Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

Description: หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

Search

Read the Text Version

บทบาทครูและวธิ ีการ • มีทางเลอื กทหี่ ลากหลายใหเ้ ด็กได้เลือก • ให้เด็กมโี อกาสเลอื กกจิ กรรม สื่อ อุปกรณ์ วิธกี ารไปสู่เปา้ หมาย • ใหเ้ ดก็ ตดั สนิ ใจเลอื กและเปดิ ใจยอมรบั ผลการเลอื กและตดั สนิ ใจของเดก็ เชน่ เดก็ ขอเลอื กภาพท่ี จะนำ� มาแตง่ เรอ่ื งตามจนิ ตนาการจากภาพทนี่ ำ� มาเองจากบา้ น โดยไมข่ อใชภ้ าพทค่ี รจู ดั ให้ ครใู ห้ เด็กตดั สนิ ใจเลอื กว่าจะระบายสีผลงานด้วยสปี ระเภทใด • ครเู ปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ เสนอทางเลอื ก พรอ้ มอธบิ ายวา่ ทางเลอื กนน้ั จะเกดิ ผลอยา่ งไร • ฝกึ ใหค้ าดเดา “อะไรจะเกดิ อะไรขน้ึ ถา้ ...” เมอื่ เดก็ คาดเดาผลได้ จะทำ� ใหก้ ารตดั สนิ ใจของเดก็ มีประสิทธิภาพข้นึ 2.3 ให้โอกาสเด็กลงมอื ทำ� ดว้ ยตนเอง สำ� คญั อย่างไร การที่เด็กได้ลงมือท�ำ ได้เผชิญสถานการณ์ต่างๆ เป็นการส่ังสมประสบการณ์ และเกิดการเรียนรู้ เป็นพื้นฐานของการฝึกการจ�ำเพ่ือใช้งาน การคิดวิเคราะห์ และ ตดั สินใจ อกี ทงั้ ยังช่วยให้มีสมาธจิ ดจอ่ กบั สง่ิ ทที่ ำ� การลงมือท�ำเป็นโอกาสให้เด็กได้ค้นพบความสามารถของตนเอง และเม่ือท�ำซ้�ำๆ จะเกดิ การพฒั นาวธิ คี ดิ วธิ ที ำ� และเกดิ ความชำ� นาญ มคี วามคลอ่ งแคลว่ ในการคดิ และ ลงมือท�ำ กอ่ ใหเ้ กิดความมั่นใจทจี่ ะลงมือทำ� และภูมใิ จเม่อื ท�ำส�ำเรจ็ การท�ำอะไรด้วยตนเองจะท�ำให้เด็กเชื่อว่าความส�ำเร็จเกิดได้จากความพากเพียร ของตน ท�ำให้มีความมุ่งมั่นสู่ความส�ำเร็จ ไม่ติดการพ่ึงพิง น�ำไปสู่ในการพึ่งพาตนเอง ได้ในระยะยาว บทบาทครูและวธิ กี าร • ใหเ้ ดก็ ค้นหาวธิ ที ่ีจะน�ำไปสู่เป้าหมายด้วยตนเอง • ใหเ้ ดก็ คน้ หาวธิ ที จ่ี ะนำ� ไปสเู่ ปา้ หมายไดห้ ลายวธิ ี เชน่ ทำ� บา้ นจำ� ลองดว้ ยการใชว้ สั ดุ ที่ต่างกัน เช่น ไม้ไอศกรีม กระดาษแข็ง แกนกระดาษทิชชู หรือเลือกสิ่งท่ีน�ำมา เช่ือมต่อที่เลือกน�ำมาใช้ เชน่ ดนิ เหนยี ว เทปกาว ไหมพรม • ใช้ค�ำถามปลายเปดิ กระตนุ้ การคิด และวธิ ีท�ำงาน 101

• ให้เดก็ ไดล้ องท�ำตามความคิดของเขา โดยครตู อ้ งระวงั การเขา้ ไปแทรกแซง เพ่ือให้ เด็กได้ทดลองความคิดของตน ได้เรียนรู้ผลที่เกิดข้ึนด้วยตนเอง และยังเปิดโอกาส ให้เด็กได้คดิ แกป้ ญั หา หรือคดิ ตอ่ ยอดจนส�ำเรจ็ ดว้ ยตนเอง • ครูควรมีคำ� ถามกระตุน้ การคดิ ฝกึ คิด ที่หลากหลาย • ต้องมองโอกาสเปน็ คือร้วู ่าเมื่อใด จังหวะใด คือโอกาสท่จี ะกระตุ้น สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ได้เรยี นรู้ ไม่วา่ จะสำ� เร็จหรือไม่กต็ าม • ให้โอกาสเด็กท�ำสิ่งท่ีตั้งเป้าไว้ให้ส�ำเร็จด้วยการยืดหยุ่นเวลาให้เหมาะสมกับงาน ท่เี ด็กต้ังใจท�ำ 2.4 ให้โอกาสเดก็ ไดล้ องผิดลองถูก สำ� คัญอย่างไร การลองผิดลองถูกท�ำให้เด็กมีความกล้าที่จะคิดและลงมือท�ำ ซึ่งเป็นต้นทางของ ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ หากเดก็ ไดร้ บั โอกาสใหล้ องผดิ ลองถกู อยา่ งสมำ�่ เสมอ จะทำ� ให้ เดก็ เกดิ ความรสู้ กึ ทดี่ ตี อ่ ตนเอง ภาคภมู ใิ จเมอ่ื ประสบความสำ� เรจ็ แตห่ ากลม้ เหลว เดก็ กจ็ ะไมล่ ม้ เลกิ หรอื ทอ้ ถอยโดยงา่ ย คงมมุ านะพยายามทำ� ตอ่ ไป หรอื คดิ หาวธิ กี ารใหมๆ่ รูจ้ กั ยืดหยุน่ ความคดิ ไมต่ ิดกับความคดิ เดมิ การลองผิดลองถูกจะช่วยให้เด็กรู้จักจัดการกับอารมณ์ได้ดีเมื่อต้องเผชิญกับ สถานการณ์ที่ผิดหวัง หรือไม่เป็นไปอย่างที่ต้องการ ท�ำให้ท�ำใจยอมรับได้ง่าย จิตใจ เข้มแขง็ บทบาทครูและวธิ ีการ • จดั กจิ กรรมทเ่ี ดก็ ไดค้ ดิ และลงมอื ทำ� ดว้ ยตนเอง มวี สั ดอุ ปุ กรณท์ เ่ี ดก็ ตอ้ งสำ� รวจและ ตัดสนิ ใจเลือก • หากเด็กบางคนยังไม่กล้าท่ีจะคิดหรือลงมือท�ำ ครูอาจจะเสนอทางเลือก 2-3 วิธี แล้วชวนเด็กคิดถึงแนวทางในการท�ำ และผลท่ีคาดว่าน่าจะเกิดข้ึนของแต่ละวิธี จะชว่ ยให้เดก็ ร้สู กึ พร้อมท่จี ะลองผดิ ลองถูก • เม่ือเด็กลองผิดลองถูกแล้ว ชวนเด็กพูดคุยถึงความต้ังใจของเด็ก วิธีการและส่ือ ทเี่ ลอื กใช ้ และผลทเ่ี กดิ ขึ้นจากการลองผิดลองถูก 102

2.5 ให้โอกาสเดก็ ได้ใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์และจนิ ตนาการ สำ� คัญอย่างไร ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการเป็นปัจจัยส�ำคัญสู่ความส�ำเร็จในปัจจุบันและ อนาคต เพราะการเรียนรู้การท�ำงานหรือการใช้ชีวิตประจ�ำวันต้องพ่ึงพาความคิด สรา้ งสรรคท์ ง้ั สนิ้ ไมว่ า่ จะเปน็ การรเิ รมิ่ ทำ� สง่ิ ใหมๆ่ การพฒั นางาน และในการแกป้ ญั หา อีกทั้งยังเป็นการตอบสนองต่อความสุขท่ีได้แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์และ จินตนาการท่ีอยู่ภายในได้อย่างอิสระ ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการก่อให้เกิด ความสนุกท่ีได้คิดส่ิงใหม่ วิธีการใหม่มาทดแทนความคิดเก่า ท�ำให้เป็นคนที่มีความ กระตือรอื รน้ มีชีวติ ชวี า ชา่ งคิด ชา่ งท�ำ บทบาทครแู ละวธิ กี าร • สร้างบรรยากาศการเรยี นรทู้ ีเ่ ดก็ รสู้ กึ อบอนุ่ เปน็ มติ ร พรอ้ มรบั ฟังและใหเ้ กยี รตกิ นั • จดั กจิ กรรมทฝี่ กึ ใหเ้ ดก็ สนกุ ทจี่ ะคดิ หรอื ทา้ ทายความคดิ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ อยา่ ง หลากหลาย คิดยืดหยุน่ คดิ สง่ิ ใหมๆ่ คิดนอกกรอบ เปน็ ตน้ • กระตุ้นให้เด็กส่ือสารหรือแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ของตัวเอง ด้วยวิธีการ ท่ีหลากหลาย เช่น วาดภาพ ศิลปะสร้างสรรค์ แสดงบทบาทสมมติ เล่าเร่ือง เล่านทิ าน ต่อบลอ็ ก เป็นต้น • ให้เด็กทุกคนได้มีโอกาสอย่างเท่าเทียมกันในการแสดงออกถึงผลงานของตน ไมต่ ัดสิน หรือแขง่ ขนั การประกวดผลงานของเด็ก เพราะจะท�ำใหเ้ ด็กทไี่ ม่ไดร้ างวลั สูญเสียความเช่อื ม่ันในตนเอง • สง่ เสรมิ ให้เดก็ ไดร้ จู้ ักตง้ั คำ� ถาม และครสู นใจคำ� ถามของเดก็ เพราะคำ� ถามจะชว่ ย กระตุน้ การคิด • ให้เด็กได้มโี อกาสได้เห็นผลงานทโี่ ดดเด่น เช่น พิพิธภัณฑ์ คา่ ยวทิ ยาศาสตร์ การไป ทัศนศึกษาพิพิธภัณฑ์ศิลปะ ได้เห็นภาพถ่ายผลงานศิลปินหลากหลายประเภท เป็นต้น • ให้เด็กได้มีโอกาสใช้จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ผ่านการเล่นอิสระอย่าง สม�ำ่ เสมอ เช่น เล่นน้ำ� เลน่ ทราย เลน่ บทบาทสมมติ ต่อบล็อก เปน็ ต้น 103

2.6 ให้โอกาสเดก็ เรยี นรผู้ ่านการเล่น ส�ำคญั อยา่ งไร การเล่นคือการเรียนรู้ท่ีสร้างความสุข และท�ำให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ การเล่นของเด็กมีความหมายเทียบเท่าการท�ำงานของผู้ใหญ่ เพราะเด็กเรียนรู้ ผ่านการเล่น จึงมักใช้ค�ำว่าให้เด็กเล่น (ส่วนเด็กประถมสามารถเรียนรู้เร่ืองที่ยาก และซับซ้อนมากข้ึน รับผิดชอบได้มากขึ้น ครูก็ให้ท�ำงานที่ยากข้ึน จึงมักใช้ค�ำว่า ให้ ‘งาน’ ‘ท�ำงาน’) การเล่นเป็นการเรียนรู้และพัฒนาเด็กแบบบูรณาการอย่างเป็นธรรมชาติ ในพัฒนาการท้ัง 4 เช่น ด้านร่างกายท่ีต้องท�ำงานกับความคิดและความมุ่งม่ัน เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ดังที่ต้ังเป้าหมาย หรือใช้ความคิดจินตนาการกับภาษา และ เรยี นร้กู ฎระเบยี บทางสังคม วฒั นธรรม  การเล่นจะดึงเอาความรู้สึกนึกคิด ความจ�ำ และประสบการณ์เดิมของเด็กออก มา ได้ฝึกการแก้ปัญหาที่เกิดจากการเล่น ท�ำให้มีสมาธิจดจ่อ และหากเล่นร่วมกับ เพ่ือนก็จะเป็นการพัฒนาด้านปัญญาควบคู่ไปกับการส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เพราะตอ้ งมีปฏสิ มั พันธ์กบั บุคคลอื่น ต้องประนีประนอมกนั ยง้ั คดิ ไตรต่ รอง รจู้ ัก แบง่ กันเลน่ รู้จกั รอคอย และเคารพกตกิ า การเล่นยังช่วยพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม ยกระดับจิตใจเด็กให้สูงขึ้น เช่น การเลน่ บทบาทสมมติ ทำ� ให้ไดเ้ รยี นรู้จกั และเขา้ ใจผอู้ น่ื ผา่ นการแสดงบทบาทเป็น คนนน้ั ๆ บทบาทครแู ละวิธกี าร • ครูจัดเวลาให้เด็กเรียนรู้ผา่ นการเลน่ ทีห่ ลากหลาย • ตอ้ งใหม้ คี วามสมดลุ ระหวา่ งการเลน่ หรอื ทำ� กจิ กรรมทค่ี รเู ปน็ ผรู้ เิ รม่ิ กบั เดก็ รเิ รม่ิ (Teacher Initiated & Child Initiated) • ในการเลน่ หรอื ทำ� กจิ กรรม ตอ้ งมกี ารตง้ั เงอ่ื นไขบางอยา่ ง เพอื่ ใหเ้ กดิ ความทา้ ทาย เกิดความคิดสร้างสรรค์เพ่ือฝึกทักษะแก้ปัญหาหรือหาทางออก การใส่เง่ือนไข ต้องเหมาะกับวัยด้วย เช่น เด็กเล็กใส่เงื่อนไขน้อยหน่อย ง่ายหน่อย เพราะถ้า มากเกนิ ไป หรอื ยากเกนิ ไป เด็กจะทำ� ไมถ่ กู และจะไม่เอื้อให้เกดิ ผลสำ� เร็จ 104

• การเล่น ต้องมีกติกา หรือข้อตกลง เพ่ือให้เด็กรู้จักค�ำว่า การยับย้ังช่ังใจ (อาจจะ ใชเ้ วลาเป็นขอ้ ตกลง) รจู้ ักการวางแผน เคารพขอ้ ตกลง • สง่ เสริมให้เดก็ ไดต้ ง้ั โจทย์ ตัง้ เงอื่ นไข ข้อตกลงหรอื กติกาการเลน่ ด้วยตวั เอง • จัดเวลาให้เด็กได้เล่นอิสระนอกห้องเรียน และให้ความส�ำคัญกับการจัด สภาพแวดล้อมท่ีมคี วามหลากหลาย ทา้ ทายสงู แตต่ ้องปลอดภยั • ต้องส่ือสารกับเด็กให้ชัดเจนก่อนให้เล่นอิสระ(Free Play) โดยมี 3 กรอบคือ กรอบของสถานท่ี (ต้องมีขอบเขต) กรอบของเวลา (ก�ำหนดเวลา) และกรอบ ของความปลอดภัย (กฎกตกิ า) • เมอื่ เดก็ กลบั มาจากการเลน่ อสิ ระ ชวนใหเ้ ดก็ เลา่ วา่ ไดเ้ รยี นรอู้ ะไรบา้ งจากทอี่ อกไป เรยี นรนู้ อกห้องเรียน • ให้เด็กเข้าใจและเห็นคุณค่าในการเล่นบทบาทสมมติหรือละครสร้างสรรค์ ท่ีช่วย ให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการสวมบทบาทเป็นคนอ่ืน เป็นตัวละครในเร่ือง การเรียนรู้ ผ่านสถานการณ์จ�ำลองจะช่วยให้เข้าใจความคิดและอารมณ์ความรู้สึกผู้อ่ืน ได้แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ได้ฝึกการใช้จินตนาการร่วมกับคนอื่นซึ่งต้องอาศัย การยืดหย่นุ ทางความคดิ ไปพร้อมๆ กัน 2.7 ให้โอกาสเดก็ ไดแ้ สดงความคดิ เหน็ และวเิ คราะหผ์ ลการทำ� งานของตนเอง ส�ำคัญอย่างไร การให้เด็กมีโอกาสได้แสดงความคิดเห็นและวิเคราะห์ผลงานของตน จะท�ำให้เด็ก ไดฝ้ กึ การล�ำดับการทำ� งาน ฝกึ การใชเ้ หตุผล ใชข้ อ้ มูล ความจำ� ประสบการณเ์ ดิม และ ฝกึ การคดิ เชอ่ื มโยง นำ� มาสทู่ กั ษะการประเมนิ ตนเอง โดยสามารถบง่ บอกถงึ ความรสู้ กึ พงึ พอใจ หรอื ความพยายามในการปรบั ปรงุ การทำ� งานและผลงานของตนเอง และหาก คุณครูให้เด็กๆ ได้ผลัดกันแสดงความคิดเห็นและน�ำเสนองานกับผู้อื่น ก็เป็นโอกาสท่ี เด็กจะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน มีโอกาสท้ังพูดและรับฟังความคิดเห็นของคน อ่ืน ได้เห็นมุมมองของคนอ่ืนท่ีอาจเหมือนหรือต่างไป ท�ำให้เรียนรู้จักที่จะรับฟังค�ำ วจิ ารณท์ ม่ี ตี อ่ ผลงานของตน ขณะเดยี วกนั กเ็ รยี นรวู้ ธิ ที จ่ี ะพดู แสดงความคดิ เหน็ อยา่ ง เหมาะสม 105

บทบาทครูและวธิ กี าร • จัดเวลาใหเ้ ด็กไดแ้ สดงความคิดเห็นและวเิ คราะห์ผลงานและการทำ� งาน • ส่งเสรมิ และกระตนุ้ ให้เด็กหาเหตผุ ลมาอธบิ ายความคดิ เหน็ ของตน • ใชค้ ำ� ถามปลายเปดิ ทีจ่ ะท�ำให้เด็กกลา้ ตอบ เปน็ คำ� ถามทีไ่ มม่ ถี ูกผดิ • เอ้ืออ�ำนวยให้เด็กแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง ดูแลบรรยากาศการแสดง ความคดิ เห็นที่สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ กลา้ พดู ในส่ิงที่ตนเองคดิ • ครูรับฟังด้วยท่าทีที่สนใจในสิ่งที่เด็กคิด เด็กพูด และไม่ด่วนตัดสินหรือวิจารณ์ ความคดิ เหน็ ของเดก็ เพราะจะทำ� ใหเ้ ดก็ สญู เสยี ความมน่ั ใจทจ่ี ะตอบในครงั้ ตอ่ ไป • เพมิ่ ทกั ษะการจดั การตนเองใหเ้ ดก็ โดยใหเ้ ปน็ ผชู้ ว่ ยครู หมนุ เวยี นกนั ทำ� เปน็ การ เพม่ิ ความภมู ใิ จใหก้ บั เดก็ ทไี่ ดช้ ว่ ยครู ชว่ ยเพอ่ื น นอกเหนอื ไปจากการจดั การตนเอง ดแู ลตนเองตามปกติ ก•จิ กกรจิรกมรฝรึกมกกาลรมุ่ กใำ�หกญบั ท่ตท่ีนำ�เอเปงน็ ประจำ� ทกุ วนั เชน่ 2.8 ให้โอกาสเด็กเรียนรู้ผา่ นกิจวตั รประจำ� วนั “เช็คชื่อ”ตอนเช้าและกิจกรรมชวนคุยกันว่า “เดก็ ๆจะทำ� อะไรบา้ งกนั ในวนั น”้ี หรอื การสรปุ ส�ำคญั อย่างไร ชว่ งทา้ ยวนั วา่ “วนั นเ้ี ราไดเ้ รยี นรอู้ ะไรกนั บา้ ง” จะช่วยพัฒนาความใส่ใจจดจ่อในเด็ก เสริม การท่ีเด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรได้ด้วยตนเองตามวัย เด็กจะ ความจ�ำ และเปน็ การพัฒนาการดูแลกำ� กบั ตระหนกั วา่ ตนเองมคี วามสามารถและพง่ึ พาตนเองได ้ จงึ กอ่ ให้ • ตนเอง (Self-Regulation) เป็นต้น เกิดความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย มีความม่ันใจท่ีจะลงมือท�ำ กิจกรรมกลุ่มเล็กประจ�ำวัน เด็กจะได้ฝึก สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง และเม่ือท�ำกิจวัตรประจ�ำวันซ�้ำๆ จนเกิด การท�ำงานกลุ่มที่จะต้องมีการคิดก่อนท�ำ ความช�ำนาญจะเป็นฐานนำ� ไปส่กู ารสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Response Inhibition), การวางแผน การท�ำกิจวัตรประจ�ำวันจะเป็นต้นทางของการฝึกการ การจัดระบบด�ำเนินการ การฝึกความมุ่งม่ัน จัดการ ฝึกทักษะการแก้ปัญหา น�ำไปสู่การวางแผน จัดล�ำดับ และความยดื หย่นุ ความสำ� คญั การจดั การเวลา การควบคมุ ตนเองเพอ่ื ทำ� สง่ิ ตา่ งๆ ให้บรรลเุ ปา้ หมาย @ 2015 Kinder Care Learning Centers LLC การปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันจึงเป็น “โอกาส” ที่ส�ำคัญ ดงั นนั้ หากเดก็ ไมไ่ ดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหท้ ำ� กจิ วตั รประจำ� วนั อยา่ ง Executive Functioning กับการก�ำกับตัวเอง (Self- สม่�ำเสมอจึงเป็นส่ิงท่ีน่าเสียดายยิ่ง เพราะเป็นการตัดโอกาส Regulation) เป็นเครื่องท�ำนายท่ีแข็งแรงมากถึงความส�ำเร็จ ในการพฒั นาศักยภาพในทกุ ด้านของเด็ก ในการเรยี น แขง็ แรงมากยงิ่ กวา่ IQ เสยี อกี (Blair, C.(2002), p 111–127) 106

บทบาทครแู ละวธิ ีการ • ให้เด็กได้ทำ� กจิ วตั รประจำ� วันท่ีคงทแ่ี ละสมำ�่ เสมอ • ตอ้ งบอกเปา้ หมาย จดุ ประสงค์ และขนั้ ตอนทชี่ ดั เจน เชน่ “เกบ็ รองเทา้ เขา้ ทใี่ หเ้ ปน็ ระเบยี บกอ่ นเขา้ หอ้ งเรยี นเพอื่ ใหด้ สู วยงาม มรี ะเบยี บ และหางา่ ย” ขน้ั ตอนการจดั เก็บคือ เดก็ ๆ ต้องถอดรองเทา้ และเกบ็ ในชัน้ ทม่ี ชี ื่อของตัวเองใหเ้ รียบร้อย • จัดเวลาสอน พาท�ำ ปล่อยให้ทำ� แลว้ ตามดวู ่าเด็กทำ� ไดต้ ามเป้าหมายหรือไม่ • ควรมีข้อตกลงรว่ มกัน และเมื่อเกดิ ปญั หา ใหเ้ ดก็ ๆ ช่วยกนั หาทางออก ในกรณที ีม่ ี การเปลย่ี นแปลงทกี่ ระทบตอ่ การปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำ� วนั ตอ้ งบอกใหเ้ ดก็ รทู้ ว่ั ทกุ คน • ให้เด็กได้เรียนรู้และใช้ปฏิทิน ตารางเวลาล่วงหน้า เพ่ือเตรียมตัวและเตรียมใจ ส�ำหรับการทำ� กจิ กรรม เช่น วนั ท่ีจะมีการตรวจฟัน • จดั สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้อื ต่อการปฏิบัติด้วยตนเองของเด็ก เช่น ความสูงทพี่ อเหมาะ กบั การใชง้ าน การใชเ้ ทคนคิ ตา่ งๆ เพอื่ ชว่ ยในการสงั เกตและจดจำ� เชน่ การตดิ ภาพ แปรงสฟี นั รองเทา้ กระเปา๋ เครอื่ งนอน เพอ่ื ใหเ้ ดก็ สามารถเกบ็ ขา้ วของตนเองใหถ้ กู ต้องตามหมวดหมทู่ ี่ครูจัดไวใ้ ห้ เปน็ การเออื้ ใหเ้ ดก็ ได้ชว่ ยเหลือตัวเองมากทส่ี ดุ • ครูต้องสื่อสารกับทางบ้านเพ่ือให้เห็นตรงกัน เมื่อเด็กเร่ิมได้ท่ีบ้านต้องฝึกฝน อย่างตอ่ เนือ่ ง ไม่เปล่ยี นใจ ไม่ใจออ่ น ไม่ลม้ เลิกกตกิ าระหวา่ งทาง 2.9 ให้โอกาสเดก็ ได้ฝกึ ฝนทกั ษะการแกป้ ัญหา สำ� คัญอยา่ งไร การแกไ้ ขปญั หาเปน็ สว่ นหนงึ่ ในการใชช้ วี ติ ประจำ� วนั ไมว่ า่ จะเปน็ การปฏบิ ตั กิ จิ วตั ร ประจ�ำวัน การท�ำกิจกรรมร่วมกบั เพื่อน การสรา้ งสรรค์ผลงาน จะเป็นการสรา้ งความ มน่ั ใจในตนเอง ไมก่ ลวั ปญั หา เกดิ ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์ ตดั สนิ ใจ และจดั การปญั หา นอกจากนี้การให้เด็กคิด ตัดสินใจ และเผชิญกับปัญหาที่เกิดข้ึน จะเป็นการฝึก ความรบั ผดิ ชอบต่อผลการตดั สนิ ใจของตนเองอกี ดว้ ย บทบาทครแู ละวธิ กี าร • ให้ก�ำลังใจและกระตุ้นให้เด็กกล้าเผชิญปัญหา ปัญหาของเด็กๆ น้ันบ่อยครั้งที่ ดูเหมือนเป็นเรื่องเล็ก แต่เป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม เช่น ติดกระดุมผิดท�ำให้ต้อง แกะออกและติดใหม่ ให้คุณครูใจเย็น ดูจังหวะให้ดี ให้โอกาสเด็กได้เผชิญปัญหา 107

ถ้าเด็กพอจะท�ำได้ ก็ให้ก�ำลังใจให้พยายามท�ำต่ออีกนิด แต่ถ้าดูแล้วว่าท�ำไม่ได้ แนน่ อน ครจู ะชแ้ี นะ/ทำ� ใหด้ ู แล้วให้เด็กลองทำ� ดใู หม่ • ต้องระมัดระวังการเข้าไปแทรกแซงท่ีอาจไปขัดจังหวะในการที่เด็กจะแก้ปัญหา หรือลองผิดลองถูกด้วยตนเอง ต้องให้เด็กค้นหาวิธีแก้ปัญหาหรือเสนอทางออก ด้วยตนเองก่อน ถึงแมจ้ ะเปน็ วธิ ที ีไ่ ม่ตรงกับใจของครู หรือจะไม่ใช่วิธีที่ดที ีส่ ดุ กต็ าม • จดั กจิ กรรมทใี่ หเ้ ดก็ ได้เผชิญกบั ปญั หาด้วยความสนกุ และท้าทายตามวยั • ใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในการแกป้ ญั หาในกจิ กรรมหรอื กจิ วตั ร ในกรณที ไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามแผน เชน่ หอ้ งนำ้� ไมพ่ อจะทำ� อยา่ งไร ของเลน่ แบบนม้ี ชี นิ้ เดยี วแตอ่ ยากเลน่ หลายคน เปน็ ตน้ 2.10 ให้โอกาสเด็กได้เรียนรู้ผ่านบูรณาการประสาทสัมผัส (Sensory Integration) ทั้ง 7 (5+2= มองเห็น/ได้ยิน/สัมผัส/ดมกล่ิน/ล้ิมรส + การใช้ กลา้ มเนอ้ื เอ็นขอ้ ต่อ/การทรงตวั ) ส�ำคัญอย่างไร การสังเกตและรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส (Sensory Integration) ทั้ง 7 (5+2) เป็น ดา่ นแรกของการรับขอ้ มลู จากภายนอกเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ เพราะเดก็ วยั นเ้ี รียนรูไ้ ด้ดี ทส่ี ดุ ผ่านประสาทสมั ผัสท้งั 7 (5+2) และประสาทสัมผสั ท้งั 7 (5+2) จะพัฒนาได้ดีที่สุด ในช่วงวัยนี้ การให้เด็กได้รับโอกาสดังกล่าวจึงท�ำให้เด็กมีประสาทสัมผัสท่ีฉับไว มีการ สังเกตท่ีละเอียดและเฉียบคม นอกจากน้ีประสาทสัมผัส 7 (5+2) ยังเป็นพ้ืนฐานการ พัฒนาทักษะสมอง EF อกี ด้วย บทบาทครแู ละวธิ ีการ • จัดกิจกรรมท่ีต้องใช้การบูรณาการผ่านประสาทสัมผัส (Sensory Integration) เชน่ การใหเ้ ดก็ ไดม้ ดุ ลอด ไต่ กลงิ้ ตวั บนพน้ื ผวิ ตา่ งๆ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ ลน่ กบั นำ�้ ทราย เปน็ ตน้ • กจิ กรรมการเรยี นรทู้ จ่ี ดั ใหก้ บั เดก็ ควรเปน็ กจิ กรรมทก่ี ระตนุ้ ใหเ้ ดก็ เรยี นรผู้ า่ นประสาท สัมผสั ให้มากทส่ี ุด และให้เดก็ ได้สะทอ้ นการเรยี นรใู้ นการสังเกตผ่านประสาทสมั ผัส ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย นั่นคือ การเรียนรู้ท่ีผ่านการลงมือท�ำ ชวนเด็กต้ังค�ำถาม ให้เดก็ หาค�ำตอบจากการสงั เกต สำ� รวจ • เมื่อครูให้เด็กบันทึกร่องรอยหรือสะท้อนสิ่งที่เห็น ส่ิงท่ีรับรู้ได้จากประสาทสัมผัส ด้วยการวาดภาพ ปั้น เล่าเร่ือง ประดิษฐ์จากวัสดุที่หลากหลาย ฯลฯ นอกจาก 108

จะช่วยให้เด็กมีการสังเกตได้ละเอียดข้ึน ยังช่วยให้ครูได้รู้ว่าเด็กมีการสังเกตดี หรอื ไม่ ไดร้ ูว้ ่าเด็กให้ความสนใจหรอื ใสใ่ จในแงม่ มุ ใด 2.11 ให้โอกาสเดก็ ไดจ้ ดจ่อใส่ใจ สำ� คญั อยา่ งไร ในชว่ งปฐมวยั เด็กต้องมพี ้ืนฐานดา้ นอารมณ์และจิตใจทจี่ ดจ่อและใส่ใจกับสงิ่ ท่ีทำ� จะเป็นการฝึก “สติ” ให้อยู่กับส่ิงท่ีอยู่ตรงหน้าและช่วยให้เด็กมีสมาธิในการท�ำงาน อาจกล่าวได้ว่า “สติเป็นเหตุ สมาธิเป็นผล” การฝึกทักษะจดจ่อใส่ใจอย่างสม่�ำเสมอ จะชว่ ยยดื ชว่ งสมาธขิ องเดก็ ใหย้ าวขนึ้ เปน็ ผลดตี อ่ การรบั รแู้ ละประสทิ ธภิ าพการทำ� งาน ของสมอง การจดจ่อใส่ใจจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อความส�ำเร็จทั้งทางการเรียนและ คณุ ภาพในการท�ำงาน บทบาทครูและวธิ ีการ • หลักการส�ำหรับการฝึกสติให้กับเด็กเล็กๆ คือ “กายเคล่ือนไหวแต่ใจอยู่น่ิง” คือ ให้เด็กจดจ่ออยู่กับส่ิงท่ีก�ำลังท�ำอยู่ การฝึกสติไม่ควรใช้วิธีให้เด็กหลับตา เพราะ เป็นการฝืนธรรมชาติ เมื่อเด็กหลับตาการจินตนาการอาจฟุ้งไปไกลมาก อาจ คดิ ถงึ สิ่งท่ีนา่ กลวั ได ้ • การฝึกสติควรให้เด็กท�ำกิจกรรมท่ีต้องใช้สมาธิจดจ่อกับงานท่ีท�ำจนส�ำเร็จ เช่น ตัดกระดาษ ร้อยลูกปัด กรอกน้�ำใส่ขวด ระบายสี ท�ำงานประดิษฐ์ ภายใต้ สภาพแวดล้อมทส่ี งบ ผ่อนคลาย ไม่เร่งรัด หรอื แขง่ ขัน • ในระหว่างการจัดกิจกรรม เช่น วาดภาพ ระบายสี อาจให้เด็กได้ฟังเพลงเบาๆ ดนตรที ร่ี นื่ รมย์ ครูควรพูดเบาๆ ด้วยน�ำ้ เสยี งที่นมุ่ นวล • จัดกิจกรรมการเคล่ือนไหวประกอบจังหวะ ให้เด็กได้จดจ่อกับการเคลื่อนไหว ตามจังหวะเพลง หรือ เคลื่อนไหวภายใต้เง่ือนไขที่ครูบอกอย่างมีสมาธิจดจ่อกับ การก�ำกับร่างกายของตนเอง เช่น เคลื่อนที่ไปรอบๆ ห้องช้าๆ โดยไม่ให้ชนกัน สมมติตัวเองเป็นลูกแมวเหมียวตัวอ้วนก�ำลังคลานไปหาที่นอน แล้วลูกแมว แตล่ ะตัวก็ไปนอนขดในตะกร้าของตนเอง 109

2.12 ให้โอกาสเด็กไดร้ ับแรงบนั ดาลใจ ส�ำคญั อย่างไร แรงบนั ดาลใจเปน็ แรงผลกั ทส่ี ำ� คญั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในใจของเดก็ ทตี่ อ้ งการจะรเิ รมิ่ ทำ� สงิ่ ใหมๆ่ มเี ปา้ หมายใหม่ หรอื เปา้ หมายทไ่ี กลขน้ึ เปน็ แรงผลกั ทตี่ อ้ งการเปลย่ี นแปลงตวั เอง ตอ้ งการ สรา้ งสมรรถนะทด่ี ขี น้ึ แขง็ แกรง่ ขน้ึ หรอื ทกั ษะใหมๆ่ อยา่ งมเี ปา้ หมายทจี่ ะใหเ้ กดิ ขนึ้ ใน อนาคต ขณะเดยี วกนั กร็ กั ษากำ� ลงั ใจในปจั จบุ นั ใหเ้ ขม้ แขง็ ไมท่ อ้ หรอื หมดหวงั ระหวา่ งทาง แรงบันดาลใจเกดิ จากประสบการณ์ในทางบวกทีม่ ีพลังทส่ี รา้ งความรสู้ กึ ประทับใจ เร้าใจ ชื่นชม ศรัทธา ควบคู่ไปกับพลังท่ีมีอยู่ในใจของเด็กที่เช่ือว่าตนเองมีศักยภาพ มคี วามสามารถทจี่ ะพฒั นาตนเองไปทางทด่ี ขี น้ึ ได้ มคี วามมน่ั คง มน่ั ใจ ไมก่ ลวั ความลม้ เหลว บทบาทครูและวิธกี าร • สร้างแรงเสริมทางบวก เพื่อส่งเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าในตนเอง ตระหนักว่าตน เป็นผู้ที่มีความสามารถ มีศักยภาพ ผ่านการลงมือท�ำกิจวัตรและกิจกรรมต่างๆ ชื่นชมความมุ่งมั่นเพียรพยายามของเด็ก ให้ก�ำลังใจเม่ือเด็กประสบความผิดหวัง และชวนใหเ้ ดก็ วเิ คราะหแ์ ละหาทางแกป้ ัญหาดว้ ยตัวเอง • จัดกิจกรรมทัศนศึกษาที่เด็กจะได้รับประสบการณ์ที่ดี เชื่อมโยงสู่ตัวเด็ก เช่น พาเด็กไปชมงานศลิ ปะ และเชอื่ มโยงกับการท�ำงานศลิ ปะในชนั้ เรยี นของเด็ก การ ไปเยี่ยมชมแปลงผักออแกนิคกับการท�ำโครงงาน “ผักสลัด” เพ่ือเป็นแรงบันดาล ให้กับเด็กทเี่ กดิ จากการมีทศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ การสรา้ งสรรค์งานและตอ่ ตวั เอง • เลา่ นิทาน อา่ นหนังสือ ก็เปน็ อกี กจิ กรรมท่ีสร้างแรงบันดาลใจทด่ี ี เช่น นทิ านเรื่อง ฉนั ช่ือเจน เป็นเร่ืองทีส่ ร้างแรงบันดาลใจให้เด็กทัว่ โลกท�ำตามความฝันของตวั เอง • ใหเ้ ดก็ ไดม้ ปี ระสบการณต์ รงกบั บคุ คลทเี่ ปน็ แบบอยา่ งทเ่ี ดก็ รสู้ กึ ชน่ื ชมเชน่ นกั แตง่ นทิ าน ผวู้ าดภาพในนทิ านทเ่ี ดก็ เคยอา่ น คณุ ตาคณุ ยายทม่ี าทำ� ของเลน่ ทำ� มอื ใหเ้ ดก็ เลน่ พอ่ แม่ มาเลา่ ใหฟ้ งั ถงึ อาชพี ทที่ ำ� และเชอ่ื มโยงกบั กจิ กรรมหรอื สงิ่ ทอ่ี ยใู่ นความสนใจของเดก็ ๆ • เราได้ให้ “โอกาสที่ด”ี แกเ่ ด็กอย่างเพยี งพอหรอื ไม่ • เราได้สกดั กนั้ โอกาสดีๆ ของเด็กไปโดยไม่ตงั้ ใจหรือไม ่ • เราใจเยน็ พอท่ี “รอ” ใหเ้ ด็กได้คดิ ไตร่ตรองไดน้ านพอหรอื ไม่ • ใหเ้ วลาเด็กทีจ่ ะไดท้ �ำสิ่งทเ่ี ขาสนใจอย่างตอ่ เน่อื งหรือไม ่ • เราใหโ้ อกาสดีๆ กบั เด็กอย่างท่วั ถงึ แลว้ หรอื ยัง 110

2.13 ให้โอกาสเดก็ ไดฝ้ กึ ทักษะทางอารมณ-์ สงั คม ส�ำคญั อยา่ งไร เด็กท่ีมีทักษะทางอารมณ-์ สงั คม จะร้จู ักและเท่าทันอารมณ์ของตน เชน่ ร้วู า่ ก�ำลัง โกรธ ก�ำลังตื่นเต้น สามารถจัดการกับอารมณ์และแสดงออกอย่างเหมาะสม จะช่าง สงั เกตและมคี วามไวตอ่ การรบั รอู้ ารมณข์ องผอู้ น่ื รวู้ ธิ ที จี่ ะสอื่ สารและสรา้ งความสมั พนั ธ์ ทดี่ ีกับผ้อู ่นื แสดงความเปน็ ผู้น�ำและผูต้ ามไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ และจดั การกับ ความขดั แยง้ ไดด้ ี ทกั ษะเหลา่ นเี้ ปน็ ทกั ษะสำ� คญั ทจ่ี ะตอ้ งฝกึ ฝนใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั เดก็ เพราะ จะท�ำให้เด็กมีความสุขกับการอยู่ร่วมกับเพ่ือนและผู้อ่ืนท่ีแวดล้อมเด็ก เป็นท่ีรักของ เพื่อน ประสบความส�ำเร็จในการท�ำงานร่วมกับกลุ่มเพ่ือน น�ำไปสู่ความส�ำเร็จในการ เรยี น การดำ� เนนิ ชวี ติ ครอบครวั และการงานในอนาคต ทกั ษะทางอารมณ-์ สงั คมจงึ เปน็ ทักษะท่ีจ�ำเป็นและส�ำคัญย่ิงในโลกปัจจุบันและอนาคตท่ีมีความซับซ้อนในความ สมั พนั ธข์ องมนษุ ย์ อกี ทง้ั ยงั มกี ารวจิ ยั ยนื ยนั วา่ การกำ� กบั อารมณ์ และการพฒั นาทกั ษะ EF พัฒนาไปโดยมีความเกี่ยวโยงกัน และการส่งเสริมการก�ำกับอารมณ์และฝึกฝน ทักษะการแก้ปญั หาทางสงั คม จะเสริมพลังให้ EF แข็งแรงขึ้น บทบาทครูและวธิ ีการ • ใหเ้ ดก็ เรมิ่ ตน้ เรยี นดว้ ยความสงบ สบาย ดว้ ยการทกั ทายกนั ดว้ ยความนมุ่ นวล อบอนุ่ อาจเพิ่มเติมด้วยการให้ท�ำกิจกรรมยามเช้าท่ีให้เด็กมีความสงบ เช่น การนั่ง กันเป็นวงแล้วส่งดอกไม้ให้กันอย่างเบามือ รับรู้ถึงการให้และการรับ สานต่อ การสรา้ งสัมพนั ธ์ทดี่ ีในยามเช้า • เมอื่ มาถึงโรงเรยี น หรือเม่ือท�ำกจิ กรรมบางอย่าง ใหเ้ ดก็ หยิบปา้ ย “ใบหนา้ ท่แี สดง อารมณ์ หน้าบึ้ง หนา้ ยม้ิ หน้าสงสัย หน้าตนื่ เตน้ ฯ” ใสท่ ปี่ ้ายชอ่ื ตนเอง ครูน�ำมาพูด คุยกับเด็ก “ครูเห็นหนูใส่ป้ายหน้าบึ้ง หนูรู้สึกอย่างไร อะไรท�ำให้หนูโกรธ”เด็กๆ จะเหน็ แบบอยา่ งของการสงั เกตอารมณข์ องผอู้ นื่ การแสดงถงึ ความใสใ่ จ และพรอ้ ม รับฟัง ซงึ่ จะท�ำใหเ้ ด็กไวต่อการตระหนกั รคู้ วามรูส้ ึกตนเอง เทา่ ทนั อารมณต์ นเอง • จับคู่เด็ก ผลัดกันเล่าถึงอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดขึ้นหลังจากท�ำกิจกรรม ขณะท่ี คนหนงึ่ เลา่ ใหค้ นหนงึ่ ฟงั ไมพ่ ดู แทรก รอจนเพอื่ นเลา่ จบแลว้ คอ่ ยเลา่ ของตวั เองบา้ ง การรบั ฟงั จะเปน็ ฐานทสี่ ำ� คญั ตอ่ การสรา้ งสมั พนั ธท์ ดี่ แี ละและเออื้ ตอ่ การเขา้ ใจผอู้ น่ื และแสดงออกด้วยความเข้าใจ 111

• ใหเ้ ดก็ ฟงั นทิ านหรอื เรอื่ งเลา่ แลว้ ถามเดก็ วา่ “ถา้ เปน็ ตวั หน ู หนจู ะรสู้ กึ อยา่ งไร” “แลว้ หนจู ะแสดงออกอยา่ งเจา้ ชา้ งขโ้ี มโหไหม ถา้ ไมท่ ำ� อยา่ งนนั้ หนจู ะทำ� อยา่ งไร” • เล่นบทบาทสมมติ แสดงอารมณ์ตามตัวละครในเรื่อง หรือเล่นบทบาทสมมติ ในมมุ บทบาทสมมติในหอ้ งเรยี น • ใหเ้ ดก็ ดภู าพที่แสดงออกถงึ อารมณ์อยา่ งชัดเจน ใหเ้ ด็กฝึกคาดเดาวา่ ภาพท่เี ห็น อาจเป็นคนหรือสัตว์ มอี ารมณ์ความร้สู ึกอย่างไร และฝกึ จินตนาการดวู ่า อะไร น่าจะท�ำใหค้ นหรอื สตั ว์น้ันแสดงอารมณ์ดังภาพ • พูดคุยกับเด็กถึงสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น หรือเม่ือเกิดข้ึนกับตัวเด็กเอง เช่น เสียใจ ผดิ หวงั สญู เสีย ครพู ร้อมรับฟัง และแสดงออกถึงการยอมรบั ทุกอารมณ์ ทเี่ กดิ ขน้ึ กบั เดก็ เพราะคนเรายอ่ มโกรธ เสยี ใจ หรอื ผดิ หวงั ได ้ จากนนั้ ใหค้ รชู วน เด็กพูดคุย ชวนเด็กคิด (ไม่ใช่สอน) เพ่ือน�ำไปสู่วิธีคิดทางบวก เช่น การให้ กำ� ลังใจตนเอง การยอมรบั ส่ิงท่เี กิดข้ึน และส่งิ ท่ีควรทำ� ตอ่ ไปจากน้ใี ห้ดขี ้ึน • พดู คยุ กบั เดก็ ถงึ สถานการณท์ อ่ี าจเกดิ ขน้ึ หรอื เมอ่ื เกดิ ขนึ้ จรงิ กบั เพอ่ื น เชน่ เมอื่ หมาของเพื่อนตาย เมื่อเพ่ือนบาดเจ็บหรือของหาย พูดคุยกับเด็กถึงความรู้สึก ของเพื่อน ความรสู้ กึ ของตนเองต่อเพ่อื น ความเห็นอกเห็นใจ และสิ่งท่ีเด็กควร แสดงออกอยา่ งสอดคลอ้ งกับความความรูส้ ึกที่เกิดข้นึ • ใหเ้ ดก็ มโี อกาสไดเ้ ลน่ ไดท้ ำ� งานรว่ มกนั เปน็ คู่ เปน็ กลมุ่ เลก็ กลมุ่ ใหญ่ อยา่ งอสิ ระ บนกติกาการอยู่ร่วมกัน เช่น การเข้าควิ การผลัดเปลย่ี นกนั ทำ� ผลดั กนั พดู การ รอคอย การบอกความต้องการ การเล่นและการท�ำงานด้วยกันบ่อยๆ จะเป็น ประสบการณ์ตรงของเด็กทีจ่ ะฝกึ ฝนทกั ษะทางสงั คม เช่น การให้ การขอความ รว่ มมอื การแบง่ ปนั การแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ การเจรจาตอ่ รอง การยอมรบั วธิ ที ำ� งานทแ่ี ตกตา่ งกนั ความรว่ มมอื การไมโ่ ทษกนั และการจดั การกบั ความขดั แยง้ • จัดโอกาสให้เด็กได้แลกเปล่ียนความคิดเห็น เสนอความคิดเห็น และรับฟังกัน ในกลุ่มอยเู่ สมอ • ใหเ้ ดก็ ไดส้ ะทอ้ นความคดิ เหน็ ในกลมุ่ การแสดงความคดิ เหน็ ทางบวกตอ่ ผลลพั ธ์ ที่เกิดจากการท�ำงานกลุ่ม แม้งานจะไม่ประสบความส�ำเร็จ หรือไม่เป็นไปตาม คาดหวงั ของกลุม่ เช่น การเสริมกำ� ลงั ใจของกันและกนั การมองเหน็ ปญั หาและ ร่วมกันหาแนวทางพัฒนางานในครั้งต่อไป การขอบคุณเพ่ือนๆ ท่ีให้ความ ร่วมมือ หรอื เสนอความคดิ ท่ดี ี 112

สรุป • “ใหโ้ อกาส” หมายถงึ การ เปิดโอกาส สรา้ งโอกาส และไม่ทำ� ลายโอกาส • ให้โอกาสได้คดิ สงสยั สังเกต เพราะเป็นตน้ ทางในการเรียนรู้ คิดวิเคราะห์ คดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ • ใหโ้ อกาสได้เลอื ก ตดั สนิ ใจ วางแผน เพราะท�ำให้ได้ไตร่ตรอง ไดค้ าดเดาผล ไดล้ �ำดับความคิด ส่งผลใหก้ ล้า คดิ กล้าทำ� เป็นต้นทางของความกลา้ หาญ มัน่ ใจในตนเอง • ใหโ้ อกาสไดล้ งมือท�ำ เพอ่ื จะไดส้ ั่งสมประสบการณ์และเกิดการเรยี นรู้ ท้ังยงั ไดค้ น้ พบความสามารถ ของตนเอง • ให้โอกาสได้ลองผิดลองถกู เพื่อให้เด็กเกิดความรู้สึกทีด่ ีตอ่ ตนเอง ภมู ิใจเมอื่ ทำ� ได้ แต่ถา้ ลม้ เหลวกพ็ ยายาม หาวิธกี ารใหม่ต่อไป • ใหโ้ อกาสได้ใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์และจินตนาการ เพอ่ื น�ำไปสูค่ วามคดิ ใหม่ๆ เติบโตไปเป็นคนท่กี ระตอื รอื ร้น มีชวี ิตชีวา ช่างคดิ ชา่ งทำ� • ให้โอกาสได้เรียนรู้ผ่านการเลน่ เพราะการเล่นคอื การเรียนรู้ทส่ี รา้ งความสขุ ทำ� ให้เกดิ ทศั นคติทดี่ ีต่อการ เรยี นรู้ • ให้โอกาสไดแ้ สดงความคิดเห็นและวเิ คราะหผ์ ลการท�ำงาน เพอื่ ได้ฝกึ การใชเ้ หตผุ ลขอ้ มูล ฝึกการคิดเช่อื มโยง และการพจิ ารณางานของตนเองอนั จะน�ำไปสู่การปรับปรงุ ผลงานของตัวเองตอ่ ไป • ให้โอกาสไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกิจวัตรประจำ� วนั เดก็ จะได้ตระหนกั วา่ สามารถพึ่งพาตนเองได้ เกดิ ความรู้สกึ มนั่ ใจท่ี จะลงมือทำ� ดว้ ยตนเอง • ให้โอกาสไดฝ้ ึกฝนทกั ษะการแกป้ ญั หา เพอื่ ใหเ้ กดิ ความม่ันใจในตวั เอง เกดิ ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์และตัดสนิ ใจ • ใหโ้ อกาสไดเ้ รยี นร้ผู า่ นบรู ณาการประสาทสัมผสั (Sensory Integration) เพ่อื ใหม้ ปี ระสาทสัมผัสทีค่ มไว มีการสังเกตท่ลี ะเอียดและเฉียบคม ซ่งึ เปน็ เครือ่ งมอื สำ� คญั ยงิ่ ในการเรียนรู้ • ให้โอกาสได้จดจ่อใส่ใจ เพือ่ ฝึก “สติ” ชว่ ยให้มสี มาธใิ นการท�ำงาน ส่งผลดตี อ่ การรบั รู้ • ให้โอกาสได้รบั แรงบนั ดาลใจ เพื่อให้เกิดพลัง กำ� ลังใจทจ่ี ะพัฒนาตวั เอง • ให้โอกาสได้ฝึกทักษะทางอารมณ์ - สังคม เพ่ือให้รู้จักการจัดการกับอารมณ์ตัวเองและสามารถอยู่ร่วมกับ ผ้อู ่ืนได้ 113

6 ไมส่ อน แต่เรียนรู้ เปน็ ผูร้ ิเริม่ และเป็นอิสระ WHO สภาพแวดลอ้ มสง่ ผลต่ออปุ นสิ ัย กอ่ เกดิ สนุ ทรียภาพ สภาพแวดลอ้ มทเี่ อื้อ ต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF อาจารยธ์ ิดา พิทกั ษส์ นิ สขุ 114

การจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน เช่น สนามเด็กเล่น การจัดรูปแบบชั้นเรียน บอร์ดแสดงผลงานของเด็ก มุมประสบการณ์ รวมถึงการเลือกสรรและจัดวางวัสดุ อุปกรณ์ ส่ิงต่างๆ เหล่านี้เป็นสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีสะท้อนให้เห็นถึงแนวคิด ของโรงเรียนน้ันๆ ในการจัดการศึกษาให้กับเด็ก ความใส่ใจต่อกระบวนการเรียนรู้ การใช้ชีวิตประจ�ำวันของเด็ก การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับเด็กและเด็กกับผู้ใหญ่ ดังนั้นโรงเรียนที่ลงทุนสูงก็ไม่แน่ว่าจะมีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือประโยชน์ต่อเด็กได้ มากเท่าหรือมากกว่าโรงเรียนทลี่ งทนุ ตำ่� แต่มคี วามเข้าใจท่ีลกึ ซึง้ กวา่ ในตอนตน้ ของบทจงึ เรมิ่ ดว้ ยการชวนคดิ วา่ สภาพแวดลอ้ มมอี ทิ ธพิ ลในแงม่ มุ ใดบา้ ง ต่อเด็ก ซึ่งจะน�ำไปสู่แนวทางในการจัดสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการ “ให้โอกาส” ท่สี ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กพัฒนาทักษะสมอง EF เนื่องจากประสบการณ์ของ สภาพแวดลอ้ มสำ� คญั อย่างไร  เด็กถูกก�ำหนดโดยพ้ืนท่ี โดยสภาพแวดล้อมรอบตัว สภาพแวดล้อมเปน็ พลังเงียบ   เด็ก ดังนั้นผู้ใหญ่จึงต้อง ให้ความใส่ใจกับพ้ืนท่ี กับ สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลและส่งผลกระทบต่อการพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน สภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก1 ทงั้ การเรยี นรู้ อารมณ์ ความรสู้ กึ ตลอดจนการกระทำ� ของเดก็ เดก็ รบั สมั ผสั จาก (Chawla, 2012) สภาพแวดล้อมด้วยประสาทสัมผัสทุกด้าน สภาพแวดล้อมจึงเข้าถึงเด็กได้โดย งา่ ยจนสามารถโนม้ นำ� เดก็ ไปในทศิ ทางใดกไ็ ด้ เพราะประสาทสมั ผสั ของเดก็ นน้ั ไวต่อการรับร้จู ากสิ่งแวดล้อมมาก ดังน้ันจึงไม่น่าแปลกใจว่าทุกครั้งที่เราปล่อยให้เด็ก 2–3 คน เข้าไปในห้อง โล่งๆ จากเสียงหัวเราะดังจะกลายเป็นเสียงร้องไห้ได้ในเวลาไม่นานนัก เพราะ สภาพแวดล้อมท่ีเป็นห้องโล่งๆ น้ีราวกับจะเชิญชวนให้เด็กๆ ว่ิงกันเกรียวอย่าง ไร้ทิศทาง เด็กจะหัวเราะและส่งเสียงดัง สักพักเสียงหัวเราะก็จะกลายเป็น เสียงร้องไห้ เพราะวิ่งชนกันด้วยความต้ังใจและไม่ต้ังใจ ในทางตรงข้ามถ้าเรา พาเด็กๆ เข้าไปในห้องที่มีมุมหนังสือ มุมตัวต่อ มุมท่ีวางกระดาษและสีเทียน  1 Chawla.2012.The importance of access to nature for young children.Early Childhood Matters. June 2012:48-50. 115

ห ้ อ ง เ รี ย น จ ะ เ ป ็ น พ้ื น ที่ ท่ี เ ด็ ก สง่ิ แวดลอ้ มเช่นนก้ี จ็ ะเชิญชวนให้เด็กสำ� รวจ หยบิ จบั นง่ั ลงเล่นของเลน่ หรอื เปิด โปรดปรานมาก ถ้าท�ำให้พ้ืนท่ี หนังสืออ่านอย่างสงบ สภาพแวดล้อมเช่นนี้จะช่วยให้เด็กก�ำกับตัวเองได้โดยไม่ สนับสนุนส่งเสริมความเป็นอิสระ ยาก นั่นคืออิทธิพลของส่ิงแวดล้อมท่ีมีต่ออารมณ์และพฤติกรรมของเด็กอย่าง ให้ได้เข้าสังคม ให้ได้แสดงออก เหน็ ไดช้ ัด  และให้ได้ท�ำการส�ำรวจ ค้นหา อย่างสร้างสรรค์ ครูควรให้ความ สภาพแวดลอ้ มเป็นคร ู  ไมส่ อนแตเ่ รยี นร ู้    ส�ำคัญกับ ”สภาพแวดล้อมซ่ึงเป็น เหมือนครูคนท่ีสาม” ให้มาก เปน็ ทที่ ราบกนั ดวี า่ เดก็ นน้ั เรยี นรอู้ ยตู่ ลอดเวลา เดก็ จงึ เรยี นรไู้ ดม้ ากกวา่ สง่ิ ท่ี เพราะว่าครูเป็นผู้ใกล้ชิดอย่างมาก ผู้ใหญส่ อน เพราะเขาจะเรยี นร้จู ากสิ่งแวดลอ้ มท่ีอยรู่ อบตวั การเดนิ เล่นส�ำรวจ กับวิถีทาง วิธีการท่ีเด็กคนหนึ่งจะ ต้นไม้ใบหญ้ารอบบ้านทุกวัน  ท�ำให้เด็กสังเกตวา่ มีหญ้าต้นเล็กๆ ข้ึนเต็มสนาม มปี ฏิสมั พันธก์ ับโลก กบั การท�ำส่งิ แต่ไม่มีหญ้าแม้แต่ต้นเดียวใต้กอต้นเข็มที่ไร้แสงแดด เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจ หน่ึงส่งิ ใดให้ประสบผลส�ำเรจ็ 2 ความสัมพันธ์ของธรรมชาติรอบตัว เป็นความเข้าใจท่ีแท้จริงจากการค้นพบ (Julianne P.Wurm,2005) และประสบการณ์ตรง ได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับประสบการณ์เดิม ต่างจาก ความรทู้ ่ีผา่ นหจู ากการบอกกลา่ วของผใู้ หญ่ จากภาพที่เห็นนี้ คาดเดาได้ว่าสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิด การเรยี นรมู้ ากมายกบั เดก็ โดยไมต่ อ้ งพดู แตช่ วนลงมอื ทำ� ให้คิด ให้เรียนรู้และค้นหาค�ำตอบด้วยตัวเด็กเอง และ บอ่ ยครง้ั ทที่ ง้ิ คำ� ถามไวใ้ หเ้ ดก็ ตอ้ งตดิ ตามตอ่ หรอื พยายาม หาค�ำตอบท่ีเกิดข้ึนในใจเด็ก ส่ิงแวดล้อมท่ีจัดได้อย่าง เหมาะสมประกอบกับความกระหายใคร่รู้  จึงก่อให้เกิด การเรยี นรูก้ ับเดก็ ได้อยา่ งนา่ อศั จรรย์   แไตม่เร่สียอนนรู้ 2 Julianne P.Wurm.2005. A beginner's Guide for American Teachers.Redleaf Press: National Association for the Education of Young Children.Washington, DC. 116

สภาพแวดลอ้ มสง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ บบทเ่ี ดก็ เปน็ ผรู้ เิ รม่ิ และเปน็ อสิ ระ  เป็นผู้ริเร่ิม และเป็นอิสระ ภาพของเด็กก�ำลังเล่นในบ่อทราย ก�ำลังเพียรพยายามใช้น�้ำท�ำให้ทราย ที่เปน็ ผงกลายเป็นก้อนทรายขนาดเทา่ ไขไ่ ก่ ท�ำใหเ้ หน็ วา่ ขณะเลน่ คือการเรยี นรู้ ความชื้นท่ีพอเหมาะท�ำให้เม็ดทรายเกาะกันเป็นก้อน เป็นการเรียนรู้แบบ ท่ีผู้เรียนเป็นผู้ริเร่ิม มีอิสระในการวางแผน เลือก และตัดสินใจด้วยตัวเอง  ได้ลองผิดลองถกู ผดิ ไมเ่ ป็นไรท�ำใหมไ่ ด ้ ไม่มีใครว่า ในทส่ี ุดก็สมใจ คน้ พบวธิ ีทำ� กอ้ นทรายใหเ้ หมอื นไขไ่ ก่ เพอ่ื นทเี่ ลน่ อยใู่ กลก้ นั กน็ กึ สนกุ ชวนกนั ทำ� บา้ ง ไมน่ าน ทรายที่เปน็ ผงคอ่ ยๆ หายไป กลายเปน็ ก้อนทรายกลมๆ เต็มบอ่ ทราย   การเล่นของเด็กจึงเป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีสมาธิจดจ่อ มุ่งมั่นท�ำจนส�ำเร็จ โดยไม่ตอ้ งมีครูคอยก�ำกับ หากเดก็ ได้รับโอกาสอยา่ งสมำ�่ เสมอและมากพอท่จี ะ ได้เล่นอย่างอิสระในส่ิงแวดล้อมที่เอ้ืออ�ำนวย จะท�ำให้เด็กมีความกระตือรือร้น ท่ีจะเรียนรู้ ช่างสังเกต จดจ�ำ มีวิธีการเล่นท่ีหลากหลาย กล้าคิดกล้าท�ำ เป็น การเรียนรู้ท่ีมีชีวิตชีวา ได้ค้นพบ ได้ต่ืนเต้นและภาคภูมิใจในความสามารถ ของตนเอง เปน็ พน้ื ฐานท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ทัศนคติที่ดตี ่อการเรียนร ู้ สภาพแวดลอ้ มสง่ ผลตอ่ อปุ นสิ ยั ของเดก็   เนื่องจากเด็กจะตอบโต้ สร้างความหมาย และซึมซับจากสิ่งแวดล้อมอยู่ ตลอดเวลา จงึ ไมน่ า่ จะแปลกใจวา่ ทำ� ไมเดก็ ทเี่ ตบิ โตมาจากบา้ นทจ่ี ดั วางขา้ วของ อย่างมีระเบียบ มีความพิถีพิถันในการจัดหาจัดวาง  เมื่อเติบโตข้ึนเขาก็จะมี ความประณีตในการใช้ชีวิตมากกว่าเด็กที่พ่อแม่ไม่มีระเบียบ บ้านรกรุงรัง  ส่วนเด็กท่ีเติบโตมาจากสภาพแวดล้อมที่ผู้คนวุ่นวาย เสียงดังรอบตัว เด็กก็ มีแนวโน้มที่จะเป็นคนเอะอะโวยวาย เสียงดัง ต่างจากเด็กที่เติบโตใน สภาพแวดล้อมทีม่ คี วามสงบ    สภาพแวดล้อม ส่งผลต่ออุปนิสัย 117

สสภุนากพท่อรแเียวกดภิดลาพ้อม   สภาพแวดลอ้ มกอ่ เกดิ สนุ ทรยี ภาพ  สภาพแวดลอ้ มทมี่ คี วามสวยงาม มรี ะเบยี บเรยี บรอ้ ย มคี วามพอเหมาะพอดขี อง การจัดวาง การเลือกใช้สีท่ีนุ่มนวล คู่สีที่ตัดกัน หรือเข้ากันได้อย่างเหมาะเจาะ มีความพิถีพิถันในการเลือกใช้วัสดุ การตกแต่งที่มีรสนิยมที่ดี การเลือกภาพ ท่ีน�ำเสนอกับเด็ก เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดสุนทรียภาพและซึมซับ เปน็ รสนยิ ม เปน็ บรรยากาศทช่ี ว่ ยใหม้ คี วามสขุ ใจ และกอ่ ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจทจี่ ะ สรา้ งสรรค์งานท่ปี ระณตี และงดงามต่อไป    สภาพแวดลอ้ มสง่ ผลตอ่ จติ ใจ   สภาพแวดล้อมท่ีอบอุ่น ปลอดภัยและเป็นมิตร จะท�ำให้เด็กเกิดความมั่นคง ทางจติ ใจ กลา้ คิด กลา้ ตดั สนิ ใจ ไม่กลวั ท่ีจะลม้ เหลว กลา้ รเิ ร่ิมส่งิ ใหมๆ่   สภาพแวดล้อมท่ีร่มร่ืน โปร่งสบาย ใกล้ชิดธรรมชาติจะท�ำให้เด็กมีความสงบ สบายใจ และพรอ้ มทจี่ ะเรยี นรู ้   สภาพแวดลอ้ มทย่ี ดื หยนุ่ และตอบสนองความตอ้ งการทห่ี ลากหลายของเดก็ ใน สถานการณท์ แ่ี ตกตา่ งกนั ไป เชน่  เมอื่ ตอ้ งการทำ� กจิ กรรมกบั กลมุ่ เพอื่ น เมอื่ ตอ้ งการ อยู่สงบๆ ตามล�ำพัง เม่ือต้องการเล่นอย่างอิสระ เม่ือต้องการไปส�ำรวจเพื่อ เรียนรู้ ฯลฯ จะท�ำให้เด็กมีความสุข มีความกระตือรือร้น รู้สึกถึงความเป็นสิ่งหนึ่ง สง่ิ เดยี วกบั สงิ่ แวดลอ้ ม รกั และเหน็ คณุ คา่ ซง่ึ จะนำ� มาสคู่ วามรสู้ กึ ดตี อ่ การมาโรงเรยี น มีความสุขท่ไี ดท้ �ำกจิ กรรมกบั เพอ่ื นและครู บ่อยคร้ังทเ่ี รามักเคยชนิ กับสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตวั เรา ท�ำให้เรา มองข้ามส่ิงดีๆ ทอ่ี าจเกิดขน้ึ หากเราไดป้ รับปรงุ หรือตกแต่งหอ้ งเรียน ห้องเดิม เพราะ...แม้เพยี งเราเอาแจกนั ดอกไม้เลก็ ๆ เขา้ ไปตกแตง่ ในห้องน้�ำ เชื่อว่าเราจะรสู้ ึกสดช่ืนข้ึนทนั ที 118

แนวทางการจดั สภาพแวดลอ้ ม ทส่ี ง่ ผลต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF การจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ (Physical Environment) การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้ออ�ำนวยให้เด็กพัฒนาทักษะสมอง EF ควรค�ำนงึ ถึงสง่ิ เหลา่ นี ้   1)  การท�ำงานของระบบประสาทสว่ นกลาง Sensory Integration – SI จัดสภาพแวดล้อมให้มีพ้ืนที่ท่ีเด็กจะได้พัฒนาการท�ำงานของระบบประสาท ส่วนกลางซึ่งรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส การกระตุ้นประสาทสัมผัสจะเป็นช่องทาง นำ� ขอ้ มลู ไปสสู่ มอง จะทำ� ใหส้ มองเกดิ การตคี วาม ตอบสนองตอ่ การปอ้ นขอ้ มลู อยา่ ง มีความหมายและสอดคล้องกัน การจัดสภาพแวดล้อมและกิจกรรม SI จึงเป็น การเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะสมอง EF และยังท�ำให้เด็กมีทักษะ ในการใช้รา่ งกาย มีความคลอ่ งแคล่ว รูถ้ งึ สมรรถนะและขีดจำ� กัดของร่างกาย SI  คือกระบวนการจัดระเบียบการท�ำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ซ่ึง รับรู้ผ่านประสาทต่างๆ เมื่อประมวลผลแล้วสมองจึงสั่งการให้ตอบสนอง (Sensory สิ่งท่มี ากระต้นุ นนั้ อยา่ งเหมาะสม Integration) ระบบการรับรู้ การรับสัมผัส การรับรู้ผ่าน ความรสู้ ึกทัง้ มองเห็น ได้ยิน กล้ามเน้ือ  3 รปู แบบ ลิ้มรส สัมผัส เอ็น ข้อต่อ ดมกลิ่น ระบบ การทรงตัว 119

ผลการบรู ณาการประสาทความรสู้ กึ ท่ีดแี ละเหมาะสมกบั วัย จะเสรมิ สร้างพัฒนาการของทักษะชีวิต   • ความสามารถในการปรับสภาพอารมณแ์ ละระดับความต่ืนกลวั   • ความสามารถในการมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ส่งิ แวดลอ้ ม  • ความสามารถในการจดั กจิ กรรมทมี่ เี ปา้ หมายและมคี วามสำ� คญั ตอ่ การดำ� รงชวี ติ   • ความสามารถในการท�ำงานและทกั ษะทางสังคม 3 ดร.สรินยา ศรเี พชราวธุ  ภาควิชากิจกรรมบำ� บดั คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ การจดั เคร่อื งเลน่ สนามและอปุ กรณก์ ารเล่นใหเ้ ด็กได้ มุด ลอด ไต่ โหน แกว่ง ตวั กระโดด กลิ้ง ก็มีสว่ นในการพฒั นา SI แต่ควรพิจารณาใหค้ รอบคลมุ ระบบการ รบั รทู้ ง้ั 3 รปู แบบ คอื การรบั สมั ผสั การรบั รผู้ า่ นกลา้ มเนอ้ื -เอน็ -ขอ้ ตอ่   และระบบ การทรงตัว โดยการออกแบบกิจกรรมและจัดสภาพแวดล้อมให้เอ้ืออ�ำนวย เช่น จัดกิจกรรมให้เด็กได้กลิ้งตัวบนพื้นผิวท่ีต่างกัน ได้แก่ ผ้านวม ฟองน้�ำ ผ้ายาง การท�ำทางเดินที่มีความหยาบละเอียด ผิวสัมผัสต่างกัน เช่น กรวดต่างขนาด แผ่นทรายล้าง แผ่นอิฐ เพ่ือกระตุ้นประสาทรับสัมผัสที่ใต้เท้าเด็ก จัดท�ำลายเส้น บนพื้นโค้งไปโค้งมา ให้เด็กเดินต่อเท้าเล่นเพื่อฝึกการทรงตัว การท�ำเนินและทาง ลาดชนั เพอื่ ใหเ้ ดก็ ได้เลน่ หรอื ต้องทรงตัวมากกว่าการเดนิ บนพนื้ ราบ 3 สรินยา ศรเี พชราวธุ .การทํากจิ กรรมบําบดั Sensory Integration.Web.kku.ac.th. Available at: http://web.kku.ac.th/autistic/th/images/ stories/docandpdf/si.pdf.Accessed October 8, 201 120

2) ความปลอดภยั และความเสยี่ ง Safety & Risk  การจดั สภาพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภยั แตม่ คี วามเสย่ี งเพอื่ กระตนุ้ ทา้ ทายใหเ้ ดก็ ไดใ้ ช้ ทกั ษะดา้ นต่างๆ ท้งั รา่ งกาย ควบค่ไู ปกับการคดิ ตดั สินใจ ไดท้ ดสอบและประเมนิ ทกั ษะความสามารถของตนเอง โดยคำ� นงึ ถงึ พฒั นาการ และสมรรถนะตามวยั อยา่ ง พอเหมาะพอดี โดยไมว่ ติ กมากจนเกนิ ไป หรอื มขี ้อห้ามมากเกินไป เพราะจะทำ� ให้ เดก็ ไมเ่ กดิ การเรยี นรเู้ ทา่ ทค่ี วร ไมไ่ ดใ้ ชร้ า่ งกาย ไมไ่ ดใ้ ชส้ มรรถนะทตี่ วั เองมอี ยา่ งเตม็ ท่ี การให้เด็กได้ท�ำส่ิงท่ีท้าทาย ได้ทดสอบตัวเอง เด็กก็จะรู้สึกดีต่อตนเอง เพราะ เมื่อท�ำได้ เด็กจะภูมิใจ ม่ันใจว่ามีความสามารถ และมีพลังที่จะท�ำส่ิงใหม่ ท่ีท้าทายต่อไป เด็กจะเกิดภาพบวกเก่ียวกับตัวเอง “ฉันเป็นคนกล้า” “ฉันท�ำได้” “ฉนั เปน็ คนอดทน” โดยผู้ใหญ่ตอ้ งเป็นผูช้ ีใ้ หเ้ ห็น เพื่อเด็กจะยึดไปใช้ในการด�ำเนนิ ชีวิตด้วยความม่ันใจในตัวเองต่อไป ในกรณีท่ีเด็กท�ำไม่ได้ควรฝึกให้เด็กได้ประเมิน ตนเอง วิเคราะห์ หาข้อสรุป และแนวทางที่จะท�ำต่อไปภายใต้บรรยากาศการ สนับสนนุ และใหก้ �ำลังใจ สิ่งท่ีเป็นอุปสรรคไม่ให้เด็กกล้าเส่ียงหรือท�ำส่ิงท่ีท้าทาย คือครูหรือผู้ใหญ่กังวล มากจนเกินไป หรือประเมินความสามารถเด็กต่�ำกว่าท่ีเป็นจริง แต่หากเด็กได้รับ โอกาสในการเล่นอย่างสม่�ำเสมอ ทักษะสมอง EF ก็จะพัฒนา ท�ำให้เด็กสามารถ ประเมินตนเอง มีทักษะในการคิด สามารถดึงประสบการณ์และการเรียนรู้ เดิมมาปรับใช้กับสถานการณ์ใหม่ได้ดี เด็กจะรู้ว่าควรจะเล่นเคร่ืองเล่นชิ้นไหน แคไ่ หน และเลน่ อยา่ งไร ครมู หี นา้ ท่ีคอยสังเกต กระตุ้นให้เดก็ ไดล้ องท�ำ ให้กล้าเสีย่ ง กา้ วผ่านความกลวั โดยคอยแนะนำ� และระวังอยูใ่ กล้ๆ เพราะเด็กแต่ละคนมีรา่ งกายทีแ่ ตกต่างกนั ครูมีหน้าท่ีสร้างสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัย และเปิดโอกาสให้เด็กลองท�ำ ให้ โอกาสเด็กได้สร้างความม่ันใจ ทดสอบความสามารถ ได้เพิ่มศักยภาพของตัวเอง ควบคู่ไปกับการสอนเด็กในเร่ืองการดูแลตนเองให้ปลอดภัย รู้จักระมัดระวังผู้อื่น กำ� กบั ตัวเองใหป้ ฏิบัตติ ามกฎกติกาของความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด 121

3) ความสะอาดและการดูแลอย่างดี Care & Clean การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเป็นระเบียบ สะอาด ถูกสุขอนามยั จะมผี ลดตี อ่ ชีวิต ของเด็กเพราะ • ดีต่อสุขภาพอนามัย เพราะส่ิงแวดล้อมสะอาด ถูกสุขอนามัย และปลอดภัย จากโรค จากสัตว์ที่เปน็ พาหะน�ำโรคและแมลง • เปน็ แบบอยา่ งของการจดั วางสงิ่ ของอยา่ งเปน็ ระเบยี บ ทำ� ใหห้ ยบิ งา่ ย ใชส้ ะดวก ไม่รกรุงรัง เกะกะ เป็นการสร้างลักษณะนิสัยท่ีดี รู้จักที่จะดูแลรักษาของ ให้สะอาดและจดั เก็บเขา้ ที่ ชว่ ยฝึกในเร่ืองของการจ�ำเพอ่ื นำ� มาใช้ เมอื่ ครหู รือ ผใู้ หญแ่ นะนำ� เดก็ จะไดท้ บทวนวา่ เมอื่ จะใชข้ องสงิ่ ใดตอ้ งหยบิ จากตรงไหน และ ต้องเกบ็ อยา่ งไร • เด็กเรียนรู้ที่จะเข้าใจถึงเหตุผลของการจัดกลุ่มหรือจัดหมวดหมู่ส่ิงของ ในเรือ่ งของประเภท ขนาด ลกั ษณะของการใช้งาน เขา้ ใจความเหมาะสม เช่น ของประเภทไหนควรเกบ็ ทใี่ ด ควรใชภ้ าชนะใดจดั เกบ็ การจดั เกบ็ ในลกั ษณะใด • สรา้ งทกั ษะในเรอื่ งของการจดั การกบั Space (ทวี่ า่ ง) เชน่ จะจดั ของเลน่ ลงกลอ่ ง ได้อย่างไร จะพับผ้าอย่างไรให้พอเหมาะกับตะกร้า จะจัดเก็บกล่องนม ของทุกคนลงตะกร้าได้อย่างไร เม่ือคุณครูสอนเด็กก็จะต้องจดจ�ำ วิธีจัดเก็บ แล้วท�ำซ้�ำๆ ก็จะท�ำได้อย่างคล่องแคล่ว ถ้าเป็นส่ิงที่เด็กทดลองจัดเก็บเอง เด็กก็ต้องคิดภาพในใจก่อนว่าจะจัดเก็บอย่างไร แล้วทดลองท�ำดู เม่ือฝึกฝน บอ่ ยๆ จะมคี วามคลอ่ งในการกะประมาณกบั การใช้พ้ืนที่ จะเห็นว่าการที่เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันโดยค�ำนึงถึงความสะอาดเป็น ระเบียบน้ัน ท�ำใหเ้ ด็กได้ฝกึ ทักษะ EF ไปในชีวติ ประจ�ำวนั ไม่ว่าจะตอ้ งจำ� เพอื่ นำ� มาใช้ จากข้ันตอนท่ีเรียนรู้มาแล้วน�ำมาปฏิบัติ การยั้งคิด และลงมือท�ำจนส�ำเร็จ รหู้ นา้ ทโี่ ดยไมเ่ อาแตเ่ ลน่ ตามใจตวั เอง ไดส้ มาธจิ ดจอ่ กบั การทำ� งาน ฝกึ การควบคมุ อารมณท์ จี่ ะทำ� งานใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย และในขณะทำ� งานยอ่ มตอ้ งเกดิ ปญั หา ท่เี ดก็ ตอ้ งแก้ไข นน่ั คือ เกิดทกั ษะในการริเรมิ่ ลงมอื ท�ำ การวางแผนในการท�ำงาน เมื่อครูวิเคราะห์ดูจะเห็นว่าขณะที่เด็กลงมือท�ำงานและก�ำกับตัวเองนั้น เด็กได้รับ การสง่ เสริมทกั ษะสมอง EF อยูท่ ุกขณะ 122

การจดั สภาพแวดลอ้ มทางอารมณแ์ ละสงั คม (Emotional & Social งานวจิ ยั ชี้ ใหเ้ หน็ วา่ เดก็ ทไี่ ดร้ บั การ Environment) เลี้ยงดูในสภาพแวดล้อมที่มีแต่การ ลงโทษ ผลการประเมินทางด้าน การจัดสภาพแวดลอ้ มทางอารมณแ์ ละสงั คมน้ัน ควรค�ำนงึ ถึงสง่ิ ต่างๆ เหลา่ นี้ ทกั ษะสมอง EF จะดอ้ ยกวา่ เด็กที่ 1) สภาพแวดลอ้ มจะตอ้ งตอบสนองความตอ้ งการของเดก็ ในเรอ่ื งของการใชง้ าน เติบโตมาในสภาพแวดล้อมที่ไม่มี เชน่ การจดั สถานทแี่ ละอปุ กรณท์ มี่ ขี นาดและปรมิ าณทเี่ หมาะกบั การใชง้ านของเดก็ การลงโทษ4 ในการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจำ� วนั มบี รเิ วณสำ� หรบั เดก็ ทำ� กจิ กรรมกลมุ่ ใหญ่ มมี มุ สำ� หรบั ทำ� กิจกรรมกลมุ่ เล็ก และพืน้ ที่ตอบสนองการทำ� งานเปน็ รายบคุ คล (Talwar&Carlson,2011) 2) สภาพแวดลอ้ มต้องตอบสนองในเรื่องของอารมณ์ความรู้สกึ เชน่ จัดสถานท่ี ทเ่ี ปน็ มมุ เงยี บๆ สำ� หรบั เดก็ ทต่ี อ้ งการทำ� กจิ กรรมสงบหรอื อยากอยลู่ ำ� พงั เงยี บๆ หรอื การใหเ้ ดก็ เลน่ กบั สง่ิ แวดลอ้ มและวสั ดุ จดั ใหม้ บี ริเวณทเ่ี ด็กจะรู้สกึ ผอ่ นคลาย มพี รมน่มุ ๆ มหี มอน ตุ๊กตาผา้ ทมี่ าจากธรรมชาตจิ ะมผี ลดที งั้ ตอ่ เดก็ 3) สภาพแวดล้อมที่ท�ำให้เด็กรู้สึกว่าตนเป็นสมาชิกของกลุ่ม เป็นเจ้าของ และสิ่งแวดล้อม เด็กจะมีสุขภาพดี สถานทรี่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื การมชี อื่ ของเดก็ แตล่ ะคนในสถานทต่ี า่ งๆ ในหอ้ ง การนำ� เสนอ มีสมาธิจดจ่อ เกิดทักษะทางสังคม ผลงานของเดก็ การใหเ้ ด็กมีส่วนรว่ มในการวางแผนจัดหอ้ งเรยี น การท่ีเด็กมเี สรีใน มีความผูกพันต่อโลกธรรมชาติท่ีจะ การเลือกที่น่ังท�ำงาน เลือกเล่นในมุมเสรี เหล่านี้จะท�ำให้เด็กรู้สึกว่าตนเองมีอิสระ เติบโตไปพร้อมกับจิตส�ำนึกในการ ทจ่ี ะใช้พ้นื ทใี่ นห้องอย่างเสรี แต่เนอ่ื งจากเดก็ ตอ้ งใช้พน้ื ท่ีรว่ มกันหลายคน เดก็ ต้อง ปกปอ้ งสงิ่ แวดลอ้ ม และยงั ทำ� ใหเ้ ดก็ ปฏบิ ตั ติ ามกตกิ าการอยรู่ ว่ มกนั ทำ� ใหเ้ ดก็ เรยี นรทู้ จ่ี ะเคารพกตกิ า การใหเ้ กยี รตแิ ละ “ติดดิน” มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง เคารพสิทธขิ องผอู้ ่ืน ขณะเดยี วกนั ก็รู้จกั ท่จี ะประนีประนอม โอนออ่ นผ่อนปรนกัน และยังช่วยให้เด็กมีความเข้าใจและ รจู้ กั ทจี่ ะยดื หยนุ่ หรอื ปรบั เปลยี่ นวธิ เี ลน่ ทเี่ ดก็ จะไดเ้ ลน่ รว่ มกนั แทนทจ่ี ะเลน่ คนเดยี ว ชน่ื ชมกบั ธรรมชาติ 5 4) สภาพแวดลอ้ มที่เดก็ รูส้ กึ อบอุ่น ปลอดภัย ปราศจากความกดดนั จากอ�ำนาจ ของผใู้ หญ่ สภาพแวดลอ้ มดงั กลา่ วเกดิ จากการทค่ี รหู รอื ผใู้ หญม่ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ Ruth A.Wilson.Ph.D เก่ียวกับพัฒนาการทางอารมณ์และสังคมของเด็ก ใช้วิธีการทางบวก (Positive (Earlychildhoodnews) Approach) ทั้งในการส่งเสริมพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ และแก้ปัญหาพฤติกรรมท่ี ไมพ่ งึ ประสงค์ ครตู อ้ งมคี วามไวต่ออารมณค์ วามรสู้ กึ ของเดก็ พรอ้ มที่จะรบั ฟงั และ ใหโ้ อกาสเดก็ ไดค้ ดิ ไดต้ ดั สนิ ใจ มกี ำ� ลงั ใจทจี่ ะใชค้ วามเพยี รพยายามในการทำ� สงิ่ ตา่ งๆ ให้บรรลเุ ป้าหมาย 4 Talwar&Carlson (2011).“Effects of a Punitive Environment on Children's Executive Functioning: A Natural Experiment”Social Development ,Volume 20, Issue 4November 2011: 805–824. 5 Ruth A.Willson.Ph.DThe Wonders of Nature: Honoring Children's Ways of Knowing . Earlychildhood Website.Availabel at : http://www.earlychildhoodnews.com/earlychildhood/article_view.aspx?ArticleID=70 .Accessed October 8, 2016 123

การจดั สภาพแวดลอ้ มทางความคดิ (Cognitive Environment)  การจัดสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อือ้ ต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF ควรคำ� นงึ ถึง 1) ความใกลช้ ิดกบั ธรรมชาติ Natural Component จัดสภาพแวดล้อมท่ีเป็นธรรมชาติให้เด็กได้ใกล้ชิดให้มาก เพราะธรรมชาติจะ ท�ำให้เด็กเรียนรู้แบบ “ปลายเปิด” และเปิดโลกกว้างที่เต็มไปด้วยพลังของการ เรียนรู้ ท�ำให้เข้าใจสัจธรรมของชีวิตได้อย่างง่ายๆ เช่น การเกิด-ด�ำรงอยู่-ตาย การเปล่ียนแปลง และเวลา หน้าท่ีของสิ่งมีชีวิตในโลกธรรมชาติฯลฯ ให้เด็ก นกั สำ� รวจไดค้ น้ พบความนา่ ตนื่ เตน้  ความหลากหลายทไ่ี มซ่ ำ้� แบบ เหน็ ความเหมอื น ในความต่างและเห็นความต่างในความเหมือน เช่น กรวดสีขาวเหมือนกัน แต่ลวดลายต่างกัน นอกจากความหลากหลายของธรรมชาติแล้ว ยังมีกฎของ ธรรมชาตทิ ี่เด็กๆจะต้องยอมรับ และไมส่ ามารถกำ� กับใหเ้ ป็นไปตามความตอ้ งการ ของตนได้ ท้ังสองสิ่งน้ีช่วยให้เด็กได้ฝึกฝนทักษะ EF ในด้านการยืดหยุ่นความคิด ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ธรรมชาตทิ ำ� ใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธแ์ ละการพงึ่ พาระหวา่ งมนษุ ยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ ม สร้างความอ่อนโยนให้เกิดข้ึนในใจเด็ก ธรรมชาติสอนให้เข้าใจเร่ืองของเวลาและ ความอดทนรอคอย เช่น ถ้าอยากเห็นดอกไม้บาน เด็กต้องเร่ิมจากการควบคุม ความอยาก รจู้ กั อดทนรอคอย ยบั ยั้งช่ังใจ ไม่เขา้ ไปขยำ� ดอกไมท้ ีก่ �ำลังตูม ไมเ่ ด็ด ไมท่ ำ� ลาย เม่อื บานกร็ ูจ้ ักทีจ่ ะจับตอ้ งอย่างทะนุถนอม เบามือ   นอกจากจะใหเ้ ดก็ ๆ ไดอ้ อกไปสมั ผสั กบั ธรรมชาตนิ อกหอ้ งเรยี นแลว้ ครคู วรนำ� สง่ิ ทเี่ ปน็ ธรรมชาตเิ ขา้ มาในหอ้ งเรยี นดว้ ย เพอื่ ใหเ้ ดก็ เกดิ ความเชอ่ื มโยงกบั โลก กบั ธรรมชาติภายนอกดว้ ย เช่น การจัดแจกนั ดอกไม้ การจัดมุมส่ิงของจากธรรมชาติ การนำ� สงิ่ ของจากธรรมชาตมิ าท�ำงานศลิ ปะ เปน็ ต้น 2) ใหท้ ุกก้าวย่างคือการเรยี นรู้  Rich Environment การเรยี นรอู้ ยา่ งอสิ ระนอกหอ้ งเรยี นมคี วามหมายตอ่ เดก็ อยา่ งมาก หากโรงเรยี น ได้วางแผนจัดสภาพแวดล้อมท่ีท�ำให้ทุกก้าวย่างของเด็กคือการเรียนรู้ (Rich 124

Environment) จะท�ำให้การพัฒนาทักษะสมอง EF เกิดขึ้นได้อย่างมาก เช่น ปลกู ตน้ พดุ ตาน เดก็ กจ็ ะสงั เกตการเปลยี่ นสขี องดอกในชว่ งวนั  ปลกู ถวั่ ฝกั ยาวทเี่ ดก็ ต้องอดทนต้งั ใจรอจากดอกจนตดิ ฝัก  ไดเ้ ห็นผีเสอ้ื ในแปลงไมด้ อก ต้องอดใจ ยง้ั ใจ ไวไ้ มเ่ ดด็ ดอกไม้ ไมจ่ บั ผเี สอ้ื  หากมพี น้ื ทแ่ี มไ้ มม่ ากกส็ ามารถมบี อ่ กรวด จดั วางกรวด หลากสี หลายขนาด ใหเ้ ด็กได้คิดวธิ ีอันหลากหลายในการเรยี ง การจัดกลมุ่ การต่อ เปน็ รปู ตามจนิ ตนาการ บอ่ ทรายทเ่ี คยมแี ตพ่ ลวั่ ตกั ทราย ลองจดั หากระปอ๋ งรปู ทรง ต่างๆ สายยางใสส้ันๆ กรวย กระชอนฯลฯ เด็กๆ ก็จะสรรหาวิธีเล่น วิธีสนุก และ เรยี นรไู้ ปดว้ ยพรอ้ มๆ กนั ดว้ ยตวั เดก็ เอง ลองทำ� ทางนำ�้ ไหล ใหเ้ ดก็ ไดเ้ หน็ นำ้� ไหลจาก ทสี่ งู ไปทตี่ ำ�่ ไดเ้ หน็ การกดั เซาะของนำ�้ ลองปลกู ตน้ ตอ้ ยตง่ิ ใกลท้ างนำ�้  ทำ� เนนิ ดนิ ให้ เด็กรับรู้ความต่างกันของการเดินขึ้นกับการเดินลง และอีกมากมายท่ีเราจะคิดจะ วางแผนเพือ่ การเรยี นรู้ของเดก็   3) วสั ดุอุปกรณท์ ่ีหลากหลายให้เดก็ เลือกใช้ Variety of materials วัสดุอุปกรณ์ท่ีหลากหลายจะเป็นตัวกระตุ้นความสนใจในการส�ำรวจและ เรียนรู้ของเด็กได้เป็นอย่างดี อาจจะให้เด็กช่วยกันสะสม แล้วน�ำมาจัดกลุ่มและ จดั แสดงตามเงอื่ นไขตา่ งๆ เชน่ ของทมี่ าจากธรรมชาต ิ ของทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ เปน็ ตน้ และวัสดุอุปกรณ์ท่ีหลากหลายยังช่วยจุดประกายความคิด กระตุ้นจินตนาการให้ เด็กๆ ได้เลือกใช้เพ่ือสร้างสรรค์งาน เสนอความคิด และถ่ายทอดประสบการณ์ ที่เด็กเรียนรู้ ยิ่งเด็กมีโอกาสได้ท�ำมากเท่าใด เด็กจะย่ิงมีทักษะในการวางแผน มเี ปา้ หมายในการทำ� งาน มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจเลอื กใชว้ สั ด ุ รจู้ กั ทจ่ี ะปรบั เปลยี่ นใช้วสั ดทุ ดแทน ซ่งึ ผลของการพัฒนาทักษะสมอง EF จะต่างจากการให้วัสดุ ที่มีความจ�ำกดั เช่น กระดาษ และสเี ทยี น    4) จดั ท�ำ / ดัดแปลงพน้ื ที่ท่กี ระตุ้นใหเ้ ด็กได้ตอบโต้กบั สิง่ รอบตัว  การจดั การกบั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทก่ี ระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ไดค้ ดิ ไดส้ นกุ กบั การ ท�ำกิจกรรมท่ีเสมือนการตอบโต้กับสิ่งแวดล้อม เช่น การติดกระจกเงาเพ่ือให้เกิด ภาพสะท้อนจากกระจกเงา การท�ำรูปทรงตา่ งๆ ทพ่ี นื้ กระตุน้ ใหเ้ ดก็ สรา้ งสรรค์วิธี เลน่ เอง การตดิ มาตรวดั ความสงู ทเ่ี สา มาตรวดั ความยาวตามทางเดนิ เดก็ กจ็ ะสนกุ 125

กับการน�ำสิ่งต่างๆ มาวัด เปรียบเทียบความสูง ความยาว การติดตัวเลขตามขั้น บนั ได เมอ่ื ทำ� เปน็ ประจำ� เดก็ จะเกดิ การรบั รใู้ นการกะประมาณ ในบรเิ วณทแี่ สงสาด เข้ามา เดก็ จะเหน็ เงาของส่งิ ทีแ่ สงตกกระทบ ไดเ้ ห็นเงาตวั เอง เวลาเปล่ียนแสงเงา เปล่ียนไป ให้เด็กได้สนกุ กบั การท�ำกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั แสงเงา การสะทอ้ นแสง การ ที่แสงส่องผ่านวัสดุต่างกัน การท�ำตารางหลากหลายแบบบนพื้น เพื่อให้เด็กคิดวิธี เลน่ ด้วยตวั เอง ฯลฯ 5) ใหค้ วามสำ� คญั กับพนื้ ท่ีสำ� หรบั แสดง / น�ำเสนอผลงาน  Presentation Area ในการพัฒนาทักษะสมอง EF น้ัน ต้องให้ความส�ำคัญกับพื้นท่ีในการจัดแสดง และน�ำเสนอผลงานเด็ก เพราะเป็นพื้นท่ีที่เด็กจะน�ำเสนอผลที่เกิดจากทักษะการ ท�ำงาน ขณะน�ำเสนองานเด็กก็จะได้ฝึกฝนทักษะในการก�ำกับตัวเอง ต้องมีสมาธิ ควบคุมความต่ืนเต้น และประเมินการท�ำงานของตนเอง ขณะเดียวกันพื้นท่ีนี้ก็จะ เป็นพ้ืนท่ีท่ีเด็กได้เรียนรู้ และเห็นความหลากหลายจากผลงานและการท�ำงานของ เพ่ือน รจู้ ักยอมรบั และชื่นชมผลงานของผอู้ ่ืน การนำ� เสนองานของเดก็ นน้ั ครตู อ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั ผลงานของเดก็ ทกุ คน และ ในกรณีที่พื้นท่ีจ�ำกัด ครูต้องใช้การติดผลงานที่หมุนเวียนจนครบของเด็กทุกคน และถ้าจะให้สมบูรณ์ควรน�ำเสนอที่มาของผลงานด้วย เพื่อให้เด็กได้ทบทวน กระบวนการ หรอื ขนั้ ตอนเปน็ ลำ� ดบั กอ่ นทผี่ ลงานจะสำ� เรจ็ ไดเ้ หน็ วา่ การจะประสบ ความสำ� เร็จได้น้ันต้องใช้เวลา ความตง้ั ใจ ความคิดสร้างสรรค์ ผา่ นการลองผดิ ลอง ถกู ไดแ้ ลกเปลย่ี นประสบการณร์ ะหวา่ งเพอื่ นเดก็ ดว้ ยกนั ใหเ้ ดก็ เหน็ วา่ เปน็ การเรยี น รทู้ ี่ผา่ นกิจกรรมท่หี ลากหลาย เช่น การสงั เกต การสำ� รวจ การทดลอง เปน็ ต้น เพราะเดก็ เรยี นรอู้ ยตู่ ลอดเวลา เดก็ จงึ ไมไ่ ดเ้ รยี นรจู้ ากครผู สู้ อนเทา่ นนั้ แตเ่ ดก็ ยงั เรยี นรจู้ ากเพอ่ื นๆ และยงั เรยี นรจู้ ากสงิ่ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย ในหอ้ งเรยี นนน้ั จงึ เปรยี บ เสมือนมี “คร”ู อยถู่ ึง 3 คน นั่นเอง 126

สรุป • เด็กรับสัมผัสจากสภาพแวดล้อมด้วยประสาทสัมผัสทุกด้าน สภาพแวดล้อมจึงมีอิทธิพลและส่งผลต่อ พัฒนาการท้ังการเรียนรู้ อารมณ์ ความรสู้ กึ และการกระทำ� • สภาพแวดลอ้ มเป็นครู ไมส่ อนแตเ่ รียนรู้ เพราะเดก็ เรียนรอู้ ย่ตู ลอดเวลา เรยี นรูม้ ากกวา่ ท่ผี ใู้ หญ่สอน และ ย่งิ เรียนรมู้ ากขึ้นจากการค้นพบ จากการไดป้ ระสบการณ์ตรงจากสภาพแวดลอ้ มรอบตวั • จดั สภาพแวดลอ้ มใหม้ พี นื้ ทท่ี เี่ ดก็ จะไดพ้ ฒั นาการทำ� งานของระบบประสาทสว่ นกลาง ซง่ี รบั รผู้ า่ นประสาท สมั ผัส จงึ ควรมีเครอ่ื งเล่นและอปุ กรณ์ใหเ้ ดก็ ได้ มุด ลอด ไต่ โหน กระโดด กล้งิ ไดร้ ับสมั ผสั ไดร้ บั รผู้ า่ น กล้ามเนอ้ื -เอน็ -ข้อตอ่ และระบบการทรงตัว • จดั สภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั แตม่ ีความเสยี่ งเพื่อกระตุน้ ทา้ ทายให้เด็กได้ใชท้ กั ษะดา้ นต่างๆ โดยค�ำนงึ ถงึ พัฒนาการตามวยั ไม่มากไปหรือนอ้ ยไป เพอ่ื ให้เด็กได้ใช้สมรรถนะท่ตี ัวเองมอี ย่างเตม็ ท่ี • จัดสภาพแวดล้อมทางอารมณ์และสังคม โดยต้องตอบสนองความต้องการของเด็กเรื่องการใช้งาน จัด สถานท่ี และอุปกรณ์ที่เด็กสามารถใช้งานได้สะดวก มีพื้นท่ีส�ำหรับท�ำกิจกรรมกลุ่มใหญ่ กลุ่มเล็ก รายบคุ คล และมมุ สว่ นตัวที่เงยี บสงบ • จดั สภาพแวดล้อมที่อบอุ่น ปลอดภัย ปราศจากความกดดันจากอ�ำนาจของผใู้ หญ่ • จดั สภาพแวดลอ้ มทางความคดิ โดยใหเ้ ดก็ ใกลช้ ดิ กบั ธรรมชาตใิ หม้ าก เพราะเปน็ การเรยี นรแู้ บบปลายเปดิ และท�ำให้เด็กเข้าใจสัจธรรมของชวี ิตได้อยา่ งงา่ ยๆ • การจัดสภาพแวดล้อมที่ให้ทุกย่างก้าวคือการเรียนรู้ (Rich Environment) จะท�ำให้เกิดการพัฒนา ทักษะสมอง EF 127

7 Target Train Behavior Teach Time Trust การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ด้วยการเสรมิ สร้างวินยั เชิงบวก (Positive Discipline) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ปนดั ดา ธนเศรษฐกร 128

หลงั จากทเ่ี ราไดท้ ราบถงึ ความสำ� คญั ของความสมั พนั ธท์ ด่ี แี ละความผกู พนั แบบ การเล้ียงดูปลกู ฝัง ปลอดภยั วา่ เปน็ ปจั จยั หลกั ชว่ ยใหส้ มองสว่ นหนา้ ทเ่ี ปน็ ทป่ี ฎบิ ตั กิ ารของ EF ทำ� งาน เด็กคนหน่งึ ให้มี ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพแลว้ ในบทนี้จะไดก้ ล่าวถึง “การสร้างวินัยเชิงบวก” ซง่ึ เปน็ ระเบียบวนิ ยั ในตนเอง เคร่ืองมือส�ำคัญในการสง่ เสรมิ สัมพนั ธภาพและความผกู พันที่ดี รวมถงึ ทักษะสมอง และในสังคม กเ็ ทา่ กับ EF เพอ่ื เสรมิ สรา้ งการมวี ินัยในตนเองและวินัยในสังคม วา่ เปน็ การกระตุ้น การมีระเบียบวินัยในตนเองและในสังคม มีความสัมพันธ์กับทักษะสมอง EF ฝึกฝนให้เด็กใชท้ กั ษะ อยา่ งแยกกนั ไมอ่ อก หากพจิ ารณาในแงม่ มุ ของการทำ� งานของสมองแลว้ อาจกลา่ ว สมอง EF นน่ั เอง ได้ว่าทักษะสมอง EF เป็นกระบวนการท�ำงานของสมองช้ันสูงที่ควบคุมการมีวินัย ของคนเราโดยตรง ดงั นนั้ คนทมี่ รี ะเบยี บวนิ ยั ในตนเองและในสงั คม คอื คนทมี่ ที กั ษะ สมอง EF ดี ส่วนคนที่ไม่ค่อยมีระเบียบวินัยในตนเองและในสังคมก็จะเป็นคนที่มี ทกั ษะสมอง EF ไมด่ ี แต่หากพิจารณาในแง่มุมของพัฒนาการ การมีระเบียบวินัยไม่ใช่ทักษะท่ีจะ พัฒนาดีข้ึนไปตามอายุท่ีมากข้ึน หรือเส่ือมถอยลงไปตามความร่วงโรยของวัยชรา แต่เป็นทักษะท่ีได้รับจากการสอนและฝึกฝนจนพัฒนาข้ึนจนกลายเป็นนิสัย ประจ�ำตัว จึงอาจกล่าวได้ว่าการสอนเรื่องระเบียบวินัยในตนเองและในสังคมนั้น เป็นการกระตุ้นการท�ำงานของสมองช้ันสูงและส่งเสริมพัฒนาการทักษะสมอง EF โดยตรงเชน่ เดยี วกนั ดงั นน้ั การเลย้ี งดปู ลกู ฝงั เดก็ คนหนงึ่ ใหม้ รี ะเบยี บวนิ ยั ในตนเอง และในสังคม ก็เท่ากับว่าเป็นการกระตุ้นฝึกฝนให้เด็กใช้ทักษะสมอง EF นั่นเอง และหากละเลยการเล้ียงดูปลูกฝังเร่ืองระเบียบวินัยไป ก็ถือว่าเป็นการพลาด โอกาสทองในการกระตุ้นส่งเสริมทักษะสมอง EF ของเด็กในช่วงปฐมวัยไปอย่าง น่าเสยี ดาย เมื่อพิจารณาท้ัง 2 แง่มุมร่วมกันก็จะสามารถสรุปได้ว่า การมีระเบียบวินัย และทักษะสมอง EF เป็นทักษะส�ำคัญที่ต้องกระตุ้นส่งเสริมตั้งแต่ในช่วงปฐมวัย เนื่องจากเด็กไม่ได้เกิดมาพร้อมกับความมีระเบียบวินัยในตนเองและในสังคม และ สมองส่วนหน้า ซึง่ เปน็ ท่ีปฏบิ ัตกิ ารทักษะสมอง EF ก็ยงั พัฒนาไม่เตม็ ทอ่ี ีกดว้ ย 129

นอกจากนี้ แม้ว่าพัฒนาการบางส่วนของทักษะสมอง EF จะเป็นไปตามอายุ แต่ส�ำหรับการมีระเบียบวินัยน้ัน ไม่ได้เกิดขึ้นเองตามอายุ แต่ต้องอาศัยเวลาของ ผู้เล้ียงดูในการปลูกฝังและฝึกฝนเด็กจนติดเป็นนิสัย ท�ำให้เด็กปฐมวัยมีข้อ จำ� กดั ทสี่ ำ� คญั ตอ่ การดำ� รงชวี ติ และอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื บนโลกนอี้ ยา่ งปกตสิ ขุ 2 ประการ น่ันก็คือ ข้อจ�ำกัดเร่ืองความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง และข้อ จ�ำกัดเร่ืองความรู้ในการประพฤติตนให้เหมาะสมตามกฎระเบียบ ความเชื่อ วฒั นธรรม และคา่ นิยมของสงั คมทีเ่ ด็กอาศยั อยู่ แต่อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการสอนเร่ืองระเบียบวินัยในตนเองและพฤติกรรม ท่ีถูกต้องตามกาลเทศะในสังคมจะเป็นเร่ืองส�ำคัญ แต่การสอนเร่ืองน้ียังเป็นอีก หน่ึงเร่ืองที่ยากและท้าทายความสามารถของครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง อยู่ไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากใช้วิธีการสอนที่ไม่ถูกวิธีด้วยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ใช่แค่การ ไมม่ ีระเบยี บวินยั ในตนเองและในสงั คมเทา่ นนั้ แตห่ มายถงึ การไปยับยัง้ พัฒนาการ ทักษะสมอง EF ของเด็ก การท�ำลายความสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็ก และการปลูกฝัง พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นความก้าวร้าว ต่อต้านหรือเก็บกดให้กับเด็ก เลยทีเดียว เราตระหนกั อย่างแทจ้ ริงหรอื ไม่ถึงผลกระทบต่อใจเด็ก หรอื ยงั พอใจกบั “การลงโทษ” ที่ให้ผลเร็ว เด็กยอมท�ำเพราะกลวั การลงโทษหรือท�ำเพราะ เห็นคุณคา่ ของสิง่ ท่ที ำ� เปน็ ส่ิงทีน่ ่าคิด ดังน้ันในบทนี้จึงได้น�ำเสนอวิธีการสร้างวินัยเชิงบวกท่ีมีผลงานวิจัยด้าน ประสาทวิทยา จิตวิทยา สังคมวิทยา และการศึกษาปฐมวัย สนับสนุนว่าเป็น วิธีการส่งเสริมพัฒนาการทักษะสมอง EF ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเริ่มจากการอธิบายแนวคิด ความหมาย หลักการท�ำงาน และความส�ำคัญของ การสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวก เพอ่ื ความเขา้ ใจในธรรมชาติ และกระบวนการทำ� งานของการ สร้างวินัยเชิงบวกท่ีมีผลต่อพัฒนาการสมอง จิตใจและพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย รวมถึงน�ำเสนอหลักการสร้างวินัยเชิงบวก ตัวอย่างและแนวทางในการใช้หลักการ สร้างวินัยเชิงบวก เพื่อให้เห็นภาพของการใช้เทคนิคการสร้างวินัยเชิงบวกใน สถานการณต์ ่างๆ และสามารถลองนำ� ไปฝึกปฏิบัติจริงกบั เด็กๆ ได้ 130

1. การสร้างวินยั เชิงบวก (Positive Discipline) คืออะไร เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ครูปฐมวัยและพ่อแม่จะใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับ การจัดการพฤติกรรมของเด็กๆ ให้เหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมถึงการ สอนให้เด็กๆ รู้จักจัดการดูแลตนเองให้เรียบร้อย และมีปัญหาน้อยท่ีสุดในชีวิต ประจ�ำวัน มากกว่าการใช้เวลาไปกับการพูดคุย เล่นด้วยกัน หรือสอนเด็กๆ ใน เรอื่ งอืน่ ๆ แต่ก็เป็นท่ีน่าสังเกตว่า ทั้งๆ ท่ีผู้เลี้ยงดูหลักท้ังท่ีบ้านและท่ีโรงเรียน ให้ ความส�ำคัญกับพฤติกรรมของเด็กๆ มาก แต่ท�ำไมเด็กๆ จึงยังมีพฤติกรรมที่ ไม่เหมาะสมและยังไม่มีวินัยเสียที ซ่ึงเหตุผลหลักก็เป็นเพราะว่า อันที่จริงแล้ว ผเู้ ลี้ยงดยู งั ไม่ไดใ้ ช้การสร้างวินยั เชงิ บวกในการสอนและฝกึ ฝนเดก็ ใหม้ กี ารตดั สนิ ใจ ท่ีดี สามารถเลือกท�ำพฤติกรรมที่เหมาะสมด้วยตัวเอง แต่กลับใช้การสร้างวินัย เชิงลบในการควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด็กให้อยู่ในกฎระเบียบแทน น่ันเอง จึงท�ำให้ไม่มีทักษะการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง แถมยังต้องพ่ึง ผอู้ น่ื ใหค้ วบคุมพฤตกิ รรมของตนเองอกี ดว้ ย คำ� ถามที่ต้อง เราจะสามารถตามไปควบคุม ฉุกคิดกค็ อื พวกเขาได้ทุกทหี่ รอื ไม่ พวกเขาจะชอบและจะยินยอมให้เรา ตามไปควบคมุ ทกุ ที่ทุกเวลาใช่ไหม หากพวกเขาไมม่ ีเราคอยควบคุม ชีวติ เขาจะเป็นอยา่ งไร 131

จะดีกว่าไหม หากว่าเด็กๆ จะใช้โอกาสในช่วงวัยท่ีพวกเขาอยู่ใกล้ชิดเรามาก ทส่ี ดุ ไดล้ องตดั สนิ ใจเลอื กทำ� พฤตกิ รรมตา่ งๆ ดว้ ยตวั เอง อาจจะผดิ บา้ ง ถกู บา้ ง แตย่ งั มเี ราทคี่ อยใหค้ ำ� แนะนำ� วา่ พฤตกิ รรมใดควรทำ� หรอื ไมค่ วรทำ� คอยใหค้ ำ� ชน่ื ชม ภมู ใิ จ เมื่อพวกเขาน�ำค�ำแนะน�ำไปคิดและมีการตัดสินใจที่ดี และคอยให้ก�ำลังใจอยู่เคียง ข้างในวันท่ีพวกเขาตดั สนิ ใจผิดพลาดและต้องรบั ผิดชอบผลของการกระทำ� ตวั เอง แน่นอนว่าเราทุกคนมีวิธีการสอนในแบบฉบับของตัวเอง ซ่ึงส่วนใหญ่แล้ว วิธีการนั้นจะอ้างอิงมาจากวิธีการท่ีพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูใกล้ชิดในวัยเยาว์เคยสอน เรามา หรืออาจจะเป็นวิธีการใหม่ที่อ้างอิงมาจากประสบการณ์ท่ีเราเคยพบเห็น แต่เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าวิธีการที่เราใช้อยู่น้ัน เป็นการสร้างวินัยเชิงบวกหรือ วินัยเชิงลบ ดังนั้นในส่วนนี้ จึงได้อธิบายแนวคิดและความหมายของการสร้างวินัย เชิงบวกไว้ให้ลองพิจารณาดูว่าวิธีการท่ีก�ำลังใช้ เข้าข่ายแนวคิดและความหมาย ของการสร้างวินยั เชงิ บวกทัง้ 4 ข้อ ดังต่อไปนห้ี รอื ไม่ 1) แนวทางการปลกู ฝังจติ สำ� นกึ เรือ่ งการมวี นิ ัยในตนเอง และความเห็นอก เห็นใจผ้อู ื่น การสร้างวินัยเชิงบวกเป็นแนวทางการปลูกฝังจิตส�ำนึกสองเร่ืองที่ส�ำคัญ ต่อการพัฒนาและการด�ำรงชีวิตอย่างปกติสุข ซ่ึงได้แก่ การมีวินัยในตนเอง และความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ดังนั้น ครูปฐมวัยและพ่อแม่จึงเป็นบุคคลส�ำคัญ ที่จ�ำเป็นต้องอบรมเลี้ยงดูช่วยส่งเสริมพัฒนาให้เด็กสามารถช่วยเหลือดูแลตนเอง และผู้อ่ืนในสังคม ด้วยวิธีการสอนท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของการเคารพสิทธิ ความรู้สึก และการตัดสินใจของเด็ก เพ่ือเป็นแบบอย่างให้เด็กได้เรียนรู้และด�ำเนินรอยตาม นำ� ไปปฏบิ ัตติ ่อผู้อนื่ ได้ต่อไปในอนาคต การลงโทษ การใช้ค�ำพูดที่ท�ำร้ายจิตใจ การท�ำร้ายร่างกาย การไม่ยอมรับฟัง ความต้องการและความคิดเห็นของเด็ก ล้วนเป็นวิธีการที่ลิดรอนสิทธิของเด็ก ท้ังส้ิน อีกท้ังยังเป็นการลดคุณค่าความเป็นมนุษย์ หล่อหลอมให้เด็กเป็นคนขาด ความภาคภมู ใิ จในตนเอง โหยหาความรกั ความอบอนุ่ ความมนั่ คงปลอดภยั ในชวี ติ ยึดติดอยู่แต่ความต้องการของตนเอง จนไม่สามารถพัฒนาเป็นจิตส�ำนึกที่ดี ต่อตนเองและผ้อู น่ื ได้ (Dreikurs, Cassel, & Furguson, 2004; Dreikurs & Soltz, 1991; Nelsen, 2006) 132

2) กระบวนการสอน (Teaching) และการฝกึ ฝน (Training) ทปี่ ราศจาก การสรา้ งวนิ ยั เชิงบวก ความรนุ แรง จงึ ควรหลีกเล่ยี ง กระบวนการสอน การสร้างวินัยเชิงบวก หมายถึง กระบวนการสอนและการฝึกฝนพฤติกรรม ที่ใชก้ ารลงโทษ และ ท่ีเหมาะสมอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้เกิดเป็นกระบวนการควบคุมภายในตนเอง ความรุนแรงท้งั ทางวาจา (Internal Control Process) ซ่งึ ตอ้ งอาศยั การสง่ั สมประสบการณ์เปน็ ระยะเวลา จิตใจ และรา่ งกาย นานพอท่ีจะท�ำให้เด็กคนหน่ึงเรียนรู้ทักษะในการด�ำเนินชีวิตไปพร้อมๆ กับการ อยา่ งสิ้นเชิง ฝึกฝนกระบวนการควบคุมและก�ำกับพฤติกรรมของตนเองให้สอดคล้องกับสังคม และส่ิงแวดลอ้ ม จนเกิดเป็นทกั ษะ ลกั ษณะนิสยั และจิตส�ำนึกประจำ� ตัว ดังนั้นการสร้างวินัยเชิงบวกจึงหลีกเลี่ยงกระบวนการสอนที่ใช้การลงโทษ และความรนุ แรงทั้งทางวาจา จติ ใจ และรา่ งกาย อย่างสนิ้ เชงิ เพราะเปน็ กระบวน การควบคมุ ภายนอก (External Control Process) ท่ีกระตุ้นกระบวนการทำ� งาน ของสมองส่วนสัญชาตญาณ ให้หยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเพียงช่ัวขณะเท่าน้ัน เนื่องจากความกลัว ความโกรธ และความรู้สึกไม่ปลอดภัย แต่ในระยะยาว ไมส่ ามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาให้เด็กเกดิ จติ สำ� นกึ ท่ดี ีได้ 3) การสอนที่มเี ปา้ หมายระยะส้ันและระยะยาว การสร้างวินัยเชิงบวกเป็นการอบรมเล้ียงดูเด็กอย่างมีเป้าหมาย โดยผู้เล้ียงดู จะต้องก�ำหนดเป้าหมายระยะส้ันในการสอนเด็กให้เหมาะสมตามอายุและ พัฒนาการ เพ่ือหล่อหลอมเด็กให้มีทักษะและความสามารถไปตามเป้าหมาย ระยะยาว เป้าหมายระยะสั้นและระยะยาวน้ีเป็นเคร่ืองมือที่จะช่วยให้ครูปฐมวัยและ พ่อแม่ได้ส�ำรวจและทบทวนว่าตนเองอบรมเลี้ยงดูเด็กได้เหมาะสมและสอดคล้อง กับอายุ พัฒนาการ และเป้าหมายหรือไม่ และเด็กได้เรียนรู้และมีโอกาสฝึกฝน ทกั ษะระยะสนั้ เพียงพอท่ีจะบรรลเุ ปา้ หมายระยะยาวแล้วหรอื ยัง วัตถุประสงค์ของการต้ังเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาวคือ เพ่ือให้ผู้เลี้ยงดู มุ่งไปท่ีการหาโอกาสในการสอนและฝึกฝนเด็กให้เป็นไปตามเป้าหมาย แทน การใช้เวลาและพลังงานส่วนใหญ่ไปกับการต่อว่า ลงโทษ หรือใช้ความรุนแรง เพอื่ ควบคุมและจัดการกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม 133

4) เคร่ืองมือการสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้เลี้ยงดูและเด็ก ปฐมวยั การสร้างวินัยเชิงบวกเป็นเคร่ืองมือส�ำหรับผู้เลี้ยงดูในการพัฒนาความสัมพันธ์ ที่ดีกับเด็กปฐมวัย เพราะมีแนวทางการเล้ียงดูปลูกฝังท่ีเน้นการพัฒนาตัวตน ให้มีคุณคา่ ในตนเอง และเคารพสิทธิ ความร้สู ึกและการตัดสนิ ใจของผู้อ่นื การท�ำให้เด็กๆ เติบโตมาด้วยความรัก ความอบอุ่น และความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย จะเป็นแรงจูงใจอย่างดี ให้พวกเขามีความทะเยอทะยานอย่างแรงกล้า ท่จี ะพัฒนาตนให้เป็นคนดีตามความคาดหวงั ของผเู้ ลีย้ งดู ความสมั พนั ธท์ ด่ี ยี งั เปน็ ทยี่ ดึ เหนย่ี วจติ ใจ ใหเ้ ดก็ กลา้ ทจ่ี ะออกไปเผชญิ โลกกวา้ ง เพื่อที่จะเรียนรู้ ลองผิดลองถูก และบริหารทักษะที่จ�ำเป็นต่อการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ในสังคม เมื่อเป้าหมายสูงสุดของการเลี้ยงดู คือ จิตส�ำนึกในการมีวินัยในตนเอง และ การมคี วามเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ืน่ นอกจากการสอนและการฝกึ ฝนแลว้ อีกหนา้ ท่หี น่ึง ของผู้เลี้ยงดูที่ส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน คือ การสร้างและรักษาสัมพันธภาพ ทด่ี กี บั เดก็ ๆ เพอื่ ทจ่ี ะสามารถนำ� พาพวกเขา ใหผ้ า่ นเปา้ หมายระยะสนั้ ไปสเู่ ปา้ หมาย ระยะยาว จนบรรลุเป้าหมายสูงสุดของการเล้ียงดูได้อย่างสมบูรณ์ (Masterson, 2008; Kersey& Masterson, 2013) สรุปได้ว่า การสร้างวินัยเชิงบวกคือแนวทางการสอนพฤติกรรมที่เหมาะสม โดยมีการตั้งเป้าหมายพฤติกรรมทั้งในระยะส้ันและระยะยาว และต้องปราศจาก ความรุนแรง เพ่ือสร้างและรักษาสัมพันธภาพท่ีดีกับเด็ก และสนับสนุนเด็ก ให้มจี ติ สำ� นกึ ในเรอ่ื งการมีวนิ ยั ในตนเองและการเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่ืน 134

2. การสร้างวินัยเชิงบวกมหี ลกั การทำ� งานอย่างไร ผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างวินัยเชิงบวกในยุคบุกเบิกหลายคนมีความเห็นพ้อง ต้องกันว่า การสร้างวินัยเชิงบวกหมายถึงการสอนและการฝึกฝน แต่ได้อธิบายถึง องคป์ ระกอบของการสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวกไวแ้ ตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ การสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวกเป็นการสอนและการฝึกฝนที่ไม่ใช้ความรุนแรง ต่อมามีการเพ่ิมเติมว่า เปน็ การสอนและการฝกึ ฝนทเ่ี นน้ พฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม ซงึ่ จะแตกตา่ งจากการสรา้ ง วินัยเชิงลบที่จะเน้นพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ดังน้ันการตีความหมายและวิธีการที่ น�ำไปใช้ จงึ มคี วามแตกตา่ งกันออกไปตามองคป์ ระกอบท่ีแตกตา่ งกนั และส่งผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลทีแ่ ตกตา่ งกนั ออกไปด้วย ตาม Model 5 T การสรา้ งวนิ ยั แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม จากการวจิ ยั และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในประเทศไทย เรอื่ งการ ใช้เทคนิคการสร้างวินัยเชิงบวก เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการทักษะสมอง EF และ เชิงบวก หมายถึง “การสอน พฤติกรรมของเด็กปฐมวยั โดย ผศ.ดร.ปนัดดา ธนเศรษฐกร และคณะ พบว่า (Teach) และการฝึกฝน การสร้างวินัยเชิงบวกจะสัมฤทธิ์ผล ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทักษะสมอง EF (Train) พฤติกรรมเป้าหมาย และพฤติกรรมของเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีองค์ประกอบ 5 T (Target Behavior) บน และมหี ลกั การทำ� งานตาม Model 5T ทนี่ ำ� เสนอโดย ผศ.ดร.ปนดั ดา ธนเศรษฐกร พื้นฐานของความเชื่อใจระหว่าง (ดภู าพท1ี่ ) ผู้เลี้ยงดูและเด็ก (Trust) Target โดยอาศัยเวลา (Time) ในการ Behavior สร้างความเชือ่ ใจกนั และกัน และ การพัฒนาทักษะของพฤติกรรม เปา้ หมาย” (Thanasetkorn, 2009) Teach Train องค์ประกอบ 5 T ได้แก่ Time 1. Target Behavior คอื พฤติกรรมเป้าหมาย 2. Teach คอื การสอนพฤติกรรมเป้าหมาย Trust 3. Train คอื การฝึกฝนพฤตกิ รรมเปา้ หมาย 4. Time คอื เวลาในการพฒั นาจติ ส�ำนกึ ภาพที่ 1 การสร้างวนิ ยั เชงิ บวกตาม Model 5 T และฐานทม่ี ่ันความเชือ่ ใจ 5. Trust คอื ความเช่ือใจของผ้เู ลี้ยงดูและเด็ก 135

จากผลการวิจัยเร่ืองการสร้าง 1) การตง้ั Target Behavior หรอื พฤตกิ รรมเปา้ หมายทสี่ อนเดก็ ใหฝ้ กึ ปฏบิ ตั ไิ ด้ วินัยเชิงบวกของพ่อแม่และครู ปฐมวัยในประเทศไทย พบว่า พฤติกรรมเป้าหมายใน Model 5T คอื การต้งั เปา้ หมายก่อนเป็นอันดบั แรกวา่ พอ่ แมแ่ ละครปู ฐมวยั สว่ นใหญ่ พฤติกรรมท่ีคาดหวังให้เกิดข้ึนคืออะไร แล้วจึงค่อยเลือกวิธีการสอนที่จะน�ำไป มีวิธีการสอนเด็กท่ีไม่สอดคล้อง สเู่ ปา้ หมายนัน้ กับความคาดหวัง และวิธีการ การต้ังเป้าหมายท่ีจะน�ำไปสู่การสอนที่ได้ผล คือ การเปลี่ยนพฤติกรรมที่ สอนที่น�ำมาใช้มาจากความ ไม่เหมาะสมของเด็ก หรือความคาดหวังของผู้เลี้ยงดูที่เป็นนามธรรมให้เป็น เคยชินมากกว่าการเลือกวิธี พฤตกิ รรมที่สามารถสอนเดก็ ใหฝ้ ึกปฏบิ ตั ไิ ด้ อยา่ งมีเปา้ หมาย ตัวอย่างการตั้งพฤติกรรมเปา้ หมาย Thanasetkorn, P. 2009 • หากไม่ต้องการให้เดก็ อมข้าว พฤติกรรมเป้าหมาย คือ การเค้ียวและกลืน • หากต้องการให้เด็กหยุดร้องไห้ พฤติกรรมเป้าหมาย คือ การควบคุมอารมณ์ และจัดการกบั ความรู้สกึ ไม่สบายใจของตนเอง • หากตอ้ งการใหเ้ ดก็ เปน็ คนมคี วามรบั ผดิ ชอบ พฤตกิ รรมเปา้ หมาย คอื เดก็ ทำ� งาน ท่ีได้รับมอบหมายจนเสรจ็ เป็นตน้ หลักการทำ� งานของพฤตกิ รรมเป้าหมายใน Model 5T น้ี มีแนวคดิ มาจากการ ป้องกันการตอบสนองพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมแบบอัตโนมัติของผู้ใหญ่ เช่น บอกเด็กว่า “หยุดร้องไห้เดี๋ยวน้ี” เม่ือเด็กร้องไห้เสียงดัง โดยยังไม่ทันนึกถึงว่า ตอ้ งสอนอะไรและสอนอย่างไร การสอนโดยไมม่ กี ารต้ังเป้าหมายน้นั จะสื่อสารความคาดหวังหรอื สิง่ ทผี่ เู้ ลยี้ งดู ตอ้ งการจะสอนไดไ้ มช่ ดั เจน สง่ ผลใหก้ ารเรยี นรขู้ องเดก็ เกดิ จากการคาดเดาอารมณ์ และความคาดหวังของผู้เลี้ยงดู โดยการสุ่มท�ำพฤติกรรมไปเรื่อยๆ เพื่อทดสอบ ขอบเขตพฤติกรรม ว่าจะสามารถแสดงพฤติกรรมท่ีตนเองต้องการได้มากน้อย แค่ไหน เม่ือเด็กไม่เข้าใจว่าควรแสดงพฤติกรรมอะไร อย่างไร ท่ีไหน และเม่ือไหร่ รวมถงึ ไม่มีเปา้ หมายท่ีเอาไว้ใช้ยดึ ถือในการฝึกปฏิบตั ิ กจ็ ะขาดโอกาสในการเรียนรู้ ความคาดหวังของสังคม และฝึกฝนควบคุมอารมณ์ความต้องการและก�ำกับ พฤตกิ รรมตนเองใหบ้ รรลตุ ามความคาดหวงั ของสงั คมได้ 136

2) Teach หรอื การสอนพฤตกิ รรมเป้าหมายทที่ ำ� ให้เกดิ แรงจูงใจ การสอนพฤตกิ รรมเปา้ หมายใน Model 5 T คอื การสือ่ สารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ท่ีสามารถสอนทักษะและหล่อเลี้ยงจิตใจของเด็กได้ในเวลาเดียวกัน เพื่อท�ำให้ เด็กเกิดแรงจูงใจ อยากให้ความร่วมมือ และลงมือท�ำพฤติกรรมเป้าหมาย ตามที่ผู้เลี้ยงดูคาดหวังไว้ด้วยตัวของเขาเอง แทนการส่ือสารด้วยวิธีการบังคับ การสั่ง การข่มขู่ การต่อวา่ การเปรียบเทยี บ และการลงโทษ ซึ่งเป็นการท�ำร้ายจติ ใจ ท�ำให้เด็กรู้สึกไม่ปลอดภัยและอยากต่อต้าน วิธีการสอนที่สามารถจูงใจให้เกิด ความร่วมมือได้จะต้องเป็นการส่ือสารท่ีสามารถอธิบายวิธีการปฏิบัติพฤติกรรม เป้าหมายให้เด็กมองเห็นภาพพฤติกรรมน้ันได้อย่างชัดเจน (ตัวอย่างเช่น “เอามอื ถอื จานไวท้ งั้ 2 มอื แลว้ เดนิ ชา้ ๆ เอาไปใสไ่ วใ้ นอา่ งลา้ งจานคะ่ ” แทนการสอน ว่า “รับผิดชอบจานข้าวตัวเองด้วยค่ะ”) และในขณะเดียวกัน ก็ต้องเป็น การสื่อสารที่สามารถตอบสนองความต้องการพ้ืนฐานทางจิตใจของเด็กได้อีกด้วย (เชน่ “เมือ่ เก็บจานแล้วไปเล่นได้เลยค่ะ” แทนการสอนวา่ “ใครไมเ่ กบ็ จานกไ็ มต่ ้อง กลบั ห้องเรียนเลย”) 3) Train หรือ การฝึกฝนพฤติกรรมเป้าหมาย ตามศักยภาพของเด็ก แต่ละคน การฝึกฝนพฤติกรรมเป้าหมายใน Model 5 T คือ การมองหาโอกาสให้เด็ก ได้บริหารทักษะที่เรียนรู้ไปแล้ว ในบริบทต่างๆ ท่ีมีระดับความยาก ง่าย หรือ มีความสลับซับซ้อนแตกต่างกันไป และคอยให้ค�ำแนะน�ำ ให้ความช่วยเหลือ เมือ่ จำ� เปน็ เพ่ือส่งเสรมิ และตอ่ ยอดให้เดก็ พฒั นาทักษะน้นั ไดอ้ ย่างเตม็ ศักยภาพ นอกจากน้ียังรวมถึงการให้โอกาสเด็กได้ลองใช้ความพยายามใหม่อีกครั้ง ในกรณีท่ีเขาตัดสินใจผิดพลาดและแสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม ซึ่งผู้เล้ียงดู จะต้องยอมรับในความสามารถท่ียังไม่สมบูรณ์ของเด็กๆ และควบคุมอารมณ์ ของตนเองจนสามารถพาเดก็ ไปสู่เป้าหมายได้ 137

4) Time หรือเวลาในการพฒั นาจิตสำ� นึก และฐานท่มี ัน่ ความเชื่อใจ “เวลา” ใน Model 5 T มีความหมายถงึ ความมั่นคง และความตอ่ เนื่องในการ สอนและการฝกึ ฝน ทยี่ งั คงมพี ฤตกิ รรมเปา้ หมาย มกี ารสอื่ สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และ มีการใหโ้ อกาส เพอ่ื รักษาแรงจงู ใจและสัมพนั ธภาพที่ดไี ปตลอด จนถึงเปา้ หมายได้ ผเู้ ล้ียงดตู ้องระลึกไว้เสมอวา่ การสอนพฤตกิ รรมทคี่ าดหวงั จนเกดิ เป็นจิตส�ำนกึ และการสร้างความเช่ือใจซ่ึงกันและกัน เป็นเร่ืองของการพัฒนาคุณภาพจิตใจ ซง่ึ เกดิ จากการใชเ้ วลาในการเรยี นรแู้ ละการสงั่ สมประสบการณท์ ไ่ี ดร้ บั จากการสอน ของผเู้ ลย้ี งดู ดงั นนั้ คณุ ภาพจติ ใจของเดก็ จะพฒั นามากหรอื นอ้ ย จงึ ขนึ้ อยกู่ บั วธิ กี าร สอนของผู้เล้ียงดูว่ามีคุณภาพมากน้อยแค่ไหน ผู้เลี้ยงดูมีความมั่นคงและต่อเนื่อง ในการเลยี้ งดูหรือไม่ 5) Trust หรือ ความเช่ือใจของผู้เล้ียงดูและเด็กท่ีพัฒนาข้ึนจากวิธีการ เลีย้ งดู ความเชื่อใจใน Model 5 T คือ การสร้างและการรักษาความเชื่อใจของ ผู้เล้ียงดแู ละเดก็ ซงึ่ ตามหลกั การทำ� งานของการสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวกตาม Model 5 T จะทำ� ใหเ้ กิดความเช่ือใจในตนเอง เช่อื ใจซึ่งกันและกนั (ดตู ารางท่ี 2) ซงึ่ ความเช่อื ใจ เป็น Key Success Factor ท่ีท�ำให้การเล้ียงดูด้วยการสร้างวินัยเชิงบวกบรรลุ เป้าหมายสงู สุด 138

ตารางที่ 2 ความเช่อื ใจของผู้เลีย้ งดูและเดก็ ในโมเดล 5T ความเชอ่ื ใจในตนเอง ความเช่ือใจซ่ึงกันและกัน เช่ือว่าตนเองจะเป็นพ่อแม่หรือครู ที่มี เชอ่ื วา่ ตนเองมคี วามสามารถในการเรยี นรแู้ ละ ผู้ใหญ่ ความสามารถในการสอนและฝึกฝนเด็ก พัฒนาตนเอง ดว้ ยการสรา้ งวนิ ัยเชิงบวกได้ เช่ือว่าเด็กมีความสามารถและพัฒนา เช่ือว่าผู้ใหญ่สามารถดูแล ให้ความรัก ความ เด็ก ตนเองได้จนถงึ ขีดสงู สุด อบอนุ่ ปกป้อง คมุ้ ครอง ให้ความปลอดภัยได้ เช่อื ว่าผู้ใหญส่ ามารถสอนให้เด็กพฒั นาได้ ผู้ใหญ่ท่ีมีความเช่ือใจในตนเองและในตัวเด็ก จะสอนและให้โอกาสเด็กได้ ฝึกฝนพฤติกรรมเป้าหมาย ด้วยความรัก ความเข้าใจ ท�ำให้เด็กเช่ือใจ สามารถ พัฒนาความผูกพันแบบปลอดภัย ซึ่งเป็นสภาวะทางจิตใจท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ของเด็ก ท�ำให้เด็กสามารถบรรลุพฤติกรรมเป้าหมาย จนเกิดเป็นทักษะและ ประสบการณท์ ี่เอ้อื ต่อการพฒั นาทกั ษะสมอง EF ได้ กล่าวโดยสรุป การสร้างวินัยเชิงบวกตามโมเดล 5 T เป็นวงจรที่ท�ำให้เด็ก เกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ ฝึกฝน และให้ความร่วมมือกับผู้เล้ียงดู จนสามารถ พัฒนาพฤติกรรมเป้าหมายได้ส�ำเร็จ ความส�ำเร็จท่ีส่ังสมนี้จะท�ำให้ผู้เลี้ยงดู และเด็กมีความเชื่อใจในตนเอง และเชื่อใจซึ่งกันและกันมากข้ึน รวมถึงมองเห็น ตนเองและผอู้ น่ื ว่าเป็นคนมีความสามารถและมีคณุ ค่ามากข้นึ อีกดว้ ย การพัฒนามุมมองท่ีดีต่อตนเองและผู้อ่ืน และการให้คุณค่าตัวเองและผู้อ่ืน เป็นรากฐานที่ส�ำคัญของการพัฒนาจิตส�ำนึกที่เกิดจากการมีวินัยในตนเองและ การเหน็ อกเห็นใจผู้อน่ื ซง่ึ ถอื เปน็ เป้าหมายสงู สดุ ของการสรา้ งวินยั เชงิ บวก 139

3. ทำ� ไมการสรา้ งวินยั เชิงบวกจงึ ส�ำคญั ต่อการส่งเสรมิ พัฒนาการทักษะสมอง EF ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นแล้วว่า การสอนเรื่องระบียบวินัย ก็คือการฝึกให้เด็ก ใช้ทักษะสมอง EF ดังน้ันวิธีการอะไรก็ตามที่น�ำมาสอนเด็กเรื่องการมีระเบียบวินัย ก็จะส่งผลตอ่ พัฒนาการทักษะสมอง EF ด้วยเชน่ กนั งานวจิ ัยพบว่า การสรา้ งวินยั เชิงลบ นอกจากจะกระตุ้นให้เด็กมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมแล้ว ยังไปขัดขวาง พัฒนาการของเด็กเกือบทุกด้านอีกด้วย โดยเฉพาะพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ สงั คม และ ทกั ษะสมอง EF ด้วยเหตุน้ี การสร้างวินัยเชิงบวกจึงถูกพัฒนาขึ้นมาเพ่ือให้ผู้เล้ียงดูใช้เป็น เครื่องมือในการสื่อสารกับเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับพัฒนาการ และกระบวนการทำ� งานของสมอง จติ ใจ และพฤตกิ รรมของเด็กปฐมวัย ในสว่ นน้ี ไดเ้ รมิ่ ต้นจากการน�ำเสนอความท้าทายของการเลี้ยงดตู ่อการสง่ เสรมิ ทักษะสมอง EF เพ่ือให้เกิดความเข้าใจว่า พัฒนาการและกระบวนการท�ำงาน ของสมองและจิตใจของเด็กในช่วงปฐมวัย ส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็กอย่างไร สร้างความท้าทายให้แก่ผู้เลี้ยงดูได้อย่างไร และในส่วนต่อไปจึงได้น�ำความส�ำคัญ ของการสร้างวินัยเชิงบวก ต่อการส่งเสริมทักษะสมอง EF มาอธิบายควบคู่ไปกับ การสร้างวินัยเชิงลบ เพ่ือให้ตระหนักถึงอิทธิพลของวิธีการเลี้ยงดูที่ส่งผลต่อ พัฒนาการ กระบวนการท�ำงานของสมอง จิตใจและพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย และเล็งเหน็ ความสำ� คญั ของการสรา้ งวนิ ยั เชิงบวกตอ่ การเล้ยี งดูเดก็ ปฐมวัย ความท้าทายของการเล้ียงดูตอ่ การส่งเสรมิ ทกั ษะสมอง EF ทักษะสมอง EF เป็นกระบวนการท�ำงานของสมองระดับสูงที่ประมวล ประสบการณ์ในอดีตและสถานการณ์ในปัจจุบันมาประเมิน วิเคราะห์ ตัดสินใจ วางแผน เริ่มลงมือท�ำ ประเมินส�ำรวจตนเอง และแก้ไขปัญหา ตลอดจนควบคุม อารมณ์ บรหิ ารเวลา จดั ความส�ำคญั กำ� กบั ตนเอง และมงุ่ ม่ันทำ� จนบรรลุเปา้ หมาย ท่ีต้งั ใจไว้ (Goal-Directed Behaviors) (Thanasetkorn, 2012) 140

จากค�ำอธิบายจะเห็นว่า ทักษะสมอง EF มีค�ำส�ำคัญ (Keywords) อยู่ 4 ค�ำ ที่เป็นความท้าทายของพ่อแม่และครู ในการเลี้ยงดูเพื่อจะส่งเสริมพัฒนาการ ทักษะสมอง EF ให้แก่เด็กปฐมวัย ซ่ึงได้แก่ สมองระดับสูง ประสบการณ์ในอดีต สถานการณ์ปจั จุบัน และ เปา้ หมายท่ีตั้งใจไว้ สมองระดับสูง ทักษะสมอง EF ประสบการณ์ ในอดีต สถานการณ์ ปัจจุบัน เป้าหมาย ในอนาคต สมองระดับสูง สมองระดบั สงู มกี ระบวนการทำ� งานของทกั ษะสมอง EF จากสมองระดบั สงู สรู่ ะดบั ล่าง (Top Down Process) ในขณะที่กระบวนการพัฒนาสมองของเด็กปฐมวัยจะ เร่ิมพฒั นาจากสมองระดบั ลา่ งสู่ระดบั สงู (Bottom Up Process) ทักษะสมอง EF เปน็ การทำ� งานของสมองสว่ นหนา้ ซ่งึ เปน็ สมองระดับสงู ทีส่ ุด ท�ำงานรว่ มกับสมอง สว่ นอนื่ ๆ รวมทง้ั ควบคมุ ระบบการทำ� งานของสมองระดบั กลาง คอื สมองลมิ บกิ และ สมองระดับต�่ำท่สี ุด คอื สมองแกน เพื่อรับส่งขอ้ มูล ประมวลผล และตัดสินใจแสดง พฤติกรรมเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย ดังน้ันการท�ำงานของทักษะสมอง EF จึงเป็น กระบวนการทำ� งานแบบ Top Down คอื การใช้สมองระดบั สูงสรู่ ะดับล่าง 141

เม่ือพฤติกรรม แต่ในทางตรงกันข้าม พัฒนาการสมองของเด็กปฐมวัยเป็นกระบวนการ ของเดก็ แปรปรวน เจริญเติบโต และพัฒนาแบบ Bottom Up คือ สมองระดับล่างสุดคือสมองแกน ไปตามอารมณ์ และสมองระดับกลางคือสมองลิมบิก มีการเจริญเติบโตเต็มท่ีเร็วที่สุดตามล�ำดับ แลว้ เรา “ผู้ใหญ”่ ในขณะท่ีสมองระดับสูงคือสมองส่วนหน้ามีการเจริญเติบโตเต็มท่ีช้าที่สุด โดยจะ อารมณจ์ ะแปรปรวน เจริญเติบโตอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่แรกคลอดไปจนถึงวัยรุ่น และเจริญเติบโตจนเต็มท่ี ตามเด็กไปหรอื ไม่ เมอ่ื อายปุ ระมาณ 25 ปี จึงเป็นเรื่องธรรมดาท่ีพฤติกรรมส่วนใหญ่ของเด็กปฐมวัยจะแปรปรวนไปตาม อารมณแ์ ละความตอ้ งการของตนเอง มคี วามยบั ยง้ั ชง่ั ใจตำ่� ความอดทนอดกลน้ั นอ้ ย และมีขดี ความสามารถในการเรยี นรู้และทำ� ความเข้าใจจำ� กัด ซึ่งถา้ หากพอ่ แม่และ ครปู ฐมวยั ไมเ่ ขา้ ใจเรอื่ งพฒั นาการทกั ษะสมอง EF กจ็ ะอารมณเ์ สยี และเครยี ดไดง้ า่ ย และเกดิ เปน็ คำ� ถามมากมาย เชน่ ทำ� ไมสอนแลว้ เดก็ ๆ ถงึ ไม่จำ� ทำ� ไมบอกแลว้ ไมฟ่ งั ท�ำไมไมย่ อมท�ำตาม ท�ำไมกา้ วรา้ ว ท�ำไมเด็กดื้อ ดังนั้นความท้าทายของการเล้ียงดูเด็กปฐมวัยเพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF คือ การควบคุมอารมณ์เมื่อเผชิญกับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด็ก และใช้วิธีการ สอนที่เหมาะสมกบั การส่งเสรมิ พัฒนาการทกั ษะสมอง EF ประสบการณ์ ประสบการณ์ในอดีต ประสบการณ์ในอดีตของเด็กปฐมวัยมีเพียงน้อยนิด แต่เป็น ในอดีต ปัจจัยส�ำคัญต่อการพัฒนาทักษะสมอง EF และคุณภาพของจิตใจและพฤติกรรม ส�ำหรับเด็กปฐมวัย “ประสบการณ์ในอดีต” เป็นประสบการณ์เดิมท่ียังมีน้อย และมเี นอื้ หาจ�ำกัดตามศกั ยภาพการเรยี นรู้ จงึ ยังมองไม่เห็นอย่างทผ่ี ้ใู หญ่เหน็ และ ยังไม่เข้าใจโลกใบน้ีอย่างที่ผู้ใหญ่เข้าใจ ดังน้ันการสอนและการฝึกฝนเด็กปฐมวัย เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการทักษะสมอง EF จะต้องค�ำนึงถึงประสบการณ์ในอดีต อายุ ศักยภาพการเรียนรู้ และความต้องการพื้นฐานทางจิตใจของพวกเขา เพื่อให้ สามารถเข้าใจสิ่งที่สอน และเก็บส่ังสมไว้ในคลังสมอง เป็นประสบการณ์เดิมท่ีจะ สามารถดึงออกมาใช้เป็นข้อมูลส�ำหรับคิดเชื่อมโยงกับเหตุการณ์เฉพาะหน้าใน อนาคตได้ ดังน้ันอีกหน่ึงความท้าทายของการเล้ียงดูเด็กปฐมวัย เพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF คอื การสอนทค่ี �ำนึงถึงประสบการณ์เดมิ ของเด็กปฐมวัย และการปลกู ฝังคณุ คา่ ทางจิตใจ 142

สถานการณ์ สถานการณ์ปัจจุบัน สถานการณ์ปัจจุบันเป็นสถานการณ์ใหม่ที่ไม่อาจควบคุมได้ ปัจจุบัน แตท่ ักษะสมอง EF เป็นเคร่ืองมือที่ติดตวั เด็กๆ ไปจนโต เป้าหมายของครูปฐมวัยและพ่อแม่ คือ การส่งเสริมให้เด็กๆ สามารถใช้ทักษะ สมอง EF ไปเผชญิ กบั สถานการณใ์ หมท่ กี่ ำ� ลงั เผชญิ อยู่ เพอื่ ไปใหถ้ งึ เปา้ หมายในชวี ติ ดว้ ยตวั เอง ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งใชโ้ อกาสทเี่ รายังอยู่เคยี งขา้ ง คอยมองดใู หเ้ ด็กไดล้ งมือทำ� คิดรเิ รม่ิ วางแผน คิดแก้ไขปัญหา ตดั สินใจลงมือปฏิบตั ดิ ้วยตวั เอง และคอยชว่ ยให้ ค�ำแนะน�ำในเวลาที่จ�ำเป็น หรือในเวลาท่ีเด็กต้องการความช่วยเหลือ แน่นอนว่า ส่ิงท่ีเด็กๆ ท�ำอาจจะยังช้า ไม่ทันใจเรานัก หรือผลงานยังออกมาไม่สมบูรณ์แบบ อยา่ งทเ่ี ราตอ้ งการ แตก่ ารใชป้ ระสบการณข์ องผใู้ หญท่ ม่ี มี ากกวา่ ไปคดิ แทนและทำ� แทนเดก็ ๆ เพอ่ื ใหผ้ ลลพั ธอ์ อกมาดที ส่ี ดุ นนั้ เปน็ การตดั โอกาสการเรยี นรฝู้ กึ ฝนทกั ษะ สมอง EF ของเด็กมากทสี่ ดุ ดว้ ยเช่นกัน ดังนั้นความท้าทายของการเล้ียงดูเด็กปฐมวัยเพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ในเรอื่ งนค้ี อื การใหโ้ อกาสเดก็ ไดล้ งมอื ทำ� เองซำ้� ๆ บอ่ ยๆ และการยอมรบั พฤตกิ รรม หรือผลงานตามศักยภาพและความสามารถของเดก็ แต่ละคน เป้าหมาย เปา้ หมายในอนาคต เปา้ หมายทต่ี งั้ ใจของเดก็ ปฐมวยั บรรลยุ าก โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ท่ีต้ังใจไว้ เมื่อเป้าหมายของเด็กๆ แตกต่างจากเป้าหมายครูปฐมวัยและพ่อแม่ เป้าหมาย ของเด็กมักจะถูกแทนที่ด้วยเป้าหมายของผู้ใหญ่ เช่น เม่ือเด็กหยิบไม้กวาดมา กวาดหอ้ ง ครู พอ่ แม่ จะมปี ฏกิ ริ ยิ าตอบสนองดว้ ยการบอกใหเ้ ดก็ เกบ็ ไมก้ วาด เพราะ ไม่อยากให้เด็กมือเปื้อน เป็นต้น ท�ำให้ท้ังผู้ใหญ่และเด็กไม่เข้าใจซึ่งกันและกัน ทะเลาะกันบ่อยครั้ง จนก่อเกิดเป็นสัมพันธภาพที่ไม่ดี ส่งผลให้เด็กหมดแรงจูงใจ ในการเร่มิ ต้นคิด ตง้ั เป้าหมายและลงมอื ทำ� นอกจากน้ีเป้าหมายของเด็กปฐมวัยที่ตั้งใจไว้มักจะไม่ค่อยบรรลุ เน่ืองจาก เด็กปฐมวัยจะไวต่อสิ่งเร้าภายในตัวเองเอง มีความรู้สึกไวต่อการเปล่ียนแปลง ทางร่างกาย จิตใจและสิ่งเร้าภายนอกตัวเด็ก เช่น ส่ิงแวดล้อมรอบตัวที่ดึงดูด ความสนใจ นอกจากนั้นยังมีความสามารถต่�ำในการขจัดส่ิงเร้าท้ังภายในและ ภายนอก จึงท�ำใหเ้ ด็กเล็กไม่สามารถกำ� กับตนเองให้ไปถึงเปา้ หมายได้ 143

ดังน้ันความท้าทายของการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยเพ่ือส่งเสริมทักษะสมอง EF ในข้อสุดท้าย คือ การท�ำให้เป้าหมายของเด็ก ครู และพ่อแม่มีความสมดุลกัน ด้วยวิธีการฝึกฝนที่จะช่วยจูงใจให้เด็กเกิดความมุ่งม่ัน มีมานะ รักษาสมาธิ และ ลงมอื ท�ำจนส�ำเรจ็ ตามเป้าหมาย 99 % ของพ่อแม่และครูปฐมวัย ความสำ� คญั ของการสร้างวินัยเชิงบวกตอ่ การส่งเสริมทกั ษะสมอง EF ในประเทศไทย (n = 7422) ใช้การสร้างวินัยเชิงลบในการ เปน็ เครือ่ งมอื ใหค้ รูปฐมวัยและพอ่ แมใ่ ช้ทักษะสมอง EF ในการเลี้ยงดูเดก็ ควบคุมพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม เน่อื งจาก โมเดล 5T เป็นหลักการทำ� งานของการสร้างวินัยเชงิ บวกทท่ี �ำให้เกดิ ของเดก็ เชน่ การเปรยี บเทยี บ ขม่ ขู่ แรงจูงใจในการท�ำพฤติกรรมเป้าหมาย ดังน้ันการตระหนักถึงหลักการท�ำงานตาม หลอกล่อ ต่อว่าเด็กต่อหน้าผู้อื่น โมเดล 5T จะช่วยให้ผู้เลี้ยงดูเรียนรู้ท่ีจะใช้ทักษะสมอง EF ในการควบคุมสมอง ลงโทษและตี สว่ นลมิ บคิ และสมองสว่ นแกน เพอื่ ควบคมุ อารมณไ์ มใ่ หต้ อบสนองตอ่ พฤตกิ รรมของ เดก็ แบบอตั โนมตั ิ และสามารถระบพุ ฤตกิ รรมเปา้ หมายทต่ี อ้ งการจะสอนกอ่ น แลว้ Thanasetkornetal., 2015 จงึ เลือกวธิ กี ารสอนและฝกึ ฝนให้บรรลุตามเป้าหมาย และเชน่ เดยี วกัน การตอบสนองต่อพฤติกรรมของเดก็ แบบอตั โนมตั ิทท่ี �ำใหเ้ ด็ก เด็กเล็กที่ได้รับการเลี้ยงดูด้วย รู้สึกไม่ปลอดภัยก็จะเป็นการกระตุ้นให้สมองส่วนลิมบิคและสมองแกนของเด็กไป การสร้างวินัยเชิงบวก จะมีความ ควบคมุ ระบบการทำ� งานของสมองทงั้ หมด โดยไมผ่ า่ นกระบวนการทำ� งานของทกั ษะ สมั พนั ธท์ ดี่ กี บั ผเู้ ลยี้ งดู ไมว่ า่ จะเปน็ สมอง EF พฤติกรรมของเด็กท่ีแสดงออกมาจึงไม่สมเหตุสมผล ดังน้ันการส่งเสริม พ่อแม่และครูปฐมวัย และมีทักษะ ทักษะสมอง EF ของเด็กปฐมวัย จึงจ�ำเป็นต้องใช้ทักษะสมอง EF ของผู้เลี้ยงดู สมอง EFดกี วา่ เดก็ เลก็ กลมุ่ ทไี่ ดร้ บั ในการส่งเสรมิ การเล้ียงดูด้วยการใช้ความรุนแรง ทางวาจา จิตใจ และร่างกาย และ เป็นเครื่องมือปลูกฝังความผูกพันแบบปลอดภัย ซ่ึงเป็นรากฐานของ การลงโทษ คณุ ภาพ EF การสรา้ งวนิ ยั เชงิ บวก เปน็ การวางรากฐานความสมั พนั ธแ์ บบไวใ้ จและการเคารพ (Thanasetkorn, 2009a; ใหเ้ กยี รตซิ งึ่ กนั และกนั ระหวา่ งผเู้ ลย้ี งดแู ละเดก็ เลก็ อยา่ งตอ่ เนอื่ งจนพฒั นาเปน็ ความ Thanasetkorn, 2009b) ผกู พันแบบปลอดภัย และถูกเกบ็ เปน็ ความจำ� ระยะยาว ความผกู พนั แบบปลอดภยั ท่ีฝงั อย่ใู นความทรงจ�ำระยะยาว จะทำ� หน้าทเี่ ป็น “ประสบการณ์” ใหท้ กั ษะสมอง EF ดึงมาใช้ในการเชื่อมโยงกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อท�ำงานให้บรรลุเป้าหมาย อย่างมคี ุณภาพและสรา้ งสรรค์ได้ 144

ในทางตรงขา้ ม หากตอบสนองพฤตกิ รรมของเดก็ แบบอตั โนมตั ิ และไมส่ ามารถ ตอบสนองความตอ้ งการของเดก็ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง คณุ ภาพความผกู พนั จะพฒั นาขนึ้ มาเปน็ ความผกู พนั แบบไมป่ ลอดภยั (Insecure Attachment) เกบ็ ไวเ้ ปน็ ความทรง จ�ำระยะยาว ความผูกพันแบบไม่ปลอดภัยที่ฝังไว้ในความทรงจ�ำระยะยาว จะท�ำหน้าท่ี เป็น“ประสบการณ์” ให้ระบบลิมบิกของเด็กคอยระแวดระวังภัย ไม่มีความมั่นคง ทางอารมณ์ ไม่มีสมาธิจดจ่อ และเรียกร้องหาความต้องการเพ่ือเติมเต็มจิตใจด้วย พฤตกิ รรมทไ่ี ม่เหมาะสม ทำ� ใหท้ กั ษะสมอง EF พัฒนาขน้ึ อย่างไมม่ ีคณุ ภาพ ส่งผล ต่อคุณภาพความคดิ และการมองโลกของเด็กท่ีไมด่ อี กี ด้วย ชว่ ยให้เดก็ เรียนรพู้ ฤตกิ รรมท่เี หมาะสมตามธรรมชาตกิ ารเรยี นรขู้ องเดก็ ตามธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็ก เด็กจะเรียนรู้ได้เร็วจากการสังเกต ซึมซับ เลียนแบบพฤติกรรมรอบข้าง จากการลงมือท�ำและฝึกฝน ดังน้ันพ่อแม่และครู ปฐมวัยที่ใช้การสร้างวินัยเชิงบวก จึงเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กๆ ได้สังเกต ซึมซับ และเลียนแบบพฤติกรรมการปฏิบัติตนต่อผู้อ่ืนด้วยการให้เกียรติและเคารพ ในสิทธขิ องผู้อ่นื นอกจากน้ีการสร้างวินัยเชิงบวกยังเน้นการมุ่งเป้าไปที่พฤติกรรมเป้าหมาย ดังนั้นพ่อแม่และครูปฐมวัยที่ใช้การสร้างวินัยเชิงบวก จะให้โอกาสเด็กเล็กได้ลงมือ ท�ำพฤตกิ รรมทคี่ าดหวงั และฝกึ ปฏบิ ตั จิ นตดิ ตวั เป็นนสิ ยั และวนิ ยั ในตนเอง ในทาง ตรงขา้ ม การสอนทก่ี ระตนุ้ สมองลมิ บกิ ใหค้ วบคมุ การทำ� งานของสมอง คอื การสอน ท่ีท�ำให้เด็กรู้สึกไม่ปลอดภัย ซึ่งเป็นการตัดโอกาสในการฝึกฝนทักษะสมอง EF ของเดก็ ปฐมวยั นอกจากนีก้ ารสอนท่ีเปน็ นามธรรม และการใชค้ �ำพดู ท่ีทำ� ให้สมอง ต้องท�ำงานซับซ้อน ก็เป็นการสอนท่ีไม่สอดคล้องกับพัฒนาการทักษะสมอง EF ของเดก็ ปฐมวยั เชน่ เดยี วกนั ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ ดก็ เกดิ ความคบั ขอ้ งใจ ไมเ่ ขา้ ใจ และไมล่ งมอื ท�ำอกี ด้วย ตัวอย่างเช่น ค�ำว่า “ห้าม”“ไม่”“อย่า” และ“หยุด” เป็นค�ำพูดท่ีสมอง ต้องทำ� การประมวลผล 2 ครง้ั เพราะสมองไม่สามารถสร้าง “ภาพปฏิเสธ” ขนึ้ มา ในสมองก่อนได้ เมื่อเราบอกว่า “ไม่ว่ิง” เด็กๆ จะต้องสร้างภาพ “วิ่ง” ขึ้นมา 145

ในสมองก่อน แล้วจงึ น�ำไปประมวลผลรวมกับคำ� วา่ ไม่วง่ิ อีกครง้ั หนึง่ เพือ่ แปลผล ออกมาเปน็ ค�ำวา่ ไม่ว่ิง เม่ือการแปลผลซับซ้อนเช่นนี้ แตท่ ักษะสมอง EF ยังไมด่ พี อ สมาธิจดจ่อในการแปลส้ันก็จะท�ำให้เด็กเล็กเกิดความสับสนได้ง่าย จึงแสดง พฤติกรรมออกมาตามส่ิงท่ีได้ยินและเข้าใจเท่านั้น จึงเป็นเหตุผลอธิบายว่า ท�ำไม เม่อื เราพดู วา่ “ไมว่ งิ่ ” เด็กจงึ วง่ิ นอกจากนบี้ างครง้ั คำ� วา่ “หา้ ม” “ไม”่ “อยา่ ” และ “หยดุ ” ยงั เปน็ การชน้ี ำ� เดก็ ให้ท�ำพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอีกด้วย เช่น “อย่าจ้ิมเค้กนะ” “ตอนคุณหมอฉีดยา ไมต่ ้องกลวั นะคะ” บางทเี ดก็ ยงั ไมท่ นั คดิ วา่ จะจมิ้ เคก้ หรอื จะกลวั คณุ หมอฉดี ยา แตเ่ มอื่ ครพู ดู เตอื น ขึน้ มา เดก็ ก็จะเอามือจม้ิ เค้ก หรอื กลวั คณุ หมอฉดี ยาข้นึ มาทนั ที เหตุทเ่ี ปน็ เช่นน้นั ก็เพราะว่า การแปลผลที่สลับซับซ้อนไปตรงกับความรู้สึกของเด็ก จึงเกิดเป็น แรงผลักภายในอย่างแรงกล้าทที่ ำ� ใหเ้ ดก็ แสดงพฤตกิ รรมน้ันๆ ออกมา กอ่ นท่สี มอง จะทันแปลผล และส่ังการควบคุมพฤติกรรม ชว่ ยสรา้ งสิง่ แวดล้อมทเ่ี หมาะสมตอ่ การพฒั นาทกั ษะสมอง EF การสร้างวินัยเชิงบวกเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยสร้างส่ิงแวดล้อม บรรยากาศ ภายในบา้ นและห้องเรียนใหเ้ ออ้ื ต่อการเรยี นรูแ้ ละพฒั นาทกั ษะสมอง EF เนอ่ื งจาก ครูปฐมวัยและพ่อแม่ท่ีใช้การสร้างวินัยเชิงบวกจะสามารถช่วยผ่อนคลายอารมณ์ ทำ� ใหค้ วามคบั ขอ้ งใจภายในของเดก็ ลดลงอยใู่ นระดบั ทเ่ี ดก็ สามารถควบคมุ อารมณ์ ตัวเองได้ รวมถึงสามารถสร้างสิ่งแวดล้อมภายนอกให้มีความสันติ ปลอดภัย และ สามารถคาดเดาได้ สมองลิมบิกจึงสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับสมองส่วนหน้าได้ เกดิ เป็นทักษะสมอง EF ที่เด็กใช้ในการกำ� กบั ควบคมุ ตนเองไปจนบรรลุเป้าหมาย จะเหน็ ไดว้ ่าพัฒนาการและกระบวนการทำ� งานของสมอง จิตใจ และพฤติกรรม ของเดก็ ในชว่ งปฐมวยั เป็นเร่ืองละเอยี ดอ่อน ทา้ ทายเด็กและผูเ้ ลย้ี งดมู าก ในขณะ ท่ีเด็กมีความต้องการพ้ืนฐานทางร่างกายและจิตใจมาก แต่ยังมีพัฒนาการและ ประสบการณน์ อ้ ย จงึ ยงั ไมส่ ามารถควบคมุ ความตอ้ งการของตนเองและแสดงออก มาเป็นพฤติกรรมทีเ่ หมาะสมได้ดีนัก 146

ถึงแม้ว่าผู้เล้ียงดูจะมีความต้ังใจท่ีจะสอนเด็กๆ ให้มีพัฒนาการและพฤติกรรม ท่ีดีที่สดุ แตเ่ มอ่ื ตอ้ งจดั การกับพฤตกิ รรมทีไ่ มเ่ หมาะสมของเดก็ ก็มกั จะตอบสนอง ต่อพฤติกรรมนั้นทันทีด้วยวิธีการเดียวกันกับท่ีเคยได้รับการสอนจากพ่อแม่ หรือครูในวัยเด็ก ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นวิธีการควบคุมมากกว่าการสอน จึงมีผล ไปกระตุ้นพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมมากกว่าการช่วยสอนและฝึกฝนให้เด็ก มพี ฤตกิ รรมท่ีเหมาะสม หากผเู้ ลย้ี งดตู อ้ งเจอกบั พฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสมบอ่ ยๆ กจ็ ะเกดิ เปน็ ความเครยี ด สะสม ส่งผลให้โกรธง่ายข้ึน แรงข้ึน จนไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ และอาจ ระบายอารมณ์ออกมาเป็นการต่อว่าด้วยค�ำพูดรุนแรง ท�ำร้ายจิตใจและร่างกาย ของเดก็ ไดเ้ ชน่ เดียวกัน ดงั นนั้ ทงั้ เดก็ และผเู้ ลยี้ งดจู ำ� เปน็ จะตอ้ งมที กั ษะสมอง EF ในการควบคมุ อารมณ์ ของตนเอง ให้สามารถอดทน พยายามเรียนรู้ ตอบสนองความต้องการซึ่งกันและ กัน และสร้างสายสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน การสร้างวินัยเชิงบวกจึงมีความส�ำคัญมาก ตอ่ การพฒั นาทกั ษะสมอง EF เพราะจะเปน็ เครอ่ื งมอื สอ่ื สารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสำ� หรบั ผู้เล้ียงดู ในการตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานทางจิตใจของเด็กปฐมวัย เป็น เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการสอนและฝกึ ฝนพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมใหก้ บั เดก็ ปฐมวยั ในขณะ ที่ยงั คงรักษาซง่ึ ความสัมพันธท์ ่ดี รี ะหว่างเด็กและผู้เลี้ยงดู ท่ีส�ำคัญ นอกจากผู้เล้ียงดูท่ีใช้วิธีการสร้างวินัยเชิงบวกจะช่วยสร้างความ ทรงจ�ำดีๆ ให้เด็กได้เก็บไว้เป็นประสบการณ์เดิมท่ีมีคุณภาพ สามารถน�ำไปใช้ใน การประมวลผลและตัดสินใจในอนาคตได้แล้ว ยังช่วยเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก อีกด้วย เด็กสามารถเรียนรู้และฝึกฝนวิธีการสร้างวินัยเชิงบวกได้ง่ายขึ้นจากการ ซึมซับจนติดเป็นนิสัย สามารถน�ำไปใช้กับผู้อ่ืนได้อย่างเป็นธรรมชาติ เด็กจะมี ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผอู้ นื่ ดว้ ยการใหเ้ กยี รติ ยอมรบั และเคารพในความรสู้ กึ ความคดิ เหน็ ของผู้อื่น และแน่นอนว่าวิธีการนี้ยังจะถูกถ่ายทอดต่อไปรุ่นสู่รุ่นให้แก่ลูกหลาน ในอนาคตอีกดว้ ย 147

4. หลักการสร้างวินยั เชิงบวก หลักการสร้างวินัยเชิงบวกท่ีท�ำให้วิธีการปลูกฝังวินัยเชิงบวกให้แก่เด็กปฐมวัย ไดผ้ ล ในท่นี ้ีได้นำ� เสนอเปน็ หลักการสำ� คญั 5 ประการที่เปน็ กญุ แจไขความต้องการ และความรว่ มมอื ของเดก็ ปฐมวัย สามารถนำ� ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งครอบคลมุ ทกุ บรบิ ทและ ทุกทกั ษะท่ตี อ้ งการจะส่งเสริมให้เเก่เดก็ ปฐมวยั 1) การมีส่วนร่วมในการกำ� หนดขอบเขต ขอ้ ตกลง หน่ึงในวิธีการที่ดีที่สุดส�ำหรับการส่งเสริมพัฒนาการทักษะสมอง EF ของเด็ก ปฐมวัยคือการฝึกฝน การฝึกฝนของเด็กปฐมวัยเริ่มต้นจากการเรียนรู้ขอบเขต พฤติกรรมที่สามารถแสดงออกได้ ซ่ึงถูกก�ำหนดโดยสังคมภายนอกและการก�ำกับ ควบคุมความต้องการของตนเอง ซึ่งเป็นแรงผลักภายในให้แสดงออกมาเป็น พฤตกิ รรมตามขอบเขตทกี่ ำ� หนด ดงั นน้ั การกำ� หนดขอบเขตพฤตกิ รรมจงึ จำ� เปน็ ตอ้ ง ให้เด็กมีส่วนร่วมในการท�ำข้อตกลงร่วมกันระหว่างเด็กกับผู้เล้ียงดู ซึ่งการท�ำ ข้อตกลงร่วมกันจะท�ำให้เด็กเข้าใจท่ีมา เหตุผล และความส�ำคัญของข้อตกลง มากข้ึนโดยไม่รู้สึกว่าถูกควบคุมบังคับ จึงท�ำให้เด็กเล็กเกิดแรงจูงใจท่ีจะยึดถือ เปน็ หลกั ปฏบิ ัติในการฝึกฝนตนเองให้ทำ� ตามข้อตกลงหรอื กฎระเบียบนน้ั ๆ ได้ 2) การเสนอทางเลือกอย่างมขี อบเขต ถงึ แมว้ ่าการก�ำหนดขอบเขตพฤติกรรมจะเป็นสิ่งทข่ี าดไมไ่ ด้ในการปลูกฝงั วนิ ัย แต่อยา่ งไรก็ตาม การสอนให้เด็กท�ำตามขอบเขตพฤติกรรมนัน้ ก็ยังจ�ำเปน็ ท่จี ะตอ้ ง ยืดหยุ่นพอที่จะรับฟัง และตอบสนองความต้องการและความรู้สึกของเด็กปฐมวัย เพราะการก�ำหนดขอบเขตพฤติกรรมโดยไม่รับฟังความต้องการและความรู้สึก ของเดก็ จะกลายเปน็ คำ� สงั่ ทำ� ใหเ้ ดก็ รสู้ กึ วา่ ถกู ควบคมุ และไมอ่ ยากทำ� ตาม นอกจาก นก้ี ารกำ� หนดขอบเขตพฤตกิ รรมทอ่ี นญุ าตใหเ้ ดก็ แสดงความตอ้ งการและความรสู้ กึ ได้อย่างไม่มีขอบเขตก็จะน�ำไปสู่การปฏิเสธความต้องการและความรู้สึกของเด็ก ท�ำให้เด็กรู้สึกไม่พอใจ และแสดงความไม่พอใจนั้นออกมาเป็นพฤติกรรมที่ไม่ เหมาะสม 148

ดงั นั้นการเสนอทางเลอื กอยา่ งมขี อบเขต เช่น การถามเด็กว่า “พรงุ่ น้เี ช้าหนจู ะ 92% ของครู กินไข่ดาวหรือข้าวต้ม” (ก�ำหนดขอบเขต) จึงเป็นหลักการสร้างวินัยเชิงบวกท่ีช่วย ให้เด็กได้แสดงความต้องการและความรู้สึก และได้รับการตอบสนองซึ่งเป็นกุญแจ ปฐมวัยและพ่อแม่ ส�ำคัญที่จะช่วยจูงใจเด็กให้ตัดสินใจท�ำพฤติกรรมเปา้ หมายได้มากกว่าการบอกให้รู้ ใชก้ ารสรา้ งวนิ ยั เชงิ เช่น “พรุ่งนี้กินข้าวไข่ดาวนะลูก” และการเสนอทางเลือกแบบไม่มีขอบเขต เช่น บวกผิดหลกั การ “พรุ่งนห้ี นจู ะกินอะไร” เปน็ ตน้ เช่น การ Time out การเพิกเฉยตอ่ 3) การสอนวิธกี ารจดั การอารมณผ์ ่านการแสดงความเห็นอกเหน็ ใจ ความตอ้ งการ พื้นฐานของเด็ก การสอนวิธีการจัดการอารมณ์มีความส�ำคัญต่อการส่งเสริมทักษะสมอง EF การยดื หยุน่ จนละเลย เป็นอย่างมาก เพราะถ้าเดก็ ไม่สามารถจัดการกบั อารมณต์ ัวเองได้ ก็จะไม่สามารถ การสอน เป็นตน้ ควบคุมตนเองให้ใช้ทักษะสมอง EF ในการคิดและตดั สินใจได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ การสอนวิธีการจัดการอารมณ์จะได้ผลดี เมื่อผู้เล้ียงดูแสดงความเห็นอกเห็นใจ เด็กในขณะท่ีก�ำลังมีความคับข้องใจและแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โดยการบอกชอ่ื อารมณ์ สาเหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ กดิ อารมณน์ น้ั พฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสม และ พฤติกรรมเป้าหมายที่ต้องการสอน เช่น “ครูเข้าใจว่าหนูโกรธเพ่ือนที่เพ่ือนแย่ง ของเล่นไปจากมือ หนูจึงตีเพื่อน หนูพร้อมท่ีจะใช้ค�ำพูดดีๆ กับเพื่อนเม่ือไหร่ ใหห้ นูเดินไปบอกเพือ่ นนะคะว่าหนขู อของเล่นคนื และขอโทษที่ไปตีเพื่อนค่ะ” การแสดงความเห็นอกเห็นใจตามแบบแผนนี้ จะช่วยผ่อนคลายความคับข้อง ใจลงให้อยู่ในระดับท่ีสามารถควบคุมอารมณ์ให้ท�ำความเข้าใจกับสถานการณ์ ท่ีเกิดข้ึนได้ว่าอารมณ์และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมคืออะไร และต้องจัดการ อย่างไร เนื่องจากการบอกสาเหตุและช่ืออารมณ์ รวมถึงพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม ในขณะท่เี ดก็ ก�ำลงั มอี ารมณ์น้ันๆ อยู่ เปน็ การเรยี นรู้ด้วยความรู้สกึ (Learning by Feeling) ซึ่งจะช่วยให้เด็กเข้าใจอารมณ์นั้นได้อย่างลึกซ้ึง นอกจากนี้การบอก พฤติกรรมท่ีคาดหวัง พร้อมกับการให้เวลาเด็กได้คิดว่าจะพร้อมเมื่อไหร่ เป็น การช่วยให้เด็กได้เรียนรู้ท่ีจะจัดการกับความรู้สึกของตนเอง และเตรียมพร้อม ที่จะตัดสินใจทำ� พฤตกิ รรมเปา้ หมาย 149

4) การชมอย่างมีประสทิ ธิภาพ การชมมีพลังในการช่วยเพ่ิมคุณค่าและความภาคภูมิใจในตัวเองของเด็กได้ อย่างมหาศาล การชมท่ีมีประสิทธิภาพจะต้องเป็นการชมที่เจาะจงพฤติกรรมท่ี ต้องการชม และตามด้วยคุณลักษณะที่เป็นนามธรรมขยายพฤติกรรมน้ัน ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ ดก็ เรยี นรพู้ ฤตกิ รรมทผี่ เู้ ลย้ี งดคู าดหวงั และเหน็ ความสามารถในตนเอง เช่น “ขอบคุณน้องมังกรมากครับท่ีรอให้ครูพูดธุระเสร็จก่อนแล้วหนูจึงพูด หนูมีมารยาทมากครับ” “เย่ียมมากเลยน้องแมมมอธ ที่หนูรู้จักหาหนังยางมารัด กล่องข้าวไวไ้ ม่ให้ฝาเปดิ แบบนีเ้ รยี กว่าหนรู ู้จกั แก้ไขปัญหา” นอกจากนี้การชมท่ีมีประสิทธิภาพต้องเป็นค�ำชมที่เกิดข้ึนหลังจากท่ีเด็ก ได้ท�ำพฤติกรรมที่คาดหวังเสร็จแล้ว ค�ำชมที่สอดคล้องกับพฤติกรรมที่เกิดข้ึน จริงน้ันจะท�ำให้เด็กรู้สึกถึงความจริงใจ ความใส่ใจและการเห็นคุณค่าของผู้เล้ียงดู ส่งผลให้คำ� ชมนั้นมคี วามหมายส�ำหรับเด็กมาก 5) การพดู คยุ ในระดบั สายตาเดก็ ดวงตาเป็นหน้าต่างของหัวใจ ดังนั้นการพูดคุยในระดับสายตาเด็กจึงเป็น การสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพมาก เพราะนอกจากจะช่วยให้เด็กมีสมาธิในการฟัง มากขึ้น ยังเป็นการแสดงความใส่ใจ ความรัก ความห่วงใย และการให้เกียรติ ท่ีเด็กรับรูไ้ ดอ้ กี ด้วย 150