Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.แนวทางการดำเนินโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล

2.แนวทางการดำเนินโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล

Published by จิตวิไล คําภา, 2019-07-31 00:19:40

Description: 2.แนวทางการดำเนินโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนนิ งาน โรงเรยี นมาตรฐานสากล World-Class Standard School ปรบั ปรุง พ.ศ.2561 สานักบริหารงานการมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

แนวทางการดาเนินงาน โรงเรยี นมาตรฐานสากล World-Class Standard School ปรบั ปรุง พ.ศ.2561 สานกั บริหารงานการมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารจากเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน สืบเนอื่ งจากนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทีม่ ีความมุง่ ม่ันตอ่ การพฒั นาคุณภาพ และ มาตรฐานการศึกษา โดยการยกระดบั โรงเรยี นชนั้ นาทม่ี คี วามพรอ้ มสู่โรงเรยี น มาตรฐานสากล เพอื่ ใหเ้ ปน็ โรงเรยี นทม่ี ี การบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพตามเกณฑ์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (OBECQA) และพัฒนา กา้ วสู่ มาตรฐาน คุณภาพแห่งชาติ (TQA) ต่อไป ส่งผลให้ โรงเรยี นมี การพฒั นาผเู้ รียน หลักสตู รและ กระบวนการจัดการเรยี นการสอน แหลง่ เรยี นรู้ สภาพแวดลอ้ มและการจัดการเรียนรูท้ ี่ เอ้อื อานวยใหผ้ เู้ รียนสามารถ เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ มีนิสยั ใฝ่เรียนรู้ มคี วามสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปญั หา ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ มีคณุ ธรรมนา ความรู้ รกั ความเปน็ ไทยและมีความสามารถกา้ วไกล เป็นพลโลกท่มี คี ุณภาพ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสานักบรหิ ารงานการมธั ยมศึกษา ตอนปลาย และคณะทางาน ได้ศึกษา เอกสารแนวทางกา รดาเนนิ งานโรงเรยี น มาตรฐานสากลฉบบั เดิม และสงั เคราะหเ์ อกสารท่เี กีย่ วข้อง ตลอดจนการจัดประชมุ รับฟงั ความคดิ เหน็ จากโรงเรยี นและผทู้ รงคุณวฒุ ิ เพอ่ื จัดทาเปน็ เอกสารแนวทางการดาเนินงาน โรงเรยี นมาตรฐานสากล ปรบั ปรงุ พ .ศ.2561 โดยมวี ัตถุประสงคใ์ ห้โรงเรยี นในโครงการ โรงเรียนมาตรฐานสากลได้เขา้ ใจในเจตนารมณ์ ขอบขา่ ยความสาเร็จ ทิศทาง และกรอบการ ดาเนินงาน ตลอดจนสามารถนาไปเปน็ แนวทางในการวางแผนพฒั นายกระดบั คุณภาพของ โรงเรียนสู่มาตรฐานสากล และขบั เคลือ่ นการดาเนนิ งาน ใหบ้ ังเกดิ ผลอย่างเป็นรูปธรรม ตาม แผนกลยุทธ์ สพฐ. ปี พ .ศ. 2561 – 2564 โดยมเี ป้าหมายพัฒนาโรงเรยี นในโครงการ โรงเรยี นมาตรฐานสากล จานวน 1,842 โรงเรยี น อันจะสง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ซึ่งถอื เป็นเป้าหมายปลายทางสาคัญของการจัดการศกึ ษาให้มคี ุณภาพตอ่ ไป สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน หวังเป็นอยา่ งยิ่งว่า เอกสาร แนวทาง การดาเนนิ งานโรงเรยี นมาตรฐานสากลฉบบั นี้จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและผมู้ สี ่วน เกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ย ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณคณะทางานและทุกทา่ นท่มี สี ่วนร่วมในการจัดทาเอกสาร ฉบับนใี้ หส้ าเร็จบรรลุตามเปา้ หมายเปน็ อย่างดี (นายบุญรักษ์ ยอดเพชร) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

สารจากผู้อานวยการสานกั บริหารงานการมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จากเจตนารมณ์ของโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลท่มี ีความมงุ่ หวงั และความคาดหมาย หลัก ๆ คอื ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้เป็นพลเมืองท่มี คี ณุ ภาพ อันหมายถึง เป็นคนดี เปน็ คนเกง่ เป็นคนท่สี ามารถดารงชวี ิตไดอ้ ย่างมีคุณคา่ และมีความสุข บนพน้ื ฐานของความเปน็ ไทย ภายใต้บ รบิ ท สังคมโลกใหม่ รวมท้ังเพิม่ ศกั ยภาพและความสามารถในระดบั สูงดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ การสือ่ สาร เพ่อื การพง่ึ ตนเองและเพื่อสมรรถนะในการแขง่ ขัน และโรงเรียนยกระดับคุณภาพสงู ข้นึ สู่มาตรฐานสากล ผ่านการรบั รองมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑร์ างวลั คณุ ภาพแหง่ สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน (OBECQA) และตามเกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแห่งชาติ (TQA) เป็น โรงเรียนยุคใหมท่ จ่ี ดั การศกึ ษาแบบองคร์ วม และบรู ณาการเช่ือมโยงกบั เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ศาสนา และการเมือง เพ่อื พฒั นาปร ะเทศอยา่ งยงั่ ยืน โดยมีภาคเี ครอื ขา่ ยการจัดการเรยี นรู้และรว่ ม พัฒนากับสถานศึกษาระดบั ทอ้ งถิน่ ระดบั ภมู ิภาค ระดบั ชาติ และนานาชาติ รวมทั้งเครือขา่ ยสนับสนุน จากสถาบนั อดุ มศกึ ษาและองคก์ รอืน่ ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนเป็นศนู ย์และร่วมเปน็ เครอื ข่ายพัฒนา ความรู้ให้กบั ประชาชนในชมุ ชนและบุคคลทั่วไป เพื่อเปน็ การสนองเจตนารมณ์ดังกล่าว สานักบรหิ ารงานการมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย คณะทางาน จึงได้ศกึ ษา สังเคราะห์เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง ตลอดจนการจัดประชุมรบั ฟังความคิดเหน็ จากโรงเรยี นและผู้ทรงคุณวุฒิ แลว้ จัด ทาเป็นเอกสาร แนวทางการดาเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ใหโ้ รงเรียนในโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากลไดเ้ ขา้ ใจในเจตนารมณ์ ขอบขา่ ยความสาเรจ็ ทิศทาง และกรอบการดาเนินงาน ตลอดจน สามารถนาไปเป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนายกระดับโรงเรียนสูม่ าตรฐานสากล และขับเคลื่อน การดาเนินงาน ให้ บงั เกดิ ผลอย่างเปน็ รู ปธรรมตามแผนกลยทุ ธ์ สพฐ. ปี พ.ศ. 2561 – 2564 ซ่ึงมี เปา้ หมายพฒั นาโรงเรียนในโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล จานวน 1,842 โรงเรียน ขอขอบคณุ คณะทางานและทุกท่านทีม่ สี ่วนรว่ มในการจดั ทา “แนวทางการดาเนินงาน โรงเรยี นมาตรฐานสากล” ฉบบั น้ใี ห้สาเรจ็ บรรลตุ ามเป้าหมายเป็นอยา่ งดี (นางสาวนงลกั ษณ์ เรือนทอง) ผู้อานวยการสานกั บริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

สารบญั เจตนารมณ์ กระบวนทศั นข์ องโรงเรยี นมาตรฐานสากล ความเชอ่ื รว่ มกนั 1 3 ตอนท่ี 1 ภาพความสาเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล 5 ภาพความสาเรจ็ โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) 14 16 คุณลักษณะผู้เรยี น 20 การจัดการเรยี นการสอนเทยี บเคยี งมาตรฐานสากล (World-Class Standard) การบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพ (Quality System Management) 22 ภารกจิ หลกั ของโรงเรียนในการพัฒนาและยกระดับดาเนนิ โครงการส่โู รงเรยี นมาตรฐานสากล 23 26 ตอนท่ี 2 แนวทางการจัดการศกึ ษา 27 แนวทางการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล 28 29 การจัดการเรยี นการสอนในโรงเรยี นมาตรฐานสากล 30 เกณฑ์การจบหลกั สตู ร 34 การวัดและประเมินผลเพื่อยกระดบั สสู่ ากล 52 54 ตอนท่ี 3 การบริหารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ 62 การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสู่โรงเรยี นมาตรฐานสากล 67 การบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ ตามเกณฑ์รางวลั คุณภาพแห่งสพฐ.OBECQA 68 การสร้างความพรอ้ มดา้ นปัจจัยพ้ืนฐานในโรงเรยี นมาตรฐานสากล 70 การสร้างเครอื ขา่ ยร่วมพัฒนาโรงเรียนมาตรฐานสากล 73 แนวทางการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และวิจยั พัฒนา 76 80 ตอนท่ี 4 การขับเคล่อื นการบริหารจัดการโรงเรียนมาตรฐานสากล 81 โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนมาตรฐานสากล 83 84 1. คณะกรรมการบริหารงานโรงเรยี นมาตรฐานสากล ระดบั ส่วนกลาง 85 2. คณะกรรมการเครือข่ายสง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการมัธยมศึกษาระดบั ภาค 87 3. คณะกรรมการเครือขา่ ยสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การมธั ยมศกึ ษาระดับกลมุ่ จงั หวดั 4. คณะกรรมการเครอื ข่ายส่งเสริมประสิทธภิ าพการจัดการมธั ยมศกึ ษาระดบั จงั หวัด ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานการยกระดับคุณภาพโรงเรยี นมาตรฐานสากล สพฐ. บทบาทสานกั บริหารงานการมธั ยมศึกษาตอนปลาย สพฐ. บทบาทสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา บทบาทสถานศกึ ษา การขับเคล่อื นการบรหิ ารจัดการโรงเรียนมาตรฐานสากล

เจตนารมณ์ ในปจั จบุ ันระบบเศรษฐกจิ ฐานความรู้ ความกา้ วหนา้ ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละการ ส่อื สาร ทาใหส้ งั คมโลกมกี ารล่นื ไหลระหว่างวฒั นธรรมมากขน้ึ การเมืองแบบเสรปี ระชาธิปไตยเปน็ ท่ี นยิ ม ยอมรับกนั ท่ัวโลก ประเทศไทยจะมีความสมั พันธก์ บั ชมุ ชนโลกบนพื้นฐานของศกั ดิศ์ รแี ละความ เทา่ เทยี มกนั จะมีความสามารถในการแข่งขันและรว่ มมือกับประชาคมโลกได้ตอ่ เมอื่ เรามีการปรับเปล่ียน แนวทางการจัดการศกึ ษา ให้สามารถพฒั นาคนและสงั คมไทย ให้มีสมรรถนะในการแขง่ ขัน มคี ณุ ภาพสูง ขน้ึ รู้จักเลอื กทจี่ ะรบั กระแสของวัฒนธรรมตา่ งชาติ ปลูกจิตสานึกและความภาคภูมใิ จในความเป็นคน ไทย รวมถงึ การกระจายอานาจสทู่ ้องถิน่ ในการจดั การศึกษา เพื่อพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรียนใหท้ ันต่อ สภาวการณโ์ ลก สพฐ.ได้จัดให้มโี ครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 โดยมีโรงเรียน เข้าร่วมโครงการท้ังสน้ิ 720 โรง ผลการดาเนนิ งานโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล จากรายงานการ วจิ ัย เร่ือง ผลการดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย สานกั บริหารงานการมัธยมศกึ ษา ตอนปลาย สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ปี พ.ศ.2560 พบวา่ 1 กระบวนการการบรหิ ารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ตามเกณฑ์รางวัล คณุ ภาพแห่งสานกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (OBECQA) พบวา่ การดาเนนิ การตามแนวทางการบริหารจัดการอย่ใู น ระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาเปน็ ราย หมวดพบว่า หมวดท่มี ีคา่ เฉลี่ยการดาเนนิ การสงู สดุ คือ หมวด 2 กลยทุ ธ์ และหมวดท่ีมี ค่าเฉล่ียการดาเนินการน้อยที่สดุ คอื หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์และการจดั การ ความรู้ 2 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเทยี บเคียงมาตรฐานสากล พบว่า ในภาพรวมครูโรงเรยี นมาตรฐานสากล มีการปฏบิ ัติดา้ นการเรียนการสอน อยูใ่ นระดบั มาก เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายด้านพบวา่ 2.1 ด้านคณุ ภาพของครู มกี ารปฏิบัติอยูใ่ นระดบั ปานกลาง 2.2. การจัดการเรยี นการสอนสาระ การศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study :IS) มีการปฏิบัตอิ ยูใ่ นระดบั มาก 2.3 ดา้ นคณุ ภาพวิชาการ มกี ารปฏบิ ัตอิ ยู่ในระดับมาก 2.4 ดา้ นการวิจยั ระดับสถานศึกษา มีการปฏิบัติอยูใ่ นระดับมาก

3 คณุ ลกั ษณะของนักเรยี นทีเ่ น้นความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ สอ่ื สารสองภาษา ล้าหน้าทางความคดิ ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก พบว่า 3.1 ด้านความเปน็ เลศิ วิชาการ ในภาพรวมนักเรยี นโรงเรยี นมาตรฐานสากล ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 และมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 มีค่าเฉลี่ย ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET สงู กวา่ คา่ เฉลีย่ ระดับชาติทุกรายวิชาและทุกช้ันปี 3.2 ด้านสือ่ สารสองภาษา ในภาพรวมนักเรียนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 มัธยมศึกษาปที ่ี 6 มคี ณุ ภาพอยู่ในระดับปานกลาง ทง้ั น้อี าจ เน่อื งมาจาก โรงเรียนประสบปัญหาในด้านครภู าษาองั กฤษโดยเฉพาะครูชาวต่างชาติ คาใหส้ มั ภาษณ์ของครทู ก่ี ล่าวว่า “ครภู าษาองั กฤษท่เี ป็นชาวตา่ งชาติ โดยเฉพาะใน กลุม่ ท่ีเป็น Native Speaker มีการเปล่ยี นบอ่ ย เนื่องจากมหี น่วยงานที่ใหเ้ งินเดอื นท่ี สงู กวา่ ทาใหก้ ารเรียนการสอนภาษาอังกฤษไมต่ ่อเน่อื ง” 3.3 ดา้ นลา้ หน้าทางความคดิ ในภาพรวมนกั เรียนระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 มคี ุณภาพอยใู่ นระดบั ปานกลาง อาจเนอื่ งมาจาก โรงเรียนยังประสบปญั หาดา้ นครทู ่ียงั มีเจตคติและทักษะในการจดั การเรยี นการสอนที่ ส่งเสริมทกั ษะการคิดของนกั เรยี น ซง่ึ สอดคลอ้ งกับข้อมลู การสัมภาษณท์ ค่ี รกู ลา่ วว่า “การพฒั นาทกั ษะกระบวนการคิดของนักเรียน มีความจาเปน็ ต้องปรับเปล่ยี น เจตคติ และพฤติกรรมการสอนของครู ปจั จุบันครูสว่ นหนึง่ ยงั เนน้ การสอนทแี่ บบ Passive Learning มากกวา่ การสอนแบบ Active Learning” จงึ ทาให้การพัฒนาทกั ษะ กระบวนการคิดของนักเรยี นยงั อยูเ่ พียงระดบั ปานกลาง 3.4 ดา้ นผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ ในภาพรวมนักเรยี นระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 มัธยมศึกษาปีที่ 3 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ปานกลาง อาจ เนื่องมาจาก การพฒั นาทกั ษะการสรา้ งหรือผลติ ผลงาน มีความจาเปน็ ตอ้ งฝึกทกั ษะ กระบวนการคดิ มาเป็นฐานกอ่ น จงึ จะสามารถตอ่ ยอดมาเปน็ การคิดสรา้ งสรรค์ผลงาน หรอื ช้นิ งานได้ ซงึ่ กส็ อดคล้องกับผลการศกึ ษา ในด้านการพฒั นาทักษะการคดิ กย็ ัง อยใู่ นระดับเพียงปานกลาง จงึ ส่งผลใหก้ ารพฒั นาทักษะการสร้างสรรคผ์ ลงานจงึ มีผล การศึกษาอยูใ่ นระดบั ปานกลางด้วย 3.5 ดา้ นรว่ มกนั รับผิดชอบตอ่ สังคมโลก ในภาพรวมนักเรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษา ปที ี่ 6 มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 มีคณุ ภาพอยใู่ นระดับปานกลาง อาจ เนือ่ งมาจากโรงเรยี นสว่ นใหญ่ยังให้ความสนใจกับตัวช้ีวัดในด้านวิชาการมากกวา่ ดา้ น กิจกรรม จงึ อาจละเลยไม่ค่อยให้ความสาคัญกบั การพัฒนาคณุ ลกั ษณะในเรอื่ งนี้ เท่าที่ควร

จะเหน็ ได้ว่าโรงเรยี นทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล มกี ารพฒั นาการบริหาร จัดการดว้ ยระบบคุณภาพ มกี ารพฒั นาการเรยี นการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล และสง่ ผลให้ นกั เรยี นมีคณุ ลกั ษณะเป็นพลโลก ซึง่ เป็นการแสดงถงึ ความก้าวหน้าในการดาเนินงานโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากลตลอดระยะเวลาทผ่ี ่านมา กา้ วต่อไป เรามีเจตนารมณ์ม่งุ มั่นทีจ่ ะบรรลุความคาดหวังสาคญั ดงั นี้ 1 ผเู้ รยี นได้รบั การพฒั นาใหเ้ ปน็ พลเมอื งท่ีมี 4 ผู้บรหิ าร ครู ศกึ ษานเิ ทศก์ และ คุณภาพ อนั หมายถงึ เปน็ คนดี เป็นคนเกง่ บคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ บั การ เปน็ คนทสี่ ามารถดารงชวี ิตไดอ้ ย่างมีคณุ ค่าและ พฒั นาดว้ ยวิธีการที่เหมาะสม มคี วามสขุ บนพื้นฐานของความเปน็ ไทย ภายใต้บริบทสงั คม หลากหลายอย่างทว่ั ถงึ และต่อเน่ือง เพือ่ โลกใหม่ รวมท้ังเพม่ิ ศกั ยภาพและ ความสามารถในระดบั สูง เสริมสร้างสมรรถนะการเรยี นรู้ และเพมิ่ พูน ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการสอ่ื สาร เพอ่ื การ ประสทิ ธภิ าพก ารปฏิบัตงิ านส่คู วามเปน็ เลิศใน พงึ่ ตนเองและเพ่ือสมรรถนะในการแขง่ ขนั ระดับสากล ตลอดจนเพื่อจรรโลงความพงึ พอใจ และความผกู พนั ต่อวิชาชีพอย่างแน่นแฟน้ โรงเรยี นยกระดับคณุ ภาพสงู ขนึ้ สูม่ าตรฐาน สากล ผ่านการ 2 รบั รองมาตรฐานคณุ ภาพตามเกณฑ์รางวลั โรงเรยี นมีภาคเี ครอื ข่ายการจัด การเรยี นร้แู ละ คณุ ภาพแห่งสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน (OBECQA) และตามเกณฑ์รางวัล 5 ร่วมพฒั นากบั สถานศึกษาระดบั คุณภาพแห่งชาติ (TQA) เป็นโรงเรียนยุคใหมท่ จ่ี ดั การศึกษา ทอ้ งถน่ิ ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระหว่าง แบบองค์รวม และบูรณาการเชือ่ มโยงกับเศรษฐกิจ สังคม ประเทศ รวมท้งั เครอื ข่ายสนับสนุนจาก วัฒนธรรม ศาสนา และการเมอื ง เพอื่ พัฒนาประเทศอย่าง สถาบันอดุ มศึกษาและองคก์ รอื่น ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง ยง่ั ยนื ตลอดจนเป็นศูนยแ์ ละรว่ มเปน็ เครือข่ายพัฒนา ความร้ใู ห้กบั ประชาชนในชมุ ชนและบคุ คลทัว่ ไป โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร รูปแบบและวิธกี ารจดั กระบวนการ 3 เรยี นรู้ทม่ี ่งุ เน้นความแตกตา่ งตามศกั ยภาพของ ผเู้ รยี น โดยคานงึ ถงึ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั ท้ังน้ี จาเป็นต้องมีสื่ออุปกรณ์ เคร่ืองมือ สือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละการส่อื สารทีเ่ หมาะสม แล ะปรับ ประยกุ ตใ์ ช้ได้สมประโยชน์ ทนั ตอ่ ความเคลื่อนไหว เปล่ียนแปลงของสถานการณโ์ ลก

กระบวนทศั นข์ องโรงเรียนมาตรฐานสากล 1 โรงเรียนมาตรฐานสากลมหี ลายรูปแบบ Multi Model-Benchmarking เป็นตัวของตวั เอง พัฒนาศักยภาพขององค์กร เรง่ ใหเ้ กดิ ความพรอ้ ม โดย ระดมทรพั ยากรรอบด้านจากแบบอยา่ งความสาเร็จทหี่ ลากหลาย 2 ความใฝร่ ู้ คอื วิถไี ปสู่ ความรู้แจ้ง Spirit of Enlightenment สรา้ งวถิ แี หง่ การรู้แจ้ง สรา้ งแรงกระตุ้นใหม่ แสดงความมหัศจรรย์และ เป้าหมายของสาระวิชา ปริมาณความรู้ คือ ความเพลดิ เพลินในการแสวงหา 3 โรงเรียนสอนวิถีแหง่ ภูมปิ ัญญา Multi Intelligence เดก็ มี ภมู ิ-ปัญญา-ความสามารถต่างกัน ความถนดั เป็นสงิ่ ท่ี เพ่มิ ศักยภาพ ได้ รู้จักและรูใ้ จ ใช้กระบวนการคดั กรองในระบบดแู ลชว่ ยเหลอื เดก็ เปน็ รายบคุ คล เพ่ือสง่ เสรมิ พหปุ ญั ญาของเดก็ ท่ีแตกตา่ งกัน 4 เราคอื ประชาคมโลก Global Community & Responsibility ความใฝ่รู้ไมม่ พี รมแดนในชมุ ชนโลก สมั พันธภาพและความเปน็ เครือญาติ พ่ีนอ้ ง นน่ั คือความรบั ผดิ ชอบร่วมกัน ของมวลมนุษยชาตติ ่อประชาคม โลก 5 โรงเรียนประชารฐั ภาครัฐและเอกชน Synergy-community School การจัดการศกึ ษาเกิดจากความรว่ มมอื ของชมุ ชน เครือขา่ ยพนั ธกจิ ไปสภู่ มู ภิ าค และสังคมโลก

ตอนที่ 1 ภาพความสาเรจ็ โรงเรียนมาตรฐานสากล

2| WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) 1เปน็ เลศิ วิชาการ 5รว่ มกนั รบั ผดิ ชอบ ผเู้ รียนมศี กั ยภาพ 2ส่ือสาร 2 ภาษา ตอ่ สังคมโลก เปน็ พลโลก (World Citizen) 4ผลติ งานอย่าง 3ล้าหน้าทางความคิด สร้างสรรค์ การจัดการเรยี นการ การบรหิ ารจัดการ สอนเทียบเคยี ง ดว้ ยระบบคณุ ภาพ มาตรฐานสากล (Quality System (World-Class Standard) Management) ภาพความสาเรจ็ โรงเรียนมาตรฐานสากล

WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL |3 ภาพแห่งความสาเร็จ การ“ จัดการศกึ ษาต้องเป็นไปเพอ่ื โรงเรยี นมาตรฐานสากล พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่สี มบูรณ์ ท้งั รา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา ความรู้ (World-Class Standard School) และคณุ ธรรมมีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยู่ รว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้อย่างมีความสุข” มาตรา 6 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542(ทีแ่ ก้ไขเพิ่มเตมิ พ.ศ.2545) 1 ลกั ษณะการเป็นมาตรฐานสากล  หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเทยี บเคียงมาตรฐานสากล  การบริหารจัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพ 2 วัตถปุ ระสงคโ์ รงเรียนมาตรฐานสากล  เพ่ือพัฒนาผ้เู รียนให้มศี ักยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen)  เพื่อยกระดับการจัดการเรยี นการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (World-Class Standard)  เพ่อื ยกระดับการบรหิ ารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ (Quality System Management) 3 คุณลกั ษณะโรงเรยี นมาตรฐานสากล  ผูเ้ รียนมีศกั ยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) (หนา้ 5-13)  จดั การเรียนการสอนเทยี บเคียงมาตรฐานสากล (World-Class Standard) (หนา้ 14-15)  บริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ (Quality System Management) (หนา้ 16-19) ภาพความสาเร็จโรงเรยี นมาตรฐานสากล

4| WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL ความสาเรจ็ ของการดาเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล ผลการดาเนินงานท่ีเป็นเลศิ เป็นเลิศวิชาการ ส่ือสารสองภาษา ลา้ หน้าทางความคิด ผู้เรียนมศี กั ยภาพ เปน็ พลโลก ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ ร่วมกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก ผู้เรียน หลักสตู รและกิจกรรมการ ครู เรียนการสอน การบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคุณภาพตามเกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) การบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพตามเกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแห่ง สพฐ. (Office of The Basic Education Commission Quality Award: OBECQA) ระดบั คุณภาพโรงเรียน (School Quality Award: ScQA) ภาพความสาเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล

WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL |5 คุณลักษณะผเู้ รียน ผู้เรยี นมศี กั ยภาพเปน็ พลโลก (World Citizen) ด้านคณุ ลักษณะของผู้เรียน 1. เปน็ เลศิ วิชาการ 2. สอื่ สารไดอ้ ย่างนอ้ ย 2 ภาษา 3. ล้าหนา้ ทางความคดิ 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์ 5. ร่วมกันรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโลก ด้านที่ 1 คุณภาพผ้เู รยี นมลี ักษณะ ดงั นี้ 1 เปน็ เลิศวิชาการ 1.1 นกั เรียนชน้ั ป.6 และ ม.3 มีคะแนนผลการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ สงู กว่าคะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ ตั้งแตร่ อ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป 1.2 นกั เรยี นชนั้ ม.6 มคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและภาษาต่างประเทศ สงู กวา่ คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ ต้ังแต่ร้อยละ 50 ขึน้ ไป ภาพความสาเรจ็ โรงเรียนมาตรฐานสากล

6| WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL 2 สอื่ สารได้อยา่ งน้อย 2 ภาษา 2.1 นักเรียนชัน้ ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 ได้เขา้ รว่ มให้แสดง หรือ ไดร้ ับรางวลั เกีย่ วกบั ดา้ นการฟงั /พดู /อา่ น/เขียนภาษาอังกฤษ และภาษาไทย รูปแบบต่างๆ ในงานท่ีจดั โดยหนว่ ยงานภายนอก 2.2 นกั เรียนชั้น ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มผี ลงานการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ/บทความเปน็ ภาษาอังกฤษและภาษาไทย ตีพิมพ์เผยแพร่ในเอกสารหรือ สอ่ื ออนไลน์วิชาการทจ่ี ดั ท้าโดยโรงเรียน หรอื หน่วยงานภายนอก 2.3 นกั เรียนชั้น ป.4 - 6 และ ม.1 - 3 ท่เี ขา้ สอบวัดความสามารถดา้ น ภาษาอังกฤษจากแบบทดสอบมาตรฐาน CEFR ทมี่ คี ะแนนผลการทดสอบได้ มาตรฐานของ CEFR 2.4 นักเรยี นชั้น ม. 6 ของโรงเรียนมาตรฐานสากลท่ีมโี ครงการคดั เลอื กเข้า สอบวดั ความสามารถ ด้านภาษาอังกฤษ จากแบบทดสอบมาตรฐาน เช่น TOEFL PB, TOEFL CBT, TOEFL IBT, IELTS, TOEIC หรืออ่นื ๆ มีคะแนนผลการทดสอบ เทยี บคะแนน TOELF IBT ไมต่ ่า้ กวา่ รอ้ ยละ 50 2.5 นกั เรียนชน้ั ป.6, ม.3 และม.6 ที่เรียนภาษาต่างประเทศภาษาท่สี อง มีทักษะการส่ือสาร ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของภาษานนั้ ๆ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3 ล้าหน้าทางความคดิ 3.1 นกั เรียนชั้น ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มีผลงานการศกึ ษา คน้ คว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ด้าน ICT , IoT, M2M ทไี่ ดเ้ ขา้ รว่ มหรอื แสดง/ประกวด/แข่งขัน/ไดร้ บั รางวัลจากงานท่ีจัดโดย หน่วยงานภายนอก 3.2 นกั เรยี นชั้น ป.6 และ ม.3 มคี ะแนนการทดสอบดา้ นการเขยี นและ การอ่านภาษาไทยจากเครอื่ งมือกลาง ตั้งแตร่ ้อยละ 50 ขน้ึ ไป 3.3 นกั เรียนช้ัน ป.6 และ ม.3 มคี ะแนนการทดสอบด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จากเคร่ืองมือกลาง ต้ังแตร่ อ้ ยละ 50 ข้ึนไป 3.4 นักเรียนโรงเรยี นมาตรฐานสากลทไ่ี ดร้ บั การสุ่มเขา้ สอบโครงการ PISA มคี ะแนนการสอบ ดา้ นการอา่ น ด้านคณติ ศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์ มคี ะแนนเฉลย่ี ไม่ตา้่ กว่าคะแนนเฉลยี่ ของนกั เรียนระดับประเทศทีเ่ ขา้ ร่วม โครงการ PISA ในปเี ดยี วกนั 3.5 นกั เรียนโรงเรยี นมาตรฐานสากลที่ไดร้ ับการสุ่มเข้าสอบโครงการ TIMSS มีคะแนนผลการสอบวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ ชั้น ป.4 และ ม. 2 มคี ะแนนเฉลย่ี ไม่ต้า่ กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของนักเรียนระดับประเทศทเ่ี ขา้ รว่ ม โครงการ TIMSS ในปเี ดยี วกัน ภาพความสาเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล

WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL |7 4 ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 4.1 นกั เรียนชัน้ ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มผี ลงานจาก การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทุกดา้ น ทั้งด้านภาษา คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ศลิ ปะ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่ไดร้ บั การประเมินจาก คร/ู ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ วา่ เป็นผลงานทม่ี ีคณุ ภาพในระดับดี จากงานแสดงผลงาน ประจ้าปที ีโ่ รงเรยี นจัดขึน้ 4.2 นักเรียนชน้ั ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มีผลงานจาก การศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study) ทกุ ด้าน ทั้งดา้ นภาษา คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สขุ ศึกษา พลศกึ ษา ศิลปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี ทไ่ี ด้เข้าร่วมแสดง/ ประกวด/แขง่ ขัน หรอื ไดร้ บั รางวัลจากหน่วยงานภายนอกในระดับตา่ งๆ 4.3 นักเรยี นชน้ั ป.4 - 6 ม.1-3 และ ม.4-6 มผี ลงานที่จัดท้าขน้ึ จาก ผลงานการศกึ ษาด้วยตนเอง (Independent Study) ที่ได้รบั การตพี ิมพ์และ เผยแพร่ผา่ นสอ่ื ดิจติ อลอยา่ งนอ้ ย 2 แห่ง 4.4 นกั เรียนชน้ั ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มผี ลงานท่ีเป็น นวตั กรรมทางวิชาการหรอื วิชาชพี ไดจ้ ากการออกแบบ ประดษิ ฐ์และ สร้างสรรคผ์ ลงานทางวชิ าการหรอื วชิ าชพี 5 รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสังคมโลก 5.1 นักเรียนช้นั ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มผี ลงาน การศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ท่เี กี่ยวกับการทา้ กิจกรรมบ้าเพ็ญประโยชน์ ด้านส่ิงแวดลอ้ ม วิถีชวี ติ ศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกจิ และสงั คม ท่ที า้ ขึ้นด้วย ความรเิ ริ่มของตนเอง ไดร้ บั การประเมินในระดบั ดีจากครู/ผทู้ รงคุณวฒุ ิจาก การแสดงผลงานทีโ่ รงเรยี นจัดขน้ึ 5.2 นกั เรยี นชน้ั ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มีผลงาน การศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ที่เก่ียวกบั การท้ากจิ กรรมบา้ เพ็ญประโยชน์ ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม วถิ ชี วี ติ ศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกจิ และสังคม ทีท่ า้ ขน้ึ ดว้ ย ความริเร่มิ ของตนเอง ท่ีได้เขา้ ร่วมหรอื คดั เลอื กร่วมแสดง/ประกวด/แขง่ ขัน หรือไดร้ ับรางวลั จากหนว่ ยงานภายนอก 5.3 นกั เรียนชน้ั ป.4 – 6 ม.1 – 3 และ ม.4 – 6 มีผลงานการศึกษา ค้นควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study) ทเี่ กี่ยวกบั กลุ่มประเทศอาเซียน หรือประเทศอ่นื ที่นักเรยี นสนใจทีไ่ ดเ้ ขา้ ร่วมหรือรบั คัดเลอื กให้เข้ารว่ ม แสดง/ประกวด/แข่งขนั หรอื ได้รบั รางวัลจากหน่วยงานภายนอก ภาพความสาเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล

8| WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL ตวั ช้ีวัดคณุ ลกั ษณะผู้เรยี น ระดับประถมศกึ ษา 1 เป็นเลศิ วชิ าการ ข้นั 1.1 ร้อยละของนกั เรยี นชั้น ป.6 ที่มคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ พ้ืนฐาน (O-NET) กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ สูง กว่าคะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ ต้ังแต่ร้อยละ 50 ข้ึนไป 2 สื่อสารได้อยา่ งนอ้ ย 2 ภาษา 2.1 รอ้ ยละของนกั เรยี นชัน้ ป.4 - 6 ไดเ้ ขา้ ร่วมใหแ้ สดงหรอื ไดร้ บั รางวลั เก่ียวกับด้านการฟัง/ พูด/อ่าน/เขยี นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ รูปแบบตา่ ง ๆ ในงานทจี่ ัดโดยหน่วยงานภายนอก 2.2 รอ้ ยละของนกั เรยี นชั้น ป.4 - 6 มีผลงานการเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ/บทความเป็น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตีพิมพเ์ ผยแพร่ในเอกสารหรือสือ่ ออนไลน์ทางวชิ าการท่ีจดั ท้าโดย โรงเรียนหรอื หนว่ ยงานอน่ื 2.3 รอ้ ยละของนกั เรยี นช้นั ป.4 – 6 ที่เขา้ สอบวดั ความสามารถดา้ นภาษาองั กฤษจาก แบบทดสอบมาตรฐาน CEFR ท่มี ีคะแนนผลการทดสอบได้ตามมาตรฐานของ CEFR 2.4 รอ้ ยละของนักเรียนชนั้ ป.6 ทเ่ี รียนภาษาต่างประเทศภาษาทส่ี องเพอ่ื การส่อื สาร รอ้ ย ละ 80 ข้นึ ไป 3 ล้าหน้าทางความคดิ 3.1 ร้อยละของนักเรียนช้นั ป.4 – 6 ที่มีผลงานการศกึ ษาดว้ ยตนเอง (Independent Study) ดา้ น ICT, IoT, M2M ทไ่ี ด้เขา้ รว่ มหรอื แสดง/ประกวด/แขง่ ขันและหรือได้รับรางวลั จากงานท่จี ดั โดยหน่วยงานภายนอก 3.2 ร้อยละของนักเรียนช้นั ป.6 ที่มีคะแนนการทดสอบดา้ นการเขียนและการอ่านภาษาไทย จากเครื่องมือกลาง ตงั้ แต่ร้อยละ 50 ข้ึนไป 3.3 รอ้ ยละของนกั เรยี นชน้ั ป.6 ท่ีมีคะแนนการทดสอบด้านคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ จาก เครือ่ งมอื กลาง ตง้ั แต่รอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป 3.4 นกั เรียนชน้ั ป.4 โรงเรียนมาตรฐานสากลทไี่ ดร้ ับการสมุ่ เขา้ สอบโครงการ TIMSS มีคะแนน การผลการสอบวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ เฉลีย่ ไมต่ า่้ กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของนกั เรียน ระดับประเทศท่เี ขา้ ร่วมโครงการ TIMSS ในปเี ดยี วกัน ภาพความสาเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล

WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL |9 ระดับประถมศึกษา 4 ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์ 4.1 ร้อยละของผลงานจากการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทกุ ดา้ น ทง้ั ดา้ นภาษา คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สขุ ศึกษาพลศกึ ษา ศลิ ปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี ของนกั เรยี นช้ัน ป.4 – 6 ท่ไี ด้รับการประเมนิ จากคร/ู ผทู้ รงคณุ วุฒิ ว่าเป็นผลงานที่มคี ณุ ภาพในระดับดี จากงานแสดงผลงานประจ้าปีทโ่ี รงเรยี นจัดขนึ้ 4.2 รอ้ ยละของผลงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study) ทุกด้าน ทง้ั ด้าน ภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาพลศกึ ษา ศิลปะ และ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ของนักเรียนชนั้ ป.4 – 6 ที่ได้รบั การประเมนิ จากคร/ู ผ้ทู รงคุณวฒุ วิ า่ เป็นผลงานทีม่ คี ุณภาพในระดบั ตา่ ง ๆ จากหนว่ ยงานภายนอก 4.3 ร้อยละของนกั เรยี นชนั้ ป.4 - 6 ท่ีมีผลงาน ท่ีจัดทา้ ขึ้นจากผลงานการศึกษาดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทไ่ี ด้รับการตพี มิ พเ์ ผยแพรผ่ ่านสอ่ื ดจิ ิตอล อย่างนอ้ ย 2 แหง่ 4.4 ร้อยละของผลงานนักเรยี นชนั้ ป.4 - 6 ทเี่ ปน็ นวตั กรรมทางวชิ าการหรอื วชิ าชพี ได้จากการ ออกแบบ ประดิษฐ์ และสร้างสรรค์ 5 รว่ มกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก 5.1 รอ้ ยละของจา้ นวนผลงานการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ทีเ่ ก่ยี วกบั การท้ากจิ กรรมบา้ เพญ็ ประโยชนด์ ้านสิ่งแวดลอ้ ม วิถชี วี ิต ศลิ ปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคมของ นักเรียนชั้น ป.4 - 6 ทนี่ กั เรยี นท้าขึ้นด้วยความริเรม่ิ ของตนเอง ได้รบั การประเมนิ ในระดบั ดีจากคร/ู ผทู้ รงคณุ วุฒจิ ากการแสดงผลงานท่โี รงเรียนจดั ขึ้น 5.2 รอ้ ยละของผลงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study) ที่เก่ยี วกบั การ ทา้ กิจกรรมบ้าเพญ็ ประโยชนด์ ้านสง่ิ แวดลอ้ ม วิถีชีวติ ศิลปะ วฒั นธรรม เศรษฐกจิ และสังคมของ นกั เรียนช้ัน ป.4 – 6 ท่ีได้ทา้ ขึน้ ด้วยความริเริม่ ของตนเอง ได้เข้าร่วมหรือคัดเลอื กรว่ มแสดง/ประกวด/ แขง่ ขนั หรือได้รบั รางวลั จากหนว่ ยงานภายนอก 5.3 ร้อยละของผลงานการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทเ่ี ก่ยี วกบั กลุ่ม ประเทศอาเซยี น หรือประเทศอื่นทน่ี ักเรียนสนใจ ของนักเรียนชนั้ ป.4 – 6 ได้เข้ารว่ มหรอื รบั คดั เลือก ใหเ้ ขา้ รว่ มแสดง/ประกวด/แข่งขนั หรือไดร้ บั รางวัลจากหน่วยงานภายนอก ภาพความสาเรจ็ โรงเรียนมาตรฐานสากล

10 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1 เปน็ เลิศวชิ าการ 1.1 ร้อยละของนักเรียนชั้น ม.3 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ สูงกวา่ คะแนน เฉลีย่ ระดบั ประเทศ ต้ังแต่รอ้ ยละ 50 ข้ึนไป 2 สอ่ื สารไดอ้ ยา่ งน้อย 2 ภาษา 2.1 ร้อยละของนกั เรยี นชัน้ ม.1–3 ได้เข้ารว่ มใหแ้ สดง หรือไดร้ ับรางวลั เก่ียวกับด้านการฟงั / พูด/อ่าน/เขยี นภาษาอังกฤษ และภาษาไทย รูปแบบตา่ งๆ ในงานทีจ่ ดั โดยหนว่ ยงานภายนอก 2.2 รอ้ ยละของนักเรียนช้ัน ม.1–3 ท่ีมีผลงานการเขียนรายงานเชิงวชิ าการ/บทความ เปน็ ภาษาองั กฤษและภาษาไทย ตพี ิมพ์เผยแพร่ในเอกสารส่ือออนไลนท์ างวชิ าการท่ีจดั ทา้ โดยโรงเรยี น หรอื เขตพน้ื ท่ีการศึกษาหรอื หน่วยงานภายนอก 2.3 รอ้ ยละของนกั เรยี นชน้ั ม.1-3 ที่เข้าสอบวัดความสามารถดา้ นภาษาอังกฤษจากแบบทดสอบ มาตรฐาน CEFR ทมี่ คี ะแนนผลการทดสอบไดต้ ามมาตรฐานของ CEFR 2.4 รอ้ ยละของนกั เรียนชนั้ ม.3 ที่เรยี นภาษาต่างประเทศภาษาทส่ี อง มีทักษะการส่อื สารได้ ตามเกณฑ์มาตรฐานของภาษานัน้ ๆ รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป 3 ล้าหนา้ ทางความคิด 3.1 รอ้ ยละของนักเรยี นชั้น ม.1–3 ที่มีผลงานการศกึ ษาด้วยตนเอง (Independent Study) ดา้ น ICT,IoT, M2M ที่ไดเ้ ข้าร่วมหรือแสดง/ประกวด/แข่งขันหรือไดร้ ับรางวลั จากงานทีจ่ ัดโดย หน่วยงานภายนอก 3.2 ร้อยละของนักเรยี นชนั้ ม.3 ท่ีมีคะแนนการทดสอบด้านการเขยี นและการอา่ นภาษาไทยจาก เครือ่ งมือกลาง ต้ังแต่ร้อยละ 50 ขน้ึ ไป 3.3 ร้อยละของนกั เรียนช้ัน ม.3 ที่มคี ะแนนการทดสอบด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตรจ์ าก เคร่อื งมอื กลาง ตัง้ แต่ร้อยละ 50 ขึน้ ไป 3.4 ร้อยละของนักเรยี นโรงเรยี นมาตรฐานสากลที่ไดร้ บั การส่มุ เขา้ สอบโครงการ PISA มีคะแนนการสอบ ดา้ นการอ่าน ดา้ นคณิตศาสตรแ์ ละดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เฉล่ยี ไม่ต่้ากวา่ คะแนนเฉลีย่ ของนกั เรียนระดับประเทศทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ PISA ในปเี ดียวกัน 3.5 รอ้ ยละของนักเรยี นชั้น ม.2 โรงเรียนมาตรฐานสากลท่ไี ด้รบั การส่มุ เขา้ สอบโครงการ TIMSS มคี ะแนนการผลการสอบวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ เฉลีย่ ไม่ต้า่ กวา่ คะแนนเฉลย่ี ของนักเรยี นระดับประเทศทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ TIMSS ในปเี ดยี วกัน ภาพความสาเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 11 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 4 ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์ 4.1 รอ้ ยละของผลงานนกั เรียนช้นั ม.1–3 จากการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทุกด้าน ทั้งดา้ นภาษา คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สขุ ศึกษา พลศึกษา ศิลปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี ทไี่ ด้รบั การประเมนิ จากคร/ู ผู้ทรงคณุ วุฒวิ า่ เปน็ ผลงานท่ีมีคณุ ภาพในระดบั ดี จากงานแสดงผลงานประจ้าปีที่โรงเรยี นจดั ข้นึ 4.2 ร้อยละของผลงานนักเรียนช้นั ม.1–3 จากการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทกุ ด้าน ท้ังด้านภาษา คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษา พลศกึ ษา ศิลปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี ทไี่ ดเ้ ข้ารว่ มแสดง/ประกวด/แข่งขัน หรอื ได้รบั รางวลั จากหน่วยงานภายนอกในระดับตา่ งๆ 4.3 ร้อยละของผลงานนกั เรยี นชัน้ ม.1–3 ท่มี ีผลงานจดั ท้าขน้ึ จากผลงานการศึกษาดว้ ยตนเอง (Independent Study) ท่ีไดร้ ับการตพี ิมพเ์ ผยแพร่ผ่านสือ่ ดิจิตอล อย่างน้อย 2 แห่ง 4.4 รอ้ ยละของผลงานนักเรียนชน้ั ม.1–3 ทีเ่ ปน็ นวตั กรรมทางวชิ าการหรอื วิชาชพี ไดจ้ าก การออกแบบ ประดษิ ฐ์ และสร้างสรรค์ 5 ร่วมกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก 5.1 รอ้ ยละของจา้ นวนผลงานการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study) ท่เี ก่ยี วกบั การท้ากิจกรรมบ้าเพญ็ ประโยชนด์ ้านสงิ่ แวดลอ้ ม วถิ ีชีวติ ศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคมของ นักเรยี นชั้น ม.1–3 ท่ีนกั เรยี นทา้ ขึน้ ดว้ ยความริเริ่มของตนเอง ได้รับการประเมินในระดับดจี ากคร/ู ผูท้ รงคุณวฒุ จิ ากการแสดงผลงานทโี่ รงเรยี นจัดขน้ึ 5.2 รอ้ ยละของจา้ นวนผลงานการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทเ่ี กยี่ วกับ การทา้ กิจกรรมบ้าเพ็ญประโยชนด์ า้ นสิง่ แวดลอ้ ม วิถีชวี ติ ศลิ ปะ วฒั นธรรม เศรษฐกจิ และสงั คมของ นกั เรียนชนั้ ม.1–3 ท่ีไดท้ ้าข้ึนด้วยความรเิ ร่ิมของตนเอง ไดเ้ ข้าร่วมหรอื คดั เลอื กร่วมแสดง/ประกวด/ แขง่ ขัน หรอื ได้รับรางวลั จากหนว่ ยงานภายนอก 5.3 ร้อยละของผลงานการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทีเ่ กี่ยวกับกลุม่ ประเทศอาเซยี น หรอื ประเทศอืน่ ทนี่ ักเรยี นสนใจ ของนักเรยี นชัน้ ม.1–ม.3 ได้เข้ารว่ มหรือรบั คัดเลอื ก ใหเ้ ขา้ รว่ มแสดง/ประกวด/แข่งขนั หรอื ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก ภาพความสาเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล

12 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1 เป็นเลิศวิชาการ 1.1 ร้อยละของนักเรียนชัน้ ม.6 ที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สูงกวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ ร้อยละ 50 ขนึ้ ไป 2 สอื่ สารไดอ้ ยา่ งน้อย 2 ภาษา 2.1 ร้อยละของนักเรียนชน้ั ม.4 – 6 ที่ได้เข้ารว่ มให้แสดง หรอื ได้รับรางวัลเก่ยี วกบั ด้านการ ฟงั /พดู /อา่ น/เขยี นภาษาองั กฤษ และภาษาไทย รูปแบบตา่ ง ๆ ในงานที่จดั โดยหน่วยงานภายนอก 2.2 รอ้ ยละของนกั เรยี นช้นั ม.4 – 6 ท่ีมีผลงานการเขียนรายงานเชงิ วชิ าการ/บทความ เปน็ ภาษาองั กฤษและภาษาไทย ตพี มิ พ์เผยแพร่ในเอกสารสือ่ ออนไลน์ทางวชิ าการท่จี ัดท้าโดย โรงเรยี น หรือหน่วยงานภายนอก 2.3 รอ้ ยละของนกั เรียนชั้น ม. 6 ของโรงเรียนมาตรฐานสากลทีม่ โี ครงการคัดเลือกเขา้ สอบวดั ความสามารถ ดา้ นภาษาองั กฤษจากแบบทดสอบมาตรฐาน เชน่ TOEFL PB, TOEFL CBT, TOEFL IBT, IELTS, TOEIC หรืออนื่ ๆ มคี ะแนนผลการทดสอบเทยี บคะแนน TOELF IBT ไมต่ ้่ากวา่ ร้อยละ 50 2.4 ร้อยละของนกั เรยี นชั้น ม.6 ทีเ่ รยี นภาษาตา่ งประเทศภาษาที่สอง มที ักษะการสือ่ สารได้ ตามเกณฑ์มาตรฐานของภาษานั้นๆ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3 ล้าหนา้ ทางความคิด 3.1 ร้อยละของนกั เรยี นช้นั ม.4–6 ท่มี ีผลงานการศกึ ษาดว้ ยตนเอง (Independent Study) ด้าน ICT , IoT, M2M ทไี่ ด้เขา้ รว่ มหรอื แสดง/ประกวด/แขง่ ขันและหรอื ได้รบั รางวัล จากงานท่ีจดั โดยหน่วยงานภายนอก ภาพความสาเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 13 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 4 ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ 4.1 รอ้ ยละของผลงานนกั เรยี นชัน้ ม.4-6 จากการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (Independent Study) ทุกดา้ น ทัง้ ดา้ นภาษา คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี ที่ไดร้ ับการประเมนิ จากคร/ู ผูท้ รงคณุ วุฒิวา่ เปน็ ผลงานทมี่ คี ณุ ภาพในระดับดจี ากงานแสดงผลงานประจ้าปที ีโ่ รงเรยี นจดั ขึ้น 4.2 รอ้ ยละของผลงานนกั เรยี นช้ัน ม.4-6 จากการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทกุ ด้าน ทงั้ ด้านภาษา คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี ท่ีได้เขา้ รว่ มแสดง/ประกวด/แขง่ ขนั หรอื ไดร้ บั รางวลั จากหนว่ ยงานภายนอกในระดบั ต่าง ๆ 4.3 รอ้ ยละของผลงาน ของนกั เรียนชั้น ม .4-6 ท่จี ดั ทา้ ขน้ึ จากผลงาน การศึกษาด้วยตนเอง (Independent Study) ได้รบั การตีพิมพ์เผยแพรผ่ ่านส่อื ดิจิตอล อยา่ งนอ้ ย 2 แหง่ 4.4 ร้อยละของผลงานนกั เรยี นชั้น ม.4-6 ทเี่ ปน็ นวตั กรรมทางวชิ าการหรอื วชิ าชีพไดจ้ าก การออกแบบ ประดิษฐ์และสรา้ งสรรค์ 5 รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก 5.1 รอ้ ยละของ จา้ นวนผลงานการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study) ท่ี เกยี่ วกับการท้ากจิ กรรมบา้ เพญ็ ประโยชน์ ด้านสิ่งแวดล้อม วิถีชวี ิต ศลิ ปะ วฒั นธรรม เศรษฐกิจและ สังคม ของนกั เรยี นชั้น ม.4 - 6 ท่ีนักเรียนทา้ ขึ้นดว้ ยความริเร่มิ ของตนเอง ไดร้ ับการประเมนิ ในระดบั ดีจากคร/ู ผูท้ รงคุณวฒุ ิจากการแสดงผลงานที่โรงเรียนจดั ขึ้น 5.2 รอ้ ยละของจ้านวนผลงานการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study) ทเี่ ก่ยี วกบั การท้ากจิ กรรมบา้ เพ็ญประโยชน์ดา้ นส่ิงแวดล้อม วิถชี วี ิต ศิลปะ วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสงั คม ของ นกั เรยี น ชั้น ม.4 - 6 ซ่ึงไดท้ า้ ขน้ึ ดว้ ยความริเร่ิมของตนเอง ไดเ้ ข้ารว่ ม หรอื คัดเลอื ก ร่วมแสดง / ประกวด/แข่งขัน หรือได้รับรางวลั จากหน่วยงานภายนอก 5.3 รอ้ ยละของผลงานการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study) ทเ่ี ก่ยี วกับกลมุ่ ประเทศอาเซียนหรอื ประเทศอนื่ ท่ีนกั เรียนสนใจ ของนักเรยี นชั้น ม.4 - 6 ได้เข้ารว่ มหรอื รับคดั เลอื ก ให้เข้าร่วมแสดง/ประกวด/แข่งขัน หรอื ได้รบั รางวัลจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภาพความสาเรจ็ โรงเรียนมาตรฐานสากล

14 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การจดั การเรียนการสอน 1. ดา้ นคุณภาพวิชาการ 2. ด้านคณุ ภาพของครู เทยี บเคียงมาตรฐานสากล (World-Class Standard) 3. ดา้ นการวจิ ยั และพัฒนา 1 ดา้ นคณุ ภาพวิชาการ 1. จัดหลักสูตรที่สง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ตอบสนองความถนัดและศักยภาพ ตามความต้องการของผเู้ รียน 2. จดั การเรียนการสอนสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ ดว้ ยภาษาอังกฤษ 3. พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนสาระการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) 4. พัฒนาการใชส้ ่อื เทคโนโลยีทท่ี ันสมยั ทง้ั การจัดกระบวนการเรียนรแู้ ละการศกึ ษา ดว้ ยตนเองของนักเรียน 5. จัดการเรยี นการสอน โดยพัฒนาการใช้ระบบหอ้ งเรียนคุณภาพ (Quality-Classroom System) 6. ใช้ระบบการวดั และประเมนิ ผลแบบมาตรฐานสากล โดยประเมนิ จากการสอบข้อเขียน สอบปากเปลา่ สอบสมั ภาษณ์ และสามารถเทียบโอน ผลการเรยี นกบั สถานศึกษาระดบั ต่าง ๆ ทงั้ ในและตา่ งประเทศ ตัวชี้วัด ด้านคณุ ภาพวิชาการ 1. ร้อยละของโรงเรียนทจ่ี ัดหลกั สูตรท่สี ง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ตอบสนอง ความถนดั และศกั ยภาพตามความตอ้ งการของผูเ้ รียน 2. รอ้ ยละของโรงเรยี นทจ่ี ัดการเรยี นการสอนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ด้วยภาษาอังกฤษ 3. รอ้ ยละของโรงเรยี นทีพ่ ฒั นาการจัดการเรียนการสอนสาระการศกึ ษา คน้ ควา้ ด้วยตนเอง ((Independent Study: IS) 4. รอ้ ยละของโรงเรยี นทีใ่ ชส้ ่ือเทคโนโลยที ที่ ันสมัย ทัง้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ และการศึกษาดว้ ยตนเอง 5. ร้อยละของโรงเรียนที่จดั การเรียนการสอน โดยใช้ระบบห้องเรียนคุณภาพ (Quality-Classroom System) 6. ร้อยละของโรงเรียนที่ใชร้ ะบบการวัดและประเมนิ ผลแบบมาตรฐานสากล โดยประเมินจากการสอบข้อเขียน สอบปากเปลา่ สอบสัมภาษณ์ และ สามารถเทียบโอนผลการเรียนกับสถานศึกษาระดบั ตา่ งๆ ท้งั ในและตา่ งประเทศ ภาพความสาเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 15 2 ดา้ นคณุ ภาพของครู 1. ครูผูส้ อนมคี วามรคู้ วามสามารถและความเชี่ยวชาญเฉพาะทางดา้ นวชิ าการ/ อาชพี และผ่านการประเมนิ ระดับชาติ 2. ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสอื่ สาร 3. ครูใชห้ นังสือ ตา้ ราเรียนและส่ือภาษาต่างประเทศ ในการจดั การเรียน การสอน 4. ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ (ICT) ในการจดั การเรยี นการสอน การวัดและ ประเมนิ ผล การเผยแพรผ่ ลงาน ทัง้ ระบบออนไลน์ (online) และออฟไลน์ (offline) 5. ครูสามารถแลกเปลย่ี นเรียนรูป้ ระสบการณใ์ นการจัดการเรยี นการสอน ในระดบั ภาค/ชาติ/นานาชาติ 6. ครูใชก้ ารวจิ ัย สือ่ นวตั กรรมเพ่อื พัฒนาผู้เรยี น ตัวช้ีวดั ด้านคุณภาพของครู 1. รอ้ ยละของครูทผ่ี ่านการประเมนิ ความเชีย่ วชาญเฉพาะทางด้านวิชาการ/ อาชพี ระดบั ชาติ 2. รอ้ ยละของครูที่สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศในการสือ่ สาร 3. รอ้ ยละของครทู ่ีใชห้ นังสือ ตา้ ราเรยี นและสือ่ ภาษาตา่ งประเทศ ในการจดั การเรยี นการสอน 4. ร้อยละของครใู ช้สือ่ อเี ลกทรอนกิ ส์ (ICT) ในการจดั การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล การเผยแพรผ่ ลงาน ทงั้ ระบบออนไลน์ (online) และออฟไลน์ (offline) 5. รอ้ ยละของครูสามารถแลกเปล่ียนเรียนรปู้ ระสบการณใ์ นการจัดการเรยี น การสอนในระดับภาค/ชาติ/นานาชาติ 6. รอ้ ยละของครูที่ใช้การวจิ ยั ส่อื นวัตกรรมเพ่อื พฒั นาผูเ้ รียน 3 ด้านการวิจัยและพฒั นา โรงเรยี นด้าเนินการจดั ท้าวิจัยและพัฒนาการจัดการศึกษาในภาพรวมของ โรงเรยี นทง้ั ด้านการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นการสอน และใช้ ผลการวิจยั เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพดา้ นการบริหารจัดการและการจัดการเรียน การสอน ตวั ชี้วัด ดา้ นการวจิ ัยและพัฒนา รอ้ ยละของโรงเรียนทีม่ ีผลการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาการจดั การศึกษาด้านการ บรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นการสอน อย่างน้อยปกี ารศกึ ษาละ 1 เรอ่ื ง ภาพความสาเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล

16 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L บรหิ ารจัดการ 1. ดา้ นคุณภาพของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ด้วยระบบคุณภาพ 2. ด้านระบบการบริหารจดั การ 3. ด้านปจั จัยพ้ืนฐาน (Quality System Management) 4. ด้านเครอื ขา่ ยร่วมพฒั นา 1 ด้านคุณภาพของผู้บรหิ ารโรงเรียน 1. ผบู้ ริหารมีวิสยั ทัศน์และสามารถบริหารจัดการโรงเรียนบรรลตุ ามวสิ ยั ทศั น์ ของโรงเรยี น 2. ผู้บริหารบริหารจดั การด้วยเกณฑ์รางวัลคณุ ภาพแหง่ สพฐ. (OBECQA) 3. ผ้บู ริหารมีความเปน็ ผูน้ ้าทางวิชาการ (Academic Leadership) ทมี่ ี ผลงานปรากฏเปน็ ที่ยอมรับ 4. ผบู้ ริหารมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีในการส่ือสารและการบริหาร จัดการ 5. ผู้บริหารสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการส่อื สาร 6. ผู้บริหารมีประสบการณ์การอบรม ศึกษาดูงาน แลกเปล่ยี นเรียนร้ใู นการ จดั การศกึ ษาในระดบั ชาติ/นานาชาติ ตวั ช้ีวัด ด้านคณุ ภาพของผบู้ รหิ ารโรงเรียน 1. ร้อยละของผบู้ รหิ ารโรงเรียนที่บริหารจดั การโรงเรยี นบรรลุตามวสิ ัยทศั น์ ของโรงเรียน 2. ร้อยละของผ้บู รหิ ารโรงเรียนทีผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ การบริหารจัดการ ดว้ ยระบบคุณภาพแหง่ สพฐ. (OBECQA) และเกณฑ์รางวลั คณุ ภาพ แหง่ ชาติ (TQA) 3. รอ้ ยละของผูบ้ รหิ ารทไี่ ด้รับรางวัลระดบั ชาติ/นานาชาติ 4. ร้อยละของผบู้ รหิ ารสามารถใช้เทคโนโลยใี นการบริหารจดั การ 5. ร้อยละของผบู้ รหิ ารทสี่ ามารถใชภ้ าษาองั กฤษในการส่อื สาร 6. ร้อยละของผู้บรหิ ารท่ีมีประสบการณก์ ารอบรม ศกึ ษาดูงาน แลกเปลย่ี น เรยี นรใู้ นการจัดการศึกษาในระดับชาติ/นานาชาติ ภาพความสาเร็จโรงเรยี นมาตรฐานสากล

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 17 2 ด้านระบบการบรหิ ารจดั การ 1. โรงเรียนบรหิ ารจัดการดว้ ยระบบคุณภาพที่ผา่ นการรับรองมาตรฐาน คุณภาพตามเกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแห่งส้านกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน (OBECQA) และตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) 2. โรงเรียนมีระบบการจดั การความรู้ (KM) และการสรา้ งนวัตกรรมเผยแพร่ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ 3. โรงเรียนน้าวิธปี ฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) มาใช้ในการบริหารจดั การ ของโรงเรยี น 4. โรงเรียนมีการบริหารดา้ นบคุ ลากรอยา่ งอสิ ระและคล่องตวั 5. โรงเรียนสามารถแสวงหา ระดมทรัพยากรดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ พฒั นา ความเปน็ เลิศในการจัดการศึกษา โดยสามารถบริหารจัดการได้อย่าง คล่องตัวตามสภาพความตอ้ งการและจ้าเป็น 6. โรงเรยี นมีการแลกเปลย่ี นเรยี นร้ดู ้านการบรหิ ารจดั การทง้ั ในประเทศและ ต่างประเทศ ตัวช้ีวัด ด้านระบบการบริหารจดั การ 1. ร้อยละของโรงเรยี นทีบ่ ริหารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ OBECQA และ TQA 2. รอ้ ยละของโรงเรียนท่ไี ด้รับรางวลั จากนวัตกรรม 3. ร้อยละของโรงเรียนทน่ี ้าวธิ ีปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) มาใชใ้ นการ บริหารจดั การของโรงเรยี น 4. รอ้ ยละของโรงเรียนที่มีการบรหิ ารด้านบคุ ลากรอย่างอิสระและคลอ่ งตวั 5. รอ้ ยละของโรงเรียนทส่ี ามารถแสวงหา ระดมทรพั ยากรดา้ นตา่ ง ๆ เพอ่ื พฒั นาความเปน็ เลศิ ในการจดั การศกึ ษา โดยสามารถบรหิ ารจัดการ ไดอ้ ย่างคล่องตวั ตามสภาพความต้องการและจา้ เปน็ 6. ร้อยละของโรงเรยี นทมี่ ีการแลกเปล่ียนเรียนรดู้ า้ นการบริหารจดั การ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ ภาพความสาเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล

18 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L 3 ด้านปัจจยั พ้ืนฐาน 1. โรงเรยี นมีขนาดช้นั เรียนเหมาะสมตามมาตรฐานท่กี ้าหนดทกุ ระดับ และมีอัตราครู 1 คน ตอ่ นักเรียนไม่เกนิ 20 คน 2. โรงเรยี นมจี า้ นวนนกั เรยี น 30-40 คน ตอ่ ห้องเรยี น 3. ภาระงานสอนของครมู คี วามเหมาะสม ตามเกณฑท์ ่ี กคศ.กา้ หนด 4. โรงเรยี นจดั ให้มหี นงั สือ ตา้ ราเรยี น ส่อื เทคโนโลยี ทีม่ ีคณุ ภาพระดับ มาตรฐานสากลอย่างเพยี งพอ 5. โรงเรยี นมเี ครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตแบบความเร็วสงู เชื่อมโยงครอบคลมุ พ้ืนที่ของโรงเรยี น 6. โรงเรียนมหี ้องเรียนอิเล็กทรอนิกสม์ ัลตมิ เี ดยี (Electronics Multi-Media Classroom) หอ้ งทดลอง หอ้ งปฏิบัตกิ ารและมอี ุปกรณเ์ ทคโนโลยี ที่ทนั สมัย เนน้ ความเป็นเลศิ ของนักเรียนตามกล่มุ สาระอย่างพอเพยี ง 7. โรงเรยี นมหี อ้ งสมดุ แหลง่ เรยี นรู้ ศนู ยว์ ิทยบริการ (Resource Center) ทม่ี สี ภาพแวดล้อม/บรรยากาศเอ้ือต่อการใชบ้ ริการ มีสื่อทีเ่ พียงพอ เหมาะสม ทันสมยั มกี จิ กรรมท่ีส่งเสริมการอ่านการเรียนรแู้ ละการค้นควา้ อยา่ งหลากหลาย 8. โรงเรียนด้าเนินงานตามเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา พ.ศ.2552 (ปรับปรงุ พ.ศ.2560) (เฉพาะมธั ยมศกึ ษา) ตวั ช้วี ัด ด้านปจั จยั พื้นฐาน 1. ร้อยละของโรงเรียนทม่ี ีขนาดชั้นเรียนเหมะสมตามมาตรฐานท่กี ้าหนด ทกุ ระดบั และอัตราส่วนครูต่อนักเรยี นได้มาตรฐาน 2. ร้อยละของโรงเรยี นทมี่ จี า้ นวนนักเรียน 30 – 40 คน ต่อห้องเรยี น 3. รอ้ ยละของโรงเรียนท่ีภาระงานสอนของครูมคี วามเหมาะสม ตามเกณฑท์ ่ี กคศ.ก้าหนด 4. ร้อยละของโรงเรียนทจี่ ัดให้มีหนังสอื ตา้ ราเรียน ส่ือเทคโนโลยี ที่มีคุณภาพ ระดบั มาตรฐานสากลอยา่ งเพยี งพอ 5. ร้อยละของโรงเรียนทีม่ ีเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตแบบความเรว็ สงู เชื่อมโยง ครอบคลุมพืน้ ที่ของโรงเรยี น 6. รอ้ ยละของโรงเรยี นที่มหี อ้ งเรยี นอีเล็กทรอนกิ ส์มลั ติมีเดยี (Electronics Multi-Media Classroom) หอ้ งทดลอง ห้องปฏิบัติการ และมอี ปุ กรณ์ เทคโนโลยที ท่ี นั สมยั เน้นความเป็นเลิศของนกั เรียนตามกลุ่มสาระอยา่ งพอเพียง 7. รอ้ ยละของโรงเรยี นทม่ี ีหอ้ งสมดุ แหล่งเรยี นรู้ ศูนย์วทิ ยบรกิ าร (Resource Center) ท่ีมสี ภาพแวดล้อม/บรรยากาศเออื้ ต่อการใชบ้ ริการ มสี ่อื ที่เพยี งพอ เหมาะสม ทันสมัย มกี จิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ การอ่านการเรยี นรู้และการค้นควา้ อย่าง หลากหลาย 8. รอ้ ยละของโรงเรียนท่ดี ้าเนนิ งานตามเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านโรงเรยี น มัธยมศึกษา พ.ศ.2552 (ปรับปรุง พ.ศ.2560) และผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ (เฉพาะมธั ยมศึกษา) ภาพความสาเร็จโรงเรยี นมาตรฐานสากล

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 19 4 ดา้ นเครือข่ายรว่ มพัฒนา 1. โรงเรยี นมีสถานศึกษาทจ่ี ัดการศกึ ษาในระดบั เดียวกนั เปน็ เครอื ขา่ ย รว่ มพัฒนาทง้ั ในระดับท้องถน่ิ /ภาค/ชาติ/นานาชาติ 2. โรงเรยี นจัดกิจกรรมการเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และทรพั ยากร ระหวา่ งเครือขา่ ยโรงเรยี นร่วมพฒั นา 3. โรงเรียนมีเครือข่ายสนบั สนนุ จากสถาบนั อดุ มศกึ ษาและองค์กรอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทัง้ ภาครัฐและเอกชน ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ 4. นกั เรยี นและครูมีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ับบุคคลอ่ืนทัง้ ในประเทศ และตา่ งประเทศ ตัวช้ีวดั ด้านเครือข่ายร่วมพฒั นา 1. รอ้ ยละของโรงเรยี นทม่ี เี ครือขา่ ยร่วมพัฒนาทงั้ ในระดบั ทอ้ งถิ่น/ภาค/ชาติ/ นานาชาติ 2. ร้อยละของครู/นกั เรยี นท่ีมีเครือข่ายแลกเปล่ยี นเรยี นรู้กับบคุ คลอื่น ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ 3. รอ้ ยละของโรงเรียนมีเครือขา่ ยสนับสนนุ จากสถาบนั อุดมศกึ ษาและ องคก์ รอื่น ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งทงั้ ภาครัฐและเอกชน ทงั้ ในประเทศและ ต่างประเทศ ภาพความสาเร็จโรงเรียนมาตรฐานสากล

20 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L ภารกิจหลกั ของโรงเรยี นในการพฒั นา และยกระดบั การดาเนินโครงการสู่โรงเรยี นมาตรฐานสากล 1 ศกึ ษาท้าความเข้าใจโครงการและสรา้ งความตระหนกั ให้แก่บคุ ลากรในโรงเรยี นและผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง 2 จดั ทา้ แผนกลยุทธ์เพ่อื พฒั นาโรงเรียนส่มู าตรฐานสากล 3 จดั ท้าหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกบั แผนพัฒนาโรงเรยี น สูม่ าตรฐานสากล โดยเพม่ิ รายวชิ าเพ่มิ เตมิ “สาระการศกึ ษา คน้ คว้าด้วยตนเอง” (Independent Study: IS) 4 จดั ท้าหอ้ งปฏบิ ัติการ ศูนย์วิทยบรกิ าร (Resource Center) หอ้ งสมุด พรอ้ มทั้งจัดหาครุภณั ฑ์ อปุ กรณ์ สอ่ื ปรับบรรยากาศ ส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรยี นให้เอื้อต่อการพฒั นาการเรยี นรูส้ ู่สากล 5 สา้ รวจข้อมูลครเู พื่อเตรียมการพัฒนา 6 ด้าเนินการบรหิ ารดว้ ยระบบคณุ ภาพตามแนว OBECQA จัดตงั้ และด้าเนินการเครอื ข่ายร่วมพัฒนา 7 วจิ ยั และพัฒนาหารูปแบบการการจดั หลกั สูตรและการเรยี นการ สอนโดยการมีสว่ นร่วม 8 น้าเสนอผลงานและการจดั เวทีแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 9 รายงานผลการประเมินโครงการพร้อมท้ังประชาสมั พันธ์และ เผยแพร่ ภาพความสาเรจ็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล

| W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L 27 ตอนที่ 2 แนวทางการจัดการศึกษา แนวทางการจัดการศึกษา

22 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนมาตรฐานสากล เปน็ การพฒั นาหลักสูตรตามหลกั การของหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ข้อที่ 1 เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาเพ่ือความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการ เรยี นรู้เป็นเปา้ หมายสาหรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชน ให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน พ้นื ฐานของความเปน็ ไทยควบคกู่ บั ความเปน็ สากล ข้อท่ี 3 เปน็ หลกั สูตรทสี่ นองนโยบายการ กระจายอานาจให้สงั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการ ของท้องถิ่น และความเจรญิ กา้ วหน้าทางด้าน วทิ ยาการต่าง ๆ ของโลกยุคโลกาภวิ ตั น์ ทีม่ ผี ลต่อ การเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและเศรษฐกิจของ ประเทศ แนวทางการจดั การศึกษา

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 23 แนวทางการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา สมู่ าตรฐานสากล มีแนวทางการดาเนินงาน ดังน้ี 1 ศกึ ษาวิเคราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เก่ียวกบั หลกั การ จุดหมาย คุณภาพผ้เู รยี น สมรรถนะสาคัญ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั โครงสรา้ งรายวชิ า กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน การวัดประเมินผลและเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร โดยนามาเทยี บเคียงกับหลักสูตรโรงเรยี นมาตรฐานสากล 2 ศกึ ษาคุณลักษณะและศักยภาพผเู้ รยี นท่เี ป็นสากล ตามหลักสตู รของ โรงเรยี นมาตรฐานสากล 3 วิเคราะห์สภาพปจั จบุ นั ปัญหา บริบทของโรงเรียน เพอ่ื มงุ่ เนน้ ความเป็นไทยและความเปน็ สากล 4 การปรับปรุงโครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา สาหรบั โรงเรียน มาตรฐานสากล สามารถเช่อื มโยงบูรณาการในรายวิชาพืน้ ฐานและ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ในระดับประถมศึกษา หรอื จานวนหนว่ ยกติ ของรายวชิ า เพม่ิ เติมในระดับมัธยมศกึ ษา ไดต้ ามสภาพความต้องการและจดุ เน้นของ สถานศึกษา ดังน้ี 4.1 ปรบั ปรงุ โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษาในโปรแกรมการ เรยี นรู้ของ EP (English Program) IEP (Intensive English Program) MEP (Mini English Program) หรอื IB (International Baccalaureate) และหลักสูตรที่เน้นความเป็น เลศิ เฉพาะทาง เชน่ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา ดนตรี กีฬา อาชพี เป็นตน้ เพื่อให้เกดิ ความเหมาะสมกบั บรบิ ทและ ความเป็นสากลทงั้ ในการจดั รายวชิ าพ้นื ฐาน/รายวชิ าเพิ่มเตมิ แนวทางการจัดการศกึ ษา

24 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L 4.2 จดั กระบวนการเรียนร้อู ย่างต่อเน่อื ง มีลาดบั ข้นั ตอน ทเี่ หมาะสม และสอดคล้องกบั พฒั นาการของผ้เู รียน ในแตล่ ะระดับชั้น โดยใช้กระบวนการจดั การเรยี นรู้ บนั ได 5 ขนั้ พัฒนาผเู้ รยี นสู่มาตรฐานสากล และ เพอ่ื ให้การจดั การเรยี นการสอนและการบริหารจัดการ หลักสตู รโรงเรยี นมาตรฐานสากลบรรลุเปา้ หมาย โดยการปรบั เน้อื หาสาระการเรียนรู้ หรือการจัด การเรยี นการสอนแบบบูรณาการ และจดั สาระการ เรยี นรู้การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study :I S) ซึง่ จดั แบง่ เปน็ สาระการเรียนรู้ 3 สาระ ประกอบดว้ ย IS 1- การศกึ ษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) IS 2- การส่ือสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation) IS 3- การนาองคค์ วามรไู้ ปใชบ้ ริการสังคม (Social Service Activity) ไปสู่การเรียนการสอน ในลกั ษณะของหนว่ ยการ เรียนรู้ รายวิชาเพ่มิ เติม หรอื กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ตามแนวทางท่ีกาหนด โดยพจิ ารณาใหส้ อดคล้อง กบั บริบทและพัฒนาการตามวยั ของผ้เู รยี น 5 จัดการเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศ โดยมุ่งเนน้ ให้ ผเู้ รียนสามารถสื่อสารได้ ทัง้ ภาษาอังกฤษและ ภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 แนวทางการจัดการศกึ ษา

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 25 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สู่มาตรฐานสากล หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษา รายวิชาพ้นื ฐาน องคป์ ระกอบของหลกั สตู ร รายวิชาเพ่มิ เติม สาระการเรยี นรู้ ทีเ่ นน้ ความเปน็ สากล 8 กลุ่มสาระ - กล่มุ รายวชิ าท่ีสง่ เสริม - Research and Knowledge ความสามารถพเิ ศษของ Formation : IS 1 กลุ่มสาระการเรียนรตู้ า่ งๆ - กล่มุ รายวชิ า - Communication and ประกาศนยี บตั ร Presentation : IS 2 วิชาชพี และหลกั สตู รวิชาชพี ฯ - Social Service Activity :IS 3 - ภาษาองั กฤษ - ภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 - การจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ท่ีเป็น ภาษาองั กฤษ - ปรบั เนอ้ื หาสาระการเรยี นรู้ แบบมาตรฐานสากล - จัดการเรียนการสอนบูรณาการ ตามกระบวนการจดั การเรยี นรู้ บันได 5 ขนั้ คณุ ลักษณะและศกั ยภาพ ผู้เรยี นที่เป็นพลโลก - เป็นเลศิ วิชาการ - สอื่ สารไดอ้ ย่างน้อยสองภาษา - ลา้ หน้าทางความคดิ - ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์ - ร่วมกนั รับผดิ ชอบสังคมโลก แนวทางการจดั การศึกษา

26 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การจัดการเรยี นการสอน ในโรงเรียนมาตรฐานสากล 1 จัดการเรยี นการสอน ระดบั 5 จัดการเรยี นการสอนโดยใช้ ประถมศึกษา โดยมงุ่ เน้น กระบวนการของหอ้ งเรียนคณุ ภาพ ความสามารถในการใชภ้ าษาเพอ่ื สนบั สนนุ ใหม้ ีการใช้การวจิ ยั สือ่ การสือ่ สารไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ ทง้ั ภาษาไทยและ นวัตกรรม ปรับลดเวลาในการสอนของครใู น ภาษาองั กฤษ สาหรับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และ ห้องเรยี นและเพ่ิมเวลาการเรยี นรู้ของผ้เู รียน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นอกจากภาษาไทยและ นอกหอ้ งเรียนใหม้ ากข้ึนเพอ่ื พัฒนาผูเ้ รยี นอยา่ ง ภาษาอังกฤษแลว้ ให้มุง่ เนน้ ภาษาต่างประเทศท่ี ตอ่ เน่ือง 2 ตามความถนดั และความสนใจของผูเ้ รียน อย่างนอ้ ยหน่งึ ภาษา 6 จัดเตรยี มและพัฒนาครใู หส้ ามารถ ใช้ภาษาตา่ งประเทศ ในการสื่อสาร จดั การเรยี นการสอนสาระการเรยี นรู้ สามารถแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ประสบการณ์ ในการจัดการเรียนการสอนกับ 2 วทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ นานาชาติ ม่งุ เน้นการใช้หนงั สือ ตาราเรียน สื่อการสอนทเี่ ปน็ ภาษาอังกฤษ 7 จดั การเรยี นการสอน มุ่งเนน้ การ เสริมสรา้ งความรู้ ความสามารถ จัดการเรียนการสอนในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ และทกั ษะทส่ี าคัญของผเู้ รียนใน อื่นๆ ควรศกึ ษาหนังสอื ตาราเรียน ศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 และ 3 และส่ือท่เี ปน็ ภาษาตา่ ง ประเทศ เปน็ ไปตามปฏญิ ญาว่าด้วยการจัดการศกึ ษาของ นามาเทียบเคียงเนื้อหาสาระ และ UNESCO ได้แก่ Learning to Know, ประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรียนการ Learning to do, Learning to live สอน together, Learning to be จัดการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล 8 จัดกระบวนการจดั การเรียนรู้ บันได 5 ขั้น ได้อย่างหลากหลายวิธีเพอื่ ให้ 4 และการเผยแพรผ่ ลงานของสาระ ผู้เรียนไดเ้ รียนรสู้ าระการศึกษา การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ คน้ คว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study : IS) ด้วยส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ทง้ั เป็นการเปิดโลกกวา้ งให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษาคน้ คว้า ระบบออนไลน์ (online) และออฟไลน์ อย่างอิสระในเร่อื งหรือประเดน็ ที่สนใจ และ (offline) ส่งเสริมการคดิ ผลิตผลงานอย่าง ดาเนินการศกึ ษาค้นคว้าแสวงหาความรจู้ าก สรา้ งสรรคใ์ ห้มากข้นึ แหล่งขอ้ มูลท่หี ลากหลาย แนวทางการจัดการศึกษา

| W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L 27 เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ระดับช้ันประถมศึกษา 1. ผู้เรยี นเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานและรายวชิ า/กจิ กรรมเพม่ิ เติม โดยเปน็ วิชาพน้ื ฐาน ตาม โครงสร้างเวลาเรยี น ท่ีหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานกาหนดและรายวิชากิจกรรม พฒั นาผเู้ รยี นตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด 2. ผู้เรียนมผี ลการประเมินรายวชิ าพ้ืนฐาน ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามทีส่ ถานกาหนด 3. ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ในระดบั 1 – 3 4. ผูเ้ รียนมีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั 1 – 3 5. ผู้เรยี นเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนและมีผลการประเมนิ เป็น “ผา่ น” (ผ) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 1. ผเู้ รียนเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานและรายวชิ าเพ่มิ เติม โดยเปน็ รายวชิ าพื้นฐาน 66 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 2. ผู้เรยี นตอ้ งมผี ลการเรียนผ่านตลอดหลักสตู รไม่น้อยกว่า 77 หนว่ ยกติ โดยประกอบด้วย รายวิชาพื้นฐาน 66 หนว่ ยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกติ 3. ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ในระดับ 1 – 3 4. ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ในระดบั 1 – 3 5. ผู้เรยี นเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและมผี ลการประเมินเป็น “ผ่าน” (ผ) ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย 1. ผเู้ รียนเรียนรายวชิ าพื้นฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 41 หน่วยกติ และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด 2. ผู้เรยี นตอ้ งมีผลการเรยี นผ่านตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกว่า 77 หนว่ ยกติ โดยประกอบด้วย รายวิชาพ้ืนฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ไม่นอ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกติ 3. ผเู้ รยี นมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ในระดบั 1 – 3 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั 1 – 3 5. ผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นและมีผลการประเมินเปน็ “ผ่าน” (ผ) แนวทางการจดั การศกึ ษา

28 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การวัดและประเมินผล เพ่อื ยกระดบั สมู่ าตรฐานสากล สถานศกึ ษาต้องสนับสนุนการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนร่วมกับหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรือหน่วยงานอน่ื ๆ เพื่อสรา้ งภาคีเครอื ขา่ ย และยกระดบั คณุ ภาพในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สถาบนั ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ Mathematics and Computer Science สมาคมคณติ ศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย วทิ ยาศาสตร์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ เทคโนโลยี (สสวท.) วัฒนธรรม สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา สานกั ทดสอบ สพฐ.(คณะกรรมการ) ศลิ ปะ มหาวทิ ยาลยั มหิดล การงานอาชพี แล สานกั ทดสอบ สพฐ. (คณะกรรมการ) เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั มหิดล ภาษาอังกฤษ สานักทดสอบ สพฐ. (คณะกรรมการ) ภาษาต่างประเทศท่ี 2 สานักทดสอบ สพฐ.(คณะกรรมการ) - ภาษาญ่ีปุน่ - British Council - ภาษาจนี - Delft Solaria A 2 - ภาษาเยอรมนั - JF. Test - ภาษาฝรัง่ เศส - Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ใชข้ ้อสอบของสถาบนั เจ้าของภาษา - Japan Foundation - Han ban - Goethe-Institute - Dimplôme d'Etudes en Langue français (DELF) - Dimplôme Approfondi de Langue français (DALF) แนวทางการจัดการศึกษา

ตอนท่ี 3 การบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพ

30 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา สโู่ รงเรียนมาตรฐานสากล การพฒั นาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล มุ่งเนน้ การบริหารจัดการโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานการพัฒนา บุคลากรหลักทเ่ี ป็นกลไกในการขบั เคล่ือน เชน่ ผบู้ รหิ ารโรงเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผนู้ าชมุ ชน ดงั น้ัน ความรู้ความสามารถและการยอมรับความรว่ มมอื ในการพฒั นาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากลเป็นพืน้ ฐานสาคญั ท่จี ะ นาไปสู่ความสาเร็จ จงึ มีความจาเป็นทต่ี ้องพัฒนาครลู ะบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผูเ้ ก่ยี วข้อง ซึ่งมแี นวทางการ พฒั นาสาหรับกลุ่มเป้าหมายผบู้ รหิ ารโรงเรยี นและครู ดงั นี้ การพฒั นาครู การพัฒนาผบู้ ริหาร ครใู นโรงเรียนมาตรฐานสากล ผ้บู รหิ ารโรงเรยี นมาตรฐานสากลจะ จะได้รบั การพฒั นาเพ่ือ ได้รบั การพฒั นาเพ่ือ เปน็ ผนู้ าและมีความเชี่ยวชาญใน เป็นผูน้ า มวี ิสยั ทัศนแ์ ละสามารถ การจดั การเรียนรูเ้ ฉพาะดา้ น สามารถใช้ บริหารจดั การโรงเรียนบรรลตุ ามวสิ ัยทศั น์ ภาษาต่างประเทศและส่ือเทคโนโลยใี น ของโรงเรียน การจัดการเรยี นรู้ มคี วามสามารถในการใช้ มคี วามสามารถในการศึกษา เทคโนโลยีในการสื่อสารและการบรหิ าร คน้ คว้าพฒั นางาน พัฒนาตนเองจากแหล่ง จัดการ วชิ าต่าง ๆ เชน่ หนังสอื ตาราต่างประเทศ และสื่อ ICT รวมทัง้ สามารถแลกเปล่ยี น สามารถใชภ้ าษาองั กฤษ เรยี นรู้ในการจัดการเรียนการสอนกบั ในการสอื่ สาร นานาชาติ มคี วามสามารถในการบริหาร ใชก้ ารวจิ ยั สือ่ นวตั กรรมเพอ่ื จัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพ พัฒนาการจัดการเรยี นรู้และพัฒนาผู้เรียน อย่างต่อเนอ่ื ง เปน็ ผนู้ าและมที กั ษะในการ บรหิ ารงานวิชาการและมผี ลงานปรากฏ เป็นทีย่ อมรับ การบริหารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 31 แนวทางการพัฒนา ผบู้ รหิ ารโรงเรียนและครู 1 บทบาทหนา้ ท่ขี องสานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (สพฐ.) 1.1 กาหนดนโยบายการพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ควรมีการ กาหนดทศิ ทางให้ชัดเจนตอ่ เนื่อง ประชาสัมพนั ธ์ใหท้ กุ ภาคส่วนไดร้ ับทราบและ เหน็ ความสาคญั 1.2 จดั งบประมาณใหเ้ พียงพอเหมาะสมในการพฒั นาบคุ ลากร หรือควร กาหนดวิธีการบริหารจดั การงบประมาณเป็นการเฉพาะเพอ่ื ให้โรงเรยี นมีความคลอ่ งตวั ในการบริหารงบประมาณ 1.3 จดั ทาหลกั สตู รพัฒนาผู้บริหารและครู ควรรว่ มมือกบั องคก์ รท่มี คี วาม เชย่ี วชาญในการพัฒนาบุคลากรเฉพาะกับสถาบันทางการศกึ ษาขั้นนา จัดทาโครงการ ความรว่ มมอื ทางวิชาการพัฒนาผ้บู รหิ ารและครสู ู่มาตรฐานสากล กจิ กรรมที่สาคญั เช่น การฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ฝกึ ประสบการณ์ 1.4 จัดโรงเรยี นเครอื ข่ายและแหลง่ เรียนรู้ประจาในตา่ งประเทศ เพื่อใชเ้ ปน็ แหลง่ ฝึกประสบการณ์ 1.5 ประสานงานจัดส่งผบู้ ริหารและครูฝกึ ประสบการณ์ในโรงเรยี น เครือข่ายในตา่ งประเทศ 1.6 จดั ประชมุ สัมมนาแลกเปลย่ี นเรียนรใู้ นการบริหารจดั การโรงเรียนและ การจดั การเรียนการสอนกับนานาชาติ จดั เวทนี าเสนอกรณีตวั อย่างท่ีเป็นแบบอย่างท่ีดี 1.7 สง่ เสรมิ พฒั นาองค์กร กลไกทางการนเิ ทศการศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ ในการพัฒนาผู้บริหารและครอู ยา่ งตอ่ เนือ่ ง 1.8 กากับตดิ ตาม ประเมนิ ผลเพือ่ การปรบั ปรงุ พัฒนา ถ้ากรณีผลการ ประเมนิ ยังไมไ่ ดม้ าตรฐานให้ดาเนนิ การพัฒนาตอ่ ไป สาหรับท่ีได้มาตรฐานแลว้ ส่งเสรมิ ให้มีคณุ ภาพย่งิ ขนึ้ การบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ

32 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L 2 บทบาทหน้าท่ีของโรงเรียน 2.1 จัดระบบสารสนเทศและจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศครู และบุคลากรทางการศึกษา 2.2 มกี ารวางแผนอัตรากาลงั และมีการสรรหาไดต้ าม ความต้องการจาเปน็ ของโรงเรยี น 2.3 วางแผนการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 2.4 ดาเนินการพัฒนาตามแผนทก่ี าหนด 2.5 สง่ ผ้บู รหิ าร ครู เขา้ ร่วมประชมุ สัมมนาแลกเปลย่ี น เรยี นร้ใู นการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนกบั นานาชาติ 2.6 จดั โรงเรียนเครอื ขา่ ย และแหล่งเรียนร้ปู ระจาใน ต่างประเทศ สง่ ผูบ้ รหิ าร ครู ฝกึ ประสบการณใ์ นโรงเรยี น เครอื ข่ายและแหล่งเรียนรู้ประจาในตา่ งประเทศ 2.7 บรหิ ารจัดการใหผ้ บู้ รหิ าร ครู ไดป้ ฏิบัติงานตาม ภารกจิ เปน็ ระบบ มีเทคโนโลยี งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เวลา และบรรยากาศทเ่ี อือ้ ตอ่ การพฒั นาตนเอง 2.8 จดั ใหม้ ีการนิเทศภายในเพือ่ สรา้ งความเขม้ แขง็ และ พัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง ควรมีกระบวนการนเิ ทศภายใน 2.9 ส่งเสริมใหม้ กี ารวิจยั และพฒั นา การปรับปรุงพัฒนา ด้านการบริหารโรงเรยี นและการจดั การเรียนการสอนของ ผบู้ รหิ าร รวมทงั้ การวจิ ัยสอ่ื นวตั กรรมเพ่ือการพัฒนา การจัดการเรยี นร้แู ละพฒั นาผเู้ รยี นของครู 2.10 จัดเวทใี หผ้ บู้ ริหาร ครู ได้นาเสนอผลงานท่ีประสบ ผลสาเร็จ รวมทง้ั นาเสนอผลงานวิจยั และพัฒนามา แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ในโรงเรียน 2.11 กากบั ติดตาม ประเมนิ ผล เพอ่ื การปรับปรุงพฒั นา ถ้ากรณีผลการประเมนิ ยงั ไม่ได้มาตรฐานนาไปพัฒนาตอ่ ไป สาหรับท่ีไดม้ าตรฐานแล้วส่งเสรมิ ใหม้ ีคุณภาพยง่ิ ขน้ึ การบรหิ ารจัดการด้วยระบบคุณภาพ

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 33 3 บทบาทหนา้ ทขี่ องศึกษานเิ ทศก์ 3.1 ศึกษาคน้ คว้า วจิ ัยรปู แบบการพัฒนาผู้บรหิ าร และครูสู่มาตรฐานสากล ศกึ ษานเิ ทศก์ ควรมี การศกึ ษาค้นคว้า สืบค้น สังเคราะหห์ ารูปแบบการพฒั นาผ้บู รหิ ารและครู ท่เี หมาะสมกับ บริบทช่วยให้เห็นทศิ ทางการพัฒนาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยไมก่ ระทบตอ่ การพัฒนา คณุ ภาพของนักเรียน 3.2 นิเทศ กากับติดตามและประเมนิ ผลการพฒั นาครสู มู่ าตรฐานสากล จดั ทาคู่มือและเคร่อื งมอื การเกบ็ รวบรวมข้อมูลเพ่อื ใหท้ ราบผลการดาเนินการในมิตติ ่าง ๆ ทงั้ เป็นรายโรงเรยี นและ ภาพรวม สาหรับเทคนิคการนิเทศมุง่ เน้นการมีส่วนร่วมจากผ้บู ริหารและครู 3.3 ดาเนินการวจิ ัยและพัฒนาการพัฒนาครูสมู่ าตรฐานสากล แล้วนาข้อคน้ พบทไ่ี ด้มาอธิบายถึง การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา โดยอาศยั ผลจากการศึกษาค้นคว้าอยา่ งเปน็ ระบบ สรปุ ให้เหน็ จดุ ออ่ น จดุ แข็งที่เปน็ ความจรงิ เพ่ือเป็นขอ้ มูลและเปน็ แนวคิดทส่ี ามารถนาไปใช้ ในการกาหนดทิศทางการดาเนนิ การให้มีประสิทธิภาพเพิ่มข้นึ การบริหารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ

34 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การบริหารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ ตามเกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแหง่ สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน OBECQA คณุ ลักษณะสาคัญประการหนึ่ง ที่จะแสดงว่าโรงเรียนได้พฒั นาสมู่ าตรฐานสากล คือ การ บริหารจดั การโรงเรยี นดว้ ยระบบคณุ ภาพ ซ่ึงได้รับการยอมรบั วา่ เปน็ ระบบทจี่ ะ พฒั นาโรงเรียนให้มผี ลดาเนนิ การทีเ่ ปน็ เลศิ โดยองิ แนวทางการดาเนนิ งานตามเกณฑ์ รางวลั คณุ ภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) มาพัฒนา ขีดความสามารถด้านการ บรหิ ารจดั การโรงเรยี น เพื่อใหม้ วี ิธปี ฏบิ ัติและผลการดาเนนิ การในระดบั มาตรฐานโลก เน่ืองจากมพี ื้นฐาน ทางดา้ นเทคนิคและกระบวนการตัดสนิ รางวลั เช่นเดียวกบั รางวลั คุณภาพแหง่ ชาติของสหรฐั อเมริกา (The Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) ซ่งึ เปน็ ต้นแบบรางวัลคุณภาพแหง่ ชาตทิ ี่ ประเทศตา่ ง ๆ หลายประเทศทัว่ โลกนาไปประยุกต์ เช่น ประเทศญี่ปุน่ สิงคโปร์ มาเลเชยี และ ฟิลิปปินส์ เปน็ ตน้ ใน ดา้ นการศกึ ษา ไดม้ ีการนาแนวทางดังกล่าวประยุกตใ์ ชใ้ นโรงเรียน สถาบนั และสถานศึกษาต่าง ๆ อย่างการศึกษาเพื่อผลงานทีเ่ ป็น เลศิ (Baldrige Education Criteria for Performance Excellence) ตง้ั แต่ปี ค.ศ.1998 เพื่อช่วยใหม้ กี ารทาความเขา้ ใจและปรบั ใช้ในวงการศกึ ษาเพ่ือการ ปรับปรงุ คุณภาพของโรงเรยี น โดยยดึ หลักการดาเนนิ งานเชิงระบบเพอ่ื ช่ วยให้ โรงเรยี นโรงเรยี นสรา้ งการเปล่ียนแปลงอยา่ งเป็นระบบ ทง้ั น้ีเพือ่ ผลการดาเนินงาน ท่ีเป็นเลศิ การบริหารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 35 เกณฑ์รางวัลคณุ ภาพแห่งสานกั งาน OBECQAคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพนื้ ฐาน (Office of Basic Education Commission Quality Award) ลักษณะทสี่ าคญั ของเกณฑ์ การมุ่งเน้นท่คี า่ นิยมและแนวคิดหลกั เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน มพี ื้นฐานมาจาก “คา่ นยิ มและแนวคิดหลกั 11 ประการ” ซึ่งเป็นรากฐานสาหรบั การบูรณาการผลการดาเนนิ การทส่ี าคญั และข้อกาหนดการปฏบิ ัตกิ ารภายใตก้ รอบทม่ี ุ่งเนน้ ผลลพั ธ์ซ่ึงจะสร้างพนื้ ฐานสาหรับการปฏิบัติ ขอ้ มูลป้อนกลับ และความสาเรจ็ อย่างตอ่ เนื่อง 1 มมุ มองเชิงระบบ (Systems perspective) 2 การนาโรงเรยี นอย่างมวี สิ ยั ทัศน์ (Visionary leadership) 3 ความเป็นเลิศทมี่ ่งุ เนน้ นกั เรียน (Student-focused excellence) 4 การใหค้ วามสาคัญกับบคุ ลากร (Valuing people) 5 การเรยี นรู้ระดับโรงเรียนและความคลอ่ งตัว (Organizational learning and agility) 6 การมงุ่ เนน้ ความสาเร็จ (Focus on success) 7 การจดั การเพอ่ื นวตั กรรม (Managing for innovation) 8 การจัดการโดยใชข้ ้อมลู จรงิ (Management by fact) 9 ความรับผิดชอบต่อสังคม (Societal responsibility) 10 จริยธรรมและความโปรง่ ใส (Ethics and Transparency) 11 การสง่ มอบคณุ ค่าและผลลพั ธ์ (Delivering value and results) การบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ

36 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การมุง่ เน้นกระบวนการ กระบวนการ หมายถงึ วธิ ีการต่าง ๆ ท่โี รงเรยี นใชเ้ พ่อื ทาใหง้ านสาเร็จ เกณฑร์ างวลั คณุ ภาพ แหง่ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ชว่ ยใหโ้ รงเรียนตรวจประเมนิ และปรับปรุง กระบวนการตาม 4 ปจั จัยเหลา่ นี้ 1. แนวทาง (Approach) หมายถึง การออกแบบและการเลือกกระบวนการ วธิ กี ารและตวั วดั ที่มปี ระสทิ ธผิ ล 2. การถา่ ยทอดส่กู ารปฏบิ ัติ (Deployment) หมายถึง การนาแนวทางไปปฏบิ ตั ิอยา่ งคงเส้นคงวาท่ัวท้งั โรงเรยี น 3. การเรยี นรู้ (Learning) หมายถึง การประเมินความกา้ วหนา้ และการได้มาซึง่ ความรู้ใหม่ รวมทั้งการเสาะหาโอกาส สาหรับการสร้างนวตั กรรม 4. การบรู ณาการ (Integration) หมายถึง ความสอดคล้องระหว่างแนวทางกับความจาเปน็ ของโรงเรียน การทาใหม้ ัน่ ใจวา่ ตวั วัด สารสนเทศและระบบการปรบั ปรุงเสรมิ ซง่ึ กันและกนั ระหว่างกระบวนการและหนว่ ยงาน และสรา้ ง ความสอดคลอ้ งระหวา่ งกระบวนการและการปฏบิ ตั ิการทั่วทงั้ โรงเรยี น เพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ ประสงค์ ระดับโรงเรยี นท่ีสาคญั การมุ่งเน้นผลลพั ธ์ เกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแห่งสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ช้ีนาให้โรงเรียน ประเมินผลลัพธจ์ าก 3 มุมมอง  มุมมองภายนอก นักเรียนและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี อืน่ มองโรงเรียนอย่างไร  มมุ มองภายใน การปฏบิ ัตกิ ารของโรงเรียนมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลอย่างไร  มุมมองอนาคต โรงเรียนมีการเรยี นรแู้ ละการเตบิ โตหรอื ไม่ การบรหิ ารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 37 เกณฑร์ างวลั คณุ ภาพแหง่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กาหนดให้แสดง ผลลพั ธ์ทคี่ รอบคลุมทกุ ประเด็นสาคัญของโรงเรยี น เนอ่ื งจากองค์ประกอบของตวั วดั เปน็ สงิ่ ที่ทาใหม้ ่นั ใจ วา่ กลยุทธข์ องโรงเรียนมคี วามสมดุลระหว่างผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียที่สาคัญกบั วัตถปุ ระสงค์ตา่ ง ๆ ตลอดจน เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว เกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแหง่ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ชว่ ยใหโ้ รงเรียน ประเมนิ ผลลพั ธ์ตาม 4 ปัจจยั เหลา่ นี้ 1.ระดบั (Level) หมายถึง ผลการดาเนนิ การปัจจุบนั ในมาตรวดั ท่ีเหมาะสม 2.แนวโนม้ (Trend) หมายถงึ ทิศทางและอตั ราการเปลย่ี นแปลงของ Le T ผลลัพธ์ 3.การเปรยี บเทยี บ (Comparison) หมายถงึ ผลการดาเนินการ IC ของโรงเรียนเทยี บกับโรงเรยี นอื่นท่ีเหมาะสม เชน่ คแู่ ข่งหรือโรงเรยี นท่ี คลา้ ยคลงึ กันและเทยี บกับระดับเทยี บเคียงหรือ ผนู้ าทางการศกึ ษา 4.การบรู ณาการ (Integration) หมายถึง ขอบข่ายของความสาคัญ ของผลลพั ธ์ท่โี รงเรียนใชต้ ดิ ตามดู และการใชผ้ ลลัพธน์ ัน้ เพื่อสนบั สนนุ เปา้ ประสงคร์ ะดับโรงเรยี นและการปรับเปล่ียนแผน การมงุ่ เนน้ การปฏบิ ตั ิทเ่ี กย่ี วเน่ืองกนั การปฏบิ ตั ิท่ีเก่ยี วเน่อื งกนั ระหว่างเกณฑห์ มวดตา่ ง ๆ เปน็ องคป์ ระกอบทีส่ าคัญของมมุ มอง เชิงระบบในเกณฑ์รางวัลคณุ ภาพแห่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานตัวอยา่ งการปฏบิ ัติ ท่เี ก่ยี วเนอ่ื งกนั เชน่ การปฏบิ ตั ิท่เี กยี่ วเนอ่ื งกันระหว่างกระบวนการและผลลพั ธ์ท่เี กดิ ข้ึน ความจาเป็นของขอ้ มลู ในกระบวนการวางแผนกลยทุ ธแ์ ละการปรบั ปรงุ การปฏบิ ัตกิ าร การปฏิบตั ิท่เี กีย่ วเนอ่ื งกันระหว่างการวางแผนบคุ ลากรกบั การวางแผนกลยุทธ์ ความจาเปน็ ของความรู้เกีย่ วกบั นักเรียนและตลาดในการสรา้ งกลยุทธ์และแผนปฏิบัตกิ าร การปฏบิ ัติที่เกี่ยวเนือ่ งกันระหว่างแผนปฏิบตั ิการและการเปลย่ี นแปลงทจ่ี าเป็นใน ระบบงานของโรงเรยี น การบริหารจัดการด้วยระบบคณุ ภาพ

38 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L การมงุ่ เน้นการปรับปรงุ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานชว่ ยใหโ้ รงเรียนเข้าใจ และตรวจประเมนิ โรงเรียนว่าไดป้ ระสบผลสาเรจ็ ในสง่ิ ท่สี าคัญตอ่ โรงเรยี นในระดบั ใด โรงเรยี นมีการ ถ่ายทอดกระบวนการไปสู่การปฏบิ ตั ใิ นระดบั พฒั นาการใด ผลลัพธ์ของโรงเรยี นดีในระดบั ใด โรงเรียนได้ เรียนรูแ้ ละปรับปรงุ หรือไม่ และแนวทางของโรงเรยี นตอบสนองความจาเปน็ ของโรงเรียนไดด้ ีในระดับใด แนวทางการให้คะแนนแสดงใหเ้ ห็นถึงมิติของกระบวนการและผลลัพธ์ทอ่ี ธบิ ายขา้ งต้น ในขณะทโี่ รงเรียนตอบคาถามตามเกณฑ์ และ ประเมนิ ผลการตอบของตนเองกบั แนวทางการให้ คะแนน โรงเรียนจะสามารถระบุจุดแขง็ และโอกาส ในการปรบั ปรุงทง้ั ภายในเกณฑแ์ ต่ละหมวดและระหวา่ ง หมวด เมือ่ โรงเรยี นใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่ง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพอ่ื บริหารจัดการผลการดาเนินการของโรงเรยี น จะ เกิดการทางานประสานกันระหว่างกระบวนการท่สี าคญั และขอ้ มลู ป้อนกลับระหวา่ งกระบวนการกับผลลพั ธ์ ซง่ึ จะนาไปสวู่ งจรการปรบั ปรุง และเม่ือโรงเรยี นใชเ้ กณฑ์น้ีอยา่ งต่อเนอ่ื ง โรงเรยี นจะได้เรียนรู้เกย่ี วกับ ตนเองมากขน้ึ และจะสามารถระบวุ ิธีทีด่ ีที่สดุ ในการเสริมสร้างจุดแขง็ ปดิ ช่องวา่ งและสร้างนวัตกรรม กรอบความคิดของเกณฑ์ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแหง่ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน OBECQA เพอื่ ผล การดาเนนิ งานที่เปน็ เลศิ มุมมองเชงิ ระบบ ระบบของการดาเนินการท่ีเป็นเลศิ ประกอบด้วยเกณฑ์ 6 หมวด ที่อยู่สว่ นกลางของภาพ ซง่ึ ระบุ กระบวนการและผลลัพธท์ โี่ รงเรียนบรรลุ ผลการดาเนนิ การท่เี ปน็ เลิศต้องอาศัยการนาโรงเรยี นทเี่ ขม้ แข็ง และแสดงให้เหน็ ผ่านผลลพั ธ์ ท่โี ดดเดน่ ทั้ง 2 หมวดน้ี ถูกเนน้ ใหเ้ ด่นชดั ดังภาพ คาวา่ “การบูรณาการ” ที่กลางภาพแสดงใหเ้ ห็นวา่ ทุกองค์ประกอบของระบบเช่อื มโยงกนั ลกู ศรแนวนอนตรงกลาง แสดงถงึ การเชอื่ มโยงทส่ี าคญั ระหว่างกลมุ่ การนาโรงเรียน (หมวด 1, 2 และ 3) กบั กลุ่มผลลพั ธ์ (หมวด 5, 6 และ 7) และยงั แสดงถึงความสมั พนั ธโ์ ดยตรงระหว่าง กลมุ่ การนาโรงเรียนและกลุ่มผลลพั ธ์ ลกู ศรแนวตงั้ ที่กลางภาพ แสดงความสัมพนั ธ์แบบ 2 ทิศทาง ระหวา่ งพื้นฐานของระบบ ซึง่ ให้สารสนเทศและขอ้ มลู ปอ้ นกลับสาหรบั กระบวนการท่สี าคัญกับสภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี น การบริหารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 39 กลุ่มการนาองค์กร โครงรา่ งองคก์ ร กล่มุ ผลลพั ธ์ (การนาองคก์ ร กลยุทธ์ และนักเรียน) กาหนดบรบิ ทสาหรับองคก์ รเป็นแนวทาง (บคุ ลากร การปฏบิ ตั กิ าร และผลลัพธ)์ เน้นความสาคญั วา่ การนาองคก์ รตอ้ ง ที่กาหนดกรอบทอี่ งค์กรทา ประกอบด้วย กระบวนการทีม่ งุ่ เน้นบุคลากร มงุ่ ทีก่ ลยทุ ธ์และนักเรยี น กระบวนการปฏิบัติการท่ีสาคญั และผลลัพธ์ โครงร่างองค์กร ที่เกดิ จากกระบวนการเหลา่ นน้ั 2. กลยทุ ธ์ 5. บคุ ลากร (95) (100) 1. การนา 6. นกั เรยี นและผู้ บูรณาการ 7. ผลลพั ธ์ องคก์ ร มีส่วน(ไ9ด5ส้ ่ว)นเสีย (400) (110) 6. การ ปฏบิ ัติการ (100) 4. การวดั การวเิ คราะห์และการจดั การความรู้ (100) ค่านิยมและแนวคดิ หลกั พนื้ ฐานของระบบ การทางานทุกอย่างมงุ่ ผลลัพธซ์ ่งึ ประกอบด้วย (การวัด การวิเคราะหแ์ ละการจัดการความร)ู้ ผลลัพธ์ดา้ นหลกั สูตรและกระบวนการ มีความสาคญั อยา่ งยง่ิ ในการทาใหอ้ งคก์ ร ดา้ นนักเรียนและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย มกี ารจัดการที่มีประสทิ ธิภาพและมรี ะบบ ดา้ นบุคลากร ดา้ นการนาองค์กรและการกากบั ทคี่ ล่องตัวในการปรบั ปรงุ ผลการดาเนนิ การ ดูแลองคก์ ร และดา้ นการเงนิ และตลาด และความสามารถในการแข่งขัน ซึงต้องใช้ ข้อมลู จริง และองคค์ วามรู้เป็นแรงผลักดัน เกณฑร์ างวัลคุณภาพแหง่ สานักงานคณะกรรมการขั้นพนื้ ฐานนี้ มพี น้ื ฐานมาจากคา่ นยิ มและแนวคิดหลักของบรรดาองค์กร ที่มีผลการดาเนินการท่เี ป็นเลิศ การบรหิ ารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ

40 | W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L องคป์ ระกอบของการบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ ทงั้ 7 หมวด มคี วามสัมพนั ธ์เชือ่ มโยงกัน ในเชิงระบบ เพอื่ สรา้ งระบบการบรหิ ารจัดการเชิงบรู ณาการ (Integrated Management System) ท่มี งุ่ เน้นการสร้างผลงานทเี่ ปน็ เลศิ โดยการปรบั ปรงุ คณุ ภาพอยา่ งต่อเนือ่ ง องคก์ รสามารถดาเนินการบริหารจัดการดว้ ยระบบคณุ ภาพโดยพิจารณาจากองค์ประกอบ ดงั กล่าว โดยคานงึ ถึงคา่ นิยมหลกั ทมี่ ่งุ ผลการปฏบิ ัติทด่ี เี ลศิ ดงั ต่อไปน้ี การนาองค์กร (Leadership) 1.1 การนาองคก์ รโดยผ้นู าระดับสูง (Senior Leadership) 1หมวด ความรับผิดชอบทีส่ าคัญของผู้นาระดบั สูง โดยมจี ุดมุ่งหมาย เพ่ือสร้างโรงเรียนทปี่ ระสบความสาเร็จทั้งในปัจจบุ ันและอนาคต การกระทาของคณะผ้นู าในการชน้ี าและทาให้เกดิ ความยัง่ ยนื ใน 2 ประเด็น พจิ ารณา ไดแ้ ก่ ก) วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจและค่านิยม ข) การสอื่ สารและผลการ ดาเนนิ การของโรงเรยี น 1.2 การกากับดแู ลองคก์ รและความรับผดิ ชอบต่อสังคม 0000 (Governance and Societal Responsibilities) การกากับดูแลโรงเรยี นและทาให้บรรลผุ ลด้านความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม โดยพิจารณาใน 3 ประเด็น ไดแ้ ก่ ก) การกากับดูแลโรงเรียน ข) การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม และ ค) ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม กลยุทธ์ (Strategy) 2.1 การจดั ทากลยทุ ธ์ (Strategy Development) วิธกี ารทโี่ รงเรียนใช้ในการสร้างกลยุทธ์ เพ่อื ตอบสนอง หมวด 2 ความทา้ ทายและเพ่ิมความได้เปรียบและวธิ กี ารในการตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ระบบงานและสมรรถนะหลกั รวมทัง้ กาหนดวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ทสี่ าคญั และเป้าประสงค์ เพอื่ ทาให้ผลการดาเนนิ การโดยรวม ความสามารถใน การแข่งขนั ความสาเรจ็ ในอนาคตและกระตุ้นใหเ้ กดิ นวตั กรรม 2.2 การนากลยทุ ธ์ไปปฏิบัติ(Strategy Implemention) วธิ กี ารทโ่ี รงเรียนใชใ้ นการแปลวัตถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสแู่ ผนปฏิบตั ิการเพอ่ื ใหบ้ รรลุ วัตถปุ ระสงคเ์ หลา่ น้นั รวมทั้งวิธกี ารท่ีโรงเรยี นประเมนิ ความก้าวหน้าเทียบกับแผนปฏิบัตกิ าร เพ่ือทาให้ มน่ั ใจวา่ โรงเรียนมีการถา่ ยทอดกลยทุ ธส์ ู่การปฏบิ ตั ิ และบรรลเุ ป้าประสงคข์ องโรงเรยี น การบริหารจดั การดว้ ยระบบคณุ ภาพ

W O R L D - C L A S S S T A N D A R D S C H O O L | 41 นักเรียนและผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี 3หมวด (Student and Stakeholder) 3.1 เสยี งของนกั เรยี นและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี (Voice of the Student and Stakeholder) กระบวนการที่โรงเรียนใช้ในการรบั ฟังนักเรียนและผมู้ สี ว่ นได้ สว่ นเสีย ประเมินความพึงพอใจและความไม่พงึ พอใจ โดยมีเป้าหมาย เพ่อื เสาะหาสารสนเทศทม่ี ีคุณคา่ เพอื่ ทาใหเ้ หนือกว่าความคาดหวัง ของนักเรียนและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย 3.2 ความผูกพันของนักเรยี นและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี 0000 (Student and Stakeholder Engagement) กระบวนการคน้ หาและปรับแตง่ หลกั สูตรและบรกิ ารท่ีตอบสนองนกั เรยี นและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ทาใหน้ กั เรียนและผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี สามารถค้นหาสารสนเทศและรับการสนับสนนุ รวมท้ังระบุ กล่มุ นักเรยี นและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี กระบวนการสรา้ งความสัมพนั ธ์กบั นักเรยี นและผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี และการจดั การข้อร้องเรยี น เพื่อปรบั ปรุงการตลาด สรา้ งวฒั นธรรมทีม่ งุ่ เนน้ นักเรียนและผู้มสี ว่ นได้ส่วน เสียมากยง่ิ ข้ึนและยกระดบั ความพงึ พอใจของนักเรยี นและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสีย การวัด การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้(Measurement, Analysis, and Knowledge Management) 4หมวด 4.1 การวดั การวเิ คราะห์ และการปรบั ปรุงผลการ ดาเนินการของโรงเรียน (Measurement, Analysis and Improvement of Organizational Performance) วธิ ีการทโี่ รงเรียนใชใ้ นการเลือกและใชข้ อ้ มูลสาร สนเทศสาหรับการวัดผล การดาเนนิ การ การ วิเคราะห์ และการทบทวน เพื่อสนบั สนุนการวางแผนและการปรบั ปรงุ การ ดาเนนิ การของโรงเรยี น เป็นหัวขอ้ ทเี่ ป็นศูนย์กลางการรวบรวมและวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสารสนเทศในการ วดั ผลการดาเนนิ การและระบบการจดั การ ท่ีมกี ารบูรณาการ โดยอาศยั ขอ้ มูลและสารสนเทศด้านการเงนิ และดา้ นอน่ื ๆ จุดประสงค์ของการวัดผลการดาเนินการ การวิเคราะห์ การทบทวนและการปรับปรุง เพ่ือชี้นาการจัดการกระบวนการของ องคก์ ร ใหบ้ รรลุผลลพั ธ์ของ องคก์ ร และวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยุทธท์ ี่ สาคญั อีกทงั้ เพื่อคาดการณ์ และตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงท่ีรวดเรว็ หรือไมไ่ ดค้ าดคิด หรือการ เปลีย่ นแปลงจากภายนอกองค์กร รวมทงั้ ระบวุ ธิ ีปฏบิ ัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศขององคก์ รทนี่ ามาแบ่งปนั การบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพ