Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Description: หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Search

Read the Text Version

176 3.6ยาไฟอาวธุ 3.7 ยาแกน้ อนไมห่ ลบั /ยาแก้ไข้ผอมเหลือง 3.8 ยาแก้สณั ฑฆาตกล่อนแห้ง 3.9 ยาอมั ฤตย์โอสถ 3.10 ยาอไภยสาลี 3.11ยาแก้ลมแกเ้ ส้น 3.12ยาแกโ้ รคจติ 3.13ยาไพสาลี 3.14 ยาทาริดสดี วงทวารหนกั และโรคผิวหนงั 3.15ยาทาลายพระสุเมรุ 3.16 ยาทพั ยาธคิ ุณ กกกกกกก4.ภมู ภิ เู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ิปัญญาไทย กกกกกกก5.ภมู ปิ ัญญาหมอพื้นบา้ นนายเดชา ศริ ิภทั ร รายละเอยี ดเนือ้ หา กกกกกกก1.ประวตั คิ วามเป็นมาการใช้กญั ชาเป็นยาในทางการแพทยใ์ นต่างประเทศ ประวัติศาสตร์กับการใช้กัญชาทางการแพทย์ในอดีตกัญชาถูกบันทึกว่ามีการใช้เพ่ือ บาบัดรักษาอาการของโรคต่างๆมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยพบหลักฐานบันทึกท่ีเก่าแก่ท่ีสุดย้อนไปเม่ือ 4,700 ปีกอ่ นและได้มีการบันทึกไว้ว่ากัญชาสามารถใชร้ ักษาโรคได้มากกว่า 100 ชนดิ ในประเทศอินเดียเมื่อ 4,000 ปีก่อนในคัมภีร์ของศาสนาฮินดูว่า กัญชาเป็น 1 ใน 5 สมนุ ไพรทส่ี าคัญทีใ่ ช้ในการบชู าพระศวิ ะ มีสรรพคณุ สรา้ งความสขุ และอิสรภาพ 2,737 ปีก่อนคริสต์ศักราช (BCE)กัญชาถูกใช้เป็นยาโดยจักรพรรดิ เซ็น นึง (Shen Nung) แห่ง ราชอาณาจักรจีน บันทึกในตารายาเก่าแก่ของจีน ใช้กัญชาเป็นยารักษาข้ออักเสบ มาลาเรีย เหน็บชา ทอ้ งผกู อาการเหมอ่ ลอย ค.ศ. 70 หรือ พ.ศ. 613ไดออสคอรีตส์ (Dioscorides) แพทย์ทหารผู้เขียนหนังสือเรื่อง เดอ มะทีเรียะ เมด-อิค (De Materia Medica) ตาราพืชสมุนไพรในแถบเมดิเตอร์เรเนียนที่ถือเป็นตารา ทางด้านสมนุ ไพรรกั ษาโรคทีด่ ีทสี่ ุดในยคุ นนั้ ไดบ้ รรจกุ ัญชาเป็นส่วนหนงึ่ ในตารับยาของเขา กกกกกกกกกค.ศ. 1000 หรือ พ.ศ.1543ในดินแดนท่ีเรียกว่าเปอร์เซีย หรือบรเิ วณประเทศอิหร่านใน ปัจจุบัน หมออวิเซนน่า (Avicenna) เขียนในตาราแพทย์สมัยน้ันระบุว่า กัญชาใช้เป็นยารักษาโรคเก๊าต์ อาการบวม แผลตดิ เชื้อ และอาการปวดศรี ษะอยา่ งรนุ แรงไดผ้ ลดี

177 ค.ศ. 1563 หรือ พ.ศ. 2106การ์ซีอา ดือ ออร์ตา (Garcua da Orta)แพทย์ชาวโปรตุเกสรายงาน เกีย่ วกับคณุ ประโยชน์ทางด้านยาของกัญชา ค.ศ.1621 หรือ พ.ศ. 2164หนังสือชื่อ The Anatomy of Melancholy เขียนโดย โร เบิร์ต เบอร์ตนั (Robert Burton)ผู้เชี่ยวชาญดา้ นโรคซึมเศร้าจากมหาวิทยาลัย Oxford ระบวุ ่ากัญชา อาจช่วยรกั ษาอาการของโรคซมึ เศร้าได้ ค.ศ. 1764 หรือ พ.ศ. 2307 การใช้กัญชาทางการแพทย์เริ่มเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา โดยรัฐ แรกทีม่ ีการใช้นา่ จะเป็น New Englandปรากฏมกี ารขายยาทมี่ กี ัญชาเป็นสว่ นผสม ค.ศ. 1851 หรือ พ.ศ. 2394 กัญชาได้รับการบรรจุอยู่ในตารายาของสหรัฐอเมริกา แตต่ อ่ มาในปี ค.ศ. 1942 ได้ถูกถอดถอนออกไป นายแพทย์ เจ.รัสเซลเรโนลส์ (John Russell Reynolds) แพทย์ประจาราชสานักองั กฤษ ได้ บันทึกประสบการณ์การใช้กัญชารักษาโรคในระยะเวลา 30 ปีของตน ตีพิมพ์ในวารสารแลนเซต ปี ค.ศ. 1890 หรือเมื่อประมาณ 130 ปีมาแล้ว โดยได้บรรยายการใช้กัญชารักษาโรคต่าง ๆในรูปแบบ ทิงเจอร์ขนาด 15-20 มิลลิกรัม พบว่า ได้ผลดีในโรคความผิดปกติทางจิตใจ ได้แก่อาการนอนไม่หลับ กระสับกระส่าย ภาวะซึมเศรา้ โดยเฉพาะในผสู้ ูงอายุ ความเจบ็ ปวดและอาการชา ไดแ้ ก่อาการปวดทุก ช นิ ด โด ย เฉ พ าะ อ าก าร ป ว ด จ า ก ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท อ าก า ร ป ว ด เร้ื อ รั ง ป ว ด ไม เก ร น ปวดข้อ อาการชาแขนขา ปวดประจาเดือน โรคกล้ามเนื้อกระตุกเกร็ง อาการชักบางชนิด กล้ามเนื้อขา เป็นตะคริวเวลากลางคืน และสามารถใช้รักษาโรคอ่ืน ๆ ได้ด้วย ได้แก่ หอบหืด แต่การใช้กัญชาทาง การแพทยก์ ็ตอ้ งยตุ ิลงเช่นเดยี วกบั สหรฐั อเมรกิ า กล่าวโดยสรุปในต่างประเทศ พบหลักฐานบันทึกไว้ว่า มีการใช้กัญชาเป็นยารักษา หรือควบคุม อาการของโรคต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ไดแ้ ก่ โปรตุเกส สหรฐั อเมริกา อังกฤษ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ ประเทศจีน อนิ เดยี และอิหรา่ นมาอย่างช้านาน ในบางประเทศมีหลักฐานว่าเคยมกี ารใชก้ ัญชามานานกว่า 4,700 ปี กกกกกกก2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลอื กของไทย การใช้กัญชาเป็นยาในประเทศไทย มีท้ังหลักฐานท่ีมีการบันทึกในตาราทางการแพทย์แผน ไทยและการใช้ของชาวบ้าน ในส่วนท่ีบันทึกในตาราทางการแพทย์แผนไทย กัญชามักเป็นหน่ึงในนั้น โดยตารบั ยากญั ชาท่ีชาวบ้านใช้จะใช้รักษาโรคและอาการง่ายๆมกั จะใช้ตัวเดียวหรอื มีสมุนไพรอืน่ เป็น ส่วนประกอบเพียงไม่กี่ชนิด ตารับยาที่เข้ากัญชาในทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน มักจะใช้การทาเป็นยาผง ยาต้ม ยาภายนอกมียาพอก ยาน้ามัน ไม่พบยาเคี่ยวน้ามันที่นามากินหรือ หยดใตล้ นิ้ ตารับยาทมี่ ีกัญชาเปน็ ส่วนประกอบมคี วามเปน็ มาและรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี 2.1สมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช (พ.ศ. 2174 - 2231) 1.2ประเทศไทยมีการใช้กัญชาเพ่ือการรักษาโรคมาเป็นเวลานานโดยมีหลักฐานเป็นตารับ ยาสืบค้นกันไปได้ถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ดังปรากฏในคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับ

178 ใบลาน (ตาราพระโอสถพระนารายณ์) เนื่องจากเป็นต้นสาแหรกของตาราการแพทย์แผนไทยและ เภสัชตารับฉบับแรกของประเทศไทย เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของบรรพชนได้สะสมองค์ความรู้ พัฒนา และถ่ายทอดสืบเนื่องกนั มา ต้งั แต่สมัยสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช สะท้อนคณุ ค่าทงั้ ทางดา้ น ประวัติศาสตร์ สังคม และการแพทย์แผนไทยในสมัยอยุธยาตอนปลาย รวมท้ังมีการอธิบายถึงทฤษฎี การแพทย์แผนไทย สมมุติฐานของโรค ความผิดปกติของธาตุท้ัง 4 วิธีการและข้ันตอนในการรักษาของ ผู้คนในสังคมในสมัยอยุธยาการปรุงยา และสูตรตารับที่ใช้สมุนไพรไทยและสมุนไพรจากต่างประเทศ จานวน 81 ตารับ ในสมยั อยธุ ยาเรยี ก “กัญชา” วา่ “การชา” ภาพที่ 59ชดุ ตาราภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยฉบบั อนรุ ักษ์ไทยคมั ภรี ์ธาตุพระนารายณ์ ฉบบั ใบลาน(ตาราพระโอสถพระนารายณ์) 1.“หมอสยามไม่พยายามท่ีจะศึกษาสรรพคุณของตัวยาแต่ละชนิด นอกจากจะถือเอาตาม ตารับท่ีปู่ย่าตายายสั่งสอนต่อ ๆ กันมาเท่านั้น และเขาจะไม่ปรับปรุงแก้ไขตารับนั้นแต่ประการใดเลย หมอสยามมพิ ักพะวงถึงลกั ษณะอาการเฉพาะโรคแตล่ ะโรค แม้กระน้ันก็ยังบาบัดให้หายไปได้มิใชน่ ้อย ทง้ั นี้ ก็เพราะชาวสยามไมค่ ่อยดม่ื เคร่ืองของดองของเมามากนัก จึงเป็นเครอื่ งใหพ้ ้นภัยจากโรคที่รักษา ใหห้ ายยากเปน็ อนั มาก”

179 1.2ข้อความขา้ งต้น เป็นส่วนหน่งึ ของการเขียนจดหมายเหตพุ ระราชพงศาวดารสยามคร้ังกรุง ศรีอยุธยา โดย ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ (Simon de La Loubere) เอกอัครราชทูตจากราชสานักสมเด็จ พระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 แห่งฝรั่งเศส ซ่ึงเข้ามาในกรุงสยามประมาณ 3 เดือน ระหว่าง พ.ศ.2230-พ.ศ. 2231 ท้ังนี้ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย มีหลักฐานสาคัญช้ินหนึ่งที่จัดเป็นเอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นแรกท่ี บันทึกภูมิปัญญาไทยในการใช้ยาสมุนไพรไว้อย่างเป็นระบบ คือ “ตาราพระโอสถพระนารายณ์” ซ่ึง ตารานี้สืบทอดมาถึงปัจจบุ ันได้อย่างเกือบสมบูรณ์จะมคี ลาดเคล่ือนไปบ้างก็ในการคัดลอกช่ือสมุนไพร ชื่อโรค หรืออาการของโรค หรอื ศพั ท์บางคาผดิ เพ้ยี นไปบา้ งเทา่ น้ัน 1.2ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ได้มีการสรุปทฤษฎีการแพทย์แผนไทยในยุคน้ันไว้อย่าง กระชับและได้ใจความใน 1 ย่อหน้า พร้อมกับระบุตาราอ้างอิงไว้อีกอย่างน้อย 2 เล่ม คือ “คัมภีร์มหา โชติรัต” อนั เปน็ ตาราเกี่ยวกับโรคสตรี และ “คมั ภีร์โรคนทิ าน” อนั เป็นตาราเกี่ยวกบั เรื่องราวของโรค หรือเหตแุ ห่งโรค โดยเฉพาะตารายาไทยท่ีมีการใช้ “กัญชา” เข้าไปเป็นองค์ประกอบด้วยนั้นมที ั้งสิ้น 4 ขนาน จากจานวนตารับยาท้ังส้ิน 81ขนาน ดังนี้ คือตารับยาขนานที่ 11 อัคคินีวคณะ ตารับยาขนานท่ี 43 ยาทิพากาศ ตารับยาขนานที่ 44 ยาศุขไสยาศน์ และตารับยาขนานท่ี 55 ยามหาวัฒนะโดยมี รายละเอยี ดดังนี้ 1.2ตารับยาขนานที่ 11 ช่ือ อคั คนิ วี คณะ ให้นาสว่ นผสม 1.2“กัญชา ยิงสม สิ่งละส่วน เปลือกอบเชย ใบกระวาน กานพลู สค้าน สิ่งละ 2 ส่วน กระทา เป็นจุณน้าผ้ึงรวงเป็นกระสายยา ดีปลี ส่ิงละ 4 ส่วน น้าตาลกรวด 6 ส่วน กระทาเป็นจุณน้าผ้ึงรวง เป็นกระสายยา บดเสวยหนักสลึง 1 แก้อาเจียน 4 ประการ ด้วยติกกะขาคินีกาเริบ และวิสมามัน ทาคินีอันทพุ ล จึงคลน่ื เหียนอาเจียน มใิ ห้เสวยพระกระยาหาร เสวยมีรศชูกาลังยง่ิ นัก”ข้าพระพุทธเจ้า ขนุ ประสทิ ธโิ อสถจีน ประกอบทูลเกลา้ ฯ ถวาย ครง้ั สมเด็จพระนารายณ์เป็นเจ้าเมืองลพบุรี เสวยเพลา เข้าอัตรา ดนี กั แลฯ 1.2สาหรับยา “อัคคินีวคณะ” น้ีได้มีการวิเคราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถพระ นารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา5 ธันวาคม พทุ ธศักราช 2542 ความตอนหนงึ่ ว่า “กัญชาที่ใช้ในปริมาณน้อย ๆ เช่นท่ีใช้ในตารับน้ี คนไทยรู้จักใช้ในการปรุงแต่งอาหารมาแต่โบราณ” เพื่อช่วยให้กินอาหารได้อร่อยขึ้น กินข้าวได้มากขึ้น เป็นยาเจริญอาหาร ปัจจุบันพิสูจน์ได้ในเชิง วิทยาศาสตร์แล้วว่า ในกัญชามีสารท่ีช่วยให้กินอาหารได้มีรสชาติมากข้ึน และกินได้ในปริมาณมากภูมิ ปัญญาการใช้ “อัคคินีวคณะ” ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์นั้น น่าจะถูกสืบทอดต่อกันมาจนถึงสมัย รตั นโกสินทร์ได้สาเร็จเพราะตารับยาขนานนี้ยังมีความคล้ายคลึงกับยาขนานหนึ่งในตารายาท่ีปรากฏ ในศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 3 แห่งราชวงศจ์ กั ร)ี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้จารึกไว้เมื่อพ.ศ.2375

180 1.2นอกจากนั้นวิชาความรู้ดังกล่าวยังสืบทอดต่อกันมาจนปรากฏในคัมภีร์แพทย์แผนไทย โบราณเล่ม 3 เขยี นโดยขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อาพนั กติ ตขิ จร) ความว่า 1.2“ยาเจริญธาตุ เอากัญชา โสม อบเชยญวณ เอาสิ่งละ 1 สลึง ใบกระวาน กานพลู สะค้าน เอาส่ิงละ 2 สลึง ขิงแห้ง 3 สลึง เจ็ตมูลเพลิง ดีปลี สิ่งละ 1 บาท น้าตาลกรวด 6 สลึง บดละลายน้าผ้งึ กนิ แก้กนิ ขา้ วไม่ได้ นอนไมห่ ลบั ” 1.2ตารับยา“อัคคินีวคณะ” นอกจากจะสะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาไทยท่ีมีความชาญฉลาด รู้จัก“ประยกุ ต์และบรู ณาการ” สมนุ ไพรจากชาติอ่ืนแลว้ ยงั มเี รื่องท่ีนา่ ยินดีว่าตารบั ยาน้ีน่าจะสบื ทอด จนถงึ กรงุ รตั นโกสินทรไ์ ดโ้ ดยถกู นามาบนั ทึกใช้ในตาราแพทยแ์ ผนไทยอีกหลายยุคหลายสมยั 1.2ตารบั ยาขนานที่ 43 ช่ือ “ทพิ ากาศ”ให้นาสว่ นผสม 1.2“ทิพากาศ เอายาดา เทยี นดา ลูกจนั ทน์ ดอกจนั ทร์ กระวาน พิมเสน สิ่งละส่วน การบูร 4 ส่วน ฝ่ิน 8 ส่วน ใบกัญชา 16 ส่วน สุราเป็นกระสายบดทาแท่ง น้ากระสายใช้ให้ชอบโรคร้อน และ เย็น กินพอควร แกส้ ารพัดทง้ั หลายอันใหร้ ะส่าระสาย กินข้าวมิได้ นอนมิหลับ ตกบุพโพโลหิต ลงแดง หายแลฯ ” 1.2สาหรับ “ยาทิพากาศ” นี้ได้ปรากฏมีการวิเคราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถพระ นารายณ์ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ความตอนหน่ึงว่า“ยา ทิพากาศเป็นยาขนานท่ี 43 ที่บันทึกไว้ในตาราพระโอสถพระนารายณ์ ใช้แก้ “สารพัดท้ังหลายอันให้ ระส่าระสาย” คือ ใช้แก้ความไม่สบายทุกอย่าง โดยเฉพาะท่ีทาให้ “กินเข้า (กินข้าว)” ไม่ได้ นอนไม่หลับ ตกเลือด ตกหนอง ลงแดง ตามทบ่ี ันทกึ ไว้ 1.2ท้ังนี้ กัญชาและฝิ่น เป็นยาที่ทาให้กินข้าวได้ นอนหลับ ไม่รู้สึกเจ็บปวดทรมาน ยาดาท่ีใช้ ในตารับนี้เป็นยาถ่าย โดยโบราณเช่ือว่าเมื่อถ่ายได้ ก็จะกินได้ ผู้ป่วยก็จะแข็งแรงและรู้สึกดีข้ึนเอง ส่วนเทียนดา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน พิมเสน และการบูร เป็นยาขับลม และอาจแสดงฤทธ์ิอ่ืนๆ ตาราพระโอสถพระนารายณ์ให้เอาเคร่ืองยาทั้งหมดบด ทาเป็นแท่ง โดยใช้สุรา(เหล้า) เป็นกระสาย เม่ือจะกินกใ็ หล้ ะลายน้ากระสาย โดยใหเ้ ลือกน้ากระสายใหถ้ ูกกับโรควา่ รอ้ นหรือเย็น” 1.2ตารบั ยาขนานท่ี 44ชื่อ “สุขไสยาศน์”(ปัจจบุ ันใช้คาวา่ ศุขไสยาศน์) ให้นาส่วนผสม 1.2“สุขไสยาศน์ เอาการบรู 1 สว่ น ใบสะเดา 2 ส่วน สหศั คุณเทศ 3 สว่ น สมุลแว้ง 4 ส่วน เทียนดา 5 สว่ น โกฏกระดูก 6 ส่วน ลูกจนั ทร์ 7 สว่ น ดอกบุนนาค 8 ส่วน พริกไทย 9 ส่วน ขงิ แหง้ 10 ส่วน ดีปลี 11 ส่วน ใบกญั ชา 12 สว่ น ทาเปน็ จุณ ละลายนา้ ผ้ึง เม่ือจะกินเสกด้วยสัพพีติโย 3 จบแลว้ กนิ พอควร แกส้ รรพโรคทั้งปวงหายสนิ้ มกี าลงั กินเขา้ ได้นอนเป็นศขุ นักแลฯ ” 1.2สาหรับ “สุขไสยาศน์” นี้ได้ปรากฏการวิเคราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถพระ นารายณ์ ฉบับเฉลมิ พระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธนั วาคม พทุ ธศักราช 2542 ความตอนหนง่ึ ว่า “ยาศขุ ไสยาศน์ เปน็ ยาขนานท่ี 44 ทบี่ ันทกึ ไว้ในตาราพระโอสถพระนารายณ์ มสี รรพคณุ ครอบจักรวาล แก้

181 ได้ “สรรพโรค” กินแล้วจะทาให้มีกาลัง กินข้าวได้ นอนหลับสบาย นอกจากจะนาเครื่องยามาบดให้ ละเอียด ละลายน้าผึ้งแล้ว เม่ือจะกินก็ให้เสกด้วย “สัพพีติโย” 3 จบ โดยยาขนานนี้เป็นยาท่ีทาให้ สบายตัว นอนหลับสบาย และเจริญอาหารทั้งน้ี “สัพพีติโย” เป็นบทสวดอนุโมทนา พระใช้สวดให้พร ญาตโิ ยมในโอกาสต่างๆ บทสวดนี้มีเน้อื ความดังนี้ 1.2“สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสันตุ มา เตภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ อภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธรรมาวัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง” แปลได้ว่า “ความจัญไรท้ังปวงจงบาราศไป โรคท้ังปวงของท่านจงหาย อันตรายจงอย่ามีแก่ท่าน ขอท่านจงเป็นผู้มีความสุขและมีอายุยืน พร 4 ประการ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเกิดแก่ท่านซึ่ง เป็นบุคคลผกู้ ราบไว้และอ่อนน้อมต่อผ้ใู หญเ่ ปน็ นิจ” 1.2ตารบั ยาขนานท่ี 55“ยามหาวฒั นะ” ใหน้ าส่วนผสม 1.2เทียนสัตบุษ เทียนเยาวภานี โกฏสอ โกฏเขมา โกฏกัตรา โกฏพุงปลา บรเพ็ดใบกันชา สหัสคุณท้ัง 2 ลูกพิลังกาสา รากไคร้เครือ แห้วหมูใหญ่ ขม้ินอ้อย พริกหอม พริกหาง สิ่งละ 2 ส่วน ดีปลีเท่ายาท้ังน้ัน จึงเอาใบกระเพราแห้ง 2 เท่าดีปลี จึงจะรู้จักคุณยาเห็นประจักษ์อันวิเศษ แก้ ฉันนวตุ ตโิ รค 96 ประการใหก้ ับพยาธทิ ง้ั หลายทุกประการดนี ักแลฯ” 1.2สาหรับยา “ยามหาวัฒนะ” นี้ไดป้ รากฏมกี ารวเิ คราะห์ในคาอธิบายตาราพระโอสถพระ นารายณ์ ฉบบั เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 ความตอนหนึง่ ว่า ยามหาวัฒนะเป็นยาขนานที่ 55 ท่ีบนั ทึกไวใ้ นตาราพระโอสถพระนารายณ์ ยาขนานน้ีเข้าเครื่องยา 25 สิ่ง ตามที่ระบุเอาไว้ โดยมีดีปลีเท่ายาท้ังหลายคือ 42 ส่วน และใบกระเพราแห้งปริมาณ 2 เท่าของ ดปี ลี คือ 84 ส่วน ผสมกนั บดให้ละเอียด ผสมน้าผง้ึ รวง ปั้นเปน็ ลูกกลอน กินครัง้ ละ 1 สลงึ ทุกวันให้ ครบ 1 เดือน ก็จะเห็นผลอันวิเศษของยาน้ี ซ่ึงตาราพระโอสถพระนารายณ์บันทึกไวว้ ่าใช้แก้ฉันนวุตติ โรค 96 ประการ กบั ความไม่สบายท้ังหลายทุกอยา่ ง 2.2สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั (รัชกาลท่ี 2พ.ศ.2352-2367) 1.2ทรงมบี ทบาทสาคัญอยา่ งยง่ิ ดังจะเห็นได้ว่า หลังจากเสียกรงุ ศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เป็นต้น มา ตารับตาราแพทย์แผนไทยจานวนมากถูกเผา สูญหาย กระจัดกระจาย ไม่มีใครคาดคิดว่าจะมีใคร สามารถรวบรวมตาราพระโอสถพระนารายณ์สืบทอดกลับมาได้อีกแต่เดชะบุญของวงการแพทย์แผน ไทย ที่รัชกาลที่ 2 ทรงให้รวบรวมคัมภีร์แพทย์ที่กระจัดกระจายมารวบรวมไว้ ณ โรงพระโอสถ โดยมี พระราชโองการให้ผู้มีความรู้ ผู้ชานาญการรักษาโรค ผู้ที่มีความรู้ด้านการปรุงยา หมอหลวง หมอ เชลยศักดิ์ และราษฎรท่ีมีตารายาช่วยกันรวบรวมข้อมูลเป็นตาราหลวงสาหรับโรงพระโอสถ ซ่ึงตารา ท้ังหมดท่ีทาการรวบรวมมา แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2355 และมีการตรวจสอบข้อมูลเพื่อความถูกต้อง อย่างละเอียด ต่อมาในปี พ.ศ.2359ได้มีการต้ังกฎหมายท่ีช่ือว่า “กฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย” ภายหลังจากที่มีการแพร่ระบาดของอหิวาตกโรค หรือเรียกว่าโรคห่า คร้ังรุนแรงในระหว่างปี พ.ศ.

182 2363-2365 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทาน ตารับยาบางส่วนจารึกลงบนหินอ่อนเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส บริเวณผนังด้านนอกของกาแพงพระ วิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร โดยในครงั้ นน้ั พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ (ต่อมาทรงข้ึนครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3) ได้เป็นผู้ทรงเลือกตารายาบางส่วนจากครั้งน้ันมาจารึกบนหินอ่อนและประดับไว้ที่วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร อันเป็นที่สาธารณะเพื่อเป็นวิทยาทานแก่ราษฎรโดยทั่วไป แม้ว่าหลักฐานตารับยาจะสูญ หายไปบางส่วน แต่จากการตรวจสอบ “ตาราพระโอสถ คร้ังรัชกาลที่ 2” เท่าที่เหลืออยู่ซึ่งมีจานวน 61 ตารับ พบว่าการใช้กัญชาเข้าในตารายาน้ันมี 2 ขนานปรากฏใน “ตาราพระโอสถ” ว่าเป็นตารับยา 2 ใน 3 ขนาน ของหลวงทิพย์รักษา ทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายในขนานที่ 1 “แก้ลมเบ้ืองสูง” และ ขนานที่ 3 “แก้อทุ ธงั คมาวาตา” ซง่ึ ล้วนแตเ่ ป็นโรคเกีย่ วกับธาตุลมในแพทยแ์ ผนไทยทัง้ สน้ิ 2.3 สมัยพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยหู่ วั (รัชกาลท่ี 3พ.ศ.2367 - 2394) 1.2ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ให้บูรณปฏสิ งั ขรณ์พระอารามวัดพระเชตุพน วิมลมงั คลาราม(วัดโพธ)์ิ คร้ังใหญ่ พร้อมทง้ั ขยายอาณาเขตพระอาราม ใช้เวลานาน 16 ปี 7 เดอื น 1.2สาหรับวิชาการแพทย์แผนไทยน้ันพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สืบเสาะหาตาราที่ศักดิ์สิทธ์ิ ตาราลักษณะโรคทั้งปวง ตาม พระราชาคณะ ข้าราชการ ตลอดจนราษฎร มาจารึกในแผน่ ศิลา โดยผูถ้ วายตารายาตอ้ งสาบานวา่ ยา ขนานน้ันตนเองได้ใช้เป็นผลดีและไม่ปิดบัง แล้วให้พระยาบาเรอราชแพทย์ตรวจอีกทีก่อนจะนาไป จารึก ย่อมแสดงให้เห็นว่ากว่าท่ีจะมีการลงบันทึกในศิลาจารึกน้ัน นอกจากจะมีการเสาะหาตารา การแพทย์ มีการตรวจสอบความถูกต้องแล้วยังต้องให้มีการสาบานอีก ซ่ึงในยุคสมัยนั้นการสาบาน ย่อมมีความสาคัญยิ่งกว่าสัญญาใด ๆ โดยเฉพาะอย่ายิ่งหากเป็นโครงการท่ีดาเนินไปตามพระราชดาริ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย

183 ภาพที่ 60ตารับยาทีอ่ ยู่ในแผ่นศลิ าวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม 1.2สาหรับตารับยาท่ีอยู่ในแผ่นศิลาท่ีเข้ากัญชา อันเป็นภูมิปัญญาท่ีได้รับพระราชทานในสมัย รัชกาลที่3 นั้นมีมากถึง 17 ตารบั ซึ่งกัญชาในตารับยาส่วนใหญ่ในช่วงเวลาน้ี ไม่ใช่ทั้งยาตรง ไม่ใช่ยารอง แตอ่ ยู่ในสถานภาพยาเสรมิ และยาแต่งรส 1.2ยาเสริม หรือตัวยาเสริม หรือตัวยาคุม เพ่ือช่วยควบคุมความแรงของตัวยาสาคัญ หรือช่วยออกฤทธ์ิให้ดียิ่งข้ึน หรอื ในบางกรณีเป็นตัวยาเพ่ือป้องกันโรคแทรกซ้อน หรือยาบารุง แต่ถึง กระนั้นยาหลายขนานซ่ึงมคี วามน่าสนใจ กลายเป็นส่งิ ที่ต้องห้ามเพราะมีการเข้ากัญชาผสมอยู่ด้วย แต่หลายโรคที่มีการรักษาน้ันก็เป็นโรคท่ีมีความรุนแรง หรือน่าจะเป็นโรคท่ีน่าจะยากแก่การรักษา อย่างไรก็ตามการที่ตารับยาเหล่าน้ีปรากฏเป็นตัวอักษรในศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม นนั้ ก็สะทอ้ นให้เหน็ ถึงความสาคญั 3 ประการ ดงั นี้ 1.2ประการที่หน่ึงพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเห็นว่าการศึกสงครามท่ีผ่าน มาทาให้องค์ความรตู้ ารับ ตารา ทง้ั หลายสญู หายกระจัดกระจายไป จึงทรงมีพระราชประสงค์ทจ่ี ะให้มี การรวบรวมเอาไว้อย่างเป็นระบบและยากแก่การสูญหาย โดยการจารึกเอาไว้ในแผ่นศิลา จึงมีความ คงทนถาวรกว่าการบันทึกในรูปแบบอื่น และเป็นผลทาให้องค์ความรู้ดังกล่าวนี้เป็นมรดกตกทอดจน มาถึงปัจจุบันได้แม้เวลาจะผ่านมานานกว่าร้อยปีแล้วก็ตาม แสดงให้เห็นว่าสิ่งที่จารึกน้ันย่อมต้องมี คณุ ค่าเพยี งพอทจี่ ะกลายเป็นมรดกให้กับคนรนุ่ ต่อ ๆ ไปได้

184 1.2ประการที่สองการที่องค์ความรู้เหล่านี้อยู่บนศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลา รามโดยพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ในขณะที่ยังมีการปกครองในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์การที่จะตดั สินพระราชหฤทัยว่าควรจะบันทึกส่ิงใดให้มีความคงทนในแผ่นศิลา ย่อมมีการตรวจสอบคัดกรองความถูกต้องโดยบุคลากรผู้เช่ียวชาญในราชสานัก จึงถือว่าเป็นองค์ ความรู้ในระดับตาราหลวง ดังตัวอย่างปรากฏในทางการแพทย์น้ันแม้จะมีการตรวจสอบความถูกต้อง แลว้ กย็ ังให้เจา้ ขององค์ความรนู้ ั้นสาบานความถูกต้องนั้นเอาไว้ดว้ ย 1.2ประการท่ีสาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น การเล่าเรียนส่วน สามัญศึกษาท่ีมีเรียนอยู่ตามวัดทั่วไป แต่ส่วนวิสามัญศึกษาเพื่อวิชาชีพนั้นยังศึกษาแต่ในราชสกุล พลเมืองสามัญไม่มีโอกาสท่ีจะเรียนได้ แต่การท่ีได้นาความรู้ที่เป็นระดับวิสามัญมาจารึกในแผ่นศิลา ประดับไว้ท่ีวัดนั้น ย่อมแสดงให้เห็นว่ามีพระราชประสงค์ให้ความรู้วิชาชีพขั้นสูงน้ีเป็นของมหาชน ทัง้ หลายโดยไม่เลอื กชั้นบรรดาศักด์ิ หรอื ช้ันวรรณะ และท่ีสาคัญไม่ต้องการให้องค์ความรนู้ ี้ผูกขาดอยู่ กบั ราชสานกั รัฐบาล ภาครฐั หรือคนกลุ่มใดกลุ่มหนง่ึ 1.2สาหรับตารับยาที่เข้ากัญชาปรากฏในศิลาจารึกของวัดมีทั้งสิ้น 14 ตารับ โดยจะขอ นาเสนอภาษาตามตัวอักษรโบราณท่ีปรากฏในศิลาจารึก เพื่อบันทึกเป็นหลักฐานเอาไว้ว่าเป็นส่ิงที่มี คณุ ค่าตามประวัตศิ าสตร์ ดังน้ี 1.2ตารับท่ี 1 สนั นิบาตทุวันโทษ 1.2เป็นความเจ็บป่วยอันเกิดจากกองสมุฎฐานปิตตะ(ระบบความร้อนและการย่อย) วาตะ (ระบบการเคลื่อนไหวในร่างกาย) และเสมหะ (ระบบของเหลว) ร่วมกนั กระทาให้เกิดโทษ รักษาขนาน หน่ึงเอา สมอทั้งสาม มะขามป้อม รากกัญชา ส่ิงละส่วน เบ็ญกูล ส่ิงละ 2 ส่วน ต้มตามวิธีให้กินแก้ม หาสรรนิบาตทวุ ันโทษ ซ่งึ กระทาให้เสโทตก ให้น้าปะสาวะเหลอื งน้ันหายดนี กั ฯ 1.2ตารับท่ี 2มนั ทธาตุ 1.2เป็นธาตุหย่อน ตาราการแพทย์แผนไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ มันทอาโป (ธาตุ นา้ หย่อน) มันทเตโช (ธาตไุ ฟหย่อน) มันทปทั วี (ธาตุดินหย่อน) แลมนั ทวาโย (ธาตุลมหย่อน) ลกั ษณะ มันทธาตุน้นั ยิง่ ไปดว้ ยเสมหะมกี าลัง คือไฟธาตุหย่อนเผาอาหารมิได้ย่อย ถ้าจะแก้ให้เอาย่ิงโสม กัญชา อบเชย ใบกระวาร กานพลู สะค้าน ขิงแห้ง เจตมูล ดีปลี น้าตาลกรวด เอาเสมอภาคทาเป็นจุณ บด ละลายนา้ ผึ้งกิน แก้มันทะธาตุ ยงิ่ ไปด้วยกองเสมหะ กล่าวคอื อาโปธาตุอนั วิปริต นั้นหายฯ 1.2ตารบั ท่ี 3มศุ กายธาตุอดสิ าร 1.2เป็นโรคร้ายแรงของธาตุน้า อันเป็นหน่ึงในลักษณะโบราณกรรมอติสารชนิดหนึ่ง ตารา การแพทย์แผนไทยวา่ เกดิ จากธาตนุ า้ หรอื เกดิ จากการกนิ อาหารแสลง ผู้ป่วยจะมอี าการท้องเสีย ถ่าย อุจ จาระเป็ น เส ม ห ะแ ล ะเลื อด เน่ ามี กล่ิ น เห ม็ น เห มื อ น ซ าก ศ พ รักษ าโด ย เอ ากั ญ ช า

185 ใบสะเดา ใบทองหลางใบมน ใบคนทีสอ ใบมะตูม เสมอภาค ทาเป็นจุณบดทาแท่งไว้ ละลายน้า กระสายอันควรแกโ่ รค กนิ แกม้ มุศกายธาตอุ ตสิ ารวิเสศนกั ฯ 1.2ตารบั ท่ี 4ป่วงหวิ 1.2เป็นช่ือโรคชนิดหน่ึง เกิดเพราะธาตุในร่างกายไม่ปกติ พิษของโรคทาให้เกิดอาการตัวเย็นเป็น เหน็บ เหง่ือตกมาก ลงท้อง อาเจียน ใจหววิ และส่ัน เป็นต้น รกั ษาให้เอาลูกเบญจกานี ลูกกล้วยตีบอ่อน ลูก ทับทิมอ่อน ใบทบั ทมิ ใบสะแสดินกิน กรดท้ัง 5 ใบสะเดา ใบทองหลางใบมน ใบมะตูม ใบกัญชา ใบ กะเม็ง ส่งิ ละส่วน ใบกระท่อม 2 ส่วน ขม้ินอ้อย 3 ส่วน ไพร 4 ส่วน เทียนดา 5ส่วนทาเป็นจุณบดทาแท่ง ไวก้ ินแก้ป่วงหิวหายดีนักฯ 1.2ตารบั ท่ี 5ปว่ งน้า 1.2เป็นโรคชนิดหนึ่ง เกิดเพราะธาตุในร่างกายผิดปกติ ผู้ป่วยมีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน รุนแรง ผิวกายซีดเผือด สะบัดร้อนสะท้านหนาว รักษาให้เอา เปลือกสนุ่น เปลือกมะม่วงพรวน เปลือกกระทุ่มขี้หมู เปลือกกระท่อม กานชา เทียนดา โกฏสอ โกฏเขมา โกฏพุงปลา โกฏจุฬาลัมพา โกฏหัวบัว กระดองเต่าเหลืองเผา กระดูกปูนาเผา รากนางแย้ม รากมะนาว รากมะปรางต้มด้วยน้าปูน ใสแทรกพิมเสน แทรกดงี ูกินแก้ป่วงน้า ถ้าหิวนัก เอาน้าตาลกรวด น้าตาลทราย น้าตาลหม้อแทรกลง กนิ หายฯ 1.2ตารับท่ี 6ฤศดวงบังเกิดในทางปะสาวะ 1.2อ่านในปัจจุบันว่าริดสีดวงบังเกิดในทางปัสสาวะ อันหมายถึงโรคกลุ่มหนึ่งท่ีเกิดข้ึนใน ทางเดินปัสสาวะ ขนานน้ี เอาบุกรอ ดีปลี ขิงแห้ง อุตพิต กลอย กระดาดแดง ขอบชะนางขาว ลูกจันทน์ โกฏสอ โกฏเขมา กระวาน การพลู เทียนดา เทียนขาว เทียนเยาวพาณี สมุลแว้ง กัญชา สิ่งละส่วน พริกล่อน 2 สว่ น ทาเปน็ จณุ บดละลายน้าร้อนกินหนัก 1 สลึง แกฤ้ ศดวงอันบังเกิดในทางปะสาวะนั้น หายดีนกั ฯ 1.2ตารบั ที่ 7ลมวาระยักขวาโย 1.2เป็นโรคลมจรชนิดหน่ึง เกิดจากกองอชิณวาต ผู้ป่วยจะอยากกินอาหารคาวหวาน เนื้อ ปู ปลา และหอย ซึง่ เมื่อกินแล้วทาให้มีอาการเสียดชายโครงท้ังสองข้าง จุกแน่นบริเวณหน้าอก แล้ว ลามไปถึงองคชาต มือเท้าตายไม่มีแรง ขนานหนึ่งเอาโกฏท้ังห้า เทียนทั้งห้า ลูกจันทร์ ดอกจันทร์ กานพลู ผักแพวแดง ส่ิงละส่วน ดองดึง น้าประสานทอง กานชา การบูร รากจิงจ้อ มหาหิง สิ่งละ 2 ส่วน พริกไทย ขิงแห้ง ดีปลี รากส้มกุ้งทั้งสอง ส่ิงละ 10 ส่วน กระเทียม ผิวมะกรูด เทพทาโร เปล้าน้อย สิ่งละ 12 ส่วน สมอพิเภก 16 ส่วน มะขามป้อง 32 ส่วน สมอไทย 48 ส่วน ทาเป็นจุณละลายนา้ กระสาย อันควรแก่โรคกินหนัก 1 สลึง แก้ลมวาระยักขวาโย อนั เกดิ แต่กองอชณิ ะนั้นหายวเิ สศนักฯ

186 1.2ตารับที่ 8ลมอตั พังคีวาโย 1.2เป็นลักษณะของโรคลมชนิดหนึ่ง หมายถึงระบบการเคล่ือนไหวท่ีเป็นลมพัดเบื้องล่าง ตัง้ แต่ใตส้ ะดือจนถงึ เท้าเกิดกาเรบิ ดันขน้ึ มาด้านบนทาให้ปวดศรี ษะ รกั ษายานา้ มันช่ือละลอกพระสมุทร เอา บอระเพ็ด เปลือกมะรุม ตูมกาแดง รากเสนียด รากอังกาบ รากขัดมอน กลอย ลูกขี้กาแดง พันงูแดง ไคร้หางนาค แห้วหมู ขม้ินอ้อย ใบบวบขม ข่าลิง แสนประสะต้น ช้าเกลือ ใบกะเม็ง หัวบอนแดง สันพร้านางแอ จอกใหญ่ กานชา เอาน้าส่ิงละทะนาน น้ามันงาทะนาน 1 หุงให้คงแต่น้ามันแล้วจึงเอา ลูกจันทร์ ดอกจันทร์ กระวาน กานพลู เทียรเยาวภานี เทียรดา เทียรขาวสิ่ง ละ 1 สลึง ทาเป็นจุณปรุงลง ในนา้ มันทัง้ กนิ ทัง้ ทา แกล้ มอัตพังคีวาโยนน้ั หายวิเสศนักฯ 1.2ตารบั ที่ 9ลมสติ มัควาโย 1.2เป็นโรคเกี่ยวกับธาตุลมชนิดหนึ่ง โรคนี้จะทาให้มือเท้าเย็นก่อนหมดแรง เป็นได้ถึง อัมพาต ทาให้ลิ้นแข็ง พูดไม่ชัด ถ้าเทียบในยุคปัจจุบันคือการเกิดเกี่ยวกับความผิดปกติเส้นโลหิตของ สมองตีบ ใครเป็นมักอายุไม่ยืน จึงพระฤาษีภัตสรรณได้แต่งยาท่ีแก้ เอาลูกจันทน์ ดีปลี พริกไทย ขิงแห้ง หอมแดง สิ่งละ 8 ส่วน ฝ่ิน กานชา น้าตาลทราย น้ามันเนย สิ่งละ 16 ส่วน ทาเป็นจุณ แล้วเอาน้า มะพร้าวนาฬิเกเป็นกระสาย เคี่ยวเป็นยางมะตูม แล้วจึงเอาผลสมอไทยปอกผิวเสีย 108 ผล ใส่ลง เคี่ยวไปให้ซาบในผลสมอให้กินวันละ 36 ผล ที่จะกินในเวลาใดมิได้บังคับ ให้สิ้นแต่ในวันเดียวนั้น โดยนยั ท่านกล่าวบังคบั ไว้ให้กนิ ในเวลาใดมิไดบ้ ังคับ ให้ส้นิ แต่ในวันเดียวน้ันโดยนยั ทา่ นกล่าวบงั คับ ให้ กิน 3 วัน ให้สิน้ ผลสมอ แก้ลมสิตมคั วาโยนัน้ หายวิเสศนกั ฯ 1.2ตารบั ท่ี 10กระไสยเหล็ก 1.2เป็นโรคกษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหน่ึง เกิดจากลมอัดแน่นแข็งเป็นดานอยู่ใน ท้องน้อย ผู้ป่วยมีอาการปวดท้องแข็งลามขึ้นไปถึงยอดอก กินอาหารไม่ได้อน่ึง เอาใบกะเพรา ใบแมงลัก ใบเสี้ยนผี กระชาย กานชา พริกไทย หอมแดงหญ้าไซ เกลือ ลูกคัดเค้า ยาทั้งนต้ี าเอาน้าสิ่ง ละทะนาน 1 น้ามันงาทะนาน 1 หุงให้คงแต่น้ามันแล้วจึงเอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนดา เทียนขาวการบูร ส่ิงละ 1 สลึง ทาเป็นจุณปรุงลงในน้ามันน้ัน แล้วจึงเอามาทาท้องรีดเสียให้ ได้ 3 วันก่อน แล้วจึงกินน้ามันน้ีอีก 3 วัน หายวิเสศนัก ยาน้ามันขนานน้ี ช่ือสนั่นไตรภพแก้กล่อน กระไสยท้ังปวงหายดีนัก ฯ 1.2ตารับท่ี 11กระไสยท้น 1.2เป็นโรคกษัยที่เกิดจากการรับประทานอาหารผิดสาแดง ทาให้มีอาการแน่นข้ึนมาจาก ท้องน้อย หายใจไม่สะดวก อาเจียน รับประทานอาหารไม่ได้ อนึ่ง อนึ่งเอาโกฎท้ังห้าเทียนทั้งห้า ลูก จันทน์ กระวาน กานพลู พริกหอม พริกหาง บอระเพ็ด เปล้าท้ังสอง สิ่งละส่วน กานชา 2 ส่วน ขม้ิน อ้อย แห้วหมู ผลพิลังกาสาไคร้เครือ ส่ิงละ 4 ส่วน ดีปลี หัสคุณ ส่ิงละ 16 ส่วน ใบกะเพราแห้ง 32 ส่วน ทาเป็นจุณบดละลายนา้ รอ้ นกินแก้กระไสยท้นแลกระไสยเสียดน้นั หายดนี ักฯ

187 1.2ตารับที่ 12 ยาแกฤ้ ศดวง 1.2เปน็ ตารายาวเิ สศสัพคณุ สาเหรจ์ อันอาจาริยะเจ้าในกอ่ นประมวนไว้ ใหแ้ ก่สพั โรคท้ังปวง สืบต่อกันมา ในท่ีน้ีจะว่าแต่วิเสศสัพคุณคือขะณะสัพยาซ่ึงจะแก้โรคสมมติว่าหฤศโรค คือสัพฤศดวง นั้นโดยนัย ยาชื่อนาดธิจร เอาโกฎสอ โกฏเขมา เทียนขาว ผลจันทน์ กานพลู สิ่งละส่วนรากทนดี รากซิงซี่ รากจิงจ้อ เปลือกทองหลางใบมน เปลือกมะรุม เปลือกกุ่มท้ังสองบุกรอ กลอย อุตพิด ตรีกฎุก กระเทียม มะตมู อ่อน แห้วหมู กานชา ส่ิงละ 2 สว่ นหอยขมเผา เบ้ียจั่นเผา สิ่งละ 5 ส่วน พริกไทย 34 ส่วน ทา เปน็ จุณบดดว้ ยนา้ ผ้ึงให้กนิ หนัก 1 สลึง แก้ฤศดวง หดื ไอ มองครอ่ หายดนี กั ฯ 1.2ตารับท่ี 13ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง 1.2เป็นตารายาวิเสศสัพคุณสาเหรจ์ อันอาจาริยะเจ้าในก่อนประมวนไว้ให้แก้สัพโรคทั้งปวง ตา่ ง ๆ สืบกันมาฯ ในที่น้ีจะว่าแต่วิเสศสัพคุณคือขะณะสัพยาซ่ึงจะแก้โรคสรรพลมทั้งปวงอันกาเริบพัด ขึ้นเบื้องบนนั้นโดยนัย ดังน้ีฯยาแก้ลมข้ึนเบื้องสูง เอายาดา กานชา อุตพิด ดองดึงส่ิงละ 4 ส่วน กระเทียม6 ส่วน กระเทียม 6 ส่วน ว่านน้า ชะเอมเทศ โกฎน้าเต้า โกฎพุงปลา มะหาหิงคุ์ สิ่งละ8 ส่วน ว่านเปราะ ผลผักชี ดีปลี สิ่งละ 12 ส่วน ขิงแห้ง แก่นแสมทเล รากส้มกุ้งสะค้าน สิ่งละ 16 ส่วน พริกไทย เปลือกกันเกรา สิ่งละ 24 ส่วน ทาเป็นจุณบดละลายน้าผ้ึงรวงให้กินหนัก 1 สลึง แก้ลมข้ึนสูง หายดีนักฯ 1.2ตารบั ที่ 14สัณมฆาตเพ่ือกาฬ 1.2เป็นโรคเกี่ยวกับการเกิดเมด็ ฝีตามอวัยวะต่างๆ ทาให้เกิดเลือดและหนองเป่ือยลาม จัด อยู่ในโรคในกลุ่มอาโปหรือเสมหะ เป็นหน่ึงในคัมภีร์มุจฉาปักขันธิกา หรือระบบทางเดินปัสสาวะและ ระบบสืบพันธุ์ ซ้ารั่ว 4 ประการ กล่าวด้วยนัยหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะสันทฆาตอันบังเกิดเพื่อกาฬ เกิดขึ้นภายในดี ตบั ปอด และในหัวใจเป็นเคารบ 2 สัณฐานดุจเมล็ดข้าวสารหักบางทีขน้ึ ในไส้อ่อนไส้ แก่ ถ้าขึ้นในดีให้คล่ังให้เพ้อ ถ้าขน้ึ ในตับให้ตับหย่อน ให้ตกโลหิตมีอาการดุจปีศาจเข้าสิง อันนี้แจ้งอยู่ ในคัมภีร์อติสารวรรคโน้นแล้วถ้าข้ึนในปอดให้กระหายน้าเป็นกาลัง ถ้าข้ึนในหัวใจให้นิ่งไปเจรจามิได้ ถ้าข้ึนในไส้อ่อนไส้แก่ ให้จุกโลหิตท้องขึ้นท้องพองดังมานกระไสยถ้าผู้ใดเป็นดังกล่าวน้ี ท่านกาหนดไว้ ใน 7 - 8-9 วัน โลหิตจะแตกออกทวารท้ัง 9 เรียกรัตบีตโรค เป็นต้น แห่งสันฑฆาต เป็นอติสัยโรค ยา มไิ ด้เลย ถ้าจะรักษาให้รักษาแต่โลหิตมิทันแตก ได้บ้างเสียบ้างดุจอาจารย์ท่านกล่าวไว้ดังนี้ถ้าจะแก้เอา โกฎจุฬาลัมพา โกฎพุงปลา โกฏสอ สะค้าน ผักแพวแดง ดองดึงว่านน้า มหาหิงค์ุ ยาดา กัญชา อุตพิด ชะเอม ส่ิงละส่วน ขิงแห้ง ดีปลี สิ่งละ 2 ส่วนพริกไทย แก่นแสมทเล สิ่งละ 15 ส่วน ทาเป็นจุณบด ละลายน้าผงึ้ รวงกิน 1 สลงึ แกส้ นั ทฆาตอันบงั เกดิ เพือ่ กาฬน้นั วเิ สศนักฯ

188 กกกก ภาพที่ 61จารกึ ตารายา วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร 1.2นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจ้าอยู่หัว ซึ่งสมยั นั้นเป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหม่ืน เจษฏาบดินทร์ ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จารึกตารายาลงบนแผ่นหินอ่อนสีเทา รูปส่ีเหล่ียม จัตุรัส ขนาดกว้างยาวด้านละ 33 เซนติเมตร จัดเรียงบรรทัดทางมุมแหลม จานวน 17 บรรทัด เหมือนกันทุกแผ่น ติดประดับอยู่ตามผนังด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ และผนัง ศาลารายหน้าพระอุโบสถ วัดโอรสารามราชวรวิหาร ปัจจุบันมีเหลืออยทู่ ั้งส้นิ 50 แผน่ จากเดิมซ่ึงเช่ือ กันว่าน่าจะมีอยู่ 92 แผ่น เชื่อว่าตารับยาดังกล่าวได้จากตารับยาซึ่งรวบรวมจากทั่วประเทศ และผ่าน การตรวจสอบจากหมอหลวง และผู้ใช้ในราชสานักมาแล้ว ตั้งแต่สมัยท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลยั ดังภาพตอ่ ไปนี้

189 ภาพท่ี 62จารึกแผน่ สูญหาย แผ่นที่ 4 1.2คาอา่ นจารึกแผ่นสญู หาย แผ่นท่ี 4 1.2สิทธิการิยะ ยาแก้กล่อนแห้งซ่ึงกระทาให้จุกเสียดแลเป็นพรรดึก ให้เป็นก้อนในท้อง ให้ เจบ็ ทั่วสรรพางคใ์ ห้มือกระดา้ ง ให้เมือ่ ยขบขัดเขา่ แลนอ่ งคู้ ให้ตามืดหูหนักใหเ้ สียงแหบแห้ง ให้ขัดออก ใหท้ อ้ งขน้ึ กินอาหารมิได้ เป็นเหตุท้ังนเี้ พราะเสมหะแหง้ บังเกิดแต่บรุ ุษสตรีกด็ ุจกันท่านจึงประกอบยา นี้ไว้ ให้แก้ เอาสะค้าน ผักแพวแดง ดองดึง มหาหิงค์ุ ว่านน้า โกษฐ์สอ โกษฐ์จุฬาลัมพา โกษฐ์พุงปลา กญั ชา หัวอุตพิด ชะเอม ดีปลี แก่นแสมทะเล ยาดา เอาเสมอภาค พริกไทเท่ายาท้ังหลาย ทาเป็นจุณ ละลายน้าผง้ึ รวงกนิ หนกั 1 สลึง แกด้ งั กลา่ วมาแตห่ ลงั วิเศษแลฯ 1.2ยาแก้สรรพกล่อนท้ังปวง เอาใบมะตูม 1 ใบสะเดา 1 ใบคนทีสอ 1 ว่านน้า 1 บอระเพ็ด 1 ขมิ้นอ้อย 1 ท้ังนี้เอาสิ่งละ 1 บาท พริกเท่ายาท้ังหลาย ตาเป็นผงละลายน้าผึ้งกินทีละ 1 สลึง แก้ลม กลอ่ นจกุ เสียดทัง้ ปวงเปน็ มหาวเิ ศษแลฯ 1.2ยาแก้ลมกล่อนสันดาน เอาหัสคุณหนัก 1 ตาลึง 2 บาท หิงค์ุ 3 บาท ว่านน้า 2 บาท ดีปลี 2 บาท 1 สลึง กระเทยี ม 1 ตาลึง ในมะกรูด 1 บาท 2 สลึง แก่นแสมทะเล 1 บาท แก่นขเ้ี หล็ก1 บาท แก่นปูนท่ีเผาไม่สุก 1 บาท รากพญามือเหล็ก 1 บาท หอยขม 1 บาท หอยแครง 1 บาท ดินประสิว ขาว 2 บาท สารสม้ 1 บาท 2 สลงึ ตาเปน็ ผงละลายน้ามะกรดู ส้มซา่ กิน 1 สลึง ผายสองหนฯ

190 2.4สมัยราชสกุลสนทิ วงศ์ เป็นราชสกุลแพทย์ในพระองค์ท่ีมีการสืบทอดวิชาความรู้ภายในตระกูลจากรุ่นสู่รุ่น โดยแพทย์ผูเ้ ป็นตน้ ราชสกุลคอื พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนทิ พระราชบุตรลาดบั ท่ี 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี 2)ด้วยเหตุท่ีทรงชานาญวิชาแพทย์ท้ังในและ ต่างประเทศจึงทรงสะสมตาราแพทย์ไว้มาก โดยทรงนิพนธ์ “ตาราสรรพคุณยาของกรมหลวงวงศาธิ ราชสนิท เล่ม 1 และ เล่ม 2” ท้ังน้ี ในตารายาพระองค์เจ้าสายสนิทวงษ์ พบว่ามีตารับยาท่ีเข้ากัญชา ทั้งสิ้น 3 ขนาน คือตารับยาขนานท่ี 5 ชื่อวาตาประสิทธิ์ ขนานท่ี 8 แก้เหนื่อยหอบเพราะเสมหะมาก ทาให้เจริญอาหาร และขนานท่ี 12 คือกระสายในตารับยาวิสัมพยาใหญ่ แม้ว่าตารับยาท่ีเข้ากัญชาท่ี ปรากฏในตารายาพระองค์เจา้ สายสนิทวงษ์จะมีเพียง 3 ตารับ หากแต่ว่าคุณค่าของยาตารบั เหล่านี้ มี ความลกึ ซ้ึงในภูมิปัญญาความรู้ และให้ความสาคัญในการอธิบายการใช้น้ากระสาย (หรือตัวช่วยในการทา ละลายสาระสาคัญของสมุนไพร) เพื่อให้ออกฤทธ์ิของยาที่แตกต่างกัน เช่น น้าต้มแอลกอฮอล์ น้าปูนใส เป็นต้น 2.5สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (รัชกาลที่ 5 พ.ศ.2413) ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม ให้รวบรวมขึ้น เนื่องจากเห็นวา่ แพทยแ์ ผน โบราณและตารายาพื้นบ้านเป็นสมบตั ิทางวฒั นธรรมทมี่ ีคา่ และที่สบื ทอดกันมาน้ัน มีผิดบ้าง สูญหาย บ้างจึงรวบรวมไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาโดยเขียนลงสมุดไทยด้วยอักษรไทย เส้นหรดาล ปรากฏฉบับ สมบูรณ์เมื่อพระยาพิศณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช)อาจารย์ผู้เช่ียวชาญของราชแพทยาลัยได้เร่ิมพิมพ์ เพื่ออนุรักษ์ตาราแพทย์แผนไทยไว้ให้คนรุ่นหลัง “กัญชา เป็นพืชสมุนไพร ตัวหน่ึงในพระคัมภีร์ สรรพคณุ แลมหาพิกัด ที่ระบุสรรพคุณของ กัญชา ไว้ว่า กัญชาแก้ไข้ผอมเหลืองหากาลังมิได้ ให้ตัวส่ัน เสียงสั่น เป็นด้วยวาโยธาตุกาเริบ แก้นอนมิหลับ” ท้ังน้ี ไม่มีข้อความใดท่ีระบุใน “ตาราแพทยศาสตร์ สงเคราะห์” ว่า “กัญชา”เป็นสมุนไพรมีพิษหรือมีโทษร้ายแรงแต่อย่างใด ตรงกันข้ามมี “กัญชา” ปรากฏอยู่ในตารับยาหลายตารบั อันไดแ้ ก่ ภาพท่ี 63ตาราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง รัชกาลท่ี 5

191 ภาพที่ 64 คมั ภรี ป์ ฐมจินดา 2.5.1พระคัมภีร์ปฐมจนิ ดา 2) เป็นตารากุมารเวชศาสตร์ของแพทย์แผนไทย มียาเข้ากัญชา 1 ตารับ คือ “ไฟอาวุธ” ซึ่ง ใช้รักษาโรคตานทราง ซึ่งมีอาการเป็นไข้ละอองลิ้นขาว เป็นตุ่มเม็ดในปาก คอและตามร่างกายของ ทารกและเด็กเล็ก แก้โรคไอผอมเหลือง หืดหอบ โรคพุงโลก้นปอด แก้ไข้ อุจจาระเป็นโลหิต จุกเสียด แน่นท้อง ปรงุ เปน็ ยาผงทาเป็นเมด็ เท่าเม็ดพริกไทยละลายกับน้ามะนาวเป็นกระสายยา ภาพที่ 65คัมภีรม์ หาโชตรตั 2.5.2พระคัมภีร์มหาโชตรัต 2) เปน็ ตารานรีเวชศาสตรข์ องการแพทย์ แผนไทยมยี าเข้ากัญชา 3 ตารบั คือ 2) 1)ยาแก้ลมอทุ ธังคมาวาตะ 2) 2)ยาแกร้ ิดสีดวงมหากาฬ 2) 3)ยาแก้อาการบิดมวนท้องและท้องเสยี ในสตรี

192 ภาพท่ี 66คัมภรี ช์ วดาร 2.5.3พระคมั ภรี ์ชวดาร เป็นตาราว่าด้วยโรคลมและโรคเลือดของท้ังสตรีและบุรุษ มียา 1 ตารับ คือ ยาแก้ โรคสาหรับบรุ ุษและสตรี ใชร้ กั ษากามโรค ปสั สาวะเป็นโลหติ ภาพท่ี 67คมั ภีรก์ ระษัย 2.5.4พระคัมภรี ์กษัย เป็นตาราว่าด้วยความเสื่อมของร่างกายทาให้ผอมแห้ง แรงน้อย สุขภาพทรุดโทรมใน พระคมั ภรี น์ มี้ ีกัญชาเปน็ สว่ นผสมถงึ 5 ตารบั คือ 2) 1)ยาแกก้ ษัยเหลก็ 2) 2)ยาแกก้ ษยั กลอ่ น 2) 3)ยาแกก้ ษัยเสียด

193 2) 4)ยาพรหมภกั ตร์ 2) 5)ยาอมั ฤตย์โอสถ กล่าวโดยสรุปในประเทศไทยมีหลักฐานการใช้กัญชาในการรักษา หรือควบคุม อาการของโรคต่าง ๆ ต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงกรุง รัตนโกสินทร์ สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการรวบรวมไว้เป็นตารายาหลาย เล่ม และสูตรยาหลายขนาน เช่น ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พระ คัมภีร์ปฐมจินดา พระคัมภีร์มหาโชตรัต พระคัมภีร์ชวดาร และพระคัมภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุ ตารบั ยาทใ่ี ชก้ ญั ชา หรือมีกัญชาเป็นส่วนประกอบทใ่ี ชใ้ นการรกั ษา นับแต่ในอดีตสืบเนอ่ื งกันมา กกกกกกก3. ตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลือก และมีการรับรองโดย กระทรวงสาธารณสุข สืบเนื่องมาจากพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พุทธศักราช 2562กาหนดให้ แพทย์แผนไทย แผนแพทย์ไทยประยุกต์ และหมอพ้ืนบ้านได้รับการยกเว้นว่าให้สามารถปรุงยาเพื่อ ประโยชน์ของคนไข้เฉพาะรายของตนได้ แตก่ ระนั้นกย็ ังไม่อนญุ าตใหป้ ลูกเองได้ หากตอ้ งการปลูกต้อง ร่วมมอื กบั หนว่ ยงานของรัฐและขออนุญาตปลูกอยา่ งถูกต้อง กภาพท่ี 68กระทรวงสาธารณสุข ดว้ ยการใช้กัญชาในประเทศไทยได้ขาดความต่อเน่ือง เน่ืองจากกัญชาเป็นยาเสพติดประเภท ที่ 5 ไม่สามารถนามาใช้ในการรักษาโรคได้ มาเป็นเวลาหลายสิบปี ทาให้แพทย์ส่วนใหญ่ได้ปฏบิ ัตติ าม กฎหมาย ขาดประสบการณ์ในการใช้กัญชาเพื่อประโยชน์มาเป็นเวลานาน ส่งผลทาให้กรมการแพทย์ แผนไทยและแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้รวบรวมตารับยาไทยท่ีมีกัญชาเป็นส่วนผสมมี จานวนท้งั ส้ิน 90 ตารับ โดยแบง่ ออกเปน็ 4 กลุ่ม

194 โดยเฉพาะกลุ่มท่ี 1 ตารับยาท่ีมีประสิทธิผล มีความปลอดภัย วิธีการผลิตไม่ยุ่งยากซับซ้อน ตัวยาหาไม่ยาก และมีกญั ชาปรงุ ผสมอยทู่ ่ีอนุญาตให้เสพเพ่อื รักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ แนบท้าย ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเร่อื ง กาหนดตารับยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ี ใหเ้ สพเพื่อรักษาโรคหรอื การศกึ ษาวิจยั ได้ พ.ศ. 2562 บญั ชีรายช่ือตารบั ยาแผนไทย ท่ีประกาศกาหนดให้เป็นตารับยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่อนุญาตให้เสพ เพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ แนบท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื งกาหนดตารับยา เสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ. 2562จานวน 16 ตารับ ชอ่ื ตารับยา ทีม่ าของตารับยา 1. ยาอัคคินวี คณะ คมั ภีรธ์ าตพุ ระนารายน์ 2. ยาศุขไสยาศน์ คัมภีรธ์ าตุพระนารายน์ 3. ยาแกล้ มเนาวนารวี าโย ตารายาศิลาจารกึ ในวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม 4. ยาน้ามันสนนั่ ไตรภพ ตารายาศลิ าจารกึ ในวดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม, จารึกตารายา วัดราชโอรสารามวรวหิ าร 5. ยาแกล้ มข้นึ เบือ้ งสูง ตารายาศลิ าจารกึ ในวัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม 6. ยาไฟอาวุธ แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพศิ ณุประสาทเวช 7. ยาแกน้ อนไม่หลับหรือยาแก้ไข้ แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ผอมเหลอื ง แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณุประสาทเวช 8. ยาแกส้ ัณฑฆาต กล่อนแห้ง แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช 9. ยาอัมฤตย์โอสถ เวชศึกษา พระยาพศิ ณปุ ระสาทเวช 10.ยาอไภยสาลี เวชศาสตร์วณั ณนา 11.ยาแกล้ มแกเ้ สน้ อายุรเวทศึกษา (ขุนนทิ เทสสุขกิจ) เลม่ 2 12.ยาแก้โรคจติ อายรุ เวทศึกษา (ขุนนทิ เทสสุขกิจ) เล่ม 2 13.ยาไพสาลี อายุรเวทศึกษา (ขนุ นิทเทสสุขกจิ ) เลม่ 2 14.ยาทารดิ สีดวงทวารหนัก คัมภรี ์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ เลม่ 2 ขุนโสภติ บรรณลักษณ์ และโรคผวิ หนงั คมั ภรี แ์ พทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 2 ขุนโสภติ บรรณลกั ษณ์ 15.ยาทาลายพระสุเมรุ 16.ยาทพั ยาธิคุณ กกกก

195 หมายเหตุจากเหตผุ ลดงั กล่าวข้างตน้ จึงเปน็ ผลทาให้ 16 ตารบั ยาแพทย์แผนไทยในกลุ่มที่ 1 จะถูกนามาใช้ก่อนตารบั ยาขนานอื่น ในโอกาสนี้จึงขอนารายการยา 16 ตารับยากลุ่มท่ี 1 มาเผยแพร่ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ 3.1ยาอัคคนิ วี คณะ ทมี่ าของตารับยาคมั ภรี ธ์ าตุพระนารายน์ “ อัคคินีวคณะ ให้เอา กันชา ยิงสม ส่ิงละส่วน เปลือกอบเชย ใบกระวาน กานพลู สะค้าน สิ่งละ 2 ส่วน ขิงแห้ง 3 สว่ น รากเจตมูลเพลิง ดปี ลี ส่ิงละ 4 ส่วน นา้ ตาลกรวด 6 ส่วน กระทา เป็นจุณ น้าผ้ึงรวงเป็นกระสาย บดเสวยหนักสลึง 1 แก้อาเจยี น 4 ประการ ดว้ ยติกกะขาคินีกาเริบ และ วิสมามันทาคินีอันทุพล จึงคล่ืนเหียนอาเจียน มิให้เสวยพระกระยาหารได้ ให้จาเริญพระธาตุทั้ง 4 ให้ เสวยพระกระยาหาร เสวยมรี สชูกาลงั ยิ่งนกั ข้าพระพุทธเจ้า ขุนประสิทธิโอสถจีน ประกอบทูลเกล้าฯถวาย ครั้งสมเด็จพระนารายณ์เปนเจ้าเมือง ลพบรุ ี เสวยเพลาเช้าอตั รา ดีนกั แล ฯ” สูตรตารบั ยา ประกอบด้วย ตวั ยา 10 ชนิด รวมนา้ หนัก 27 สว่ น ดงั น้ี ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา 1 กญั ชา 1 ส่วน 2 ยงิ สม (โสม) 1 สว่ น 3 เปลือกอบเชย 2 สว่ น 4 ใบกระวาน 2 ส่วน 5 กานพลู 2 ส่วน 6 สะคา้ น 2 ส่วน 7 ขิงแหง้ 3 ส่วน 8 เจตมูลเพลงิ 4 สว่ น 9 ดีปลี 4 ส่วน 10 น้าตาลกรวด 6 สว่ น ข้อบ่งใช้ แกค้ ลื่นเหียนอาเจียน ท่ีเกดิ จากไฟยอ่ ยอาหารผิดปกติ รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวิธีใช้ รบั ประทานครั้งละ 3.75 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเชา้ น้ากระสายยาท่ีใช้ น้าผงึ้ รวงถา้ หาน้ากระสายยาไมไ่ ด้ ให้ใชน้ า้ สกุ แทน

196 ข้อหา้ มใช้ ห้ามใช้ในหญิงตง้ั ครรภ์ ผู้ที่มไี ข้ และผทู้ ี่มอี ายุตา่ กวา่ 18 ปี ข้อควรระวงั 1. ควรระวังการรบั ประทานร่วมกบั ยาในกลุ่มสารกันเลือดเปน็ ล่ิม (anticoagulant) และยาต้านการจบั ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผล เปื่อยเพปติก ผู้ปว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็น ตารับยารสร้อน ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ 1. ตกิ กะขาคนิ ี หมายถึงไฟย่อยอาหารกาเรบิ ซ่งึ มกั สัมพนั ธห์ รือเกิดจากปิตตะกาเรบิ 2. วสิ มามนั ทาคนิ ี อันทุพล หมายถงึ ไฟย่อยอาหารทม่ี ลี กั ษณะที่ไม่ สมา่ เสมอหรือไม่คงท่ี เชน่ บางมื้อกนิ อาหารได้มากเนื่องจากไฟย่อย อาหารมีกาลงั แรง แต่พอถึงมอ้ื ต่อไปมอี าการเบ่ือหรือไม่อยากรบั ประทาน อาหารเน่ืองจากไฟย่อยอาหารหรอื อคั นิอ่อนกาลงั ลง ลกั ษณะหรืออาการข้ึน ๆ ลง ๆหรอื ไม่แนน่ อนหรือไมส่ มา่ เสมอของไฟ ย่อยอาหารเปน็ ผลจากความผิดปกตขิ อง“วาตะ” หรืออาจกล่าวอีก อยา่ งว่า “วาตะทาให้ไฟย่อยอาหารมลี กั ษณะทไ่ี ม่แน่นอน” 3. ยามีรสร้อน ผ้ปู ่วยทมี่ ีภาวะโรคกระเพาะอาหารควรรบั ประทานหลัง อาหารและแบ่งรับประทานก่อนอาหารเชา้ และเย็น 4. ชอ่ื อน่ื ในตารายาเกร็ด เชน่ อัคคีวัชณะ, ยาชือ่ อคั คีวฒั นะ, ยาชอื่ อัคนี 3.2 ยาศุขไสยาศน์ ท่มี าของตารบั ยา คมั ภรี ์ธาตุพระนารายน์ “ยาศุขไสยาศน์ ให้เอา การบูร 1 ส่วน ใบสเดา 2 สว่ น สหัสคุณเทศ 3 สว่ น สมุลแว้ง 4 ส่วน เทียนดา 5 ส่วน โกฏกระดูก 6 ส่วน ลูกจันทน์ 7 ส่วน ดอกบุนนาค 8 ส่วน พริกไท 9 ส่วน ขิงแห้ง 10 ส่วน ดีปลี 11 ส่วน ใบกันชา 12 ส่วน ทาเปนจุณละลายน้าผึ้งเมื่อจะกินเศกด้วยสัพพีติโย 3 จบ แล้วกิน พอควร แก้สรรพโรคทั้งปวงหายสิน้ มีกาลังกินเขา้ ได้ นอนเป็นศุขนักแลฯ” สูตรตารับยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 12 ชนดิ รวมนา้ หนกั 78 ส่วน ดงั น้ี ลาดบั ตวั ยา นา้ หนกั ยา 1 การบูร 1 ส่วน 2 ใบสะเดา 2 ส่วน 3 หสั คณุ เทศ 3 ส่วน 4 สมุลแวง้ 4 สว่ น 5 เทยี นดา 5 ส่วน

197 ลาดับ ตัวยา น้าหนกั ยา 6 โกฐกระดูก 6 ส่วน 7 ลกู จันทน์ 7 ส่วน 8 ดอกบนุ นาค 8 สว่ น 9 พริกไทย 9 ส่วน 10 ขิงแห้ง 10 ส่วน 11 ดปี ลี 11 สว่ น 12 ใบกญั ชา 12 ส่วน ข้อบ่งใช้ ชว่ ยให้นอนหลบั เจรญิ อาหาร รูปแบบยา ยาผง , แคปซูล ขนาดและวธิ ใี ช้ รับประทานคร้ังละ 2 กรัม วันละ 1 ครง้ั ก่อนนอนน้ากระสายยาท่ใี ช้ น้าผงึ้ รวงถา้ หาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ช้นา้ สุกแทน ข้อหา้ มใช้ 1. หา้ มใช้ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ ผ้ทู ม่ี ไี ข้ และผทู้ ี่มอี ายตุ ่ากว่า 18 ปี 2. หา้ มใชร้ ่วมกบั ยาที่มีฤทธ์ิกดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับ และยาตา้ นการชัก รวมทงั้ แอลกอฮอล์ หรือสิง่ ทีม่ ีแอลกอฮอล์ผสมอยู่ ข้อควรระวงั 1. ควรระวงั การรับประทานรว่ มกับยาในกลุ่มสารกนั เลือดเป็นลมิ่ (anticoagulant) และยาต้านการจับตวั ของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้รว่ มกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เน่ืองจากตารบั น้ีมีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวงั การใช้ยาอย่างต่อเนอ่ื ง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในผปู้ ว่ ยทมี่ คี วาม ผิดปกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ 4. ควรระวังการใชใ้ นผู้ปว่ ยโรคความดันโลหิตสูง โรคหวั ใจ ผู้ป่วยโรคแผล เปอื่ ยเพปติก ผปู้ ่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนือ่ งจากเป็น ตารับยารสร้อน 5. ยานีอ้ าจทาให้งว่ งซึมได้ ควรหลีกเลย่ี งการขับข่ียานพาหนะ หรอื ทางาน เกยี่ วกับเคร่ืองจักรกล ขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ -

198 3.3ยาแก้ลมเนาวนารวี าโย ทม่ี าของตารบั ยา ตารายาศิลาจารึกในวดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม “สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะกาเนิดแห่งลม อันช่ือวา่ เนาวนารีวาโย เป็นคารบ 18 น้ัน เกิดแต่ปลาย ปตั คาดปลายสันทฆาตเจือกันกลา่ วคือจับต้นคอเป็นต้นก็ดี ในลาคอก็ดี เหตุวา่ แล่นถึงกนั มักบังเกิดแก่ สตรีทรงครรภ์ กระทาให้ปลายมือปลายเท้า ดุจปลาดุกยอก แล้วข้ึนมาจับเอาต้นคอให้คอแข็ง จะ เบือนคอก็มิได้ สมมติว่าคอแข็งแล้วกระทาพิษให้ร้อนเป็นกาลัง จึงพระฤาษีเพทะกะเทพให้แต่งยาน้ีแก้ เอากัญชา1, ดีปลี 1, พริกไทย 1, ขิงแห้ง 1, ขอบชะนางทั้ง 2, ตานหม่อน 1, ลูกจันทน์ 1, ดอกจันทน์, สมุลแว้ง 1,อบเชย 1, กานพลู 1, เอาเสมอภาค ทาเป็นจุณบดละลายน้าผึ้งกินหนัก 1 สลึง ให้กินเช้าเย็น อาจารย์ท่านกลา่ วไว้ว่าให้กิน 7 วันหายวเิ ศษนัก ฯ” สูตรตารบั ยา ประกอบด้วย ตวั ยา 12 ชนิด รวมนา้ หนัก 12 สว่ น ดังน้ี ลาดับ ตัวยา น้าหนักยา 1 กญั ชา 1 ส่วน 2 ดปี ลี 1 สว่ น 3 พรกิ ไทย 1 สว่ น 4 ขิงแห้ง 1 สว่ น 5 ขอบชะนางแดง 1 สว่ น 6 ขอบชะนางขาว 1 สว่ น 7 ตานหม่อน 1 สว่ น 8 ลูกจันทน์ 1 ส่วน 9 ดอกจนั ทน์ 1 ส่วน 10 สมุลแวง้ 1 ส่วน 11 อบเชย 1 ส่วน 12 กานพลู 1 ส่วน ขอ้ บ่งใช้ แกล้ มเนาวนารีวาโย รปู แบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวิธีใช้ รบั ประทานคร้ังละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ นา้ กระสายยาท่ใี ช้น้าผง้ึ รวงถา้ หานา้ กระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ช้น้าสุกแทน ขอ้ หา้ มใช้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตงั้ ครรภ์ ผู้ทีม่ ีไข้ และผูท้ มี่ ีอายตุ า่ กวา่ 18 ปี

199 ข้อควรระวงั ควรระวังการรับประทานรว่ มกับยาในกลุ่มสารกันเลอื ดเปน็ ลิ่ม (anticoagulant)และยาตา้ นการจับตวั ของเกล็ดเลือด (antiplatelets) ข้อมูลเพมิ่ เติม ลมเนาวนารีวาโยเปน็ ลมทท่ี าให้มอี าการเจ็บแปล๊บทป่ี ลายมือปลายเท้า คลา้ ยปลาดุกยอก ต้นคอตึงแข็งเกร็ง หันคอไม่ได้ 3.4 ยาน้ามนั สนัน่ ไตรภพ ทมี่ าของตารับยา ตารายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมงั คลารามจารกึ ตารายา วดั ราชโอรสาราม วรวิหาร “สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะกระษัยโรคอันบังเกิดข้ึนเป็นอุปปาติก คือกระษัยเหล็กนั้นเป็นคารบ 3 มีประเภทกระทาให้หน้าเหน่าและท้องน้อยน้ันแข็งดุจดังแผ่นศิลา และจะไหวตัวไปมาก็มิได้ ครั้นแก่ เข้าแขง็ ลามขึ้นไปถึงยอดอก และให้บริโภคอาหารมิได้ ใหป้ วดขบดงั จะขาดใจตายดงั นี้ ฯ อน่งึ เอาใบกะเพรา ใบแมงลกั ใบเส้ียนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญา้ ไซ เกลือ ลกู คัดเค้า ย า ทั้ งน้ี เอ าน้ าส่ิ งล ะ ท ะ น าน 1 น้ ามั น งาท ะ น า น 1 หุ งให้ ค งแ ต่ น้ ามั น แ ล้ ว จึ งเอ า ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนดา เทียนขาว การบูร สิ่งละ 1 สลึง ทาเปน็ จณุ ปรุงลงใน น้ามันนั้น แล้วจึงเอามาทาท้องรีดเสียให้ได้ 3 วันก่อน แล้วจึงกินน้ามันนี้อีก 3 วันหายวิเศษนัก ยาน้ามนั ขนานนี้ชื่อ สนั่นไตรภพ แก้กล่อนกระษยั ท้งั ปวงหายดีนกั ฯ” สตู รตารบั ยา ประกอบด้วย ตวั ยา 18 ชนดิ ดงั นี้ ลาดบั ตวั ยา นา้ หนกั ยา 1 ใบกะเพรา 1 กิโลกรมั (น้าหนักตัวยาสด) 2 ใบแมงลัก 1 กโิ ลกรัม (นา้ หนักตวั ยาสด) 3 ใบผักเสยี้ นผี 1 กิโลกรัม (น้าหนักตัวยาสด) 4 กระชาย 1 กิโลกรมั (น้าหนักตวั ยาสด) 5 กญั ชา 1 กิโลกรมั (นา้ หนกั ตวั ยาสด) 6 พรกิ ไทย 1 กิโลกรัม (น้าหนักตวั ยาสด) 7 หอมแดง 1 กิโลกรมั (นา้ หนักตวั ยาสด) 8 หญ้าไซ 1 กิโลกรัม (นา้ หนกั ตวั ยาสด) 9 เกลอื 1 กิโลกรัม 10 ลูกคดั เคา้ 1 กิโลกรัม (น้าหนกั ตวั ยาสด) 11 ลกู จันทน์ 1 สลึง

200 ลาดับ ตัวยา นา้ หนักยา 12 ดอกจันทน์ 1 สลงึ 13 กระวาน 1 สลึง 14 กานพลู 1 สลงึ 15 เทียนดา 1 สลงึ 16 เทยี นขาว 1 สลงึ 17 การบรู 1 สลึง 18 นา้ มันงา 1 ทะนาน ข้อบง่ ใช้ แกก้ ษยั เหล็ก รูปแบบยา ยานา้ มนั ขนาดและวธิ ีใช้ 1. ใช้น้ามนั ทารดี ท้อง นวดคลงึ บรเิ วณรอบสะดือถงึ ชายโครง ทศิ ตามเขม็ นาฬิกา3 วันกอ่ น แล้วจึงรบั ประทานน้ามัน 2. รับประทานคร้ังละ 3 - 5 มลิ ลิลติ ร วันละ 1 คร้งั กอ่ นอาหารเชา้ เป็น เวลา 3 วนั ข้อห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญิงตงั้ ครรภ์ ผทู้ ม่ี ไี ข้ และผทู้ ่ีมีอายุต่ากว่า 18 ปี ขอ้ ควรระวงั 1. ควรระวงั การรับประทานร่วมกับยาในกลมุ่ สารกันเลอื ดเป็นลม่ิ (anticoagulant) และยาตา้ นการจบั ตวั ของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวงั การใช้รว่ มกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนือ่ งจากตารบั น้ีมีพริกไทยในปริมาณสงู 3. ควรระวังการใช้ในผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผล เปือ่ ยเพปติก ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลยอ้ น เนือ่ งจากเป็น ตารบั ยารสร้อน 4. ควรระวงั การใช้ยาอยา่ งต่อเน่อื ง โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในผปู้ ่วยท่ีมีความ ผดิ ปกติของตับ ไต เนือ่ งจากอาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้ 5. ควรระวงั ในการทาบรเิ วณผวิ ทบ่ี อบบางหรือผิวหนงั ทแี่ ตกเน่ืองจากอาจ ทาใหเ้ กดิ การระคายเคืองได้ ข้อมลู เพิ่มเตมิ กษยั เหลก็ เป็นกษยั อนั เกิดจากอปุ ปาตกิ ะโรคชนิดหนง่ึ เกดิ จากลมอดั แน่น แข็งเปน็ ดานอยู่ในท้องน้อย ผูป้ ่วยมีอาการเจ็บปวดทอ้ งแข็งลามขนึ้ ไปถึงอก กนิ อาหารไม่ไดเ้ ป็นต้น

201 3.5 ยาแก้ลมขน้ึ เบือ้ งสูง ที่มาของตารบั ยา ตารายาศิลาจารึกในวดั พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม “สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยตารายาคือวิเศษสรรพคุณสาเร็จ อันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้ ให้แก้ สรรพโรคทงั้ ปวงต่าง ๆ สืบกนั มา ฯ ในที่น้ีจะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาที่จะแก้ซึ่งโรคสรรพลมท้ังปวงอันกาเริบพัดข้ึนเบ้ืองบนนั้น โดยนยั ดังน้ี ฯ ยาแก้ลมข้ึนสูง เอายาดา, กัญชา, อุตพิด, ดองดึง สิ่งละ 4 ส่วน กระเทียม 6 ส่วน, ว่านน้า, ชะเอมเทศ, โกฐน้าเต้า, โกฐพุงปลา, มหาหิงคุ์ สิ่งละ 8 ส่วน วา่ นเปราะ, ผลผกั ชี สิ่งละ12 ส่วน ขิงแห้ง, แก่นแสม ทะเล, รากส้มกุ้ง, สะค้าน ส่ิงละ 16 ส่วน พริกไทย, เปลือกกันเกรา ส่ิงละ 24 ส่วน ทาเป็นจุณบด ละลายนา้ ผึ้งรวง ใหก้ ินหนัก 1 สลงึ แก้ลมขึ้นสูงหายดีนัก ฯ” สูตรตารับยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 18 ชนดิ รวมนา้ หนัก 198 ส่วน ดังนี้ ลาดับ ตวั ยา น้าหนกั ยา 1 ยาดา 4 สว่ น 2 กัญชา 4 สว่ น 3 อุตพดิ 4 ส่วน 4 ดองดึง 4 สว่ น 5 กระเทียม 6 สว่ น 6 ว่านน้า 8 ส่วน 7 ชะเอมเทศ 8 สว่ น 8 โกฐนา้ เต้า 8 ส่วน 9 โกฐพุงปลา 8 สว่ น 10 มหาหงิ คุ์ 8 ส่วน 11 ว่านเปราะ 12 ส่วน 12 ผลผกั ชี 12 ส่วน 13 ขงิ แห้ง 16 สว่ น 14 แก่นแสมทะเล 16 ส่วน 15 รากสม้ กุ้ง 16 ส่วน 16 สะค้าน 16 สว่ น 17 พรกิ ไทย 24 ส่วน 18 เปลอื กกนั เกรา 24 สว่ น

202 ขอ้ บ่งใช้ แก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง รปู แบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ใี ช้ รับประทานครง้ั ละ 2 กรัม วนั ละ 2 คร้งั ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ นา้ กระสายยาทใ่ี ช้น้าผึ้งรวงถา้ หานา้ กระสายยาไม่ได้ ให้ใชน้ ้าสุกแทน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงต้งั ครรภ์ ผทู้ มี่ ีไข้ และผ้ทู ีม่ ีอายุต่ากวา่ 18 ปี ขอ้ ควรระวงั 1. ควรระวงั การรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเปน็ ลม่ิ (anticoagulant) และยาตา้ นการจับตัวของเกล็ดเลอื ด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้รว่ มกบั ยา phenytoin, propranolol, theophylline และrifampicinเน่ืองจากตารับนมี้ ีพริกไทยในปริมาณสงู 3. ควรระวงั การใช้ในผ้ปู ่วยโรคความดนั โลหิตสงู โรคหัวใจ ผปู้ ่วยโรคแผล เปื่อยเพปตกิ ผ้ปู ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เน่ืองจากเปน็ ตารับยารสรอ้ น ขอ้ มูลเพม่ิ เติม1. ลมขึน้ เบ้ืองสูง เป็นโรคลมท่ีทาให้มีอาการปวดศีรษะ ตาแดง หตู าฝา้ ฟาง 1. หอู ื้อ อ่อนเพลยี สวงิ สวาย เป็นตน้ 2. ดองดงึ จะต้องฆ่าฤทธติ์ ามกรรมวธิ ีก่อนนาไปปรุงยา 3.6 ยาไฟอาวุธ ท่มี าของตารับยา แพทยศ์ าสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. 128 “อันว่าลมที่กล้ิงข้ึนกลิ้งลงแลล่ันอยู่ในท้องท่ีเปนป้างคล่ืนดุจดังลูกฟูกน้ันก็หาย ถ้าไม่หายท่านให้แต่ง ยาอันชื่อว่าอินทจักร์น้ันให้กินต่อไป ถ้ามิฟังยาอันใดแล้ว ท่านให้แต่งยาอันช่ือว่าไฟอาวุธนั้นให้กิน ต่อไป ยาชื่อไฟอาวุธขนานน้ี เอาผลจันทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 โกฐทั้ง 5 เทียนท้ัง 5 ชะเอมเทศ 1กันชา 1 แก่นแสมทะเล 1 เอาสิ่งละ 1 ส่วน อุตพิด 1 เปลือกสมุลแว้ง 1 ดีปลี 1 ใบ พิมเสน 1 เอาส่ิงละ 2 ส่วน รากจิงจ้อ 1 รากสม้ กงุ้ 1 รากเปล้าน้อย 1 รากเปล้าใหญ่ 1 รากสะคา้ น 1 รากพาชไหน 1 เอาสิ่งละ 3 ส่วน สหศั คณุ เทศ 4 ส่วน บุกรอ 9 ส่วน พริกไทย 1 ขงิ แห้ง 1 รากเจตมูล เอาส่ิงละ 16 ส่วน รวมยา 32 สิ่งน้ีทาเปนจุณ เอาน้ามะนาวเปนกระสายบดทาแท่งไว้ กินแก้ทราง 7 จาพวก แก้ตานโจรท้ัง 12 จาพวก แก้หืดน้านมทั้ง 7 จาพวก แก้ไอผอมเหลือง แลแก้ไส้พองท้องใหญ่ แก้พุงโรแลลมจุกเสียด แลแก้ป้างแก้ม้ามแก้ดานเสมหะให้ปวดมวนเสียดแทง แก้อุจจาระเปนเสมหะ โลหิตระคนกนั มักใหถ้ อยกาลงั มกั ใหเ้ ปนไข้ไมร่ สู้ กึ ตวั ใหล้ งเปนโลหิต แก้ไข้เพ่ือเสมหะเพื่อลม” สูตรตารับยา ประกอบด้วย ตวั ยา 32 ชนิด รวมน้าหนัก 104 สว่ น ดังนี้

203 ลาดบั ตวั ยา นา้ หนกั ยา 1 ผลจันทน์ 1 ส่วน 2 ดอกจันทน์ 1 สว่ น 3 กระวาน 1 สว่ น 4 กานพลู 1 สว่ น 5 โกฐสอ 1 สว่ น 6 โกฐเขมา 1 สว่ น 7 โกฐหวั บวั 1 สว่ น 8 โกฐจฬุ าลัมพา 1 ส่วน 9 โกฐเชียง 1 ส่วน 10 เทียนดา 1 ส่วน 11 เทยี นแดง 1 ส่วน 12 เทยี นขาว 1 ส่วน 13 เทียนข้าวเปลือก 1 สว่ น 14 เทยี นตาต๊ักแตน 1 สว่ น 15 ชะเอมเทศ 1 สว่ น 16 กัญชา 1 สว่ น 17 แก่นแสมทะเล 1 ส่วน 18 อตุ พิด 2 ส่วน 19 เปลือกสมุลแวง้ 2 สว่ น 20 ดปี ลี 2 ส่วน 21 ใบพมิ เสน 2 สว่ น 22 รากจิงจ้อ 3 สว่ น 23 รากส้มกุง้ 3 ส่วน 24 รากเปล้านอ้ ย 3 ส่วน 25 รากเปลา้ ใหญ่ 3 ส่วน 26 รากสะคา้ น 3 สว่ น 27 รากพาชไหน 3 ส่วน

204 ลาดับ ตวั ยา นา้ หนกั ยา 28 สหัศคุณเทศ 4 สว่ น 29 บกุ รอ 9 สว่ น 30 พรกิ ไทย 16 สว่ น 31 ขงิ แห้ง 16 สว่ น 32 เจตมูลเพลงิ แดง 16 ส่วน ข้อบ่งใช้ แกล้ มจุกเสียด ปวดมวนท้อง แกด้ านเสมหะ รูปแบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ีใช้ รบั ประทานคร้ังละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครง้ั ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ นา้ กระสายยาท่ีใช้น้ามะนาวถ้าหาน้ากระสายยาไม่ได้ ให้ใช้นา้ สุกแทน ข้อห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญงิ ตั้งครรภ์ ผูท้ ม่ี ไี ข้ และผ้ทู ่มี ีอายุตา่ กวา่ 18 ปี ข้อควรระวงั 1. ควรระวงั การรบั ประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเป็นลมิ่ 1. (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้รว่ มกบั ยา phenytoin, propranolol, theophylline 1. และrifampicin เน่ืองจากตารับนมี้ ีพรกิ ไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใชใ้ นผูป้ ่วยโรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผล 1. เปื่อยเพปตกิ ผูป้ ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนอ่ื งจากเป็น 1. ตารบั ยารสร้อน ขอ้ มูลเพ่มิ เติม ดานเสมหะ หมายถึง เสมหะทีค่ ง่ั ค้างในลาไส้ทาใหท้ ้องแข็งปวดมวน 3.7 ยาแก้นอนไมห่ ลบั หรอื ยาแก้ไข้ผอมเหลือง ท่มี าของตารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 1 พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. 128 “กัญชา แก้ไข้ผอมเหลืองหากาลังมิได้ ให้ตัวส่ันเสียงสั่นเปนด้วยวาโยธาตุกาเริบ แก้นอนมิหลับ เอาตรี กะฏุก 1 จันทน์ทั้ง 2 ใบสะเดา 1 ใบคนทีเขมา 1 พริกล่อนเสมอภาค ใบกันชาเท่ายาท้ังหลายทาผง เอา นา้ มะพร้าว นา้ ผึง้ น้าส้มซา่ น้าตาลทราย กระทือสด น้าเบญ็ จทับทิมตม้ ละลายยากนิ หายแล” สตู รตารบั ยา ประกอบด้วย ตวั ยา 8 ชนิด รวมน้าหนัก 16 สว่ น ดงั น้ี

205 ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา 1 ขงิ แหง้ 1 ส่วน 2 พรกิ ไทยลอ่ น 2 ส่วน 3 ดปี ลี 1 ส่วน 4 จนั ทน์แดง 1 สว่ น 5 จนั ทนข์ าว 1 สว่ น 6 ใบสะเดา 1 สว่ น 7 ใบคนทเี ขมา 1 ส่วน 8 ใบกญั ชา 8 ส่วน ขอ้ บง่ ใช้ 1. แก้นอนไมห่ ลับ 2. แกไ้ ขผ้ อมเหลือง มีอาการตวั สั่น เสียงสั่น ออ่ นเพลยี ไมม่ ีกาลัง รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานคร้ังละ 2 กรัม วันละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น น้ากระสายยาทใ่ี ช้น้ามะพรา้ ว น้าผึ้งรวง นา้ ส้มซา่ น้าตาลทราย กระทือสด น้าเบญจทบั ทิมตม้ อยา่ งใด อยา่ งหนงึ่ ถ้าหานา้ กระสายยาไมไ่ ด้ ใหใ้ ช้นา้ สุกแทน ขอ้ ห้ามใช้ 1. ห้ามใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์ และผ้ทู ีม่ อี ายุตา่ กว่า 18 ปี 2. ห้ามใช้ร่วมกับยาที่มีฤทธกิ์ ดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น ยานอนหลับ และยาต้านการชกั รวมทง้ั แอลกอฮอล์ หรอื สิง่ ที่มแี อลกอฮอลผ์ สมอยู่ ขอ้ ควรระวัง 3. ควรระวงั การรับประทานร่วมกับยาในกล่มุ สารกันเลอื ดเปน็ ลิม่ (anticoagulant) และยาต้านการจบั ตวั ของเกลด็ เลือด (antiplatelets) 4. ควรระวงั การใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตารับน้ีมีพรกิ ไทยเป็นสว่ นประกอบ 5. ยาน้อี าจทาใหง้ ว่ งซมึ ได้ ควรหลีกเลยี่ งการขบั ขยี่ านพาหนะ หรือทางาน เก่ยี วกบั เคร่ืองจกั รกล 6. ควรระวงั ในผู้ท่ีประกอบอาชพี ทางนา้ หรือผู้ที่รา่ งกายต้องสมั ผสั ความ เยน็ เป็นเวลานาน เพราะจะทาใหเ้ ป็นตะครวิ ตรงบรเิ วณท้องได้ ข้อมูลเพิ่มเติม 1.ไขผ้ อมเหลอื งเกิดจากธาตุลมกาเริบส่งผลให้นอนไมค่ ่อยหลบั เบื่ออาหาร เม่อื เป็นเร้ือรงั ร่างกายผ่ายผอม ซีด เหลือง อ่อนเพลีย และไม่มีกาลงั

206 ซงึ่ อาจเกดิ จากหลายสาเหตุ เช่น โรคริดสดี วง 2.ริดสีดวง เป็นโรคกลุม่ หน่ึง เกิดได้กับอวยั วะต่างๆ ของร่างกาย เชน่ ตา จมูก ลาไส้ ทวารหนัก ตาราการแพทย์แผนไทยว่า มี 18 ชนดิ แต่ละชนดิ มี อาการและชื่อเรยี กแตกต่างกันไปบางชนิดอาจมตี งิ่ หรือก้อนเน้ือ เกิดขึ้นท่ีอวัยวะนนั้ เชน่ รดิ สดี วงตา ริดสีดวงทวารหนกั 3.8ยาแก้สันฑฆาต กล่อนแห้ง ท่ีมาของตารับยา แพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ร.ศ.126 “จะว่าด้วยโรคสาหรับบุรุษหรือสัตรีก็เหมือนกัน แต่จะว่าด้วยบุรุษนั้นก่อน ถ้าผู้ใดเปนโทษสัณฑฆาฏ แลกล่อนแห้ง มักให้ผูกพรรดึกแลลมเสียดแทง ให้เปนลูกเปนก้อนเปนดานในท้องให้เม่ือยขบทั่ว สารพางค์ มักให้เจ็บบั้นเอว ให้มือเท้าตายเปนเหน็บชา มักขดั หัวเหน่าน่าตะโพก ตึงสองราวข้างไปจน ตลอดทวารหนัก ปัสสาวะเปนโลหิตให้ปวดสีสะวิงเวียนหน้าตา ปากเบยี้ วตาแหกเสียงแห้งเจราไม่ไคร่ ได้ยิน จักษุมืดหูหนัก แลจุกเสียดท้องข้ึนแน่นน่าอก เสพย์อาหารไม่มีรศ โรคทั้งน้ีเปนเพ่ือวาตะ, เสมหะ, โลหิต, กาเริบ เมื่อจะเปนนั้นใหเ้ หม็นเนือ้ ตวั แลอาหารถอย บางทใี ห้จบั สะบัดรอ้ นสทา้ นหนาว มักอยากของเปร้ียวหวานแลเย็น เปนทั้งน้ีเพราะโลหิตแห้งติดกระดูกสันหลัง บุรุษแล สตั รีเปนเหมอื นกนั จะแกท้ ่านให้แต่งยานี้ ยาแก้โรคสาหรับบรุ ุษขนานน้ี เอาเถาสะคา้ น 1 ผักแพวแดง 1 หัวดองดึง 1 ว่านน้า 1 มหาหงิ ค์ุ 1 เน้ือ ในฝักราชพฤษ1 โกฐสอ 1 โกฐพุงปลา 1 โกฐจุลาลาภา 1กันชา1 หัวอุตพิด 1ชะเอมเทศ 1 ดีปลี 1 แ ก่ น แ ส ม ท ะ เล 1 ย า ท้ั ง น้ี เอ า เส ม อ ภ า ค พ ริ ก ไท ย ก่ึ ง ย า แ ต่ ว่ า ผ่ อ น ต า ม ก า ลั ง ทาผงแล้วเอาน้าใบกะเม็ง 1 น้าผลประคาดีควาย 1 เอาเท่ากันเคล้ายาให้ได้ 7 คร้ัง ผึ่งให้แห้งแล้วบด กบั นา้ ผ้ึงรับประทาน หนัก 1 สลึง แกโ้ รคดังกล่าวมาแลว้ แตห่ ลงั ” สตู รตารับยา ประกอบด้วย ตวั ยา 15 ชนิด รวมน้าหนัก 21 สว่ น ดงั นี้ ลาดบั ตัวยา นา้ หนักยา 1 สะคา้ น 1 สว่ น 2 ผกั แพวแดง 1 ส่วน 3 ดองดงึ 1 สว่ น 4 วา่ นนา้ 1 สว่ น 5 มหาหงิ ค์ุ 1 สว่ น 6 เน้ือในฝกั ราชพฤกษ์ 1 ส่วน

207 ลาดับ ตัวยา นา้ หนกั ยา 7 โกฐสอ 1 ส่วน 8 โกฐพุงปลา 1 ส่วน 9 โกฐจุฬาลมั พา 1 สว่ น 10 กัญชา 1 ส่วน 11 อุตพิด 1 สว่ น 12 ชะเอมเทศ 1 ส่วน 13 ดีปลี 1 ส่วน 14 แกน่ แสมทะเล 1 ส่วน 15 พริกไทย 7 สว่ น ส่วนประกอบอนื่ ในตารับ ใบกะเม็ง ผลประคาดีควาย ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการท้องผกู เปน็ พรรดกึ อาการปวดเม่ือยทัว่ ร่างกาย มอื ชาเท้าชา ปวดศรี ษะ หน้ามืดวงิ เวยี น จกุ เสียดท้อง แน่นหน้าอก ท่เี กดิ จากโทสันฑฆาต และกล่อนแห้ง รูปแบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ใี ช้ รับประทานคร้ังละ 2 กรัม วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น น้ากระสายยาที่ใช้น้าผ้ึงรวง ถ้าหานา้ กระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น้าสกุ แทน ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใช้ในหญิงตัง้ ครรภ์ ผู้ท่ีมไี ข้ และผ้ทู ม่ี ีอายุต่ากวา่ 18 ปี ขอ้ ควรระวงั 1. ควรระวงั การรับประทานร่วมกบั ยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเป็นลม่ิ (anticoagulant) และยาต้านการจับตวั ของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เน่ืองจากตารับน้ีมีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใชย้ าน้ีในผปู้ ่วยสูงอายุ ข้อมูลเพม่ิ เติม ต้องฆา่ ฤทธ์ดิ องดึงก่อนนาไปปรงุ ยา

208 3.9 ยาอัมฤตยโ์ อสถ ที่มาของตารับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม 2 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ร.ศ.126 “ขนานหน่ึงช่ืออัมฤตย์โอสถ แก้ลมไกษยทั้งปวงเอา สหัสคุณ 1 แก่นแสมทเล1 รากส้มกุ้ง 1 ลูกมะตูม 1 ลูกมะแหน 1 ลกู พิลังกาสา 1 สมอเทศ 1 สมอไทย 1 โกฏเขมา 1 เทียนดา 1 เทียนขาว 1 ลูกจันทน์ 1 ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1 กานพลู 1 ดีปลี 1 ยาท้ังน้ีเอาเสมอภาค เอาเปลือกหอยโข่ง 1 เปลือกหอย ข ม 1 เป ลื อ ก ห อ ย แ ค ร ง 1 เบี้ ย ผู้ เผ า 1 เอ า ส่ิ ง ล ะ 3ส่ ว น เอ า กั น ช า 10 ส่ ว น เอาพรกิ ไทย 2 เท่ายาท้งั หลาย ตาผงกระสายยกั ย้ายใชใ้ หช้ อบโรคทั้งหลายเถดิ ” สูตรตารับยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 22 ชนิด รวมน้าหนกั 76 ส่วน ดังนี้ ลาดับ ตัวยา น้าหนกั ยา 1 สหัสคุณ 1 สว่ น 2 แก่นแสมทะเล 1 ส่วน 3 รากสม้ กงุ้ 1 ส่วน 4 ลูกมะตูม 1 สว่ น 5 ลกู มะแหน (สมอพเิ ภก) 1 ส่วน 6 ลูกพลิ งั กาสา 1 ส่วน 7 สมอเทศ 1 สว่ น 8 สมอไทย 1 สว่ น 9 โกฐเขมา 1 ส่วน 10 เทยี นดา 1 ส่วน 11 เทียนขาว 1 ส่วน 12 ลกู จนั ทน์ 1 สว่ น 13 ดอกจนั ทน์ 1 สว่ น 14 กระวาน 1 ส่วน 15 กานพลู 1 ส่วน 16 ดีปลี 1 ส่วน 17 เปลือกหอยโข่ง 3 ส่วน 18 เปลือกหอยขม 3 สว่ น 19 เปลอื กหอยแครง 3 ส่วน 20 เบีย้ ผเู้ ผา 3สว่ น

209 ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา 21 กัญชา 10 สว่ น 22 พรกิ ไทย 38 ส่วน ข้อบ่งใช้ แกล้ มกษัย รปู แบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวิธใี ช้ รับประทานครั้งละ 2 กรัม วนั ละ 2 คร้ัง ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตงั้ ครรภ์ ผทู้ ม่ี ไี ข้ และผ้ทู มี่ ีอายุต่ากว่า 18 ปี ข้อควรระวัง 1. ควรระวังการรบั ประทานรว่ มกบั ยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเปน็ ล่ิม (anticoagulant) และยาต้านการจับตวั ของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้รว่ มกบั ยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เน่ืองจากตารับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใช้ในผปู้ ่วยโรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ปว่ ยโรคแผล เปื่อยเพปติก ผูป้ ่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เน่ืองจากเป็น ตารบั ยารสร้อน 4. ควรระวังการใช้ยานใ้ี นผปู้ ่วยสูงอายุ ข้อมูลเพ่มิ เติม ลมกษัย เปน็ ลมที่ทาใหผ้ อมแห้งแรงน้อย ทาใหม้ ึนตงึ มือเท้าอ่อนแรง เปน็ ต้น 3.10 ยาอไภยสาลี ทีม่ าของตารับยา เวชศึกษา แพทย์ศาสตร์สงั เขป เลม่ 1, 2, 3 พระยาพิศณปุ ระสาทเวช ร.ศ. 127 “ยาอไภ ยสาลี เอาลู กจั น 1 สลึ ง ดอกจั น 2 สลึ ง ลู กกระวาน 3 สลึ ง กาน พ ลู 1 บ าท ลูกพิลังกาสา 1 บาท 2สลึง ว่านน้า 1 บาท 3 สลึง โกฐสอ 2 บาท โกฐเขมา 2 บาท 1 สลึง เทียนเข้า เปลือก 2 บาท 2 สลึงเทียนแดง 2 บาท 3 สลึง เทียนขาว 2 บาท เทียนตาต๊ักแตน 2 บาท 1 สลึง เจตมูลเพลิง 3 บาท สมอไทย 3 บาท 1 สลึง สมอเทศ 3 บาท 1 สลึง หัวบุกรอ 3 บาท 3 สลึง สหัศคุณเทศ 1 ตาลึง 2 บาท จันทน์เทศ 1 ตาลึง กัญชา3 บาท 3 สลึง พริกล่อน 1 ตาลึง กินเช้าเย็นทุกวัน แก้สารพัด ลม 80 จาพวก แก้โลหิต 20 จาพวก แก้ริดสีดวง 20 จาพวก ยานี้กินได้ 3 เดือน หายโรคาพยาธิมิได้มีเลย อายุวัฒนะท้ังเกิดปัญญารู้หลักนักปราชญ์มากกว่าคนท้ังปวง ถ้าผู้ใดพบให้ทากินวิเศษนัก ใครกินยานี้ดุจ ยาทิพย์นัน้ แล ฯ” สูตรตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 20 ชนดิ รวมนา้ หนกั 757.50 กรัม ดังน้ี

210 ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา(กรมั ) 1 ลกู จันทน์ 3.75 2 ดอกจนั ทน์ 7.50 3 กระวาน 11.25 4 กานพลู 15 5 ลูกพลิ ังกาสา 22.50 6 ว่านนา้ 26.25 7 โกฐสอ 30 8 โกฐเขมา 33.75 9 เทียนขา้ วเปลือก 37.50 10 เทียนแดง 41.25 11 เทยี นขาว 30 12 เทียนตาตั๊กแตน 33.75 13 เจตมลู เพลงิ 45 14 สมอไทย 48.75 15 สมอเทศ 48.75 16 หัวบกุ รอ 56.25 17 สหสั คุณเทศ 90 18 จนั ทน์เทศ 60 19 กญั ชา 56.25 20 พรกิ ไทยล่อน 60 ขอ้ บ่งใช้ แกโ้ รคทางลม บรรเทาอาการจุกเสยี ดแน่น รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานคร้ังละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น ข้อห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นหญิงต้ังครรภ์ ผทู้ ีม่ ีไข้ และผูท้ ี่มีอายุต่ากว่า 18 ปี ข้อควรระวงั 1. ควรระวงั การรับประทานร่วมกบั ยาในกลุ่มสารกนั เลอื ดเปน็ ล่มิ (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline

211 และ rifampicin เนื่องจากตารับน้ีมีพริกไทยในปริมาณสูง ข้อมูลเพ่ิมเติม ยาอไภยสาลีเป็นสตู รตารบั เดียวกนั กบั ยาอภัยสาลี ในบญั ชียาหลกั แห่งชาติ ปี 2561เพียงแต่ในบญั ชียาหลกั แหง่ ชาติไม่ได้ใส่กัญชาในสูตรตารบั เนื่องจาก เสนอตารับยาก่อนที่ พรบ.ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี 7 ) พ.ศ. 2562 ประกาศใช้ 3.11 ยาแกล้ มแก้เสน้ ทม่ี าของตารบั ยา เวชศาสตร์วณั ณ์ ณา เล่ม 5 “ขนานหน่ึงเอา เทียนขาว 1 เทียนดา 2 เทียนข้าวเปลือก 3 ขิง 4 เจตมูล 5ใบกันชา20พริกไทย 40 ส่วน ทาเปนจุณละลายน้าผึ้ง นา้ สม้ ซา่ กนิ แก้ลมแก้เส้นแก้เมือ่ ยแก้เหน็บชาแก้ตนี ตายมือตายหายดีนกั ” สูตรตารับยา ประกอบดว้ ย ตวั ยา 7 ชนดิ รวมน้าหนัก 75 สว่ น ดงั นี้ ลาดบั ตวั ยา น้าหนักยา 1 เทียนขาว 1 ส่วน 2 เทียนดา 2 สว่ น 3 เทยี นขา้ วเปลอื ก 3 สว่ น 4 ขงิ 4 ส่วน 5 เจตมูลเพลงิ แดง 5 สว่ น 6 ใบกญั ชา 20 สว่ น 7 พรกิ ไทย 40 ส่วน ขอ้ บ่งใช้ แก้ลมในเสน้ บรรเทาอาการมือเท้าชา อ่อนแรง รปู แบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวิธีใช้ รบั ประทานครั้งละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เชา้ และเย็น น้ากระสายยาท่ีใช้น้าผงึ้ รวง น้าสม้ ซ่า อย่างใด อยา่ งหน่ึง ถ้าหาน้ากระสายยา ไม่ได้ ให้ใชน้ ้าสกุ แทน ข้อหา้ มใช้ หา้ มใชใ้ นหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และผู้ท่ีมีอายตุ ่ากวา่ 18 ปี ข้อควรระวัง 1. ควรระวงั การรับประทานรว่ มกบั ยาในกลุ่มสารกันเลอื ดเป็นลม่ิ (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เน่ืองจากตารับนม้ี ีพริกไทยในปริมาณสูง

212 3. ควรระวังการใชใ้ นผู้ป่วยโรคความดนั โลหติ สูง โรคหวั ใจ ผปู้ ่วยโรคแผล เปือ่ ยเพปตกิ ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนือ่ งจากเปน็ ตารบั ยารสรอ้ น 4. ควรระวงั การใช้ยานีใ้ นผูป้ ่วยสูงอายุ ข้อมูลเพิม่ เติม ลมในเสน้ เป็นลมทีพ่ ดั ประจาอยู่ตามเส้นต่าง ๆ ในรา่ งกาย เช่น ลมจันทก ระลาพดั อยใู่ นเสน้ อทิ า ลมสูญทกลา พัดอยูใ่ นเสน้ ปงิ คลา เมื่อลมเหล่าน้ี ผดิ ปกติจะทาใหผ้ ู้ปว่ ยมีอาการปวดหรอื ชาตามแนวเส้นที่ลมนน้ั พัดประจา หรือบริเวณใกล้เคยี ง เป็นตน้ 3.12 ยาแก้โรคจิต ทม่ี าของตารับยา อายรุ เวทศกึ ษา (ขนุ นทิ เทสสขุ กิจ) เลม่ 2 “1483 ยาแก้โรคจิต ขนานที่ 1 เอาเปลือกกุ่มน้า 2 บาท เปลือกมะรุม 6 บาท แห้วหมู เปล้าน้อย เป ล้าให ญ่ รางแด ง จัน ท น์ เท ศ เป ลื อก ม ะตู ม ก้าน กัญ ช า บ อระเพ็ ด เป ลื อก โม ก มั น หญ้าชันกาด สนเทศ สิ่งละ 1 บาท ระย่อมเท่ายาท้ังหลาย รวมตาผงละลายน้าร้อนแทรกพิมเสน กิน ครั้งแรกหนกั 2ไพ ถ้านอนไม่หลับให้ทวยี าขึน้ ไปถึง 1 สลงึ ” สตู รตารับยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 14 ชนดิ รวมน้าหนัก 570 กรัม ดังน้ี ลาดบั ตัวยา นา้ หนักยา(กรัม) 1 เปลือกกุ่มน้า 30 2 เปลือกมะรุม 90 3 แห้วหมู 15 4 เปล้านอ้ ย 15 5 เปล้าใหญ่ 15 6 รางแดง 15 7 จันทนเ์ ทศ 15 8 เปลอื กมะตูม 15 9 กา้ นกัญชา 15 10 บอระเพ็ด 15 11 เปลือกโมกมนั 15 12 หญา้ ชนั กาด 15 13 สนเทศ 15

213 ลาดบั ตวั ยา นา้ หนักยา(กรมั ) 14 ระย่อม 285 ข้อบ่งใช้ แกโ้ รคลมท่ีทาใหก้ ังวล เครยี ด นอนไมห่ ลบั รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวธิ ใี ช้ 1. รบั ประทานคร้งั แรก คร้ังละ 500 มิลลิกรัม วันละ 2 คร้งั กอ่ นอาหาร เช้าและเยน็ 2. ถา้ นอนไมห่ ลับ รับประทานครั้งละ 1 กรัม วนั ละ 2 ครงั้ ก่อนอาหารเชา้ และเย็น 3. นา้ กระสายยาที่ใช้นา้ ร้อนแทรกพิมเสนถา้ หาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ช้ น้าสกุ แทน ข้อหา้ มใช้ 1. หา้ มใชใ้ นหญงิ ต้ังครรภ์ และผู้ท่มี ีอายุตา่ กว่า 18 ปี 2. ห้ามใชใ้ นผ้ทู ่ีใชย้ าลดความดนั โลหติ ขอ้ ควรระวัง ควรระวังการใชย้ าตารบั ทมี่ ีระยอ่ มเปน็ สว่ นประกอบ เน่ืองจากสาระสาคัญ ซง่ึ มีฤทธใิ์ นการลดความดนั คือ สาร reserpine และอัลคาลอยดอ์ นื่ ๆ หากได้รับในขนาดท่ีสูงเกินไป มผี ลกดการทางานของประสาท ทาให้เกดิ อาการวิงเวียนศรี ษะ ปากแห้ง คัด จมกู ท้องรว่ ง มึนงง หน้ามืด ใจสั่น ซมึ มือแขนสั่น ขอ้ มูลเพิม่ เติม 1. ยาแก้โรคจติ ตารับน้ี เปน็ ตารับยาตามหนงั สืออายรุ เวทศึกษา (ขุนนิทเทสสขุ กจิ ) เลม่ 2ทั้งนีไ้ ม่ไดห้ มายถึงโรคจติ ในความหมายของการแพทย์แผนปจั จุบัน (โรคทางจติ เวชและไบโพลา่ ) 2. ระย่อมจะตอ้ งฆา่ ฤทธ์ติ ามกรรมวิธกี อ่ นนาไปปรุงยา 3.13ยาไพสาลี ทม่ี าของตารบั ยา อายุรเวทศกึ ษา (ขุนนิทเทสสขุ กจิ ) เล่ม 2 “ ยา ไพสาลี ว่า พระพุทธเจ้า ทรงให้พระอานนทท์ าแจกเป็นทาน เอาลกู จนั ทน์ ดอกจนั ทน์ ส่ิงละ 1 สลึง กระวาน 1 สลึง 1 เฟ้ือง กานพลู 2 สลึง ดีปลี 2 สลึง 1 เฟื้อง ลูกพิลังกาสา 3 สลึง ว่านน้า 3 สลึง 1 เฟื้อง เกลือสินเธาว์ 1 บาท เทียนดา 1 เฟ้ือง เทียนเยาพาณี 6 สลึง 1 เฟื้อง การบูร 7 สลึง สมอเทศ 7 สลึง 1 เฟื้อง เทียนข้าวเปลือก 6 สลึง สมอไทย 2 บาท สมอพิเภก 2 บาท 1 เฟ้ือง โกฐสอ 9 สลึง โกฐ เขมา 9 สลึง 1 เฟ้ือง บุกรอ 7 สลึง ขิงแห้ง 10 สลึง 1 เฟื้อง เจตมูลเพลิง 7 สลึง หัสคุณเทศ 5 บาท กัญชา 30 บาท พริกไทยร่อน 60 บาท ยาทั้งน้ีทาเป็นผงละลายน้าผ้ึงน้าอ้อยแดง น้านมโคก็ได้ กิน หนัก 1 สลึง กิน 3 เวลา แก้สารพัดโรค ไส้เลื่อนกลอ่ น หืดไอ กุษฐัง เสมหะ ตามืด ตาฟาง หูหนวก หูตงึ ลมสติ มักหลงลืม เจ็บตะโพก จุกเสียด ลมสลักอก ข้ีเร้ือน คุดทะราด เป็นฝีในเพดานและลาคอ ลมมักให้หาว

214 เรอ ให้รากสะอึก ลมสะแกเวียน นอนไม่หลับ ให้ง่วงเหงาหาวนอน ลมปวดมวนในท้อง เป็นป้างเป็น จกุ ผามมา้ มย้อย หงอย เพอ้ พูดมิชัด ” สตู รตารบั ยา ประกอบดว้ ย ตวั ยา 23 ชนดิ รวมนา้ หนัก 1,820.63 กรัม ดงั น้ี ลาดบั ตัวยา นา้ หนกั ยา(กรมั ) 1 ลกู จันทน์ 3.75 2 ดอกจันทน์ 3.75 3 กระวาน 5.625 4 กานพลู 7.5 5 ดีปลี 9.375 6 พิลงั กาสา 11.25 7 วา่ นนา้ 13.125 8 เกลอื สนิ เธาว์ 15 9 เทียนดา 1.875 10 เทียนเยาพาณี 24.375 11 การบรู 26.25 12 สมอเทศ 28.125 13 เทยี นขา้ วเปลือก 22.5 14 สมอไทย 30 15 สมอพเิ ภก 31.875 16 โกฐสอ 33.75 17 โกฐเขมา 35.625 18 บุกรอ 26.25 19 ขิงแหง้ 39.375 20 เจตมลู เพลิง 26.25 21 หัสคุณเทศ 75 22 กัญชา 450 23 พริกไทยลอ่ น 900 แก้โรคลม แกห้ ืดไอ มีเสมหะ ขอ้ บ่งใช้ ยาผง, แคปซูล รูปแบบยา

215 ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานคร้ังละ 2 กรัม วันละ 3 ครงั้ ก่อนอาหาร เชา้ กลางวันและเย็น น้ากระสายยาที่ใช้นา้ ผึ้งรวง น้าอ้อยแดง น้านมโคอย่างใดอย่างหน่ึง ถา้ หาน้ากระสายยาไมไ่ ด้ ให้ใชน้ า้ สุกแทน ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใชใ้ นหญิงต้งั ครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และผูท้ ่ีมีอายตุ ่ากว่า 18 ปี ขอ้ ควรระวัง 1.ควรระวงั การรับประทานร่วมกบั ยาในกล่มุ สารกนั เลือดเป็นล่ิม (anticoagulant) และยาต้านการจบั ตวั ของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ว่ มกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เน่ืองจากตารับนมี้ ีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวงั การใช้ในผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผูป้ ่วยโรคแผล เป่ือยเพปติก ผปู้ ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็น ตารับยารสร้อน 4.ควรระวังการใช้ยานีใ้ นผู้ป่วยสูงอายุ 5.ควรระวงั การใชย้ าอย่างต่อเนอ่ื ง โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในผปู้ ่วยท่ีมีความ ผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พิษได้ ขอ้ มูลเพมิ่ เติม - 3.14 ยาทารดิ สีดวงทวารหนักและโรคผิวหนงั “เอาขมิ้นชัน ใบกัญชา ส่ิงละ 15 กรัม น้ามันเม็ดฝ้าย พอเปียก ใส่แก้ริดสีดวงทวารหนัก ใส่แก้โรค ผิวหนงั ต่าง ๆ” สูตรตารบั ยา ประกอบด้วย ตัวยา 3 ชนดิ รวมนา้ หนัก 60 กรัม ดังน้ี ลาดบั ตัวยา นา้ หนกั ยา(กรมั ) 1 ขม้นิ ชนั 15 2 ใบกญั ชา 15 3 น้ามนั เมล็ดฝา้ ย 30 ข้อบ่งใช้ ทาแก้รดิ สดี วงทวารหนัก และทาแก้โรคผวิ หนัง (เช่น เรือ้ นกวาง เรื้อนมลู นก) รูปแบบยา ยานา้ มนั ขนาดและวธิ ใี ช้ ทาวันละ 2 คร้งั หลงั อาบน้าเชา้ และเยน็ ข้อหา้ มใช้ - ข้อควรระวัง ควรระวงั การใชก้ ับผู้ทีแ่ พส้ ว่ นประกอบของตารับ ข้อมูลเพมิ่ เติม -

216 3.15 ยาทาลายพระสเุ มรุ ทีม่ าของตารับยา คมั ภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลกั ษณ์ เลม่ 2 “ยาทาลายพระสุเมรุ เอาลูกจันทน์ 1 เฟื้อง ดอกจันทน์ 1 สลึง ลูกกระวาน 1 สลึงเฟื้อง กานพลู 2 สลึง เกลือสินเธาว์ 3 สลึง ดีปลี 2 สลึงเฟ้ือง หว้านน้า 3 สลึงเฟ้ือง โกฐสอ 1 บาท โกฐเขมา 1 บาทเฟ้ือง เทียน ดา 5 สลึง เทียนแดง 5 สลึงเฟื้อง เทียนขาว 6 สลึง เทียนตาต๊ักแตน 6 สลึงเฟื้อง เทียนข้าวเปลือก 7 สลึง ขิ งแ ห้ ง 7 ส ลึ งเฟ้ื อ ง กั ญ ช า2 บ าท ราก เจ็ ต มู ล เพ ลิ ง 2 บ าท เฟ้ื อ ง หั ว บุ ก รอ 9 ส ลึ ง เน้ือลูกสมอไทย 9 สลึงเฟ้ือง เนื้อลูกสมอเทศ 10 สลึง การะบูน10 สลึงเฟ้ือง หัศกุนเทศ 10 สลึงเฟ้ือง พริกไทยล่อน 57 บาท 3 สลึง บดเป็นผงละลายนา้ อ้อยแดง หรือน้านมโค กนิ ครั้งละ 1 สลึง แก้ลมจุกเสียด ลมปะทะอก ลมตามืดหูหนัก ปวดหัวมึนตึง ลมเม่ือยขบในร่างกาย ลมสะดุ้งแลส่ันไปท้ังตัว ลมเปร่ียวดา แก้จุกผามม้านย้อย มารกะไษย ไส้พองท้องใหญ่ ลมคลั่งเพ้อ ลมอามะพฤกษ์อามะพาธ ลมปัตฆาต แก้โรค ผวิ หนัง ลมชกั ปากเบ้ียวตาแหก แก้ริดสดี วงทวาร แกโ้ รคเสมหะโลหิตเร้ือรัง หายแล” สูตรตารับยา ประกอบดว้ ย ตัวยา 23 ชนิด รวมน้าหนัก 1,338.75 กรัม ดังน้ี ลาดับ ตัวยา นา้ หนักยา(กรัม) 1 ลกู จันทน์ 1.875 2 ดอกจันทน์ 3.75 3 กระวาน 5.625 4 กานพลู 7.5 5 เกลือสนิ เธาว์ 9.375 6 ดีปลี 11.25 7 วา่ นน้า 13.125 8 โกฐสอ 15 9 โกฐเขมา 16.875 10 เทยี นดา 18.75 11 เทยี นแดง 20.625 12 เทียนขาว 22.5 13 เทียนตาตกั๊ แตน 24.375 14 เทียนข้าวเปลือก 26.25

217 ลาดบั ตวั ยา นา้ หนกั ยา (กรมั ) 15 ขิงแหง้ 28.125 16 กญั ชา 30 17 เจตมลู เพลิง 31.875 18 บกุ รอ 33.75 19 สมอไทย 35.625 20 สมอเทศ 37.5 21 การบรู 39.375 22 หสั คณุ เทศ 39.375 23 พริกไทยล่อน 866.25 ขอ้ บ่งใช้ แกล้ มจกุ เสียด ลมเมอ่ื ยขบในร่างกาย ลมเปล่ียวดา ลมอัมพฤกษ์อัมพาต รปู แบบยา ยาผง, แคปซลู ขนาดและวิธใี ช้ รบั ประทานครั้งละ 2 กรัม วันละ 2 ครัง้ ก่อนอาหาร เช้าและเยน็ นา้ กระสายยาทใี่ ช้น้าอ้อยแดง น้านมโคอย่างใด อย่างหนึง่ ถ้าหานา้ กระสายยา ไม่ได้ ให้ใช้น้าสกุ แทน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญงิ ต้ังครรภ์ ผทู้ ีม่ ไี ข้ และผทู้ ่ีมีอายุตา่ กว่า 18 ปี ขอ้ ควรระวงั 1. ควรระวังการรบั ประทานรว่ มกับยาในกลุ่มสารกนั เลือดเป็นลิม่ (anticoagulant) และยาตา้ นการจบั ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) 2. ควรระวงั การใชย้ าน้ี รว่ มกบั ยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เน่อื งจากตารบั นี้มพี รกิ ไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใช้ในผปู้ ว่ ยโรคความดนั เลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเป่อื ย เพปตกิ ผ้ปู ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและโรคกรดไหลย้อน เน่ืองจากเปน็ ตารับ ยารสรอ้ น 4. ควรระวังการใช้ยานีใ้ นผ้ปู ่วยสงู อายุ 5. ควรระวงั การใช้ยาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในผูป้ ่วยทม่ี ีความ ผิดปกติของตบั ไต เน่ืองจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ ข้อมลู เพมิ่ เตมิ ลมเปลี่ยวดา เป็นโรคลมชนิดหน่ึง เกิดจากการกระทบกับความเย็นมากจนเป็น ตะคริว ผู้ปว่ ยมีอาการกล้ามเน้ือเกร็งอย่างรุนแรง กระตุก ทาให้เจ็บปวดบริเวณ ทเ่ี ป็นมาก มักแก้โดยการนวดจุดบริเวณตาตุ่มด้านในหรอื อาจรกั ษาด้วยยาสังขวิไชย หรือยาทาลายพระสเุ มรุ

218 3.16 ยาทัพยาธคิ ณุ ที่มาของตารับยา คมั ภีร์แพทยไ์ ทยแผนโบราณ ขนุ โสภิตบรรณลกั ษณ์ เลม่ 2 “ยาชื่อทัพยาธิคุณ เอาสะค้าน ผักแพวแดง ดองดึง หว้านน้า ยาดา มหาหิงคุ์ โกฐสอ โกฐจุลาลาพา โกฐพุงปลา กัญชา หัวอุตพิด เน้ือฝักราชพฤกษ์ ชะเอมเทศ ดีปลี แก่นแสมทะเล เอาส่ิงละ 1 ส่วน พริกไทยล่อนเท่ายาทั้งหลาย ตาเป็นผง เอาน้าใบกาเม็ง น้าลูกประคาดีควาย เคล้ายาผงตากแดดให้ แห้งสิ่งละ 7 ครัง้ แล้วบดด้วยน้าผึ้งกินหนกั 1 สลึง แก้กล่อน 5 ประการ ซ่ึงให้จุกเสียดแลเป็นพรรดึก แก้ลมเป็นก้อนในอุทร ให้เจ็บทั่วร่างกาย เจ็บสะเอว มือเท้าตายกระด้างแลเม่ือยขบทุกข้อทุกลา ขัด แข้งขา เจ็บทวารหนัก เบาพิการต่าง ๆ เจ็บศีรษะเวียนหน้าตา เจ็บไหล่ท้ังสอง ปากเปร้ียว เสียงแหบ แห้ง ขัดสีข้าง ขัดอก ท้องขึ้น กินอาหารไม่มีรส นอนไม่ใคร่หลับ โรคทั้งน้ีเป็นเพราะเสมหะแห้ง บุรุษ และสตรีเป็นเหมอื นกัน” สตู รตารบั ยา ประกอบด้วย ตัวยา 16 ชนิด รวมนา้ หนัก 30 สว่ น ดงั นี้ ลาดับ ตัวยา น้าหนกั ยา 1 สะคา้ น 1 สว่ น 2 ผกั แพวแดง 1 ส่วน 3 ดองดงึ 1 สว่ น 4 ว่านน้า 1 สว่ น 5 ยาดา 1 สว่ น 6 มหาหิงค์ุ 1 ส่วน 7 โกฐสอ 1 ส่วน 8 โกฐจุฬาลมั พา 1 สว่ น 9 โกฐพงุ ปลา 1 สว่ น 10 กัญชา 1 ส่วน 11 อุตพดิ 1 สว่ น 12 เนื้อในฝักราชพฤกษ์ 1 ส่วน 13 ชะเอมเทศ 1 สว่ น 14 ดีปลี 1 สว่ น 15 แก่นแสมทะเล 1 สว่ น 16 พรกิ ไทยล่อน 15 สว่ น ส่วนประกอบอืน่ ในตารบั ใบกะเม็ง

219 ลาดบั ตัวยา น้าหนกั ยา ลูกประคาดคี วาย ข้อบ่งใช้ แก้กลอ่ นท่ที าให้จกุ เสยี ดเป็นพรรดึก เจบ็ เมอ่ื ยขบตามร่างกาย กินอาหารไม่รรู้ ส นอนไม่หลบั รปู แบบยา ยาผง, แคปซูล ขนาดและวธิ ีใช้ รับประทานคร้ังละ 2 กรัม วนั ละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น นา้ กระสายยาทใ่ี ช้นา้ ผึ้งรวงถ้าหาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ชน้ ้าสกุ แทน ขอ้ หา้ มใช้ ห้ามใชใ้ นหญงิ ตัง้ ครรภ์ ผูท้ ่ีมีไข้ และผู้ท่มี ีอายตุ า่ กว่า 18 ปี ข้อควรระวงั 1. ควรระวงั การรับประทานรว่ มกบั ยาในกลุ่มสารกนั เลือดเป็นล่มิ (anticoagulant) และยาต้านการจบั ตวั ของเกลด็ เลือด (antiplatelets) 2. ควรระวังการใชร้ ่วมกบั ยา phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจากตารบั น้ีมีพริกไทยในปริมาณสูง 3. ควรระวังการใช้ในผปู้ ่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหวั ใจ ผู้ป่วยโรคแผลเป่ือย เพปตกิ ผูป้ ว่ ยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลยอ้ น เน่อื งจากเป็นตารบั ยารสรอ้ น 4. ควรระวงั การใชย้ าน้ใี นผู้ป่วยสูงอายุ ขอ้ มูลเพมิ่ เติม 1. กล่อน 5 ประการ ไดแ้ ก่ กล่อนดนิ กลอ่ นนา้ กลอ่ นลม กล่อนไฟ และกษยั กล่อน 2. ดองดึงจะตอ้ งฆา่ ฤทธิต์ ามกรรมวธิ กี ่อนนามาปรงุ ยา

220 ภาพที่ 69ตวั อย่างบรรจภุ ณั ฑ์ตารับยาศขุ ไสยาศน์ กกกกกกกกล่าวโดยสรุปตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลือก และมีการรับรองโดย กระทรวงสาธารณสุขในปจั จุบนั พ.ศ. 2562ประกาศใช้ท้ังหมด 16 ตารับ ได้แก่(1) ยาอัคคินีวคณะ(2) ยาศุขไสยาศน์(3) ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยาน้ามันสน่ันไตรภพ(5) ยาแก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง (6) ยาไฟ อาวุธ(7) ยาแก้นอนไม่หลับ/ยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง(9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี(11) ยาแก้ลมแก้เส้น(12) ยาแกโ้ รคจติ (13) ยาไพสาลี(14) ยาทารดิ สีดวงทวารหนัก และโรคผิวหนงั (15) ยาทาลายพระสเุ มรุและ (16) ยาทัพยาธคิ ุณ

221 ภาพท่ี 70ตารบั ยาแผนไทยท่ีมกี ัญชาเป็นส่วนผสม จานวน 16 ตารบั (ภาพท่ี 1) ภาพที่ 71ตารบั ยาแผนไทยที่มกี ญั ชาเปน็ ส่วนผสมจานวน 16 ตารับ (ภาพที่ 2)

222 ถาม จรงิ หรือไม่ ตารบั ยาแผนไทยที่มกี ารใชก้ ัญชาส่วนใหญใ่ ช้กะหล่ีกัญชา ในการเข้าตารบั ยา ตอบ ไม่จริง เพราะตารับยาแผนไทยส่วนใหญ่ใช้ใบกัญชาในการเข้าตารับยา และจะไม่ใช้ เป็นยาเดี่ยว ส่วนใหญ่จะใช้เป็นยาตารับคือใชร้ ่วมกับสมุนไพรอ่ืน ๆ กะหลกี่ ัญชาส่วนใหญ่ ใชใ้ นการสบู เพือ่ การผอ่ นคลาย กกกกกกก4. ภมู ิภเู บศรรวบรวมและเผยแพร่ภูมปิ ญั ญาไทย 4.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของภูมิภเู บศร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้มีการพัฒนาสมุนไพรอย่างต่อเน่ือง เริ่มต้นตั้งแต่ พ.ศ. 2536 โดย เภสัชกรหญิง ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร และทีมงานเภสัชกร จนเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและ นานาชาติและได้เปิดภูมิภูเบศรศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรและภูมิปัญญาสุขภาพ สร้างความรอบรู้ด้าน สุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ภายใต้แนวคิด “พ่ึงตนเอง อนุรักษ์ สร้างมูลค่าเพิ่ม” เมื่อวันท่ี 10 กันยายน 2561โดยมกี ารอบรมแกป่ ระชาชนผ้ปู ่วยและญาติเพ่อื เพิ่มทักษะการกล่ันกรอง ประเมินและ เลอื กใชส้ มุนไพรตามภูมิปัญญาในการดแู ลสขุ ภาพ มวี ัตถุประสงคก์ ารจดั ต้ังทั้ง 3 มติ ิ ได้แก่ 1. พึ่งตนเอง ส่งเสริมให้ประชาชน ดูแลอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ด้วยสมุนไพรและศาสตร์ การแพทยแ์ ผนไทย 2. อนุรักษ์ภูมิปัญญา ศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และพรรณพืชสมุนไพร ท่ีกาลังสญู หาย 3. สรา้ งมลู ค่าเพ่ิมให้สมุนไพร และภูมปิ ัญญาไทยผา่ นนวตั กรรมผลิตภณั ฑส์ มุนไพร โดยภมู ิภูเบศรจะเปน็ ศนู ย์การเรียนรู้สมุนไพรและภูมิปญั ญาสขุ ภาพ จงั หวัดปราจนี บุรี ซึ่งเป็น 1 ใน 13 จงั หวัดท่รี ัฐบาลกาหนดให้เป็นเมอื งสมุนไพร (Herbal City) รองรบั นโยบายการปฏิรูประบบ สุขภาพดา้ นการสรา้ งความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)

223 ภาพท่ี 72ภูมภิ ูเบศร 4.2 องคค์ วามรู้ในภมู ภิ เู บศร 4.2 ภูมิภูเบศร อุทยานการเรียนรู้สมุนไพรและภูมิปัญญาสุขภาพ บางเดชะ จังหวัดปราจีนบุรี เป็น พิพิธภัณฑ์หมอไทย (หม่ืนชานาญแพทยา) หมอหลวงในรชั กาลท่ี 5 อายุกว่า 100 ปีภายในพิพิธภัณฑ์ อุทยานการเรยี นรูส้ มนุ ไพร ไดจ้ ดั สว่ นการแสดงออกเปน็ 3 ส่วน ดังนี้ 4.2 4.2.1เรือนหมอพลอยพิพิธภัณฑ์หมอไทย เป็นต้นแบบของท่ีอยู่อาศัยที่ถูกสุขลักษณะ มีองค์ ความรู้ดา้ นการแพทย์ซุกซ่อนอยู่ในทุกท่ี แม้แต่การออกแบบพื้นที่ใช้สอย ด้วยการออกแบบมาอย่างดี ให้ลมพัดผ่านเย็นสบายตลอดท้ังวัน ช่วยสร้างสมดุลของธาตทุ ั้ง 4ในร่างกายให้แก่ผูท้ ่ีอยู่อาศัย ชัน้ ล่าง มีผลิตภัณฑ์ประทินผิวและบารุงร่างกายภายใต้แบรนด์อภัยภูเบศรมากมายวางเรียงรายให้เลือกซื้อหา ชั้นบนจัดแสดงอุปกรณ์ทายาชนิดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นยาน้า หรือยาเม็ด มีกล่องใส่ตัวอย่างสมุนไพรตาม รส ตามฤดู ภาพที่ 73เรือนหมอพลอย ภูมิภูเบศร

224 4.2.2 สวนสมุนไพรภูมิภูเบศร เป็นแหล่งเรยี นรู้และการฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆของภูมิภูเบศร มีการ จัดสวนตามกลุ่มโรคอาการ ตามกลุ่มรสของสมุนไพร ซ่ึงเป็นตัวกาหนดสรรพคุณของยา สมุนไพรให้สี ใหก้ ลิ่นหอมทม่ี กั ใชใ้ นตารบั ยาไทยช่วยใหจ้ ิตใจสงบ ผ่อนคลาย สมุนไพรผักสวนครัว และสมุนไพรสดี า ทีค่ นไทยเช่อื วา่ ช่วยขับไล่ส่ิงไมด่ ี ภาพท่ี 74สวนสมนุ ไพรและภูมิปญั ญาสุขภาพ สร้างความรอบรู้สขุ ภาพด้วยแพทย์แผนไทย 4.2.3 อภัยภูมิภูเบศรโมเดล ต้นแบบการใช้กัญชาทางการแพทย์ เน้นมาตรฐานความปลอดภัย ตาม มาตรฐานทางการแพทย์ ประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ และเหมาะสมกับคนไทยมากทีส่ ุด (รายละเอียด ตามขอ้ 4.3 ในลาดบั ถดั ไป) 4.3 ความสาคญั ของภูมภิ เู บศร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศรยงั ไดจ้ ัดต้งั “ภมู ิภูเบศร” เพื่อเป็นที่ฝกึ อบรม สัมมนา ศึกษา เรียนรู้ เร่อื งการดูแลสขุ ภาพด้วยสมุนไพรการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ในสว่ นของกญั ชานั้นทางภูมภิ ูเบ ศรถอื เป็นสมนุ ไพรชนิดหนง่ึ และเป็นสถานที่ทดลอง วจิ ัย การใชก้ ัญชาทางการแพทยอ์ ย่างครบวงจร

225 ภาพท่ี 75สมนุ ไพรและภูมปิ ญั ญาสขุ ภาพ สรา้ งความรอบรูส้ ุขภาพดว้ ยแพทยแ์ ผนไทย 4.4 องคค์ วามรู้กญั ชาอภยั ภูเบศรโมเดล โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ได้พัฒนากัญชาทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือกอย่างครบวงจร เรียกว่า อภัยภูเบศรโมเดลทาการรวบรวมความรู้ในการใช้ไว้ท้ังจากตารา และจากการลงพน้ื สัมภาษณผ์ ้รู ู้ จาการคน้ ควา้ ในเอกสารพบว่ากัญชามีการบรรยายสรรพคณุ ไว้ดงั นี้ ลาดบั รายการ สรรพคณุ ทางยา ผลขา้ งเคยี ง 1 ดอกกญั ชา ปรงุ เปน็ ยารับประทาน ทาให้งว่ งนอน และ - อยากรับประทานอาหาร 2 กัญชา รู้เจรญิ อาหาร ชกู าลัง มรี สเมา และทาให้ใจ สะด้งุ กลัว 3 กัญชา เปน็ ยาจาพวกที่ใช้ในทางระงับเส้นประสาท ทาให้นอนหลับ และเจริญอาหารดี - 4 เลา่ หมา หรือ ทาใจใหส้ ุขมุ ดี นอนหลับ รับประทาน กัญชา อาหารได้ แต่ถา้ มากเกนิ ไป ไม่ผิด อะไรกบั คนบ้า รอ้ งไหก้ บั 5 กญั ชา เปน็ ยาเจริญอาหาร ชูกาลัง แก้โรคประสาท หวั เราะพร้อมกัน แกโ้ รคนอนไมห่ ลบั แตต่ ้องเอาไปประสมยา ถ้ากนิ มากไปจะเป็นโทษ ซง่ึ ทางการจบั กมุ กนั อยู่