Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Description: หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Search

Read the Text Version

76 กกกกกกก5. อภิปรายคิดแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ขอ้ มูลที่ได้ กกกกกกก6. คดิ สรุปการเรยี นร้ทู ่ไี ด้ใหมร่ ่วมกัน บนั ทึกลงในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก7. นาขอ้ สรุปการเรียนรู้ที่ได้ใหม่มาฝึกปฏิบัติด้วยการทาแบบฝึกหัด กจิ กรรมตามที่มอบหมาย บันทกึ ลงในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก8. บันทกึ ผลการเรยี นรทู้ ไ่ี ด้จากการฝึกปฏิบัติลงในเอกสารการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) สง่ ครูผู้สอน สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ กกกกกกก1. ส่อื เอกสาร ได้แก่ 1.1 ใบความรทู้ ่ี 1 1.2 ใบงานที่ 1 1.3 ส่ือหนังสือเรียนสาระทักษะการดาเนินชีวิตรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชง ศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กรุงเทพมหานคร 1.4 หนังสือท่ีเกีย่ วข้อง 1.4.1 ช่อื หนังสอื กญั ชา กญั ชา เป็นยาวเิ ศษ จรงิ หรอื ช่อื ผู้แตง่ วิชยั โชตวิวฒั น โรงพิมพ์ สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวจิ ัยในมนุษย์ สถาบันวจิ ยั ระบบสาธารณสุข ปีท่ีพมิ พ์ 2562 1.4.2 ชอ่ื หนังสือ กัญชารักษามะเรง็ ชื่อผู้แตง่ สมยศ ศภุ กจิ ไพบลู ย์ โรงพมิ พ์ สานักพมิ พ์ปญั ญาชน INTELLECTUALS ปที พ่ี ิมพ์ 2561 1.4.3 ชอ่ื หนังสอื ข้อมลู เบืองตน้ เก่ียวกับกญั ชาทางการแพทย์ ช่ือผู้แตง่ Martin Woodbridge โรงพิมพ์ บริษัท Bedrocan International. ปที ี่พมิ พ์ 2562 กกกกกกก2. ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ กกกกกกก 2.1 ชอื่ บทความ การระดมความคดิ เตรยี มปลกู กัญชา ชอ่ื ผู้เขยี น สยามรัฐออนไลน์ สบื ค้นจาก today.line.me.th/article กกกกกกก 2.2 ชอื่ บทความ กัญชา : กฎหมายยาเสพตดิ อันเปน็ อปุ สรรคต่อการพัฒนากญั ชา การแพทย์ ชื่อผูเ้ ขยี น วารสารสันติศกึ ษาปริทรรศน์ สบื คน้ จาก https://www.tci-thaijo. org›index.php›journal-peace›article›download กกกกกกก 2.3 ชอ่ื บทความ กญั ชา : กญั ชา กัญชา เปน็ ยาวเิ ศษ จรงิ หรือ ชอื่ ผู้เขียน วิชัย โชตววิ ฒั น สบื คน้ จาก https://www.tci-thaijo.org›index.php›journal-peace›article›download

77 กกกกกกก 2.4 ชื่อบทความ กญั ชา : กญั ชา ประโยชน์ หรอื โทษ ชือ่ ผเู้ ขียน ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณพงศ์ นพเกตุ สืบค้นจาก http://www.nidapoll.nida.ac.th กกกกกกก 2.5 ชื่อบทความ กัญชาในมุมมองของจิตแพทย์ ชอื่ ผ้เู ขยี น เสาวลักษณ์ เชอื คา สืบคน้ จาก http://krua.co/food-story/food-feeds/ กกกกกกก 2.6 ช่ือบทความ กัญชาในอาหาร ชูรส เสพติด หรือคิดไปเอง ชื่อผู้เขียน เสาวลักษณ์ เชือคา สืบค้นจาก http://krua.co/food-story/food-feeds/ กกกกกกก 2.7 ชื่อบทความ กัญชา : ทาไมหลายประเทศในโลกถึงเปิดรับกัญชากันมากขึน ชื่อผู้เขียน Workpoint News สืบค้นจาก https://workpointnews.com./2018/11/15/กัญชา-ใน มมุ มองของจิตแพทย์ กกกกกกก 2.8 ช่ือบทความ ข่าวหมอพืนบ้านกับราชกิจจานุเบกษา ท่ีรับรองหมอพืนบ้าน ชื่อผู้เขียน ข่าวประชาสัมพันธ์เขต 1 สืบค้นจาก https://www.facebook.com/PRD1KK/?_tn_=kC-R&eid กกกกกกก 2.9 ชื่อบทความ ข้อระวังการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา ช่ือผู้เขียน ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สืบค้นจาก https://www.hfocus.org /sites/default /files/files_upload/khmuulkaychaasuunyphisraamaa_edit.pdf กกกกกกก 2.10 ชื่อบทความ คลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ดีเดย์เปิดบริการ 13 แห่งทุก เขตสุขภาพ ช่ือผู้เขียน ชีวจิต สืบค้นจาก http://www.bbc.gooddlifeupdate.com/healthy- body/ 2.11 ชื่อบทความ คลินิกกัญชาทางการแพทย์ เปิดให้บริการแล้ว ช่ือผู้เขียน Jirepary Limaksorn สบื ค้นจาก http:2//highlandnetwork.asia/คลินิกกัญชาทางการแพทย/์ กกกกกกก 2.12 ช่ือบทความ คู่มือการจัดตังคลินิกกัญชาในสถานบริการสุขภาพ ช่ือผู้เขียน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สืบค้นจาก https://thaicam.go.th/wp- ontent/ uploads/2019/09/ กกกกกกก 2.13 ชอื่ บทความ เจาะลึกระบบสขุ ภาพ ช่ือผู้เขยี น H focus สืบค้นจาก https://www.hfocus.org/ กกกกกกก 2.14 ชอ่ื บทความ เทรนดป์ ลกู -แปรรูปกัญชงใช้ทาอาหาร-นมกัญชง กาลัง ชอื่ ผเู้ ขียน MThai.com สบื ค้นจาก http://today.line.me/th/pc/article กกกกกกก 2.15 ชอ่ื บทความ กญั ชา นโยบายทค่ี วรทบทวน ชื่อผ้เู ขยี น นพ.ธีระ วรธนารตั น์ สบื คน้ จาก http://www.tcijthai.com/news/ กกกกกกก 2.16 ชื่อบทความ ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเสพกัญชาของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์กรณีศึกษา สถานควบคมุ ตัวและสถานท่ีเพื่อการตรวจพิสูจน์ เรือนจากลางคลองเปรม ชื่อผเู้ ขยี น วสันต์ ศรีแก้วนิตย์ สืบค้นจาก https://www.rsu.ac.th/cja/IS/18-WASAN_%20SRIKAEWNIT-2560.pdf

78 กกกกกกก 2.17 ช่ือบทความ เปิดแล้ว คลินิกกัญชาแพทย์แผนไทย เบืองต้น “3 รพ” พร้อมจ่ายยา ตารับ “ศุขไสยาสน์” ช่ือผู้เขียน Hfocus สบื ค้นจาก http://hfocus.org/conten/2019/09/17653 กกกกกกก 2.18 ช่ือบทความ ผลิตภัณฑ์สารสกัด CBD (cannabidiol) ในออสเตรีย ช่ือผู้เขียน สานกั งานสง่ เสรมิ การค้าในต่างประเทศ สืบคน้ จาก https://www.ditp.go.th/ contents_attach/ 376953/376953.pdf กกกกกกก 2.19 ช่ือบทความ โพล 86.30% หนนุ นากัญชา–กระท่อมมาใช้ทางการแพทย์ ชอื่ ผู้เขียน โพสต์ทูเดย์ สังคมทั่วไป สบื ค้นจาก http://www.posttoday.com/social/general/ กกกกกกก 2.20 ช่อื บทความ พืชร้ายหรอื สมุนไพรทางเลือก ชอื่ ผูเ้ ขยี น ธติ ิ มีแต้ม; ฐิตพิ ล ปัญญา ลิมปนันท์ สืบคน้ จาก http://www.bbc.com/thai/thailand-42748753 กกกกกกก 2.21 ช่ือบทความ มองกัญชาให้รอบดา้ น ช่ือผเู้ ขยี น พรทพิ ย์ ทองดี สบื ค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/breaking-news/370287 กกกกกกก 2.22 ช่อื บทความ แมโ่ จโ้ พลล์ชี คนไทยเห็นด้วย นากญั ชามาเป็นยา ช่วยลดตน้ ทุน นาเข้ายานอก ชื่อผูเ้ ขยี น Chiang Mai News สืบค้นจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/ archives/871420 กกกกกกก 2.23 ช่อื บทความ เมอื่ กญั ชาแคนาดาไฟเขียว : เบอื งหลังและคาแนะนาจาก ดร.เจอร์เกน ไรหม์ นกั วิทยาศาสตร์อาวุโส ช่ือผเู้ ขยี น ธติ ิ มีแตม้ ; กานตธ์ ีรา ภูริวิกรยั สืบคน้ จาก https://www.the101.world/cannabis-canada-experience/ กกกกกกก 2.24 ชื่อบทความ เมืองหลวงออสซ่ี รับรองกฎหมายใช้กัญชาเพ่ือสันทนาการ ชื่อผู้เขียน โพสต์ทูเดย์ รอบโลก สบื คน้ จาก http://www.posttoday.com/world/601830 กกกกกกก 2.25 ช่อื บทความ แห่งแรก อนุทนิ เปิดคลินกิ กัญชารกั ษาทางการแพทย์ ช่อื ผูเ้ ขียน The Bangkok Insight สบื คน้ จาก http://www/thebangkokinsight.com กกกกกกก 2.26 ช่ือบทความ ยาการโพสต์ซือ - ขาย “กญั ชา” หรือยาเสพติดทุกชนิด ผา่ นสือ่ สังคม ออนไลน์ เป็นการกระทาท่ีผิดกฎหมาย ชื่อผู้เขียน สานักข่าว กรมประชาสัมพันธ์ NATIONAL NEWS BUREAU OF THANILAND สบื คน้ จาก http://www.thainws.prd.go.th/th/news/detail/ กกกกกกก 2.27 ชอ่ื บทความ ศาลมาเลเซียตัดสินประหารชีวิตชายผู้แจกจ่ายกัญชาทางการแพทย์ฟรี ช่อื ผเู้ ขียน ประชาไท สบื คน้ จาก https://prachatai.com/journal/2018/09/78582 กกกกกกก 2.28 ชอื่ บทความ สาวผสมเอง นามนั กญั ชา “หยอดแลว้ ตาย” โดนแจง้ จบั พบเงนิ สดกวา่ 3 ล้าน ชอื่ ผ้เู ขยี น ไทยรฐั ออนไลน์ สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/local/north/1665323 กกกกกกก 2.29 ชื่อบทความ สรุปเวทีจุฬา ฯ เสวนา ครงั ท่ี 19 “กัญชา เพื่อเยียวยาสุขภาพ?” ช่ือผู้เขียน จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย สืบคน้ จาก http://www.chula.ac.th/news/19179/

79 กกกกกกก 2.30 ช่ือบทความ สธ.เปดิ คลนิ กิ กัญชาทางการแพทยท์ ังแผนปจั จุบนั และแพทย์แผนไทย ทกุ เขตสขุ ภาพ ช่ือผเู้ ขียน รฐั บาลไทย สืบค้นจาก https://www.thaigov.go.th/news/contets/datails/24703 กกกกกกก 2.31 ชอ่ื บทความ อย.ยาออกใบอนญุ าตให้มี กัญชา ไมเ่ กย่ี วปลกู /เสพ โพสต์ลง โซเชยี ลเส่ยี งคุก ช่ือผู้เขยี น BRIGHT today สืบค้นจาก https://www.brighttv.co.th/news/ กกกกกกก 2.32 ชอ่ื บทความ อภยั ภเู บศร เผยภูมปิ ญั ญาชาวบา้ นใชก้ ัญชาปรุงอาหารไทย ยาอย่า ใสม่ ากเด๋ยี ว เมา. ชอ่ื ผู้เขียน อัมรินทรท์ วี ี สืบคน้ จาก http://www.amarintv.com/news- update/news กกกกกกก 2.33 ชอื่ บทความ อสิ ราเอลเล็งลดโทษผูเ้ สพกญั ชา ให้เสยี ค่าปรับในสองครังแรก. ชอื่ ผเู้ ขียน BBC News บีบีซไี ทย สบื ค้นจาก https://www.bbc.com/thai/international- 39176802 กกกกกกก 2.34 ชอื่ บทความ ฮือฮา เปิด “คลนิ ิกกัญชา” รพ.เจ้าพระยาอภยั ภูเบศร ชือ่ ผ้เู ขียน NEW18 สืบคน้ จาก https://www.newtv.co.th/news/37136 กกกกกกก3. สื่อแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน 3.1 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เขตคลองสามวา สถานที่ตัง 168 ถนน พระยาสุเรนทร์ แขวงสามวาตะวันออก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร 10510 หมายเลขโทรศัพท์ 02 171 0002 3.2 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เขตตลงิ่ ชัน สถานท่ีตัง ซอยโชคสมบัติ ถนน พุทธมณฑล สาย 1 แขวงบางระมาด เขตตล่ิงชนั กรุงเทพมหานคร 10170 หมายเลขโทรศัพท์ 02 448 6028 3.3 ห้องสมุดของมหาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ ทต่ี งั อยใู่ นกรุงเทพมหานคร 3.4 หอ้ งสมดุ ใกลบ้ ้านของผเู้ รียน 3.5 มลู นธิ ขิ ้าวขวัญ ทีอ่ ยู่ 13/1 หมู่ 3 ถนนเทศบาลท่าเสด็จ 1 ซอย 6 ตาบลสระแก้ว อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72230 หมายเลขโทรศัพท์ 035 597 193 3.6 ภูมิภเู บศร สถานทีต่ ัง ตาบลบางเดชะ อาเภอเมอื งปราจนี บุรี จงั หวัดปราจีนบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 097 097 3582 3.7 กระทรวงสาธารณสุข ไดแ้ ก่ 3.7.1 กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสขุ 3.7.2 สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 3.7.3 สานกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยตุ ธิ รรม

80 การวดั และประเมินผล กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหน้า ด้วยวิธีการ กกกกกกก 1.1 การสงั เกต กกกกกกก 1.2 การซักถาม ตอบคาถาม กกกกกกก 1.3 การตรวจเอกสารการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก2. ประเมินผลรวม ด้วยวธิ กี าร กกกกกกก 2.1 ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ หัวเรื่องที่ 1 เหตใุ ดตอ้ งเรียนรกู้ ญั ชาและกัญชง จานวน 3 ข้อ กกกกกกก 2.2 ตอบแบบสอบถามวดั ทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวเิ คราะห์ กกกกกกก 2.3 ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ

81 หัวเรือ่ งท่ี 2 กัญชาและกัญชง พชื ยาท่คี วรรู้ สาระสาคญั 1. ประวัติความเป็นมาของพชื กญั ชาและกัญชง ประวัติพชื กญั ชาในต่างประเทศมีการนามาใชต้ ั้งแต่ 10,000 ปี มาแล้ว นามาใชใ้ นการ สูดดมควัน ใช้เส้นใยทาเสื้อผ้า ทาใบเรือและเชือกในการสร้างเรือ ใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร ใช้ใน พิธีกรรมเก่ียวกับศาสนา และการใช้เสพเพื่อนันทนาการ รวมท้ังการจดสิทธิบัตรรักษาโรคทางระบบ ประสาท สว่ นประเทศไทยใชเ้ ป็นตารับยาในการรักษาโรค 2. ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับพืชกัญชาและกัญชง 2.1 พฤกษศาสตร์ของพชื กญั ชาและกัญชง พืชกัญชา มีชือ่ วทิ ยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพชื ในวงศ์ Cannabaceae มีช่ือสามัญหลากหลายตามแต่ละท้องถ่ิน เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นต้ังตรง สูงประมาณ 1 - 5 เมตร ใบเด่ียว มี 3 - 9 แฉก รูปฝ่ามือ เรียงสลับ ดอกแยกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน (dioecious species) และมีแบบตน้ กะเทย คอื เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน (monoecious species) ออกดอกเปน็ ช่อตาม งา่ มใบและปลายยอด ช่อดอกเพศเมีย เรียกว่า “กะหลี่กัญชา” ผลแห้ง เมลด็ ลอ่ น เล็ก เรยี บ สนี ้าตาล 2.2 ชนิด (species) ของกญั ชาและกญั ชง กัญชาและกัญชง นักพฤกษศาสตร์จัดวา่ เป็นพืชในสปีชสี ์ (species) เดียวกัน คือ Cannabis sativa L. ซ่งึ จดั อยู่ในสกลุ (genus) Cannabis และเปน็ พชื ในวงศ์ (family) Cannabaceae แต่ในส่วนขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แบ่งย่อยเป็น 2 ซับสปีชีส์ (subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. subsp. sativa (กัญชง, Hemp) ซ่ึงมักจะมีปริมาณ THC น้อยกว่าร้อยละ 0.3 ในใบ และช่อดอกแห้ง (แต่ในบางคร้ังอาจจะสูงถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. subsp. indica (กัญชา, Cannabis) ซ่ึงมักจะพบปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในใบและช่อดอกแห้ง การจาแนกพืชกัญชาและ กัญชง โดยสังเกตจากลกั ษณะทางสัณฐานวทิ ยาทาได้ยาก เนื่องจากสาร THC ในกัญชาเปลี่ยนแปลงได้ง่าย จากปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธุ์มักจะจาแนกพืชกัญชา และกัญชง ออกเป็น 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ ซาติว่า (Cannabis sativa L.) อินดิก้า (Cannabis indica Lam.) และรูเดอลาลิส (Cannabis ruderalis Janishch.) ซึ่งจาแนกตามลักษณะทางกายภาพของพืช เช่น ลักษณะใบ ความสูง ถ่ินกาเนิดทีพ่ บ เป็นต้น

82 2.3 องคป์ ระกอบทางเคมี และสารสาคญั ทพี่ บในพืชกญั ชาและกัญชง 2.3.1 องคป์ ระกอบทางเคมที ี่พบในพืชกญั ชาและกัญชง องค์ประกอบทางเคมีท่ีพบในพืชกัญชาและกัญชงมีมากกว่า 500 ชนิด และมีอยู่หลายกลุ่ม แต่สารท่ีมีคว ามสาคัญทาง ยา คือ สารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (cannabinoids/Phytocannabinoids) พบมากบริเวณยางในไทรโครมของดอกเพศเมียท่ียังไม่ได้รับ การผสมพนั ธ์ุ (resin glandular trichomes) 2.3.2 สารสาคัญท่ีพบในพชื กญั ชาและกัญชง 1) สารแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG) เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เม่ือสาร CBGA ถูกความร้อนจะเปล่ียน สภาพเป็นสาร CBG ดังน้ัน สาร CBG จึงสามารถตรวจพบได้ในพืชกัญชาและกัญชง สาร CBGA เป็น สารต้นกาเนิดของสารทั้งหมดที่พบในพืชกัญชาและกัญชง เมื่อพืชโตข้ึน สาร CBGA น้ี จะถูกเปลี่ยนเป็น THCA CBDA และสาร อ่ืน ๆ เม่ือสารถูกความร้อน หรือออกซิไดซ์ สาร CBGA THCA และสาร CBDA จะเปล่ยี นสภาพเป็นสาร CBG สาร THC และสาร CBD 2) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) เป็นสารที่มีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (psychoactive effect) ปริมาณ ของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพต่ืนเต้น ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซื่องซึม ง่วงนอน และหลอนประสาท โดยข้ึนอยู่กับปริมาณท่ีได้รับ 3) สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารนี้ไม่มีผลต่อจิตและ ประสาท (non-psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซ่ึงเป็นสารที่มีคุณสมบัติมีข้ัวต่า ละลาย ได้ดีในน้ามัน ดังนั้นการสกัดสารสาคัญจากกัญชา จึงมักนิยมใช้ตัวทาละลายท่ีมีขั้วต่า หรือน้ามันในการ สกดั เพราะจะสามารถละลายเอาสารแคนนาบนิ อยด์ออกมาได้ดี 4) สารออกฤทธิ์ที่ร่วมกับแคนนาบินอยด์ เช่น สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปีน เป็นสารทช่ี ่วยเสริมการออกฤทธิ์ทางยาแก่สารกลุ่มแคนนาบนิ อยด์ กกกกกกก 3. พชื กัญชาและกัญชงคืออะไร แตกตา่ งกันอย่างไร พืชกัญชาและกัญชงมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Canabis sativa L. มีถิ่นกาเนิด มาจากพืชเดิมชนิดเดยี วกนั ลักษณะภายนอก หรอื สัณฐานวิทยาของพชื ทัง้ สองชนิดจึงมีความแตกตาง กันนอย การแยกโดยสัณฐานวิทยาทาได้ค่อนข้างยาก ปัจจุบันพืชกัญชาและกัญชงแยกจากกัน โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซึ่งข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนดกัญชงให้มี ปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง ส่วนกฎหมายของประเทศไทยกาหนดให้ กัญชงให้มีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 1.0 ในใบและช่อดอกแห้ง

83 กกกกกกก 4. การใชพ้ ืชกัญชาและกัญชงในชวี ิตประจาวันของคนในโลก 4.1 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงไม่แปรรูป เช่น ดอกกัญชาแห้ง (Cannabis dries flower) ในประเทศที่อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ผู้ป่วยจะสามารถนาใบสั่งซื้อจากแพทย์ไปซ้ือกัญชา แห้งมาเพือ่ ใช้สูบหรอื ใชเ้ พอื่ การรกั ษาได้ 4.2 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงแปรรูป คือ ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง ท่ีแปรรูปเป็นสารสกัดเข้มข้น (Concentrates) ซึ่งมีหลายรูปแบบ และมีช่ือเรียกแตกต่างกันไป ผลิตภัณฑ์สารสกัดกัญชาจะให้สารแคนนาบินอยด์ท่ีเข้มข้นกว่าในรูปพืชแห้ง แต่ทั้งสองรูปแบบ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทั้งทางการแพทย์ และเพื่อการนันทนาการได้ตามกฎหมายของแต่ละ ประเทศทม่ี ีการอนญุ าตใหใ้ ช้ 4.3 การบริโภคและอุปโภค มีการใช้พืชกัญชาหรือกัญชงเป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมอาหาร บางประเทศ มกี ารอนญุ าตให้ใช้กัญชาในอาหารซ่ึงจะต้องระบปุ รมิ าณสาร THC และ CBD ใหช้ ัดเจน โดยปกติต้อง ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อหน่วยบริโภค แต่ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมความงามและสุขภาพ รวมไปถึงอุตสาหกรรมส่ิงทอ และมีการใช้ประโยชน์อย่างมากมายของกัญชง เช่น การผลิต เครอ่ื งสาอาง นา้ มนั จากเมล็ด ซง่ึ มีคณุ ค่าทางโภชนาการสูง เชน่ การทาเครื่องแต่งกาย เสือ้ กันกระสุน เปน็ ต้น 4.4 การนันทนาการ กัญชาเป็นพืชท่ีมีสารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ทาให้เกิดความผ่อนคลาย และความรู้สึกเป็นสุข ในบางประเทศอนุญาตให้ใช้พืชกัญชาเพ่ือการนันทนาการได้ เช่น ประเทศ อุรุกวัย ประเทศแคนาดา และในบางรัฐของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากผู้ใช้กัญชารู้สึกเกิดการผ่อนคลาย และเป็นสุขขณะท่ีใช้ แต่เนื่องจากกัญชายังมีสารท่ีทาให้ติดได้ จึงไม่ควรใช้กัญชาต่อเนื่องและใช้ใน ปริมาณสงู ตวั ชวี้ ดั กกกกกกก1. บอกประวตั คิ วามเป็นมาของพืชกญั ชาและกญั ชงได้ กกกกกกก2. อธบิ ายความสัมพนั ธ์เก่ียวกบั พืชกัญชาและกญั ชงได้ กกกกกกก3. วเิ คราะหค์ วามแตกต่างและความสมั พันธ์ระหว่างพชื กญั ชาและกัญชงได้ กกกกกกก4. บอกการใช้พชื กัญชาและกญั ชงในชวี ติ ประจาวนั ของคนในโลกได้ กกกกกกก5. ตระหนกั ถงึ กญั ชาและกญั ชงพืชยาทค่ี วรรู้

84 ขอบข่ายเน้อื หา กกกกกกก1. ประวตั ิความเป็นมาของพืชกัญชาและกัญชง กกกกกกก2. ความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกบั พชื กัญชาและกัญชง 2.1 พฤกษศาสตรข์ องพืชกัญชาและกญั ชง 2.2 ชนิด (species) ของกัญชาและกญั ชง 2.3 องค์ประกอบทางเคมี และสารสาคญั ที่พบในพชื กญั ชาและกญั ชง 2.3.1 องคป์ ระกอบทางเคมีที่พบในพืชกญั ชาและกญั ชง 2.3.2 สารสาคญั ทพี่ บในพชื กญั ชาและกญั ชง 1) สาร CBG 2) สาร THC 3) สาร CBD และการลดผลขา้ งเคยี งของสาร THC ดว้ ยสาร CBD 4) สารออกฤทธิท์ ่รี ว่ มกบั แคนนาบินอยด์ กกกกกกก3. พืชกญั ชาและกัญชง คอื อะไร แตกต่างกันอย่างไร กกกกกกก4. การใช้พชื กญั ชาและกัญชงในชวี ิตประจาวนั ของคนในโลก 4.1 ผลิตภัณฑ์พืชกญั ชาและกญั ชงไมแ่ ปรรปู 4.2 ผลติ ภัณฑ์พชื กญั ชาและกญั ชงแปรรปู 4.3 การบรโิ ภคและอุปโภค 4.3.1 ผลติ ภณั ฑ์เพ่ือการบรโิ ภค 4.3.2 ผลติ ภณั ฑ์เพ่ือความงามและสุขภาพ 4.3.3 ผลติ ภณั ฑ์เพื่อการอปุ โภค 4.4 การนนั ทนาการ รายละเอยี ดเนื้อหา กกกกกกก1. ประวัตคิ วามเปน็ มาของพืชกญั ชาและกญั ชง 1.1 ประวตั ิความเปน็ มาของพืชกัญชา ประมาณ 10,000 ปี มีการขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์อยู่คู่กับเศษเรซิ่นของพืช กญั ชาทห่ี ลงเหลือจากการเผาไหม้ของกองไฟ และเครอ่ื งปั้นดินเผา ทบ่ี รรจุเมล็ดพืชกัญชาบริเวณด้าน ในสุดของถ้าในประเทศอินเดียและจีน ซ่ึงสันนิษฐานว่ามนุษย์ในยุคนั้นใช้พืชกัญชาเผาไฟด้านในสุด ของถ้าเพอื่ สดู ดมควนั

85 ระหวา่ ง 8,000 - 2,000 ปี กอ่ นครสิ ตกาล (Before Common Era หรือ BCE) กญั ชา ถูกบันทึกว่าเป็นพืชไร่ที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง มีการใช้ประโยชน์จากเส้นใย มีการปลูกพืชกัญชาแบบ แปลงเกษตรในแถบพื้นที่ ซึ่งปัจจุบันคือประเทศไต้หวัน มีการใช้พืชกัญชาในตารับยาโบราณ ของ ประเทศอินเดีย และประเทศจีนมีการนาเมล็ดกัญชามาผลิตน้ามันเพื่อใช้เป็นอาหาร นาเส้นใยมาทา เป็นเส้ือผ้า ในสมัยจกั รพรรดิ เซ็น หนงิ (Shen Nung) พบว่ามกี ารใชเ้ ปน็ ยาด้วย ระหว่าง 1,999 - 1,500 ปี ก่อนคริสตกาล พืชกัญชาเข้าไปเกี่ยวข้องกับ ศาสนาที่เกิดในแถบทวีปเอเชีย ในฐานะโอสถชโลมใจ เคร่ืองชาระล้างจิตใจ สื่อกลางในการเข้าถึง พระเจา้ ยารักษาโรค เครอ่ื งสักการะพระเจ้า และใชเ้ ปน็ ส่วนสาคัญในพิธีกรรมทางศาสนา ในประเทศ อนิ เดยี ถูกกลา่ วถงึ ในบันทึกลับของศาสนาฮินดูวา่ เป็นพชื ศักดิส์ ิทธ์ิ ซึ่งสามารถใชเ้ ป็นยา และใช้สาหรับ ถวายแด่พระศวิ ะ ระหว่าง 1,499 ปี ก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 69 มีเคร่ืองนุ่งห่ม ซ่ึงเป็นผลผลิตจากเสน้ ใยพืชกัญชา รวมถึงการเกษตร กระจายอยู่ในแถบทวีปเอเชีย และตอนใต้ของรัสเซีย ชาวไซเทียน (Scythians) ชนเผา่ บนหลังมา้ มีรกรากการเดินทางอยู่ในแถบประเทศฮังการี มองโกเลยี มกี ารบันทึก วา่ ใชพ้ ชื กญั ชาเพื่อผลติ เชอื ก ใช้เสพเพ่ือความบันเทิง ใชใ้ นพธิ กี รรมทางความเชื่อต่าง ๆ และนาการใช้ พชื กัญชาในด้านต่าง ๆ เข้าสูย่ โุ รป และชาวจนี ค้นพบวิธีการทากระดาษจากใยพืชกัญชาเปน็ ครั้งแรกของโลก ค.ศ. 70 – ค.ศ. 199 ไดออสคอรีตส์ (Dioscorides) แพทย์ทหาร ผู้เขียนหนังสือเร่ือง De Materia Medica ตาราพืชสมนุ ไพรในแถบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นที่ถือเป็นตาราทางดา้ นสมนุ ไพรรักษาโรคท่ีดีที่สุด ในยุคน้ัน ได้บรรจุพืชกัญชาเปน็ ส่วนหน่ึงในตารับยา และประเทศอังกฤษ มีการนาเข้าเชือกจากใยพชื กญั ชามาใช้ประโยชน์ ค.ศ. 200 - ค.ศ. 1299 มีการบันทึกว่าศัลยแพทย์ชาวจีนได้ใช้พืชกัญชาเป็นยาชา ยา แกป้ วด ชาวไวกงิ ได้เร่ิมใช้เชือก และใบเรือท่ผี ลติ จากใยพืชกญั ชา ทาใหเ้ รือของชาวไวกิงแข็งแรง และ เดินทางได้ไกลกวา่ เรือของประเทศในแถบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น เชือกและใบเรือจากใยพืชกัญชาแข็งแรง ทนทานต่อการกัดกร่อนของเกลือจากทะเลเป็นเบื้องหลังความสาเร็จที่ทาให้ชาวไวกิงเข้าสู่ความ ยิง่ ใหญใ่ นยคุ สมยั นน้ั ค.ศ. 1300 – ค.ศ.1532 พ่อค้าชาวอาหรับได้นากัญชาไปเผยแพร่ ทาการค้าขาย แลกเปลี่ยนกับประเทศโมซัมบิกซึ่งเป็นชายฝ่ังของทวีปแอฟริกา และมีการห้ามไม่ให้บริโภคพืชกัญชา เกิดขึ้นคร้ังแรกของโลกท่ีจักรวรรดิออตโตมัน หรือที่รู้จักกันในนามประเทศตุรกีปัจจุบันเป็นการ ประกาศหา้ มการรับประทาน ยางพืชกัญชา (Hashish) ค.ศ. 1533 - ค.ศ. 1699 กษัตริย์เฮนรี่ ท่ี 8 (King Henry VIII) แห่งประเทศอังกฤษ ต้องการยกระดับกองทัพเรือด้วยการสร้างเรือเพ่ิมมากขึ้น จึงประกาศให้เกษตรกรปลูกพืชกัญชา เพ่ือใช้ เส้นใยในการสรา้ งเรือ ซ่งึ ใครขัดขนื คาสั่งไมย่ อมปลกู จะมโี ทษปรบั

86 ค.ศ. 1700 - ค.ศ. 1940 เร่ิมมีการแบ่งแยกสายพันธุ์พืชกัญชากับการใช้ประโยชน์ ในอตุ สาหกรรมมีการพัฒนาสายพันธ์ุ เพ่ือหลีกเล่ียงสารเมา โดยเรียกพืชกัญชาท่ีใช้ประโยชน์จาก เส้นใยว่า Hemp มีการใช้พืชกัญชาทางการแพทย์ในรัฐนิวอิงแลนด์ (New England) เป็นครั้งแรก ในประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมา พระราชินีแห่งประเทศอังกฤษ ได้รับยาจากพืชกัญชาโดยแพทย์ ประจาตัว เซอร์ เจมส์ เรย์โนลด์ (Sir James Reynolds) เพื่อบรรเทาอาการปวดประจาเดือน และ ในยุคนั้นยาจากพืชกัญชาสามารถใช้ได้ และหาซื้อได้ท่ัวไปในเกาะอังกฤษ ค.ศ. 1941 - ค.ศ. 1998 ประเทศสหรฐั อเมริกาได้ลบข้อมลู พืชกัญชาออกจากตารับ ยา และระบวุ า่ พืชกญั ชาไมม่ คี ุณสมบตั ิทางยาใด ๆ จัดอยใู่ นบัญชที ่ี 1 คอื ยาเสพตดิ ทร่ี นุ แรงทีส่ ุด และ เพ่ิมความรนุ แรงในการลงโทษ นอกจากนี้ มีนักพฤกษศาสตรชาวอเมริกัน ไดจาแนกพืชกัญชาและพืชกัญชงออกจาก กันโดยลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Morphology) และพฤกษเคมี (Phytochemistry) โดยให้ช่ือวิทยา ศาสตรของพืชกัญชง คือ Cannabis sativa L. subsp. sativa และพืชกัญชา คือ Canabis sativa L. subsp. indica (Lam.) E.Small & Cronquist ค.ศ. 1999 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้มีการจดสิทธิบัตรพืชกัญชา หมายเลข US6630507 B1 อ้างสิทธิในการใช้พืชกัญชารักษาโรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง โรคที่เกิดจากเซลล์ถูกทาลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative Stress) เช่น โรคหัวใจ โรคปลายปลอกประสาทเสื่อม โรคเบาหวาน เปน็ ตน้ สาหรับประเทศไทยมีการใช้พืชกัญชาเป็นยาตั้งแตส่ มัยพระนารายณ์มหาราช จานวน 81 ตารบั และสังคมไทยมีการใช้พชื กัญชาเพ่ือการรกั ษาโรคมาเปน็ เวลานาน ปัจจบุ ันมีหลกั ฐานการใช้ พชื กัญชาในตารบั จานวน 90 ตารับ ต่อมาในปี พ.ศ. 2477 มีการตราพระราชบัญญัติกัญชา พ.ศ. 2477 ข้ึน ห้ามให้ผู้ใด ปลูก นาเข้า ซื้อขาย หรือเสพพืชกัญชาเด็ดขาด หากฝ่าฝืนจะได้รับโทษท้ังจาและปรับอย่างรุนแรง และในปี พ.ศ. 2522 รัฐบาลไทยได้ตราพระราชบัญญัติยาเสพติด พ.ศ. 2522 จัดพืชกัญชาเป็นยาเสพติด ให้โทษประเภท 5 รวมทั้งปัจจุบันมีกฎหมายให้ใช้พืชกัญชาในทางการแพทย์หรือศึกษาวิจัยได้ ตามเกณฑ์ทก่ี าหนด (รายละเอยี ดศึกษาไดจ้ ากหวั เรอ่ื งท่ี 4 กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั พืชกญั ชาและกญั ชง) 1.2 ประวัติความเปน็ มาของพืชกัญชง พืชกัญชงมีถิ่นกาเนิดมาจากประเทศอินเดีย ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของ เทือกเขาหิมาลัย เป็นพืชตระกูลเดียวกับพืชกัญชา แต่มีความแตกต่างด้านปริมาณสารเสพติด โดยเฉพาะเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) มีปริมาณน้อยกว่า พืชกัญชามาก ปลูกเพ่ือใช้ผลิตเส้นใยเป็นหลัก ในประเทศไทย พืชกัญชงอยู่ในวิถีชีวิต และประเพณีของ ชุมชนชาวไทยภูเขาตั้งแต่เกิดจนกระทั่งเสียชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ชนเผ่าม้ง ซึ่งใช้เส้นใย

87 พืชกัญชง ถักทอเป็นเสื้อผ้าเพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน นอกจากนี้ ตามความเชื่อดั้งเดิม ชาวม้งจะใช้ เส้นด้ายท่ีทามาจากเส้นใยพืชกัญชงมัดมือให้ทารกท่ีเกิดใหม่ การถักทอเครื่องแต่งกาย รองเท้า และ เชอื กมดั ศพสาหรับสวมใสต่ อนเสียชีวิต กล่าวโดยสรุป ประวัติพืชกัญชาในต่างประเทศมีการนามาใช้ต้ังแต่ 10,000 ปี มาแล้ว นามาใช้ในการสูดดมควัน ใช้เส้นใยทาเส้ือผ้า ทาใบเรือและเชือกในการสร้างเรือ ใช้เป็น ส่วนผสมในอาหาร ใช้ในพิธีกรรมเกี่ยวกับศาสนา และการใช้เสพเพื่อนันทนาการ จนกระทั่ง จดสทิ ธิบัตรรกั ษาโรคทางระบบประสาท ส่วนประเทศไทยใชเ้ ป็นตารบั ยาในการรักษาโรค กกกกกกก2. ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกับพืชกัญชาและกญั ชง 2.1 พฤกษศาสตร์ของพืชกญั ชาและกญั ชง พืชกัญชา มีช่ือวิทยาศาสตร์คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae มี ชื่อสามัญหลากหลายชื่อ ตามแต่ละท้องถ่ิน เช่น Cannabis. Ganja. Kancha. Bhang. Hemp. Indian Hemp. Marihuana. Marijuana. Dope. Gage. Grass. Hash. Hashish. Kuf. Mary jane. Pot. Sens. Sess. Skunk. Smoke. Reefer. Weed. คุนเชา ต้าหมา ปาง ยานอ ยาพ้ี กญั ชาเป็นพชื ล้มลุก มลี าต้นต้ังตรง 1 - 5 เมตร ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ ใบเป็นแบบฝ่ามือ มีใบยอ่ ยเว้าถึงโคนใบ มี 3 - 9 แฉก ขอบใบของใบย่อยเป็นแบบฟันเล่ือย โคนและปลายใบย่อยสอบเป็น พืชแบบแยกเพศผู้ และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน (dioecious species) และมีแบบต้นกะเทย คือ มี เพศผู้ และเพศเมยี ในตน้ เดียวกัน (monoecious species) ออกดอกเป็นดอกเดยี่ วตามซอกใบ และปลาย ยอด ชอ่ ดอกเพศเมยี เรียกวา่ “กะหลี่กัญชา” มผี ลแบบผลแหง้ เมล็ดล่อน เลก็ เรียบ สีนา้ ตาล ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง กาหนด พืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ในมิตกิ ฎหมายหมายถึง กญั ชาและกญั ชง กัญชา (Cannabis) เป็นพืชในตระกูล Cannabis ท้ังนี้หมายรวมถึง ทุกส่วนของ พืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น วัตถุหรือสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน กัญชง (hemp) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ท้ังน้ีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญ ชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก ไม่เกนิ ร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนกั แหง้

88 ภาพท่ี 18 พชื กญั ชา (Cannabis sativa L.)

89 สว่ นต่าง ๆ ของพชื กัญชา A. ตน้ กญั ชาตัวผขู้ ณะออกดอก (Flowering male staminate) B. ตน้ กญั ชาตวั เมียขณะติดผล (Fruiting female pistillate plant) 1. ดอกกญั ชาเพศผู้ (male staminate flower) 2. อับเรณูและก้านชอู บั เรณู (stamen anther and short filament) 3. เกสรตวั ผู้ (stamen) 4. ละอองเรณู (pollen grains) 5. ดอกตวั เมยี และกลีบประดับ (female pistillate flower with bract) 6. ดอกตวั เมียไม่มีกลีบประดับ (female flower without bract) 7. ดอกตวั เมียและรังไข่ (female flower showing ovary) 8. ผลและกลีบเล้ียง (fruit with bract) 9. ผลทีไ่ ม่มีกลบี เล้ยี ง (fruit without bract) 10. ผลด้านข้าง (fruit side view) 11. ผลผา่ ตามขวาง (cross-section) 12. ผลผา่ ตามยาว (longitudinal section) 13. ผลท่ีไมม่ เี ปลอื กหมุ้ หรือเมลด็ fruit without pericarp (hulled) กล่าวโดยสรุป พืชกัญชา มีชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. เป็นพืชในวงศ์ Cannabaceae มีช่ือสามัญหลากหลายตามแต่ละท้องถิ่น เป็นไม้ล้มลุกปีเดียว ลาต้นต้ังตรง สูงประมาณ 1-5 เมตร ใบเดี่ยว มี 3 – 9 แฉก รูปฝ่ามือ เรียงสลับ ดอกแยกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างต้นกัน (dioecious species) และมีแบบต้นกะเทย คือ เพศผู้ และเพศเมียในต้นเดียวกัน (monoecious species) ออกดอกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายยอด ช่อดอกเพศเมีย เรียกว่า “กะหลี่กัญชา” ผลแห้ง เมล็ดล่อน เลก็ เรียบ สีนา้ ตาล 2.2 ชนดิ (species) ของกัญชาและกญั ชง พืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ในปัจจุบันตามการยอมรับของนักพฤกษศาสตร์ จัดว่ามีเพียงสปีชีส์ (species) เดียว คือ Cannabis sativa L. ซึ่งจัดอยู่ในสกุล (genus) Cannabis และเป็นพืชในวงศ์ (Family) Cannabaceae ช่ืออื่นที่มีการใช้ถือว่าเป็นชื่อพ้อง (synonym) ของพืช นี้ทั้งสิ้น จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าพืชนี้ถูกแบ่งย่อยออกเป็น 2 ซับสปีชีส์ (subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. subsp. sativa (กัญชง, Hemp) ซึ่งมกั จะ มปี รมิ าณ THC น้อยกว่าร้อยละ 0.3 ในชอ่ ดอกแห้ง (แต่ในบางครั้งอาจจะสงู ถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. subsp.

90 Indica (พืชกัญชา) ท่ีมีปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในช่อดอกแห้ง แต่อย่างไรก็ตามการจาแนก กัญชาและกัญชงออกจากกันตามลักษณะทางสัณฐานวิทยาค่อนข้างแยกได้ยาก เนื่องจากกัญชาเป็น พืชท่ีเปลี่ยนแปลงได้ง่ายจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม กัญชาตามท้องตลาดท่ีซื้อขายกันในปัจจุบัน มัก เป็นลกู ผสมของ sativa และ indica บางแหล่งข้อมูลของนักพัฒนาสายพันธุ์มีการจาแนกกัญชาออกเป็น 3 ชนิดย่อย ตามถน่ิ กาเนิดและลักษณะทางกายภาพ ไดแ้ ก่ Sativa, Indica และ Ruderalis ภาพที่ 19 การจาแนกกัญชาออกเป็น 3 ชนดิ ย่อย ตามถิ่นกาเนดิ และลักษณะทางกายภาพ

91 ตารางท่ี 1 แสดงสายพันธ์ุของกญั ชา สายพนั ธุ์ Cannabis sativa L. Cannabis indica Lam. Cannabis ruderalis Janishch. ลักษณะใบ ลกั ษณะตน้

92 สายพนั ธ์ุ Cannabis sativa L. Cannabis indica Lam. Cannabis ruderalis Janishch. ลกั ษณะ ดอก ลักษะเดน่ ต้น : สงู โปรง่ ช่วงโตเต็มวยั ตน้ : เปน็ พุ่ม ลาต้นป้อมเตยี้ ต้น : มีลาตน้ ท่ีเลก็ และเตยี้ ถิน่ กาเนิด อยูท่ ่ี 1.5 - 2.5 เมตร มกี ่ิง ช่วงโตเต็มวัยอยู่ที่ 1.0 - 1.5 ใบ : มขี นาดกว้างและเล็ก ผสมกนั ปัจจบุ ันมัก ก้านทแ่ี ผ่ขยาย ช่องหา่ ง เมตร เป็นสายพนั ธุ์ ดอก : ออกดอกไดเ้ ร็ว ลูกผสม ระหวา่ งกิง่ มาก เนื่องจากมีการปรับตัวให้ (hybrid) เขา้ กบั สภาพอากาศหนาว ใบ : ลบี เลก็ เรยี ว และมี ใบ : มขี นาดกว้าง ใหญ่ และมี เย็นและมแี สงแดด ตลอดเวลาเกือบท้ังวัน จานวนแฉกมาก จานวนแฉกนอ้ ยกวา่ Sativa ประเทศหนาวเย็น และมแี สงสว่างเกอื บตลอด ดอก : ยาว ไม่แนน่ ดอก : หนาแนน่ น้าหนักมาก ทงั้ วันในทุกฤดู อยู่ใกลข้ ว้ั โลกบรเิ วณ 50 องศาเหนอื เว้นระยะหา่ งพอสมควร ติดกนั เป็นช่อเน่ืองจากมกี าร ขนึ้ ไป และ 50 องศาใต้ลง มา เนื่องจากมีการปรบั ตวั ให้เขา้ ปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กบั สภาพอากาศ กับสภาพอากาศร้อนชืน้ หนาวเยน็ และแห้ง เพื่อหลกี เล่ยี งการเกดิ เช้อื รา ประเทศเขตร้อนชนื้ ประเทศหนาวเยน็ บรเิ วณใกล้เสน้ ศูนย์สตู รต้ังแต่ ห่างจากเสน้ ศูนยส์ ูตรออกไปใน 30 องศาเหนือ ถึง 30 องศา บรเิ วณ 30-50 องศาเหนือและ ใต้ เชน่ ประเทศไทย เมก็ ซโิ ก 30-50 องศาใตพ้ บครั้งแรกใน โคลมั เบยี จาไมก้า ภูมภิ าคตะวนั ออกกลาง คอื อัฟกานิสถาน ยงั พบอีกใน ปากีสถาน จีน ธเิ บต อนิ เดยี เนปาล ในบริเวณทีม่ อี ากาศแห้ง จะถือเป็นสายพนั ธุ์ Sativa จะถอื เปน็ สายพันธ์ุ Indica หากมสี ดั สว่ น Sativa หากมีสดั ส่วน Indica มากกว่า มากกวา่ ร้อยละ 80 ในตน้ รอ้ ยละ 80 ในตน้

93 ภาพที่ 20 ภาพแสดงถิน่ กาเนิด กกกกกกกสาหรับประเทศไทย พชื กญั ชา เชน่ พนั ธุ์หางกระรอก และภูพาน เปน็ สายพนั ธ์ุท่มี ปี ริมาณ สาร THC มากกวา่ สาร CBD เน่อื งจากมสี ภาพแวดล้อมตัง้ อยใู่ กล้บริเวณเส้นศูนย์สตู ร ทาใหม้ อี ากาศร้อน สง่ ผลต่อการผลติ ปรมิ าณสาร THC สูงกว่า สาร CBD ในกญั ชาท่พี บในประเทศไทย 2. ภาพท่ี 21 ตน้ ตวั ผู้ ออกดอกเปน็ ช่อดอกเล็ก ๆ สีขาว ตรงซอกใบ

94 ภาพท่ี 22 ต้นตวั เมีย ดอกออกเป็นกระจุกแนน่ เปน็ ชน้ั ๆ มีขนสีขาว ๆ (หมอยกัญชา) มีสาร THCA เยอะท่สี ุดในส่วนช่อดอกตวั เมียท่ียังไม่ผสมพนั ธ์ุ “ระยะเก็บเกี่ยว” ช่อดอกตวั เมยี ชอ่ ดอกตวั ผู้ ภาพที่ 23 ต้นกะเทย มีทั้งดอกตัวเมียและตัวผู้อยู่ในต้นเดียวกัน

95 กกกกกกกกล่าวโดยสรุป กญั ชาและกญั ชง นักพฤกษศาสตร์จดั ว่าเป็นพชื ในสปชี ีส์ (species) เดียวกนั คือ Cannabis sativa L. ซึ่งจัดอยู่ ในสกุ ล (genus) Cannabis แ ล ะ เ ป็ น พื ช ใ น ว ง ศ์ (family) Cannabaceae แต่ในส่วนขององค์การอนามัยโลก ( WHO) ได้แบ่งย่อยเป็น 2 ซับสปีชีส์ (subspecies) ได้แก่ Cannabis sativa L. subsp. sativa (กัญชง, Hemp) ซึ่งมักจะมีปริมาณ THC น้อยกว่าร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง (แต่ในบางครั้งอาจจะสูงถึงร้อยละ 1) และ Cannabis sativa L. subsp. indica (กัญชา, Cannabis) ซ่ึงมักจะพบปริมาณ THC มากกว่าร้อยละ 1 ในใบและช่อดอกแหง้ การจาแนกพืชกัญชาและกัญชง โดยสังเกตจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาทาได้ยาก เน่ืองจากสาร THC ใน กัญชาเปลีย่ นแปลงได้งา่ ยจากปจั จัยด้านสิ่งแวดลอ้ ม นักวิชาการเกษตรด้านการปรับปรุงสายพันธุ์มักจะ จาแนกกัญชาและกัญชงออกเป็น 3 สายพันธ์ุ ได้แก่ ซาติว่า (Cannabis sativa L.) อินดิก้า (Cannabis indica Lam.) และรูเดอลาลิส (Cannabis ruderalis Janishch.) ซึ่งจาแนกตามลักษณะทางกายภาพของพืช เช่น ลักษณะใบ ความสงู ถน่ิ กาเนดิ ทีพ่ บ เป็นต้น ถาม กัญชาและกญั ชงอย่ใู นสปีชสี เ์ ดียวกัน จริงหรือไม่ ตอบ จริง กัญชงและกัญชาจัดเปน็ พืชทอี่ ยูใ่ นสปชี สี ์เดียวกัน มชี ่ือทาง วิทยาศาสตร์ คือ Cannabis sativa L. แตแ่ ตกต่างกนั ทป่ี ริมาณ THC ถาม จริงหรือไม่ กัญชาและกญั ชงเป็นพืชท่มี เี พศ ตอบ จริง กัญชาและกญั ชงเป็นพชื ท่ีมตี ้นตวั ผู้ ตน้ ตัวเมีย และต้นกระเทย (ต้นทีม่ ดี อกเพศผ้แู ละเพศเมียอยใู่ นตน้ เดยี วกนั )

96 ถาม กัญชาสายพันธขุ์ องไทยมกั เป็นสายพันธุ์ทีม่ ีสาร THC สงู จริงหรือไม่ ตอบ จริง สายพนั ธ์พุ ้นื เมืองของไทยสว่ นใหญเ่ ป็นสายพันธทุ์ ่ีมีปรมิ าณสาร THC สูงกว่าสาร CBD ถาม กัญชากนิ สดไมเ่ มา จริงหรอื ไม่ ตอบ จรงิ ในพชื สดของกญั ชาและกัญชงไม่มสี ารเมา (THC) แตจ่ ะมีสาร THCA จงึ สามารถทานสดได้โดยไม่เมา แตเ่ มอ่ื THCA ถูกความรอ้ นจะกลายเป็น สาร THC ดงั นน้ั การนากญั ชาไปสูบ จึงทาให้เกิดการเมาได้ 2.3 องคป์ ระกอบทางเคมี และสารสาคัญที่พบในพืชกญั ชาและกญั ชง 2.3.1 องค์ประกอบทางเคมีที่พบในพืชกญั ชาและกัญชง องค์ประกอบทางเคมีที่มีการรายงานว่าพบในกัญชามีมากกว่า 500 ชนิด และมีอยู่หลายกลุ่ม ได้แก่ เทอร์ปีน (Terpenes) ไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbons) ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) นา้ ตาล (Sugars) เป็นตน้ แตส่ ารที่มีความสาคัญทางยาของกัญชามากท่ีสุด คือ สาร ในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (cannabinoids/ Phytocannabinoids) ซ่ึงพบมากท่ไี ทรโครมของดอกเพศเมีย ทย่ี ังไมไ่ ด้รับการผสมพนั ธ์ุ (resin glandular trichomes) สารออกฤทธแิ์ คนนาบินอยด์ พบมากท่ไี ทรโครม (Trichome) ซง่ึ เปน็ เซลล์ ขนของพืชมีลักษณะคล้ายต่อมน้ารูปทรงคล้ายเห็ดมีมากในกลีบเล้ียงดอกตัวเมียท่ียังไม่ผสมพันธุ์ แคนนาบนิ อยด์จะถกู สรา้ งขน้ึ และนามาเกบ็ สะสมบริเวณน้ี เพ่ือปอ้ งกันพืชต่อแสงยวู ี แมลง และการสญู เสยี น้า กล่าวโดยสรุป องค์ประกอบทางเคมีท่ีพบในพืชกัญชาและกัญชงมีมากกวา่ 500 ชนิด และมีอยู่หลายกลุ่ม แต่สารที่มีความสาคัญทางยา คือ สารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ (cannabinoids/Phytocannabinoids) พบมากบริเวณในยางไทรโครมของดอกเพศเมียท่ียังไม่ได้รับ การผสมพันธ์ุ (resin glandular trichomes)

97 ภาพท่ี 24 ชอ่ ดอกของกญั ชาเพศเมยี เมอ่ื ส่องดว้ ยกล้องขยายจะเหน็ ไทรโครมอยู่บนช่อดอก 2.3.2 สารสาคัญท่พี บในพืชกญั ชาและกัญชง สารสาคัญต่าง ๆ ที่ออกฤทธ์ิในพืชกัญชานั้นเรียกว่า แคนนาบินอยด์ (cannabinoids) คือ THC และ CBD รวมอยู่ด้วยกันกับแคนนาบินอยด์ อื่น ๆ โดยธรรมชาติ แต่ด้วย นวัตกรรมการปลูกสมัยใหม่จึงสามารถเจาะจงการปลูกเพื่อเพ่ิมระดับสารแคนนาบินอยด์ และความ เดน่ ของการออกฤทธ์ิต่อร่างกายได้ สาร THC คือ สารทีอ่ อกฤทธสิ์ ง่ ผลให้มีอาการมึนเมา หากมกี ารใช้ ต่อเนื่อง ทาให้เกิดการเสพติดได้ สารแคนนาบินอยด์ มากกว่า 120 ชนิด เคยมีการบันทึกไวว้ ่าถูกพบ ในพืชกญั ชา ซ่ึงสารแคนนาบินอยดท์ ม่ี ีการศึกษา และมคี วามสาคัญ คือ

98 ภาพท่ี 25 ภาพแสดงชีวะสงั เคราะห์ของสารแคนนาบินอยด์ โดยมี CBGA เป็นสารต้ังตน้ และได้เปน็ สาร THCA, CBDA และ CBCA และเมอื่ ถูกความรอ้ นจะเปลี่ยนรูปเปน็ สาร THC, CBD และ CBC 1) สารแคนนาบิเจอรอล (Cannabigerol, CBG) เป็นอนุพันธ์ของสาร CBGA เมื่อสาร CBGA โดนความร้อนจะเปลี่ยนสภาพ เป็นสาร CBG ดังน้ัน สาร CBG จึงสามารถตรวจพบได้ในพืชกัญชาและกัญชง สาร Cannabigerolic acid (CBGA) เป็นสารต้นกาเนิดของสารทั้งหมดท่ีมีในต้นกัญชาและกัญชง คือ เม่ือต้นพืชกัญชาและกัญชง ยังเล็ก จะมีสาร CBGA เท่านั้น เม่ือต้นพืชกัญชงและกัญชาเริ่มโตข้ึน สาร CBGA นี้ จะถูกเปล่ียนเป็น THCA, CBDA และสารอื่น ๆ ในพืชสด เราจะพบสารแคนนาบินอยด์ในรูปของกรดเท่าน้ัน (THCA, CBDA) ซึ่งสารทุกตัวไม่มีฤทธิ์ต่อจิตประสาท ไม่ก่อให้เกิดอาการเมากัญชา แต่เมื่อสารเหล่าน้ีถูกความ ร้อนจะเปลี่ยนรูปและเกิดการดีคาบอกซิเลชั่น (decarboxylation) สาร CBGA จะเปล่ียนเป็น CBG

99 สาร THCA จะเปลี่ยนเป็น THC และสาร CBDA จะเปล่ียนเป็น CBD ซ่ึงสาร THC จะเป็นตัวท่ี ก่อใหเ้ กิดอาการเมาขณะท่ีสาร CBD จะชว่ ยลดผลข้างเคียงของ THC ทาให้ลดอาการมนึ เมาลงได้ กล่าวโดยสรุป สารแคนนาบิเจอรอล เป็นอนุพนั ธ์ของสาร CBGA เมื่อสาร CBGA ถูกความร้อนจะเปล่ียนสภาพเป็นสาร CBG ดังนั้น สาร CBG จึงสามารถตรวจพบได้ในพืชกัญชาและ กัญชง สาร CBGA เป็นสารต้นกาเนิดของสารทั้งหมดที่พบในพืชกัญชาและกัญชง เมื่อพืชโตขึ้น สาร CBGA นี้ จะถูกเปลี่ยนเป็น THCA, CBDA และสาร อื่น ๆ เม่ือสารถูกความร้อนหรือออกซิไดซ์ สาร CBGA, THCA และสาร CBDA จะเปลี่ยนสภาพเปน็ สาร CBG สาร THC และสาร CBD 2) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) เป็นสารท่ีมีฤทธ์ิทาให้มึนเมา ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง (psychoactive effects) เมื่อเสพเข้าไปจะออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท ทาให้ผู้เสพต่ืนเต้น ช่างพูด และหัวเราะ อารมณ์ดี กระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกให้มากขึ้น เพ่ิมอัตราการเต้นของหัวใจ กระวนกระวาย หวาดวิตก ต่อมาจะกดประสาททาให้ผเู้ สพมีอาการคลา้ ยเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซ่ืองซึม และง่วงนอน ผ่อนคลาย นอนหลับ หลงลืมระยะสั้น มึนงง และหลอนประสาทร่วมด้วย โดยขึ้นอยู่กับปริมาณ ท่ีได้รับ มีการใช้เพื่อกระตุ้นการอยากอาหาร ต้านการอกั เสบ ลดการปวด และตา้ นการอาเจยี น ปริมาณของสาร THC ในแต่ละส่วนของพืชจะแตกต่างกันออกไป ดังน้ี สาร THC จะพบมากทีส่ ุดในช่อดอกตัวเมยี มีปรมิ าณสูงร้อยละ 10 - 12 และพบในส่วนอืน่ ๆ ของพืช เช่น ในใบร้อยละ 1 - 2 ในลาต้นร้อยละ 0.1 - 0.3 และในรากน้อยกว่าร้อยละ 0.03 แต่ขึ้นอยู่กับสายพันธ์ุ และสภาวะแวดล้อม มีการรายงานว่าในสารสกัดเข้มข้น หรือเรซิ่นจากดอกกัญชา มีปริมาณ THC สูงกว่ารอ้ ยละ 60 - 90 โดยข้นึ อยู่กับกรรมวธิ ีการสกดั กล่าวโดยสรุป THC เป็นสารที่มีฤทธิ์ทาให้มึนเมาออกฤทธิ์ต่อระบบ ประสาทส่วนกลาง (psychoactive effects) ปริมาณของ THC ในแต่ละส่วนของพืชมีปริมาณไม่เท่ากัน จะออกฤทธ์ิกระตุ้นประสาททาให้ผู้เสพตื่นเต้น ช่างพูด หัวเราะอารมณ์ดี ต่อมาจะกดประสาทมีอาการ คล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อน ๆ เซ่ืองซึม ง่วงนอน และหลอนประสาท โดยข้ึนอยู่กับปริมาณที่ได้รับ 3) สารแคนนาบไิ ดออล (Cannabidiol, CBD) ไม่มีผลต่อจิตและประสาท (non-psychoactive) และช่วยลด ผลข้างเคียงจาก THC ท่ีทาให้วิตกกังวล มีการใช้ในการรักษาโรคลมชักในเด็ก มีฤทธ์ิในการต้าน การอักเสบ ต้านอาการปวด และลดอาการอาเจียน ตามกฎหมายไทยเป็นสารที่สกัดจากกัญชา ซ่งึ มคี วามบรสิ ทุ ธม์ิ ากกวา่ หรอื เท่ากบั ร้อยละ 99 โดยมีปรมิ าณสาร THC ไมเ่ กนิ ร้อยละ 0.01 โดยน้าหนัก สาร THC และ CBD ไม่ใช่สารท่ีได้จากการสังเคราะห์ด้วยเอนไซม์ในพืช (enzymatically synthesized) พืชกัญชาจะสร้างสารสองตัวนี้ในรูปของกรด ซึ่งไม่มีผลต่อจิต และประสาท คือ เตตราไฮโดรแคนนาบิโนลิค แอซิด (tetrahydrocannabinoli acid, THCA)

100 และแคนนาบิไดโอลิค แอซิด (cannabidiolic acid,CBDA) แต่ถูกความร้อนหรือออกซิไดซ์จะ กลายเป็น THC (มีผลต่อจิตและประสาท) และ CBD ตามลาดับ ดังน้ันในพืชกัญชาสดเราจะพบ ในรปู ของ THCA และ CBDA สาร THC และ CBD เป็นสารในกลุ่มแคนนาบินอยด์ ซึ่งเป็นสาร ท่ีมีคุณสมบัติมีข้ัวต่า ไม่ชอบละลายในนา้ ละลายได้ดีในน้ามัน ดังน้ัน วิธีการสกัดเอาสารสาคัญจาก พืชกัญชา จึงมักนิยมใช้ตัวทาละลายที่มีขั้วต่า หรือน้ามันในการสกัด เพราะจะสามารถละลายสาร แคนนาบินอยด์ออกมาได้ดี สาร CBD เป็นสารที่ไม่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ไม่ทาให้เกิด อาการมึนเมาในตัวมันเอง และมีคุณสมบัติในการต้านผลข้างเคียงของการใช้สาร THC ซึ่งทาให้ เกิดความรู้สึกหวาดระแวงและวิตกกังวล สาร CBD จึงมีประโยชน์ทางการแพทย์อย่างมากมีการลด ผลขา้ งเคียง ดงั นั้น ตารับยาทม่ี ีการใช้สาร THC มกั มี CBD รว่ มอยดู่ ้วย กล่าวโดยสรุป สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารนี้ไม่มีผลต่อ จิตและประสาท (non-psychoactive) และช่วยลดผลข้างเคียงจาก THC ซ่ึงเป็นสารท่ีมีคุณสมบัติมีขั้วต่า ละลายได้ดีในน้ามัน ดังนั้นการสกัดสารสาคัญจากกัญชา จึงมักนิยมใช้ตัวทาละลายที่มีข้ัวต่า หรือน้ามัน ในการสกัด เพราะจะสามารถละลายเอาสารแคนนาบินอยดอ์ อกมาได้ดี 4) สารออกฤทธท์ิ รี่ ว่ มกับแคนนาบินอยด์ เน่ืองจากในกัญชามีสารมากกว่า 500 ชนิด บางรายงานการศึกษา พบว่านอกจากสารสาคัญ THC และ CBD แล้วนั้น คาดว่าสารในกลุ่มอื่นที่พบในกัญชา เช่น สาร ในกลุ่มฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปีน เป็นตัวที่ช่วยเสริมการออกฤทธิ์ทางยากับสารกลุ่มแคนนาบินอยด์ อกี ด้วย ซ่งึ เรยี กการเสรมิ ฤทธิน์ ้ีวา่ “Entourage effect” กล่าวโดยสรุป สารออกฤทธิ์ที่ร่วมกับแคนนาบินอยด์ เช่น สารในกลุ่ม ฟลาโวนอยด์ และเทอร์ปีน เปน็ สารท่ีชว่ ยเสรมิ การออกฤทธ์ิทางยาแก่สารกลุ่มแคนนาบนิ อยด์ ถาม ปริมาณสารแคนนาบนิ อยด์ จะมากท่ีสดุ ในช่อดอกตัวเมยี ทไี่ มผ่ สมพนั ธ์ุ จรงิ หรือไม่ ตอบ จริง พืชจะสรา้ งสารแคนนาบนิ อยดม์ ากทส่ี ดุ ในช่อดอกตัวเมยี ทไ่ี ม่ผสมพันธุ์ เมื่อเทยี บกบั ส่วนอน่ื ๆ ของพืช

101 กกกกกกก3. พืชกญั ชาและกญั ชงคอื อะไร แตกตา่ งกันอย่างไร พืชกัญชา หรือแคนนาบิส (cannabis) และพืชกัญชง หรือเฮมพ์ (Hemp) มีช่ือทาง วิทยาศาสตรเดียวกันคือ Cannabis sativa L. เพราะมีตนกาเนิดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะภายนอกหรือสัณฐานวิทยาของพืชทั้งสองชนิดน้ันจึงไมแตกตางกัน หรือมีความแตกตางกันนอย จนยากในการจาแนก แตเดิมนักพฤกษศาสตรไดจัดใหอยูในวงศตาแย (Urticaceae) ตอมาภายหลัง พบวามีคุณสมบัติ และลักษณะเฉพาะหลายประการที่ตางออกไปจากพืชในกลุ่มตาแยมาก จึงไดรับ การจาแนกออกเปนวงศเฉพาะ คอื แคนนาบิซอี ี (Cannabaceae) ในปัจจุบันพืชกัญชาและกัญชงแยกจากกัน โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซ่ึงอ้างอิง ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง กาหนดลักษณะพืชกัญชง (Hemp) พ.ศ. 2562 (ประกาศ ณ วันท่ี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562) ระบุว่า พืชกัญชง (Hemp) มีลักษณะเป็นพืชซึ่งมีช่ือทาง วิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ท่ีมีปริมาณสาร THC ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง ในขณะท่ีข้อกาหนดของ องค์การอนามัยโลก รวมไปถึงอเมริกา แคนาดา และยุโรป ณ ขณะนี้กาหนดให้กัญชงมีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในชอ่ ดอกและใบแหง้ ในปจั จุบันมกี ารพัฒนาสายพันธ์ุกัญชง เพ่อื นามาใช้ประโยชน์ ทางดา้ นอตุ สาหกรรมอย่างหลากหลาย สามารถแบง่ พชื กัญชงออกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ ประเภทท่ี 1 พืชกัญชงสายพันธุ์ที่เน้นการใช้ประโยชน์จากเส้นใย (Hemp fiber) เป็น สายพันธุท์ ่เี นน้ การให้เส้นใยทีด่ ี ลาต้นตรงและสงู มีปรมิ าณสารแคนนาบินอยด์ต่า ท้งั CBD และ THC นิยมนามาปลูกเพ่ือนาเส้นใยจากเปลือกลาต้นกัญชงมาทาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เส้ือผ้า กระเป๋า หมวก เชอื ก กระดาษ และอัดเปน็ แท่งคลา้ ยคอนกรีตสาหรบั ใชใ้ นงานก่อสรา้ ง เปน็ ตน้ ประเภทที่ 2 พชื กญั ชงสายพันธทุ์ ี่พัฒนาเพ่ือให้คุณค่าทางโภชนาการในเมล็ดสูง (Hemp seed oil) นิยมปลูกเพ่ือนาเมล็ดมาหีบเอาน้ามันจากเมล็ด ซึ่งมีโอเมก้า 3 - 6 - 9 ปริมาณสูง นามาใช้ใน อสุ าหกรรมเคร่ืองสาอาง และผลติ ภณั ฑเ์ พ่ือสุขภาพอยา่ งกว้างขวาง มปี รมิ าณสารแคนนาบนิ อยด์ต่า ประเภทท่ี 3 พืชกัญชงสายพันธุ์ที่ให้ปริมาณ CBD สูง (Hemp CBD) เป็นสายพันธุ์ท่ี พัฒนาเพ่ือให้ปริมาณสารแคนนาบิไดออล (cannabidiol, CBD) ในช่อดอกตัวเมียมีปริมาณสูง นิยมปลูกเฉพาะตน้ ตัวเมียโดยไม่ใหเ้ กดิ การผสมพันธุ์ก่อนการเก็บเกยี่ ว มกี ารนามาใช้ประโยชน์ทั้งทาง การแพทย์และอุตสาหกรรมอื่น เช่น อาหาร เครื่องด่ืม และอุตสาหกรรมเคร่ืองสาอาง เป็นต้น จึงเป็น สายพันธทุ์ ่ีมคี วามตอ้ งการสูงและมีมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ

102 ตารางที่ 2 เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งกญั ชาและกัญชง กัญชา กัญชง 1. ลาต้นสงู น้อยกวา่ บางชนิดออกเปน็ พ่มุ เต้ีย 1. ลาตน้ สูงมากกวา่ 2 เมตร 2. แตกกิ่งก้านมาก 2. แตกกงิ่ ก้านน้อย 3. ใบใหญ่ การเรยี งตวั ของใบจะชิดกนั 3. ใบเล็ก แคบ ยาว การเรียงตวั ของใบค่อนข้างหา่ ง 4. ปลอ้ งหรอื ข้อไม่ยาว 4. ปลอ้ งหรือข้อยาว 5. เปลือกไมเ่ หนียว ลอกยาก 5. เปลอื กเหนยี ว ลอกง่าย 6. ใบสเี ขียวถึงเขียวจดั 6. ใบมสี เี ขียวอมเหลือง 7. ใหเ้ สน้ ใยยาว คณุ ภาพตา่ 7. ใหเ้ สน้ ใยยาว คณุ ภาพสงู 8. เมือ่ ออกดอก มียางท่ชี อ่ มาก 8. เมือ่ ออกดอก มยี างทีช่ ่อไมม่ าก 9. ออกดอกเม่ืออายปุ ระมาณ 3 เดือน 9. ออกดอกเมื่ออายุมากกว่า 4 เดือน 10. ใบและกะหลี่นามาสูบมีกลิน่ หอมคล้าย 10. ใบและกะหล่ีนามาสูบจะมีกล่ินหอมน้อย หญ้าแหง้ และทาให้ผเู้ สพมีอาการปวดศีรษะ กล่าวโดยสรุป พืชกัญชาและกัญชงมีชื่อวิทยาศาสตร์เดียวกันคือ Canabis sativa L. มีถิ่นกาเนิดมาจากพืชเดิมชนิดเดียวกัน ลักษณะภายนอก หรือสัณฐานวิทยาของพืชทั้งสองชนิด จึงมคี วามแตกตางกันนอย การแยกโดยสัณฐานวิทยาทาได้ค่อนข้างยาก ปัจจุบันพืชกัญชาและกัญชง แยกจากกัน โดยตัดสินจากปริมาณสาร THC ซึ่งข้อกาหนดขององค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนด กัญชงให้มีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 0.3 ในใบและช่อดอกแห้ง ส่วนกฎหมายของประเทศไทย กาหนดให้ กัญชงให้มีปริมาณ THC ไม่เกินร้อยละ 1.0 ในใบและช่อดอกแห้ง กกกกกกก4. การใช้พชื กัญชาและกญั ชงในชีวิตประจาวนั ของคนในโลก ปัจจุบันในต่างประเทศผลิตภัณฑ์จากกัญชาและกัญชงมีมากมาย มีการจาหน่ายทั้งใน รปู ของพชื กญั ชาแหง้ ท่ีไม่ผา่ นการแปรรูป หรือการจาหน่ายในรูปของสารสกัดเข้มข้นหรือผา่ นกรรมวิธี การสกัดมาแล้ว ซึ่งจะมีชื่อเรียกสารสกัดเข้มข้นนี้แตกต่างกันออกไปตามลักษณะทางกายภาพของ ผลิตภัณฑ์ ในหัวข้อนี้จะแสดงให้เห็นถึงชื่อที่ใช้เรียกผลิตภัณฑ์กัญชาและสารสกัดกัญชาที่พบ ใน ท้องตลาด โดยผลิตภณั ฑท์ ั้งสองรปู แบบนี้ มีในประเทศท่ีอนญุ าตใหใ้ ชเ้ พอ่ื การแพทย์ ซง่ึ ผปู้ ว่ ยสามารถ ซื้อหรือได้รับการส่ังจ่ายโดยแพทย์ เพ่ือนาไปใช้สูบ (smoke) หรือใช้กับเคร่ืองสูบผ่านไอน้า (Vaporizer) ได้ หรือในประเทศที่อนุญาตเพื่อการนันทนาการ ผู้ที่บรรลุนิติภาวะจะสามารถซื้อไปใช้ เพ่ือการผอ่ นคลายได้

103 4.1 ผลติ ภัณฑพ์ ชื กัญชาและกญั ชงไม่แปรรูป บางประเทศที่อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ จะมีผลิตภัณฑ์พืชกัญชาไม่แปรรูป เช่น ดอกกญั ชาแหง้ (Cannabis dries flower) ซง่ึ ผู้ปว่ ยจะสามารถนาใบส่ังซ้ือจากแพทย์ไปซอื้ กัญชา แห้งมาเพ่ือใช้สูบ หรือใช้เพ่ือการรักษาได้ ในประเทศที่มีการอนุญาตให้ใช้เพื่อการนันทนาการ เช่น แคนาดา ผู้เสพจะสามารถหาซื้อกัญชาแห้งท่ีจาหน่ายแบบถูกต้องตามกฎหมายในร้านท่ีมีการ ขออนุญาตจาหน่ายกัญชา ซง่ึ กญั ชาท่จี าหน่ายจะถูกควบคุมคุณภาพ โดยมีการระบุปริมาณสารสาคัญ THC, CBD เทอร์ปีน หรือระบุสายพันธุ์ ติดบริเวณบรรจภุ ณั ฑ์ ภาพที่ 26 ดอกกญั ชาแหง้ กล่าวโดยสรุป ผลติ ภณั ฑพ์ ืชกัญชาและกัญชงไมแ่ ปรรปู เชน่ ดอกกญั ชาแห้งในประเทศท่ี อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ผู้ป่วยจะสามารถนาใบส่ังซื้อจากแพทย์ไปซื้อกัญชาแห้งมาเพื่อใช้ สบู หรอื ใชเ้ พ่อื การรกั ษาได้ 4.2 ผลติ ภณั ฑ์พชื กัญชาและกญั ชงแปรรูป การแปรรูปจากกัญชาและกัญชง เป็นสารสกัดเข้มข้น (Concentrates) ซ่ึงมีการ นาไปใช้ประโยชน์ท้ังทางการแพทย์และเพ่ือการนันทนาการ การสกัดมีหลากหลายวธิ ีเพ่ือให้ได้สารแคนนา บินอยด์ ท่ีเข้มข้น และเนื่องจากกรรมวิธีท่ีแตกต่างกันจึงทาให้ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจได้ง่ายขึ้นจึงมีการใช้ชื่อเรียกตามลักษณะทางกายภาพ ของสารสกัดนั้น ๆ เช่น

104 รูปแบบที่ 1 ครสิ ตลั ไลน์ (Crystalline) เปน็ ลกั ษณะของแข็ง ค่อนข้างใสเหมือนก้อนครสิ ตลั ภาพที่ 27 Crystalline รปู แบบที่ 2 ดิสทลิ เลท (Distillate) เปน็ สารสกดั กัญชาทไ่ี ด้จากการกลัน่ ลักษณะที่ได้ เป็นของเหลวสเี หลอื งใส ภาพท่ี 28 Distillate รปู แบบท่ี 3 ไลว์ เรซ่ิน (Live Resin) สว่ นใหญ่ไดจ้ ากการสกัดโดยใชบ้ ิวเทน (butane) ลักษณะคลา้ ยเรซิ่น สีเหลอื ง ภาพท่ี 29 Live Resin (BHO)

105 รูปแบบที่ 4 เชทเทอร์ (shatter) ลกั ษณะแข็งเป็นแผ่นสเี หลืองน้าตาล กรอบหกั แตกได้ ภาพที่ 30 Shatter (BHO) รปู แบบท่ี 5 บัดเดอร์ (budder) จะมีลกั ษณะเปน็ กอ้ นสีเหลอื งคลา้ ยเนย ภาพที่ 31 Budder (BHO) รูปแบบท่ี 6 สเนป็ (snap) เป็นสารสกดั เข้มข้นทีม่ คี วามเหนยี วยืดแต่ไม่กรอบ แตกได้ ภาพที่ 32 Snap (BHO)

106 รูปแบบท่ี 7 ฮันนี่โคม (Honey comb) สารสกดั ที่มลี กั ษณะคล้ายกบั รวงผ้งึ มรี พู รุน ดา้ นใน เป็นกอ้ นแขง็ ภาพที่ 33 Honeycomb รปู แบบที่ 8 ครัมเบลิ (crumble) ลักษณะเป็นชิน้ เล็ก ๆ ป่น ๆ คล้ายกบั ขนม ภาพที่ 34 Crumble รปู แบบที่ 9 เซ็ฟ (Sap) มลี ักษณะค่อนข้างเหลว สเี หลอื ง หรอื สีน้าตาล ภาพท่ี 35 Sap

107 รูปแบบท่ี 10 โพรเพน เอ็กซ์แทร็ก (propane extract, PHO) จะมีลักษณะคล้ายก้อนแว็กซ์ แขง็ สเี หลือง ภาพที่ 36 PHO รูปแบบที่ 11 แฮช ออยล์ (Hash oil) เป็นการสกัดเข้มข้นของกัญชา ท่ีระเหยตัวทาละลาย ออกแล้ว จะไดส้ ารแคนนาบินอยดเ์ ข้มข้นลักษณะเปน็ ยาง เหนยี ว ๆ สีนา้ ตาล ภาพท่ี 37 Hash oil รปู แบบท่ี 12 เชเรซ (Charas) มกั ใช้วธิ กี ารราดด้วยนา้ แขง็ แหง้ หรือไนโตรเจนเหลว แลว้ เคาะ ไทรโครมออกมาจากดอกเพศเมีย ซ่ึงมแี คนนาบนิ อยดเ์ รซ่ินอยู่มาก ภาพท่ี 38 Charas

108 กล่าวโดยสรุป ผลิตภัณฑ์พืชกัญชาและกัญชงแปรรูป คือ ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชา และกัญชงท่ี แปรรูปเป็นสารสกัดเข้มข้น (Concentrates) ซ่ึงมีหลายรูปแบบ และมีชื่อเรียกแตกต่าง กนั ไป ผลิตภณั ฑ์สารสกดั กัญชาจะใหส้ ารแคนนาบินอยด์ท่ีเข้มข้นกวา่ ในรปู พชื แห้ง แต่ทั้งสองรูปแบบ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ทั้งทางการแพทย์ และเพ่ือการนันทนาการได้ตามกฎหมายของแต่ละ ประเทศท่มี กี ารอนุญาตใหใ้ ช้ 4.3 การบริโภค และอุปโภค กญั ชาในอาหาร มหี ลกั ฐานบันทกึ ไวว้ ่า คร้ังหนงึ่ มกี ารใช้กญั ชาเป็นสมุนไพร คคู่ รัวไทย เพ่ือปรุงรสอาหาร และนิยมใช้เพื่อการเข้ายาตามตารบั ยาไทยโบราณ ในปัจจุบันประเทศท่ีอนุญาตให้ ใช้กัญชาและกัญชงในอาหารมีการนามาแปรรูปเป็นผลิตภณั ฑ์เพ่ือการบริโภคและอุปโภคมากมาย เชน่ 4.3.1 ผลติ ภณั ฑ์เพื่อการบรโิ ภค ในประเทศที่มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาได้ มีการใช้กัญชาหรือกัญชงเป็น สว่ นประกอบในอุตสาหกรรมอาหารมากมาย เช่น เคร่อื งดมื่ ชูกาลังหรือเคร่อื งดม่ื ไรแ้ อลกอฮอล์เพื่อด่ืม แทนเบยี ร์ ในอาหารหรอื ขนม คุกก้ี ไอศกรีม เยลลี่ หมากฝร่งั ลูกอม เป็นต้น โดยจะมกี ารระบุปริมาณ THC และ CBD ไว้อย่างชัดเจน ซ่ึงปกติจะไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อ 1 หน่วยบริโภค และมีการกาหนด อายุของผู้ซื้อเพอ่ื จากัดการเข้าถึงของผ้บู รโิ ภคท่ีอาจจะสุ่มเสี่ยงใหไ้ ม่ปลอดภัยได้ ภาพท่ี 39 อาหารท่ีมสี ว่ นผสมของกัญชา

109 มีการใช้น้ามันจากเมล็ดกัญชง (Hemp seed oil) ในการประกอบอาหาร โดยไม่ผ่านความร้อน เช่น ใช้ในการปรุงน้าสลัด เพ่ือได้รับคุณค่าทางด้านโภชนาการ เน่ืองจากน้ามัน เมลด็ กัญชงอุดมไปด้วย โอเมก้า 3 โอเมกา้ 6 และ Gamma Linolenic Acid (GLA) ซ่ึงเป็นกรดไขมัน ท่ีมีประโยชน์ต่อร่างกาย มีผลิตภัณฑ์ประเภทชงด่ืมท่ีผลิตจากเส้นใยกัญชง (Hemp fiber) ใช้ในการ บริโภคเพอ่ื ชว่ ยเพิ่มเส้นใยช่วยใหร้ ะบบลาไส้และการขับถ่ายดขี ึ้น ภาพท่ี 40 Hemp seed oil นอกจากนี้ การใช้กัญชาในการบริโภคในประเทศไทย ก็มีให้เห็นมาอย่างช้านาน ภญ. ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร เลขาธิการมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร โพสต์ข้อความ ผ่านโซเซียลเฟสบุ๊กส์ในหัวข้อเรื่อง “กัญชาก่อนภูมิปัญญาจะหายไป” โดยมีเนื้อห าดังนี้ “จากการ ลงพ้ืนท่ีสารวจความรู้ของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพื้นท่ีภาคใต้พบว่า ชาวบ้าน มีการใช้กัญชาปรุงอาหาร นาใบอ่อนมาใช้เป็นอาหาร ใส่แกงส้ม แกงกะทิ แกงมัสม่ัน เมนูผัดหรือ รับประทานสด เป็นผักจ้ิมน้าพริก น้าบูดู แต่จะใช้ปริมาณน้อย 1 - 2 ใบ (ใช้มากจะทาให้เมาได้) กัญชาเพิ่มรสชาติอาหาร ทาให้กินข้าวได้มาก นอนหลับสบาย ในใบกัญชามีสารเมาน้อย และละลาย น้าได้น้อย การเอามาใส่แกง ในปริมาณจากัด เช่น 1 - 2 ใบ จึงไม่ทาให้เมา สารเมาในกัญชา ละลายในนา้ มนั ไดด้ ี การนาไปชบุ แปง้ ทอด สารเมาจะถูกสกัดให้ออกไปกบั นา้ มันทีใ่ ชท้ อด” 4.3.2 ผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื ความงาม และสุขภาพ กัญชงนิยมนามาใช้ทาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมความงามและสุขภาพ มักใช้ส่วนของน้ามันที่ได้จากเมล็ด (seed oil) และ น้ามัน CBD (CBD oil) จากช่อดอกตัวเมียของ กัญชง น้ามนั เมล็ดกัญชงอุดมไปด้วยสารอาหารทม่ี ีคุณค่าต่อผิวและเส้นผม มีการนามาใช้ทั้งในผลิตภัณฑ์ สาหรับผิวกาย เพื่อช่วยเพ่ิมความชุ่มช้ืนแก่ผิว ใช้ทาเป็นผลิตภัณฑ์ครีมบารุงผิวหน้าและกาย สบู่ และผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางอีกหลากหลายชนิด ส่วนน้ามัน CBD มีการนามาใช้ในการเป็น

110 สารสาคัญท่ีช่วยในเรื่องต้านอนุมูลอิสระแก่ผิว ผลิตภัณฑ์รูปแบบ เช่น ครีมเพ่ือใช้ในการบารุงผิวหนา้ เปน็ ผลิตภณั ฑใ์ นการช่วยใหผ้ อ่ นคลาย เป็นบาลม์ ทาเพ่อื บรรเทาอาการเมือ่ ยลา้ เป็นต้น 4.3.3 ผลิตภณั ฑเ์ พ่ือการอุปโภค การใช้ประโยชน์จากเส้นใย ส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์จากกัญชงชนิด ท่ีให้เส้นใยสูง (hemp fiber type) ซึ่งจะมีลักษณะเส้นใยที่เหนียว ทน ขาดยาก มีอายุการใช้งานนาน นอกจากการนามาใชใ้ นอตุ สาหกรรมส่ิงทอเคร่ืองนุ่งห่ม หรือใช้ทาเชือกที่เรารจู้ ักกันดีแล้วน้ัน เสน้ ใยกัญชง ยังสามารถนาไปใช้ในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ได้อีกด้วย เช่น ทาเสื้อเกราะกันกระสุนชั้นดีท่ีมีน้าหนักเบา ทาเยื่อกระดาษ (โดยเฉพาะกระดาษพิมพ์ธนบัตร) วัสดุหีบห่อ ฉนวนกันความร้อน ไบโอพลาสติก มีการนามาขึน้ รูปใช้เปน็ จานอาหารแทนการใชโ้ ฟมและพลาสติก ทาอฐิ (Hemp crete) หรอื คอนกรีต สาหรบั งานก่อสร้าง ทาส่วนประกอบรถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ เช่น พรม เก้าอ้ี เป็นตน้ กล่าวโดยสรุป มีการใช้พืชกัญชาหรือกัญชงเป็นส่วนประกอบใน อุตสาหกรรมอาหาร บางประเทศมีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในอาหารซ่ึงจะต้องระบุปริมาณสาร THC และ CBD ให้ชัดเจน โดยปกติต้องไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อหน่วยบริโภค แต่ในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมความงามและสุขภาพ รวมไปถงึ อตุ สาหกรรมส่ิงทอ มกี ารใชป้ ระโยชน์อย่างมากมายของ กัญชง เชน่ การผลิตเครอื่ งสาอาง นา้ มันจากเมล็ด ซึง่ มีคุณค่าทางโภชนาการสูง การทาเครือ่ งแต่งกาย เสอื้ กันกระสนุ เป็นตน้ 4.4 การนนั ทนาการ นันทนาการ คือ กิจกรรมที่ทาในยามว่าง เพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย ความตึงเครียดทั้งร่างกายและจิตใจ กิจกรรมนันทนาการ มักเกิดข้ึนในช่วงสุดสัปดาห์ และวันหยุด ประกอบด้วย ดนตรี การเต้นรา กีฬา งานอดิเรก เกม และการท่องเที่ยว การดูโทรทัศน์ และฟังเพลง เปน็ รูปแบบสามัญของนนั ทนาการ แตใ่ นบุคคลบางกลุ่มมกี ารใชก้ ญั ชาเพ่ือนันทนาการ กญั ชาเปน็ พชื ท่มี สี าร THC ซง่ึ มีฤทธ์ิต่อจติ ประสาท การใชก้ ญั ชาในปริมาณน้อย ๆ จะทาให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลายและเป็นสุข อาจจะทาให้รู้สึกเคลิบเคลิ้ม อารมณ์ดี หัวเราะง่ายข้ึน แต่หากใช้ในปริมาณที่มากจะก่อให้เกิดอาการเมา เกิดความเปลี่ยนแปลงสติสัมปชัญญะ ความ ผิดเพ้ียนในการรับรู้เรื่องเวลา และสถานท่ี อาจทาให้เกิดภาพลวงตา หูแว่ว อาการประสาทหลอนเทียม (pseudo hallucination) และการสูญเสียสมรรถนะในการควบคุมการเคล่ือนไหว เนอ่ื งจากเสยี ปฏิกริ ิยา สะท้อนทางระบบประสาท (impairment of polysynaptic reflexes) ในบางรายอาจทาให้เกิดภาวะ แยกตัว (dissociative states) เช่น การลืมตัว (depersonalization) และการสูญเสียการตระหนักรู้ (derealization) และกอ่ ให้เกิดการเสพตดิ ได้ ในบางประเทศอนุญาตให้ใช้พืชกัญชาเพื่อการผ่อนคลาย เช่น ประเทศอุรุกวัย เป็นประเทศแรกของโลกท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาเพ่ือนันทนาการ แต่ทั้งน้ี อุรุกวัยมีระบบควบคุมการ

111 ซื้อขายกัญชาอย่างเข้มงวด ผู้เสพจะต้องลงทะเบยี นกับเจ้าหน้าที่ โดยมีข้อแม้ว่าสามารถซ้ือได้ 10 กรัม ต่อ สปั ดาห์เท่าน้ัน นอกจากนี้ ยังจากัดในเร่ืองระดับความแรงของกัญชาดว้ ยเชน่ กัน โดยปรมิ าณสาร THC ซง่ึ มผี ลในทางประสาท ใหค้ วามรูส้ กึ ผ่อนคลาย เคลบิ เคลิ้มนนั้ จะต้องสมดลุ กับปริมาณสาร CBD ที่มีฤทธ์ิ ทาใหผ้ ใู้ ชอ้ ยใู่ นอาการสงบ ในประเทศแคนาดา เปดิ ให้ใช้กัญชาเพ่ือนันทนาการ โดยอนญุ าตใหผ้ ูท้ ่ีบรรลุนิติภาวะ แล้วสามารถซือ้ นา้ มันกญั ชา เมล็ด ต้นกัญชา และกัญชาตากแห้งจากร้านค้าและผผู้ ลติ ที่ได้รับอนุญาต เท่านั้น สาหรับการซ้ือกัญชาจากร้านค้าที่ไม่ได้รับอนุญาตนั้นถือเป็นการกระทาท่ีผิดกฎหมาย และ หากรา้ นค้าขายกัญชาให้เยาวชนอายตุ า่ กว่า 18 ปี (ในบางรัฐกาหนดท่ี 19 ปี) จะมีโทษจาคกุ ถงึ 14 ปี หลายรัฐในสหรัฐอเมริกาได้อนุญาตให้ใช้กัญชาเพื่อการนันทนาการได้ แต่ก็มี ข้อกาหนดที่คล้ายคลึงกับทางแคนาดา คือ ระบุอายุและกาหนดปริมาณการครอบครองกัญชา และ ตอ้ งซ้อื ขายในร้านท่ีไดร้ ับอนุญาตจากทางรฐั บาลแล้วเท่านั้น ในสหรฐั อเมริกาน้ัน เนื่องจากข้อกาหนด ทางกฎหมายของกัญชาในแต่ละรัฐที่แตกต่างกัน ข้อควรระวังของการพกพากัญชาท่ีซ้ืออย่างถูก กฎหมายข้ามผ่านไปยงั รัฐทไี่ ม่อนญุ าตใหใ้ ช้กญั ชาถือวา่ เปน็ ความผิด กล่าวโดยสรุป กัญชาเป็นพืชท่ีมีสารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ทาให้เกิดความ ผ่อนคลาย และความรู้สึกเป็นสุข ในบางประเทศอนุญาตให้ใช้พืชกัญชาเพ่ือการนันทนาการ ได้ เช่น ประเทศอุรุกวัย ประเทศแคนาดา และในบางรัฐของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากผู้ใช้กัญชารู้สึกเกิดการ ผ่อนคลาย และเป็นสุขขณะท่ีใช้ แต่เน่ืองจากกัญชายังมีสารที่ทาให้ติดได้ จึงไม่ควรใช้กัญชาต่อเน่ือง และใชใ้ นปริมาณสงู การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ กกกกกกก1. บรรยายสรปุ กกกกกกก2. กาหนดประเด็นศกึ ษาค้นควา้ รว่ มกัน กกกกกกก3. ศกึ ษาคน้ คว้าจากสือ่ ทีห่ ลากหลาย กกกกกกก4. บันทกึ ผลการศึกษาค้นคว้าทไ่ี ด้ลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก5. พบกลมุ่ กกกกกกก6. อภปิ รายคิดแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ข้อมลู ท่ไี ด้ กกกกกกก7. สรปุ การเรียนรทู้ ่ีไดใ้ หม่รว่ มกนั บันทึกลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก8. นาขอ้ สรุปการเรยี นรู้ที่ได้ใหม่ มาฝึกปฏิบัติดว้ ยการทาแบบฝกึ หัด กจิ กรรมตามท่มี อบหมาย กกกกกกก9. นาเสนอผลการศึกษาการนากญั ชาไปใช้ทางการแพทยท์ ่ีสนใจแกเ่ พอ่ื นผูเ้ รยี นและครูผูส้ อน กกกกกก10. บนั ทกึ ผลการเรียนรทู้ ี่ไดจ้ ากการฝึกปฏิบตั ลิ งในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.)

112 ส่ือและแหลง่ เรยี นรู้ กกกกกกก1. สื่อเอกสาร ไดแ้ ก่ 1.1 ใบความรู้ท่ี 2 1.2 ใบงานท่ี 2 1.3 สอ่ื หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชง ศกึ ษา เพือ่ ใชเ้ ป็นยาอยา่ งชาญฉลาด ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร 1.4 หนงั สือทเี่ ก่ียวขอ้ ง 1.4.1 ชอื่ หนังสือ กระท่อมและกญั ชาทางการแพทย์ ช่ือผู้แต่ง นพ.สมยศ กติ ติมั่นคง ชือ่ โรงพิมพ์ บรษิ ัท โกกรีน โซเซยี ล เวนเจอร์ จากัด ปที ่พี ิมพ์ 2562 1.4.2 ช่อื หนงั สือ รักษาโรคด้วยกญั ชงและกัญชา ชื่อผู้แต่ง นพ.สมยศ กิตติมั่นคง ชื่อโรงพมิ พ์ บริษทั โกกรีน โซเซียล เวนเจอร์ จากดั ปีที่พิมพ์ 2562 1.4.3 ชื่อหนังสือ กญั ชาสดุ ยอดยาวิเศษ ศาสตร์ แหลง่ การรักษาโรคยคุ ใหม่.ช่อื ผแู้ ต่ง บริษทั ไซเบอร์บคุ ส์ แอนด์ ปร้นิ ท์ จากัด ชือ่ โรงพิมพ์ บรษิ ัท เอกพมิ พไ์ ท จากดั ไม่ระบุปีทพ่ี ิมพ์ 1.4.4 ชือ่ หนงั สือ กญั ชารกั ษามะเร็ง ช่อื ผู้แต่ง สมยศ ศุภกิจไพบูลย์ ชือ่ โรงพิมพ์ สานักพิมพป์ ัญญาชน ปที พ่ี มิ พ์ 2562 1.4.5 ชือ่ หนงั สือ ชุดองค์ความรพู้ ชื เสพตดิ กญั ชง (HEMP) ชอ่ื ผ้แู ตง่ สถาบัน สารวจและติดตามการปลกู พืชเสพตดิ ชื่อโรงพมิ พ์ สถาบนั สารวจและติดตามการปลูกพืชเสพตดิ สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ (ป.ป.ส.) กระทรวงยตุ ิธรรม ไม่ระบปุ ีทีพ่ ิมพ์ กกกกกกก2. สื่ออิเล็กทรอนิกสไ์ ด้แก่ 2.1 ช่ือบทความกญั ชาเพ่ือการแพทย์ ชอ่ื ผู้เขียน nitayaporn.m สืบค้นจาก https://www.dmh.go.th/news/view.ASP?id=2262 2.2 ชอื่ บทความกัญชากบั การรักษาโรค ช่อื ผู้เขียน ดร. ภญ. ผกาทิพย์ รื่นระเรงิ ศักด์ิ สืบค้นจาก https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/453 2.3 ชอื่ บทความกัญชา vs กัญชง ประวัติความเป็นมาและความต่างในความเหมือน ช่อื ผเู้ ขียน อังกาบดอย สบื คน้ จาก https://www.baanlaesuan.com/145563/plant-scoop/marijuana 2.4 ชือ่ บทความประวตั ิศาสตร์กัญชา ชอ่ื ผเู้ ขยี น Rattapon Sanrak สบื ค้นจาก https://highlandnetwork.asia กกกกกกก3. ส่ือและแหลง่ เรียนรใู้ นชุมชน 3.1 ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี เขตคลองสามวา เลขท่ี 168 ถนนพระยาสุเรนทร์ แขวงสามวาตะวันออก เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร 10510 เบอรโ์ ทรศัพท์ 02-171-0002

113 3.2 ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี เขตตล่ิงชัน ซอยโชคสมบัติ ถนนพุทธมลฑล สาย 1 แขวงบางระมาด เขตตล่ิงชนั กรงุ เทพมหานคร 10170 เบอร์โทรศพั ท์ 02-448-6028 3.3 ห้องสมดุ มหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ ท่ตี ้ังอยู่ในจงั หวดั กรงุ เทพมหานคร 3.4 หอ้ งสมุดใกล้บา้ นผู้เรยี น การวดั และประเมนิ ผล กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหน้า ด้วยวิธีการ 1.1 การสังเกต 1.2 การซักถาม ตอบคาถาม 1.3 การตรวจเอกสารการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก2. ประเมนิ ผลรวมด้วยวิธกี าร 2.1 ตอบแบบทดสอบวัดความรหู้ วั เรือ่ งท่ี 2 กัญชาและกญั ชง พชื ยาท่ีควรรู้ จานวน 5 ข้อ 2.2 ตอบแบบสอบถามวัดทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวเิ คราะห์ 2.3 ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ

114 หัวเรอื่ งท่ี 3 ร้จู กั โทษและประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชง สาระสาคัญ กกกกกกก1. โทษของกญั ชาและกญั ชง 1.1 ผลกระทบต่อร่างกายและผลข้างเคียง ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับสารเสพติดจากสาขาต่าง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ผลต่ออาการติดยา นอกจากกระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้ว กัญชายังมีโทษต่อทุกส่วนของ ร่างกาย ผู้เสพกัญชา ร่างกายจะเสื่อมโทรม ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และทาลายสมอง ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด ทาร้ายทารกในครรภ์ มีผลกระทบต่อทางเดินหายใจ หัวใจ และ หลอดเลือด กัญชาจะเพ่ิมอัตราการเต้นของหัวใจเร็ว เมื่อใช้กัญชาในปริมาณมาก และยาวนานต่อเนื่องไม่ สามารถควบคุมอาการติดยาได้ 1.2 ผลกระทบต่อจิตใจ ฤทธ์ขิ องกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางความรู้สึก ความคิด อาการ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ จิตฟ่ันเฟือน มีอาการประสาทหลอน ความคิดสับสนนาไปสู่ โรคจติ เวช หรอื ภาวะซมึ เศร้าได้ 1.3 ผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม การเสพกัญชาและกัญชงทาให้มี ผลกระทบต่อครอบครัวทาลายความสขุ ในบา้ น เป็นท่รี งั เกียจของชุมชน ทาลายชือ่ เสียงวงศ์ตระกูล อาจ เพมิ่ ความรุนแรงถึงขั้นเกิดปญั หาอาชญากรรมต่าง ๆ ในชุมชน และสังคมตามมาได้ 1.4 ผลกระทบต่อประเทศชาติ เมื่อประชากรเสพตดิ กัญชามาก ส่งผลทาลายเศรษฐกิจ สูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ที่เสพติดกัญชา ทาลายความมั่นคงของประเทศ ต้องสูญเสีย ทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก็จะเป็นไปอย่าง เช่ืองช้า เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบระหว่างประเทศ ทาให้เสื่อมเสียช่ือเสียง และ เกียรตภิ มู ิในสายตาของชาวต่างชาตไิ ด้ กกกกกกก2. ประโยชน์ของกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้ประโยชน์ ทางการแพทย์ มีสารกลุ่ม แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ท่ีมีสารออกฤทธ์ิสาคัญ 2 ชนิด คือ แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คลื่นไส้ และสาร เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาททาให้ผ่อนคลาย ลดอาการตึงเครยี ด สารสกัดจากกัญชาทางการแพทยแ์ บ่งได้เปน็ 3 กลุ่ม (1) สารสกัดกัญชาที่มีข้อมลู ทางวชิ าการท่สี นับสนุนชดั เจน (2) สารสกัดกัญชาชว่ ยในการควบคมุ อาการ ควรมีขอ้ มลู ทางวชิ าการท่ี

115 สนับสนุนเพิ่มเติม และ (3) สารสกัดกัญชาที่ยังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนับสนุนท่ีชัดเจนเพียงพอ ดังน้ัน การนาสารสกัดกัญชามาใช้ในทางการแพทย์จาเป็นต้องคานึงถึงประสิทธิผล ความปลอดภัย เป็นสาคัญ และในทางการแพทย์แผนไทย มีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบ ที่ได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ การใช้ยาจากกัญชาต้องอยู่ภายใต้ การควบคมุ ดแู ลของแพทย์ และแพทยแ์ ผนไทย เพอ่ื ให้ผู้ป่วยได้รบั ประโยชนส์ งู สุด ตวั ช้วี ัด กกกกกกก1. อธิบายโทษของกัญชาและกัญชงต่อร่างกาย จิตใจ ครอบครัว ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติได้ กกกกกกก2. บอกผลข้างเคยี งจากการใชก้ ญั ชาและกัญชงได้ กกกกกกก3. อธบิ ายประโยชน์ของกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ได้ กกกกกกก4. วิเคราะห์ความสาคัญ และหลกั การของโทษและประโยชนข์ องกัญชาและกัญชงตาม กรณีศึกษาที่กาหนดได้ กกกกกกก5. ตระหนักถึงโทษและประโยชนข์ องกัญชาและกัญชง ขอบขา่ ยเนอ้ื หา กกกกกกก1. โทษของกญั ชาและกญั ชง 1.1 ผลกระทบตอ่ ร่างกายและผลข้างเคยี ง 1.2 ผลกระทบตอ่ จิตใจ 1.3 ผลกระทบตอ่ ครอบครัว ชุมชน และสังคม 1.4 ผลกระทบต่อประเทศชาติ กกกกกกก2. ประโยชน์ของกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ รายละเอียดเนื้อหา กกกกกกก1. โทษของกญั ชาและกญั ชง ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับสารเสพติด จากสาขาต่าง ๆ ได้แก่ จิตเวชศาสตร์ เคมี เภสัชวิทยา นิติวิทยาศาสตร์ ระบาดวิทยา ตารวจ และนักกฎหมาย ร่วมกันวิเคราะห์ โดยการใช้เทคนิคเดลไฟล์ ในการจัดลาดับ ได้ข้อมูลว่า กัญชาอยู่ในลาดับท่ี 15 ใน 20 ชนิด ของสาร “โอสถลวงจิต” (Psychotropic Drugs) ทส่ี ่งผลตอ่ รา่ งกาย จติ ใจ พฤติกรรม สังคม และสัมพนั ธก์ ับโรคตับ ปอด หวั ใจ และหลอดเลือด

116 ไม่ควรเสพกัญชาทั้งก่อน และระหว่างการตั้งครรภ์ เพราะอาจมีผลเสียต่อมารดา และทารกในครรภ์ นอกจากน้ีควันของกัญชามีสารประกอบทางเคมี ท้ังอินทรีย์และอนินทรีย์จานวนมาก น้ามันดิบ (Tar) ควันจากกญั ชา มคี ณุ สมบัตใิ กลเ้ คยี งกับควันบหุ ร่ี ท่ีเป็นสารก่อมะเร็ง และมกี ารศึกษาทบทวนรายงาน ทางวิชาการในปี พ.ศ. 2558 พบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการเสพกัญชากับการเกิดเนื้องอกในลูกอัณฑะ ของเพศชาย โดยกญั ชามีผลกระทบตอ่ ร่างกาย จิตใจ สงั คม และประเทศชาติ ดังนี้ กกกกกกก 1.1 ผลกระทบต่อร่างกายและผลข้างเคียง 1.1.1 ทาลายสมรรถภาพรา่ งกาย ผเู้ สพกญั ชาในปริมาณมาก เปน็ ระยะเวลานาน ๆ จะทาให้ร่างกายเสื่อมโทรม จนไม่สามารถปฏิบัติงานใด ๆ ได้ โดยเฉพาะการทางานที่ต้องใช้แรง ความคิด และการตัดสินใจ รวมทั้งขาดแรงจูงใจ) Amotivation Syndrome) คือ การขาดแรงจูงใจ ของชีวิต ไม่คิดทาอะไรอยากอยู่เฉย ๆ ไปวัน ๆ ซึ่งมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตและการทางาน เป็นอยา่ งมาก ผลกระทบเฉยี บพลัน ทาใหเ้ กดิ อาการกระวนกระวาย ตื่นกลัว เสยี่ งต่อการเกิดอุบัติเหตุ การเสพติดกัญชามีผลร้ายคล้ายกับการติดยาเสพติดชนิดอ่ืน ๆ การใช้กัญชาระยะส้ันเพิ่มความเสี่ยง ต่อผลไม่พึงประสงค์ทั้งแบบไม่รุนแรงและรุนแรง (Minor And Major Adverse Effects) ผลข้างเคียง (Side Effects) ที่พบบ่อย ไดแ้ ก่ อาการมึนงง (Dizziness) เหนือ่ ยล้า (Tired) เสย่ี งต่อการเสพตดิ และ อนั ตรายจากการบริโภคเกินขนาด อาจทาใหเ้ กิดโรคจติ เภทในเยาวชน 1.1.2 ทาลายสมอง การเสพกัญชาแม้เพียงในระยะส้ันทาใหผ้ ู้เสพบางราย สูญเสีย สมาธิ ความทรงจา เพราะฤทธ์ิของกัญชาจะทาให้สมอง และความจาเสอื่ ม เกิดความสบั สน วิตกกังวล หากผู้เสพเป็นผู้มีอาการของโรคจิตเภท หรือป่วยเป็นโรคซึมเศร้า มีความเส่ียงทาให้เกิดอาการรุนแรง มากกว่าคนปกติทั่วไป มีผลต่อระบบประสาท เลือดไปเลี้ยงสมองเพิ่มมากข้ึน ทาให้ควบคุมการ เคลอ่ื นไหวของรา่ งกายลดลง เกดิ อาการตกสูง ตกตา่ กะระยะผิด มอื ไม่มีแรง อาจทาให้ง่วงซึม ไม่มีสมาธิ พูดไม่ชัด การตอบสนองสิ่งต่าง ๆ ช้าลง การใช้กัญชาติดต่อกันเป็นเวลานานอาจจะส่งผลกระทบต่อ ความจาทั้งชนิดที่ผ่านมาไม่นาน (Recent Memory) และท่ีผ่านมานาน (Remote Memory) เนื่องจากการเสพติดกัญชาจะทาให้ขนาดของสมองส่วนฮิปโปแคมคัส (Hippocampus) ลดลงและ บางครั้งพบความผิดปกติของสมองส่วนอะมิกดาลา (Amygdala) ซึ่งสมองทั้งสองส่วนน้ีทาหน้าท่ี เกีย่ วกับความจา 1.1.3 เพ่ิมความเสี่ยงทาให้เกิดมะเร็งปอด เน่ืองจากผู้เสพจะสูบควันกัญชาเข้าไป ในปอดลึกนานหลายวนิ าที การสูบบุหร่ีที่นากัญชามาทาเป็นไส้ จานวน 4 มวน จะมผี ลเท่ากบั สูบบุหร่ี 1 ซอง หรือ 20 มวน สามารถทาลายการทางานของระบบทางเดินหายใจ ทาให้มีความเสี่ยงต่อการ เกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรีธ่ รรมดาถึง 5 เทา่ และในกัญชายังมีสารเคมีที่เป็นอันตรายสามารถ เกดิ โรคมะเร็งได้

117 1.1.4 ทารา้ ยทารกในครรภ์ ฉะน้นั หญิงทเ่ี สพกญั ชาในระยะต้ังครรภ์ ทารกที่คลอด มีความเสี่ยงต่อการผิดปกติทางร่างกาย และสติปัญญามากกว่าปกติ ควรหยุดเสพกัญชาท้ังก่อน และ ระหว่างต้ังครรภ์ เพราะอาจมีผลกระทบต่อมารดา และทารกในครรภ์ รวมไปถึงหญิงที่กาลังให้นมบุตร เนื่องจากมีรายงานการศึกษาพบว่า มีทารกคลอดก่อนกาหนด ทารกน้าหนักตัวน้อย และพบสาร แคนนาบินอยด์ )Cannabinoid( ในน้านมมารดาท่ีเสพกัญชา 1.1.5 ผลกระทบตอ่ ทางเดินหายใจ (Respiratory Tract System) ทาใหห้ ลอดลม ขยายเฉียบพลัน การสูบต่อเน่ืองจะเกิดปัญหาต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอเร้ือรัง เสมหะมาก และเพมิ่ ความเสย่ี งในการเกิดหลอดลมอักแสบ เปน็ ตน้ การสบู กญั ชาอาจมผี ลทาให้เป็นมะเร็งจากสาร ก่อมะเรง็ และการสบู บุหรีผ่ สมกญั ชาจะเพม่ิ ความเสี่ยงการเปน็ มะเรง็ ได้ 1.1.6 ผลกระทบต่อระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด (Cardiovascular System) คนที่ ไม่เคยเสพกัญชามาก่อนจะมีชีพจรเต้นเร็วมากขึ้นได้ 20 เปอร์เซ็นต์ ในช่วง 2 - 3 ช่ัวโมงแรก นอกจากนี้ ทาให้หลอดเลือดส่วนปลายคลายตัว ความดันโลหิตต่าลงขณะเปล่ียนท่าน่ังหรือนอน มาเป็นยืนได้ (Postural Hypotension) กล้ามเน้ือหัวใจบีบตัวทางานมากขึ้น มีความต้องการ ออกซเิ จนมากข้นึ แตร่ า่ งกายจะปรบั ตวั ให้มีความทนต่อภาวะน้ี ในเวลา 2 - 3 วัน คนทีไ่ ม่เคยเสพบาง ราย หรือคนที่ไม่มีโรคเกี่ยวกับหลอดเลือด อาจทาให้มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากกล้ามเน้ือหัวใจ ขาดเลือด กัญชาจะเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ อีกท้ังมีผลกระทบต่อโรคต่าง ๆ มีสารระคายเคืองต่อ หลอดลม สารก่อมะเร็ง ทาให้ไอ หรืออาจถึงขั้นป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) และภาวะ กลา้ มเน้อื หวั ใจตายฉบั พลัน (Heart Attack) 1.1.7 ภาวะติดยา (Dependence Syndrome) การใช้กัญชาเป็นระยะเวลา นาน ๆ จะทาให้เกิดอาการติดยาประมาณ 1 ใน 10 ของผู้เสพกัญชา ทั้งน้ี อัตราส่วนจะเพ่ิมขึ้นเป็น 1 ใน 6 ของจานวนผู้เสพ หากเร่ิมเสพตั้งแต่วัยรุ่น ซ่ึงผู้เสพกัญชาจะมีความต้องการอย่างมากที่จะเสพ ไม่สามารถที่จะลดการเสพได้ เกิดภาวะการหยุดยา และเกิดพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม (Withdrawal Symptoms And Behavioral Systems) มีการรายงานว่ากัญชาเป็นยาเสพติดตัวเริ่มต้นท่ีนาไปสู่ การเสพยาเสพติดชนิดที่รา้ ยแรงข้นึ อกี ด้วย กกกกกกก นอกจากผลร้ายท่ีมีต่อร่างกายของผู้เสพแล้ว การขับรถขณะเมากัญชายัง ก่อให้เกิดอันตรายได้มาก เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะทาให้เสียสมาธิ ทาให้การตัดสินใจผิดพลาด การ ตอบสนองช้าลง การรับรู้ทางสายตาบิดเบือน ความสามารถในการมองเห็นส่ิงเคล่ือนที่ลดลง จึงเป็น อนั ตรายอยา่ งยง่ิ ต่อผ้ขู ับรถยนต์ หรือแม้แต่เดินบนทอ้ งถนนก็ตาม

118 ถาม สบู กัญชาทาใหห้ ัวใจเตน้ เร็ว จรงิ หรือไม่ ตอบ จรงิ เนอ่ื งจากสารในกญั ชาทาให้หลอดเลือดขยายตวั จงึ ทาใหห้ ัวใจ ตอ้ งเร่งการสบู ฉีดเลือด หัวใจจึงเต้นเรว็ ขึ้น กกกกกกกนอกจากนี้ ผลข้างเคียงของการใช้กัญชาและกัญชง ทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง ถึงระยะยาว มดี ังน้ี กกกกกกกผลข้างเคียงระยะส้ัน กกกกกกกข้อ 1 ผลข้างเคยี งท่พี บบ่อย คอื ปากแหง้ ตาแหง้ ตาแดง มึนงง ตอบสนองตอ่ สงิ่ รอบตัวช้า มีอาการวิตกจริต กกกกกกกข้อ 2 ผลข้างเคียงทพ่ี บไม่บ่อยนกั คือ ตาพร่ามัว ปวดหวั เคล้ิม กกกกกกกข้อ 3 ผลข้างเคียงที่พบได้ยาก ควบคุมการทรงตัวร่างกายได้ไม่ดี จานวนสเปิร์มลดลง ภาวะความดันต่า หัวใจเต้นเรว็ ภาวะซึมเศร้า ทอ้ งเสยี ตบั อักเสบ กัญชาอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม ดังน้ัน ควรหลีกเลีย่ งการขับขี่ยานพาหนะหลังจาก การใช้กัญชา กัญชาอาจจะทาให้รู้สึกคอแห้ง เนื่องจากสารสาคัญในกัญชาจะไปปิดก้ันต่อมน้าลาย ให้ต่อมน้าลายไม่สามารถหล่ังได้ตามปกติ ผู้ใช้กัญชาอาจจะมีภาวะตาแดง หัวใจเต้นเร็ว ความดันต่า เน่ืองจากสารสาคัญในกัญชามีฤทธิ์ในการขยายหลอดเลือด ผู้ป่วยที่มีภาวะโรคหัวใจและความดัน ควรระวงั ในการใช้กัญชา และควรอยู่ภายใต้การดแู ลของแพทย์ กกกกกกกผลขา้ งเคียงระยะกลางถงึ ระยะยาว กกกกกกกภาวะเสพติดกัญชาจะทาให้ผู้ใช้ยาเกิดการเสพติดได้ยากกว่าบุหรี่ แต่การใช้อย่างต่อเน่ือง ทุกวัน พบว่าประมาณร้อยละ 10 มีโอกาสเสพติดได้ และเมื่อหยุดใช้ยาจะมีอาการถอนยาได้ เช่น หงดุ หงิดอยากกลับไปใชย้ า แตไ่ มก่ อ่ ให้เกดิ อันตรายอ่นื ๆ ดงั นั้น ในการใชย้ ารกั ษาโรค เพือ่ ลดการเกิด ภาวะถอนยา ควรลดขนาดยาลงอย่างช้า ๆ จะช่วยให้ลดการเกิดภาวะถอนยา และการใช้อย่าง ต่อเนื่อง มีผลต่อการทางานของสมอง หลังใช้กัญชาพบว่าผู้ป่วยอาจมีปัญหาเรื่องความจาในระยะส้ัน เช่น หลงลมื ได้ง่าย หรอื มีอาการปวดศรี ษะ แตเ่ มอ่ื หยุดการใช้ประมาณ 20 วันจะกลบั สภู่ าวะปกติ กกกก การทางานของปอดและหัวใจ พบว่าไม่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคถุงลมโป่งพอง หรือ มะเร็งปอด ทั้งนี้เฉพาะในกลุ่มคนที่สูบกัญชาชนิดเดียว การสูบกัญชา และบุหรี่ร่วมกัน จะทาให้ ความเส่ยี งเพมิ่ ขึน้ ได้

119 กกกกกกกในช่วง 2 เดือนแรกหลังการเริ่มใช้ยากัญชา เม่ือตรวจการทางานของตับ (ALT) จะพบการ เกิดตับอักเสบ ในกรณีหากอาการตับอักเสบไม่รุนแรง สามารถใช้ยาต่อได้ แต่ถ้ามีอาการตับอักเสบ รุนแรง แนะนาใหห้ ยุดยา หรือลดขนาดยา เพ่ือปอ้ งกันการเกดิ ตบั อกั เสบในระยะยาว กกกกกกกจะเห็นได้ว่า ผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับสารเสพติดจากสาขาต่าง ๆ และรายงานทางวิชาการ พบว่า กัญชามีผลกระทบต่อร่างกายเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ผลต่ออาการติดยา นอกจาก กระทบต่อการใช้ชีวิตตามปกติแล้ว กัญชายังมีโทษต่อทุกส่วนของร่างกาย ผู้เสพกัญชา ร่างกาย จะเสื่อมโทรม ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย และทาลายสมอง ก่อให้เกิดความเส่ียงต่อโรคมะเร็ง ปอด ทาร้ายทารกในครรภ์ มีผลกระทบต่อทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด กัญชาจะเพ่ิมอัตรา การเต้นของหัวใจเร็ว เม่ือใช้กัญชาในปริมาณมาก และยาวนานต่อเน่ืองไม่สามารถควบคุมอาการ ตดิ ยาได้ ถาม สบู กญั ชาแล้วทาใหป้ ากแห้ง จริงหรือไม่ ตอบ จรงิ เนื่องจากสารในกัญชาสามารถไปบล็อกตอ่ มน้าลาย ทาใหก้ ารสรา้ งนา้ ลายลดลง เราจงึ รู้สึกคอแห้ง ถาม สบู กัญชาแลว้ ทาให้ตาแดง คนสูบกัญชาจงึ ชอบใส่แว่นดา จริงหรือไม่ ตอบ จรงิ เนื่องจากสารในกัญชาทาให้หลอดเลือดขยายตวั เลอื ดไปเลยี้ งไดม้ ากข้นึ จงึ ทาใหต้ าแดง

120 กกกกกกก 1.2 ผลกระทบตอ่ จิตใจ 1.2.1 ผลตอ่ เชาวป์ ัญญา ทาให้มคี วามบกพรอ่ งเกย่ี วกับความทรงจา ทั้งผเู้ สพระยะสน้ั หรอื ระยะยาว ทาให้สติปญั ญาลดลง หรือสูญเสยี สมาธิ มีการเรียนรทู้ ี่ลดลง ความจาช่วงส้ัน หลงลืมง่าย และมีอาการปวดศีรษะ 1.2.2 ผลต่อความผิดปกติของจิตใจ การใช้กัญชามีความสัมพันธ์กับโรคทางจิตท่ีมี ความผิดปกติของความรสู้ ึก ความคดิ อาการหรอื พฤตกิ รรมโรคทางจิต ซง่ึ อาจทาใหม้ ีอาการมากขึน้ 1.2.3 ทาลายสุขภาพจิต ฤทธิ์ของกัญชาจะทาให้ผู้เสพมีอาการเล่ือนลอย ฝันเฟื่อง ความคิดสับสน และมีอาการประสาทหลอนจนควบคุมตัวเองไม่ได้ ซึ่งถ้าเสพเป็นระยะเวลานานจะทาให้ มีอาการจิตเส่ือม ผลระยะสั้นของกัญชาอาจเปลี่ยนแปลงเม่ือมีการใช้ยากลุ่มโอปิออยด์ร่วมด้วย เช่น เฮโรอีน หรือเฟนตานิล เป็นต้น การใช้ยาอื่นเพิ่มเข้าไปเพ่ือเพ่ิมผลทางจิตประสาท หรือ เพ่ิม ฤทธ์ิลวง“ ) ”จติ Psychotropic Action (ขณะเดียวกันเพม่ิ อนั ตรายจากการใชย้ าเกินขนาด 1.2.4 มีผลต่อระบบจิตประสาท ถ้าได้รับกัญชาในขนาดที่สูงในระยะสั้น ๆ ทาให้ มีอาการกระวนกระวาย อาการหลอน มีความหลงผิด ความจาเส่ือม วิตกกังวล ในระยะยาวทาให้เกิด กลุ่มอาการท่ีเรียกว่า (Apathetic Syndrome) ประกอบด้วยอาการเฉยเมย รู้สึกไม่ประสบความสาเร็จ ทอ้ แท้ นาไปสู่ภาวะซมึ เศร้า เกดิ โรคจิตเวชในผปู้ ่วยที่เสพกัญชาได้ 1.2.4 จะเห็นได้ว่า ฤทธ์ิของกัญชาและกัญชงทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติทาง ความรู้สึก ความคิด อาการ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ จิตฟ่ันเฟือน มีอาการประสาทหลอน ความคิด สบั สนนาไปสโู่ รคจติ เวช หรือภาวะซมึ เศร้าได้ กกกกกกก 1.3 ผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน และสังคม 1.3.1 ผลกระทบต่อครอบครัว 1) ทาลายความสุขภายในบ้าน ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของสมาชิก ในครอบครัว เป็นเหตุให้เกดิ ปัญหาตา่ ง ๆ ตามมา อาจทวีความรุนแรงทาใหค้ รอบครวั แตกแยก 2) สญู เสยี รายไดข้ องครอบครัว เน่ืองจากมรี ายจา่ ยเพม่ิ ขึ้น จากการซื้อยาเสพติด หรือบาบดั รักษาผู้ท่ตี ิดยาเสพติด 3) พอ่ แม่ ผูป้ กครอง ขาดทีพ่ ่ึงในยามเจ็บปว่ ย หรือชราภาพ 4) ทาลายช่อื เสียงวงศ์ตระกูล และเป็นที่รังเกียจของสงั คม 5) ทาให้ครอบครัวเดือดร้อน เพราะคนในครอบครัวท่ีมีปัญหายาเสพติด มกั จะกอ่ อาชญากรรม 6) ครอบครัวที่มีผู้เสพกัญชา มักได้รับความเดือดร้อนในทุกด้าน เช่น การขาดความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีนาไปสู่ความขัดแย้ง ทะเลาะวิวาท ก่อให้เกิดความเครียด และต้อง แกไ้ ขปญั หาบ่อย ๆ

121 7) ทาให้สูญเสียสมรรถภาพการทางาน การเสพกัญชามีโอกาสถูกปลดออก จากงานมากกว่าปกติ ทาให้เกิดผลกระทบต่อครอบครัว ทัง้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม เสียทรัพยส์ นิ รายได้ ของครอบครวั เน่อื งจากต้องซอื้ กญั ชามาเสพ และรักษาโรคท่เี กิดจากกัญชา 1.3.2 ผลกระทบต่อชมุ ชน และสงั คม 1) กอ่ ใหเ้ กิดปัญหาอาชญากรรมตา่ ง ๆ ในชุมชน 2) เป็นบอ่ เกิดให้ชุมชนเสอื่ มโทรม สงั คมถูกทาลาย 3) ทาลายเยาวชน อันเปน็ กาลงั สาคญั ในการพฒั นาชุมชน และสงั คม 4) สูญเสียรายได้ ทาให้การพัฒนาชุมชน และสังคมในด้านต่าง ๆ เป็นไป อย่างเชื่องชา้ 5) ทรัพย์สินของคนในชุมชน และสังคมเสียหาย เนื่องจากพฤติกรรมทาง จิตประสาท 6) ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาอุบัติเหตเุ น่ืองจากฤทธิ์ของกัญชา 7) ปัญหาการเสพกัญชา ก่อให้เกิดความหวาดระแวงจากประชาชน และ สังคมเป็นวงกว้าง เนื่องจากเกรงว่าบุตรหลานจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับกัญชา หรือถูกประทุษร้ายจาก ผ้เู มากญั ชา หรอื มีความผิดปกติทางจติ จากการใช้สารเสพติดกัญชา กกกกกกก จะเห็นได้ว่า การเสพกัญชาและกัญชงทาให้มีผลกระทบต่อครอบครัว ทาลายความสุขในบ้าน เป็นที่รังเกียจของชุมชน ทาลายชื่อเสียงวงศ์ตระกูล อาจเพ่ิมความรุนแรงถึงข้ัน เกดิ ปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ ในชุมชน และสงั คมตามมาได้ กกกกกกก 1.4 ผลกระทบตอ่ ประเทศชาติ 1.4.1 ด้านเศรษฐกิจ 1) ทาลายเศรษฐกจิ และความมั่นคงของประเทศชาติ 2) เพิ่มภาระการเสียภาษีของประชาชน เพราะรัฐบาลต้องนาภาษีของ ประชาชนไปใชจ้ า่ ยในการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 3) การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปอย่างเชื่องช้า ส่งผลต่อการ พัฒนาประเทศในภาพรวม 4) สญู เสยี แรงงานในการปฏบิ ัติงานทาให้ประเทศขาดรายได้ 1.4.2 ด้านสังคม ประเทศชาติต้องเสื่อมเสียชื่อเสียง และเกียรติภูมิในสายตาของ ชาวต่างประเทศ 1.4.3 ด้านความม่ันคง 1) รัฐบาลต้องสูญเสียกาลังเจ้าหน้าที่ และค่าใช้จ่ายในการป้องกัน ปราบปราม และรกั ษา ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ จานวนมาก

122 2) สญู เสียทรัพยากรมนษุ ย์ทมี่ ีคุณภาพสาหรบั การพฒั นาประเทศ 3) ผู้ที่ไม่ประสงค์ดีอาจใช้กัญชาและกัญชงเป็นเครื่องมือบ่อนทาลาย ความม่นั คงของประเทศชาติ 1.4.4 ด้านการเมือง อาจทาให้เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบ ระหว่างประเทศ กกกกกกก จะเห็นได้ว่า เมื่อประชากรเสพติดกัญชามาก ส่งผลทาลายเศรษฐกิจ สูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ท่ีเสพติดกัญชา ทาลายความม่ันคงของประเทศ ต้องสูญเสีย ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศก็จะเป็นไปอย่าง เช่ืองช้า เกิดข้อขัดแย้งทางการเมือง หรือความไม่สงบระหว่างประเทศ ทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียง และ เกยี รตภิ มู ใิ นสายตาของชาวต่างชาตไิ ด้ กกกกกกก กล่าวสรุปโดยรวม กัญชามีโทษต่อทุกส่วนของร่างกาย ทาลายระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย และทาลายสมอง ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด ทาร้ายทารกในครรภ์ มีผลกระทบ ต่อทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด นอกจากนี้ ผลข้างเคียงของการใช้กัญชาและกัญชง ทั้งใน ระยะส้ัน ระยะกลาง ถึงระยะยาว ฤทธิ์ของกัญชาทาให้ผู้เสพมีความผิดปกติทางความรู้สึก ความคิด หรือพฤติกรรมต่าง ๆ มีอาการประสาทหลอน นาไปสู่โรคจิตเวช หรือภาวะซึมเศร้าได้ การเสพกัญชา ทาให้สูญเสียท้ังสมรรถภาพในการทางาน และรายได้ของครอบครัว ปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ ใน ชมุ ชน หรอื อาจเพิ่มความรุนแรงถงึ ขนั้ ให้ครอบครัวแตกแยกได้ เมอื่ ประชากรเสพติดกญั ชามาก ส่งผล ให้ทาลายเศรษฐกิจ สูญเสียงบประมาณในการดูแลรักษาผู้ท่ีเสพติด สูญเสียทรัพยากรมนุษย์ที่มี คุณภาพในการพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นไปอย่างเช่ืองช้า เกิดข้อขัดแย้ง หรอื ความไมส่ งบระหวา่ งประเทศ ทาใหเ้ ส่อื มเสยี ชอื่ เสียง และเกียรติภูมใิ นสายตาของชาวต่างชาตไิ ด้ กกกกกกก2. ประโยชนข์ องกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ กกกกกกก ในปจั จุบนั กญั ชา เป็นพืชทย่ี อมรับกันว่ามีประโยชน์ทางการแพทย์ ในสหราชอาณาจักร มีการนากญั ชามาสกัด เพ่อื ผลติ ตารับส่วนผสมของสารกลุ่มแคนนาบนิ อยด์ (Cannabinoid) เพื่อใช้ใน การรักษาโรคปลอกประสาทแข็ง (Multiple Sclerosis) ซึ่งตารับนี้เป็นท่ียอมรับให้ใช้ทางการแพทย์ ใน 24 ประเทศ เชน่ ออสเตรเลยี ออสเตรีย เนเธอรแ์ ลนด์ สหราชอาณาจกั ร สเปน เปน็ ต้น นอกจากนี้ มีการนาสารสกัดจากกัญชา มาใช้ในการบาบัดรักษาอาการจิตเวช และระบบประสาท (Neuropsychiatric Symptoms) การรักษาอาการไม่อยากอาหารในผู้ป่วยมะเร็ง บางประเทศจึงยอมให้มีการปลูกกัญชา เพอ่ื ใช้ในทางการแพทย์ เชน่ แคนาดา อสิ ราเอล เนเธอรแ์ ลนด์ สหราชอาณาจักร สวิสเซอรแ์ ลนด์ และบาง รฐั ในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น กกกกกกก การใช้กัญชาทางการแพทย์เพื่อรักษาโรค และบรรเทาอาการมีมายาวนาน ปรากฏ ในตาราต่าง ๆ จานวนมาก กัญชาถือเป็นยาเสพติดทาให้เป็นอุปสรรคในการผลิต และการศึกษาวิจัย

123 ทางการแพทย์อย่างมาก มีงานวิจัยท่ีระบุว่า กัญชาสามารถลดอาการคล่ืนไส้อาเจียนในผู้ที่รับยา เคมีบาบัด หรือเพ่ิมความอยากอาหารในผู้ติดเชื้อ และผู้ป่วยเอดส์ รวมท้ังรักษาอาการปวดเร้ือรัง และการหดเกร็งของกล้ามเน้ือ การใช้ทางการแพทย์อื่น ๆ ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอเร่ืองความปลอดภัย และประสทิ ธิผลของกัญชา กกกกกกก กัญชาทางการแพทย์ถือเป็นยาประเภทใหม่ เนื่องจากกญั ชาไม่ใชย่ าครอบจกั รวาล หรอื ยารักษาโรค ปัจจุบันท่ัวโลกไม่ได้เลือกให้ใช้กัญชาเป็นการรักษาลาดับแรก ในทางกลับกันผู้ป่วยที่มี สิทธ์ิได้รับกัญชา คือผู้ท่ีไม่ตอบสนองต่อยาอ่ืน ๆ หรือได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยา ในขณะที่มี ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์เพียงบางส่วนเท่าน้ัน ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ และ เป็นไปตามคุณภาพมาตรฐาน ด้วยเหตุนี้ผู้ควบคุมเกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ของผู้ป่วย แพทยต์ อ้ งมขี อ้ กาหนดดา้ นความปลอดภยั คุณภาพ และประสิทธภิ าพของผลติ ภัณฑ์ กกกกกกก สรรพคุณกัญชาทางการแพทย์ จากการศึกษาพบว่า ในกัญชามีสารออกฤทธ์ิ ท่ีสาคัญ 2 ชนิด ซึ่งสามารถนามาใช้บาบัดหรือรักษาโรค ได้แก่ สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัตลิ ดอาการเจ็บปวด ลดการอักเสบของแผล ลดอาการชักเกร็ง และลดอาการคลน่ื ไส้ และสาร เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาท ทาให้เกิด ความผ่อนคลาย และเคลบิ เคลิม้ หากได้รบั ปริมาณทีเ่ หมาะสม จะช่วยลดอาการตงึ เครยี ดได้ กกกกกกก รวมถึงกัญชาจาเป็นต้องมีการศึกษาถึงฤทธิ์ของกัญชาเพิ่มเติม เพื่อความปลอดภัย ในการใช้กัญชาทางการแพทย์ และเลยี่ งผลข้างเคียงของกัญชาท่อี าจเกิดขน้ึ ได้ สาหรบั ผปู้ ว่ ยท่ไี ม่ตอบสนอง ต่อยา สารสกัดกัญชาเป็นทางเลือกที่มีประโยชน์ต่อผู้ป่วยช่วยให้แพทย์หาวิธีการรักษาที่เหมาะสมท่ีสุด ซง่ึ การใชส้ ารสกัดกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจบุ ันแนะนาการใชร้ ักษา ควบคมุ อาการ โดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เก่ียวกับประโยชน์ของสารสกัดจาก กญั ชาทางการแพทย์ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 กลมุ่ ดงั นี้ กกกกกกก 1. กลุม่ โรคหรือภาวะทไ่ี ดป้ ระโยชน์ มีผลการศกึ ษาวิจยั สนบั สนนุ ชัดเจน 1.1 โรคลมชักที่รกั ษายาก และโรคลมชักทด่ี อ้ื ต่อยารกั ษา 1.2 ภาวะคลืน่ ไส้ และอาเจยี นจากยาเคมบี าบัดท่ีรักษาด้วยวิธมี าตรฐานไม่ไดผ้ ล 1.3 ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (Multiple Sclerosis) 1.4 ภาวะปวดประสาทท่รี กั ษาดว้ ยวิธีอนื่ ๆ แล้วไมไ่ ด้ผล (Intractable Neuropathic Pain) กกกกกกก 2. กลุ่มโรคหรอื ภาวะทีน่ ่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคมุ อาการ ตอ้ งการขอ้ มูลวชิ าการ และศกึ ษาวจิ ยั สนับสนุนเพิม่ เตมิ 2.1 โรคพารก์ ินสนั 2.2 โรคอัลไซเมอร์

124 2.3 โรคปลอกประสาทอักเสบ (Demyelinating Disease) 2.4 โรควิตกกงั วล (Generalized Anxiety Disorder) 2.5 ผปู้ ่วยทต่ี อ้ งดแู ลแบบประคบั ประคอง 2.6 ผปู้ ว่ ยมะเร็งระยะสดุ ท้าย 3. กลุ่มโรคหรือภาวะที่อาจจะได้ประโยชน์ในอนาคต ซึ่งต้องการการศึกษาวิจัยในหลอด ทดลองและสัตว์ทดลองก่อนนามาศึกษาวิจยั ในมนษุ ย์ เช่น การรักษามะเร็งชนดิ ต่าง ๆ สารสกัดกัญชา อาจมีประโยชน์ในการรักษา แต่ยังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนับสนุนที่ชัดเจนเพียงพอในด้านความ ปลอดภัยและประสิทธิผล ในทางการแพทย์แผนไทยมีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาที่มีกัญชาเป็น ส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ ดังน้ี ยาอัคคินีวคณะ ยาศุขไสยาศน์ ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย ยาน้ามันสนั่นไตรภพ ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง ยาไฟอาวุธ ยาแกน้ อนไม่หลบั หรอื ยาแก้ไข้ผอมเหลือง ยาแก้สัณฑฆาตกล่อนแห้ง ยาอัมฤตย์โอสถ ยาอไภยสาลี ยาแก้ ลมแก้เส้น ยาแก้โรคจิต ยาไพสาลี ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง ยาทาลายพระสุเมรุ และ ยาทัพยาธคิ ุณ กล่าวโดยสรุป สารสกัดจากกัญชาที่นามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ มีสารกลุ่ม แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ที่มีสารออกฤทธ์ิสาคัญ 2 ชนิด คือ แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด อักเสบ ชักเกร็ง คลื่นไส้ และสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) มีคุณสมบัติต่อจิตประสาททาให้ผ่อนคลาย ลดอาการตึงเครียด สารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม (1) สารสกัดกัญชาท่ีมีข้อมูลทางวิชาการที่ สนับสนุนชัดเจน (2) สารสกัดกัญชาช่วยในการควบคุมอาการ ควรมีข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุน เพ่ิมเตมิ และ (3) สารสกัดกญั ชาทยี่ ังขาดข้อมูลจากการวิจัยสนบั สนุนท่ีชัดเจนเพียงพอ ดงั น้ัน การนา สารสกัดกัญชามาใช้ในทางการแพทย์จาเป็นต้องคานึงถึงประสิทธิผล และความปลอดภัยเป็นสาคัญ และในทางการแพทย์แผนไทย มีการอนุญาตให้ใช้ตารับยาท่ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบที่ได้มีการ คัดเลือก และรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข 16 ตารับ การใช้ยาจากกัญชาต้องอยู่ภายใต้การ ควบคมุ ดูแลของแพทย์ และแพทยแ์ ผนไทย เพอื่ ให้ผปู้ ่วยได้รับประโยชน์สงู สุด การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กกกกกกก1. กาหนดประเด็นศึกษาค้นควา้ รว่ มกัน กกกกกกก2. ศึกษาค้นคว้าจากสือ่ ที่หลากหลาย กกกกกกก3. บันทกึ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ท่ีได้ ลงในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก4. พบกลุม่

125 กกกกกกก5. อภปิ รายคดิ แลกเปลี่ยนเรยี นรขู้ ้อมลู ทีไ่ ด้ กกกกกกกุ6. คดิ สรุปการเรียนรทู้ ่ีได้ใหม่รว่ มกนั บันทึกลงในเอกสารการเรียนรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกก 7. นาข้อสรุปการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่มาฝึกปฏิบัติด้วยการทาแบบบฝึกหัด กิจกรรมตามที่ มอบหมาย บันทกึ ผลการฝึกปฏิบตั ลิ งในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก8. บันทึกผลการเรียนร้ทู ่ไี ดจ้ ากการฝึกปฏบิ ัตลิ งในเอกสารการเรียนรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกกุ9. บรรยายสรปุ สือ่ และแหล่งเรยี นรู้ กกกกกกก1. ส่อื เอกสาร ได้แก่ 1.1 ใบความร้ทู ่ี 3 1.2 ใบงานท่ี 3 1.3 ส่ือหนังสือเรียน สาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชง ศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กรุงเทพมหานคร 1.4 หนงั สอื ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 1.4.1 ช่อื หนงั สอื กัญชาสดุ ยอดยาวิเศษ ศาสตรแ์ หง่ การรักษาโรคยุคใหม่ ไมร่ ะบผุ ู้แต่ง ช่ือโรงพิมพ์ บริษทั เอกพมิ พไ์ ท จากดั ไมร่ ะบุปที พ่ี ิมพ์ 1.4.2 ชื่อหนงั สือ ข้อมลู เบือ้ งตน้ เกยี่ วกบั กัญชาทางการแพทย์ ช่อื ผ้แู ตง่ Mr.Martin Woodbridge ไม่ระบุโรงพมิ พ์ ปีทีพ่ ิมพ์ 2562 1.4.3 ชื่อหนังสือ หนังสือเรียนสาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช31002 สุขศึกษา พลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ชื่อผู้แต่ง สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ไมร่ ะบุโรงพมิ พ์ ปีทพ่ี ิมพ์ 2560 1.4.4 ชื่อหนังสือ กัญชายาวิเศษ เล่ม 2 กัญชารักษามะเร็ง ช่ือผู้แต่งสมยศ ศุภกจิ ไพบูลย์ และพรรคเขยี ว จรรโลงโลก โรงพมิ พ์ สานกั พิมพป์ ญั ญาชน ปีทีพ่ มิ พ์ 2562 กกกกกกก2. สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ 2.1 ช่ือบทความ กัญชากับการรักษาโรค ช่ือผู้เขียน ดร.ภญ.ผกาทิพย์ รื่นระเริงศักด์ิ สบื คน้ จาก http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/453/กญั ชา/ 2.2 ชื่อบทความ สรรพคุณกัญชา ด้านยาและประโยชน์ในการรักษาโรค ช่ือหน่วยงาน องคก์ ารเภสชั กรรม สบื คน้ จาก http://heslth.kapook.com /video/7418