Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

Description: หนังสือทั่วไป-คู่มือพัฒนาทักษะสมอง EF สำหรับครูปฐมวัย

Search

Read the Text Version

ความพร้อมแรกเขา้ เรียน : EF ส�ำคัญตอ่ ความพร้อมในการ EF เป็นเครื่องท�ำนายความส�ำเร็จในการ เรยี นยง่ิ กวา่ IQ หรอื ความสามารถในการอา่ นและคดิ คำ� นวณ เรยี น การเขา้ รว่ มกิจกรรมกบั โรงเรยี น และ ในระดับแรกเขา้ เรยี นในชนั้ ประถม สุขภาวะ EFเป็นเคร่ืองท�ำนายทักษะทาง สังคม ความสัมพันธ์กับครูและเพื่อนๆ Blair &Razza 2007, Morrison et al.2010 ทำ� นายฐานะการเงนิ รายได้ในอนาคต และ อัตราการท�ำผิดกฎหมาย ความส�ำเร็จในการเรียน : EF พยากรณ์ความสามารถท้ัง คณิตศาสตร์ การอ่านตลอดชว่ งการศึกษาในระดบั ตา่ งๆ Moffitt TE, Arseneault L, Belsky D, et al. 2011 Borella et al.2010, Duncan et al.2007, Gathercole et al.2004 สัมพันธภาพในชีวิตคู่ คู่สมรสที่มี EF ไม่ดีจะอยู่ด้วยกันยากกว่า พึ่งพิงไม่ค่อยได้ มหี ลกั ฐานมากขน้ึ เรอื่ ยๆ ชช้ี ดั วา่ ความจำ� เพอื่ ใชง้ าน (Working ใช้อารมณ์ หุนหันพลนั แลน่ Memory) กับการย้ังคิดไตร่ตรอง (Inhibitory Control) เป็นสิ่งท่ีบอกถึงความส�ำเร็จหลังจบจากโรงเรียนแล้ว ได้ดีย่ิง Eakin et al. 2004 กว่าการทดสอบ IQ คนท่ี EF อ่อนแอ น�ำไปสู่ปัญหาสังคม Diamonds,A.(2008) อาชญากรรม พฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว รนุ แรง และ ระเบิดอารมณ์ พบ EF บกพรอ่ งในความผดิ ปกติ Broidy et al.2003, Denson et al.2011  ทางจติ หลายดา้ น EF ทไี่ มด่ ี น�ำไปสู่ผลิตผล (Productivity) • การเสพติด ท่ีไม่ดี หางานยากและรักษางานไว้ได้ยาก • ADHD (สมาธิสั้น) • Conduct Disorder (พฤตกิ รรมเกเร) Bailey 2007 • Depression (ซึมเศรา้ ) • Obsessive Compulsive (ย�ำ้ คดิ ย้ำ� ทำ� ) จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นว่าทักษะสมอง EF • Schizophrenia (ความผดิ ปกตทิ าง มีความส�ำคัญต่อการอยู่รอดปลอดภัยและ ความคดิ และการรับร)ู้ ความส�ำเร็จในชีวิต EF จึงเป็นทักษะที่ผู้ใหญ่ ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั เปน็ อยา่ งยง่ิ ในการพฒั นาเดก็ Baler&Volkow 2006 ของเรา เพื่อให้ม่ันใจว่าเด็กๆ จะไปถึงปลายทาง • Diamond2005, Lui&Tannock, 2007, ของการเปน็ คนคณุ ภาพดังทคี่ าดหวัง Fairchild et al, 2009, Taylor&Tavares et al, ฐานของทักษะ EF ที่แข็งแกร่งจึงมีความ 2007, Penadeset al, 2007, Barch, 2005 ส�ำคัญย่งิ กว่าการร้จู กั ตัวเลขหรอื ตัวหนังสอื การสง่ เสรมิ EF ทุกด้านช่วยให้เด็กมีทักษะการ ปรบั ตวั และฟน้ื ตวั เมอ่ื เผชญิ กบั เหตกุ ารณว์ กิ ฤต สามารถกลบั มาเข้มแข็งได้ใหม=่ ล้มแลว้ ลุก Greenberg M.2007 51

แต่เป็นท่ีน่ากังวลใจว่า ในขณะที่ผู้ใหญ่ต่างก็ต้ังความคาดหวังอยากให้เด็กๆ มีพัฒนาการดี ครบรอบด้านต้ังแต่เล็กจนโต และประสบความส�ำเร็จ คิดเป็นท�ำเป็น แก้ปัญหาเป็น แตใ่ นวนั น้ี ทศิ ทางในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ไทย กลบั หนั เห เบยี่ งเบนไปสกู่ ารเรง่ รดั การเรยี น วิชาการ เน้นการแข่งขันเพ่ือเอาคะแนนไม่ใช่เพื่อสร้างสมประสบการณ์ เพ่ือการคิดเป็น ท�ำเป็น และแกป้ ัญหาเปน็ แตอ่ ยา่ งใด 52

Executive Functions vs. IQ เด็กท่ี IQ ต�่ำจ�ำนวนมาก หากไดร้ ับการฝกึ ฝน EF มีนกั วชิ าการจ�ำนวนไม่นอ้ ยท่ไี ด้ศึกษาหาความสมั พันธร์ ะหว่าง EF กบั IQ และพบ ที่ดี กจ็ ะพัฒนาขึ้น ว่ามีความสัมพันธ์กัน แต่ก็มีความแตกต่างกัน เช่น Joyce Cooper-Kahn & จนมีความสามารถที่ดี Laurie Dietzel, 2008 ช้ีวา่ ในการเรียนร้แู ละ “คนจ�ำนวนมากมักคาดเดาว่า บุคคลท่ีมีปัญญาดี (Intelligence) มักจะมี EF ดำ� เนนิ งานในกิจวตั ร ดีโดยธรรมชาติ เรามักจะคาดหวังว่าเด็กที่เรียนดีจะมีนิสัยการท�ำงานท่ีดี และมี ประจำ� วันไดด้ ี ความสามารถในการจัดการกับการงานท้ังที่บ้านและที่โรงเรียนได้ดี แต่ในความ เป็นจริง ความสามารถทางปัญญากับ EF ไปด้วยกันได้ในบางระดับเท่าน้ัน นนั่ หมายความวา่ เดก็ ทม่ี ปี ญั ญาเลศิ อาจจะมคี วามสามารถตำ่� ในการยบั ยงั้ แรงกระตนุ้ ขาดทักษะการวางแผนหรือจัดการกับชีวิตประจ�ำวัน นอกจากนี้ การที่เด็กมี ความสามารถในการใช้ปัญญาวิเคราะห์และเข้าใจการงาน ก็ไม่ได้หมายความว่า เด็กเหล่าน้ันจะสามารถลงมือท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความมุ่งม่ัน ท�ำงานจนสำ� เร็จ ในทางตรงกันข้าม เด็กที่มี EF ดีมักจะเรียนดีไปด้วย แม้กระท่ังคนท่ีมี ความบกพร่องทางสมอง ซึง่ โดยปกตมิ กั จะมี EF ออ่ นแอไปด้วย แตก่ พ็ บว่า เด็กท่ี IQ ต่�ำจ�ำนวนมาก หากได้รับการฝึกฝน EF ที่ดี ก็จะพัฒนาข้ึน จนมีความสามารถ ทดี่ ใี นการเรียนรู้และดำ� เนินงานในกจิ วตั รประจำ� วนั ไดด้ ”ี 23 เช่นเดียวกับนักวิชาการช้ันน�ำอย่าง Professor Dr. Adele Diamond แหง่ มหาวิทยาลัย British Columbia ประเทศแคนาดา ทไ่ี ดช้ ี้ชดั เจนว่า “EF แตกต่างจาก IQ การทดสอบ IQ แบบด้ังเดิมเป็นการวัดความสามารถทาง ปัญญาท่ีตกผลึกแล้ว (Crystallized Intelligence) ซึ่งเป็นการดึงข้อมูลท่ีเรียน ไปแล้ว เช่น ค�ำน้ีหมายความวา่ อยา่ งไร เมอื งหลวงของประเทศนี้ชื่ออะไร 23 Joyce Cooper-Kahn & Laurie Dietzel, 2008, Late, Lost, and Unprepared : A parents’Guide to Helping Children with Executive Functioning.Woodbine House ,MD, p.17 53

แต่ Executive Functions คือความสามารถในการใช้สิ่งที่เรารู้แล้ว น�ำมาสร้าง สรรคใ์ หม่ หรอื นำ� มาแกป้ ญั หา ซง่ึ จะเกย่ี วขอ้ งกบั ความสามารถทางปญั ญาทเ่ี ลอ่ื นไหล (Fluid Intelligence) ทักษะความสามารถชนิดน้ี ต้องการการให้เหตุผลและการหยบิ ใช้ขอ้ มลู ปญั ญาท่เี ล่ือนไหล (Fluid Intelligence) กบั EF มีความทับซ้อนกันอย่างมาก มี หลักฐานจ�ำนวนมากที่ระบุว่าความจ�ำเพื่อใช้งาน (Working Memory) กับการย้ังคิด ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) คือสิ่งท่ีบอกถึงความส�ำเร็จของเด็กหลังจบจาก โรงเรยี นแล้วได้ดมี ากกว่าการทดสอบ IQ”24 ดังนั้น เราคงจะพอมองเห็นได้ว่า การส่งเสริมให้เด็กได้รับการฝึกฝนสร้าง ทักษะสมอง EF นั้นไม่ใช่การเน้นการท่องจ�ำสิ่งท่ีเขียนไว้ในต�ำรา หากแต่ส่งเสริมเด็ก ให้มีประสบการณ์ ท่ีจะบันทึกความทรงจ�ำอย่างมีความหมาย แล้วจะช่วยให้เด็ก น�ำประสบการณ์และทักษะเหล่านั้นมาใช้ได้อย่างเหมาะสมในการแก้ปัญหาต่างๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชวี ิตประจ�ำวนั ทส่ี ำ� คญั เดก็ ทม่ี ี EF ดกี จ็ ะเรยี นดไี ปดว้ ย เพราะไมเ่ พยี งสตปิ ญั ญาไดร้ บั การฝกึ ฝน แต่พวกเขาจะได้ทักษะอื่นๆ ท่ีส�ำคัญพร้อมกันไปด้วย เช่น ความรู้เหมาะรู้ควร ความรับผิดชอบ วนิ ยั การย้ังใจไตร่ตรอง เปน็ ต้น 24 Adele Diamond, 2008, Executive Functions, interview with Ellen Galinsky Oct.4,2008 54

แทท้ ี่จริงทกั ษะสมอง EF ไม่ใช่ของใหม่ เราอาจจะเพง่ิ ไดย้ นิ คำ� วา่ Executive Functions หรอื EF ซงึ่ ไมค่ นุ้ หเู อาเสยี เลย แต่แท้ท่ีจริงแล้ว มนุษย์เราได้ใช้ทักษะสมอง EF ในสมองส่วนหน้านี้มาตลอด ตั้งแต่มีสิ่งที่เรียกว่า “มนุษย์” เกิดข้ึนในโลก มนุษย์มีสมองส่วนหน้าท่ีพัฒนาข้ึน เพอื่ การอยรู่ อด ดำ� รงเผา่ พนั ธ์ุ รวมทง้ั พฒั นาชวี ติ และโลกมาตลอดนบั เวลาหลายพนั หลายหมื่นปี จนบรรพบุรุษของมนุษย์ได้เรียนรู้และสรุปมานานแล้วว่า ต้องสอน หรือส่งต่อความรู้ในการบริหารจัดการชีวิตเหล่านี้แก่ลูกหลานของตน จึงเกิดเป็น ปรชั ญาคำ� สอน คตเิ ตอื นใจ หลกั ในการดำ� เนนิ ชวี ติ รวมถงึ หลกั ศาสนาตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ คนรผู้ ิดชอบชั่วดี อดทนอดกล้ัน พากเพยี รอุตสาหะ คิดก่อนท�ำ รู้จักวางแผน รู้จกั จดจ�ำ ควบคุมอารมณ์ ฯลฯ ซ่ึงเป็นผลลัพธ์เดียวกับการพัฒนาทักษะสมอง EF เพอ่ื ชว่ ยให้เราดำ� เนนิ ชีวิตอย่างมนุษย์ ไมใ่ ชใ่ ชเ้ พยี งสญั ชาตญาณอยา่ งสตั ว์ น่ันเอง คำ� ว่า “ปลูกฝงั นิสัย” หรอื “สร้างสนั ดานดี” ก็หมายถงึ การปลูกฝังคณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงคท์ ง้ั หลายไวใ้ นตวั เดก็ นนั่ เอง เพยี งแตค่ นสมยั กอ่ นนน้ั ไมส่ ามารถบอก ได้ว่า “นิสัย” อยู่ตรงไหนในตัวของเรา มาวันนี้ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การถ่ายภาพสมอง ทำ� ใหเ้ รารวู้ า่ แทท้ ี่จริงนิสัยท่พี ่อแม่ปยู่ ่าตายายพยายามปลกู ฝัง ด้วยการอบรมส่ังสอนแก่ลูกหลานนั้น ก็คือทักษะสมองท่ีเราเรียกกันในวันน้ีว่า Executive Functions น่ันเอง ทักษะสมอง EF จึงไม่ใช่ของใหม่ หากเป็นส่ิงที่อยู่ในกระบวนการหล่อหลอม ทางสังคมของมนษุ ยเ์ รานเี่ อง การท�ำความเข้าใจกับทักษะสมอง EF ในครั้งน้ี จึงเป็นการชวนกลับสู่การ พฒั นาความเปน็ มนษุ ยข์ น้ั พนื้ ฐานดว้ ยความมนั่ ใจวา่ เมอื่ พฒั นาอยา่ งถกู ทศิ ทาง เด็กๆ ของเราก็สามารถจะบรรลุสู่ความส�ำเร็จสูงสุดตามศักยภาพของแต่ละคน ที่ธรรมชาตใิ ห้มาไดอ้ ย่างแนน่ อน 55

ประสบการณ์ หนา้ ตา่ งแหง่ โอกาสของทกั ษะสมอง EF อยู่ในชว่ งปฐมวยั ในช่วง3-6 ปี เป็นปัจจัยสำ� คัญย่ิง เน่ืองจากสมองส่วนหน้านั้นมีการพัฒนาต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่เกิดไปจนถึงวัย ท่ีจะสรา้ งพ้นื ฐาน ผู้ใหญ่ตอนต้น (กว่าย่ีสิบห้าปี) ทักษะสมอง EF จึงใช้เวลาในการพัฒนาต่อเนื่อง ทแ่ี ข็งแกรง่ ใหแ้ ก่ ต้ังแต่ขวบปีแรก คู่ขนานกับการพัฒนาของสมองส่วนหน้า ไปจนถึงวัยผู้ใหญ่ ทักษะสมอง EF ตอนต้นเช่นกนั มีงานวิจัยที่ช้ีว่า ประสบการณ์ในช่วง 3-6 ปี เป็นปัจจัยส�ำคัญยิ่งท่ีจะสร้าง พ้ืนฐานท่ีแข็งแกร่งให้แก่ทักษะสมอง EF หรือเรียกได้ว่าช่วงวัยนี้เป็น “หน้าต่าง แหง่ โอกาส” บานสำ� คญั ยง่ิ ของการพฒั นาทกั ษะสมอง EF ทง้ั นี้ กด็ ว้ ยเหตทุ เ่ี ปน็ ชว่ ง เวลาท่ีสมองมีอัตราการเติบโตก้าวหน้าของการพัฒนาทักษะสมอง EF มากกว่า ชว่ งวัยอนื่ ๆ ดังแสดงไวใ้ นกราฟด้านลา่ ง ส�ำหรับในช่วงวัยเรียน วัยรุ่น และวัยผู้ใหญ่ตอนต้นนั้น ทักษะสมอง EF ยังคง พัฒนาตอ่ เน่อื ง แต่จะเป็นไปในอตั ราการเตบิ โตกา้ วหนา้ ทีน่ ้อยกวา่ ชว่ งปฐมวยั และ หลงั จากนัน้ ไปจนถงึ วัยชรา อัตรานจ้ี ะเสื่อมลงไปตามวัย 3-6 ปีสำ� คญั ทส่ี ุดในการพัฒนา EF ัทกษะบ ิรหารจัดการชี ิวต 0 1 2 3 4 5 6 6-8 9-10 12-15 20-24 25-29 30-35 40-49 50-60 65-69 70-75 76-80 81-85 อายุ developingchild.harvard.edu เครดติ ภาพ : www. developingchild. harvard. edu 56

ดังนั้นช่วงปฐมวัยจึงเป็นช่วงเวลาส�ำคัญอย่างยิ่งที่พ่อแม่และครู ตลอดจน ผู้บริหารสังคมจะต้องตระหนักและเอาใจใส่อย่างพิถีพิถัน เพราะหากเด็กไม่ได้รับ การดูแลอย่างเหมาะสม ไม่มกี ระบวนการพัฒนาทักษะสมอง EF ในช่วงวยั น้ีอยา่ ง จรงิ จงั เมอ่ื เวลาผา่ นวยั นไี้ ป หนา้ ตา่ งแหง่ โอกาสบานนกี้ จ็ ะปดิ ลง แมเ้ ราจะยงั พฒั นา EF ได้ในวยั เรยี น วัยรนุ่ หรือเมือ่ เป็นผใู้ หญ่ตอนต้น แตก่ ็จะทำ� ไดย้ ากขึ้น และอาจไม่ ไดป้ ระสทิ ธผิ ลเทา่ กับทป่ี ลูกฝงั ไว้ตั้งแตช่ ่วงปฐมวยั การพัฒนาทักษะสมอง EF ที่ถูกที่ ถูกจังหวะเวลาจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ ยิ่งวัน เวลาผา่ นไปอยา่ งรวดเรว็ เชน่ ไร ปฐมวยั ก็ผ่านไปอย่างรวดเรว็ เช่นนน้ั ปฐมวัย : ช่วงเวลาแหง่ การสร้างคน สร้างสังคม คำ� กลา่ วทว่ี า่ “ปฐมวยั ชว่ งเวลาแหง่ การสรา้ งคน สรา้ งสงั คม” ไมไ่ ดเ้ ปน็ คำ� กลา่ ว ที่เกินจริง เนื่องจากผลการศึกษาด้านประสาทวิทยาศาสตร์ ตอกย�้ำถึงอัตราการ พัฒนาของทักษะสมอง EF สูงสุดในช่วงปฐมวัยและมีผลต่อพัฒนาการทุกมิติ ของชวี ติ ดงั นนั้ หากมองในมมุ ของสงั คม เราอาจจะยงิ่ สรปุ ไดช้ ดั เจนวา่ ถา้ เดก็ ไดร้ บั โอกาส พัฒนา EF อย่างดีแลว้ ทั้งตวั เด็กเอง ครอบครัวและสังคม ล้วนจะไดร้ ับประโยชน์ ในอนาคตท้งั ส้นิ ความส�ำเร็จ เด็กท่ีได้รับการฝึกฝนทักษะสมอง EF จะเรียนดี เม่ือเติบโต ในการเรียน ข้ึนจะเป็นคนที่มกี ารศึกษาดี ครอบครัวมีหลักประกัน สังคม ก็ได้ประโยชน์ 57

พฤติกรรม เด็กที่ได้รับการฝึกฝนทักษะสมอง EF จะมีทักษะการท�ำงานเป็นทีม มีความเป็น เชิงบวก ผูน้ ำ� มีการปรับตวั ดี ครอบครัวมสี ัมพันธภาพที่อบอนุ่ สังคมจะมีเสถยี รภาพและมี แตส่ ันตสิ ขุ สขุ ภาวะที่ดี เด็กที่ได้รับการพัฒนาทักษะสมอง EF ดี จะดูแลสุขภาพตัวเองเป็น มีส�ำนึกด้าน ความปลอดภยั และจดั การกบั ความเครยี ดไดด้ ี ครอบครวั ลดคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นสขุ ภาพ และสังคมจะมคี นท�ำงานที่มีผลติ ผล เศรษฐกิจ เด็กที่ได้รับการฝึกฝนทักษะสมอง EF จะมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และ มัน่ คง สร้างสรรค์ ท�ำงานแบบมุ่งเป้าหมาย ซ่ึงจะช่วยเพิ่มศักยภาพเพื่อเศรษฐกิจที่ แข็งแรง และปรับตัวกับการเปล่ียนแปลงของภาวะเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นตลอดเวลา ไดด้ ี เกดิ เปน็ เสถียรภาพทางเศรษฐกจิ ไม่วา่ ในระดับปจั เจกบคุ คล ครอบครวั หรอื สงั คม 58

สรุป ทกั ษะศตวรรษท่ี 21 สำ� หรบั เด็กไทยในโลกยุคใหม่ ได้แก่ • อ่านออก เขยี นได้ ค�ำนวณเปน็ • รู้จักคดิ วเิ คราะห์ • มคี วามคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ • ท�ำงานร่วมกบั ผูอ้ น่ื ได้ • สามารถส่ือสารความคดิ ความรู้สกึ ของตนได้ • มีความรูแ้ ละเทา่ ทันส่ือต่างๆ • ใช้เครอ่ื งมอื และเทคโนโลยีสมยั ใหมไ่ ด้ • ยดื หยนุ่ ปรบั ตัวได้ทกุ สภาวการณ์ • มีภาวะผูน้ ำ� • อยูก่ บั ความแตกตา่ งหลากหลายทางวฒั นธรรมและสงั คมได้ • ท�ำงานมีประสทิ ธภิ าพ พลเมืองคุณภาพที่สงั คมตอ้ งการ มีคณุ ลักษณะ ดังนี้ • สุขภาพกายแขง็ แรง • จิตใจเข้มแขง็ เบกิ บาน • มสี ัมพนั ธภาพทด่ี กี ับผู้อ่ืน คิดถึงคนอื่น • คิดเป็นเหตุเปน็ ผล สร้างสรรค์ • มีสติรคู้ วร ไม่ควร ทักษะสมอง EF สำ� คญั อย่างไรตอ่ ชีวิตของเดก็ • น�ำประสบการณท์ เี่ คยเรียนรู้มาใช้ในการทำ� งาน หรือกิจกรรมใหม่ • รูจ้ ักยับย้ัง ควบคุมตนเองไม่ใหท้ ำ� ในส่ิงทไ่ี ม่ถูกต้อง • สามารถปรับเปลยี่ นความคดิ ได้ในสถานการณ์ท่เี ปลย่ี นไป เกดิ เปน็ ความคิดสรา้ งสรรค์ หรอื คิดนอกกรอบได้ • มีความจ�ำดี สมาธิจดจอ่ ท�ำงานต่อเน่ืองไดส้ �ำเรจ็ • แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสมในทุกสถานการณ์ • รูจ้ กั ประเมินตนเอง ปรบั ปรงุ จดุ บกพรอ่ งใหด้ ีขึน้ 59

3 ความปลอดภยั ฐานทมี่ นั่ ทางใจ แบบอย่างการท�ำงาน ภายในจิตใจ ทกั ษะสมอง EF กบั พัฒนาการเด็กปฐมวัย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ปนดั ดา ธนเศรษฐกร 60

พฒั นาการมนุษย์คอื อะไร ปฐมวยั จะเป็น ชว่ งเวลาทอง พฒั นาการมนษุ ยค์ อื การเจรญิ เตบิ โต และการเปลยี่ นแปลงทางรา่ งกาย อารมณ์ ของการสง่ เสรมิ จิตใจ สังคม รวมถึงกระบวนการรู้คิดอย่างมีระเบียบแบบแผน และสอดคล้องกัน พัฒนาการ เพราะเป็น อย่างต่อเน่ืองต้ังแต่แรกเกดิ ตลอดไปจนชวั่ ชีวติ ระยะทีพ่ ฒั นาการ • พัฒนาการทุกด้านจะเจริญเติบโตเปล่ียนแปลงไปตามล�ำดับ แต่ละล�ำดับขั้น ทกุ ด้านของทารก ของพฒั นาการจะเกดิ ในชว่ งอายทุ แ่ี ตกตา่ งกนั และใชร้ ะยะเวลาชา้ เรว็ ในการพฒั นา มีการเปล่ยี นแปลง ทแ่ี ตกตา่ งกันด้วย อยา่ งรวดเร็วและ • พัฒนาการแต่ละข้ันมีความสอดคล้องกันโดยพัฒนาการข้ันหน่ึงจะเป็นพื้นฐาน มหาศาล ของพัฒนาการข้นั ตอ่ ไปเสมอ เชน่ คบื แล้วคลาน แล้วจงึ เดิน..ตอ่ ไปจึงว่งิ แลว้ คอ่ ย กระโดดตามมา • พัฒนาการด้านหน่ึง จะส่งผลต่อพัฒนาการด้านอื่นด้วยเช่นกัน เช่น ร่างกาย ไมแ่ ขง็ แรง ส่งผลใหอ้ ารมณ์ไม่ดี ควบคมุ ไมไ่ ด้ ท�ำให้เพอ่ื นไม่ชอบ และมีเพ่อื นน้อย เปน็ ต้น • การตดิ อยใู่ นพฒั นาการขน้ั ใดขน้ั หนง่ึ นานเกนิ ไป หรอื การขา้ มขน้ั พฒั นาการเรว็ เกินไป จะสง่ ผลใหเ้ กิดปญั หาพฒั นาการได้ ตามกฎของพัฒนาการมนุษย์แล้ว ปฐมวัยจะเป็นช่วงเวลาทองของการส่งเสริม พัฒนาการ เพราะเป็นระยะท่ีพัฒนาการทุกด้านของทารกมีการเปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็วและมหาศาล และยังเป็นระยะแรกท่ีส�ำคัญต่อพัฒนาการด้านอ่ืนๆ ในช่วงวยั ตอ่ ไปอกี ดว้ ย “ปฐมวัย” ช่วงเวลาก่อรา่ งสรา้ งฐานท่สี �ำคัญของชีวติ มนษุ ย์ ทง้ั พฒั นาการทกุ ด้านและทักษะสมอง EF จึงเป็นงานทลี่ ะเอยี ดอ่อนและตอ้ งแมน่ ยำ� 61

ทกั ษะสมอง EF มพี ฒั นาการอยา่ งไร และมคี วามสมั พนั ธ์ อยา่ งไรกับพฒั นาการด้านอ่นื ๆ เน่ืองจากทักษะสมอง EF มีความส�ำคัญต่อการพัฒนาและความส�ำเร็จในการ ด�ำเนินชีวิต ในบทนี้จึงจะเน้นการอธิบายล�ำดับข้ันและระยะพัฒนาการของทักษะ สมอง EF เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ และเลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของการสง่ เสรมิ พฒั นาการ ของทักษะสมอง EF ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตามล�ำดับข้ันและระยะเวลาของ พฒั นาการ ซง่ึ จะอธิบายพัฒนาการทกั ษะสมอง EF ใน 2 มติ คิ วบคูก่ นั ไป มิตทิ ี่ 1 ความสมั พนั ธ์ระหว่างทกั ษะสมอง EF และคณุ ภาพความผูกพัน มติ นิ จี้ ะอธบิ ายถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งทกั ษะสมอง EF และคณุ ภาพความผกู พนั (Attachment Quality) ซ่ึงเป็นประสบการณ์เฉพาะของเด็กแต่ละคนท่ีได้รับ จากการเล้ียงดู เพื่อแสดงให้เห็นความเช่ือมโยงของคุณภาพความผูกพันที่มีต่อ พัฒนาการด้านต่าง ๆ และการท�ำงานของสมองส่วนหนา้ ซ่งึ เปน็ พื้นท่ปี ฏบิ ตั กิ าร ของ EF มติ ิที่ 2 ความสมั พนั ธ์ระหว่างทักษะสมอง EF และพฒั นาการทั้ง 4 ดา้ น มติ ิน้ีจะอธิบายถึงพัฒนาการของทักษะสมอง EF บนพ้ืนฐานพัฒนาการของเดก็ ปฐมวยั ทงั้ 4 ด้าน เพื่อแสดงใหเ้ ห็นความสอดคลอ้ งของพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และกระบวนการคิด ที่ส่งผลต่อพัฒนาการ EF ในแต่ละ ลำ� ดับขน้ั พัฒนาการ และในแต่ละช่วงอายุ 62

มิติท่ี 1 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งทักษะสมอง EF และคณุ ภาพความผูกพัน (Attachment Quality) พัฒนาการ EF ในช่วงปฐมวัยเป็นเร่ืองที่มีความละเอียดอ่อน ต้องใช้ความ เข้าใจและความใส่ใจในการดูแลส่งเสริมพัฒนาการเป็นพิเศษ เนื่องจากพัฒนาการ สมองส่วน EF มีระยะและล�ำดับข้ันของพัฒนาการที่น่าสนใจและท้าทายท่ีจะหา คำ� ตอบ • เม่ือพัฒนาการของสมองส่วนที่เป็น CEO กลับเป็นส่วนของสมองท่ีเกิด หลังสดุ จะเกิดอะไรขน้ึ กับทกั ษะสมอง EF ในขณะท่ี EF ท�ำหน้าที่เป็นผู้บริหารสูงสุดของสมองที่ท�ำหน้าท่ีควบคุมสั่งการ สมองส่วนอื่นๆ ท้ังหมด เพื่อควบคุมร่างกายและจิตใจให้ท�ำงานร่วมกันอย่าง สอดคลอ้ งสมดลุ แต่“สมองส่วนหน้า”ท่ีเป็นพ้ืนทป่ี ฏบิ ตั กิ ารของ EF กลับเปน็ สมอง ส่วนทเี่ กิดหลังสุด และมกี ารเจริญเติบโตเตม็ ที่ชา้ ทสี่ ุด สง่ ผลใหเ้ ด็กปฐมวยั สามารถ ใชส้ มอง EF ควบคมุ การทำ� งานของสมองสว่ นอ่ืนๆ ได้ไม่เตม็ ที่ ทำ� ให้สมองสว่ นทีม่ ี การเจรญิ เตบิ โตเตม็ ทเ่ี รว็ กวา่ และมคี วามพรอ้ มในการทำ� งานมากกวา่ คอื สมองสว่ น แกน (Core Brain) และสมองลิมบคิ (Limbic Brain) สามารถยดึ การควบคมุ สมอง ท้ังหมดได้ง่าย จึงเป็นเหตุผลวา่ ท�ำไมสมองของเด็กปฐมวัยจึงยังไม่สามารถควบคุม พฤติกรรมและคดิ อยา่ งสลับซบั ซอ้ นได้ดเี ท่ากับสมองของผูใ้ หญ่ ถเปา้ ็นสม“อทงักส่วษนหะกนา้ าเปร็นข“บั รรถถ””แพละัฒทกันษากะสามรอทงกั ษEะFสมอง EF ในชว่ งปฐมวัย ก็เปรียบไดด้ ัง่ “รถทยี่ ังประกอบไมส่ มบูรณ์ และขบั เคล่อื นโดยผู้ทเ่ี พิ่งหดั ขับรถ” นนั่ เอง 63

สมองสว่ นลิมบกิ หรือ • ท�ำไมทักษะสมอง EF จึงพัฒนาได้ต้ังแต่เยาว์วัย ทั้งๆ ท่ีสมองส่วนหน้า สมองส่วนอารมณ์ ยังพัฒนาไม่เต็มที่ จะทำ� หน้าที่เรยี นรู้และ จดจ�ำความร้สู กึ ตามโครงสร้างสมองของมนุษย์ สมองส่วนที่เก่าแก่ท่ีสุดและเจริญเติบโตเต็มที่ พึงพอใจและไม่พงึ พอใจ เร็วท่ีสดุ มี 2 ส่วน คือ สมองส่วนแกน (Core Brain) ท�ำหน้าท่ีเกี่ยวกับการมีชีวิตรอดของ มนุษย์ เกี่ยวข้องกับระบบอัตโนมัติ เช่น การหายใจ บางคร้ังอาจเรียกให้เข้าใจ งา่ ยวา่ เปน็ สมองสว่ นสญั ชาตญาณ หรอื สมองแบบสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน (Repteriel Brain) สมองสว่ นลมิ บกิ (Limbic Brain) บางครงั้ เรยี กวา่ สมองสว่ นอารมณห์ รอื สมอง แบบสัตวเ์ ลี้ยงลกู ด้วยนม (Mammalian Brain) เปน็ สมองส่วนทพี่ ัฒนาต่อมาจาก สมองส่วนแกน ท�ำหนา้ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับอารมณ์ความรู้สกึ การเรียนรแู้ ละจดจ�ำ โครงสร้างสมองทั้ง 2 ส่วนนี้เจริญเติบโตเต็มท่ีตั้งแต่แรกเกิด เพ่ือให้ทารก พร้อมเรียนรู้เร่ืองการอยู่รอดในโลกใบนี้ และส่ิงแรกท่ีทารกพร้อมจะเรียนรู้ กค็ อื ความผูกพนั แบบปลอดภัย (Secure Attachment) ซึ่งจะไดร้ บั จากผู้เลยี้ งดู โดยสมองส่วนอารมณ์จะท�ำหน้าท่ีเรียนรู้และจดจ�ำความรู้สึกปลอดภัย หรือ อันตรายที่ได้รับจากผู้เล้ียงดู ประสบการณ์ที่สั่งสมจากการดูแลของผู้เลี้ยงดู น้ีจะกลายเป็นคุณภาพความผูกพันท่ีส่งผลต่อการท�ำงานของสมอง จิตใจ และ พฤติกรรมของเด็กตอ่ ไปในอนาคต สมองส่วนท่ี 3 คือ สมองส่วนหน้า ซ่ึงเป็นพื้นที่ปฏิบัติงานของ EF จะ เจริญเติบโตเต็มท่ีเมื่ออายุประมาณ 25 ปี ท�ำหน้าที่เก่ียวกับการคิดวิเคราะห์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ไขปัญหา จะสามารถท�ำงานร่วมกับสมองอีกสองส่วนได้ เมือ่ สมองสว่ นสัญชาตญาณและสมองสว่ นอารมณ์ ได้รับความม่ันคงปลอดภยั ถงึ แมว้ า่ สมองสว่ นอารมณแ์ ละสมองสว่ นสญั ชาตญาณของทารกจะเจรญิ เตบิ โต และพร้อมใช้มากกว่าสมองส่วนหน้า แต่ความผูกพันแบบปลอดภัย (Secure Attachment) ที่มีต่อผู้เล้ียงดู สามารถกระตุ้นทักษะสมอง EF ให้ท�ำงานได้ตาม ศักยภาพตั้งแต่แรกเกิดได้ เพราะการตอบสนองความต้องการของเด็กทารก อยา่ งสมำ่� เสมอดว้ ยความรกั ความอบอนุ่ ใกลช้ ดิ จะทำ� ใหส้ มองลมิ บกิ ของทารกเกดิ 64

ความพงึ พอใจและจดจำ� พฤตกิ รรมของผเู้ ลย้ี งดไู ด้ เชน่ เมอื่ รอ้ งไหห้ วิ นม แมส่ ง่ เสยี ง ตอบรับ เดินมาหาแล้วอุ้มลูกมาดูดนม ยิ้มให้ลูกระหว่างลูกดูดนมจนอิ่ม ทารก ก็จะรู้สึกม่ันคงปลอดภัยและเชื่อใจเมื่อเกิดความหิวครั้งต่อไป เพียงแค่ได้ยินเสียง ตอบรับของแม่ สมองส่วนอารมณ์จะใช้ความรู้สึกม่ันคงปลอดภัยนี้ในการเก็บกด อารมณ์ที่ไม่ดีเอาไว้ ท�ำให้สามารถส่งข้อมูลนี้ไปที่สมองส่วนหน้า เพ่ือตัดสินใจ แสดงเป็นพฤติกรรม เช่น สามารถหยุดร้องและรอคอยให้แม่มาป้อนนมได้นาน ขึน้ เป็นต้น • ในเด็กปฐมวัย สมองสว่ น EF ยงั เตบิ โตไม่เตม็ ท่ี สมองสว่ นสญั ชาตญาณและ อารมณจ์ ึงควบคุมพฤตกิ รรมเดก็ มากกวา่ • ความผกู พันแบบปลอดภัยจะชว่ ยพฒั นา กระตนุ้ สมอง EF ได้ • ความผกู พนั แบบปลอดภยั จะสง่ ผลอยา่ งไรตอ่ พฒั นาการทางจติ ใจ และทกั ษะ สมอง EF อย่างไรก็ตาม ใชว่ า่ สมองของผูใ้ หญ่จะมที ักษะสมอง EF ทด่ี ีมปี ระสิทธิภาพกัน ทุกคน เพราะระยะพัฒนาการตามอายุของทักษะสมอง EF เป็นเพียงปัจจัยหนึ่ง เท่านั้นท่ีท�ำให้สมองส่วนน้ีมีศักยภาพในการเรียนรู้ แต่ปัจจัยที่ส�ำคัญต่อคุณภาพ ของทักษะสมอง EF ท่ีดีน้ัน คือประสบการณ์ที่ส่ังสมมาด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากประสบการณ์การเลี้ยงดูท่ีได้รับในวัยเยาว์จนพัฒนาเป็นคุณภาพความผูกพัน (Attachment Quality) ระหว่างเด็กและผู้เลี้ยงดู ซ่ึงถือเป็นขั้นแรกของล�ำดับ ข้ันพัฒนาการ และเปน็ พนื้ ฐานทีส่ �ำคญั สำ� หรับพฒั นาการในลำ� ดบั ขั้นต่อไปทจ่ี ะน�ำ ไปสพู่ ัฒนาการสมอง EF ความผูกพัน (Attachment) คือ กระบวนการผูกมัดทางจิตใจของทารกที่มี ต่อผู้เล้ียงดู ซึ่งเป็นผลจากการได้รับการดูแลเอาใจใส่จากผู้เลี้ยงดูในช่วงแรกเกิด 65

หากผู้เลี้ยงดูใส่ใจดูแลทารกอย่างใกล้ชิด สามารถตอบสนองความต้องการ พื้นฐานทางร่างกายและจิตใจของทารกได้ ทารกก็จะรู้สึกปลอดภัย เช่ือใจ ผู้เล้ียงดู และมีความม่ันคงทางอารมณ์ คุณภาพความผูกพันก็จะพัฒนาข้ึน เป็นความผูกพนั แบบปลอดภัย (Secure Attachment) ในทางตรงกันข้าม หากผู้เล้ียงดูปล่อยปละละเลย ไม่ตอบสนองความต้องการ พื้นฐานของทารกหรือตอบสนองได้แต่ไม่สม่�ำเสมอ ทารกก็จะรู้สึกไม่ปลอดภัย ไม่เชื่อใจผู้เลี้ยงดู และไม่มีความม่ันคงทางอารมณ์ คุณภาพความผูกพันก็จะ เป็นความผูกพันแบบไม่ปลอดภัย (Insecure Attachment) ซ่ึงคุณภาพ ความผูกพันนี้ จะสั่งสมเป็นประสบการณ์เฉพาะตนของเด็กแต่ละคนที่มีต่อ ผู้เล้ียงดู จงึ ทำ� ใหเ้ ด็กแตล่ ะคนมีพฒั นาการทแ่ี ตกต่างกนั ไป ประสบการณ์ท่ีดีในวัยเยาว์พัฒนาเป็นความผูกพันแบบปลอดภัย และส่งผล ต่อทักษะสมอง EF ดังนั้น การท�ำให้เด็กรู้สึกม่ันคง ปลอดภัย และไว้วางใจ จึงไม่ใช่เรื่องของจิตใจเท่าน้ัน แต่ยังส่งผลดีต่อทักษะสมอง EF ซึ่งเป็น “CEO ของสมอง” อกี ดว้ ย 66

• ความผูกพันแบบปลอดภัยมีความสัมพันธ์อย่างไรกับพัฒนาการ ด้านตา่ งๆ ของเด็ก การเล้ียงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดจนพัฒนาเป็นความผูกพันที่ดี ยังเป็นการ กระตุ้นพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กปฐมวัยโดยตรงอีกด้วย เพราะการมี ปฏิสัมพันธ์กับเด็กทารก ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุย การเล่น หอม หรือกอด ลว้ นแลว้ แตเ่ ปน็ กจิ กรรมสังคมท่ีกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ในการควบคุมความต้องการ อารมณ์ และพฤติกรรมของตนเอง ให้สัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้เล้ียงดู ในขณะท่ีท�ำกิจกรรมร่วมกัน เช่น เมื่อเล่นจ๊ะเอ๋กับแม่ ทารกสามารถควบคุมมือ เวลาปิดหน้า หยุดรอจังหวะ และเปิดมือออกได้ตรงกับจังหวะการเปิดปิดมือ ของแม่ เป็นต้น นอกจากน้ี ยังเป็นการกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้ภาษา ซึ่งเป็นเคร่ืองมือส�ำคัญ ในการพัฒนาทักษะทางอารมณ์และสังคมที่เป็นฐานในการน�ำไปสู่พัฒนาการ ทักษะสมอง EF ตอ่ ไป ในทางตรงกันข้าม หากคุณภาพความผูกพันระหว่างเด็กและผู้เลี้ยงดู ไม่ดี สมองส่วนอารมณ์ก็จะจดจ�ำความรู้สึกไม่พึงพอใจและพฤติกรรมของ ผู้เลี้ยงดูเอาไว้ น�ำไปใช้ในการรับรู้และตีความหมายส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนตาม ประสบการณค์ วามรสู้ กึ ทเ่ี คยไดร้ บั จากการเลย้ี งดนู น้ั ๆ เชน่ หากผเู้ ลยี้ งดตู อบสนอง ความหวิ ไดบ้ า้ ง ไมไ่ ดบ้ า้ ง ทารกจะมคี วามรสู้ กึ ไมแ่ นน่ อน ทำ� ใหส้ มองลมิ บคิ ทำ� งาน ร่วมกับสมองส่วนแกน ซ่ึงเป็นการท�ำงานแบบสู้หรือถอย โดยไม่ผ่านสมอง ส่วนหน้า เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นอันตราย พฤติกรรมที่แสดงออก มานั้นจึงเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ระบายอารมณ์ที่ไม่ดี เช่น การ ร้องไหด้ ังๆ จนอาเจียน การใช้วงจรสมองส่วนอารมณ์ร่วมกับสมองส่วนสัญชาตญาณน้ีเป็นการตัด โอกาสในการกระตนุ้ การท�ำงานของสมองส่วนหน้าของเด็กในช่วงปฐมวยั 67

• บทบาทของคุณภาพความผูกพนั ทม่ี ตี อ่ พฒั นาการของเดก็ บทบาทของ ความปลอดภัย 1. ความปลอดภัย เป็นความรู้สึกข้ันพ้ืนฐานทาง คณุ ภาพความผูกพัน (Safety) จิตใจที่เด็กต้องการจากผู้เลี้ยงดู และจะพัฒนาต่อ ที่มตี ่อพฒั นาการ ไปเป็นความไว้เน้ือเช่ือใจ ซึ่งส�ำคัญต่อพัฒนาการ ดา้ นต่างๆ ทสี่ �ำคญั ด้านอารมณ์และสังคมของเด็กมาก รวมถึงการ พัฒนาทักษะสมอง EF เช่น การควบคุมอารมณ์ 3 ประการ ได้แก่ การยัง้ คดิ ไตร่ตรอง ฐานทมี่ ่นั ทางใจ 2. ฐานที่มั่นทางใจ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจให้ (Safe Base) เด็กกล้าท่ีจะไปเรียนรู้ และเผชิญโลกภายนอก ด้วยตนเอง ซึ่งส�ำคัญต่อพัฒนาการทางร่างกาย แบบอย่าง อารมณจ์ ติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา รวมถงึ ทกั ษะ การทำ� งาน สมอง EF เชน่ การรเิ รม่ิ และลงมอื ทำ� ความมงุ่ มนั่ ภายในจิตใจ การยดื หยนุ่ ความคดิ การวางแผนและจดั การงาน (Internal ใหส้ �ำเรจ็ Working Model) 3. แบบอย่างการท�ำงานภายในจิตใจ เป็นแบบอย่างความสัมพันธ์ที่เด็กใช้ ในการรับรู้ ตคี วาม และท�ำความเขา้ ใจกบั ความสมั พนั ธข์ องคนในโลกใบน้ี และใช้เป็นแบบอย่างในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น มีผลต่อการพัฒนา คุณภาพความผูกพันกับผู้อ่ืนต่อไปในอนาคต ซึ่งส�ำคัญต่อการพัฒนาด้าน อารมณส์ งั คมและสตปิ ญั ญาของเดก็ รวมถงึ ทกั ษะสมอง EF เชน่ การตดิ ตาม ประเมนิ ตนเอง การจดจอ่ ใสใ่ จ การยดื หยุ่นความคดิ 68

ความผกู พนั แบบปลอดภยั จะสง่ ผลอยา่ งไรตอ่ ลำ� ดบั ขนั้ ของพฒั นาการ ทางจิตใจ และทักษะสมอง EF ความผูกพันแบบปลอดภัยจะส่งผลต่อพัฒนาการทางจิตใจท่ีเป็นรากฐานของพัฒนาการ ทง้ั 4 ด้าน รวมถงึ ทกั ษะสมอง EF ทีแ่ บ่งไดเ้ ป็น 5 ระยะ ตามล�ำดบั ขน้ั ของพัฒนาการ ดังน้ี หนเู ชอ่ื มน่ั และประเมิน ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 หนมู องเห็นบทบาทตนเอง ความสามารถ และเหน็ คณุ ค่าในตวั หนู ของหนไู ด้ 5 ขวบเปน็ ตน้ ไป 5 ขวบเปน็ ตน้ ไป Self-Esteem Self-Worth ระยะท่ี 3 ระยะท่ี 2 4 – 5 ขวบ หนูรสู้ กึ ดีในสิ่ง หนูแยกแยะ 18 เดอื น – 4 ขวบ Self-Concept ท่เี ปน็ ตัวตนของหนู ความต้องการ Self-Awareness ระยะที่ 1 ของหนไู ด้ แรกเกิด–18 เดือน หนมู ีตัวตน Self-Recognition ในโลกใบน้ี 69

การรับรตู้ นเอง ระยะที่ 1 แรกเกดิ ถึง 18 เดอื น (Self-Recognition) เป็นล�ำดับพัฒนาการทางจิตใจข้ันพื้นฐานในด้านการรับรู้ตนเอง (Self- Recognition) คุณภาพความผูกพันแบบปลอดภัยในช่วงวัยน้ีเกิดจาก การเลยี้ งดเู อาใจใสอ่ ยา่ งใกลช้ ดิ สามารถตอบสนองความตอ้ งการขนั้ พน้ื ฐาน ทางร่างกายได้ การให้ความรัก ความอบอุ่นปลอดภัย การพูดคุย เล่น และ สัมผัสเด็กทารกเป็นประจ�ำ ส่งผลให้ทารกรู้ว่าตนเองมีตัวตน มีอารมณ์ ความรูส้ ึก และพฤตกิ รรมที่แยกออกจากโลกภายนอก (Anderson, 1984) ระยะท่ี 2 อายุ 18 เดอื นถึง 4 ขวบ การตระหนกั รูจ้ กั ตนเอง เป็นล�ำดับพัฒนาการทางจิตใจ ในด้านการตระหนักรู้จักตนเอง (Self-Awareness) (Self-Awareness) คุณภาพความผูกพันที่ดีในช่วงวัยน้ีเกิดจากการเลี้ยง ดทู ม่ี กี ารตอบสนองความตอ้ งการของเดก็ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสมำ�่ เสมอ รวม ถงึ การมตี ารางชวี ติ ประจำ� วนั ทค่ี าดเดาได้ มกี ารพดู คยุ ใหโ้ อกาสเดก็ แสดง ความรสู้ กึ และความคดิ เหน็ มกี ารแสดงความรกั ความชน่ื ชม และพงึ พอใจ ในตัวเด็ก ส่งผลให้เด็กเกิดความมั่นคงทางจิตใจ มีพัฒนาการทางภาษา รวดเร็ว ท�ำความรู้จักสังคมใกล้ตัวได้เร็ว จึงท�ำให้เด็กสามารถแยก ความต้องการของตนเองและผู้อื่นได้ง่ายข้ึน ตระหนักรู้ในความต้องการ ของตนเองมากขน้ึ วา่ ตนเองเปน็ ใคร มคี วามสมั พนั ธก์ บั บคุ คลในครอบครวั อยา่ งไร ชอ่ื อะไร อายเุ ทา่ ไหร่ ชอบหรือไมช่ อบอะไร 70

แนวความคิด ระยะที่ 3 อายุ 4 ถึง 5 ขวบ เก่ยี วกบั ตนเอง (Self-Concept) เป็นล�ำดับพัฒนาการทางจิตใจในด้านแนวความคิดเก่ียวกับตนเอง (Self-Concept) คุณภาพความผูกพันที่ดีในช่วงวัยน้ี เกิดจากการเลี้ยงดูที่ เคารพความต้องการและความรู้สึกของเด็ก ให้โอกาสเด็กได้ส�ำรวจเรียนรู้ โลกและได้มองเห็นความสามารถในตัวเอง ซึ่งการรับฟังและยอมรับนี้เป็น กลไกทางจิตใจท่ีส�ำคัญ ท�ำให้เด็กกล้าแสดงออก มีพัฒนาการทางภาษาดี สามารถอธบิ ายคณุ ลกั ษณะ ความชอบ และเรอื่ งราวของตนเองได้ นอกจาก นีย้ งั เปน็ การสง่ เสริมใหเ้ กิดความรสู้ ึกทีด่ กี บั ตนเอง ร้จู ักตนเองมากขน้ึ และ มแี นวคิดเก่ยี วกับตนเองในทางท่ีดี ระยะท่ี 4 อายุ 5 ขวบเป็นตน้ ไป ความภาคภมู ิใจ ในตนเอง เป็นล�ำดับพัฒนาการทางจิตใจในด้านความภาคภูมิใจในตนเอง (Self- Esteem) คุณภาพความผูกพันท่ีดีในช่วงวัยน้ีเกิดจากการเลี้ยงดูที่สามารถ (Self-Esteem) สร้างความไว้ใจซึ่งกันและกันได้ ในครอบครัวให้ความส�ำคัญกับเด็กในฐานะ สมาชิกที่สามารถช่วยเหลือและเป็นท่ีพ่ึงให้กับสมาชิกในครอบครัวและ ผู้อื่นในสังคมได้ ในขณะเดียวกันก็สามารถท�ำให้เด็กรู้สึกมั่นคงปลอดภัยใน ตัวเอง และเช่อื ว่าสมาชิกในครอบครวั จะสามารถช่วยเหลือตนเองไดเ้ ชน่ กนั การให้โอกาสเด็กได้ส่ังสมประสบการณ์จากการลองผิดลองถูกด้วย ตนเอง และเรียนรู้ที่จะมีปฏิสัมพันธ์หรือท�ำกิจกรรมร่วมกันกับบุคคลนอก ครอบครวั มากขน้ึ จะท�ำให้เด็กได้ฝึกฝนความสามารถและทักษะของตนเอง รู้จักประเมินความสามารถของตนเอง มีความเชื่อม่ันในตนเอง ยอมรับ ความสามารถของผอู้ นื่ และมองโลกในแงด่ ี 71

การเห็นคุณคา่ ระยะท่ี 5 คือ อายุ 5 ขวบเป็นตน้ ไป ในตนเอง เป็นล�ำดับขั้นพัฒนาการทางจิตใจในด้านการเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-Worth) (Self-Worth) คุณภาพความผูกพันที่ดีในช่วงวัยนี้เกิดจากการเลี้ยงดู ท่ีสามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานทางร่างกายและจิตใจ ของเด็กอย่างมั่นคง ต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานานและท่ีส�ำคัญคือ ให้โอกาสเด็กได้เรียนรู้ และฝึกฝนการช่วยเหลือรับผิดชอบตนเอง และการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคม คอยช่วยเหลือ ให้ก�ำลังใจ และ ค�ำแนะน�ำอยู่ใกล้ๆ เช่ือในความสามารถ ให้คุณค่ากับความพยายาม ของเด็กอย่างสม�่ำเสมอ จนเด็กเกิดความตระหนักในความคาดหวัง ของตนเองและผู้อื่น พึงพอใจและเห็นความส�ำคัญในบทบาทหนา้ ที่ ของตนเอง มองเหน็ คณุ คา่ ตวั เอง รวู้ า่ ตนเองมคี ณุ คา่ อยา่ งไรและกบั ใคร จะเหน็ ไดว้ า่ คณุ ภาพความผกู พนั เปน็ พฒั นาการขน้ั พน้ื ฐานทสี่ ำ� คญั มาก เป็นจุดเร่ิมต้นของการเรียนรู้โลก ทัศนคติท่ีมีต่อโลก และวิธีการ ปรับตวั ให้เขา้ กบั โลกใบนี้ ตามแบบท่เี ดก็ รบั ร้จู ากประสบการณ์ที่ไดร้ ับ จากการเลีย้ งดู คุณภาพความผูกพันแบบปลอดภัยนี้เอง ท่ีเป็นปัจจัยส�ำคัญใน การหลอ่ เลยี้ งใหเ้ ดก็ สามารถใชส้ มองสว่ นหนา้ ทย่ี งั เจรญิ เตบิ โตไมเ่ ตม็ ที่ ให้สามารถท�ำงานเชื่อมโยงกับสมองส่วนอื่นๆ ได้อย่างสมดุลตั้งแต่ ปฐมวัย จนเมื่อโตข้ึนถึงวัยที่สมองส่วนหน้าเจริญเติบโตเต็มที่ มี ความพร้อมและสามารถควบคุมการท�ำงานสมองส่วนอื่นๆ ได้อย่าง เตม็ ศักยภาพและมปี ระสทิ ธิภาพอีกด้วย 72

มิตทิ ี่ 2 : ความสมั พนั ธร์ ะหว่างทักษะสมอง EF และพัฒนาการท้งั 4 ด้าน ในส่วนน้ีจะเป็นการอธิบายอย่างต่อเน่ือง เพ่ือแสดงให้เห็นความเชื่อมโยง ว่าความผูกพันแบบปลอดภัยท่ีท�ำให้เกิดพัฒนาการทางจิตใจตามระยะ และล�ำดับขั้นของการพัฒนาทั้ง 5 ระยะน้ัน มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการท้ัง 4 ด้านของเด็กอย่างไร โดยจะอธบิ ายในมิตขิ องพฒั นาการทกั ษะสมอง EF บนฐาน พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น เนื่องจากมนุษย์เรียนรู้ ปรับตัว และพัฒนาจากการมีปฏิสัมพันธ์กับโลก ภายนอก โดยใช้ประสาทสัมผัสในการรับข้อมูลจากส่ิงแวดล้อมและความสัมพันธ์ เขา้ ไปในสมอง เพือ่ ตีความ ประมวลผล และแสดงออกมาเปน็ พฤติกรรม พฤตกิ รรมของมนุษย์ ไมว่ า่ จะเปน็ ความคดิ การกระท�ำ หรอื อารมณ์ เกิดจาก เซลล์สมองได้รับข้อมูลและส่ือสารกับเซลล์สมองตัวอ่ืนๆ อีกหลายล้านเซลล์ เม่อื เซลล์สมองหลายล้านเซลลท์ �ำงานร่วมกัน ก็จะเกิดเป็นวงจรสมองหลายๆ วงจร (Brain Circuits) แต่ละวงจรจะท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงานในแต่ละกิจกรรม และเมื่อวงจรสมองหลายๆ วงจรท�ำงานร่วมกัน ก็จะเกิดเป็นระบบการท�ำงานท่ี ช�ำนาญของสมอง (Specialized Brain Systems) ซึ่งคือทักษะของมนุษย์ที่ได้ จากการมีปฏสิ มั พันธ์และเรียนรจู้ ากโลกภายนอก ดังน้ันในช่วงปฐมวัย ข้อมูลที่เด็กๆ ได้รับจากส่ิงแวดล้อมและความสัมพันธ์ จึงมีความส�ำคัญต่อการสร้างวงจรสมอง และระบบการท�ำงานท่ีช�ำนาญของ สมองส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับพัฒนาการท้ัง 4 ด้านอย่างมาก เพราะเป็นฐานให้เกิด ทักษะสมอง EF ในการควบคุมระบบการท�ำงานที่ช�ำนาญของสมองแต่ละ ระบบให้ท�ำงานร่วมกัน เกิดเป็นพฤติกรรมท่ีบรรลุเป้าหมายได้อย่างเต็มศักยภาพ ดังทีแ่ สดงในตารางตามช่วงวยั ดงั นี้ 73

พฒั นาการเดก็ วัยแรกเกิด - 3 ปี Executive Functions คอื การประมวลประสบการณเ์ ดมิ และสถานการณป์ จั จบุ นั เพ่ือการตัดสินใจท�ำพฤติกรรมให้บรรลุเป้าหมาย ทักษะสมอง EF จะพัฒนามากขึ้น ตามอายุ และตามพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน ในขณะเดยี วกัน ทักษะสมอง EF ทเ่ี พ่ิมขน้ึ ก็ ส่งผลต่อการส่งเสรมิ ทักษะของพฒั นาการท้ัง 4 ดา้ นเชน่ เดยี วกัน ภาพรวม ดP้านhyร่าsงicกaาlย • เป็นชว่ งเรียนรู้การเคล่อื นไหวร่างกายของตนเอง • เรมิ่ จากการเคลอื่ นไหวแบบไรท้ ศิ ทาง ไมม่ วี ตั ถปุ ระสงค์ ไมป่ ระสาน 0-3 ปีพัฒนาการ สอดคล้อง จนเกิดเป็นทักษะพ้ืนฐานของการประสานกันระหว่าง มือกบั ปาก และการเอ้ือมควา้ หยิบจบั วัตถุ • เป็นช่วงการสร้างความไว้ใจขั้นต้นต่อตนเอง ผู้เล้ียงดู และ ส่ิงแวดล้อม ซึ่งเป็นความไว้ใจพื้นฐานที่จะพัฒนาต่อเนื่องสู่การ Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al ไวใ้ จและเรียนรู้โลกภายนอกตอ่ ไปในอนาคต ด้านสังคม • เปน็ ชว่ งการสานสายใยผกู พันกับพ่อแมแ่ ละผูเ้ ล้ียงดู Social • เริ่มจากทารกสามารถหยุดร้องไห้ได้เม่ือพ่อแม่เข้าไปปลอบ ด้Cานoสgตnิปitัญivญe า และต่อมาสามารถเขา้ หาพ่อแม่เพื่อขอให้ปลอบใจตนเอง • เป็นช่วงการใช้การเคล่ือนไหวสัมผัสของร่างกาย (Sensory Motor) ในการสำ� รวจและเรยี นรูโ้ ลก • การเคล่ือนไหวจะเป็นแบบเดิมซ�้ำๆ เพ่ือฝึกให้คล่องแคล่วข้ึน และเป็นการกระตุน้ พฒั นาการการเชือ่ มโยงของเซลล์ประสาท Executive • พฒั นาการของเดก็ ในชว่ ง 2 ปแี รกจะเปน็ ชว่ งแหง่ การเรยี นรสู้ ำ� รวจโลก Functions โดยต้องอาศัยพึ่งพาผ้เู ลี้ยงดู เพอ่ื ใหม้ ชี วี ติ รอด ก่อนท่จี ะคอ่ ยๆ พัฒนา เป็นความเข้าใจในการท�ำงานของส่ิงต่างๆรอบตัวที่แยกออกจากความ รู้สึกนกึ คดิ ของตนเอง • พฤติกรรมส�ำคัญท่ีแสดงถึงการมีทักษะสมอง EF ในช่วงน้ีวัยนี้คือการ ควบคุมอารมณ์ความคิดและการกระท�ำของตนเองอย่างมีเป้าหมาย งา่ ยๆ ไมส่ ลบั ซับซอ้ น 74

ดP้านhyร่าsงicกaาlย • เมือ่ นอนคว�่ำยกหัวและหนั ไปข้างๆ ได้ 0-3 • เคลอ่ื นไหวแขนขาไปมาแบบไร้ทิศทาง • เมื่อนอนหงายหนั หัวมองตามวัตถไุ ด้ เดอื น Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • รู้สกึ ปลอดภัยเมื่ออย่กู ับผเู้ ล้ียงดทู ่คี ุ้นเคย • ต้องการการปลอบใจจากผู้เล้ยี งดูท่ีคุ้นเคย • ฟงั เสยี ง • มองจอ้ งหนา้ ขณะมีคนพูดคยุ ด้วยประมาณ 5 วินาที ดS้านoสcังiaคlม • ย้ิม สง่ เสยี งตอบเมอ่ื พงึ พอใจคนหรอื วัตถุ • เงยี บเมอ่ื มีคนอุม้ ด้านสติปัญญา ภาษา Cognitive • เรมิ่ ใช้ภาษา ด้วยการสง่ เสียงออ้ แอ้ ทำ� เสยี งในลำ� คอ • เรม่ิ เขา้ ใจภาษา ดว้ ยการส่งเสยี งตอบรบั เม่ือพดู คยุ ดว้ ย • สนใจวัตถทุ ี่ก�ำลงั เคล่อื นไหว • พยายามหันหาที่มาของเสียง กระบวนการรคู้ ิด • คาดเดาสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั ได้ เช่น ดูด เมือ่ เหน็ นมแม่ Executive • ทักษะสมอง EF ก�ำลังเจริญเติบโตตามอายุ และจะถูกกระตุ้นให้ใช้ Functions เม่อื เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบั สงิ่ แวดล้อมและผคู้ นรอบตวั 75

3-6 • เมื่อนอนคว�่ำ พลิกหัวจากด้านหนึ่งไปอกี ดา้ นหน่งึ • เมอ่ื นอนควำ�่ ยกอกพน้ พ้นื และหันหวั ไปมาได้ เดือน • หันหัวไปตามเสยี งได้ • จบั เขา่ และเท้าตัวเองเมอ่ื นอนหงาย ดP้านhyร่าsงicกaาlย • เม่ือนอนควำ�่ ใชแ้ ขนเหยียดตรง ยกตัวข้นึ Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • รอ้ งไห้เม่ือเสยี ใจ เมอ่ื ไมไ่ ดด้ ่ังใจ • ร้องหาคนคนุ้ เคย • หวั เราะเสยี งดงั • ส่งเสียงแสดงความต้องการและความรู้สึก • ตอบสนองต่อสิง่ เรา้ ทางสังคม เช่น ย้มิ ตามเสียง ฟงั เสยี งคยุ และ ส่งเสยี งออ้ แอ้ • แสดงอารมณ์ทางสหี น้า • จ�ำหนา้ แมไ่ ด้ ดS้านoสcังiaคlม • แสดงอาการตน่ื เต้นเมอ่ื มีส่งิ เร้า • ยิ้มใหต้ ัวเองในกระจก • ยม้ิ ทกั ทายคนที่คุ้นเคย ด้านสติปัญญา ภาษา Cognitive • เร่มิ ทำ� เสียงเลียนแบบ ชอบส่งเสียง เลน่ เสียงตัวเอง กระบวนการรคู้ ิด • สงสัยและสนใจสิ่งแวดลอ้ ม Executive • พฤติกรรมท่ีสัมพันธ์กับพัฒนาการของทักษะสมอง EF คือเร่ิม Functions มีการหยดุ คิดและตอบสนองหน้าตาและน้�ำเสยี งที่คุ้นเคย • เร่ิมเลือกดู มองดูผู้คนที่รู้จัก ส่ิงที่สนใจ และเร่ิมตัดสิ่งที่รบกวน ออกไปได้ ไม่สนใจสงิ่ ทที่ ำ� ใหเ้ สียสมาธิ 76

ดP้านhyร่าsงicกaาlย • ควา้ จับแบบมวี ตั ถุประสงค์ 6-9 ด้านจิตใจและอารมณ์ • กลง้ิ ของเลน่ สั่นของเลน่ Mind and Emotional • พลิกควำ่� พลกิ หงาย เดือน • เร่ิมขยับตวั คบื คลาน ด้านสังคม • น่งั เองได้ Social • เมื่อนัง่ ตักผูใ้ หญ่ มองตามภาพหรอื ตวั หนังสอื ได้ ด้านสติปัญญา Cognitive • แสดงอารมณห์ ลากหลายมากขึ้น • ไม่พอใจเมือ่ ของเล่นหาย หรอื หาไม่เจอ EFxuencctuitoinvse • ปลอบใจหรือคลายเครยี ดด้วยการดูดนิว้ • ถอื ของเล่นท่ีค้นุ เคย • เล่นเกมจะ๊ เอ๋ • เรมิ่ เข้าใจอารมณท์ ่แี ตกตา่ งของผอู้ ่นื • แสดงท่าทางสบาย ผอ่ นคลายเม่ืออยู่กับคนคุ้นเคย และแสดงอาการเครียดเมือ่ อยกู่ บั คนแปลกหนา้ ภาษา • ตอบสนองเมอื่ เรียกชื่อ • เริ่มตอบสนองค�ำวา่ “ไม”่ • แยกแยะอารมณผ์ ้อู ื่นได้จากนำ้� เสียง • ส่งเสียงเพื่อตอบรับ • ส่งเสยี งเพ่อื แสดงความชอบและไม่ชอบ กระบวนการร้คู ดิ • เริ่มหาของทซ่ี ่อนได้ • ใช้มือและปากสำ� รวจส่งิ แวดล้อม • เริ่มมงุ่ ม่ันทจี่ ะหยบิ วัตถทุ ี่อย่เู กนิ เอ้ือม • เร่ิมมีสัญญาณพัฒนาการของทักษะสมอง EF 3 ทักษะพ้ืนฐานคือ Inhibitory Control, Shifting, Working Memory • เริม่ ควบคมุ ความคิด อารมณ์ และการกระทำ� ในการตอบสนองไดด้ ีข้นึ • เร่มิ เลน่ อยา่ งมเี ปา้ หมายง่ายๆ • มกี ารกระทำ� ซำ้� ๆที่ควบคมุ ไม่ได้ เชน่ ยังทำ� ผิดซำ�้ ๆ 77

9-12 ดP้านhyร่าsงicกaาlย • สง่ ของจากมอื หนงึ่ ไปอกี มอื หนงึ่ ได้ • ดึงแยง่ ของได้ เดือน • เมื่อนอนอยู่ ลกุ ข้นึ นั่งได้ • กล้งิ ลกู บอล ขวา้ งวัตถุ • เร่ิมคลาน • หยิบส่ิงของชิ้นเล็กๆ ด้วยน้ิวโป้ง • เกาะยืน และนิว้ อื่นอกี 1 นิ้ว • เริม่ หดั เดิน • ทง้ิ ของเล่นลงพน้ื และเกบ็ ของเล่น Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • เริ่มรู้ว่าตนเองมีตัวตน อารมณ์ ความ • มคี วามตอ้ งการของตวั เองชดั เจน รู้สึกและพฤตกิ รรมทแี่ ยกออกจากโลก • งอแงและด้ือร้ันเม่อื ไม่ได้ดงั ใจ ภายนอก (Self-Recognition) • รับรู้ว่าภาพในกระจก และใน • แสดงอารมณท์ แ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งชดั เจน รปู ภาพเปน็ ภาพของตัวเอง • กลัวสถานทีใ่ หม่ๆ และคนแปลกหนา้ • เริ่มรู้สึกอิจฉาเม่ือตัวเองไม่ได้ • เรม่ิ แสดงอารมณต์ อ่ ตา้ น ไมย่ อมทำ� ตาม เป็นทีส่ นใจ ด้านสังคม • ชอบเล่นกบั พอ่ แม่ • กลวั การพรากจาก Social • กลวั คนแปลกหน้า (Separation Anxiety) ด้านสติปัญญา (Stranger Anxiety) • เรมิ่ เลน่ คนเดยี วไดน้ าน 2-3 นาที Cognitive ภาษา • แยกแยะเสียงและแยกพ่อแม่ออกจากคนอืน่ ได้ • เรม่ิ พดู ได้ ท�ำทา่ เปล่งเสยี งแสดงความต้องการและความรสู้ ึก • เข้าใจและตอบรับส่งิ ท่ีพอ่ แมพ่ ดู • ชี้สง่ิ ของและคนทรี่ จู้ กั คุน้ เคย กระบวนการรู้คิด • แก้ไขปัญหาแบบลองผิดลองถูก (Resist Temptation) เช่น เร่ิมจับวัตถุ พลิกหงาย จบั ใสเ่ ข้าไปในอีกช้ินหนึ่ง • เขา้ ใจความถาวรของวตั ถุ (Object Permanence –วตั ถยุ งั อยแู่ มม้ องไมเ่ หน็ ) • เริ่มมีความคิดเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Thinking) ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของ พฒั นาการทางภาษา EFxuencctuitoinvse • ทักษะพื้นฐานของ EF ได้บริหารมากข้ึน เม่ือต้องควบคุมการเคล่ือนไหว กลา้ มเนอ้ื และจำ� กตกิ าเม่อื ต้องเล่นเกมง่ายๆ กับพ่อแม่ เชน่ เกมซ่อนหา • พฤตกิ รรมทีส่ ัมพนั ธ์กับทกั ษะสมอง EF คือ การปฏเิ สธสิง่ ย่วั ยุ • แสดงความสนใจจดจอ่ กบั ส่ิงใดสงิ่ หน่ึงท่ตี วั เองตอ้ งการ • หยุดรอ้ งไห้เวลาพอ่ แม่ปลอบ 78

ดP้านhyร่าsงicกaาlย 13-18 เดอื น 19-24 เดือน 1-2 • เร่ิมเดนิ ได้ • วิ่งได้คลอ่ งแคล่วขึ้น ปี • เปล่ยี นทา่ จากนงั่ เป็นนอน • กระโดด 2 ขา นอนเป็นน่ังไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ • กระโดดลง กระโดด • กม้ ลงเก็บของได้ ไปข้างหนา้ • คลานขน้ึ บันไดและคลานถอยหลังลงบันได • โยนบอลลงตะกร้า • นงั่ บนเกา้ อ้เี องได้ • เตะบอลไปขา้ งหนา้ ได้ • ลากของเลน่ ไว้ข้างหลัง ขณะเดนิ ได้ • ขีดเขยี นลายเส้น • เร่มิ วงิ่ • ตอ่ แท่งบลอ็ กไม้ได้ อยา่ งนอ้ ย 2 แทง่ • เปิดหนงั สือ พลิกหน้าหนงั สอื ได้ Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • เรม่ิ รสู้ กึ อายเมอื่ ถกู ดุ และภมู ใิ จเมอื่ ไดร้ บั คำ� ชม • สุภาพ เปน็ มิตร ดS้านoสcังiaคlม • มีความผูกพันทางอารมณ์กบั ส่งิ ของเคร่อื งใช้ • ชอบแสดงความรัก • มีส่งิ ของท่ชี ว่ ยให้เกดิ ความมน่ั คงทางอารมณ์ • อารมณส์ งบ • มีอารมณต์ อบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงแผน • ให้ความร่วมมือ หรือกจิ วตั รประจ�ำวนั • เรมิ่ เห็นและรบั รคู้ วามเศรา้ ของผ้อู ่ืน • ทำ� ตามค�ำสง่ั งา่ ยๆ ได้ (Begin of Empathy) • เรม่ิ ยืนยันสง่ิ ทต่ี นเองตอ้ งการ • มีความคิดรเิ ร่มิ ในการลงมอื ท�ำ และปฏเิ สธคำ� สง่ั พ่อแม่ • ชอบช่วยเหลือผอู้ ืน่ • ขอความชว่ ยเหลอื ได้ • สามารถเล่นคนเดียวได้ (Solitary Play) ด้Cานoสgตnิปitัญivญe า ภาษา • พูดเปน็ ค�ำๆ อย่างน้อย 10 ค�ำ • ฟงั และท�ำตามค�ำส่งั งา่ ยๆ ได้ กระบวนการร้คู ิด • สำ� รวจคน้ หาตรวจตราส่ิงแวดล้อม (Shifting and Sensory Integration) • เรียนรู้จากการเลยี นแบบพฤติกรรมท่ีซับซอ้ นขึ้น • รวู้ ่าสิ่งของแตล่ ะอย่างน้นั ใช้ทำ� อะไร Executive • การกระท�ำซำ้� ๆ ท่คี วบคุมไม่ได้ ลดน้อยลงมาก Functions • การกระท�ำ การตอบสนองมเี ปา้ หมายชดั เจนข้ึน • ปฏิเสธส่งิ ย่วั ยุ และสิง่ ท่ีท�ำให้เสยี สมาธิได้งา่ ยขึ้น • มีความสนใจ จดจ่อนานข้ึน 79

2-3 25-30 เดอื น 31-36 เดอื น ปี • การเคลอื่ นไหวรา่ งกายคลอ่ งแคลว่ • ยนื ขาเดียว และสลับซับซอ้ นมากข้นึ • เดินขึ้นลงบนั ไดทลี ะขนั้ ยงั ไมส่ ลบั เทา้ ดP้านhyร่าsงicกaาlย • ยืนทรงตวั บนแทน่ ทรงตวั ได้ ซา้ ยขวา • หดั ขีจ่ กั รยาน 3 ล้อ • เขยง่ เทา้ เดนิ • กระโดดขน้ึ ขา้ งบน • งอแขนรบั บอล ขวา้ งบอลเหนอื หวั ได้ • ยื่นแขนตรงรับบอลได้ • ตอ่ บลอ็ กไมส้ เี่ หลย่ี มไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 8 แทง่ Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • เริม่ มี Self-Control • ไม่ชอบการเปล่ียนแปลง ตอ้ งการ • ทำ� ตามกฎ ไมล่ ดหย่อนผอ่ นปรน ชีวติ ประจำ� วนั ที่ชัดเจนคาดเดาได้ • หงดุ หงิดง่าย • เรม่ิ รูจ้ ักอารมณข์ องตนเองมากขึ้น • ต้องการอิสระชัดเจน แตต่ อ้ งการ • แสดงอาการตื่นเต้นเมื่ออยู่กับเด็ก ความปลอดภยั จากพ่อแม่ คนอน่ื • เลน่ เชิงสญั ลักษณ์ (Symbolic Play) • แยกจากพ่อแม่ได้ง่ายขนึ้ คอื เอาวตั ถสุ ง่ิ หนง่ึ มาเลน่ เปน็ อกี สง่ิ หนง่ึ • เร่มิ สังเกตอามณ์ของผู้อน่ื มากขน้ึ เชน่ เอาหมอ้ มาไถพนื้ สมมตวิ า่ เปน็ รถ • แสดงพฤตกิ รรมตอ่ ตา้ นเมอ่ื ถกู สงั่ หรอื หา้ ม • เลน่ แบบขนาน (Parallel Play) คอื เอา • ชอบเลียนแบบผใู้ หญ่ ดS้านoสcังiaคlม ของเลน่ มาเลน่ ขา้ งๆ เพอื่ น แตไ่ มเ่ ลน่ • ชอบขอและใหค้ วามชว่ ยเหลือ ดว้ ยกัน • สามารถผลดั กนั เลน่ เมอื่ มผี ใู้ หญค่ อยบอก ภาษา กระบวนการรคู้ ิด • เรยี นรภู้ าษาไดเ้ รว็ และจำ� คำ� ศพั ทไ์ ดด้ ี • จบั คสู่ ง่ิ ของและเขา้ ใจลำ� ดบั การตอ่ ของ • เข้าใจนิทานง่ายๆ เล่น เช่น ต่อของเล่นตัวต่อซ้อนกัน ด้Cานoสgตnิปitัญivญe า • ชีส้ งิ่ ของในหนงั สือตามทบ่ี อกได้ ข้นึ ไปและต่อ Puzzles เขา้ ดว้ ยกนั • เรียกชือ่ ส่งิ ของได้ • แบ่งกล่มุ สิ่งของ อาหารและสัตว์ได้ • รูช้ อื่ และชส้ี ว่ นต่างๆ ของร่างกาย • หาของท่ซี ่อนไวไ้ ด้ แก้ไขปัญหางา่ ยๆ • ท�ำตามคำ� ส่งั ง่ายๆ ได้ ได้ เช่น ใชเ้ ก้าอ้ีเพื่อปนี หยบิ ของ • พูดตอบรับเม่ือต้องการและปฏิเสธ • เขา้ ใจจำ� นวน 1 เขา้ ใจตำ� แหนง่ บน ลา่ ง ใต้ เมอ่ื ไม่ต้องการได้ • แสดงความคดิ เหน็ ได้ Executive • ทกั ษะสมอง EF พฒั นาขนึ้ เนอ่ื งจากเรมิ่ มภี าษาเปน็ เครอ่ื งมอื ในการคดิ ทำ� ใหก้ าร Functions คดิ ในใจมคี วามยืดหยนุ่ ขึน้ มขี ้อมลู มากขึน้ เชน่ จำ� และนำ� คำ� แนะน�ำจากผเู้ ล้ยี งดู ไปคดิ และปฏบิ ัตติ ามได้ • สามารถวางแผน ตดั สนิ ใจ และคิดแกไ้ ขปัญหาทงี่ า่ ยๆ ไมส่ ลับซับซ้อนได้ • ควบคุมความคิด อารมณ์ และการกระทำ� ท�ำตามกฎหรอื ค�ำสัง่ ได้ 2 ขอ้ • มีสมาธิจดจ่อฟังนทิ านได้ 5 นาที 80

ดP้านhyร่าsงicกaาlย • เปน็ ชว่ งวยั ทไ่ี ม่อยูน่ ่งิ ภาพรวม • ชอบเคลื่อนไหวรา่ งกาย • เคล่อื นไหวคล่องแคล่วขน้ึ ท�ำเรือ่ งยากๆ ได้ดขี ้ึนและทรงตวั ดีขน้ึ 3-7 ปีพฒั นาการ • พัฒนาการกล้ามเน้ือเล็กดีข้ึน โดยเฉพาะการประสานสัมพันธ์ ระหว่างมือกับตา Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • เปน็ ชว่ งวยั ของการพัฒนาการตระหนักรูจ้ กั ตวั ตน (Self-Awareness) การก�ำกับตนเอง (Self-Regulation) และแนวความคดิ เกีย่ วกับตนเอง (Self-Concept) • เล่นและมีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับคนอน่ื ๆ มากขน้ึ • เรียนรูบ้ ทบาททางสงั คมมากข้นึ ดS้านoสcังiaคlม • รู้จักเปรียบเทียบตนเองกับผ้อู ่นื ด้Cานoสgตnิปitัญivญe า • เป็นวัยแหง่ การจนิ ตนาการ • จ�ำข้อมูลแม่น แต่การคิดยังเป็นเหตุเป็นผลได้น้อย เปน็ ไปตามความตอ้ งการของตัวเองมากกวา่ เหตุผล Executive • ถูกใช้ในการควบคุมอารมณ์ของเด็กอย่างหลากหลาย และสลับซับซ้อน Functions มากขึ้น การที่เด็กวัยนี้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึง ท�ำให้ได้ฝึกฝนทั้งทักษะ EF พ้ืนฐาน (Inhibitory Control, Shift/ Cognitive Flexibility, Working Memory) และ EF ด้านอ่นื ๆ ดว้ ย คือ ด้านการก�ำกับตนเอง (Focus/Attention, Emotional Control, และ Self-Monitoring) และการลงมือปฏิบัติ (Initiating, Planning & Organizing และ Goal-Directed Persistence) ซึ่งนอกจากจะส่งเสริม พัฒนาการสมองส่วนอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการท�ำงานของร่างกาย อารมณ์ สังคม และกระบวนการรู้คิดให้มีทักษะมากขึ้นแล้ว ยังกระตุ้นให้ EF ทำ� งานสลบั ซับซอ้ นขนึ้ อกี ด้วย 81

3-4 • วิง่ หลบหลกี สงิ่ กีดขวาง • ขว้างและรับลกู บอลได้ ปี • เดนิ ตอ่ เทา้ บนเสน้ ตรง • ต่อบล็อกเป็นตึกสงู • กระโดดดว้ ยเทา้ ท้งั คไู่ ด้สงู 1 ฟตุ • วาดวงกลมและกากบาท ดP้านhyร่าsงicกaาlย • ทรงตัวบนเทา้ ข้างเดียว • ปัน้ ดนิ นำ�้ มันเป็นลกู บอลและงู • ข่ีจักรยานสามล้อ Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • ตระหนักรู้จักตัวตน (Self-Awareness) รู้จักอารมณ์ ความต้องการของ ตนเองมากขึน้ • มีอารมณค์ วามรสู้ ึกหลากหลาย สลบั ซบั ซอ้ นขนึ้ เชน่ อิจฉา และตน่ื เตน้ ในเวลาเดยี วกนั • ควบคมุ อารมณ์ตนเองดีข้ึน • อา่ นอารมณ์จากการแสดงออกทางสหี น้าของคนอ่ืนได้ • สนใจอารมณ์ความรสู้ ึกของเด็กคนอื่น • เริ่มสนใจเพ่ือนมากกวา่ พ่อแม่ • อาสา และรับผิดชอบงานง่ายๆ ได้ • รู้จกั แบ่งปนั ผลดั กันเล่น ดS้านoสcังiaคlม • เลน่ กบั เพ่ือนได้ • เล่นเกมตามกตกิ างา่ ยๆ ได้ แต่ยังตอ้ งการชนะอยู่ • เร่มิ เล่น Dramatic Play ด้Cานoสgตnิปitัญivญe า ภาษา • เรมิ่ จำ� ตวั อกั ษร และคำ� ศพั ทไ์ ด้ มคี ำ� • วาดรปู และเลา่ เรอื่ งราวตามทว่ี าด ศพั ทป์ ระมาณ 900 คำ� หรอื มากกวา่ • ระบสุ ว่ นตา่ งๆ ของสง่ิ ของได้ กระบวนการร้คู ดิ • บอกชอื่ เตม็ และอายขุ องตวั เอง • จบั คู่ แยกตามสี รปู ทรง จดั ของตาม • เข้าใจเร่ืองเวลา เช่น ความแตกต่าง ขนาดของวตั ถุ ระหวา่ งอดตี กบั ปจั จบุ นั • สนใจจดจอ่ ไดน้ าน 5-15 นาที • ถาม “อะไร” “ทำ� ไม” • เรยี นรวู้ ธิ กี ารจากการฟงั ได้ • พดู ไดเ้ ปน็ ประโยค • ทำ� ตามคำ� สง่ั ไดม้ ากขน้ึ • ชอบพดู คยุ เลา่ เรอ่ื ง สอื่ สารกบั ผอู้ นื่ • ชอบนทิ าน คำ� คลอ้ งจอง EFxuencctuitoinvse • สามารถวางแผน ตดั สนิ ใจ และคดิ แกไ้ ขปญั หาทสี่ ลบั ซับซอ้ นมากข้ึนได้ • ควบคุมความคิด อารมณ์ และการกระท�ำตามกฎ หรือคำ� สั่ง 2 ข้อไดด้ ี 82

ดP้านhyร่าsงicกaาlย • มคี วามมนั่ ใจในการเคลอื่ นไหวรา่ งกายมากขนึ้ 4-5 • เดินถอยหลัง ปี • กระโดดไปข้างหน้าหลายครงั้ โดยไมห่ กลม้ 83 • กระโดดขาเดียว • เดนิ สลับขาขน้ึ ลงบนั ได • ใชก้ รรไกรได้ ตดั ตามเส้นได้ • วาดสเ่ี หล่ยี ม • เขยี นตวั อกั ษรไดบ้ างตัว ด้านจิตใจและอารมณ์ • เร่ิมตระหนกั ถงึ ความยตุ ธิ รรมและคณุ ธรรมเชน่ พฤติกรรมทดี่ ี ไมด่ ี Mind and Emotional ยตุ ธิ รรม ถกู ผดิ • แนวคิดเก่ียวกับตนเอง (Self-Concept) ชัดเจนข้ึน รู้ว่าตนเอง ด้านสังคม มลี ักษณะรูปร่างหน้าตาอย่างไร ชอบหรือไมช่ อบอะไร เปน็ คนอย่างไร Social • คอยระวังความรู้สึกของผู้อืน่ • ชอบเลน่ เกมกบั เพ่อื น แตอ่ าจจะมีการตั้งกฎข้ึนมาใหม่ • ชอบเล่นจินตนาการกับเพอ่ื น • ฟงั ผอู้ ่ืนพูด ด้านสติปัญญา ภาษา Cognitive • ชอบเล่นเสยี ง • บอกช่อื สี ชื่อรูปทรงได้ • วาดรูปมีรายละเอยี ดมากขน้ึ • เขียนชื่อตัวเองได้ • มคี ำ� ศัพทป์ ระมาณ 4,000 – 6,000 คำ� หรอื มากกว่า กระบวนการรูค้ ดิ • เล่าเรอื่ งยาวๆ ไดต้ ้ังแต่ต้นจนจบ • เล่าประสบการณข์ องตนเองได้ • ชอบพดู ถงึ ทุกสง่ิ ท่ีเจอและท่คี ิด • สนใจเขียนตวั หนังสือ ตัวเลข • จับคู่หรือจดั สง่ิ ของเขา้ หมวดหมไู่ ดห้ ลากหลายวิธี Executive • มคี วามยง้ั คดิ ไตร่ตรอง (Inhibitory Control) Functions • อดทน รอคอย เลื่อนความพึงพอใจออกไปกอ่ นได้ดี

5-7 • ว่ิงขึน้ ลงบันได • ใส่เส้อื ผา้ ติดกระดุม รดู ซิป ปี • รบั และโยนบอลขนาดเลก็ ได้ • ใชช้ อ้ นส้อมได้ ดP้านhyร่าsงicกaาlย • เตะลูกบอลขนาดเล็กได้ • ตดั กระดาษตามรอย • เลน่ กฬี าเปน็ ทีม • ระบายสใี นขอบเขตที่กำ� หนด • ขจี่ ักรยาน 2 ล้อ • อายุ 7 ขวบสามารถเขียนตัวอักษร • หยิบจับมอื เดียวไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว และตัวเลขไดต้ รงบรรทัด • ฝึกเขยี นตวั หนงั สือและตวั เลข Mดin้าdนจaิตnใdจแEละmอาoรtมioณn์al • ความภาคภูมิใจในตัวเอง (Self-Esteem) พัฒนาชัดเจนขึ้น อยากท�ำด้วย ตวั เอง อยากชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื ตอ้ งการคำ� ชม ความสนใจจากผอู้ น่ื มาก ซงึ่ จะเปน็ ฐานของพัฒนาการทางจิตใจด้านการเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-Worth) ในระยะตอ่ ไปด้วย • ชอบประเมนิ ผลงานของตนเองและผอู้ นื่ และเปรียบเทียบตวั เองกับผูอ้ ื่น • มีความมน่ั คงทางจติ ใจมากข้ึนเม่ืออยูต่ า่ งสถานท่ีกบั ผู้อน่ื • คอยระวังวา่ ผอู้ ่นื จะคดิ หรือร้สู ึกกับตนเองอยา่ งไร • อ่านอารมณจ์ ากการแสดงออกทางสหี นา้ ของคนอ่นื ได้ ดS้านoสcังiaคlม • เล่นกบั เพือ่ นในสถานท่ีต่างๆ และในกฎท่แี ตกตา่ งได้ ด้านสติปัญญา • แบง่ ปันและสลับกันเลน่ ไดง้ ่ายขน้ึ Cognitive กระบวนการรคู้ ิด • เรยี นรพู้ น้ื ฐานการอา่ น การเขยี น คณติ ศาสตร์ • รชู้ อ่ื -นามสกลุ ทอี่ ยู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ • ตอบคำ� ถาม 5 W ไดว้ า่ ใคร ทำ� อะไร ทไ่ี หน เมอื่ ไร อยา่ งไร • เขา้ ใจสถานการณแ์ คบ่ างสว่ น • ยงั ไมเ่ หน็ ความสมั พนั ธข์ องภาพรวม • ทำ� ตามคำ� สงั่ 2-3 ขอ้ ขน้ึ ไป Executive • ความสามารถในการหยุดความคิด อารมณ์ และการกระท�ำ พัฒนาขึ้นได้ดี Functions ตามอายแุ ละประสบการณ์ • สามารถจดจ�ำ คิดวางแผนตัดสินใจ และคิดแก้ไขปัญหาท่ีสลับสลับซับซ้อน ได้มากขึน้ 84

สรุป • สมองของเดก็ ทารกทง้ั สมองสว่ นสญั ชาตญาณและสมองสว่ นอารมณจ์ ะถกู พัฒนาเต็มที่ตั้งแต่แรกเกิด เพ่ือให้พร้อมส�ำหรับการเรียนรู้ จดจ�ำ และ ปรับตัวให้มีชีวิตอยู่รอดได้ ในขณะท่ีพัฒนาการสมองส่วนหน้ายังพัฒนา ไมเ่ ต็มที่ • คุณภาพความสัมพันธ์ของเด็กที่มีต่อผู้เลี้ยงดูเป็นพัฒนาการข้ันแรกที่เด็ก ไดเ้ รยี นรคู้ วามปลอดภยั บนโลกใบน้ี และจดจำ� ใชเ้ ปน็ ฐานทมี่ นั่ ทางใจ และ แบบอยา่ งในการรบั รู้ ท�ำความเข้าใจกับโลกใบนีต้ ่อไป • คุณภาพการเลี้ยงดูแบบปลอดภัยจะส่งเสริมพัฒนาการทางด้านจิตใจ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของพัฒนาการด้านอ่ืนๆ ท้ัง 4 ด้าน รวมถึงช่วยกระตุ้น การท�ำงานสมองสว่ นหนา้ ซ่ึงเปน็ การท�ำงานของทกั ษะสมอง EF • พัฒนาการทงั้ 4 ด้านยงั มีความสัมพันธส์ อดคลอ้ งกนั ไปอยา่ งเปน็ ระเบียบ แบบแผนตามระยะและลำ� ดบั ขนั้ ของพฒั นาการทส่ี อดคลอ้ ง และเปน็ ฐาน ในการต่อยอด ฝึกฝนพัฒนาการทักษะสมอง EF ให้ช�ำนาญและมี ประสทิ ธิภาพต่อไปในอนาคต 85

ภาคท่ี 2 86

ทปกัจั จษยัะสทมพ่ี อฒั ง EนFา 87

4 ดม่ื นำ�้ สะอาด นอนให้พอ หลับใหส้ นิท กินอาหารพฒั นาสมอง ออกกำ� ลังกาย หลีกเลย่ี งสารท�ำลายสมอง เลน่ กลางแจ้ง การพัฒนาทกั ษะสมอง EF ด้วยการดแู ลสภาพสมองของเดก็ คณะท�ำงานชุดจดั ท�ำคู่มอื การพัฒนาทกั ษะสมอง EF เรียบเรียง 88

นอกจากสมองจะเป็นหนึ่งในอวัยวะท่ีส�ำคัญท่ีสุดของร่างกายแล้ว ยังเป็นท่ีปฏิบัติ เดก็ เล็กที่นอนนาน การของทักษะสมอง EF ซ่ึงต้องดูแลให้ดีเพื่อให้สมองท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตอนกลางคืน จะมีทักษะ ทง้ั การเรยี นรแู้ ละการทำ� งาน ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งการนอน การกนิ หรอื การออกกำ� ลงั กาย สมอง EF ดีกว่า เลน่ กลางแจง้ เดก็ ท่ีนอนน้อย ตอนกลางคืน 1. นอนให้พอ หลบั ให้สนทิ เดก็ เลก็ ๆ ตอ้ งการการนอนหลบั แบบหลบั สนทิ เพราะมใิ ชแ่ คเ่ พยี งใหร้ า่ งกายไดพ้ กั กล้ามเนื้อได้ผ่อนคลายเท่าน้ัน แต่การนอนหลับยังส่งผลต่อการท�ำงานของสมอง อีกด้วย เพราะการนอนหลับท�ำให้สมองได้จัดระเบียบส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในแต่ละวัน เรียบเรียงข้อมูลท่ีได้มาให้เป็นหมวดหมู่ให้พร้อมใช้งานในวันต่อไป เป็นข้ันตอนการ จัดการกับความจ�ำระยะส้ันไปสู่ความจ�ำระยะยาว นอกจากนั้นการนอนไม่เพียงพอ ในวัยเดก็ อาจส่งผลให้สมองพัฒนาไมส่ มบรู ณ์ รวมถงึ ภาวะอารมณ์ทแ่ี ปรปรวนได ้ ผลการศกึ ษาวิจัยเกยี่ วกับการนอนที่ส่งผลต่อสมองหลายช้นิ พบว่า • การนอนหลับของเด็กมี 2 ช่วง คือช่วงหลับธรรมดาและช่วงหลับฝัน ในช่วงหลับ ธรรมดารา่ งกายจะสรา้ งฮอรโ์ มนเพอื่ ซอ่ มแซมสว่ นทส่ี กึ หรอ และกระตนุ้ การทำ� งาน ของร่างกาย ช่วงหลับฝันเป็นช่วงส�ำคัญอย่างยิ่งของการเจริญเติบโตของสมองใน เดก็ แรกเกดิ -5 ปี เพราะร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพ่ือกระตุน้ การเรยี นรู้ การจดจ�ำ ซง่ึ เปน็ รากฐานของพฒั นาการของสมองท่ดี ี • ระหวา่ งการนอนหลบั การเชอื่ มตอ่ ของประสาทในสมองจะแขง็ แรงตามวยั ทเี่ พม่ิ ขนึ้ • เด็กเล็กท่ีนอนนานตอนกลางคืนจะมีทักษะสมอง EF ดีกว่าเด็กที่นอนน้อยตอน กลางคนื (แลว้ มานอนมากตอนกลางวัน) โดยเฉพาะด้านการยั้งคดิ • ทักษะสมอง EF มีความเปราะบางมาก ไม่ว่าจะมีทักษะสมอง EF ดีเพยี งไร แตถ่ า้ นอนไมพ่ อหรอื เครยี ดมากๆ ทกั ษะสมอง EF อาจกระทบกระเทอื นหรอื เพยี้ นไปได้ • การนอนหลับในชว่ งบา่ ยของเด็กๆ อายรุ ะหวา่ ง 3-5 ขวบ จะชว่ ยเพม่ิ พลงั สมองให้ กับเด็กๆ ทำ� ใหค้ วามทรงจำ� ดีขึ้น และผลดดี ังกล่าวจะยงั คงอยู่กับเดก็ ไปจนกระทง่ั ถึงเชา้ วนั ถัดไปอกี ดว้ ย 89

2. ดื่มนำ้� สะอาด สมองคนเราประกอบไปดว้ ยน้ำ� ถึงรอ้ ยละ 85 เซลล์สมองจึงเปรยี บเสมอื นต้นไม้ ที่ต้องการน้�ำหล่อเล้ียงอย่างสม�่ำเสมอ ดังน้ันถ้าด่ืมน้�ำไม่เพียงพอ ร่างกายก็จะ ขาดน้�ำ ส่งผลให้เซลล์สมองเห่ียวท�ำให้การส่งข้อมูลช้า กลายเป็นคนคิดช้าหรือ คิดไม่คอ่ ยออก เด็กๆ จะมีโอกาสขาดน้�ำได้ง่ายกว่าผู้ใหญ่เพราะกระบวนการต่างๆ ในร่างกาย จะดำ� เนนิ ไดเ้ รว็ กวา่ มาก เมอื่ รา่ งกายขาดนำ้� อณุ หภมู ภิ ายในกจ็ ะสงู โดยเฉพาะสมอง ผู้ใหญ่ต้องเป็นฝ่ายกระตุ้นให้เด็กดื่มน้�ำบ่อยๆ เพราะเด็กจะรู้สึกกระหายน�้ำช้ากว่า ผู้ใหญ่เนื่องจากกลไกในร่างกายยังพัฒนาได้ไม่ดีพอ กว่าจะบอกได้ก็เมื่อกระหาย มากหรือร่างกายขาดนำ�้ ไปมากแลว้ น่ันเอง เนื่องจากเด็กๆ กำ� ลังเติบโต ร่างกายจงึ ต้องไม่ขาดน�้ำเพื่อให้การท�ำงานของสมองและระบบต่างๆ ในร่างกายด�ำเนินไป อย่างเหมาะสม ส�ำหรับเด็ก น้�ำไม่ใช่แค่ท�ำให้ร่างกายแข็งแรง แต่ยังช่วยให้เด็ก ท�ำกิจกรรมต่างๆ ทีโ่ รงเรยี นได้ดีอีกดว้ ย อาการปวดหวั หงดุ หงิด ง่วงนอน เหล่าน้ีคือสญั ญาณของการขาดน�้ำ น�้ำทีเ่ ดก็ ไดร้ ับในแตล่ ะวนั ต้องเป็นนำ้� สะอาด ซง่ึ สำ� คัญพอๆ กบั ปรมิ าณ ตอ้ งไม่ใช่นำ้� หวาน น้�ำอัดลม และควรเป็นน�้ำสะอาดท่ีอุณหภูมิห้อง ในช่วงปฐมวัยปริมาณน�้ำท่ีได้รับ อย่างนอ้ ยตอ้ งวนั ละ 6-8 แกว้ หรอื 3/4 -1 ลิตร 3. รับประทานอาหารท่ีพัฒนาสมองและหลีกเลี่ยงสาร ทำ� ลายสมอง สารอาหารพัฒนาสมอง อาหารท่ีมีประโยชน์ สมดุล ครบถ้วนทั้ง 5 หมู่ ไม่ใช่เพียงแค่ดีต่อร่างกายของ เด็กแต่ยงั ดตี อ่ สมองอกี ด้วย การกินอาหารที่ถูกต้องจะช่วยพัฒนาท้ังการใช้งานของสมอง พัฒนาด้าน ความจำ� และการมสี มาธจิ ดจอ่ สมองกเ็ ชน่ เดยี วกบั รา่ งกายทจ่ี ะดดู ซบั เอาสารอาหาร ตา่ งๆ ท่เี รากินเขา้ ไปในแตล่ ะมื้อแตล่ ะวัน 90

อาหารและสารอาหารตอ่ ไปนี้คอื อาหารที่ช่วยเพมิ่ “พลังสมอง” โอเมก้า โคลีน ไข่ มโี ปรตนี และในไขแ่ ดงยงั มีโคลีน สารอาหารที่ช่วย ปลา เนื้อปลาและน้�ำมันปลา มีวิตามินดีและ พัฒนาด้านความจ�ำ และ โอเมกา้ ทช่ี ว่ ยใหเ้ ซลลส์ มองแขง็ แรง พฒั นาความจำ� สมาธจิ ดจอ่ และการเรียนรู้ เสริมสร้างการเจริญเติบโตของ ปลายประสาทท่ีเรียกวา่ เดนไดรต์ (Dendrite) ซึง่ ข้าวกล้อง มีวิตามินบี 1 ที่ วิตามินบี1 ทำ� หนา้ ทเี่ ชอื่ มโยงสมั พนั ธเ์ รอ่ื งราวทเี่ รยี นรจู้ ากเรอ่ื ง ช่วยบ�ำรุงสมองและพัฒนา หน่ึงไปยังอีกเรื่องหน่ึง ท�ำให้เรียนรู้ได้ง่าย เร็ว เซลล์ประสาทใหแ้ ข็งแรง นอกจากน้ันในโอเมก้า 3 ยังช่วยให้เด็กมีทักษะ ทางด้านจิตใจทีเ่ รยี กว่า Mental Skill ดดี ้วย ปลา อสอากรซแิแอดนนตที้ ์ ทม่ี สี ารโอเมกา้ 3 มาก ไดแ้ ก่ ปลาทู ปลากะพง ปลา ตาเดียว ปลาชอ่ น ปลาทนู ่า ปลาแซลมอน ผกั ผกั ใบเขยี วมโี ฟเลตและวติ ามนิ ตา่ งๆ ชว่ ยให้ เซลล์สมองใหม่ๆ พัฒนาได้ดี ผักท่ีมีโฟเลตมาก ขา้ วโอ๊ต เปน็ แหลง่ ให้พลงั งานแก่ ได้แก่ ผักโขม บร็อคโคลี่ ส่วนในผักที่มีสีสันอ่ืน สมองที่ส�ำคัญ อุดมไปด้วยเส้นใย เช่น เหลือง ส้ม แดง เป็นแหล่งของสารแอนตี้ อาหารท่ีจะท�ำให้เด็กอ่ิมท้องจน ออกซิแดนทท์ จ่ี ะช่วยให้เซลล์สมองแขง็ แรง ไม่อยากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ พวกอาหารขยะ ท้ังยังเป็นแหล่ง วแิตลาะมธินาตอี,ุสังบกีระวสมี ของวิตามินอี วิตามินบีรวม และ เน้ือแดง เป็นแหล่งของธาตุ ธาตสุ งั กะสที จ่ี ะชว่ ยใหส้ มองทำ� งาน เหล็ก ซึ่งจะให้พลงั งานและมี ไดด้ อี ีกด้วย สมาธิจดจ่อ นอกจากนั้นยัง เป็นแหล่งส�ำคัญของธาตุ ธาตุสังกะสี สงั กะสีท่ีจะช่วยให้จดจำ� ไดด้ ี กรดไขมัน อาหารทะเล มีไอโอดีน ไอโอดีน และธยั รอยดฮ์ อรโ์ มนซง่ึ ถว่ั และเมลด็ พชื มโี ปรตนี กรดไขมนั สำ� คญั วติ ามนิ และ จำ� เปน็ ตอ่ การสรา้ งเซลล์ เกลอื แร่ ทง้ั ถว่ั และเมลด็ พชื ชว่ ยใหอ้ ารมณด์ ี และระบบ สมอง ประสาทเข้าทีเ่ ข้าทางพร้อมใช้งาน 91

สารทำ� ลายสมอง สารตะก่ัว เป็นสารท่ีสามารถท�ำลายพัฒนาการ ท้ังการเจริญเติบโตของสมองและ ร่างกาย ถ้าได้รับจ�ำนวนมากจะท�ำให้เรียนรู้ช้า ทั้งยังท�ำลายตับ ไต ท�ำให้ซีด ชัก จนอาจเสียชวี ิตได้ อธิบดีกรมการแพทย์ นพ.สุพรรณ ศรีธรรมา (พ.ศ.2557) กล่าวถึงสารตะกั่ว ในสที าบา้ นวา่ นบั เปน็ มลพษิ ในสง่ิ แวดลอ้ มทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ โดยเฉพาะ เดก็ เลก็ เน่ืองจากเด็กจะดูดซมึ สารตะกว่ั จากทางเดนิ อาหารไดร้ อ้ ยละ 50 ในขณะที่ ผใู้ หญด่ ดู ซมึ ไดเ้ พยี งร้อยละ 10-15 ในส่ิงแวดล้อมเดยี วกัน ประกอบกบั พฤตกิ รรม ของเดก็ ทชี่ อบเลน่ ตามพน้ื ดนิ ไมล่ า้ งมอื และชอบดดู นว้ิ หรอื หยบิ ของเขา้ ปากทำ� ให้ มโี อกาสไดไ้ ด้รบั พิษตะกวั่ มากกวา่ ผ้ใู หญ่ถึง 3 เทา่ สารตะก่ัวพบในสที าบา้ น เคร่ืองเลน่ ในสนามเด็กเลน่ ของเลน่ เดก็ ของใช้ การปอ้ งกนั คอื เลือกใช้สีทาบา้ นทไี่ มม่ สี ารตะกั่ว เลือกซือ้ ของเล่นที่ระบชุ ัดเจน ว่าใช้สีท่ีไม่มีสารตะกั่ว ดูแลไม่ให้เด็กเล่นเคร่ืองเล่นสนามที่มีสีหลุดร่อนติดมือ ล้างมือทุกครั้งหลังเล่นของเล่น เครื่องเล่นและก่อนกินอาหาร ให้เด็กได้กินอาหาร ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะผกั ใบเขยี ว ผลไม้ ปลาเลก็ ปลานอ้ ย เนอื้ แดง เพราะสารอาหาร ในอาหารเหล่านจี้ ะชว่ ยใหเ้ ด็กซมึ ซบั สารตะก่ัวไดน้ อ้ ยลง อาหารขยะ การให้เดก็ กินอาหารทเี่ ต็มไปด้วยนำ้� ตาล ไขมัน เกลือ แป้ง เช่น อาหารขยะ ขนมกรุบกรอบ เป็นประจ�ำ ย่อมท�ำให้เด็กกินอาหาร ที่มีประโยชน์ได้น้อยลง และสารอาหารหลายอย่างที่ผสมอยู่ในอาหาร เหล่านั้น ได้แก่ ผงชูรส สารให้ความหวาน หรือแม้แต่น�้ำตาล ถ้าได้รับ ในปรมิ าณมาก สะสมตอ่ เนอ่ื ง จะมผี ลตอ่ การเตบิ โต พฒั นาการของสมอง การเรยี นรจู้ ดจ�ำจะดอ้ ยลง 92

บหุ ร่ี ในบา้ น สถานทที่ เี่ ตม็ ไปดว้ ยควนั บหุ รี่ สภาพแวดลอ้ มไมป่ ลอดโปรง่ อาจทำ� ให้ สมองของเด็กได้รับสารพิษและเป็นการสกัดกั้นและบ่ันทอนศักยภาพในสมอง ใหล้ ดลงไดเ้ นือ่ งจากสมองเป็นอวัยวะท่ตี อ้ งการออกซเิ จน และอากาศที่สดชื่น ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกประเมินว่าครึ่งหน่ึงของประชากรเด็กท้ังโลก ได้หายใจเอาอากาศท่ีปนเปื้อนควันบุหร่ีเข้าสู่ร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเด็ก อยู่ในบ้านที่มีผู้สูบบุหร่ี เพราะยิ่งเด็กหายใจเข้าไปมากเท่าไร สมองก็ย่ิงจะเส่ือม ลงไปมากเท่าน้ัน 4. การออกก�ำลงั กายและการเล่นกลางแจง้ การให้เด็กได้ออกก�ำลังกายและเล่นหรือท�ำกิจกรรมกลางแจ้งเป็นโอกาสท่ีเด็ก จะได้มีโอกาสออกมาเล่นอย่างอิสระ ได้ฝึกฝนร่างกาย ได้เคลื่อนไหวร่างกาย อย่างกระฉบั กระเฉง ไดป้ นี ปา่ ย วง่ิ กระโดด ขุด มดุ ลอด ฯลฯ อยา่ งเต็มที่ การเล่นกลางแจ้งเป็นโอกาสให้ได้พัฒนาทักษะทางสังคม เนื่องจากอุปกรณ์ บางอย่างต้องเล่นด้วยกัน มีการแลกเปลี่ยนสนทนาระหว่างกัน ต้องต้ังกฎกติกา ข้อตกลง ต้องอดทน รอคอย เสียสละ เม่ือเด็กเล่นกลางแจ้งเด็กจะได้เรียนรู้และ ได้ประสบการณ์ตา่ งๆ ในด้านร่างกาย จะมีสุขภาพดีเพราะได้สูดอากาศบริสุทธิ์ ได้รับวิตามินจาก แสงแดด กล้ามเน้อื แข็งแรง การทรงตวั ดี กระดูกแข็งแกรง่ การท�ำงานของอวัยวะ จะสมั พนั ธก์ ันและท�ำงานเปน็ ปกติ การออกก�ำลังกายกลางแจ้งมีผลต่อการเจริญเติบโตของสมองโดยเฉพาะ เดก็ วยั 3 ขวบแรกของชวี ติ ทเี่ ซลลส์ มองจะสรา้ งใยประสาท เมอ่ื เสน้ ใยประสาทเชอื่ ม ตอ่ กนั มากพอสมองกจ็ ะพฒั นาไดด้ ี การทใ่ี ยประสาทจะเพ่ิมจ�ำนวนมากขึ้นจะตอ้ ง อาศยั การออกกำ� ลงั กายเป็นส�ำคัญ 93

ขณะเดยี วกนั การออกกำ� ลงั กายทำ� ใหม้ คี วามสขุ เพราะขณะทร่ี า่ งกายเคลอ่ื นไหว จะเกดิ แรงกระตนุ้ ใหร้ า่ งกายหลงั่ สารเอน็ โดรฟนิ ซง่ึ เปน็ สารทสี่ รา้ งความสขุ ใหต้ วั เรา จติ ใจจะผ่อนคลาย เรยี นร้สู งิ่ ตา่ งๆ ได้ดี ไดเ้ ร็ว จำ� ไดแ้ มน่ การเล่นกลางแจ้งจะเป็นไปอย่างอิสระ ไม่มีข้อจ�ำกัดมากมาย เด็กสามารถพูด คุยได้เต็มท่ี ใช้เสียงดังมากกว่าในห้องเรียนได้ เด็กได้สัมผัสธรรมชาติ เก็บใบไม้ ดอกไม้ ไดม้ องดทู อ้ งฟ้า ไดส้ ังเกตการเคลื่อนไหวของสตั วต์ ่างๆ นอกจากน้ันยังเปน็ โอกาสทคี่ รจู ะได้เรยี นร้เู กยี่ วกบั เด็กมากขึ้นอีกด้วย 94

สรุป • การนอนหลับสนิทท�ำให้สมองได้จัดระเบียบส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในแต่ละวัน เพ่ือเตรยี มใช้งานในวนั ตอ่ ไป • เด็กที่นอนนานๆ ในตอนกลางคืน จะมีทักษะสมอง EF ดีกว่าเด็กท่ี นอนนอ้ ย นอนไมพ่ อ • สมองประกอบดว้ ยนำ�้ รอ้ ยละ 85 ถา้ ดม่ื นำ�้ ไมพ่ อ เซลลส์ มองจะเหย่ี วทำ� ให้ ส่งขอ้ มูลได้ชา้ คิดช้า คดิ ไม่ออก • เด็กตอ้ งได้อาหาร 5 หมู่อยา่ งครบถ้วนและสมดลุ เพอ่ื เพ่มิ “พลังสมอง” • ขณะที่ร่างกายเคล่ือนไหวเวลาเล่นหรือออกก�ำลังกลางแจ้ง จะกระตุ้นให้ เกดิ การหลง่ั สารเอน็ โดรฟนิ ซง่ึ เปน็ สารทสี่ รา้ งความสขุ จติ ใจจะผอ่ นคลาย เรียนรไู้ ดด้ ี เร็ว จ�ำไดแ้ ม่น 95

5 ดล้วงยมตือนทเ�ำอง ลลอองงผถูกิด ได้เแลดลือ้วะกยวตาตงนแัดเผอสนงินใจ ให้โอกาส แลใสะชจร้คิน้าวงตสานมรารคกคิดา์ ร ได้เชปช่า่า็นงงสคสันงงเสชกัย่าตงคิด ผ่านเรกียานรรเลู้ ่น ทางอฝาึกรมทณักษ์-ะสังคม แแสลดกะขงวาอคิเรงวคตทารน�มำางเคะาอหิดนง์เผหล็น แรงบไดัน้รดับาลใจ จดจ่อใส่ใจ บูรณไดาก้เราียรนปรรู้ผะส่านาทกสารัมผัส กิจเวรัตียรนปรรู้ผะ่าจน�ำวัน กฝาึกรฝแนกท้ปักัญษหะา 96 การพฒั นาทกั ษะสมอง EF ดว้ ยการ “ใหโ้ อกาส” คณะทำ� งานชดุ จดั ทำ� คมู่ อื การพฒั นาทักษะสมอง EF เรยี บเรียง

จากที่กล่าวมาแล้วในบทท่ีผ่านมาจะท�ำให้เราเห็นว่าเด็กมีศักยภาพท่ีจะพัฒนา ทักษะสมอง EF บนพ้ืนฐานของพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ ต้ังแต่เป็นทารก ไม่ว่าจะเป็นการเล้ียงดู สภาพแวดล้อม และการฝึกฝน เมื่อเด็ก เขา้ สสู่ ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ไมว่ า่ จะเปน็ โรงเรยี นอนบุ าล สถานรบั เลยี้ งเดก็ หรอื แมแ้ ต่ การเล้ียงดูที่บ้าน เด็กยังคงต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ทักษะสมองของเด็กพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ เราพบว่าปัจจัยส�ำคัญคือ “โอกาส” ท่ีเราตอ้ งหยิบย่ืนใหก้ บั เด็กเพ่อื ให้ได้พฒั นาทกั ษะสมอง EF “โอกาส” มไิ ด้หมายถึง “เปิดโอกาส” เมอื่ โอกาสมาถงึ แตห่ มายถึงการ “ให้โอกาส” ท่คี รอบคลุมท้ังการเปิดโอกาส สร้างโอกาส และไมท่ ำ� ลายโอกาส “ความจำ� กัดใน EF อาจท�ำให้เด็ก 1. ท�ำไมตอ้ งให้โอกาส ถูกมองว่า “ดื้อ” หรือ “ความ ประพฤติไม่ดี” ท้ังที่เด็กอาจจะไม่ มีหลายเหตผุ ลที่ท�ำใหเ้ รือ่ งของการ “ให้โอกาส” เป็นปัจจยั สำ� คญั ได้เป็นเช่นนั้น แต่เด็กขาดโอกาส ของการสง่ เสริมการพฒั นาทกั ษะสมอง EF ดงั นี้ ฝึกฝนทกั ษะเหลา่ นตี้ า่ งหาก 1. สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ตามแนวคดิ “หนา้ ตา่ งแหง่ โอกาส” เพราะช่วงปฐมวัยเป็นช่วงท่ีส�ำคัญท่ีสุดในการพัฒนาความ Munakata Y, Michaelson L, ยืดหยุ่นของสมอง ช่วงวัยน้ีสมองส่วนหน้าจะจัดรูปและสร้าง Barker J, Chevalier N, 2013 การเช่ือมต่อ จึงเป็นวัยหน้าต่างแห่งโอกาสที่ดีท่ีสุดที่จะพัฒนา ทกั ษะสมอง EF เพอ่ื ความส�ำเร็จในวัยท่ีเพิม่ ข้ึน 2. นำ� ไปสกู่ ารสง่ เสรมิ พฒั นาการและสรา้ งสมรรถนะของเดก็ อยา่ ง สมดลุ และรอบดา้ น 3. นำ� ไปสกู่ ารเคารพนบั ถอื ตนเอง เหน็ คณุ คา่ และมแี รงจงู ใจภายใน ท่ีจะพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง 4. น�ำไปสู่การก�ำกับควบคุมตนเอง พลังของการก�ำกับตนเองสู่ เป้าหมายเป็นทักษะที่มีค่ายิ่งที่จะช่วยให้เด็กกระท�ำการใดๆ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพเพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายทต่ี นตัง้ ไว้ 97

5. น�ำไปสู่การสรา้ งสามญั สำ� นึกท่ดี ี รจู้ ักยับยงั้ ชง่ั ใจ มคี ุณธรรม มีจริยธรรม 6. น�ำไปสู่การรู้จักวางแผนและจัดการระบบชวี ิตตนเอง 2. ให้โอกาสเรื่องอะไรบา้ ง 1. ให้โอกาสเดก็ ไดค้ ิด สงสยั สงั เกต 2. ให้โอกาสเด็กไดเ้ ลือก ตดั สินใจ และวางแผนด้วยตนเอง 3. ใหโ้ อกาสเดก็ ลงมอื ท�ำด้วยตนเอง 4. ให้โอกาสเด็กไดล้ องผดิ ลองถูก 5. ใหโ้ อกาสเดก็ ได้ใชค้ วามคดิ สร้างสรรคแ์ ละจินตนาการ 6. ให้โอกาสเด็กเรยี นรูผ้ า่ นการเล่น 7. ให้โอกาสเด็กได้แสดงความคดิ เห็นและวเิ คราะห์ผลการทำ� งานของตนเอง 8. ให้โอกาสเดก็ เรียนรู้ผ่านกิจวัตรประจ�ำวนั 9. ให้โอกาสเด็กได้ฝกึ ฝนทกั ษะการแกป้ ัญหา 10. ใหโ้ อกาสเดก็ ไดเ้ รยี นรผู้ า่ นบรู ณาการประสาทสมั ผสั (Sensory Integration) ไดแ้ ก่ มองเหน็ /ไดย้ นิ /สมั ผสั /ดมกลน่ิ /ลม้ิ รส + การใชก้ ลา้ มเนอ้ื เอน็ ขอ้ ตอ่ / การทรงตัว) 11. ให้โอกาสเด็กได้จดจอ่ ใส่ใจ 12. ให้โอกาสเดก็ ได้รับแรงบนั ดาลใจ 13. ใหโ้ อกาสเด็กไดฝ้ กึ ทักษะทางอารมณ์ - สงั คม เม่อื อ่านการ “ใหโ้ อกาส” ในแต่ละเรือ่ ง ลองวิเคราะหแ์ ละเชอื่ มโยงดูว่า แตล่ ะโอกาสจะสง่ ผลต่อทกั ษะสมอง EF ตรงกบั ทกั ษะใดบ้าง ทง้ั 13 โอกาสจะมคี �ำส�ำคญั (Key Words) ทีร่ ะบุไว้ ท�ำให้ง่ายต่อการคิด เชอื่ มโยงไปสู่ทักษะสมอง EF และสนุกที่จะหาคำ� ตอบด้วยตนเอง 98

2.1 ให้โอกาสเดก็ ได้คดิ สงสยั สังเกต ส�ำคัญอย่างไร การช่างคิด ช่างสงสัย ช่างสังเกตเป็นต้นทางของพลังในการเรียนรู้ การคิด วิเคราะห์ คิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และพัฒนาตนเอง และยังน�ำไปสู่การวางแผน การ แก้ปัญหา การริเร่ิมและลงมือท�ำ ความเป็นคนช่างสังเกตจะท�ำให้เด็กสามารถจับ อารมณค์ วามรสู้ กึ ของผอู้ นื่ ไดไ้ ว เปน็ พน้ื ฐานของความรสู้ กึ เหน็ อกเหน็ ใจผอู้ น่ื (Empathy) บทบาทครแู ละวธิ กี าร • ไมท่ ำ� ลายพลงั ในการเปน็ นกั เรยี นรขู้ องเดก็ โดยครรู กั ษาความชา่ งคดิ ชา่ งสงสยั ช่างสงั เกตของเด็ก ดว้ ยการเปน็ ผรู้ บั ฟังและยอมรบั สงิ่ ทเี่ ด็กคิดหรอื สงสยั • กระตุ้นสัญชาตญาณช่างคิด ช่างสงสัย ช่างสังเกตของเด็ก โดยตั้งค�ำถามชวน ให้เดก็ คิดอย่างเหมาะสม • ตอ้ งสังเกตว่าเด็กมีความสนใจ สงสัย หรอื อยากรเู้ รอื่ งอะไร เพ่อื ตอบสนองและ กระตุ้นสัญชาตญาณช่างคิด ช่างสงสัย ช่างสังเกตของเด็ก ด้วยการพูดคุย แสดงความสนใจร่วมในส่ิงที่เด็กสนใจ และใช้ค�ำถามชวนให้เด็กคิดเพื่อเป็น การต่อยอดการเรยี นรู้ • เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดน้ ำ� สง่ิ ทค่ี ดิ หรอื สง่ิ ทสี่ งสยั ไปทดลองสรา้ งสรรค์ หรอื สรา้ งผลงาน • สรา้ งความคุน้ เคยกับการใช้ค�ำถาม 5W1H ใคร (who) /อะไร (what) /ทไี่ หน (where)/ เมอ่ื ไหร่ (when)/ ทำ� ไม (why) และ อยา่ งไร (how) และยังรวมถงึ อะไรจะเกิดข้ึนถ้า... (what if) การใช้ค�ำถามปลายเปิดเพื่อจะเป็นการกระตุ้น ให้เกดิ การคดิ หาคำ� ตอบทห่ี ลากหลาย • จัดกระบวนการให้เด็กได้เรียนรู้ความคิด/วิธีคิดท่ีหลากหลาย เช่น การระดม ความคิด การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือการจัดแสดงผลงานท่ีหลากหลาย ภายใตว้ ัสดุอุปกรณห์ รอื โจทย์เดยี วกัน • ตอ้ งจัดกิจกรรมและกระบวนการทเี่ หมาะกับวยั ของเด็ก • เปิดโอกาสให้เด็กส�ำรวจส่ิงต่างๆ และธรรมชาติรอบตัวโดยใช้ประสาทสัมผัส มากทสี่ ุด หลากหลายท่สี ดุ • เตรียมเครื่องมือสนับสนุนให้เด็กได้ส�ำรวจ เช่น เมื่อออกไปเดินดูต้นไม้ในสวน ครูอาจเตรียมแว่นขยาย พลัว่ เล็กๆ ถงุ เก็บตวั อยา่ งดิน ฯลฯ 99

• กระตุ้นให้เด็กสังเกตและเชื่อมโยงกับตัวเอง หรือประเมินประสบการณ์เดิม เช่น การวาดภาพดอกไม้ โดยออกไปหาดอกไมท้ ีค่ ดิ ว่าเป็นเหมือนตวั เองที่สุด แลว้ ให้ วาดพรอ้ มกบั อธบิ ายวา่ เพราะอะไรถงึ แทนความเปน็ “ตวั ฉนั ” ได้ เดก็ จะสนกุ สนาน กับการหา แต่ท่ีส�ำคัญคือ เด็กจะรู้จักตัวเองมากข้ึน เช่น เด็กคนหนึ่งบอกว่า “ทผ่ี มเลือก... เพราะวา่ ผมตัวใหญ่และวง่ิ ไม่ค่อยไหว” การท่ีเด็กไม่สามารถวางแผน ไม่สามารถควบคุม 2.2 ให้โอกาสเด็กได้เลอื ก ตัดสินใจ และวางแผนด้วย พฤติกรรม หรือแม้แต่เพ่งความต้ังใจ รวมทั้ง ตนเอง ไมส่ ามารถประเมนิ ตวั เองได้ ทง้ั หมดนจ้ี ะนำ� พาเดก็ ไป สู่การกระท�ำท่ีไม่เหมาะสมเพราะเขาจะไม่สามารถรู้ ส�ำคญั อย่างไร หรือเข้าใจได้ว่าผลที่ตามมาของพฤติกรรมนั้นๆ คือ การให้โอกาสเด็กได้เลือกและตัดสินใจ เป็นการกระตุ้น อะไร นอกจากน้ี เด็กที่ไมส่ ามารถควบคุมพฤติกรรม ตัวเองแม้จะพอรู้แล้วว่าถ้าประพฤติไม่ดีผลจะเป็น การคดิ เดก็ ไดว้ เิ คราะหไ์ ตรต่ รอง และฝกึ การคาดเดาผล แลว้ นำ� อย่างไร แต่ก็ยังท�ำไม่ถูกต้องอีกเพราะไม่สามารถจะ มาสรปุ เพอ่ื ตดั สนิ ใจ ประเมินผล หรือเรียนรู้จากการลงโทษได้ กจ็ ะทำ� ผดิ การทเี่ ดก็ ไดค้ ดิ ไดต้ ดั สนิ ใจบอ่ ยๆ ทำ� ใหเ้ ดก็ พฒั นาการลำ� ดบั ตอ่ ไปอกี ความคิด วิธีการที่น�ำมาสู่การตัดสินใจ ส่งผลให้กล้าคิด กล้าลงมือท�ำ อันเป็นต้นทางของความกล้าหาญ และมั่นใจ Philip David Zelazo, professor at the ในตนเอง University of Toronto การท่ีเด็กได้วางแผนด้วยตัวเอง จะท�ำให้เด็กได้ฝึกล�ำดับ ความคดิ ลำ� ดบั การจดั การ ควบคไู่ ปกบั การคาดเดาผลอยา่ งเปน็ ขั้นตอน เพอ่ื มุ่งสู่เปา้ หมาย การตัดสินใจบางคร้ังย่อมพบกับความผิดพลาด ซ่ึงจะเป็น บทเรยี นสำ� คญั ทท่ี ำ� ใหเ้ รยี นรทู้ จี่ ะกำ� หนดเปา้ หมาย คดิ วางแผน และลงมือท�ำอย่างเป็นระบบ เพ่ือหลีกเล่ียงความผิดพลาด เดมิ และไปสู่ผลตามเปา้ หมายทต่ี ้ังใจไว้ 100