู้ าวะการนำ� เพ่ือการขับเคลื่อนสังคม ครัง้ ที่ 2 กระบวนกร ได้สอนแนวคิด Systems Thinking หรือการคิดเชิงระบบ ซึ่งเป็นการมองเห็นพลัง อันซับซ้อนที่เช่ือมโยงเก่ียวพันและเป็นแรงผลักดันให้เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ขึ้น แมว้ า่ Systems Thinking จะเป็นแนวคิดจากตะวนั ตกและถกู เผยแพร่โดยนกั คิดชาว ตะวนั ตกอยา่ ง ออตโต ชารม์ เมอร์ (Otto Scharmer) และ ปเี ตอร์ เซงเก (Peter Senge) แต่ความจริงแล้วมีความสอดคล้องกับแนวคิดของปรัชญาตะวันออกหลายส�ำนัก ไม่ ว่าจะเปน็ หลกั หยนิ หยางของลัทธเิ ตา๋ หรือหลกั อิทัปปัจจยตาและปฏจิ จสมุปบาทของ 38 l ผู้น�ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ

ศาสนาพุทธ นับเป็นเคร่ืองมือในการพิจารณารากเหง้าและความเช่ือมโยงท่ีซับซ้อน ของปรากฏการณต์ ่างๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพอย่างหน่ึง หลกั ของการคดิ เชงิ ระบบ คอื การวเิ คราะหป์ รากฏการณต์ า่ งๆใน 4 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดับปรากฏการณ์ (Event) คือ เหตุการณ์ต่างๆ ตามท่ีเราเห็นหรือได้ยินมา เช่น ชาวบา้ นเปน็ หนเ้ี รอ้ื รงั หรอื เหด็ โคนหมดปา่ เปน็ ตน้ การมองเหน็ ในระดบั ปรากฏการณ์ เปรียบเสมือนการเหน็ ยอดภูเขาน�้ำแข็งท่ีโผลเ่ หนือนำ�้ ระดบั ทส่ี อง การเห็นแบบแผน (Pattern) คือ เหตกุ ารณ์หรอื ปรากฏการณใ์ ด เกดิ ขนึ้ ซำ�้ ๆกนั มกั จะมลี กั ษณะรว่ มทเ่ี ปน็ แบบแผนบางอยา่ ง เชน่ พระจนั ทรจ์ ะเตม็ ดวง และเกิดคนื เดอื นมืดทุก14-15วนั สลับกนั ไป หรือตามสถติ ใิ นสมัยกอ่ น กรงุ เทพฯมกั เกดิ ไฟไหมบ้ อ่ ยๆในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ อนั เปน็ ชว่ งเทศกาลตรษุ จนี ทม่ี กี ารจดุ ประทดั และ เผากระดาษเงนิ กระดาษทองเพอ่ื เซน่ ไหว้บรรพบรุ ุษ เปน็ ตน้ ซึ่งการมองเหน็ แบบแผน จะช่วยท�ำใหเ้ ราสามารถเหน็ แนวโนม้ และรากเหงา้ ของเหตกุ ารณไ์ ดด้ ขี ้นึ ระดับทส่ี าม การเหน็ โครงสร้าง (Structure) คือ การมองเหน็ วา่ มรี ะบบหรือ โครงสร้างอะไรบ้าง ที่ท�ำให้เกิดปรากฏการณ์หรือแบบแผนเช่นนั้น ถ้าเปรียบเป็น ภูเขาน้�ำแข็ง การมองเห็นโครงสร้างจะไม่ใช่การเห็นแค่เพียงภูเขาน้�ำแข็ง แต่ยังเห็น ถึงปัจจัยต่างๆ ท่ีมาประกอบกันจนเป็นภูเขาน้�ำแข็งในลักษณะท่ีเป็นอยู่ และท�ำให้ ภูเขาน้�ำแข็งด�ำรงอยู่ เช่น อุณหภูมิ องศาการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ การ เคล่อื นไหวของคลน่ื ลม เปน็ ต้น และสุดท้าย ระดับความเช่ือ (Mental model) คือ การมองเห็นภาวะหรือ จิตส�ำนึกภายในของแต่ละคนท่ีมีส่วนท�ำให้เกิดปรากฎการณ์ต่างๆ ไม่ใช่การท�ำความ เข้าใจสภาวะภายนอกเพยี งอยา่ งเดยี ว 39ผนู้ ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

ถ้าเรามองไม่เห็นพลังอันลึกซ้ึงท่ีคอยผลักดันให้เกิดปัญหาหรือปรากฏการณ์ ตา่ งๆ การจดั การปญั หาตา่ งๆจะเปน็ เพยี งแคก่ ารจดั การเฉพาะหนา้ หรอื ทป่ี ลายเหตุ ซง่ึ อาจารยช์ ยั วฒั น์ ถริ ะพนั ธ์ุ กระบวนกรผดู้ ำ� เนนิ กจิ กรรมเรยี กวา่ การจดั การเชงิ อเี วนต์ (event) ไมใ่ ชก่ ารจดั การปญั หาทรี่ ากเหงา้ อยา่ งแทจ้ รงิ ทำ� ใหท้ า้ ยทสี่ ดุ แลว้ จะเกดิ ปญั หา แบบเดิมๆ ซ�้ำแลว้ ซ้ำ� เล่า อย่างไรกต็ าม ในการฝึกคดิ เชงิ ระบบ กอ่ นจะไปถึงการทำ� ความเขา้ ใจแบบแผน หรือโครงสร้างต่างๆ กระบวนกรได้ออกแบบกิจกรรมเสริมทักษะให้ผู้เข้าร่วมฝึก วิเคราะห์ว่า ปรากฏการณ์อะไรคือปัญหาที่เราต้องการจะวิเคราะห์จริงๆ เพราะสิ่งที่ เราคิดวา่ เป็นปัญหา อาจจะเปน็ เพียงแค่สว่ นหนึ่งของอกี ปัญหาหนึ่ง อยา่ งเช่น ปญั หา สนิ คา้ เกษตรราคาตกตำ�่ อาจจะเปน็ สว่ นหนง่ึ ของปญั หาการมรี ายจา่ ยสงู กวา่ รายไดข้ อง เกษตรกร เป็นตน้ ถ้าแยกแยะไม่ออกกจ็ ะมองไม่เห็น “รากเหง้า” ทแี่ ทจ้ ริงของปัญหา นนั้ ในเชงิ ระบบได้ อกี ประเดน็ หนง่ึ ทก่ี ระบวนกรเนน้ ยำ้� มากคอื ปญั หาทถี่ กู หยบิ ยกมาพจิ ารณาควร จะเป็นปัญหาจริงในเชิงรูปธรรม เพราะการนิยามปัญหาที่เป็นนามธรรมจะท�ำให้การ วิเคราะห์ปัญหาในเชิงลึกตามข้อเท็จจริงเป็นไปได้ยาก เช่น มีผู้เข้าร่วมคนหนึ่งนิยาม “ปญั หาหนสี้ นิ ” วา่ เปน็ “ปญั หาความมน่ั คงทางรายได”้ ของเกษตรกร ทำ� ใหเ้ กดิ ความ คลุมเครือว่าคืออะไร ครอบคลุมอะไรบ้าง มีแบบแผนอย่างไร แต่ถ้าใช้ค�ำว่าปัญหา หน้ีสนิ จะมคี วามชดั เจนกว่า เป็นตน้ สำ� หรบั ทกั ษะทจ่ี ะนำ� ไปสกู่ ารมคี วามคดิ เชงิ ระบบนน้ั กระบวนกรไดใ้ หผ้ เู้ ขา้ รว่ ม ฝึกฝนผ่านกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการสืบสาวค้นหาที่มาที่ไปของส่ิงต่างๆ อย่าง เป็นข้ันเป็นตอน ด้วยการท�ำแผนภูมิท่ีมาท่ีไปของเหตุการณ์ในระดับลึกสุดเท่าที่จะ 40 l ผนู้ �ำแหง่ อนาคต: ถอดบทเรียนฯ

เป็นไปได้ โดยการตั้งค�ำถามเจาะลึกลงไปเรื่อยๆ เช่น ให้โจทย์ผู้เข้าร่วมท�ำแผนภูมิ ความสำ� เร็จของนกั ฟตุ บอลระดับโลกคนหนง่ึ ว่าเกิดจากอะไรไดบ้ ้าง โดยเร่มิ จากการ พิจารณา “ปัจจัยท่ีสร้างความส�ำเร็จ” ให้แก่นักฟุตบอลคนนั้น แล้วต้ังค�ำถามต่อใน ระดับถัดไปว่า ปจั จัยท่ีสร้างความส�ำเรจ็ “เกิดจากอะไรบา้ ง” และ “ทำ� ไมจึงทำ� ใหเ้ กดิ ความสำ� เรจ็ ” จนกระท่งั พบรากฐานของสิ่งทตี่ ้องการคน้ หา หรือกิจกรรมให้ผู้เข้าร่วมทดลองเลือกเหตุการณ์ท่ีเป็นปัญหา แล้วไล่ล�ำดับ ความเปลย่ี นแปลงและบรบิ ททเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หานน้ั ๆออกมา โดยใชข้ อ้ มลู สนบั สนนุ เพ่ือวินิจฉัยแบบแผนของปัญหาว่าเริ่มมีความรุนแรงและความถ่ีสูงขึ้นเมื่อไร ในช่วง เวลาไหน ปีไหน และช่วงเวลาไหนของปีท่ีเกิดปัญหามากเป็นพิเศษ จากนั้น จึงให้ ผู้เข้าร่วมพิจารณาความเปล่ียนแปลงด้านอ่ืนๆ ในบริบทของพื้นท่ีว่า มีบริบทความ เปล่ียนแปลงใดทีส่ อดคล้องกับปัญหาน้นั ๆ อยา่ งเชน่ ผู้เข้ารว่ มคนหนง่ึ มองว่า ปญั หา หน้ีสินในพื้นที่ของตนเองเกิดข้ึนพร้อมๆ กับการเปลี่ยนแปลงวิธีการและปริมาณการ ปลกู พชื เศรษฐกจิ เป็นตน้ นอกจากการท�ำความเข้าใจรากของปัญหาหรือปรากฏการณ์ต่างๆ ทางสังคม แลว้ การมองเหน็ รากของพฤตกิ รรมหรอื การกระทำ� ของคนอนื่ วา่ ภายใตส้ ง่ิ ทแี่ ตล่ ะคน แสดงออกเกิดจากแรงผลักดันอะไรก็เป็นเรื่องส�ำคัญเช่นกัน หลายคร้ังการประสบกับ พฤติกรรมของผู้อน่ื ทที่ ำ� ให้เราเกดิ ความไม่เหน็ ด้วย ไมเ่ ข้าใจ ไมพ่ อใจ ถ้าไมม่ องลกึ ลง ไปถงึ รากทที่ ำ� ให้เกดิ พฤติกรรมเหลา่ นั้นขนึ้ ซึ่งอาจจะมาจากความรู้สกึ ความต้องการ ความเช่ือ การใหค้ ุณคา่ ทแ่ี ตกตา่ งกนั รวมถึงรากความคิดทท่ี ำ� ให้แต่ละคนเกิดความไม่ พอใจและไมเ่ หน็ ดว้ ย อาจจะทำ� ใหค้ วามไมพ่ อใจทม่ี ไี ปเบยี ดบงั มติ ขิ องความเปน็ มนษุ ย์ 41ผู้น�ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

ในแงอ่ ่นื ๆ ของคู่ขัดแยง้ จนไมส่ ามารถรสู้ กึ เมตตาต่อกนั สรา้ งความรว่ มมือกนั ทำ� งาน ร่วมกนั หรอื ในบางกรณอี าจจะนำ� ไปสู่การใช้ความรนุ แรงต่อกันได้ ดังนั้น โครงการผู้น�ำแห่งอนาคตจึงเห็นว่า ทักษะในการมองเห็นรากท่ีมาของ พฤติกรรมของตนเองและผู้อื่น เพ่ือท�ำความเข้าใจพฤติกรรมท่ีแตกต่างจากท่ีตนเอง ยึดถือ จึงมีความส�ำคัญไม่ต่างไปจากการเห็นรากของปรากฏการณ์ภายนอก โดยจัด กจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ กจิ กรรมผู้นำ� 4 ทศิ กจิ กรรมวิเคราะหเ์ งาของตนเอง การตัง้ คำ� ถาม ให้ผู้เข้าร่วมได้สะท้อนและมองเห็นตัวเองให้แง่มุมต่างๆ ดังได้กล่าวไปแล้วในรายงาน ช่วงต้น เพื่อช่วยให้ผู้เข้าร่วมมองเห็นรากและเข้าใจพฤติกรรมของตนเองและผู้อื่นได้ อยา่ งแทจ้ ริง 42 l ผ้นู �ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ

ดวงตาใหม่ นวัตกรรม ในบรบิ ททส่ี ถานการณต์ า่ งๆ มคี วามซบั ซอ้ นและเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ รนุ แรง ปัจจัยต่างๆ มีความโยงใยเกี่ยวพันกันอย่างแนบแน่น การรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ หรือขับเคลื่อนงานด้วยรูปแบบวิธีการและความเชื่อเดิมๆ อาจไม่เพียงพอที่จะผลักดัน งานหรือเปล่ยี นแปลงสังคมได้ตามความตัง้ ใจ จนทำ� ให้คนทำ� งานหลายคนรู้สึกเหน่ือย หน่ายและหมดหวัง รู้สึกว่างานและความพยายามของตนเองไร้ความหมาย ดังน้ัน นอกจากผู้น�ำจะต้องมองเห็นรากปัญหาที่แท้จริงแล้ว ยังต้องมีวิธีคิดต่อปัญหาและวิธี การจดั การปญั หาแบบใหม่ด้วย เม่ือกล่าวถงึ คำ� ว่า “นวัตกรรม” หลายคนมักจะคดิ ว่าหมายถงึ เทคโนโลยีใหมๆ่ ทท่ี นั สมยั แตส่ �ำหรบั โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต สงิ่ ท่ีส�ำคัญไมแ่ พ้การมเี ทคนคิ อุปกรณ์ หรอื เครอ่ื งมอื ใหมๆ่ คอื การมี “ดวงตาใหม”่ หรอื ความสามารถในการเหน็ มมุ มองใหม่ ทไ่ี มเ่ คยเหน็ มากอ่ น หรอื จนิ ตนาการถงึ ความเปน็ ไปไดใ้ หมๆ่ แมว้ า่ จะอยใู่ นบรบิ ทเดมิ ๆ ในเวทีเสริมศกั ยภาพคนร่นุ ใหม่ “ปลุกพลัง เปลยี่ นไทย” (Inspiring Thailand) ทุกครงั้ โครงการจะเชญิ คณุ ธนบรู ณ์ สมบูรณ์ (เอซ) ผ้กู ่อตงั้ องค์กร Creative Move 43ผนู้ ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

1, 2 “การท�ำโครงการเพอ่ื สงั คมในมติ ทิ เ่ี ขา้ ถึง” 3 “เม่ือฉนั เปน็ กลอ้ งใสกงิ๊ ” 12 3

มาบรรยายในหัวข้อ “เรียนรู้การท�ำโครงการเพื่อสังคมในมิติท่ีเข้าถึง และการส่ือสาร ที่สร้างสรรค์” โดยยกตัวอย่างโครงการที่ขับเคล่ือนสังคมด้วยวิธีการใหม่ๆ จาก ทวั่ โลก รวมถึงแนวคดิ ใหมๆ่ เก่ียวกับการจดั การโครงการทางสังคม มาใช้ในการเรยี นรู้ กิจกรรมหน่ึงที่วิทยากรให้ผู้เข้าร่วมฝึกฝน คือ การบริหารจัดการโครงการโดยใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่แล้วในท้องถ่ิน แต่อาจจะถูกมองข้ามไป แทนที่จะรอการสนับสนุน จากแหลง่ ทนุ เพยี งอยา่ งเดยี ว ซง่ึ ทำ� ใหค้ วามคดิ ทนี่ า่ สนใจหลายอยา่ งไมถ่ กู นำ� ไปปฏบิ ตั ิ อย่างน่าเสียดาย คุณธนบูรณ์จึงอธิบายให้ผู้เข้าร่วมอบรมเห็นว่า ความจริงแล้วในแต่ละท้องถ่ิน อาจจะมีแหล่งทรัพยากรมากมายท่ีช่วยสนับสนุนกิจกรรมของเราได้ เพียงแต่เรามอง ไมเ่ ห็น จงึ น�ำเสนอหลักการ 3T มาเป็นเครอื่ งมือฝกึ การพิจารณาทรพั ยากรตา่ งๆ ที่มี อยู่ด้วยมมุ มองอกี แบบหน่ึง ประกอบด้วย หนึ่ง ทักษะ (Talent) หมายถึงคนท่ีมีทักษะต่างๆ และสามารถอาสามาช่วย ท�ำงานได้ สอง เวลา (Time) หมายถึงคนที่ยินดีสละเวลามาช่วยงานได้ แม้จะเป็น เรื่องเล็กๆ กต็ าม เชน่ ช่วยแชรข์ ่าวสารกจิ กรรมของโครงการในเฟซบุ๊ก เปน็ ต้น และ สุดท้าย ทรัพยากร (Treasure) หมายถึงการขอยืมหรือขอใช้ทรัพยากรต่างๆ ท่ี ไม่ใช่ตัวเงิน อย่างเช่นการขอยืมห้องประชุมจากหน่วยงานสาธารณะ หรือการขอ สปอนเซอรจ์ ากบริษัทเป็นตัวสนิ คา้ แทนการขอเป็นเงินสนบั สนนุ เป็นต้น คุณธนบูรณ์ยกตัวอย่างเด็กชายชาวตะวันตกอายุ 8 ขวบคนหน่ึง เม่ือเห็นว่า แถวบา้ นตนเองมีคนไร้บา้ นจ�ำนวนมาก ในขณะเดยี วกนั ก็เห็นว่าเพ่อื นบ้านของเขากนิ อาหารเหลือเยอะมาก เขาจึงรวบรวมอาหารจากเพ่ือนบ้านเพื่อน�ำไปให้แก่คนไร้บ้าน นี่เปน็ ตวั อยา่ งของการท�ำกิจกรรมเพื่อคนในชมุ ชนตนเองโดยไม่ต้องใช้เงินทุนเลย 45ผ้นู ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต การมีดวงตาใหม่ไม่ได้จ�ำกัดที่ การเหน็ มมุ มองหรอื การมจี นิ ตนาการใหมต่ อ่ บรบิ ทภายนอกหรอื การทำ� งานขบั เคลอื่ น สงั คมเทา่ นน้ั แต่ยังหมายถงึ การมมี มุ มองใหม่ตอ่ ตนเองอีกด้วย หลายครงั้ การมองเห็น ตัวเองในแงม่ ุมที่ไมเ่ คยตระหนกั รู้มากอ่ น กเ็ ปน็ จดุ เรมิ่ ของการมีดวงตาใหม่ในการมอง บริบทภายนอกอน่ื ๆ ได้เชน่ เดยี วกนั เวทีการเรียนรู้ของโครงการจึงจัดกิจกรรมหรือต้ังค�ำถามที่ท�ำให้ผู้เข้าร่วมได้ สะท้อนย้อนมองตนเองอย่างลึกซึ้ง จนเห็นความเป็นตัวตนในภาวะต่างๆ ท่ีแต่ละคน อาจไม่เคยเหน็ มากอ่ น เชน่ มผี ู้เขา้ รว่ มทา่ นหนึ่งสะทอ้ นกบั กระบวนกรเวทีคนรุ่นใหม่ “ปลกุ พลงั เปลยี่ นไทย” ว่า กจิ กรรมตา่ งๆ ทเ่ี นน้ ให้ผเู้ ข้ารว่ มเห็นตัวเอง และปฏกิ ิรยิ า ของตนเองตอ่ สถานการณ์ตา่ งๆ รวมถงึ มองเห็นส่งิ ทตี่ นเองยดึ ถืออยู่ ทำ� ใหเ้ ขามองเห็น ความ “แขง็ ” ของตนเองท่ีเปน็ อปุ สรรคในท�ำงานให้สำ� เร็จ และไมส่ ามารถสร้างความ ร่วมมือกบั องคก์ รอน่ื ในพนื้ ทไ่ี ด้ การทผ่ี ู้เขา้ รว่ มอบรมทา่ นนี้มองเหน็ ตัวเองดว้ ยมุมมอง ใหม่ดังกล่าว จึงอาจจะเป็นจุดเร่ิมต้นของการสร้างความเปลี่ยนแปลงท่ีมีพลังในพื้นท่ี ก็เปน็ ได้ 46 l ผ้นู ำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรยี นฯ

พลังของธรรมชาติ ดงั ทก่ี ลา่ วไปขา้ งตน้ แลว้ วา่ การจดั กจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพของโครงการผนู้ ำ� แหง่ อนาคตจะใหค้ วามสำ� คญั กบั พนื้ ทธี่ รรมชาตอิ ยา่ งมาก เพราะเชอ่ื วา่ พลงั และบรรยากาศ ของธรรมชาตจิ ะชว่ ยทำ� ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มผอ่ นคลาย ไดร้ บั การเยยี วยา สามารถมองเหน็ และ สะทอ้ นยอ้ นมองตวั เองได้ดี แต่นอกจากการจัดกิจกรรมในสถานที่ใกล้ชิดธรรมชาติแล้ว โครงการยังจัด กิจกรรมท่ีให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้จากธรรมชาติด้วยตนเองโดยตรง คือ “นิเวศภาวนา” ในเวทกี ารเรยี นรภู้ าวะการน�ำเพ่ือการขับเคลอ่ื นสังคม (Social Facilitation) คร้งั ท่ี 3 โดยการใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มเขา้ ไปอยใู่ นปา่ หรอื พน้ื ทธี่ รรมชาติ (ทไี่ มไ่ ดร้ บั การจดั แตง่ จากมนษุ ย)์ เพียงคนเดียว ไม่ติดต่อกับโลกภายนอก ไม่พูดคุยกับใคร รวมถึงอดอาหารนาน 24 ช่วั โมง นิเวศภาวนาเป็นกิจกรรมท่ีดัดแปลงมาจากพิธีกรรมของชนเผ่าพื้นเมือง หลายแห่งในโลก เม่ือเด็กในเผ่าโตเป็นวัยรุ่น จะต้องท�ำพิธีเปล่ียนผ่านสู่วัยผู้ใหญ่ด้วย การออกเดินทางเข้าไปในป่าเพียงคนเดียวในระยะเวลาต่างๆ ตามความเช่ือของแต่ละ 47ผนู้ �ำแหง่ อนาคต: ถอดบทเรยี นฯ l

1 2 1, 2 “นิเวศภาวนา”

ชนเผา่ โดยไมม่ เี สบยี งหรอื ขา้ วของใดๆตดิ ตวั เพอ่ื เรยี นรแู้ ละรบั บทเรยี นจากธรรมชาติ เนื่องจากเช่ือว่าธรรมชาติมีจิตวิญญาณ ความรู้ และปัญญาอันยิ่งใหญ่ ซ่ึงจะท�ำให้ผู้ เข้าหาได้เรียนรู้และมองเห็นภารกิจชีวิตของตนเองได้ และการผ่านความยากล�ำบาก ในธรรมชาติ คือกระบวนการเติบโตทางจิตวิญญาณอย่างหน่ึง ถ้าเด็กคนนั้นรอดชีวิต กลับมา ชุมชนก็จะจัดพิธตี ้อนรบั และมกี ารบอกเล่าเรื่องราวถึงสง่ิ ทไ่ี ดพ้ บเจอให้ผูเ้ ฒ่า และคนอ่นื ๆ ในเผา่ ฟัง เพอ่ื ขอค�ำชแี้ นะ แกน่ ความเช่ืออย่างหนงึ่ ของนเิ วศภาวนา คือ ทกุ คนเป็นลกู หลานของธรรมชาติ แต่ห่างไกลจากธรรมชาติไปนานจนรู้สึกหวาดกลัวและแปลกแยกต่อธรรมชาติ นิเวศ ภาวนาจึงเปิดพ้ืนที่ให้ผู้เข้าร่วมได้เชื่อมโยงสัมพันธ์กับธรรมชาติอีกครั้งหนึ่งในฐานะ ผู้อาศัย โดยละท้ิงความรู้เก่ียวกับมนุษย์และโลกมนุษย์ เช่น โทรศัพท์มือถือ นาฬิกา เวลา รวมถงึ สงิ่ ทแ่ี ตล่ ะคนอยากนำ� ตดิ ตวั ไปดว้ ยใหห้ มด หรอื แมแ้ ตก่ ารกลบั ไปเปน็ สตั ว์ มีผู้ที่เคยเข้าร่วมนิเวศภาวนาหลายคนพบว่า การอยู่กับธรรมชาติท�ำให้พวกเขาได้รับ พลังบางอย่างท่ีสร้างความเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจ�ำวันได้ โดยอาจจะปรากฏในรูป ของสัญญาณตา่ งๆ อย่างเช่นการเจอสตั วบ์ างประเภท หรือพลงั งานบางอย่าง เช่น มีผู้ ท่ีเคยเข้าร่วมนิเวศภาวนาคนหน่ึงรู้สึกเหมือนตนเองได้รับพลังงานของเสือ และกลาย เปน็ เสือระหว่างอยูใ่ นป่า โดยก่อนหนา้ ทจี่ ะมาเข้าร่วมนิเวศภาวนานนั้ เขาอยู่ในภาวะ ลังเล ขาดความมัน่ ใจ เพราะชีวติ ก�ำลังมกี ารเปลย่ี นแปลงหลายอย่าง แต่การไดร้ ับพลงั ของเสือ ท�ำใหเ้ ขาเกดิ ความมน่ั ใจในเส้นทางทตี่ นเองเลอื กอยา่ งมาก เป็นต้น ก่อนเดินทางเข้าไปในป่า กระบวนกรจะให้ผู้เข้าร่วมตระเตรียมตนเองให้พร้อม ตอ่ การเรยี นรู้ โดยฝึกการภาวนาในรปู แบบตา่ งๆ การให้ครุ่นคิดถึงเปา้ หมายของชวี ติ และการขอให้ผู้เขา้ ร่วมท้าทายตนเอง โดยการอดอาหาร ไมต่ ้องคิดถงึ อนาคต ไมต่ ้อง 49ผนู้ �ำแห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ l

วางแผน แต่ให้ทดลองท�ำส่ิงท่ีอยู่ตรงหน้า ท�ำสิ่งท่ีอยากท�ำแต่ไม่เคยได้ท�ำหรือไม่กล้า ท�ำ เช่น ถ้ารู้สึกอยากขุดดินให้ขุดเลย อยากนอนหลับตรงไหนให้นอนเลย ให้ท�ำตัว เป็นเด็กน้อยที่ไม่ต้องคิดอะไรมาก หรืออาจเลือกเดินในความมืดโดยไม่ใช้แสงไฟ อยู่กับธรรมชาติจริงๆ พร้อมกับให้ผู้เข้าร่วมอธิษฐานในสิ่งที่ตนเองอยากพบเจอ ระหวา่ งทาง หลงั จากเดนิ ทางเขา้ ไปในปา่ ไมม่ ผี ู้เข้ารว่ มคนไหนไดอ้ อกมาจากปา่ ก่อน กำ� หนดเลย แม้ว่ากิจกรรมของโครงการจะไม่ใช่นิเวศภาวนาเต็มรูปแบบ เน่ืองจากมีเวลา เพยี ง 24 ชว่ั โมง แต่ก็สรา้ งผลสะเทอื นและความประทับใจแก่ผเู้ ขา้ ร่วมอยา่ งมาก หลงั จากนิเวศภาวนาจบลง กระบวนกรได้ให้ผู้เข้าร่วมแบ่งกลุ่มย่อยผลัดกันเล่าเรื่องราวท่ี พบเจอ ความประทับใจ และสิ่งที่ได้เรียนรู้ต่างๆ รวมถึงให้เพื่อนในวงช่วยตั้งค�ำถาม และสะทอ้ นสง่ิ ที่ตวั เองคิดจากการฟังเร่ืองเล่าของเพ่อื นกลับไปเปน็ ของขวัญตอบแทน ส่ิงที่น่าสนใจมากคือ หลายคนรู้สึกว่าตัวเองเปล่ียนแปลงไป ผู้เข้าร่วมคนหนึ่ง รู้สึกว่าตนเองมีความหวาดกลัวส่ิงต่างๆ น้อยลง ทั้งๆ ที่ก่อนจะเข้าป่า รู้สึกกลัวและ กังวลมาก ผู้เข้าร่วมอีกท่านหน่ึงสะท้อนว่า การได้ใช้ชีวิตในป่าโดยไม่มีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกอะไรเลย ทำ� ให้ค้นพบความเรียบง่ายของการปล่อยวาง และเห็นว่าการ เป็นผู้น�ำในแบบที่ตนเองเคยเป็นมา อาจจะเป็นตัวขวางก้ันการเติบโตของรุ่นน้องในท่ี ท�ำงาน จึงต้ังใจที่จะเปล่ียนแปลงวิธีการท�ำงานและการแสดงออกกับคนในท่ีท�ำงาน เสยี ใหม่ ผ้เู ขา้ ร่วมอีกคนหนงึ่ แบ่งปนั ประสบการณข์ องตนเอง อันเปน็ ตวั อย่างของความ เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการเรียนรู้จากธรรมชาติว่า “ก่อนเข้าไปในป่า ได้อธิษฐานกับ ตัวเองว่า ขอค�ำตอบสองค�ำตอบคือ ตัวเองเกิดมาเพื่ออะไร และจะอยู่ต่อไปอย่างไร 50 l ผู้นำ� แห่งอนาคต: ถอดบทเรียนฯ