Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Description: หนังสือเรียน-กัญชาและกัญชงศึกษา มัธยมปลาย(ทช 33098)

Search

Read the Text Version

26 กกกกกกก1. 4.7 ข้อปฏบิ ตั ทิ ต่ี อ้ งทาตามกฎหมายท่เี กี่ยวข้องกับกญั ชาและกัญชง กกกกกกกกกกกกกกข้อปฏบิ ตั ทิ ีส่ าคญั ตามกฎหมายกญั ชาและกญั ชง มีขอ้ ที่ควรปฏบิ ตั ิดงั น้ี กกกกกกกกก 7.1 โพสต์ภาพ หรือข้อความ เพื่อโฆษณายาเสพติด มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท กกกกกกกกก 7.2 ใชอ้ ุบายหลอกลวง ขเู่ ขญ็ ใช้กาลังประทษุ รา้ ย ขม่ ขืนใจให้ผู้อนื่ เสพ มีโทษดังน้ี กกกกกกกกกกกกก7.2.1 จาคกุ 1 - 10 ปี และปรบั ตั้งแต่ 100,000 - 1,000,000 บาท กกกกกกกกกกกกก7.2.2 ถ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึ้นไป จาคุก 2 - 15 ปี และปรับต้ังแต่ 200,000 - 1,500,000 บาท กกกกกกกกกกกกก7.2.3 ถ้ากระทาต่อหญิงหรือผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือเพ่ือจูงใจให้ผู้อ่ืนทาผิด อาญา หรือเพ่ือประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืนในการทาผิดอาญา จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ 300,000 - 5,000,000 บาท กกกกกกกกก 7.3 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทง้ั ปรบั กกกกกกกกก 7.4 ใชอ้ บุ ายหลอกลวง ขูเ่ ขญ็ ใชก้ าลังประทุษร้าย ขม่ ขนื ใจให้ผอู้ นื่ ผลิต นาเขา้ ส่งออก จาหน่าย ครอบครองเพื่อจาหน่าย มีโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้สาหรับความผิด นัน้ ๆ กกกกกกกกก ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้เข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดเป็นจานวนมาก ซ่ึงกระทรวง ยุติธรรม ได้กาหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ ผู้ป่วย” ที่จะต้องได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ ทุกแห่งทั่วประเทศ และหลังจากท่ีผู้เสพได้รับการบาบัดรักษาแล้ว ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคม อย่างปกติสุข โดยรัฐบาลจะให้การตดิ ตามช่วยเหลือส่งเสริมการประกอบอาชพี เพ่ือให้ผู้เสพได้เร่ิมต้น ชีวติ ใหม่ “เปลีย่ นเพื่อครอบครวั เพอื่ อนาคตท่ีดกี ว่า” กกกกกกก1. 4.8 โทษของการฝ่าฝืนกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั กัญชาและกัญชง กกกกกกกกกกกก บทลงโทษของการฝา่ ฝืนกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกัญชาและกัญชง มี 5 กลุ่มดังนี้ 8.1 กลุ่มผู้เสพ (นอกเหนือเพ่ือรักษาตามคาส่ังแพทย์) มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรบั ไม่เกิน 20,000 บาท หรือท้ังจาทง้ั ปรบั 8.2 กลุ่มครอบครอง หรือจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม) มบี ทลงโทษ จาคกุ ไมเ่ กนิ 5 ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ 100,000 บาท หรือท้ังจาทั้งปรับ 8.3 กลุ่มจาหน่ายโดยไม่ได้รบั อนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมข้ึนไป) มีบทลงโทษ จาคุก ตัง้ แต่ 1 - 15 ปี และปรบั 100,000 - 1,500,000 บาท

27 8.4 กลุ่มผู้ฝ่าฝืนผลิต นาเข้า หรือส่งออก มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 500,000 บาท 8.5 กลุ่มกรณีเพื่อจาหน่าย มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 - 1,500,000 บาท ในส่วนผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 มีสิทธิท่ีจะขอใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหนา่ ยหรอื มีไวใ้ นครอบครองซึ่งผู้ขออนุญาตตามข้อ 2,3,4 และ 7 มบี ุคคลอยู่ 2 กลุ่ม ดงั นี้ กล่มุ ท่ี 1 กรณบี ุคคลธรรมดา สญั ชาตไิ ทย มีถ่ินทอี่ ยูใ่ นไทย กลุ่มท่ี 2 กรณีนิติบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หุ้นส่วน ผถู้ อื หนุ้ มีสญั ชาติไทย มีสานกั งานในไทย นอกจากนี้การนากัญชามาโฆษณาชวนเชื่อ บิดเบอื นฉลากอาหาร - ฉลากยา มีความผิด ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารท่ีมีการแสดงฉลากเพ่ือลวง หรือ พยายามลวงให้เข้าใจผิดเรื่องคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานที่ผลิต จัดเป็นอาหารปลอม ต้องระวางโทษจาคกุ ต้ังแต่ 6 เดือน - 10 ปี และปรับตงั้ แต่ 5,000 - 100,000 บาท ตอ่ มาไดม้ ีการนิรโทษกรรม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุข 3 ฉบับ ซงึ่ ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ดังนี้ ฉบับที่ 1 เร่ือง การกาหนดให้ยาเสพติด ให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้ทาลายกัญชาท่ีได้รับมอบ จากบุคคล ซึ่งไมต่ ้องรับโทษ ตามมาตรา 22 แห่ง พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 โดยรายละเอียดผู้ท่ีได้รับการนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้านี้ไม่ผิด และให้มาแจ้งภายใน 90 วัน ฉบับท่ี 2 เร่ืองการครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา สาหรับผู้ป่วยที่มี ความจาเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ ซ่ึงในกรณีน้ีผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้กัญชารักษาตัว และมี ครอบครองกอ่ นกฎหมายใชบ้ ังคบั และฉบับท่ี 3 เรอ่ื ง การแจง้ การมีไว้ในครอบครองกญั ชา สาหรับผู้มี คุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอื่นท่ีมิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพ ติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ กล่าวคือ บุคคลท่ีไม่ใช่กลุ่มท่ี 1 และกลุ่ม ท่ี 2 โดยในฉบับน้ี ให้หน่วยงานหรือบุคคลผู้ครอบครองกัญชาก่อนกฎหมายมีผลใช้บังคับเพื่อประ โยชน์ทางการแพทยก์ ารรักษาผ้ปู ่วย การใชร้ กั ษาโรคเฉพาะตวั หรือการศึกษาวิจัย กกกกกกก1. 4.9 กฎหมายระหว่างประเทศเก่ียวกับกญั ชาและกัญชง กกกกกกกกกกกก ประเทศไทยในมิติด้านความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ ได้เขา้ เป็นรฐั ภาคี จานวน 4 ฉบบั ด้วยกนั คอื ฉบับท่ี 1 อนุสญั ญาเดีย่ วว่าดว้ ยยาเสพติดใหโ้ ทษ ค.ศ. 1961 และพธิ แี ก้ไขอนุสัญญา เด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบบั ที่ 2 อนุสัญญาว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ ประสาท ค.ศ. 1971 ฉบับที่ 3 อนสุ ัญญาสหประชาชาติวา่ ดว้ ยการต่อตา้ นการลักลอบค้ายาเสพตดิ และวัตถุที่

28 ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 และฉบับท่ี 4 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้าน อาชญากรรมข้ามชาติท่จี ัดตง้ั ในลกั ษณะองค์กร ค.ศ. 2000 กกกกกกกกกกกก ตามอนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 ได้บัญญัติกัญชา สารสกัด จากกัญชา จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบัญชีเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 และยางกัญชา เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือใช้ ประโยชน์ เว้นแต่เพ่ือใช้ทางการแพทย์หรือการศึกษาวิจัยเท่าน้ัน ภาคีประเทศต้องกาหนดมาตรการ ควบคมุ ป้องกันมิให้มีการนาใบของพชื กญั ชาไปในทางทผ่ี ิด หรอื ทาการคา้ ท่ผี ดิ กฎหมาย กกกกกกกกกกกก นอกจากน้ีอนุสัญญาของสหประชาชาติ (United Nation, UN) เป็นข้อตกลงสากล สูงสดุ ในเรอ่ื งการควบคุมยาเสพตดิ อย่างเช่น กัญชา อนสุ ญั ญาดงั กล่าวกาหนดความรับผดิ ชอบร่วมกัน ในระดบั สากล สาหรับการควบคุมการผลิต การคา้ และการใช้ยาควบคุม โดยท่ัวไปแลว้ แต่ละประเทศ จะกาหนดกฎหมายว่าด้วยยาซึ่งสัมพันธ์กับการออกกฎหมายและข้อบังคับเก่ียวกับยารักษาโรค สาหรับกัญชาทางการแพทย์ อานาจและมาตรการควบคุมของประเทศอื่น ๆ มีเป้าหมาย 3 ประการ ดังน้ี ประการท่ี 1 ควบคุมการเข้าถึงและการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่ชอบด้วยกฎหมาย ประการ ท่ี 2 เปิดโอกาสใหส้ ามารถเข้าถึงกัญชาที่มาจากวิธกี ารทางเภสชั กรรมเพ่ือวตั ถุประสงค์ทางการแพทย์ บางกรณีในปริมาณท่ีเพียงพอ ประการท่ี 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลิตกัญชาเพ่ือ วตั ถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว โดยประเทศทีล่ งนามในอนุสัญญามภี าระหน้าทีใ่ นการควบคุมการสง่ ออก นาเขา้ และการขายส่งกญั ชา และยาเตรยี มจากกัญชาอย่างระมัดระวัง กกกกกกก กกกกกกกกกกกก ข้อกาหนดดังกล่าวท่ีมีผลผูกมัด ให้ประเทศท่ีลงนามอนุสัญญานี้ต้องควบคุมการ ส่งออก นาเข้า และขายส่งกัญชาและยาท่ีผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่สาหรับประเทศไทยเรา ยังไม่มีความพร้อมเร่ืองระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การ สหประชาชาติ มีข้อกาหนดเร่ืององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซ่ึงขณะนี้ ประเทศไทยมีสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองค์กรกลางทรี่ บั ผิดชอบอยู่ แต่ปญั หา ที่เกิดข้ึนภายหลังจากที่กฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาทาง การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ไม่มีกัญชาในปริมาณท่ีเพียงพอ สาหรับรักษาผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้กัญชาเพ่ือการรักษาโรคต้องไปหากัญชามาจากแหล่งท่ีไม่ อาจเปิดเผยได้ หรือตลาดมืดทาให้เกิดความสับสนแยกไม่ออกระหว่างพวกธุรกจิ ท่ีถูกและผดิ กฎหมาย พวกท่ีเสพเพื่อนันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ในการรักษา ซึ่งสานักงาน ปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จะดาเนนิ การปราบปรามก็ทาไดไ้ ม่ค่อยถนดั นัก เพราะเป็น เร่ืองของจริยธรรม มนุษยธรรม และยากท่ีจะแยกแยะออกได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเป็น ผคู้ รอบครอง และบคุ คลใดเปน็ ผ้จู าหนา่ ยได้ มรี ะบบกากับควบคุมส่งออก ขายสง่ กญั ชาและยาที่ผลิต จากกัญชา เป็นยาทม่ี ีประสิทธิภาพ จงึ เปน็ สิ่งทีร่ ฐั ตอ้ งดาเนินการใหช้ ัดเจน เข้มงวด กวดขัน และท่ัวถึง

29 ให้มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้จริง และต้อง แยกแยะผู้ป่วยกับผู้ท่ีแอบแฝงเป็นผู้ป่วยให้ได้ เม่ือถึงจุดน้ันการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกจ็ ะ สามารถทาได้อย่างประสบผลสาเรจ็ ddddddd5. หวั เร่อื งท่ี 5 กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กกกกกกกกกก5.1 ประวัตคิ วามเป็นมาการใชก้ ัญชาและกญั ชงในต่างประเทศ ในต่างประเทศ พบ หลักฐานบันทึกไว้ว่า มีการใช้กัญชาเป็นยารักษา หรือควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ได้แก่ โปรตุเกส สหรฐั อเมรกิ า อังกฤษ ในทวปี เอเชยี ไดแ้ ก่ ประเทศจนี อนิ เดีย และอิหรา่ น มาอยา่ งชา้ นาน ใน บางประเทศมหี ลกั ฐานว่าเคยมีการใช้กัญชามานานกว่า 4,700 ปี กกกกกกกกกก5.2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลือกของไทย ในประเทศ ไทยมีหลักฐานการใช้กัญชาในการรักษา หรือควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอน ปลาย สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ สมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า เจา้ อย่หู วั โดยมกี ารรวบรวมไว้เปน็ ตารายาหลายเล่ม และสูตรยาหลายขนาน เช่น ตาราพระโอสถพระ นารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ พระคัมภีร์ปฐมจินดา พระคัมภีรม์ หาโชตรตั พระคัมภรี ช์ วดาร และพระคัมภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุตารับยาที่ใช้กัญชา หรือมีกัญชาเป็นส่วนประกอบที่ใช้ในการ รกั ษา นบั แตใ่ นอดีตสบื เนื่องกนั มากกกกกกก ก 5.3 ตารับยาท่ีมีกัญชาเป็นส่วนประกอบท่ีได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวง สาธารณสขุ ในปัจจบุ นั พ.ศ. 2562 ประกาศใช้ทัง้ หมด 16 ตารับ ไดแ้ ก่ (1) ยาอคั คนิ วี คณะ (2) ยาศุขไสยาศน์ (3) ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยาน้ามันสน่ันไตรภพ (5) ยาแก้ลมข้ึนเบ้ืองสูง (6) ยาไฟอาวุธ (7) ยาแก้ นอนไม่หลับหรือยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง (9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี (11) ยาแก้ลมแก้เส้น (12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพสาลี (14) ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผวิ หนงั (15) ยาทาลายพระสุเมรุ และ (16) ยาทัพยาธิคณุ กกกกกกก1. 5.4 ภูมภิ ูเบศรรวบรวมและเผยแพร่ภมู ปิ ญั ญาไทย ภูมิภูเบศร ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรครบวงจร ภายใต้แนวคิดการพึ่งพาตนเอง เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ประกอบด้วย (1) เรือนหมอพลอย (2) สวนสมุนไพรภูมิภเู บศร และ (3) อภัยภูเบศรโมเดล กกกกกกก1. 5.5 ภูมปิ ญั ญานายเดชา ศริ ิภัทร หมอพนื้ บ้าน นายเดชา ศิริภัทร หมอพื้นบ้าน ประธานมูลนิธิข้าวขวัญ เป็นผู้ท่ีได้นากัญชามา รักษาโรคตามตารับยาพ้ืนบ้านไทยจากกระแสความนิยมท่ีมาจากตะวันตก ได้เริ่มทดลองใช้กัญชา รักษาตัวเอง โดยนาความรู้พื้นฐานในการสกัดที่เผยแพร่โดย ริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) ชาวอเมริกัน ที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งแล้วสกัดกัญชารักษาโรคมะเร็งท่ีตัวเอง เป็นมาผสมผสานกับความรู้พ้ืนบ้าน เป็นน้ามันเดชา (Decha Oil) นามาใช้กับตนเองในการช่วยให้นอนหลับได้ลึกขึ้น หลงลืมง่าย และต้อเน้ือ

30 ในตาในชว่ ง 4 - 5 ปี ที่ผ่านมา จึงขยายผลเผยแพร่ ทายาแจกให้ผู้ปว่ ยโรคตา่ ง ๆ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เป็นจานวนมากกว่า 4,000 ราย ปัจจุบัน น้ามันเดชาได้รับการรับรองให้เป็นตารับยาพื้นบ้าน ของ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งหมอพื้นบ้านผู้เป็นเจ้าของตารับยาสามารถจ่ายให้กับผู้ป่วยของตนเองได้ และ กระทรวงสาธารณสุขอยู่ระหว่างทาการวิจัยเพ่ือวิจัยพิสูจน์ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสูตร การรักษาดังกล่าว กกกกกกก6. หวั เรื่องท่ี 6 กัญชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนปัจจุบนั กกกกกกก1. 6.1 ประวัตกิ ารใช้กญั ชาและกัญชงทางการแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั 6.1.1 ต่างประเทศ ในต่างประเทศ มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในทางการแพทย์หลายรูปแบบ ได้แก่ น้ามันหยดใต้ลิ้น แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ลิ้น ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบน ผิวหนัง มีการศึกษาวิจัย และใช้กัญชาเป็นยารักษาโรค เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และ แคนาดา เป็นต้น นอกจากนี้ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธบิ ัตร และพบฤทธิ์ของกัญชาที่อาจ มีผลดีต่อโรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคที่เกิดจาก เซลล์ถูกทาลายโดยอนมุ ูลอสิ ระ (Oxidative) เป็นต้น แตย่ งั ต้องการการศกึ ษาวิจัยในมนุษยเ์ พ่ิมเติมอีก ในอนาคต 6.1.2 ประเทศไทย ประวตั ิการใช้กัญชาในการแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศไทย ไมป่ รากฏข้อมูล หลักฐาน สืบเนื่องจากกัญชา ได้ถูกบรรจุให้เป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 จึงทาให้ขาดการศึกษาวิจัย มาพัฒนาเพื่อใช้เป็นยาในทางการแพทย์ แผนปัจจุบัน ส่งผลให้ไม่มีประวัติการใชก้ ัญชาในประเทศไทย ท่ีถูกต้องตามกฎหมาย แต่ในปัจจุบันได้ มีการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 กาหนดให้ ใช้เพือ่ ประโยชนท์ างราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชนก์ ารรักษาผู้ป่วย และประโยชนใ์ นการ ศกึ ษาวจิ ัย ในปัจจบุ ันจึงอยู่ระหว่างการศกึ ษาวจิ ัย กกกกกกก1. 6.2 กญั ชาและกญั ชงทชี่ ่วยบรรเทาโรคแผนปจั จบุ ัน 6.2.1 กัญชาและกัญชงกับโรคพาร์กินสัน สาร CBD เป็นสารสกัดที่ได้จากกัญชงและกัญชา ไม่มีฤทธิ์ต่อจิตและ ประสาท ช่วยให้ผู้ป่วย ลดความวิตกกังวล บรรเทาอาการเกร็งของกล้ามเน้ือ มีฤทธิ์ระงับปวด และมี กลไกท่ีเชื่อว่าอาจทาให้ลดอาการสัน่ จากโรคพาร์กินสัน ทาให้การเคลื่อนไหวดขี ้ึน ปัจจุบันยังไม่ทราบ กลไกการออกฤทธท์ิ ีช่ ัดเจน คาดว่าสาร CBD มีส่วนช่วยชะลออาการของ โรคพารก์ นิ สัน จากฤทธติ์ ้าน อนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ และปกป้องเซลล์สมอง ซึ่งต้องการงานวิจัยเพ่ิมเติมในอนาคตถึงสัดส่วน สารสาคัญท่ใี ช้ในโรคพาร์กินสัน

31 6.2.2 กญั ชาและกัญชงกบั โรคมะเร็ง ในต่างประเทศ มีผลการศึกษาวิจัยสารในกัญชา สาร THC และสาร CBD ที่สามารถเชื่อถือได้ ในการรักษาโรคมะเร็งปอด และมะเร็งเม็ดเลือดขาว ในประเทศไทย มีการศึกษา การใช้กัญชาต่อต้านมะเร็งพบว่า กัญชาสามารถออกฤทธ์ิฆ่าเซลล์มะเร็งในการเพาะเลี้ยงเซลล์ใน ห้องทดลอง แต่ยงั ไม่มีการศกึ ษาถึงผลของกัญชาต่อโรคมะเร็งในมนษุ ย์ 6.2.3 กญั ชาและกญั ชงกบั การลดอาการปวด มีการศึกษาการนากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถ บรรเทาอาการปวดแบบเรื้อรัง (Chronic pain) ที่เป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic pain) สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น หลังผ่าตัด ยัง ไม่ได้ให้ผลท่ีดี สาหรับอาการปวดเรื้อรังในผู้ป่วยมะเร็ง ยังไม่มีข้อสรุปทางคลินิกท่ีชัดเจน สารสกัด กญั ชาอาจมปี ระโยชน์ในการรักษาอาการปวด แต่ยงั ขาดขอ้ มลู จากงานวิจยั สนับสนุนที่ชดั เจนเพียงพอ ในดา้ นความปลอดภัย และประสิทธผิ ล ซง่ึ ยงั ตอ้ งศึกษาวจิ ยั ต่อไปเพอื่ ให้ผปู้ ่วยได้รบั ประโยชนส์ งู สดุ 6.2.4 กัญชาและกัญชงกบั โรคลมชกั ส า ห รั บ กั ญ ช า ที่ อ ง ค์ ก า ร อ า ห า ร แ ล ะ ย า ( Food and Drug Administration) ของประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชา ตัวแรก (ไม่ใช่สาร สังเคราะห์) ชื่อการค้า Epidiolex® ประกอบด้วยตัวยา CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในรูปแบบ สารละลายให้ทางปาก (Oral solution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut syndrome และ Dravet syndrome ในผู้ป่วยอายุ 2 ปขี น้ึ ไป ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจาก กัญชาทางการแพทย์ ในการนาตัวยา CBD มาใช้กับโรคลมชักท่ีรักษายาก และโรคลมชักท่ีด้ือต่อยา รักษาเท่าน้นั 6.2.5 กญั ชาและกัญชงกับโรคผวิ หนงั นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวทิ ศึกษาวิจัยเก่ียวกับการนาน้ามันกัญชามาใช้ ในโรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธ์ุผิวหนังชนิดหนังหนาแต่กาเนิด สาหรับในต่างประเทศ นายริค ซิมป์ สัน (Rick Simpson) มีการคน้ พบการรักษาโรคมะเร็งผวิ หนังดว้ ยกัญชา โดยผลิตนา้ มันกญั ชา เรยี กวา่ รคิ ซิมปส์ ัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แลว้ นามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาวสหรฐั อเมริกา และ ประเทศอังกฤษ ทางอนิ เทอร์เน็ต 6.2.6 กัญชาและกญั ชงกับโรคตอ้ หนิ การศึกษาวิจัยเก่ียวกับการรักษาโรคต้อหินด้วยกัญชา พบว่าการใช้กัญชา ทาให้ความดนั ในลกู ตาลดลงได้ มฤี ทธิอ์ ย่ไู ดเ้ พียง 3 ชั่วโมง และขึ้นอยู่กับปรมิ าณการใชก้ ญั ชาดว้ ย

32 ซ่ึงอาจเพิ่มการเกิดผลข้างเคียงจากการได้รับขนาดยากัญชามากเกินไป ได้แก่ ความดันโลหิตต่าลง และหัวใจเต้นเรว็ ขึ้น ด้วยเหตุผลที่วา่ มีหลายปัจจัยเข้ามาเกี่ยวข้องในการควบคุมความดันลกู ตา ไม่ว่า จะเป็นระยะเวลาการออกฤทธ์ิ ความแรงของยากัญชา ทาให้ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันยังไม่ ยอมรับการนากัญชามาใช้รักษาโรคต้อหิน เน่ืองจากยาแผนปัจจุบันสามารถคุมความดันในลูกตาได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพคงที่ และสมา่ เสมอมากกว่า กกกกกกก1. 6.3 การใชน้ า้ มนั กัญชาและกญั ชงกบั การแพทย์แผนปจั จุบนั น้ามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis extract) ท่ีเจือจางอยู่ในน้ามันตัวพา (Carrier oils หรือ Diluent) ส่วนมากนิยมใช้น้ามันมะกอก และน้ามันมะพร้าวสกัดเย็น โดยหากผ่านการผลิตท่ีได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารสาคัญ ปริมาณความ เข้มข้นของตัวยา THC และ CBD รูปแบบของน้ามันกัญชามีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้าตาล ลักษณะ ข้นหนืด น้ามันกัญชาที่มีการผลิตอย่างได้มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ปัจจุบันมีอยู่ 3 สูตร สูตรที่ 1 น้ามันสูตร THC สูง สูตรที่ 2 น้ามันสูตร THC : CBD ในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน สูตรที่ 3 น้ามันสูตร CBD สูง วิธีการสกัดน้ามันกัญชา ด้วยตนเอง เป็นวิธีการที่ไม่ปลอดภัย และเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ควรใช้ผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาท่ีมีมาตรฐาน ได้รับ จากคลินิกกัญชา ที่มีแพทย์อนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชาในการรักษาโรคจึงจะมีความปลอดภัย ขนาด การใช้น้ามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ เริ่มใช้น้ามัน กัญชาที่ขนาดต่า ๆ โดยแนะนาให้เริ่มที่ 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพ่ิมขนาด มากขนึ ตามคาแนะนาของแพทย์เทา่ นนั น้ามนั กญั ชาอาจจะทาให้มีภาวะง่วงซึม จงึ แนะนาให้ใชเ้ วลา ก่อนนอน และหลีกเล่ยี งการทางานใกลเ้ ครื่องจักร หรือขับรถ กกกกกกก1. 6.4 ผลิตภัณฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์ ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปจากกัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ สาหรับคน มรี ปู แบบนา้ มันหยดใตล้ นิ้ แคปซลู สเปรย์ฉดี พน่ ใต้ลิ้น ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบน ผิวหนัง ผลิตภัณฑ์กัญชาจะมีสูตรแตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารสาคัญ THC และ CBD ผลิตภัณฑ์กัญชาที่ได้รับการข้ึนทะเบียน (Registered drug) ขณะนี้มีอยู่ 3 รูปแบบ คือ ผลิตภัณฑ์ THC สังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์สารสกัด CBD นอกจากนใี้ นตา่ งประเทศยงั มีผลิตภัณฑ์รักษาอาการเจบ็ ป่วยในสัตว์ กกกกกกก1. 6.5 การใชผลิตภัณฑกัญชาและกัญชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจุบัน แนะนา โดยกรมการแพทย์ เพ่ือใช้ในการดูแลรักษา และควบคุมอาการของผู้ป่วย เนื่องจากมีหลักฐานทาง วิชาการที่มีคุณภาพสนับสนุนชัดเจน โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) ภาวะคล่ืนไส้อาเจียนจากเคมี บาบัด (Chemotherapy induced nausea and vomiting) โดยแพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เพ่ือรักษาภาวะคล่ืนไส้อาเจียนจากเคมีบาบัดที่รักษาด้วยวิธีต่าง ๆ แล้วไม่ได้ผล (2) โรคลมชักที่รักษายาก

33 และโรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา (Intractable epilepsy) ผู้ส่ังใช้ควรเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบ ประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชาเพื่อการรักษาผู้ป่วย (3) ภาวะกล้ามเนื้อ หดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (Multiple sclerosis) แพทย์สามารถใช้ ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือบรรเทาอาการปวดและเกร็งในกรณีท่ีรักษาด้วยวิธีอ่ืน ๆ แล้วไม่ได้ผล และ (4) ภาวะปวดจากระบบประสาท (Neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในกรณี ทร่ี กั ษาภาวะปวดจากระบบประสาททีด่ อื้ ตอ่ การรักษาด้วยยามาตรฐาน กกกกกกก1. 6.6 การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคุม อาการ ในกรณีท่ผี ูป้ ่วยไดร้ ับการรักษาดว้ ยวิธีมาตรฐานแล้ว ไมส่ ามารถควบคมุ อาการของโรคได้ หาก จะนาผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง มาใช้กับผู้ป่วยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทยสมาคมโลก (ปี ค.ศ. 2013) ระบุว่ามีความเป็นไปได้หากไม่มีวิธีการรักษาอื่น ๆ หรือมีวิธีการรักษา แต่ไม่เกิด ประสิทธิผล ภายหลังจากได้ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย หรือญาติโดย ชอบธรรมแล้ว แพทย์อาจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงมาช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟื้นฟูสุขภาพ หรือลดความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย กกกกกกก7. หวั เรื่องท่ี 7 ใชก้ ญั ชาและกญั ชงเป็นยาอย่างร้คู ุณคา่ และชาญฉลาด กกกกกกกกก 7.1 ความเชือ่ และความจริงเก่ยี วกับกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ 7.1.1 ความเช่ือเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพร โบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซึ่งความเชื่อ บางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเช่ือบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควร ปฏิบัตติ ามจนกว่าจะมผี ลการวจิ ยั ความเช่อื ทไี่ ดศ้ กึ ษา ในหวั ข้อดงั กล่าว 7.1.2 ความจริงเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเกี่ยวกับการใช้ กัญชาและกัญชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดังน้ี (1) อาการปวดเร้ือรังจากเส้นประสาท (2) อาการ คลื่นไส้อาเจยี น และเพิม่ ความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสอื่ ม และ (4) โรคลมชกั กกกกกกกกก 7.2 การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น โรคมะเร็ง โรคสมองเส่ือม โรคเบาหวาน และโรคไตเร้ือรงั เป็นตน้ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาวจิ ัยถึงความ ปลอดภัย และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซึ่งปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการไม่ เพียงพอ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้ เฉพาะ ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชงในการรักษาแลว้ อาจทาให้ผู้ปว่ ยเสยี โอกาสในการรักษาได้ กกกกกกกกก 7.3 ข้อแนะนาก่อนตดั สินใจใช้ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ มี 8 ขอ้ ไดแ้ ก่ (1) ความสัมพันธ์ ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย เป็นพ้ืนฐานในการยอมรับการรักษาพยาบาล รวมถึงการ ประเมิน ผู้ป่วยว่าเหมาะสมท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงหรือไม่ (2) การประเมินผู้ป่วย ข้อมูล ประวัติท่ีเกยี่ วข้องกับอาการของผู้ป่วย (3) การแจง้ ให้ทราบ และตดั สินใจร่วมกัน (4) ขอ้ ตกลงการรักษา

34 ร่วมกนั (5) เงอ่ื นไขทเ่ี หมาะสม ในการตดั สินใจของแพทย์ในการส่งั ใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกญั ชง (6) การ ติดตามอย่างต่อเนื่องและปรับแผนการรักษา (7) การให้คาปรึกษา และการส่งต่อ และ (8) การบันทึกเวช ระเบยี น จะช่วยสนบั สนุนการตดั สนิ ใจในการแนะนาการใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชง กกกกกกก1. 7.4 การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง แนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา และกัญชงในการทดลองรักษาระยะส้ัน เพื่อประเมินประสิทธิผลในการรักษาผู้ป่วย แผนการรักษาควรมี ความชัดเจน ใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1) วางเป้าหมายการเริ่มรักษา และการหยุดใช้ แพทย์ควรหารือ ร่วมกับผู้ป่วยให้ชัดเจน (2) การบริหารจัดการโดยแพทย์เวชปฏิบัติท่ัวไป (3) มีกระบวนการจัดการ ความเส่ียง (4) กากับติดตาม ทบทวนทุกสัปดาห์ โดยแพทย์ หรือเภสัชกรผู้เชี่ยวชาญ (5) ให้ผู้ป่วย ลงนามยินยอม และ (6) ใหค้ าแนะนาผู้ปว่ ยเมือ่ ใช้ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ กกกกกกก1. 7.5 การเร่ิมใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยในทางการแพทย์ ต้องคานึงถึงข้อ ปฏบิ ตั ิ 2 ประการ ไดแ้ ก่ (1) การซกั ประวตั ิอาการปว่ ยในปจั จุบัน ประวัตกิ ารเจ็บปว่ ยในอดตี ประวัติ เจ็บป่วยทางจิต และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน ยารักษา โรคสมองเส่ือม และพฤติกรรมเสย่ี งท่สี ัมพันธก์ บั การตดิ สารเสพติด และ (2) การกาหนดขนาดยา และ การบริหารยา ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นท่ีแน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนิด ขนาดยาท่ี เหมาะสมขึ้น กับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละคน โดยเร่ิมต้นขนาดต่า และปรับเพิ่มขนาดช้า ๆ จนได้ขนาด ยาทเี่ หมาะสม สง่ ผลตอ่ การรกั ษาสูงสดุ และเกดิ ผลข้างเคียงต่าสดุ ขนาดยาในระดบั ต่ามโี อกาสเกิดผล ข้างเคียงนอ้ ย กกกกกกก1. 7.6 ข้อหา้ มใชผ้ ลิตภัณฑท์ ่มี ีสาร THC และ CBD เป็นสว่ นประกอบมี 4 ข้อ ไดแ้ ก่ (1) ผู้ ที่มีประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสารสกัดกัญชาและกัญชง (2) ผู้ที่มีอาการรุนแรง หรือมีปัจจัยเสี่ยง ของโรคหลอดเลือดหัวใจ (3) ผู้ที่เป็นโรคจิต หรืออาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังวลมา ก่อน และ 4) สตรีมีครรภ์ สตรที ีใ่ หน้ มบตุ ร รวมท้งั สตรวี ัยเจรญิ พันธุ์ท่ีไม่ได้คมุ กาเนิด หรอื สตรวี างแผน ทีจ่ ะตั้งครรภ์ กกกกกกก1. 7.7 ข้อควรระวงั เก่ยี วกับการใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชง 7.7.1 ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชงในผปู้ ว่ ยท่ี มีอายุต่ากว่า 25 ปี เพราะมีผลข้างเคียงต่อสมองที่กาลังพัฒนา และไม่ควรใช้กับผู้ป่วยโรคตับ ผู้ติดสาร เสพติด รวมถึงนิโคติน ผู้ดื่มสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (opioids) ยากล่อมประสาท เด็ก และผู้สูงอายุ เนือ่ งจากยังไมม่ ขี อ้ มลู ทางวชิ าการมากเพียงพอ 7.7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงที่ใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่ สามารถกาหนดขนาดการใช้ท่ีแน่นอนได้ โดยต้องปรับใหเ้ หมาะกับแตล่ ะบุคคล และมีหลักสาคัญคือ เริ่ม ทีละน้อย แล้วค่อย ๆ เพ่ิมขนาด ซึ่งผู้ป่วยที่เป็นโรค หรือมีอาการต่างกัน จะใช้ขนาดยาต่างกัน โดยหาก ใชข้ นาดยากญั ชาและกญั ชงท่ีไม่ถูกต้องจะเกิดการดอื้ ยา

35 7.7.3 หา้ มใชน้ ้ามนั กญั ชาและกัญชงทาบหุ ร่ี เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อระบบ ทางเดนิ หายใจ และไมค่ วรใช้กบั บหุ ร่ไี ฟฟ้า อาจทาใหป้ อดอักเสบเป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ 7.7.4 สารตกค้างจากการสกัดน้ามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์ กัญชาและกัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนดิ ใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การสกัดโดยตัวทาละลายแนฟทา หรือปิโตรเลียมอีเทอร์ มีความปลอดภัยน้อยกว่าการสกัดด้วยเอทา นอล หรือการต้มในน้ามันมะกอก เน่ืองจากพบการตกค้างของตัวทาละลายที่มีความเส่ียงที่ทาให้เกิด โรคมะเร็งได้ และวิธีการสกัดใหม่ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่ การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลว และเอทานอล สกัดเย็น เนอ่ื งจากมคี วามปลอดภยั สงู สามารถสกัดไดป้ รมิ าณมาก และได้สารแคนนาบิ นอยดเ์ ขม้ ขน้ 7.7.5 ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งที่มา ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐานการผลิตที่ดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และส่ังจ่ายภายใต้แพทย์ เภสัชกร และแพทย์แผนไทยที่ผ่านการอบรมการใช้กัญชาและกัญชง เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ มาแลว้ 7.7.6 สายพันธุ์กัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บ ข้อมูลจากงานวจิ ัย สารเคมที ่ีแตกต่างกันในกญั ชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุ และผลการรกั ษาในผู้ป่วย แต่ละโรคในต่างประเทศ พบวา่ กญั ชาและกญั ชงแต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติทเ่ี หมาะสมกบั แต่ละโรคไม่ เทา่ กัน แต่ยงั เป็นงานวจิ ัยขนั้ ตน้ ตอ้ งมกี ารศึกษาในเชิงลกึ ตอ่ ไป 7.7.7 หลักธรรมนาชีวิตพ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง การใช้พุทธธรรมเพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกัน ทางด้านจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมิคุ้มกันทางครอบครัวที่เป็นความรักความอบอุ่น ความเข้าใจซ่ึงกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมส่ิงแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการ เสรมิ สรา้ งการเรียนรทู้ ่ีเกดิ จากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาติสว่ นใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยา หรอื เกี่ยวข้องกับยาเสพติด รวมท้ังกัญชาและกัญชง อาจเนื่องจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้ ความเข้าใจต่อสังคม เข้าใจว่าตนเองไม่มีคุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพ้ืนฐาน หากเราต้องการ แก้ปัญหาเรอื่ งยาเสพติดของเยาวชน เราจาเป็นตอ้ งแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชน รวมทัง้ ตัวเราควร ได้เรียนรู้ปรับทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ใน ด้านครอบครัว สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัวขับเคลื่อน กลไกให้ทางานในเวลาเดียวกัน ดังนั้นการป้องกันมิให้เยาวชน รวมท้ังตัวเราได้มีโอกาสเข้าไปยุ่งเกี่ยว กบั ยาเสพตดิ เปน็ การป้องกนั ในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตเตรยี มความพร้อมในการเป็น ผู้ใหญ่ หรือเป็นผูด้ ูแลตนเองได้ โดยใชป้ ัญญาเป็นเครื่องมือท่จี ะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคมเป็นพลเมือง ที่ มีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้เราใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ เป็นพลเมืองที่มี

36 คณุ ภาพ มคี วามเข้มแข็งทีเ่ กิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลกั ที่ยึดเหนีย่ ว ซึ่งจะเปน็ พ้ืนฐานสาคัญ ที่จะทาให้ประเทศไทยมพี ลเมืองทม่ี ีคณุ ภาพนาพาประเทศใหม้ ีความสุขสงบ เจรญิ รุ่งเรอื งสืบไป กกกกกกก1. 7.8 ข้อห้ามในการใช้กัญชาและกัญชงกับบุคคลต่อไปน้ี ไดแ้ ก่ ผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการทางระบบ ประสาทผดิ ปกติ ผู้ปว่ ยโรคหัวใจขนั้ รนุ แรงท่มี ีอาการความดนั โลหติ ต่าลง หรอื หัวใจเต้นเร็ว สตรีตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร บุคคลที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี ผู้ป่วยโรคตับ โดยถ้าจาเป็นต้องใช้ต้องอยู่ในความดูแล ของแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญ กกกกกกก1. 7.9 การถอนพิษเบื้องต้นจากการเมากัญชาและกัญชง ท่ีมีอาการมึนศีรษะ โคลงเคลง แนน่ หนา้ อกจากการใช้กัญชาและกัญชงเกินขนาด มีอยู่ 3 วิธี ได้แก่ วธิ ที ี่ 1 ให้ดมื่ นา้ มะนาวผสมนา้ ผง้ึ หรือ น้าตาลทราย วิธีท่ี 2 ด่ืมสมุนไพรรางจืด และวิธีท่ี 3 รับประทานกล้วยน้าว้าสุก วันละ 3 เวลา เวลาเช้า กลางวัน และเยน็ . 1.1 ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง กกกกกกก1. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเหตุใดต้องเรียนรู้กัญชาและกัญชง กัญชา และกญั ชงพชื ยาท่ีควรรู้ โทษและประโยชน์ รวมทง้ั กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง กัญชากับการแพทย์ทางเลือก กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจบุ ัน และใช้กัญชาและกญั ชงเป็นยาอย่างรู้คณุ คา่ และชาญฉลาด กกกกกกก 2. เพ่ือให้ผู้เรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคิดวิเคราะห์ รวมท้ังสามารถ นาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาไปแนะนาบุคคลในครอบครัว หรือเพ่ือน หรือชมุ ชนได้ กกกกกกก3. เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักถึงเหตุใดต้องเรียนรู้กัญชาและกัญชง โทษและประโยชน์ กฎหมายที่เก่ียวข้อง รวมท้ังการนากัญชาและกัญชงไปใช้เป็นยาในการแพทย์แผนไทย การแพทย์ ทางเลอื ก และการแพทยแ์ ผนปจั จุบนั อย่างร้คู ณุ ค่าและชาญฉลาด ขอบขา่ ยเนอื หา กกกกกกกหลักสูตรรายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด จานวน 120 ช่ัวโมง มขี อบข่ายเนอื้ หาต่อไปน้ี กกกกกกกหวั เร่ืองท่ี 1 เหตุใดต้องเรียนรูก้ ัญชาและกญั ชง จานวน 10 ชว่ั โมง กกกกกกกหวั เรอื่ งที่ 2 กัญชาและกัญชง พชื ยาที่ควรรู้ จานวน 15 ชว่ั โมง กกกกกกกหัวเรอ่ื งท่ี 3 รจู้ กั โทษและประโยชน์ของ กญั ชาและกญั ชง จานวน 15 ชว่ั โมง

37 กกกกกกกหัวเรื่องท่ี 4 กฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกับ จานวน 15 ช่วั โมง กกกกกกกกกกกกกกกกกญั ชาและกญั ชง จานวน 25 ช่วั โมง กกกกกกกหัวเร่อื งที่ 5 กัญชากบั การแพทย์ทางเลอื ก กกกกกกกหัวเรือ่ งที่ 6 กญั ชาและกัญชงกบั การแพทย์ จานวน 20 ชวั่ โมง กกกกกกกกกกกกกกกกปัจจบุ นั กกกกกกกหัวเร่อื งท่ี 7 ใชก้ ญั ชาและกญั ชงเป็นยา จานวน 20 ชั่วโมง อยา่ งรู้คณุ คา่ และชาญฉลาด การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ กกกกกก การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั โดยให้ผู้เรยี นไดใ้ ช้กระบวนการเรยี นรู้ ONIE MODEL โดยครูผู้สอนมีวธิ กี ารจดั ประสบการณ์ ดงั นี้กกก กกกกกกก1. บรรยายสรปุ กกกกกกก2. กาหนดประเด็นศึกษาค้นคว้าร่วมกนั กกกกกกก3. ศกึ ษาค้นคว้าจากสื่อที่หลากหลาย กกกกกกก4. บันทึกผลการศึกษาค้นคว้าท่ีได้ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) และนามา พบกลุม่ กกกกกกก5. พบกลุ่ม กกกกกกก6. อภิปราย กกกกกกก7. คิดแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ขอ้ มูลที่ได้กบั เพ่ือนผู้เรยี นและครูผสู้ อน กกกกกกก8. คิดสรุปการเรียนรทู้ ไี่ ด้ใหมร่ ่วมกัน บันทึกลงในเอกสารการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก9. นาข้อสรปุ ที่ได้ใหมม่ าฝกึ ปฏิบัติดว้ ยการทาแบบฝกึ หดั และกิจกรรมตามมอบหมาย กกกกกกก10. จดั ทารายงานการศึกษาการนากญั ชาและกัญชงไปใชท้ างการแพทยแ์ ผนไทย และการแพทย์ทางเลือก และการแพทย์แผนปจั จุบันตามท่ีสนใจ กกกกกกก11. นาเสนอผลการศึกษาต่อเพื่อนผเู้ รยี นและครูผ้สู อน กกกกกกก12. บนั ทึกผลการเรยี นรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั ิลงในเอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกกหมายเหตุ ในแต่ละหัวเร่ืองครูผู้สอนสามารถเลือกใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ข้างต้นให้เหมาะสมกับเนื้อหาและตัวชี้วัดหรือเลือกใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรูว้ ิธีอื่น ๆ ก็ได้ แตใ่ หย้ ึดตามตวั ชี้วดั เปน็ สาคัญ

38 สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ กกกกกกกหลักสูตรรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด มีสื่อ และแหล่งเรียนรู้ ประกอบด้วย (1) สื่อเอกสาร ได้แก่ ใบความรู้ ใบงาน สื่อหนังสือเรียนและสื่อ หนังสือท่ีเกี่ยวข้อง (2) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ส่ือเว็บไซต์ท่ีเกี่ยวข้อง และ (3) ส่ือแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ห้องสมุดประชาชนอาเภอ ห้องสมุดประชาชนจังหวัด หอ้ งสมุดใกลบ้ ้าน รายละเอยี ดของส่ือและแหลง่ เรียนรสู้ ามารถศึกษาไดจ้ ากหัวข้อส่ือและแหล่งเรียนรู้ ในรายละเอียดของแต่ละหัวเรอ่ื งลาดบั ถดั ไปจากโครงสร้างหลกั สตู รน้ี การวัดและประเมินผล กกกกกกหลกั สูตรรายวิชา ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด มแี นวทางการวดั ผลและประเมินผล ดงั นี้ กกกกกกก1. ประเมินความก้าวหนา้ 60 คะแนน ด้วยวิธีการต่อไปน้ี กกกกกกกกก 1.1 การสงั เกต 10 คะแนน กกกกกกกกก 1.2 การซักถาม ตอบคาถาม - คะแนน กกกกกกกกก 1.3 ตรวจเอกสารการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (กรต.) 20 คะแนน กกกกกกกกก 1.4 ตรวจรายงานการนากัญชาและกัญชง ไปใชท้ างการแพทย์แผนไทยและการ แพทยท์ างเลือก และนาเสนอ 15 คะแนน 1.5 ตรวจเอกสารรายงาน การนากญั ชาและกัญชง ไปใชท้ างการแพทยแ์ ผนปัจจุบันและนาเสนอ 15 คะแนน กกกกกกก2. ประเมินผลรวม 40 คะแนน ด้วยวิธีการต่อไปน้ี กกกกกกกกก 2.1 ใหต้ อบแบบทดสอบวัดความรู้ 40 คะแนน กกกกกกกกก 2.2 ให้ตอบแบบสอบถามวดั ทกั ษะ - คะแนน กกกกกกกกก 2.3 ให้ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติ - คะแนน กกกกกก3. ให้นาคะแนน ข้อ 1.1, 1.3, 1.4, 1.5, และ 2.1 มารวมกันแล้วตัดสินคะแนนผล การเรยี นออกเป็น 8 ระดบั คอื กกกกกกกกก ได้คะแนนร้อยละ 80 – 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถงึ ดีเย่ยี ม กกกกกกกกก ไดค้ ะแนนร้อยละ 75 – 79 ให้ระดับ 3.5 หมายถึง ดมี าก กกกกกกกกก ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 – 74 ให้ระดับ 3 หมายถึง ดี กกกกกกกกก ไดค้ ะแนนร้อยละ 65 – 69 ใหร้ ะดบั 2.5 หมายถึง คอ่ นขา้ งดี

39 กกกกกกกกก ไดค้ ะแนนร้อยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถงึ ปานกลาง กกกกกกกกก ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดับ 1.5 หมายถึง พอใช้ กกกกกกกกก ได้คะแนนร้อยละ 50 – 54 ให้ระดับ 1 หมายถึง ผ่านเกณฑ์ข้นั ตา่ ท่ีกาหนด กกกกกกกกก ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ให้ระดบั 0 หมายถึง ตา่ กวา่ เกณฑ์ขนั้ ต่าที่กาหนด กกกกกกก4. สาหรับข้อ 1.2, 2.2 และ 2.3 ผู้เรียนควรผ่านเกณฑ์ที่กาหนด ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ให้ครูผู้สอน ให้คาแนะนา ชี้แนะผู้เรียน หรือนาข้อมูลท่ีได้ไปปรับปรุงพัฒนา การจัด ประสบการณ์การเรยี นรขู้ องครผู ู้สอนให้มีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล อยา่ งมคี ุณภาพสูงขนึ้

40 หัวเรือ่ งท่ี 1 เหตใุ ดต้องเรียนรกู้ ญั ชาและกญั ชง สาระสาคญั กกกกกกก1. มมุ มองกฎหมายการใช้กญั ชาและกัญชงในประเทศไทยและตา่ งประเทศ กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ และ สามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศ ทางยุโรป เปน็ ต้น มีการอนุญาตให้ใช้กญั ชาเพือ่ การนันทนาการได้อกี ด้วย กกกกกกก2. มมุ มองการใช้กัญชาและกญั ชงของประชาชนท่ัวไป 2.1 มติ ิการระบาดของกัญชาและกญั ชง กกกกกกก ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรค ต่าง ๆ ตามความเช่ือของประชาชน ซ่ึงการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดยส่วนมากเป็นการแอบซือมา ใช้โดยไม่ทราบแหล่งท่ีมา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุม คุณภาพและความปลอดภัย หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามัน กัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นสิ่งถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบ หน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามให้ทัน ซ่ึงจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาตินอเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพ่ือการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไรดี และ เปน็ ตลาดทีก่ าลงั เจรญิ เติบโต 2.2 ความเชื่อที่เก่ยี วข้องกบั กัญชาและกญั ชงในวิถีชีวิต ความเช่ือในประเทศไทยและต่างประเทศ มีลักษณะคล้ายคลึงกันในการนากัญชา มาใช้ในการปรุงอาหารเพื่อเพ่ิมรสชาติ ในขณะท่ีประเทศไทยมีความเช่อื ว่ากัญชาเป็นส่วนผสมของยา พืนบ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ ส่วนในต่างประเทศจะใช้นามันกัญชาเพ่ือรักษาโรคและบรรเทาอาการ ป่วย ผู้ท่ีคิดจะนาน้ามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับตนเอง หรือ ผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งได้

41 2.3 การสารวจความคดิ เห็นของประชาชน จากผลการสารวจเรอื่ ง “คนไทยคดิ เหน็ อย่างไร กบั การนากญั ชามาใช้เป็นยารักษา โรค” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษาโรคใน ประเทศไทย เร่ือง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” พบว่าประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วย เพราะกัญชามี ประโยชน์หลายอย่าง สามารถใชใ้ นการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้ทางการแพทย์คาดว่าจะเกิดประโยชน์ อย่างมาก และเรื่อง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อมในทางการแพทย์” พบว่าประชาชนส่วน ใหญ่ รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์ ในพระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 กกกกกกก3. สภาพการณ์ข้อมูลท่เี กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านส่ือออนไลน์ มีทังข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหล่านี ทาให้ประชาชน เข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควรมีความรู้ในการคิด วิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่สืบค้นได้ผ่านส่ือออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคัญของการคิดวิเคราะห์ แยกแยะขอ้ มูลที่ถกู ต้อง กกกกกกก4. สภาพการณ์การใช้กญั ชาและกัญชงในตา่ งประเทศ การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ ใชเ้ สรไี ด้เพื่อนนั ทนาการ มีอยใู่ นประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ สเปนใช้ในพืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้านกาแฟ ในขณะที่ ประเทศอื่น ๆ มากกว่า 30 ประเทศ ให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์รวมถึงประเทศไทยด้วย ส่วน การศึกษาและวิจัยเก่ียวกับกัญชาและกัญชง มีในต่างประเทศมานานแล้ว สาหรับประเทศไทยไม่มี การศึกษาวจิ ัยเน่ืองจากกัญชาและกญั ชงเป็นยาเสพติด จงึ ไมม่ ีผลการวจิ ัยมารองรบั กกกกกกก5. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ในการ รักษาโรคภาวะคล่ืนไส้อาเจยี นในผปู้ ว่ ยทไี่ ด้รับยาเคมบี าบัด โรคลมชกั ทีร่ กั ษายากและทดี่ ือต่อยารักษา ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ภาวะปวดประสาทที่รักษาวิธีอ่ืนไม่ได้ผล และให้ควบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์ โรควิตกกังวล โรคปลอกประสาทอักเสบ และ ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้คัดเลือก และรับรองตารับยาท่ีมีกัญชาเป็น ส่วนประกอบ ให้ผู้ปว่ ยใชไ้ ด้โดยอยูภ่ ายใตก้ ารควบคุมดูแลของแพทยท์ ่ีได้รับอนุญาต กกกกกกก6. มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทางการแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใดได้ผล มีความปลอดภัยทางวิชาการ คุณภาพของสารสกัดจาก กัญชาและกัญชง ต้องระบุวิธีการสกัด มีสารปนเป้ือนหรือไม่ การเข้าถึงอย่างเป็นระบบทังระยะสัน

42 และระยะยาว รวมถึงมีการศึกษาเร่ืองความปลอดภยั การใช้ในคน และในมิติต่าง ๆ เพ่ือให้แน่ใจว่าใช้ แล้วไม่เกิดการเสพติด หรือมีการนาไปใช้ในทางที่ผิด ซ่ึงการผลิตยานันไม่ต้องการเพียงยาท่ีรักษาโรค เท่านัน แต่ยังต้องการยาท่ีมีความปลอดภัย มีมาตรฐาน และมีคุณภาพ แม้กัญชาและกัญชงจะมี สรรพคุณเป็นยาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรค แต่ถ้าใช้กัญชาอย่างไม่ถูกต้อง และไม่มีการ ควบคุมกจ็ ะเปน็ อันตรายทังตอ่ ผใู้ ช้และสังคม กกกกกกก7. มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของผปู้ ว่ ย ผู้ป่วยมีความคิดเห็นว่าการใช้กัญชาและกัญชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและความ ต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้ยา ในการจัดการอาการ เพ่ือบรรเทาอาการ ต่าง ๆ ของโรค ถึงแม้ว่าจะเกิดอาการข้างเคียงที่เป็นผลลบบ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าวขึนอยู่กับ ปริมาณการใช้ยาทมี่ กี ญั ชาและกัญชง และความแตกต่างของแตล่ ะบุคคล กกกกกกก8. สภาพการณแ์ ละขันตอนการให้บรกิ ารคลินิกกัญชาในประเทศไทย ประเทศไทยเร่ิมให้บริการคลินิกกัญชาครังแรก เม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ท่ี โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปิดที่ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมี า จังหวัดนครราชสีมา และวนั ท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2562 ได้เปิดคลินิก กญั ชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์ จานวน 14 แหง่ ตลอดจนภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มี การเปดิ คลนิ กิ กญั ชาทางการแพทย์แผนไทยเพิ่มเติมในโรงพยาบาลชมุ ชน จานวน 12 แหง่ รวมทงั เปิด คลินิกวิจัยนามันกัญชาตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกด้วย นอกจากนีวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน 110 แห่ง และคลินิก กัญชาทางการแพทย์แผนไทย 24 แหง่ เพื่อเพ่มิ การเข้าถงึ ยากญั ชาอยา่ งปลอดภัยของผปู้ ว่ ย ตวั ชีว้ ัด กกกกกกก1. บอกมุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศและต่างประเทศได้ กกกกกกก2. บอกมมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของประชาชนท่ัวไปได้ กกกกกกก3. วิเคราะห์หลกั การของข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องกบั กัญชาและกญั ชงผ่านส่ือออนไลน์แตล่ ะ ประเภทได้ กกกกกกก4. อธิบายสภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกัญชงในต่างประเทศได้ กกกกกกก5. อธิบายสภาพการณ์การใชก้ ัญชาและกัญชงในประเทศไทยได้ กกกกกกก6. บอกมมุ มองการใชก้ ญั ชาและกัญชงของบุคลากรทางการแพทย์ได้ กกกกกกก7. บอกมุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของผปู้ ่วยได้ กกกกกกก8. อธบิ ายสภาพการณ์และขันตอนการให้บริการคลนิ ิกกญั ชาในประเทศไทยได้

43 กกกกกกก9. ตระหนกั ถึงมมุ มองทุกมิติทเ่ี ก่ยี วข้องกับกญั ชาและกญั ชง รวมทังสภาพการณก์ ารใช้ กัญชาและกญั ชงในต่างประเทศ และประเทศไทย ขอบข่ายเนอื้ หา กกกกกกก1. มุมมองกฎหมายการใช้กญั ชาและกัญชงในประเทศไทยและต่างประเทศ กกกกกกก2. มมุ มองการใช้กัญชาและกญั ชงของประชาชนทวั่ ไป กกกกกกก3. สภาพการณ์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกบั กัญชาและกัญชงผ่านสอื่ ออนไลน์ กกกกกกก4. สภาพการณก์ ารใชก้ ัญชาและกัญชงในตา่ งประเทศ กกกกกกก5. สภาพการณ์การใชก้ ญั ชาและกัญชงในประเทศไทย กกกกกกก6. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบคุ ลากรทางการแพทย์ กกกกกกก7. มุมมองการใช้กัญชาและกญั ชงของผู้ป่วย กกกกกกก8. สภาพการณ์และขันตอนการให้บรกิ ารคลนิ ิกกัญชาในประเทศไทย รายละเอียดเนอื้ หา กกกกกกกทาไมประชาชนต้องเรียนรู้เกี่ยวกับกัญชาและกัญชงอย่างรู้เท่าทัน เนื่องจากมีการ เปล่ียนแปลงของกฎหมายที่เปิดกว้างให้ใช้กัญชาเป็นประโยชน์ทางการแพทย์ได้ ประกอบกับกระแส โลกและประชาชนในประเทศไทย มีความตื่นตัวให้ความสนใจการใช้ประโยชน์จากกัญชาและกัญชง ทางการแพทย์ เพื่อการรักษาโรคเป็นไปอย่างกว้างขวางมากขึน และรัฐบาลปัจจุบันก็ได้กาหนด นโยบายให้มีการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีการใช้กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ และ อุตสาหกรรมทางการแพทย์ ท่ีไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม โดยต้องปฏิบัติตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ อยา่ งเครง่ ครดั ดว้ ยเหตนุ ีจึงมคี วามจาเป็นต้องเตรียมสังคมให้มีความรู้เกี่ยวกับการใช้กัญชาและกัญชง เป็นยาอย่างถูกต้อง เหมาะสม โดยเฉพาะโทษของกัญชาและกัญชง เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ ความ เข้าใจเก่ียวกับกฎหมาย สภาพการณ์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านสื่อออนไลน์ การใช้ กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ และในประเทศไทย มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของบุคลากรทาง การแพทย์ และของผู้ป่วย รวมทังสภาพการณ์ และขันตอนการให้บริการคลินิกกัญชาในประเทศไทย เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้กัญชาและกัญชงอย่างถูกต้องกว้างขวางทุกมิติ ซ่ึงจะชว่ ยใหเ้ กิดความตระหนักรู้ถึงโทษ ทเี่ ปน็ พิษภัยของการใชผ้ ลิตภัณฑจ์ ากกัญชาและกญั ชงในทาง ท่ีผดิ อนั จะนาไปส่ผู ลเสียหายต่อตนเอง ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติที่ยากจะเยียวยาตามมาได้ การเรียนรู้เก่ียวกับการใช้กัญชาและกัญชงในหลักสูตรนี ไม่ส่งเสริมให้มีการปลูก หรือผลิตส่ิงที่เป็น

44 ผลิตภัณฑ์จากพืชกัญชาและกัญชง แต่เป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับพืชกัญชา และกญั ชงทถ่ี ูกต้อง โดยสามารถนาไปใช้เปน็ ประโยชน์ทางการแพทยเ์ ท่านัน ดังมรี ายละเอยี ดตอ่ ไปนี กกกกกกก1. มุมมองกฎหมายการใชก้ ัญชาและกญั ชงในประเทศไทยและตา่ งประเทศ การเปล่ียนแปลงกฎหมายการใช้กัญชาและกัญชงของแต่ละประเทศนัน เกิดจาก แรงผลักดันของประชาชนนาไปสู่การแก้ไขกฎหมายของรัฐ ในประเทศท่ีเจริญแล้วจะมีกลไกทาง กฎหมายท่ีเข้มแข็ง สาหรับประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายให้ใช้กัญชาและกัญชงทาง การแพทย์ได้ เพราะฉะนันมีความจาเป็นที่ประชาชนจะต้องเรียนรู้เก่ียวกับมุมมองกฎหมายใน ตา่ งประเทศและประเทศไทย เพื่อเขา้ ใจ และรเู้ ท่าทันบริบทในสงั คมเป็นอยา่ งไร กกกกกกก 1.1 มมุ มองกฎหมายการใช้กญั ชาและกญั ชงในประเทศไทย ในอดีตประเทศไทยให้กัญชาและกัญชงเป็นสารเสพติดประเภทท่ี 5 จนกระท่ังถึง วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ได้มีการแก้ไขกฎหมายเพ่ิมเติมพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อ ประโยชน์ทางการแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ ได้ เป็นเรื่องท่ีสังคมไทยรับรู้มาตังแต่ปี พ.ศ. 2561 เพียงแต่องค์การสหประชาชาติ (UN : United Nations) มีขอ้ กาหนดเร่ืององค์กรกลาง ในการกากับดแู ลการใช้กัญชาทางการแพทย์ กล่าวคือ ในกรณี ที่มีการเพาะปลูกกัญชา หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดตังองค์กรกลาง หรือหน่วยงานกัญชาแห่งชาติ ขึนมากาหนดดูแลเขตพืนท่ี และที่ดินที่จะปลูกกัญชา รวมถึงจัดตังระบบการออกใบอนุญาต ซึ่งขณะนี ประเทศไทย มีสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองค์กรกลางท่รี ับผิดชอบอยู่ แต่ปัญหา ท่ีเกิดขึนภายหลังจากที่กฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือ ประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาในทาง การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับตังแต่วันถัด จากวันทป่ี ระกาศในราชกิจจานุเบกษา คอื วันที่ 19 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 กฎหมายไดใ้ ห้ใช้กัญชาเพื่อ ประโยชน์ทางการแพทย์และการรักษาผู้ป่วย แต่ในความเป็นจริงคือ ไม่มีกัญชาในปริมาณเพียงพอ สาหรับรกั ษาผู้ป่วย นอกจากนียังมีการเคลื่อนไหวทางสังคม ของกล่มุ นักการเมือง ผูอ้ อกกฎหมาย และ เหล่าเกษตรกรผู้เพาะปลูก ผู้สนับสนุน ทาให้ประชาชนท่ัว ๆ ไป ได้รับรู้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมาย การใช้กัญชาและกัญชงมีทังที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง จึงมีความจาเป็นที่คนไทยต้องเรียนรู้กฎหมายการ ใช้กัญชาและกัญชงที่ถูกต้อง ทังในอดีตและปัจจุบัน เพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันให้สามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ไม่ฝ่าฝืนกฎหมายก่อเกิดปญั หาสังคม (รายละเอยี ดเกยี่ วกับกฎหมายการใช้กัญชาและกญั ชงในประเทศ ไทยสามารถศึกษาไดจ้ ากหวั เร่ืองท่ี 4 กฎหมายที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง)

45 กกกกกกก 1.2 มุมมองกฎหมายการใช้กญั ชาและกญั ชงในตา่ งประเทศ ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย อุรกุ วัย เป็นประเทศแรกท่ีเปิดให้ใช้กัญชาได้อย่างกว้างขวางขึน โดย แคนาดา ประธานาธิบดี โฮเซ มูฮิกา (Jose Mujica) ออกกฎหมายเมื่อ เดอื นธนั วาคม ค.ศ. 2013 หรอื พ.ศ. 2556 และในเดือนสงิ หาคม เนเธอรแ์ ลนด์ ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. 2557 อนุญาตให้ประชาชนปลูกกัญชาที่ บ้านได้บ้านละ 6 ต้น ให้รวมกลุ่มเป็นสโมสรผู้ปลูกกัญชา และ เปิดให้มีรา้ นขายกญั ชาได้โดยรฐั บาลควบคุมเอง 28 พฤษภาคม ค.ศ. 2019 หรือ พ.ศ. 2562 โดยมูลนิธิ สาธารณสุขแห่งชาติ ข้อมูลจากการบรรยายเร่ือง “บทเรียนการ จัดการนโยบายจากประเทศแคนาดา” ใช้กัญชาทางการแพทย์ ตงั แตป่ ี ค.ศ. 2001 หรอื พ.ศ. 2544 และ มพี ระราชบัญญัติฉบับ ใหม่เม่ือเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 นอกจากใช้ ทางการแพทยแ์ ล้ว ล่าสุดอนุญาตให้ประชาชนใช้เพื่อนันทนาการ ได้ด้วย ประเทศแคนาดากลายเป็นประเทศท่ี 2 ของโลก ต่อจาก ประเทศอุรุกวัยท่ีประชาชนสามารถเสพกัญชาได้อย่างเสรี รวม ไปถึงการเพาะปลูก จนการซือขาย ประเทศแคนาดาเป็น ประเทศแรก ๆ ของโลกท่มี กี ารใช้กัญชาในทางการแพทย์ ซงึ่ เป็น ประโยชน์ต่อผู้ป่วย “แม้ก่อนหน้านีรัฐบาลจะบอกว่าไม่ต้องการ เปิดเสรีกัญชา แต่ศาลพิจารณาว่าการปฏิเสธสิทธิของประชาชน เปน็ การกระทาท่ีไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ รัฐบาลต้องเปิดเสรี น่ี คือเหตุผลท่ีเรมิ่ ใช้ทางการแพทย์” เป็นประเทศแรกท่ีนาร่อง ในการผ่อนปรนการควบคุมกัญชา ที่ เร่ิมแบ่งยาเสพติดเป็นกลุ่มอันตรายมากกว่า และน้อยกว่า และ จัดกญั ชาอยูใ่ นกลุม่ อันตรายน้อยกว่า ในปี ค.ศ. 1972 หรือ พ.ศ. 2515 ซึ่งกาหนดการครอบครองกัญชาไม่เกิน 30 กรัม เป็น ความผิดอาญาไม่ร้ายแรง ปัจจุบันนโยบายความผิดทางอาญา สาหรับยาเสพติดไม่ร้ายแรง เช่น การมียาเสพติดประเภทสอง ไม่เกิน 5 กรัม จะไม่ถูกฟ้องร้องเป็นคดีอาญา การทาให้กัญชา เปน็ ส่งิ ถกู ต้องในกฎหมายกัญชา เริ่มในปี ค.ศ. 2005 หรือ พ.ศ. 2548

46 ประเทศ มุมมองทางกฎหมาย สหรัฐอเมริกา มีกฎหมายใหม่เรียกว่า “Amsterdam drugs Laws” กฎหมาย นีอนุญาตให้ขายกัญชาในร้านกาแฟ (Coffee shops) ได้ โดย กาหนดให้คนท่ีมีบัตรสมาชิกสามารถเข้าร้านประเภทนีได้ แต่ ประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ในพืนท่ีจะร้องเรียนเรื่องปัญหา อาชญากรรมที่สูงขึน เพราะมกี ารค้ายาเสพตดิ ตามท้องถนน ใช้รูปแบบการปกครองประเทศแบบสหพันธรัฐ (Federal State) ประกอบด้วยมลรัฐ 50 มลรัฐ (State Government) และการ ปกครองในระดับท้องถิ่น (Local Government) รัฐธรรมนูญ สหรัฐอเมริกาได้อธิบายอานาจในการออกกฎหมายว่า “อานาจ ทังหมดทไี่ ม่ได้มอบให้แก่รฐั บาลกลาง แต่จะสงวนไวใ้ ห้แก่รัฐบาล มลรัฐ” โดยกฎหมายอาญาไดถ้ ูกกาหนดให้อย่ภู ายใต้ขอบข่าย อานาจรัฐบาลกลาง ยกเว้นการกระทาท่เี ป็นอันตรายต่อประเทศ เท่านัน ในกฎหมายรัฐบาลกลาง รัฐสภาสหรัฐอเมริกากาหนดให้ การใช้กัญชายังคงเป็นสิ่งผิดกฎหมาย กัญชาเป็นยาเสพติด และ การจาหน่ายกัญชาเป็นอาชญากรรม โดยมีกระทรวงยุติธรรม (The Department of Justice) เป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย ควบคุมยาเสพติด (The Controlled Substances Act) ส่วน กฎหมายมลรัฐมีความแตกต่างกัน ขณะนีมี 33 มลรัฐ ท่ีอนุญาต ให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ และมี 10 มลรัฐ ท่ีอนุญาตให้ใช้ กัญชาในทางนันทนาการ แต่กัญชายังคงเป็นยาเสพติดที่ผิด กฎหมาย จึงไม่ได้รับการรับรองให้ใช้เป็นยารักษาโรคได้ แม้ว่า มลรัฐต่าง ๆ จะได้แก้กฎหมายให้ใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนัน ผทู้ ่ีครอบครองและแจกจ่ายกัญชาจะต้องได้รบั โทษ มีผลทาใหก้ าร ใชก้ ัญชาทางการแพทยด์ าเนนิ การในตลาดมดื

47 ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย อังกฤษ มีกฎหมายควบคุมยาเสพติดมากกว่า 25 ฉบับ ตามกฎหมายว่า ด้วยการใช้ยาในทางท่ีผิด ซ่ึงควบคุมการใช้ยาตามบัญชีรายช่ือ ออสเตรเลยี โดยมีการจาแนก นาเข้า ผลิต จัดส่ง ครอบครองยาไว้เพ่ือการ จัดส่งและครอบครอง นโยบายยาเสพติดที่ชัดเจนเก่ียวกับกัญชา เริ่มตังแต่ ค.ศ. 1971 หรือ พ.ศ. 2514 จากการตราพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการใช้ยาในทางท่ีผิด เพ่ือให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณี ของสนธิสัญญาระหว่างประเทศ หลายสนธิสัญญาที่ได้ให้ สัตยาบันไว้ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามของรัฐบาลท่ีจะ พัฒนายุทธศาสตร์ยาเสพติดระดับชาติที่สามารถแก้ไขปัญหา การเสพยาและการตดิ ยาเสพตดิ ท่ีแพรร่ ะบาดมาอยา่ งยาวนานใน สงั คม ได้พัฒนาแผนยทุ ธศาสตร์ยาเสพติด ในปี ค.ศ. 2008 - 2018 หรือ พ.ศ. 2551 - 2561 เพ่ือแก้ไขและปรับปรงุ แผนยทุ ธศาสตร์ 10 ปี กรุงแคนเบอร์ราเป็นเมืองแห่งแรกท่ีมีการรับรองการปลูกและใช้ กญั ชาเพอื่ นนั ทนาการ สอื่ ท้องถิ่นออสเตรเลียรายงานว่า สภาเขต (Australian Capital Tarritory, ACT) ได้ผ่านกฎหมายอนุญาต ใหม้ ีการปลูกกัญชาในบ้าน รวมถึงครอบครองกัญชาได้ไม่เกนิ 50 กรัม เพ่ือใช้นันทนาการ นับว่าเป็นรัฐแรกของออสเตรเลียท่ีผ่าน กฎหมายการใช้กัญชาในลักษณะดังกล่าว ในส่วนของรัฐอื่น ๆ การใชก้ ัญชาเพื่อนันทนาการยังคงผิดกฎหมาย ออสเตรเลยี ได้ผ่าน กฎหมายให้สามารถใช้กัญชาทางการแพทย์ได้ท่ัวประเทศตังแต่ ปี ค.ศ. 1973 หรือ พ.ศ. 2516 สภาเขต (ACT) ได้ลงมติร่างกฎหมาย อนญุ าตใหป้ ระชาชนทีอ่ ายตุ ังแต่ 18 ปีขนึ ไป สามารถครอบครอง กัญชาแห้งได้ไม่เกินคนละ 50 กรัม หรือสามารถปลูกเพ่ือใช้ บริโภคในครัวเรือนได้ไม่เกินคนละ 2 ต้น สูงสุดไม่เกิน 4 ต้น ตอ่ หนึ่งครอบครัว

ประเทศ 48 อิสราเอล มมุ มองทางกฎหมาย คณะรัฐมนตรีประเทศอิสราเอลร่างแก้ไขกฎหมายลดโทษให้ ผู้เสพกัญชา โดยจะไม่จับกุมดาเนินคดีในทันที แต่ให้เสียค่าปรับ ในการกระทาผิดครังแรกและครังท่ีสอง การลดโทษดงั กลา่ วมีขึน สาหรับผู้เสพกัญชารายบุคคลเท่านัน โดยผู้ท่ียอมรับสารภาพ ในการกระทาผิดครังแรกจะถูกปรับเป็นเงิน 1,000 เชเคล (ประมาณ 9,400 บาท) แตจ่ ะถกู ปรบั เพ่ิมเป็นสองเท่าหากพบว่า กระทาผิดซาสอง อย่างไรกต็ ามผู้ที่ยังกระทาผดิ เป็นครงั ที่สามจะ ถูกภาคทัณฑ์ และจะถูกดาเนินคดีอาญาในครังที่สี่ ทังนี การซือ ขายและผลิตกัญชายังคงเป็นความผิดอาญาตามกฎหมายของ อิสราเอล แต่การพิจารณาลดโทษครังนีมีขึนตามคาแนะนาของ คณะกรรมการศึกษาปัญหายาเสพติด และตามแนวทางของ ประเทศพัฒนาแล้วในยุโรปและสหรัฐอเมริกาท่ีไม่ถือว่าการเสพ กัญชาในหลายกรณีเป็นความผิดอาญา แต่เน้นใช้ในการศึกษา และช่วยเหลือบาบัดแก้ไขปัญหาการเสพติดแทน นายกรัฐมนตรี เบนจามิน เนทันยาฮู ของอิสราเอลเผยว่า การลดโทษดังกล่าว มีขึนอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยในทางหน่ึงอิสราเอลได้เปิดกว้าง รับแนวทางแห่งอนาคตมาใช้ แต่ในอีกทางหน่ึงก็ยังคงตระหนัก ถึงอันตรายของยาเสพติด รัฐบาลจึงพยายามสร้างสมดุลระหวา่ ง แนวทางทังสอง โดยร่างแก้ไขกฎหมายนียังต้องผ่านความ เห็นชอบจากรัฐสภาอีกขันหน่ึง จึงจะเริ่มประกาศใช้ได้ สถิติของ สานักงานป้องกันยาเสพติดและปราบปรามอาชญากรรมแห่ง สหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crimes, UNODC) ระบุว่ามีผู้ใช้กัญชาในอิสราเอลเกือบร้อยละ 9 ของ ประชากรทังหมด แต่เชือ่ กันวา่ ตวั เลขจรงิ สงู กวา่ นันมาก ประเทศ อิสราเอลยังเป็นประเทศผู้วิจัยเพื่อใช้กัญชาทางการแพทย์ชันนา ของโลกอกี ด้วย

49 ประเทศ มมุ มองทางกฎหมาย มาเลเซยี สานกั ขา่ ว Talking Drugs และ Highland รายงานตรงกนั ว่าเม่ือ วันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 ศาลสูงของ มาเลเซียตัดสินประหารชีวิต นายมูฮัมหมัด ลุคแมน โดยการ แขวนคอ มีความผิดฐานครอบครอง ผลิต และแจกจ่ายนามัน กัญชาจานวน 3 ลิตร และกัญชาอัดแท่งปริมาน 279 กรัม ซ่ึง เป็นของกลางที่เจ้าหน้าท่ียึดได้จากบ้านพัก เม่ือวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 2015 หรือ พ.ศ. 2557 โดย นายลุคแมน ใช้นามันกัญชา เพ่ือรักษาลูก และแจกจ่ายให้กับคนไข้คนอื่น ๆ โดยไม่คิด คา่ ตอบแทน อย่างไรกต็ ามการกระทานี ถอื ว่าผิดกฎหมายยาเสพ ติดอันตราย ปี ค.ศ. 1952 หรือ พ.ศ. 2495 ของมาเลเซีย ท่ีระบุ ว่า “ผูใ้ ดทแ่ี จกจ่ายยาเสพตดิ ผิดกฎหมาย ถอื วา่ มคี วามผิด และมี โทษถงึ ประหารชีวติ ” กกกกกกกกล่าวโดยสรุป กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้กัญชาและกัญชงในประเทศไทยและ ต่างประเทศ เพ่ือเปิดโอกาสให้สามารถนากัญชา ไปทาการศึกษาวิจัยและพัฒนาเพ่ือประโยชน์ทาง การแพทย์ และสามารถนาไปใช้ในการรักษาโรคภายใต้การดูแลและควบคุมของแพทย์ได้ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศอุรุกวัย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย อิสราเอล และมาเลเซีย แต่ในบางประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา หรือในบางรัฐของประเทศ สหรัฐอเมรกิ า และประเทศทางยโุ รป เปน็ ตน้ มีการอนญุ าตใหใ้ ชก้ ญั ชาเพอ่ื การนนั ทนาการได้อีกดว้ ย ถาม ผูป้ ่วยสามารถหาซือยากญั ชารักษาตนเองไดไ้ มผ่ ดิ กฎหมาย จรงิ หรอื ไม่ ตอบ ไม่จริง เพราะกฎหมายยังไม่อนุญาตให้ผู้ป่วยหาซือกัญชาท่ีขายตาม ท้องตลาด หรือออนไลน์ได้ เน่ืองจากคุณภาพอาจจะยังไม่ผ่านมาตรฐาน และอาจเป็น อันตรายแก่ผู้ป่วยได้ แต่ผู้ป่วยสามารถเข้ารับการรักษาจากคลินิกกัญชาทางการแพทย์ ของโรงพยาบาลทไี่ ด้รับอนุญาตได้

50 กกกกกกก2. มมุ มองการใช้กัญชาและกญั ชงของประชาชนท่วั ไป 2.1 มติ กิ ารระบาดของกญั ชาและกญั ชง 2.1.1 มติ ิการระบาดของกัญชาและกัญชงในประเทศไทย ก เมอื่ วันท่ี 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 นายมโนรมภ์ สินธพอาชากุล หัวหนา้ กลุ่ม งานแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั เชียงใหม่ เปิดเผยว่า ในชว่ งนี มีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเชื่อของ ประชาชน ซึ่งขณะนียังไม่เคยมีการอนุญาตให้นากัญชาหรือนามันกัญชามาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ จากการแพร่กระจายของการนานามันกัญชามาใช้ในปัจจุบัน ส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อยเพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและ ความปลอดภัย หลังจากที่ประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา จนเกิด อาการความดันต่า หน้ามืด อาการใจสั่น อาการคลุ้มคล่ัง จนต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล เกอื บทัว่ ประเทศจากสถิติพบแทบทุกวัน แพทย์ต้องทาการรักษาอาการแบบประคบั ประคองจนอาการ ดีขึน ซง่ึ ตอ้ งใช้เวลานานหลายวัน ปจั จุบนั กระทรวงสาธารณสุข ยงั ไม่สามารถควบคุมผใู้ ช้นามันกัญชา ได้ เนอื่ งจากผปู้ ่วยสว่ นใหญห่ ามาใชเ้ อง โดยไม่มีการปรกึ ษาแพทย์ 2.1.2 มิติการระบาดของกญั ชาและกัญชงในต่างประเทศ เมื่อวันท่ี 12 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ข้อมูลจากบีบีซี นิวส์ รายงานว่า รัฐบาล หลายประเทศกาลังวางแผนจะทาใหก้ ารใช้กญั ชาทางการแพทย์และนนั ทนาการถูกกฎหมาย มกี ารลง ประชามติว่าควรจะดาเนินการนโยบายการใช้กญั ชาในทิศทางใด ซึ่งมกี ารเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ท่ีกาลัง เกิดขนึ หลายประเทศ เช่น (1) ประเทศองั กฤษ มีการอนญุ าตใหใ้ ชก้ ัญชาทางการแพทย์ได้ (2) ประเทศ เกาหลีใต้ มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แต่มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด (3) ประเทศ แอฟริกาใต้ ผ่านกฎหมายสามารถให้ใช้กัญชาในพืนที่ส่วนตัวได้ และ (4) ประเทศเลบานอน กาลัง พจิ ารณาวา่ จะทาให้การผลติ กัญชาเพ่ือการแพทย์ถูกกฎหมาย เพอ่ื ช่วยเศรษฐกจิ ของประเทศ เปน็ ต้น และหลายประเทศท่ัวโลกมุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิงถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง พยายามจะก้าวตามให้ทัน ซึ่งจะเห็นได้หลายแห่งในภูมิภาคลาตินอเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชา เพ่ือการแพทย์มากขึน เพราะได้ผลกาไรดี และเป็นตลาดท่ีกาลัง เจรญิ เติบโต กล่าวโดยสรุป ในประเทศไทยมีการแพร่กระจายของการนานามันกัญชา มาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ ตามความเชื่อของประชาชน ซึ่งการใช้นามันกัญชาในปัจจุบันโดย ส่วนมากเป็นการแอบซือมาใช้โดยไม่ทราบแหล่งที่มา และไม่ทราบว่าใช้กัญชาในการผลิตมากน้อย เพียงใด ไม่มีการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย หลังจากท่ีประชาชนนาไปใช้ ทาให้ได้รับ ผลข้างเคียงจากการใช้นามันกัญชา และในต่างประเทศทั่วโลก มุ่งหน้าสู่การทาให้กัญชาเป็นส่ิง

51 ถูกกฎหมาย ในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง ในหลายประเทศพยายามจะก้าวตามใหท้ ัน ซึ่งจะเห็นได้หลาย แห่งในภูมิภาคลาตินอเมริกา รัฐบาลอยากให้ชาวไร่ สามารถเข้าถึงการปลูกกัญชาเพ่ือการแพทย์มาก ขึน เพราะไดผ้ ลกาไรดี และเปน็ ตลาดทกี่ าลังเจริญเตบิ โต 2.2 ความเช่ือท่เี ก่ยี วข้องกบั กัญชาและกญั ชงในวิถชี ีวิต 2.2.1 ความเช่ือในประเทศไทย จากการลงพืนที่สารวจความรู้ของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร ในพืนท่ีภาคใต้ พบว่า ชาวบ้านมีการใช้กัญชาโดยนาใบอ่อนมาใช้ในการปรุงอาหาร นามาใส่แกงส้ม แกงกะทิ แกงมัสม่ัน เมนูผัดต่าง ๆ หรือใช้รับประทานสด เป็นผักจิมนาพริก นาบูดู แต่จะใช้ปริมาณ น้อย 1 - 2 ใบ (ใช้มากจะทาให้เมาได้) มีความเชื่อกัญชาเพิ่มรสชาติอาหาร ทาให้รับประทานข้าวได้ มาก นอนหลับ ในส่วนของการใชป้ ระโยชน์ทางยา หมอยาพนื บ้านภาคใต้นาใบกัญชามาใช้แก้ปวดฟัน โดยนาใบมาขยีพอแหลก ไปพอกหรืออุดบริเวณที่มีอาการ หรือนาไปต้มจนเดือดด่ืมอุ่น ๆ ช่วยรักษา อาการปวดเม่ือย เป็นยากษัยเส้น ทาให้ผ่อนคลาย คลายเครียด หรืออีกตารับหน่ึง นาใบกัญชาตา ละเอียดผสมนาต้มสุกพอกหนังศีรษะประมาณครึ่งชั่วโมงแก้อาการผมร่วง คันหนังศีรษะได้ นอกจาก ภาคใต้แล้ว หมอยาพืนบ้านในภาคอื่น ใช้ดอกกัญชาป้ิงไฟให้เหลืองกรอบ ตาผสมพริกแกงเผ็ดปรุงให้ คนไข้เบ่ืออาหารรับประทาน ทาให้คนไข้รับประทานข้าวได้มาก บางท่ใี ชน้ าจากบ้องกัญชาให้คนไข้อหิวาต์ ดื่ม ทาให้คนไข้ได้พัก ต่ืนมาอาการทุเลาลง ในตารับยาพืนบ้านล้านนาใช้กัญชาผสมกับพริกไทยบด ผสมนาดม่ื ทกุ คืน เช่ือวา่ เป็นยาคมุ กาเนิดสาหรบั สตรีได้ แตย่ งั ไมม่ ีผลการศกึ ษาวจิ ัยรบั รอง 2.2.2 ความเช่อื ในต่างประเทศ ประเทศในแถบยุโรป อเมริกา รวมถึงประเทศท่ีกฎหมายอนุญาตให้ สามารถครอบครองกัญชาได้ ทาการพัฒนาสูตรอาหารจากกัญชาขึน เริ่มจากเมนูพืนฐานอย่างชา กญั ชา บราวน่กี ัญชา คกุ กกี ัญชา ขนมปงั เนยกระเทียมกญั ชา ไปจนถึงเมนอู ย่างสปาเกตตี หรือนาสลดั ท่ีใช้แคนนาบิส บัตเตอร์ (Cannabis Butter) หรือเนยกัญชาในการปรุงนาสลัด มีความเชื่อว่าการใช้ เนยกญั ชาในการปรงุ อาหารจะชว่ ยเพ่ิมรสชาติและกลนิ่ ใหห้ อม แตกต่างจากการใชเ้ นยธรรมดา นอกจากนยี งั มคี วามเชื่อในการนานามนั กัญชามาใช้เพ่ือรักษาโรคมะเร็งและ โรคร้ายแรงต่าง ๆ ได้แก่ การใช้นามันสูตร รคิ ซิมป์สนั ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) วา่ สามารถช่วย รักษาหรือบรรเทาอาการจากโรคท่ีตนเองประสบอยู่ได้ และมีความเช่ือเกี่ยวกับการใช้กัญชาเพื่อ กระต้นุ อารมณ์ก่อนการมีเพศสัมพันธ์ ทังนียงั ไมม่ ีการศึกษาวิจัยอยา่ งชัดเจนทังในเร่ืองสารสกัดกัญชา สามารถรักษาโรคมะเร็ง หรือสามารถกระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกทางเพศได้ ผู้ที่คิดจะนาน้ามันกัญชา ไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับตนเอง หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้ แต่มีผล การศึกษาวจิ ยั กัญชาจะไปช่วยในเรอื่ งของคุณภาพชวี ิตของผูป้ ว่ ยในบางโรคให้ดีขนึ

52 กล่าวโดยสรุป ความเชื่อในประเทศไทยและต่างประเทศ มีลักษณะ คล้ายคลึงกันในการนากัญชามาใชใ้ นการปรุงอาหารเพ่ือเพิ่มรสชาติ ในขณะท่ีประเทศไทยมีความเช่ือ ว่ากัญชาเป็นส่วนผสมของยาพืนบ้านใช้ประโยชน์ทางยาได้ ส่วนในต่างประเทศจะใช้นามันกัญชาเพือ่ รักษาโรคและบรรเทาอาการป่วย ผู้ท่ีคิดจะนาน้ามันกัญชาไปใช้จึงควรตระหนักถึงโทษอันตรายที่ อาจจะเกิดขน้ึ กับตนเอง หรือผู้มสี ว่ นเกี่ยวข้องได้ 2.3 การสารวจความคดิ เหน็ ของประชาชน 2.3.1 การสารวจความคิดเห็นของศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทาง การเกษตร (แม่โจ้โพล) ระหว่างวันที่ 1 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2561 เร่ือง “คนไทยคิดเห็นอย่างไร กับการนากัญชามาใช้เป็นยารักษาโรค” ได้ทาการสารวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศ จานวน 1,426 หน่วยตัวอย่าง มีวัตถุประสงค์เพื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนท่ัวไป เก่ียวกับ การปลดล็อกกัญชา ให้สามารถใช้เป็นยารักษาโรค ผลการสอบถามความเข้าใจเกี่ยวกับกัญชา พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 64.03 เห็นว่ากัญชาเป็นยาสูบประเภทหน่ึงคล้ายบุหรี่ อันดับ 2 ร้อยละ 59.68 เห็นว่า กญั ชาเปน็ ยาเสพตดิ ให้โทษ อันดบั 3 ร้อยละ 45.86 เหน็ ว่ากัญชาเป็นส่วนผสมในอาหารบางประเภท และอันดับ 4 ร้อยละ 10.73 เห็นว่ากัญชาเป็นยารักษาโรค และผลการสอบถามประเด็นการผลักดัน ให้กัญชาสามารถนามาใช้เป็นยารักษาโรคได้ พบว่า อันดับ 1 ร้อยละ 61.78 เห็นว่าช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการใช้ยานาเข้าจากต่างประเทศได้ อันดับ 2 ร้อยละ 59.75 เห็นว่าสารท่ีพบในกัญชา สามารถ นามาวิจัยและผลิตเปน็ ยารักษาโรคได้ และอนั ดับ 3 ร้อยละ 52.66 เห็นวา่ ปจั จุบนั กัญชาเปน็ ทยี่ อมรับ ว่าเป็นของถูกกฎหมายในบางประเทศแล้ว จากผลการสารวจสะท้อนให้เห็นว่า (1) ประชาชนส่วน ใหญ่เห็นด้วยกับการผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้เป็นยารักษาโรคในประเทศไทย (2) ราคายารักษา โรคในประเทศไทย ยังมีค่าใชจ้ ่ายสงู ทาให้เกดิ ความเหลื่อมลาของคนภายในประเทศ ในการเข้าถงึ การ รักษาด้วยตัวยาบางประเภท (3) การนากัญชามาสกัดทายารักษาโรคในครังนี อาจส่งผลดีต่อการ เขา้ ถงึ ตวั ยา และลดความเหล่อื มลาในสงั คมได้ และ (4) สามารถลดงบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายในการนาเข้า ยารักษาโรคบางชนิดจากตา่ งประเทศ 2.3.2 การสารวจความคิดเห็นของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ได้ ทาการสารวจความคิดเห็นของประชาชนเร่ือง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” ระหว่างวันที่ 16 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2561 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึนไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และ อาชีพท่ัวประเทศ จานวน 1,250 หน่วยตัวอย่าง เก่ียวกับการทาให้กัญชาถูกกฎหมายเพื่อการรักษา โรค ประเด็นทราบหรือเคยได้ยินเกี่ยวกับประโยชน์ของกัญชาท่ีสามารถนามาใช้เป็นยารักษาโรคได้ พบว่า (1) ร้อยละ 68.24 ระบุว่า ทราบหรือเคยได้ยิน (2) ร้อยละ 31.36 ระบุว่า ไม่ทราบหรือไม่เคย ไดย้ ิน และ (3) ร้อยละ 0.40 ไม่ระบุหรอื ไม่แน่ใจ และประเด็นการมีกฎหมายเฉพาะให้ใช้กัญชาเป็นยา รกั ษาโรคโดยถูกกฎหมายในอนาคต พบวา่ (1) รอ้ ยละ 72.40 เหน็ ด้วย เพราะกญั ชามีประโยชน์หลายอย่าง

53 สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ถ้านามาใช้ทางการแพทย์น่าจะเกิดประโยชน์อย่างมาก (2) ร้อยละ 24.96 ไม่เห็นด้วย เพราะถ้าทาให้ถูกกฎหมายจะมีผลเสียมากกว่าผลดี และ (3) ร้อยละ 2.64 ไม่ระบุหรือ ไมแ่ นใ่ จ 2.3.3 การสารวจความคิดของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ร่วมกับ กรมประชาสัมพันธ์ ทาการสารวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและ กระท่อมในทางการแพทย์” ระหว่างวันที่ 11 - 18 เมษายน พ.ศ. 2562 จากประชาชนที่มีอายุตังแต่ 18 ปขี ึนไป ทวั่ ทกุ ภมู ิภาคของประเทศ จานวนทังสนิ 2,058 หน่วยตัวอยา่ ง พบว่า (1) ประชาชนส่วน ใหญ่ ร้อยละ 82.07 พอทราบข้อมูล และ (2) ร้อยละ 17.93 ทราบดีเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้ ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อมทางการแพทย์ ในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 กล่าวโดยสรุป จากผลการสารวจเรื่อง “คนไทยคิดเห็นอย่างไร กับการนา กญั ชามาใชเ้ ปน็ ยารักษาโรค” พบว่าประชาชนสว่ นใหญเ่ ห็นดว้ ยกับการผลักดันให้มีการนากัญชามาใช้ เป็นยารักษาโรคในประเทศไทย เรอ่ื ง “กัญชาประโยชน์หรือโทษ” พบว่าประชาชนสว่ นใหญ่ เหน็ ดว้ ย เพราะกญั ชามีประโยชนห์ ลายอยา่ ง สามารถใช้ในการรักษาโรคได้ ถ้านามาใช้ทางการแพทยค์ าดว่าจะ เกิดประโยชน์อย่างมาก และเร่ือง “การอนุญาตให้ใช้กัญชาและกระท่อมในทางการแพทย์” พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อม ทางการแพทย์ ในพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 กกกกกกก3. สภาพการณข์ ้อมูลท่เี กีย่ วข้องกับกญั ชาและกัญชงผา่ นส่อื ออนไลน์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านส่ือออนไลน์มีทังข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูลเหล่านี ทาให้ประชาชน เขา้ ถงึ ได้ง่าย แตย่ งั ขาดการคิดวิเคราะห์ข้อมลู ว่า ข้อมูลใดคือข้อมูลที่น่าเช่ือถือ จงึ ควรมีความรู้ในการ วิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่สืบค้นได้ผ่านส่ือออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคัญของการคิดวิเคราะห์ แยกแยะขอ้ มลู ที่ถูกต้อง 3.1 แนวทางการแยกแยะขอ้ มูลผ่านส่อื ออนไลน์ ปัจจุบันสื่อออนไลน์เข้ามามีอิทธิพลต่อสังคมไทยอย่างมาก จึงต้องพึงระวังเพราะ ข้อมูลในสื่อออนไลน์ไม่ได้เป็นความจริงทังหมด กระแสข้อมูลท่ีหลั่งไหลอยู่ในส่ือออนไลน์มีมากมาย บางครังเป็นข้อมูลท่ีผู้พบเห็นเหตุการณ์เป็นผู้โพสต์ภาพเอง และถ่ายทอดประสบการณ์โดยตรง แต่บางครังก็อาจจะเป็นการสร้างเร่ืองขึนมา หรือตัดต่อภาพเพื่อดึงดูดความสนใจให้ข้อมูลเป็นท่ี น่าเชื่อถือ โดยไม่สนใจต่อผลกระทบที่ตามมา อาจเรียกได้ว่าสื่อออนไลน์เป็นเหมือนดาบสองคมที่เรา จะต้องรู้เท่าทันเพื่อไม่ให้ตกเป็นเหย่ือของส่ือออนไลน์ ดังนันจึงมีความจาเป็นต้องสร้างภูมิคุ้มกัน ใหป้ ระชาชนในการค้นหาข้อมลู ผา่ นส่ือออนไลน์ หลักการรู้เทา่ ทนั สอื่ ออนไลน์ มี 3 หลกั การ ดงั นี

54 หลักการท่ี 1 การค้นหาข้อมูลในส่ือออนไลน์ ต้องตังคาถามกับตัวเองทุกครังว่า ข้อมูลดังกล่าวมาจากไหน หากแหล่งข่าวหรือที่มาไม่มีความน่าเช่ือถือ ข้อมูลในข่าวก็ไม่น่าเชื่อถือ เช่นกัน อยา่ เช่ือสิ่งท่เี หน็ หรือไดย้ ินทกุ ครงั จนกว่าจะรู้ทม่ี าของแหลง่ ข่าวมาจากไหน หลักการที่ 2 การติดตามข่าวสารผ่านส่ือออนไลน์ปัจจุบันถือว่าเป็นส่ิงสาคัญมาก เพราะช่องทางของส่อื ออนไลน์ทก่ี ระจายข่าวสารได้อยา่ งรวดเร็ว ตวั อย่างเช่น อินเทอรเ์ นต็ (Internet) เฟซบุก๊ (Facebook) ไลน์ (Line) และยทู บู (YouTube) เปน็ ตน้ จึงควรต้องระมัดระวัง และรอบคอบ ในการรับข้อมูลจากส่ือออนไลน์ หลักการท่ี 3 การตรวจสอบข้อมูลหลาย ๆ ทาง โดยทาการสารวจข้อมูลจากเว็บไซต์ ของกูเกิล (www.google.com) ในเบืองต้นเพื่อดูท่ีมาของแหล่งข้อมูลสามารถสืบค้นข้อมูลไปยัง แหล่งอ้างอิงของข่าวที่ระบุไว้ เข้าไปสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ท่ีน่าเชื่อถือ เช่น ข้อมูลจากกระทรวง สาธารณสุข (https://www.moph.go.th) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) (www.fda.moph.go.th) กรมการแพทย์ (www.dms.moph.go.th) เปน็ ต้น 3.2 ตวั อยา่ งข้อมลู ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กญั ชาและกัญชงผ่านสอื่ ออนไลน์ 3.2.1 ข้อมูลทางอนิ เทอร์เน็ต (Internet) ภาพที่ 2 ขา่ วใชน้ ามันกัญชา “หยอดแลว้ ตาย” ทางอินเทอร์เนต็

55 สาวผสมเอง น้ามันกัญชา “หยอดแล้วตาย” โดนแจง้ จับ พบเงินสดกว่า 3 ล้าน ในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2562 เจ้าหน้าที่ตารวจกองบังคับการตารวจภูธรจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ สภ.สารภี สนธิ นาหมายศาลเข้าตรวจค้นท่ีบ้านเลขท่ี 74/49 หมู่ 3 ต.ชมพู อ.สารภี จับ บัณฑิตสาว ขายนามันกัญชาออนไลน์ มีคนหลงเช่ือซือไปหยอดให้ญาติแล้วตาย ทราบว่าได้ซือ นามันกัญชาผ่านระบบออนไลน์มาจาก นางสาววิชุนี ภักดีราช อายุ 31 ปี นามาโพสต์ขายผ่าน ทางระบบออนไลน์ ทาให้ญาติผู้ป่วยโรคมะเร็งหลงเชื่อ นาไปหยอดให้ผู้ป่วยจนเสียชีวิต ไม่ สามารถรักษาโรคได้ตามที่มีการโฆษณาชวนเช่ือ จึงได้เข้าแจ้งความ จากการสอบสวน เดิมยึด อาชีพขายถุงห่อมะม่วง ต่อมาได้ตรวจพบก้อนเนือท่ีขาหนีบ จึงทดลองนานามันกัญชามาหยอด รักษาแล้วดีขึน จึงส่ังนามันกัญชามาจากประเทศลาวในราคาขวดละ 1 แสนบาท แล้วนามาผสม กบั นามนั มะพรา้ ว ซึง่ เปน็ สตู รท่ีคดิ ขึนเอง ก่อนที่จะนามาบรรจุใส่ขวดขนาดเล็กขายตามไลน์กลุ่ม ผู้ป่วยโรคมะเร็ง ลกู คา้ ที่ป่วยเป็นโรคมะเร็งซือไปใช้ สามารถยือชีวติ ไดห้ ลายราย ซ่งึ รายท่เี สียชวี ิต นัน ตนไม่เช่ือว่าจะเสียชีวิตจากนามันกัญชาที่ซือไป เบืองต้นได้แจ้งข้อหามียาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 เอาไว้ในครอบครอง และมีไว้จาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่วนกรณีผู้ป่วยซือนามัน กัญชาไปใช้แล้วเสียชีวิต จะขยายผลโดยประสานแพทย์มายืนยันอีกครังว่าผู้ป่วยเสียชีวิตด้วย สาเหตจุ ากการใช้นามนั กัญชาหรอื ไม่ หากแพทย์ยนื ยันมาจะดาเนินการแจง้ ข้อหาต่อไป 3.2.2 ขอ้ มลู ทางเฟซบ๊กุ (Facebook) ภาพที่ 3 ขา่ วหมอพนื บ้านกับราชกิจจานุเบกษา ท่ีรับรองหมอพนื บา้ น จาก Facebook

56 รมว.สธ.ลงนามแก้ระเบยี บรบั รองหมอพนื้ บ้าน พรอ้ มเซน็ ประกาศกระทรวงอกี 2 ฉบับ ทแี่ กไ้ ขให้ ปรงุ ยาได้ โดยไมต่ ้องใช้เครอื่ งกญั ชากลาง ได้ใจหมอพื้นบ้าน 3 พันคน ด้าน “รจนา” เสนอปลกู กญั ชาควรต้องเปน็ หมอพื้นบา้ น-แพทยแ์ ผนไทยก่อนขยาย อสม. นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กล่าวว่า รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข ได้ลงนามในประกาศกระทรวงสาธารณสุขอีก 2 ฉบับ คือ ประกาศกระทรวง สาธารณสุข เร่ือง กาหนดตารับยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ท่ใี ห้เสพเพ่ือรกั ษา โรคหรือการศึกษาวิจัยได้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กาหนด ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ท่ีจะสามารถปรุง หรือ ส่ังจ่ายตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 โดยประกาศ กระทรวงทัง 2 ฉบบั เปน็ การแกไ้ ขจากเดิมทก่ี รมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กาหนดวา่ ในการทายาของแพทย์แผนไทยและหมอพืนบา้ น จะตอ้ งใชว้ ัตถุดิบทีเ่ ปน็ เคร่อื งกญั ชากลาง ซึ่งเจตนาจะ มีหน่วยผลิตกลางจัดทาขึน เพ่ือป้องกันการนาไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ แต่ในข้อเท็จจริงหมอพืนบ้านและ แพทย์แผนไทยท่ีจะปรุงยาเฉพาะรายไม่ได้ใช้เครื่องกัญชากลาง ต้องใช้พืชใบสด ซ่ึงรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข ได้ลงนามแก้ไขทัง 2 ประกาศท่ีจะทาใหแ้ พทย์แผนไทยและหมอพืนบ้านสามารถ ใช้ยาไดโ้ ดยไม่ต้องใช้เครื่องกัญชากลาง ทังนี รัฐมนตรี ฯ ได้ลงนามประกาศทงั 2 ฉบับแล้ว ซ่ึงจะทาให้ มีความสะดวก และใชไ้ ด้ตามภูมปิ ญั ญา ซึ่งไดผ้ า่ นคณะกรรมการยาเสพตดิ ฯ เมื่อประชมุ คราวท่ีแล้ว ก็ จะทาให้การพัฒนาหมอพืนบ้านและแพทย์แผนไทยในการปรุงเฉพาะรายจะดีขึน โดยจะมีผลหลัง ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาต่อไป 3.2.3 ข้อมูลทางไลน์ (Line) ภาพท่ี 4 ข่าวการระดมความคิดเตรยี มปลูกกญั ชา จาก Line

57 วนั ที่ 17 กนั ยายน 2562 ณ ศูนย์การเรียนรวู้ ิจยั และพัฒนาเมืองสมนุ ไพร ชมุ ชนพรสวรรค์ ในเขต เทศบาลตาบลหนองบัว อ.เมือง จ.อุดรธานี ดร.องอาจ วิเศษ ประธานเครือข่ายวิจัยและพัฒนา กญั ชาเพอ่ื ประโยชนแ์ พทย์ไทย ผศ.ดร.อานนท์ แสนนา่ น ประธานสมาพนั ธว์ จิ ัยและพัฒนากัญชา เพื่อประโยชน์แพทย์ไทย นายเศรษฐภัทร์ นิตยวิทธิวรากุล นายศรีทัศน์ มาตราช รองประธาน สมาพันธ์วิจัยและพัฒนากัญชาเพื่อประโยชนแ์ พทย์ไทย นางธนภัทร พันธวาส ประธานเครอื ขา่ ย วิสาหกจิ ชมุ ชนไทย นอกจากนันแลว้ ยงั มีแพทย์แผนไทย หมอพนื บ้าน และตวั แทนเกษตรกรกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนภาคอีสาน ร่วมประชุมหารือ “เตรียมการปลูกกัญชงเพ่ือเศรษฐกิจไทย” โดยให้มี การร่วมมือหลายภาคส่วนให้เกษตรกรสามารถปลูกกัญชงก่อน ในขณะที่กาลังรอกฎหมายลูก และนโยบายจากกระทรวงสาธารณสขุ ใหช้ ดั เจนอีกครงั ในการ “ปลูกกัญชา” 3.2.4 ขอ้ มูลทางยูทูบ (YouTube) ภาพท่ี 5 ขา่ วทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั กัญชาทาง YouTube กล่าวโดยสรุป ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชงผ่านส่ือออนไลน์ มีทัง ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (Internet) เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) และยูทูบ (YouTube) ข้อมูล เหล่านี ทาให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย แต่ยังขาดการคิดวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดมีความน่าเชื่อถือ จึงควร มีความรู้ในการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่สืบค้นได้ผ่านสื่อออนไลน์ และตระหนักถึงความสาคัญ ของการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลทีถ่ ูกต้อง

58 กกกกกกก4. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ ในปัจจุบันมีกว่า 30 ประเทศทั่วโลกท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาเพ่ือทาการรักษาโรคได้ และ อกี หลายรฐั ในสหรัฐอเมริกา และยโุ รปทอี่ นุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาไดอ้ ยา่ งเสรี ในปี พ.ศ. 2556 สภาประกาศผ่านร่างกฎหมายให้ประชาชนสามารถใช้กัญชาเพ่ือ นันทนาการ พักผ่อนหย่อนใจ จนอุรุกวัยกลายเป็นประเทศแรกของโลก ท่ีเปิดกัญชาเสรีใหผ้ ู้คนซือหา มาเสพได้ แต่ก็อนญุ าตใหส้ ามารถซือกญั ชาได้เฉพาะรา้ นขายยาที่มสี ิทธจ์ิ าหนา่ ยกัญชาเท่านนั แคนาดาเป็นประเทศที่สอง ท่ีอนุญาตให้ใช้กัญชาได้อย่างเสรี หลังจากรัฐบาล นายกรัฐมนตรี จสั ตนิ ทรูโด ไดร้ บั เลอื ก โดยออกกฎหมายอนุญาตใหช้ าวแคนาดาทบ่ี รรลนุ ติ ภิ าวะแล้ว สามารถครอบครองและใช้กัญชาเพ่ือนันทนาการได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ในขณะท่ีได้อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์มาตังแต่ปี พ.ศ. 2554 ซึ่งก่อนหน้านี การครอบครองกัญชาในแคนาดา ถือเป็นความผิดตามกฎหมายมาตังแต่ปี พ.ศ. 2466 หรือ 95 ปี นานเกือบจะรว่ ม 1 ศตวรรษ สถานการณ์กัญชาในสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันแต่ละรัฐจะมีกฎหมายการอนุญาตใช้กัญชา แตกต่างกันไป ขณะนีมี 33 รัฐ จาก 50 รัฐในสหรัฐอเมริกา ที่ได้ออกกฎหมายอนุญาตใช้กัญชาทาง การแพทย์เพ่ือรักษาโรคได้ และมอี กี 10 รัฐ ทส่ี ามารถใช้เพ่อื นันทนาการได้ รฐั วอชิงตันและโคโลราโด เป็นสองรัฐแรกในสหรัฐอเมริกา ท่ีสามารถใช้กัญชาโดยไม่ต้องมีจุดประสงค์ทางการแพทย์ และต่อมา มีอกี 8 รัฐ ในสหรฐั อเมรกิ า เช่น เนวาดา อิลินอยส์ อลาสกา ออรกี อน เวอร์มอนต์ รวมถงึ กรงุ วอชงิ ตัน ดี.ซ.ี ทไ่ี ด้สนบั สนุนการใชก้ ัญชาเพ่ือนันทนาการได้ สเปน อนญุ าตใหใ้ ชก้ ญั ชาในพืนท่สี ่วนตัวได้โดยไมผ่ ดิ กฎหมาย เนเธอรแ์ ลนด์ มีการอนญุ าตให้ขายกัญชาไดอ้ ยา่ งเสรใี นร้านกาแฟ อังกฤษ ได้คลายกฎเร่ืองกัญชาลง อนุญาตให้แพทย์สามารถส่ังจ่ายยาผลิตภัณฑ์จาก กญั ชาให้แกผ่ ปู้ ่วยได้ตงั แต่วันท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2561 หลายประเทศท่ัวโลกกว่า 30 ประเทศแล้ว ที่ออกกฎหมายอนุญาตให้ใช้กัญชาทาง การแพทย์ เพื่อนาไปรักษาผู้ป่วย รวมทัง อาร์เจนตินา ออสเตรเลยี แคนาดา ชิลี โคลอมเบีย โครเอเชยี ไซปรัส ฟนิ แลนด์ เยอรมนี กรีซ อิสราเอล อิตาลี ลักเซมเบริ ์ก มาเซโดเนยี เหนอื นอรเ์ วย์ เนเธอร์แลนด์ นิวซแี ลนด์ เปรู โปแลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ และไทย ไทยเปน็ ชาตแิ รกในภมู ภิ าคอาเซียน ท่ีอนุญาตให้ใชก้ ญั ชาเพ่อื ประโยชนท์ างการแพทย์ ในต่างประเทศมีการศึกษาวิจัยกัญชาและกัญชงมานานกว่าในประเทศไทย มีการวิจัย และพัฒนาสายพันธ์ุกัญชาและกัญชงอย่างกว้างขวาง รวมไปถึงการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา และ การรกั ษาโรคต่าง ๆ มากมาย เชน่ การศึกษาเกีย่ วกับโรคมะเรง็ ปอด โรคมะเร็งเมด็ เลือดขาว โรคมะเร็ง สมอง โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก โรคมะเร็งช่องปาก โรคมะเร็งตับ โรคมะเร็งตับอ่อน

59 โรคลมชัก โรคผิวหนัง 2 โรค ได้แก่ โรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธ์ุผิวหนังชนิดหนังหนาแต่กาเนิด โรคอัลไซเมอร์ โรคลาไส้อักเสบเรือรัง หรือโครน (Crohn’s disease) โรคปลอกประสาทเส่ือม โรคเอดส์ โรคทูเร็ตต์ ซินโดรม (Tourette’s syndrome) และโรคต้อหิน แต่ทังนีการศึกษาวิจยั สว่ นใหญ่ยังเป็น เพียงการศึกษาวิจัยขันต้นในหลอดทดลอง หรือหนูทดลอง การศึกษาวิจัยทางคลินิกในผู้ป่วยจริง จานวนมากยังมีข้อมูลน้อย ประสิทธิภาพการรักษาของกัญชาในผู้ป่วยจริงยังไม่ชัดเจนนัก ดังนันการ ใช้กัญชาจึงจาเป็นต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ ซ่ึงจะจ่ายให้ในกลุ่มโรคที่มีผลการวิจัยที่ชัดเจน และกาหนดปรมิ าณการใช้ในขนาดที่ปลอดภัยและเสยี่ งต่อผลขา้ งเคียงน้อย กล่าวโดยสรุป การใช้กัญชาและกัญชงในต่างประเทศ ใช้เสรีได้เพ่ือนันทนาการ มีอยู่ใน ประเทศอุรุกวัย แคนาดา สหรัฐอเมริกาเป็นบางรัฐ สเปนใช้ในพืนที่ส่วนตัว เนเธอร์แลนด์ใช้ในร้าน กาแฟ ในขณะที่ประเทศอ่ืน ๆ มากกว่า 30 ประเทศ ให้ใช้กัญชาในทางการแพทยร์ วมถึงประเทศไทย ด้วย ส่วนการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและกัญชง มีในต่างประเทศนานแล้ว สาหรับประเทศไทย ยังไม่มกี ารศกึ ษาวิจยั เนอื่ งจากกัญชาและกญั ชงเปน็ ยาเสพตดิ จึงยังไมม่ ีผลการวิจัยมารองรับ กกกกกกก5. สภาพการณก์ ารใช้กญั ชาและกญั ชงในประเทศไทย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องกาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีมี กัญชาปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพเพ่ือรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ. 2562 ได้กาหนดไว้ 5 ประเภท ไดแ้ ก่ ประเภทท่ี 1 ตารับยาท่ีได้รับการรับรองจากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ครอบคลุมทงั ตารบั ยาแผนปัจจุบนั และตารบั ยาแผนไทย ประเภทที่ 2 ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาผสมปรุงอยู่ ตามคาแนะนาของกรมการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (ปัจจบุ นั มี 16 ตารับ) ประเภทท่ี 3 ตารบั ยาทอ่ี นุญาตให้ผลิตในประเทศ ภายใตก้ ารรักษาโรคตามกรณีจาเป็น สาหรับผูป้ ว่ ยเฉพาะราย (Special Access Scheme) ประเภทที่ 4 ตารับยาที่ได้รับอนุญาตภายใต้โครงการวิจัยที่ได้รับอนุญาตจากสานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ประเภทท่ี 5 ตารับยาท่ีหมอพืนบ้านปรุงขึนจากองค์ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์ แผนไทยที่ชัดเจน และได้รับการรับรองจากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ทังนี วัตถดุ บิ จากกญั ชาต้องไม่สามารถแยกเป็นช่อดอก ใบ เพื่อป้องกนั การนาไปใช้ในทางทผ่ี ิด สาหรับประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ให้การยอมรับว่าสามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา ทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ใช้รักษาภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยท่ีได้รับยาเคมีบาบัด โรคลมชัก ที่รักษายากและท่ีดือต่อยารักษา ภาวะกล้ามเนือหดเกร็งในผ้ปู ่วยปลอกประสาทเส่ือมแข็ง ภาวะปวด ประสาทท่ีรักษาวิธีอื่นไม่ได้ผล และให้ควบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์ โรควิตกกังวล

60 โรคปลอกประสาทอักเสบ และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายได้ โดยอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์และ เภสัชกร ท่ีผ่านการอบรมการใชก้ ัญชาทางการแพทย์จากกระทรวงสาธารณสขุ แลว้ ในส่วนของการใช้ ในตารับยาแผนไทย ท่ีอนุญาตให้ใช้ทัง 16 ตารับนัน สรรพคุณให้ใช้โดยอ้างอิงตามตาราและสั่งจ่าย โดยแพทย์แผนไทยท่ีผ่านการอบรมการใช้กัญชาทางการแพทย์แผนไทยมาแล้วเช่นกัน โดยสรรพคุณ ของตารับยาแผนไทยที่ผสมกัญชาเอง มีใช้กับหลายกลุ่มโรค อาทิ ผู้ป่วยโรคเรือรังท่ีมีอาการนอนไม่หลับ ช่วยเจริญอาหาร ผู้ป่วยที่มีอาการจุกเสียด ท้องแข็งเกร็งเป็นเถาดาน เสียงแหบแห้ง ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ที่มีอาการเกร็งของกล้ามเนือแขนขาอ่อนแรง ผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก ปวดเม่ือย ทั่วร่างกาย ขบั ลม และผปู้ ่วยทม่ี อี าการลมจกุ เสยี ดปวดมวนทอ้ ง เปน็ ตน้ กล่าวโดยสรุป กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์แผน ปัจจุบัน ในการรกั ษาโรคภาวะคลน่ื ไสอ้ าเจียนในผู้ป่วยที่ไดร้ ับยาเคมบี าบัด โรคลมชักที่รักษายากและ ที่ดือต่อยารักษา ภาวะกล้ามเนอื หดเกร็งในผู้ปว่ ยปลอกประสาทเส่ือมแข็ง ภาวะปวดประสาทท่ีรักษา วิธีอื่นไม่ได้ผล และให้ควบคุมอาการของโรคพาร์กินสัน อัลไซเมอร์ โรควิตกกังวล โรคปลอกประสาท อักเสบ และผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ส่วนการแพทย์ทางเลือกได้คัดเลือก และรับรองตารับยาท่ีมีกัญชา เปน็ ส่วนประกอบ ใหผ้ ปู้ ่วยใช้ได้โดยอยู่ภายใตก้ ารควบคมุ ดูแลของแพทย์ท่ีได้รบั อนุญาต กกกกกกก6. มมุ มองการใช้กัญชาและกญั ชงของบุคลากรทางการแพทย์ จากการเสวนา ครังท่ี 19 เม่ือวันท่ี 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุม 202 อาคารจามจุรี 4 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง “กัญชา เพื่อเยียวยาสุขภาพ” มีบุคลากรทางการแพทย์ ทส่ี าคัญ 3 คน ไดใ้ ห้ข้อมลู มุมมองทเี่ ก่ยี วข้องกบั กัญชาทางการแพทย์ ดังนี 6.1 ศาสตราจารย์ นายแพทย์เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม รองอธิการบดีด้านวิจัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ให้ข้อมูลไว้ว่าปัจจุบันมีการใช้กัญชาในทางการแพทย์ท่ีได้รับการรับรองทางกฎหมาย อย่างสมบูรณ์ 35 ประเทศ รบั รองบางสว่ น 14 ประเทศ และประเทศอาเซียนทกี่ าลงั ดาเนนิ การเรื่องนี คือ ไทยและฟิลิปปินส์ ส่วนอีก 100 กว่าประเทศ ยังถือว่าผิดกฎหมาย แสดงว่ายังมีประเด็นในเชิง วิทยาศาสตร์ การแพทย์ สังคม และการบริหารจัดการที่ต้องคิดให้รอบคอบ “หลักฐานเชิงประจักษ์ ทางการแพทย์ว่าสามารถรักษาโรคได้อย่างแน่นอน แต่ต้องไม่เช่ืออย่างงมงาย เป็นสิ่งท่ีสังคมต้องระวัง อย่างมาก ซึ่งกรมการแพทย์ได้ออกนโยบายเชิงสุขภาพว่า ควรใช้สารแคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) ทส่ี กัดจากกัญชาอย่างไรบ้าง หากจะใช้กญั ชาในทางการแพทย์ ยงั มปี ระเดน็ ท่ีต้องแจง้ ให้ชัดเจน คือ (1) โรคใดท่ีได้ผลชัดเจน (2) ความปลอดภัยทางวิชาการ (3) คุณภาพของสารสกัดจากกัญชาว่า สกัดถูกวิธีหรือมีสารปนเปื้อนหรือไม่ และ (4) การเข้าถึงอย่างเป็นระบบ ทังระยะสันและระยะยาว” เป้าหมายสุดท้ายของการใช้กัญชาในทางการแพทย์ก็เหมือนยารักษาโรคทุกชนิด คือ ทาอย่างไรให้ ผู้ป่วยที่จาเป็นเข้าถึงยาได้เร็วท่ีสุด ถูกต้อง และปลอดภัย จึงต้องมุ่งเน้นเรื่องหลักฐาน เชิงประจักษ์ ประสทิ ธภิ าพ ความปลอดภัย และใชอ้ ยา่ งมสี ติ

61 6.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.รุ่งเพ็ชร สกุลบารุงศิลป์ คณบดีคณะเภสัช ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงนโยบายและงานวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเร่ือง กัญชาว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั มีการส่งเสริมการวิจัยด้านกัญชา โดยความรว่ มมือของหลายคณะ มีเปา้ หมายตงั แตก่ ารปลกู และการพัฒนาสายพนั ธต์ุ า่ ง ๆ ซึ่งปจั จุบันมอี งคค์ วามรใู้ นหลายลักษณะ เชน่ การได้สารสกัดกัญชาที่ไม่ได้มาจากต้นกัญชา เนื่องจากการปลูกต้นกัญชาต้องใช้เวลา 3 - 4 เดือน กว่าจะเก็บเก่ียวและนาไปสกัด แต่กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทาให้สารสกดั นีไปเกิดบนต้นไม้อื่นได้ โดยไดป้ รมิ าณสารสกดั ท่ีเหมาะสมและรวดเรว็ กว่า และการพัฒนาสายพันธุ์ที่ดี มคี ณุ ภาพ ให้สารสกัด ในปริมาณท่ีต้องการ “ด้านกระบวนการสกัด มีการวิจัยเพ่ือทาให้ม่ันใจว่ามีความปลอดภัย และได้ ปริมาณที่เหมาะสม กระบวนการผลิตก็ทาการพัฒนาตารับที่เหมาะกับการใช้ ไม่ว่าจะใช้ทางปาก การเหนบ็ การพน่ รวมถงึ มกี ารศึกษาเรื่องความปลอดภัยในการใชใ้ นคนและในมิติตา่ ง ๆ เพือ่ ใหแ้ น่ใจ วา่ ใชแ้ ล้วไม่เกิดการติดหรอื การนาไปใชใ้ นทางที่ผิด ถา้ มีผลข้างเคียงจากการใช้ยาก็ต้องตดิ ตามได้ หลัง กระบวนการเสร็จสินจึงจะนาไปขึนทะเบียนเป็นยา จะเห็นว่าขันตอนเพ่ือให้ได้มาซ่ึงยานันไม่ได้ ต้องการเพยี งยาทรี่ ักษาโรคเทา่ นัน แตย่ ังตอ้ งการยาทมี่ ีความปลอดภยั มมี าตรฐาน และมคี ณุ ภาพ” กกกกกกก 6.3 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ระบุถึงการใช้กัญชาไว้ว่า “หากใช้ในปริมาณท่ีเกินกาหนดอาจจะทาให้เกิดผลเสียต่อผู้ป่วยมากกว่าการรักษาเยียวยา ” เช่นเดียวกับทางด้านของ นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) ท่ีมองว่า “แม้กัญชาจะมีสรรพคุณเป็นยาท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรคแต่ถ้าใช้ กัญชาอย่างไม่ถูกต้องและไม่มีการควบคุมก็จะเป็นอันตรายต่อผู้ใช้และสังคม” จึงจาเป็นต้องมีการ กาหนดใช้กัญชาเพ่ือการแพทย์ ดว้ ยการผลติ เปน็ ยาเทา่ นนั ไม่อนุญาตให้มีการนาไปใช้ประโยชน์อย่าง อ่ืน เช่น ผสมในอาหาร หรือผลิตเพ่ือการค้า เน่ืองจากสถานการณ์ ในขณะนีมีผู้ใช้กัญชาเพ่ือ บาบัดรักษาอยู่ที่ประมาณ 1 แสนคน แต่เป็นผู้ท่ีมีความรู้ในการใช้กัญชาอย่างถูกต้องเพียง 200 คน เท่านัน และยังมองว่า “เปน็ บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขที่จะต้องเรง่ ผลติ แพทย์ และเภสชั กรท่ีมี องค์ความรู้ในการใช้กัญชาเป็นยารักษา รวมทังเร่งวิจัยและผลิตยาจากกัญชาให้เพียงพอต่อความ ต้องการของประชาชน” ส่ิงที่พึงกระทาในปัจจุบันจึงควรเป็นการให้ความรู้อย่างรอบด้านเร่ืองกัญชา กับทุกภาคส่วน รวมถึงประชาชนที่ต้องการใช้กัญชาให้เข้าใจถูกต้องก่อน เพราะหากผิดพลาดไปอาจ ยากต่อการควบคุมจัดการ “เราจะเริ่มแล้ววิ่งเลยคงไม่ได้” ต้องดูด้วยว่า “วุฒิภาวะของสังคมไทย พร้อมแล้วหรอื ยงั หากจะให้กัญชาไปไกลกวา่ นี” กกกกกกก นอกจากนีราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย แถลงเร่ืองการใช้กัญชาทาง การแพทย์ ว่าอาจเพ่ิมความเสี่ยงต่อการเกิดอาการทางจิตเวชได้ ในมุมมองของจิตแพทย์ สรุปการ แถลง 8 ประการ คอื

62 กกกกกกก ประการท่ี 1 กัญชา (Marijuana) มีฤทธิเ์ สพตดิ เป็นพืชทมี่ ีชือ่ เรียกทางวทิ ยาศาสตร์ ว่า “Cannabis” มีหลายสายพันธ์ุ ไม่ใช่เฉพาะแต่เพียงกัญชาเท่านัน (เช่น กัญชง ซึ่งเป็นพืชที่มีการ นาลาต้นมาใช้ประโยชนไ์ ด)้ กกกกกกก ประการท่ี 2 สารสกัดหลักจากกัญชา คือ “สาร Cannabinoid” มีอยู่หลายชนิด เช่น แคนนาบิไดออล (Cannabidiol, CBD) สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) โดยปริมาณของสาร แคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ที่มีอยู่ในพืชตระกูลนี จะมีปริมาณท่ีแตกต่าง กันไปตามสายพนั ธุ์ และวธิ ีการปลกู กกกกกกก ประการที่ 3 กัญชามีฤทธ์ิทาให้เสพติดได้จริง โดยเกิดจากฤทธิ์ของ สารเตตรา- ไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) ที่ในเบืองต้นจะทาให้ผู้ใช้เกิดความรื่นเริง ผอ่ นคลาย ดึงดดู ให้ใช้ติดต่อกันเร่ือย ๆ และกลายเป็นการเสพติดในท่ีสุด โดยผู้เสพอาจนาส่วนต่าง ๆ ของกญั ชามาทาให้แห้งเพื่อสูบหรืออาจใช้ในรูปแบบนามัน กกกกกกก ประการที่ 4 กัญชามีฤทธิ์รบกวนการทางานของเซลล์สมอง และสามารถเพิ่ม ความเสี่ยงต่อการเกิดอาการหรือโรคทางจิตเวชได้ เช่น วิตกกังวล ยาคิด หลงผิด หวาดระแวง หูแว่ว ประสาทหลอน อารมณ์แปรปรวน ก้าวร้าว ซึมเศร้า ฆ่าตัวตาย หลงลืม ไม่มีสมาธิ สมองเส่ือม โดยเฉพาะผู้ที่ใชต้ ังแตว่ ยั เด็กและวัยรุ่น กกกกกกก ประการที่ 5 กัญชาไม่ว่าในรูปแบบใดก็ตาม ปัจจุบันยังไม่มีท่ีใช้ในการรักษา โรคทางจติ เวช กกกกกกก ประการที่ 6 บคุ คลท่ัวไปไม่ควรใชก้ ัญชา โดยเฉพาะเด็กเยาวชนและผู้ป่วยเป็น โรคทางจิตเวช กกกกกกก ประการท่ี 7 การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลของกัญชา (ทังประโยชน์และโทษ) ควร ระบใุ ห้ชัดเจนวา่ เป็นผลของ “ตน้ กัญชา” จาก “สารสกัด” หรือจาก “สารสังเคราะห์” กกกกกกก ประการที่ 8 สารสกัดจากพืชตระกูลกัญชาในบางรปู แบบ สามารถนามาใช้ ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่จะต้องเป็นไปตามข้อบ่งชีมีหลักฐานทางการแพทย์ท่ีได้มาตรฐาน รองรับเท่านัน กกกกกกก กล่าวโดยสรุป บุคลากรทางการแพทย์ มีความคิดเห็นว่าหากจะใช้กัญชาและ กัญชงในทางการแพทย์ต้องแจ้งให้ชัดเจน ว่าใช้ได้กับโรคใดที่ได้ผลชัดเจน มีความปลอดภัยทาง วิชาการ คุณภาพของสารสกัดจากกัญชาและกัญชง ต้องระบุวิธีการสกัด หรือมีสารปนเปื้อนหรือไม่ การเข้าถึงอย่างเป็นระบบ ทังระยะสันและระยะยาว รวมถึงมีการศึกษาเร่ืองความปลอดภัยการใช้ ในคน และในมิติต่าง ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าใช้แล้วไม่เกิดการเสพติด หรือมีการนาไปใช้ในทางที่ผิด ซ่ึงใน การผลิตยานันไม่ต้องการเพียงยาท่ีรักษาโรคเท่านัน แต่ยังต้องการยาที่มีความปลอดภัย มีมาตรฐาน

63 และมีคุณภาพ แม้กัญชาและกัญชงจะมีสรรพคุณเป็นยาท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยในบางโรค แต่ถ้าใช้ กัญชาอย่างไม่ถูกตอ้ ง และไมม่ ีการควบคุมกจ็ ะเป็นอนั ตรายทังตอ่ ผู้ใช้และสังคม กกกกกกก7. มมุ มองการใช้กัญชาและกัญชงของผู้ปว่ ย กกกกกกก การดูแลด้านสุขภาพของผู้ป่วยขึนอยู่กับการทาความเข้าใจและการตอบสนองความ จาเป็นและความต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจที่ผู้ป่วยมีต่อการใช้ยาถือว่าเป็นส่ิง ที่สาคัญอย่างยิ่ง อาจรวมถึงการทาความเข้าใจว่ารูปแบบการให้ยาเป็นท่ียอมรับได้หรือไม่ และ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างแท้จริงหรือไม่ ผู้ป่วยใช้กัญชาทางการแพทย์ด้วยเหตุผลหลาย ประการ รวมถงึ เหตุผลดังตอ่ ไปนี กกกกกกก ประการท่ี 1 ผู้ป่วยมองว่ากญั ชามปี ระสิทธภิ าพมากกว่ายาตวั อื่น หรือเปน็ ยาตวั เดียวที่มี ประสิทธิภาพสาหรับบางอาการ เช่น ตะคริว อาการปวด การอักเสบ อาการคล่ืนไส้และอาเจียนที่มี สาเหตุมาจากเคมีบาบดั กกกกกกก ประการท่ี 2 ผปู้ ว่ ยพิจารณากญั ชาว่าดีตอ่ สุขภาพมากกวา่ ยารกั ษาโรคชนดิ อ่นื เน่อื งจาก มีความเป็นธรรมชาติ เพราะกัญชาเป็นยารักษาโรคท่ีเป็นสมุนไพร เป็นอันตรายน้อยกว่ายารักษาโรค ชนดิ อน่ื ทีเ่ ปน็ สารเคมี กกกกกกก ประการท่ี 3 ผู้ป่วยหาทางเลือกอื่นสาหรับยารักษาโรคท่ีตนใช้ตามปกติ เนื่องจากไม่ สามารถทนอาการข้างเคยี งได้ เชน่ ปัญหาเกีย่ วกับกระเพาะอาหารและลาไส้ อาการงว่ งซึม อาการชา และอาการภูมิแพ้ เป็นตน้ กกกกกกก ประการท่ี 4 ผู้ป่วยพจิ ารณาว่ายารักษาโรคแผนปจั จุบนั มีผลขา้ งเคียงที่สร้างปัญหา เช่น ไร้ความรู้สึก หดหู่ หรือเฉ่ือยชา เป็นต้น เป็นอาการไม่พึงประสงค์ท่ีสาคัญซ่ึงเป็นผลมาจากยารักษา โรคแผนปจั จบุ นั กกกกกกก ผู้ป่วยส่วนมากพบว่ากัญชาทางการแพทย์เป็นวิธีการรักษาท่ีมีประสิทธิภาพสาหรับ อาการของตน และผู้อื่นก็สังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงในทางท่ีดีขึน โดยใช้กัญชาสาหรับการรักษา อาการ เพ่ือบรรเทาอาการต่าง ๆ ของโรค ช่วยในการระงับอาการ แต่ไม่ได้ส่งผลให้อาการดังกล่าว หายไป จึงไม่ได้มองว่าเป็นทางออกสาหรับทุกอย่างและโดยทั่วไปไม่ถือเป็นการรักษา บางรายบาบัด ด้วยกัญชาทางการแพทย์สาหรับบรรเทาอาการ ซึ่งสุดท้ายแล้วก็ไม่ประสบผลสาเร็จหรือประสบ ผลสาเร็จแค่เพียงบางส่วน เช่น ปัญหาเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะเนื่องจากโรคปลอกประสาทเสื่อม (Multiple Sclerosis) และอาการปวดศีรษะเฉียบพลัน เป็นต้น กัญชาทางการแพทย์ถูกนาไปใช้ เพื่อรกั ษาอาการปวดเปน็ หลัก แม้วา่ อาการปวดจะไม่ไดห้ ายไปโดยสินเชิง แต่ผลจากการใช้กัญชาทาง การแพทย์ก็ลดอาการปวดลงจนพอทนได้ บางรายมองว่าปริมาณยายิ่งสงู ย่ิงมีประสิทธภิ าพมากขึนใน การบรรเทาอาการปวด แต่ก็ปรับให้สมดลุ เพ่ือป้องกันอาการข้างเคียงท่ีอาจเกิดขึนได้ซ่ึงรวมถึงอาการ เป็นพิษไม่รุนแรง แม้ยารักษาโรคตามปกติจะมีประสิทธิภาพในการระงับปวดมากกว่า แต่ผู้ป่วย

64 ก็เลือกใช้กัญชาทางการแพทย์ ถึงแม้จะเกิดอาการข้างเคียงท่ีเป็นผลลบ ได้แก่ ปากแห้ง รู้สึกเมา ปัญหาเก่ียวกับความทรงจา การรับรสไม่ดี เป็นลม และอัตราการเต้นของหัวใจท่ีสูงขึน แต่อาการ ข้างเคียงดังกล่าวขึนอยู่กับปริมาณการใช้ยาท่ีมีกัญชาและกัญชงและความแตกต่างของแต่ละบุคคล ผู้ป่วยหลายรายที่นอนไม่หลับไม่ได้มองว่าอาการง่วงซึมเป็นอาการท่ีไม่พึงประสงค์ ความอยากของ หวานจะเป็นปัญหาสาหรับผู้ป่วยที่ใส่ใจกับการรักษานาหนักของตนให้คงท่ี แต่ผู้ป่วยรายอื่นกลับมอง ว่าเป็นสิง่ สาคญั เน่ืองจากอาการส่งผลให้ต้องรบั มอื กบั นาหนักทลี่ ดลง กกกกกกก นอกจากนี เด็กหญิงชาร์ล็อต ฟีกี (Charllotte Figi) วัย 5 ขวบ ท่ีป่วยเป็นโรคลมชัก อย่างรุนแรง (Dravet syndrome) โดยมีอาการชักมากถึง 300 ครังต่อสัปดาห์ และได้ลองใช้วิธีการ รักษาทุกรูปแบบแต่อาการไม่ดีขึน จนกระทั่งได้ใช้นามันสกัดจากกัญชา ตัวอย่างการรักษา ชาร์ล็อต ฟีกี นี กลายเป็นตัวอย่างท่ีโด่งดังไปทั่วโลก ทาให้คนทั่วโลกสนใจมหัศจรรย์กัญชารักษาโรค และ ความหวังสุดท้ายจากกัญชา ครังแรกของการใช้นามันกัญชา พบว่าอาการชักลดลงจาก 400 - 500 ครังต่อสัปดาห์ เป็น 0 - 1 ครังต่อสัปดาห์ และทาให้เธอสามารถกลับมาเดิน พูด เต้นรา ร่าเริงและใช้ ชีวติ ไดอ้ ย่างปกติ กกกกกกก รวมทัง ผู้ป่วยที่เคยใช้กัญชาเป็นยาในการรักษาคือ นายวิชัย ทองสวัสด์ิ ได้เล่า ประสบการณว์ า่ “เมื่อ 4 ปีก่อน มอี าการผิวหนงั พพุ องท่ัวร่างกาย เม่ือเริม่ มอี าการอักเสบจึงไปตรวจที่ โรงพยาบาล พบว่าเป็นมะเร็งผิวหนังระยะที่ 4 หมอบอกให้ทาใจเพราะเป็นระยะสุดท้ายแล้ว อยู่ ในชว่ งลกุ ลามหมดทางรกั ษา ใหไ้ ด้แตย่ าแกป้ วดมากนิ ผมก็ทาใจเพราะคิดวา่ อายุขนาดนีแลว้ ตอ่ ให้ไม่ ป่วยก็คงอยู่อีกไม่นาน แต่ตอนนันลูกสาวหากัญชามาให้ใช้ ทาทังตัวเหมือนทาโลช่ัน ทาเช้าทาเย็น แลว้ กก็ ินและหยดใตล้ ินเพื่อให้หลบั จากที่เคยปวดแสบปวดร้อนกค็ ่อย ๆ หาย” เมื่อก่อนผวิ หนงั มีกล่ิน เหม็นและเต็มไปด้วยนาเหลือง แต่พอทาไปได้สัก 6 เดือน แผลก็เร่ิมแห้งลง จากท่ีลุกเดินไม่ไหวก็เดนิ ไดป้ กติ สาหรบั ผมการมีชวี ิตอยู่จนถงึ ทุกวันนถี อื ว่าเปน็ เรอ่ื งเหลอื เช่อื แลว้ กกกกกกก กล่าวโดยสรปุ ผู้ป่วยมีความเหน็ ว่าการใช้กญั ชาและกัญชงต้องคานึงถึงความจาเป็นและ ความต้องการของผู้ป่วย โดยเฉพาะความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ยา ในการจัดการอาการ เพ่ือบรรเทา อาการต่าง ๆ ของโรค ถึงแม้จะเกิดอาการข้างเคียงที่เป็นผลลบบ้าง แต่อาการข้างเคียงดังกล่าว ก็ขนึ อยกู่ ับปริมาณการใชย้ าท่มี กี ัญชาและกญั ชง และความแตกตา่ งของแตล่ ะบุคคล

65 ถาม กัญชาช่วยให้เจริญอาหาร จริงหรอื ไม่ ตอบ จริง เพราะสารในกัญชามีคุณสมบัติกระตุ้นการอยากอาหารได้จริง เนื่องจากสามารถไปจับกับตัวรับความรู้สึกบริเวณทางเดินอาหาร และมีการใช้เป็นยา สาหรับกระตุน้ การอยากอาหารในผปู้ ่วยเอดสอ์ กี ดว้ ย กกกกกกก8. สภาพการณ์และขนั ตอนการให้บริการคลนิ ิกกญั ชาในประเทศไทย ประเทศไทยเริ่มให้บริการคลินิกกัญชาครังแรก เม่ือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ท่ีโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี เพ่ือให้การรักษาพยาบาล ผู้ป่วยโรคลมชัก และพารก์ นิ สัน โดยแพทยแ์ ละเภสัชกร ที่ผ่านการฝกึ อบรม และยงั เป็นคลนิ ิกเพื่อรักษาทางการแพทย์ แห่งแรกของประเทศไทย ทังนียังถือเป็นคลินิกกัญชาเพ่ือรักษาทางการแพทย์ลาดับที่ 2 ของทวีป เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาวันท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปิดที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า ในระยะแรกจะเปดิ ให้บริการผู้ปว่ ยใน 2 กลุ่มโรค ดังนี กกกกกกก กลุ่มโรคที่ 1 กลุ่มโรคท่ีใช้นามันกัญชา ได้แก่ กล้ามเนือหดเกร็งในผู้ป่วยโรคปลอก ประสาทเสอ่ื มแขง็ ลมชักที่ดอื ตอ่ ยาแผนปัจจบุ ัน ปวดประสาท อาการคล่ืนไส้อาเจยี นจากเคมบี าบัด กกกกกกก กลุ่มโรคที่ 2 ผู้ป่วยกลุ่มโรคยาตารับแผนไทย ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเรือรังที่มีอาการนอน ไม่หลับ ช่วยเจริญอาหาร ผู้ป่วยที่มีอาการจุกเสียดท้องแข็งเกร็งเป็นเถาดาน เสียงแหบ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ทม่ี อี าการเกรง็ ของกลา้ มเนอื แขนขาออ่ นแรง ผ้ปู ว่ ยที่มอี าการทอ้ งผกู พรรดึก (โรคทางแผนโบราณ ชนิดหนึ่งท่ีเกิดจากการมีอาหารคั่งค้างอยู่ภายในท้อง ทาให้เกิดอาการท้องผูกอย่างแรง ผู้ป่วย จะมอี จุ จาระท่แี ข็งมาก) ปวดเม่อื ยทว่ั ร่างกาย ขับลม ผปู้ ่วยที่มีอาการลมจกุ เสียดปวดท้องมวนท้อง กกกกกกก ปัจจุบันมีคลนิ ิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศนู ย์ และโรงพยาบาลท่ัวไป คขู่ นานกบั การแพทย์แผนปัจจบุ ันส่งั จา่ ยตารบั ยา 16 ตารับ จานวน 14 แหง่ ประกอบดว้ ย กกกกกกก แห่งท่ี 1 โรงพยาบาลระยอง กกกกกกก แหง่ ท่ี 2 โรงพยาบาลอุดรธานี กกกกกกก แหง่ ที่ 3 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา กกกกกกก แห่งที่ 4 โรงพยาบาลราชบรุ ี กกกกกกก แหง่ ที่ 5 โรงพยาบาลลาปาง กกกกกกก แห่งที่ 6 โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช จังหวดั พษิ ณโุ ลก

66 กกกกกกก แห่งที่ 7 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารกั ษ์ จงั หวัดนครสรรค์ กกกกกกก แหง่ ที่ 8 โรงพยาบาลสระบรุ ี กกกกกกก แห่งท่ี 9 โรงพยาบาลขอนแก่น กกกกกกก แหง่ ท่ี 10 โรงพยาบาลบรุ รี ัมย์ กกกกกกก แห่งที่ 11 โรงพยาบาลสรรพสทิ ธิประสงค์ จังหวดั อุบลราชธานี กกกกกกก แห่งท่ี 12 โรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี กกกกกกก แห่งท่ี 13 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา กกกกกกก แหง่ ที่ 14 โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวดั ปราจนี บุรี กกกกกกก ในโรงพยาบาลชุมชนมคี ลนิ ิกกญั ชาการแพทย์แผนไทยท่ีเปดิ บริการในโรงพยาบาลอาเภอ ส่ังจ่ายยาตารับ 16 ตารับ จานวน 12 แห่ง และโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน ประกอบดว้ ย กกกกกกก แหง่ ท่ี 1 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย จงั หวัดแพร่ กกกกกกก แห่งที่ 2 โรงพยาบาลบางกระทุม่ จังหวดั พิษณุโลก กกกกกกก แหง่ ท่ี 3 โรงพยาบาลหนองฉาง จังหวัดอุทยั ธานี กกกกกกก แหง่ ที่ 4 โรงพยาบาลเสาไหเ้ ฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา จงั หวัดสระบุรี กกกกกกก แหง่ ที่ 5 โรงพยาบาลดอนตมู จงั หวดั นครปฐม กกกกกกก แห่งที่ 6 โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร จังหวัดสกลนคร กกกกกกก แหง่ ที่ 7 โรงพยาบาลพล จังหวดั ขอนแกน่ กกกกกกก แห่งที่ 8 โรงพยาบาลคเู มือง จงั หวัดบุรีรมั ย์ กกกกกกก แห่งที่ 9 โรงพยาบาลพนา จงั หวดั อานาจเจริญ กกกกกกก แหง่ ที่ 10 โรงพยาบาลทา่ ฉาง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี กกกกกกก แหง่ ที่ 11 โรงพยาบาลปา่ บอน จังหวัดพัทลุง กกกกกกก แห่งท่ี 12 โรงพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน (ยศเส) กรุงเทพมหานคร กกกกกกก สาหรับคลินิกวิจัยนามันกัญชาทางการแพทย์แผนไทยตารับหมอเดชา จานวน 22 แห่ง ประกอบดว้ ย กกกกกกก แหง่ ท่ี 1 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย จังหวดั แพร่ กกกกกกก แห่งที่ 2 โรงพยาบาลเถิน จังหวดั ลาปาง กกกกกกก แหง่ ท่ี 3 โรงพยาบาลบางกระทมุ่ จงั หวดั พษิ ณุโลก กกกกกกก แห่งที่ 4 โรงพยาบาลพระยุพราชนครไทย จงั หวดั พษิ ณุโลก กกกกกกก แห่งที่ 5 โรงพยาบาลดอนตมู จงั หวัดนครปฐม

67 กกกกกกก แหง่ ที่ 6 โรงพยาบาลสวนผงึ จงั หวดั ราชบุรี กกกกกกก แห่งท่ี 7 โรงพยาบาลศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี กกกกกกก แห่งที่ 8 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี จงั หวดั ระยอง กกกกกกก แหง่ ที่ 9 โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแกน่ กกกกกกก แห่งที่ 10 โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร จงั หวัดสกลนคร กกกกกกก แหง่ ท่ี 11 โรงพยาบาลวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร กกกกกกก แหง่ ที่ 12 โรงพยาบาลสว่างแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร กกกกกกก แหง่ ที่ 13 โรงพยาบาลหว้ ยเกงิ จงั หวดั อุดรธานี กกกกกกก แห่งท่ี 14 โรงพยาบาลหนองบัวลาภู จังหวัดหนองบวั ลาภู กกกกกกก แห่งที่ 15 โรงพยาบาลคเู มือง จังหวดั บรุ ีรมั ย์ กกกกกกก แห่งท่ี 16 โรงพยาบาลพนา จงั หวัดอานาจเจริญ กกกกกกก แห่งที่ 17 โรงพยาบาลพระยุพราชเดชอุดม จงั หวัดอบุ ลราชธานี กกกกกกก แหง่ ที่ 18 โรงพยาบาลทา่ ฉาง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี กกกกกกก แห่งท่ี 19 โรงพยาบาลป่าบอน จังหวดั พัทลงุ กกกกกกก แห่งท่ี 20 โรงพยาบาลหนองฉาง จังหวดั อทุ ัยธานี กกกกกกก แห่งที่ 21 โรงพยาบาลตากฟ้า จงั หวดั นครสวรรค์ กกกกกกก แหง่ ท่ี 22 โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (ยศเส) กรุงเทพมหานคร กกกกกกก นอกจากนี วันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขได้ขยายบริการคลินิก กัญชาทางการแพทย์ ทังแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงยากัญชาทาง การแพทย์อย่างปลอดภัย มีโรงพยาบาลที่ให้บริการทุกเขตสุขภาพแผนปัจจุบัน จานวน 110 แห่ง สาหรับคลนิ กิ กัญชาการแพทย์แผนไทยเปดิ บริการแล้ว 24 แหง่ ให้บรกิ ารตารบั ยาศุขไสยาศน์ ในกลุ่ม อาการนอนไม่หลับ และตารับทาลายพระสุเมรุในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต บรรเทาอาการเกร็ง กล้ามเนอื แขนขาออ่ นแรง ชา ซ่งึ ขณะนีได้ผลิตเพ่ิมอีก 2 ตารบั ได้แก่ ตารับแกล้ ม แก้เส้น และตารับ ริดสีดวงทวาร เปิดให้บริการที่ โรงพยาบาลมหาสารคาม โรงพยาบาลบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด โรงพยาบาลทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงพยาบาลเลย โรงพยาบาลอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ซ่ึงผู้ป่วยสามารถติดตามข่าว ขอคาปรึกษาว่าผ่านเกณฑ์การได้รับยากัญชาหรือไม่ ในเขตโรงพยาบาลใกลเ้ คียง

68 ภาพท่ี 6 โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร ภาพที่ 7 ปา้ ยชื่อโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร ภาพที่ 8 ปา้ ยชือ่ คลินกิ กญั ชาทางการแพทย์

69 กกกกกกก คลนิ กิ กัญชาทางการแพทย์แผนไทยทุกแหง่ ต้องมี 4 องค์ประกอบ ดังนี กกกกกกก องคป์ ระกอบท่ี 1 มีแพทย์แผนไทยทส่ี ั่งการรักษาผา่ นการอบรมและได้รบั อนุญาตจาก สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ภาพที่ 9 แพทยผ์ ูเ้ ช่ยี วชาญ ภาพท่ี 10 แพทย์ให้คาปรึกษาคนไข้ ภาพที่ 11 คณะแพทย์และเภสัชกร ภาพที่ 12 ผปู้ ว่ ยทเี่ ข้ารับการรกั ษา ผใู้ หก้ ารรกั ษา

70 กกกกกกก องคป์ ระกอบท่ี 2 สถานท่ไี ด้รบั อนุญาตตามกฎหมายจากสานกั งานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) ภาพผู้ ได้รับอนญุ าต ชื่อผไู้ ด้รบั อนุญาต ช่อื ตาแหน่ง ผอู้ นุญาต ภาพที่ 13 ตัวอยา่ งหนังสอื สาคัญ ผลติ ซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5

71 กกกกกกก องค์ประกอบที่ 3 เวชภัณฑไ์ ด้รบั อนุญาตผลติ ตามมาตรฐาน องคก์ ารอนามัยโลก (WHO) - องค์การเภสัชกรรม (GMP) ผ่านการตรวจวิเคราะห์ คุณภาพจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และ ได้รบั การอนุญาตจาหนา่ ยยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 ภาพ ผู้ได้รบั อนุญาต ชื่อผไู้ ดร้ บั อนุญาต ช่อื QR ตาแหน่ง code ผ้อู นญุ าต ภาพที่ 14 ตัวอยา่ งหนังสือสาคัญ จาหน่ายซึง่ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5

72 ภาพที่ 15 ตารบั ยากญั ชาแผนปัจจุบนั ยานามนั หยดใต้ลิน ภาพที่ 16 ผลติ ภณั ฑ์นามันกัญชา โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภเู บศร

73 กกกกกกก องคป์ ระกอบที่ 4 มแี นวเวชปฏบิ ตั ิ (CPG) ตามเกณฑก์ ารรักษาในคลินกิ กัญชาโดยการ ใหบ้ รกิ าร จะมีการคัดกรองอย่างเป็นระบบ กกกกกกก เกณฑท์ ่ีรับผู้ปว่ ยเข้ารับการรักษาในคลนิ กิ กญั ชาในสถานบริการสุขภาพ กกกกกกก ข้อ 1 เป็นผูป้ ว่ ยท่มี อี าการหรือเปน็ โรคท่ีเข้าเกณฑ์ตามแนวเวชปฏิบตั ใิ นการเขา้ รับการ รักษาดว้ ยตารับยาแผนไทยท่ีมีกญั ชาปรงุ ผสมอยู่ กกกกกกก ข้อ 2 ภาวะทีแ่ พทย/์ แพทยแ์ ผนไทย แพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ เหน็ สมควรไดร้ บั การ รกั ษาด้วยตารบั ยาแผนไทยท่ีมกี ญั ชาปรุงผสมอยู่ กกกกกกก ข้อ 3 เพศชาย หรือ เพศหญิง มอี ายุตังแต่ 18 ปขี ึนไป กกกกกกก ข้อ 4 ได้รบั การรกั ษาดว้ ยยาขนานแรกและวธิ กี ารมาตรฐานทางการแพทย์แผนไทยแล้ว อาการไมด่ ีขนึ กกกกกกก ข้อ 5 ผปู้ ว่ ยมสี ัญญาณชีพและอาการทางคลินกิ คงท่ี (Vital Signs Stable & Clinically Stable) กกกกกกก ข้อ 6 มกี ารรบั รู้และสตสิ มั ปชัญญะดี สามารถสอ่ื ความหมายเขา้ ใจ กกกกกกก เกณฑท์ ี่ไมร่ ับผู้ป่วยเข้ารบั การรกั ษาในคลนิ ิกกัญชาในสถานบรกิ ารสุขภาพ กกกกกกก ข้อ 1 ผู้ป่วยทม่ี ีประวตั ิแพ้กญั ชาและสว่ นประกอบอ่ืน ๆ ในตารับยาแผนไทยทีม่ ีกัญชา ปรุงผสมอยู่ กกกกกกก ข้อ 2 ผู้ป่วยทไ่ี มไ่ ด้รบั การวนิ จิ ฉยั ตรงตามอาการหรือโรคตามแนวเวชปฏบิ ัติการใช้ตารบั ยาแผนไทยท่ีมีกญั ชาปรงุ ผสมอยู่ ในสถานบริการสุขภาพ กกกกกกก ข้อ 3 ผูป้ ่วยโรคเรือรงั ขนั รุนแรงหรือไมส่ ามารถคมุ อาการได้ เช่น โรคหัวใจ ยังมอี าการ กาเริบบอ่ ย ๆ โรคความดันโลหิตสงู ที่คุมความดนั ไมไ่ ด้ เปน็ ต้น กกกกกกก ข้อ 4 ผู้ปว่ ยที่มีภาวะการทางานของตบั และไตผิดปกติ กกกกกกก ข้อ 5 ผ้ปู ว่ ยท่มี ีภาวะทางคลินิกอน่ื ๆ ซึ่งแพทยใ์ ห้ความเหน็ วา่ จะเปน็ อันตรายต่อผ้ปู ่วย กกกกกกก ข้อ 6 อยู่ในระหวา่ งการตังครรภ์ วางแผนการตงั ครรภ์ หรือให้นมบตุ ร กกกกกกก ข้อ 7 ผปู้ ่วยโรคตดิ ต่อร้ายแรง หรือผปู้ ่วยโรคตดิ เชือในระยะแพร่กระจาย กกกกกกก ข้อ 8 ผปู้ ่วยท่ีเป็นโรคทางจิตเวช หรือมีอาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังวล กกกกกกก ข้อ 9 ผู้ป่วยทต่ี ดิ สารเสพติด รวมถึงนโิ คตนิ หรือเป็นผดู้ ืม่ สุราอย่างหนัก

74 กกกกกกกขนั ตอนการให้บริการคลินิกกญั ชา มี 2 ขันตอนสาคัญ ขนั ตอนการใหบ้ รกิ ารผู้ป่วยใหมแ่ ละ ขันตอนการใหบ้ ริการผ้ปู ว่ ยเก่า ดังภาพ ภาพท่ี 17 ขันตอนการให้บริการคลนิ ิกกัญชา กก กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยเริ่มให้บริการคลินิกกัญชาครังแรก เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ที่โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี ต่อมาวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เปิดท่ีโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา และวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2562 ได้เปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยในโรงพยาบาลศูนย์ จานวน 14 แห่ง ตลอดจน ภายในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทยเพ่ิมเติมในโรงพยาบาลชุมชน

75 จานวน 12 แห่ง รวมทงั เปดิ คลินกิ วจิ ยั นามันกญั ชาตารบั หมอเดชา จานวน 22 แห่งอีกดว้ ย นอกจากนี วันท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบัน 110 แห่ง และคลนิ ิกกญั ชาทางการแพทยแ์ ผนไทย 24 แหง่ เพอื่ เพ่ิมการเข้าถงึ ยากญั ชาอยา่ งปลอดภัย ของผ้ปู ว่ ย กกกกกกกเม่ือสภาพการณ์เปลี่ยนแปลงไปผู้ป่วย ผู้รับบริการ หรือผู้เรียน ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) ในศตวรรษท่ี 21 ใหม่ เน่ืองจากความรู้ (Knowledge) มีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ความรู้ไม่คงท่ี ความรู้วันนีอาจไม่ใช่ความรู้วันพรุ่งนีอีกต่อไป กระบวนการเรยี นรู้จึงเปน็ ไปตามวัฎจักรของการสรา้ งปัญญา (Wisdom) อยา่ งไมส่ ินสุด ดังตอ่ ไปนี Learn > Relearn > Unlearn > Learn > Relearn > Unlearn เรยี น > เรียนรู้ > ไมย่ ึดติด > เรียน > มุมมองใหม่ > ไม่ยึดติด กกกกกกกสิ่งจาเป็นและเร่งด่วนในตอนนี คือ เราต้องเรียนรู้ท่ีจะ Learn Unlearn และ Relearn ในความเป็นจริง การเรียนรู้นันไม่ใช่เพียงแค่การใส่ข้อมูลความรู้เข้าไปเพียงอย่างเดียว หากแต่การ เรียนรู้ที่ถูกต้องประกอบไปด้วย การเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ (Learn) การไม่ยึดติดกับสิ่งท่ีเคยเรียนรู้มา หรือ กล้าลบสิ่งเดิม ๆ ทิงไป (Unlearn) และการเรียนรู้สิ่งที่เคยรู้ด้วยมุมมองใหม่ ๆ (Relearn) ทังนี ขันตอน Unlearn และ Relearn มักจะเกิดขึนพร้อม ๆ กัน เพราะการเรียนรทู้ ี่จะมีประสิทธภิ าพมาก ท่สี ุด คอื การเต็มใจและยนิ ดที ่ีจะยอมละทงิ สิ่งท่ีเคยเรียนรมู้ า แล้วลองคน้ หาวิธีการใหม่ ๆ มาทดแทน แมว้ ่าวธิ ีการนนั จะเคยนามาซ่ึงผลลพั ธ์ท่ดี ีก็ตาม Explain > Experiments > Experience > Exchanges > Explain อธิบาย > การทดลอง > ประสบการณ์ > แลกเปล่ยี น > อธบิ าย การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ กกกกกกก1. กาหนดประเด็นศกึ ษาค้นคว้าร่วมกนั กกกกกกก2. ศึกษาคน้ คว้าจากสอ่ื ท่หี ลากหลาย กกกกกกก3. บันทกึ ผลการศึกษาคน้ ควา้ ทไ่ี ดล้ งในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก4. พบกลุ่ม