Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเล่มโครงการกิจกรรม 3

สรุปเล่มโครงการกิจกรรม 3

Published by nudyna, 2021-05-05 08:44:25

Description: รวมเล่ม ก.3

Search

Read the Text Version

ก คำนำ กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย โดยสถาบนั การพฒั นาชุมชน มอบหมายให้ศนู ยศ์ ึกษา และพัฒนาชุมชน ดาเนินงานโครงการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ 3 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาในการแก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เป็นการเช่ือมโยงเครือข่าย ด้วยการบูรณาการการทางานอย่างมีส่วนร่วมทั้ง 7 ภาคี ไดแ้ ก่ ภาครฐั ภาควชิ าการ ภาคศาสนา ภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคสื่อมวลชน ซึง่ การฝึกอบรมตามหลักสูตรดังกล่าว จะเน้นการฝึกปฏิบัติจากประสบการณ์จริง กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย นักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอ ปราชญ์ผู้ดาเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในเขต พ้ืนท่ีรับผิดชอบ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน จานวน 1 รนุ่ กลุม่ เป้าหมายทง้ั สน้ิ 104 คน ดาเนนิ การแล้ว เสร็จ ระหว่างวนั ท่ี 24 – 28 มกราคม 2563 ณ ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง จึงได้จัดทาเอกสารรายงานผลการฝึกอบรมโครงการศูนย์ ศึกษาและพฒั นาชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กจิ กรรมที่ 3 ฝึกอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร หลักสูตร การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบผลการดาเนนิ งาน คณะผู้จัดทาหวัง เป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารผลการดาเนินงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผูส้ นใจตอ่ ไป ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนลาปาง กุมภาพนั ธ์ 2563

ข หน้า ก สารบัญ ข ง คานา สารบัญ 1 บทสรุปผ้บู รหิ าร 1 สว่ นท่ี 1 1 1 บทนา 2 1.1 ความเป็นมา 2 1.2 วัตถุประสงค์ 2 1.3 กลุ่มเปา้ หมาย 2 1.4 ขัน้ ตอนและวิธีการดาเนินงาน 2 1.5 งบประมาณดาเนินการ 3 1.6 ระยะเวลาดาเนนิ การ 1.7 ขอบเขตเนือ้ หาของหลกั สูตร 4 1.8 ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั 6 1.9 ตวั ช้วี ัดความสาเร็จ 8 สว่ นที่ 2 สรปุ เนื้อหาวิชาการ กจิ กรรมและผลการดาเนินกิจกรรม 11 รายวิชาที่ใช้ในการฝึกอบรม 15 17 2.1 กิจกรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ 25 2.2 ตาราบนผืนดิน กิจกรรมเดนิ ชมพื้นท่ี 28 2.3 ศาสตร์พระราชา 31 2.4 ถอดบทเรียนผ่านสือ่ แผน่ ดนิ ไทย 2.5 การออกแบบเชิงภมู สิ ังคมไทย 2.6 ฝึกปฏิบัติฐานเรียนรู้ 2.7 ถอดบทเรยี น/นาเสนอ 2.8 Work Shop การจัดการพ้ืนท่ี ดิน น้า ป่า คน 2.9 ฝึกปฏิบัติฐานการเรยี นรู้ คนรกั ษ์สขุ ภาพ/คนมนี ้ายาฯ

ค หนา้ สารบัญ (ตอ่ ) 34 39 รายวิชาที่ใชใ้ นการฝกึ อบรม(ต่อ) 42 2.10 วชิ า ถอดบทเรียนฝึกปฏบิ ัติฐานเรยี นรู้ 44 2.11 กจิ กรรมเอามื้อสามคั คี การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สกู่ ารปฏิบัติ 46 2.12 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2.13 Team Building หาอย่หู ากนิ 48 2.14 ยุทธศาสตร์ขบั เคลือ่ นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ส่กู ารปฏบิ ัติ 48 กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร 49 -กจิ กรรมเสรมิ คณุ คา่ /เทิดทนู สถาบนั 49 -กจิ กรรมส่งเสริมพระพทุ ธศาสนา 49 49 ส่วนที่ 3 การประเมินโครงการ 49 3.1 รปู แบบและวิธกี ารประเมนิ 3.2 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 59 3.3 การวิเคราะหข์ อ้ มูล 60 3.4 เกณฑ์การประเมิน 3.5 ผลการประเมิน 62 65 ส่วนท่ี 4 ขอ้ คิดเห็นเสนอแนะของศนู ยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชน 69 4.1 ข้อเสนอแนะ 70 4.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (การพัฒนาหลักสูตร และการบริหารโครงการ) ภาคผนวก ภาพกิจกรรม ทะเบียนรายชือ่ ผู้เข้าอบรม ตารางฝึกอบรม แบบประเมนิ โครงการ

ง บทสรปุ สาหรับผ้บู รหิ าร กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจหลักในด้านการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชน ประกาศ ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ปี พ.ศ. 2560-2565 โดยมีเป้าหมายเศรษฐกิจฐานรากมั่นคง และชมุ ชนพ่ึงตนเองไดภ้ ายในปี 2565 โดยประเด็นการพฒั นา ยุทธศาสตร์ที่ 1 สรา้ งสรรคช์ มุ ชนพงึ่ ตนเองได้ โดยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้สถาบันการพัฒนาชุมชน พัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชน และประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ให้มีความพร้อมด้านองค์ความรู้ และมีทักษะด้านการปฏิบัติงาน รวมทั้งปลูกฝังทัศนคติที่ดีใน การทางาน ตามนโยบายของรัฐบาลและยุทธศาสตร์กรมการพฒั นาชุมชน เพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลอย่างเป็นรปู ธรรม กรมการพัฒนาชุมชน โดยสถาบันการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ลาปาง ดาเนินงานโครงการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมท่ี 3 ฝกึ อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร หลักสตู ร การพฒั นากสิกรรมส่รู ะบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยมเี จา้ หน้าท่ีศูนย์ศกึ ษาและ พัฒนาชุมชนลาปาง เข้าร่วมฝึกอบรมโครงการร่วมกับศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอ้ือง จังหวัดชลบุรี เพื่อ เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจากสถานการณ์จริง โดยนาความรู้มาถ่ายทอดและเป็นวิทยากรกระบวนการร่วมกัน กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยนกั วิชาการพฒั นาชุมชนจังหวัด/อาเภอ และปราชญ์ผู้ดาเนนิ ชีวิตตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งนักวิชาการพฒั นาชุมชนจะเป็นผู้ประสานงานระหวา่ งศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ลาปาง สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั /อาเภอและปราชญ์ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรม โดยอบรมจานวน 1 รุน่ จานวนทง้ั สนิ้ 104 คน ดาเนินการแล้วเสร็จ ระหวา่ งวันที่ 24-28 มกราคม 2563 ณ ศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนา ชมุ ชนลาปาง งบประมาณทีไ่ ดร้ บั จัดสรรทั้งสน้ิ จานวน 588,400 บาท การใชจ้ า่ ยงบประมาณทง้ั สิ้น จานวน 588,400 บาท คงเหลอื – บาท กระบวนการฝึกอบรมจานวน 5 วัน หัวข้อวิชา ได้แก่ 1) เรียนรู้ตาราบนผืนดินกจิ กรรมเดินชม พ้ืนที่ 2) “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาที่ย่ังยืน” 3) ถอดบทเรียนผ่านส่ือแผนดินไทย ตอน “แผ่นดินวิกฤต” 4) การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน เพ่ือการ พึ่งตนเองและรองรับภัยพิบัติ 5) ฝึกปฏิบัติฐานเรียนรู้ “คนรักแม่ธรณี/คนเอาถ่าน” 6) หลักกสิกรรม ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง 7) Work shop “การจัดการพ้ืนท่ี ดิน น้า ป่า คน” 8) กิจกรรมเอาม้ือสามัคคี ฝึก ปฏิบัตกิ ารประยุกตท์ ฤษฎใี หม่สู่การปฏบิ ัติ 9) แลกเปลย่ี นประสบการณก์ บั ปราชญช์ าวบ้าน “วถิ ีภมู ปิ ญั ญาไทย กบการพ่ึงตนเอง” 10) Team Building หาอยู่ หากิน 11) ถอดบทเรียนชมสื่อสร้างแรงบันดาลใจ 12) ส่ือ เพราะรกั ของราษฎร กตญั ญูต่อสถานที่ ใสบ่ าตร 13) ยุทธศาสตรก์ ารขับเคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สกู่ ารปฏบิ ตั ิ การประเมินผลโครงการ ใช้แนวทางการประเมินผลที่สถาบันการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนา ชุมชนกาหนดให้ เป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรม ซึ่งใช้แบบสอบถาม ประเมินภาพรวมของโครงการ จาแนกเป็น 3 ส่วนสรุปตามลาดับ ได้ดังน้ี คือ ในภาพรวมผู้รับการฝึกอบรม จานวน 104 คน ตอบแบบสอบถามท้ังสิ้น 91 คน คิดเป็นร้อยละ 87.5 เพศชายคิดเป็นร้อยละ 82.7 และเพศหญงิ คดิ เป็นรอ้ ยละ 17.3 อายุเฉลี่ย 51 ปี การบรรลุวัตถุประสงค์โครงการ จากผลการประเมิน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.19 โดยก่อน เข้ารับการฝึกอบรม ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจรายวิชาในภาพรวม ระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.26 และหลังเข้ารับการฝึกอบรม ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจรายวิชาในภาพรวม ระดับมาก ค่าเฉล่ีย

จ 4.19 จาแนกรายวชิ า คือ การประยกุ ต์ใช้ศาสตร์พระราชา ในการแก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม เช่ือมโยงเครือข่ายดว้ ยการบูรณาการการทางานอย่างมีสว่ นรว่ ม ในส่วนข้อเสนอแนะของผู้เข้ารับการฝึกอบรมในเชิงนโยบาย เสนอให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนา ชุมชนลาปาง ขยายผลให้ต่อเนื่อง หลากหลาย ประสานหน่วยงานภาครัฐเช่ือมโยงเครือข่าย การใช้ส่ือ/ เทคโนโลยใี นงานดา้ นเกษตรกรรม

๑ สว่ นที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเปน็ มำ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนตามท่ีองค์การสหประชาชาติกาหนดไว้ ที่มุ่งหวังจะช่วยแก้ปัญหา ของโลกทก่ี าลังเผชญิ อยู่ เช่น ความยากจน ความไม่เท่าเทียม สภาวะโลกรอ้ น และสนั ตสิ ุข โดยมีแนวคิด “ไม่ ท้งิ ใครไว้ข้างหลงั ” และถอื เป็นแนวทางสากลที่ประเทศไทยนามาปรับใชเ้ ป็นกรอบในการพัฒนาประเทศ ด้วย การกาหนดเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 โดยมีจุด มุ่งเน้นประเด็นหลักเพ่ือการแก้ไขปัญหาและการพฒั นาในหลายดา้ น เชน่ การขจัดความยากจนทกุ รูปแบบทุก สถานที่ การขจัดความหิวโหย การบรรลุความมั่นคงทางอาหาร และการสง่ เสรมิ เกษตรกรรมอยา่ งย่ังยืน กรมการพัฒนาชุมชน มีบทบาทสาคัญในการ “สร้างพลังชุมชน ใช้พลังชุมชน เพื่อการพัฒนา ชุมชน” อันเปน็ ฐานให้ประเทศชาติเข้มแขง็ และม่นั คง นับเปน็ ส่วนราชการหนว่ ยงานแรกท่มี ี “ข้าราชการ” ลง ไปทางานในตาบล หมู่บ้าน เข้าถึงระดับครัวเรือนเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ภายใต้วิสัยทัศน์ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง และชุมชนพ่ึงตนเองได้ ภายในปี 2565 โดยมุ่งเน้นส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ การ พัฒนาอาชีพและการสร้างรายได้ ตามแนวคิดของศาสตร์พระราชาและการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพือ่ การพฒั นาประเทศอยา่ งยัง่ ยืน ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง มีภารกิจหลัก 3 ด้านคือ ด้านการวิจัยและพัฒนา ด้านการ พัฒนาบุคลากร และด้านการให้คาปรึกษาและบริการทางวชิ าการ ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบการพฒั นา บคุ ลากร เพิม่ ทักษะและสมรรถนะบุคลากรในเขตพื้นท่ี 8 จงั หวัดภาคเหนือตอนบน ของกรมการพฒั นาชุมชน จึงได้กาหนดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือ พัฒนาบุคลากรในเขตพื้นท่ีบริการ ให้มีสมรรถนะที่เหมาะสม ในการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งภายใต้ สถานการณค์ วามเปลย่ี นแปลง และเปน็ การตอบโจทยก์ ารพฒั นาทยี่ ่ังยืนตามหลักสากลของโลก 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อพัฒนาบุคลากรในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชนและบุคลากรท้ัง 7 ภาคี ได้แก่ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคศาสนา ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ภาคส่ือมวลชน ในพื้นที่ดาเนินงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการประยกุ ต์ใชศ้ าสตรพ์ ระราชา ในการแกไ้ ขปญั หาทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และส่ิงแวดล้อมแก่ ชุมชนในพ้ืนท่ี 1.2.2 เพื่อเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยในพน้ื ทท่ี ง้ั 7 ภาคี ด้วยการบูรณาการ การทางานแบบมสี ่วนร่วม 1.3 กลุ่มเปำ้ หมำย 1.3.1 นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนจังหวดั ภาคเหนอื ตอนบน จงั หวัดละ 1 คน รวม 8 คน 1.3.2 ตวั แทนพัฒนากรภาคเหนือตอนบน จงั หวดั ละ 1 คน รวม 8 คน 1.3.3 ตัวแทนปราชญ์ฯ ภาคเหนือตอนบน เขต 8 จงั หวดั รวม 84 คน

๒ 1.4 ขั้นตอนและวิธกี ำรดำเนนิ งำน 1.4.1 รับทราบนโยบายและทิศทางการดาเนินงานของหลักสูตรฯ ระหว่างวันท่ี 12-13 มกราคม พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมเดอะวิลลิง่ ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 1.4.2 เสนอขออนุมตั ดิ าเนินโครงการฯและประสานใหก้ ลมุ่ เป้าหมายเข้ารับการฝกึ อบรมตามแผน 1.4.3 ประชุมเตรียมความพร้อมคณะวิทยากร ในแต่ละรายวิชาท่ีจะใช้ในการฝึกอบรม/ ประสานงานวิทยากรที่มาจากภายนอก ตลอดจนเตรียมความพรอ้ มคณะเจ้าหน้าที่ ท่ีใหบ้ รกิ ารด้านตา่ งๆ 1.4.4 ดาเนินโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจ พอเพียง จานวน 100 คน (1 รนุ่ ) 1.4.5 สรุปประเมินผลโครงการและรายงานเบ้ืองต้น/ สรุปผลการดาเนนิ โครงการเปน็ รปู เล่ม ส่ง สถาบนั การพัฒนาชมุ ชน และกรมการพฒั นาชมุ ชน 1.4.6 อภิปรายผล แลกเปลยี่ นเรียนรู้ และนาผลการดาเนินโครงการไปใช้ประโยชน์ 1.5 งบประมำณดำเนนิ กำร ใช้งบประมาณกรมการพัฒนาชมุ ชน ตามแผนปฏิบัตงิ านและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจาปฯี 2562 ไปพลางกอ่ น งบประมาณ 588,400 บาท (ห้าแสนแปดหมื่นแปดพันสี่ร้อยบาทถว้ น) 1.6 ระยะเวลำดำเนนิ กำร ไตรมาส 2 ระหวา่ งวันที่ 24 – 28 มกราคม พ.ศ.2563 1.7 ขอบเขตเนอ้ื หำของหลกั สตู ร หมวดวชิ าท่ี 1 ศาสตรพ์ ระราชา และปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หมวดวิชาท่ี 2 หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ หมวดวชิ าท่ี 3 การออกแบบการประยกุ ตท์ ฤษฎีใหมส่ กู่ ารปฏิบัติ “เอามื้อสามัคคี” หมวดวชิ าท่ี 4 ยุทธศาสตรก์ ารขับเคลอ่ื นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สกู่ ารปฏบิ ัติ 1.8 ผลทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับ 1.8.1 ศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนลาปาง ได้เตรียมความพรอ้ มรองรบั แผนปฏบิ ัติการ ขับเคลื่อนสบื สานศาสตรพ์ ระราชาส่เู ป้าหมายความย่ังยนื โลก 1.8.2 ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม ได้รบั การพฒั นาและสรา้ งองคค์ วามรู้ผ่านหลักสตู รฯ ตลอดจนได้ การทางานแบบบูรณาการความร่วมมอื ในพนื้ ท่ีเป้าหมายอนั เป็นการเชื่อมโยงเครือขา่ ย 7 ภาคี

๓ 1.9 ตวั ชี้วดั ควำมสำเรจ็ 1.9.1 เชิงปรมิ าณ 1.9.1.1 ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และมีความเข้าใจในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีใหม่ 1.9.1.2 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง ได้รับการพัฒนา/ปรับปรุงพื้นที่ เพื่อเป็นฐาน การเรียนรู้ ประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีได้ และเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ย ในระดบั พื้นที่ทัง้ 7 ภาคี 1.9.2 เชิงคุณภาพ 1.9.2.1 ผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถดาเนินงานขับเคล่ือนศาสตร์พระราชา ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพืน้ ทข่ี องตนเองได้ 1.9.2.2 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง เป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ศาสตร์พระราชา ในพืน้ ที่เขต 8 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน

๔ สว่ นท่ี 2 สรปุ เนอื้ หำวชิ ำกำร กจิ กรรมและผลกำรดำเนินกิจกรรม 2.1 หวั ข้อวชิ ำ : กจิ กรรมกลุ่มสมั พันธ์และปรบั ฐำนกำรเรียนรู้ วทิ ยำกรหลัก นางสาววชริ ญาณ์ แยม้ เยือ้ น นักทรัพยากรบคุ คล 1) วตั ถุประสงค์ เพื่อให้สามารถทาความรู้จักกัน สานสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวิทยากรกับผู้อบรม และผู้อบรมกับผู้ อบรม พร้อมท้ังสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ เตรยี มความพร้อมผ้อู บรมกอ่ นเข้าสบู่ ทเรยี น 2) ประเดน็ เนื้อหำ 2.1 แนะนาวทิ ยากร 2.2 สรา้ งความคุ้นเคย 2.3 กาหนดกตกิ า/ถอดวางตาแหนง่ /กาหนดอายใุ นการเรยี นร/ู้ ปรบมือเชิงสญั ลกั ษณ์ (ปรบมอื ใส่รหสั ) 2.4 แบ่งกลมุ่ สี 2.5 มอบหมายหนา้ ท่ี 2.6 ความคาดหวงั 2.7 สรปุ การเรียนรู้ 3) ระยะเวลำ 1.30 ชว่ั โมง 4) วธิ กี ำร/เทคนคิ 4.1 กจิ กรรมสัมพันธ์ (เพลงและเกมส์) 4.2 สอ่ื Power Point บรรยาย 4.3 กระตุ้นดว้ ยคาถามและแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ 4.4 สรุปการเรียนรู้ 5) วัสดุ / อุปกรณ์ 5.1 ส่อื Power Point /ไมโครโฟน/อุปกรณ์ประกอบจงั หวดั 5.2 ผ้าพันคอตามกลมุ่ สี (เขียว แดง เหลอื ง ชมพู สม้ ) 6) ขัน้ ตอน / วธิ ีกำร วิทยากรกล่าวแนะนาคณะวิทยากร ศพช.ลาปาง โดยแนะนาทีละท่าน ไล่เรียงจากซ้ายสลับขวา วิทยากรกล่าวทักทายสร้างความคุ้นเคย/ปรบมือเตรียมความพร้อม/สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ และนาเข้าสู่ การกาหนดกติกาการอยู่รว่ มกนั ถอดวางตาแหน่ง อายุ และวิทยากรสอนการปรบมือเชิงสัญลักษณ์ ด้วยการ ออกคาสง่ั วา่ “ปรบมอื ใสร่ หสั เช่น คาว่า สามคั คี คือ พลงั คา้ จนุ แผน่ ดนิ ไทย สาม สอง หนง่ึ แล้วให้ปรบมือ 3 ครั้ง 3 ครง้ั 7 คร้ัง และชูมือขวาพรอ้ มกามือข้นึ เหนือศรษี ะ กล่าวคาว่า “สามคั คี คือ พลงั ค้าจุนแผ่นดินไทย” จากน้ันทาการฝกึ ให้ผู้อบรมได้ออกคาสั่งนี้ โดยคดั เลอื กจากผู้ที่มลี ักษณะเป็นผ้นู า วทิ ยากรนาเข้าสกู่ จิ กรรมสร้างความคนุ้ เคยดว้ ย เพลง “See You” จากนน้ั วทิ ยากรออกคาสั่งให้ เปลย่ี นคูใ่ นการทักทายทาความรู้จกั กัน วิทยากรนาเข้าสกู่ ิจกรรมการแบ่งกลุ่มสี ด้วยเกมส์ “รวมเงนิ ” โดยมเี น้ือร้องว่า “รวมเงนิ รวม เงินวันน้ี รวมกันให้ดีอย่าให้มีพลาด ผู้หญิงนั้นเป็นเหรียญบาทๆ ผู้ชายเก่งกาจเป็น หน่ึงบาทห้าสิบสตางค์”

๕ วิทยากรออกคาสัง่ คร้ังท่ี 1 ใหท้ กุ คนรวมเงินใหไ้ ด้ 10 บาท จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะคนทาความร้จู กั กนั โดยสอบถาม ชื่อและจังหวัดรวมถึงประวัติโดยสังเขปให้ได้เยอะท่ีสุด วิทยากรออกคาสั่งครั้งท่ี 2 ให้ทุกคนสลายกลุ่มและ รวมเงนิ ให้ได้ 20 บาท วิทยากรออกคาส่ังให้ผู้อบรมจัดแถวตอนลึกเรียงหน่ึง โดยแบ่งเป็น 2 แถว (แยกเพศชาย/ หญิง) จากน้นั ใหผ้ ้อู บรมทาการเรียงลาดับโดยกาหนดอายุน้อยไปหามาก (ไล่เรยี งตัง้ แต่หวั แถวไปถงึ หางแถว) และใหผ้ อู้ บรมทาการนับเลขจานวน 1-5 ไปเรอ่ื ยๆ จนครบ เม่อื แบง่ กลมุ่ สีได้ 5 กล่มุ สแี ล้ว วทิ ยากรทาการกาหนดกลุม่ สี ดังนี้ กลมุ่ ท่ี 1 สีเขียว (พร้อมแนะนาวิทยากรประจากลุ่ม) กลมุ่ ท่ี 2 สแี ดง (พร้อมแนะนาวิทยากรประจากลุม่ ) กล่มุ ท่ี 3 สีเหลอื ง (พรอ้ มแนะนาวทิ ยากรประจากล่มุ ) กลุ่มท่ี 4 สชี มพู (พร้อมแนะนาวิทยากรประจากลุ่ม) กลุม่ ที่ 5 สสี ม้ (พร้อมแนะนาวิทยากรประจากลมุ่ ) วิทยากรชแี้ จงการคัดเลอื กตาแหน่ง ดงั น้ี คดั เลอื กผ้รู ับตาแหนง่ ผู้ชว่ ยผใู้ หญบ่ า้ น เลขาฯ ผ้ใู หญ่บา้ น น้องเล็กของสี (อายุนอ้ ยทสี่ ุด) ในแตล่ ะกล่มุ จากน้นั ให้ผูใ้ หญบ่ า้ น ของแต่ละสเี ลอื กกานัน และเลอื กสารวตั รกานนั 1 คน (เลอื กโดยกานัน) วทิ ยากรแจกแบบฟอร์มกรอกใบรายชอื่ สมาชกิ วิทยากรชี้แจงการเข้ารับผ้าพันคอหน้าพระบรมฉายาลักษณ์และให้ผู้นากลุ่มขึ้นไปรับผ้าพันคอ ตามกล่มุ สี จัดพิธีมอบผ้าสีแต่ละกลุ่ม (ใส่พาน) ต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ โดยผู้ใหญ่เป็นผู้รับมอบ (เมื่อ ได้ผ้าสีใหแ้ จกใหแ้ ถวตัวเอง ใหถ้ ือในมือขวา วางไว้บนตกั และหลบั ตาระลึกถึงในหลวงรัชกาลท่ี 9 และพระราช กรณยี กจิ ขอพระองคเ์ ป็นเวลา 1 นาท)ี การผกู ผา้ สตี ้องเปน็ ผ้าพนั คอเทา่ น้ัน (ผกู แบบเนคไท) วิทยากรแจกบัตรคา สอบถามความคาดหวงั ทมี่ ตี อ่ การฝึกอบรม ดว้ ยคาถาม ดังนี้ “ความคาดหวงั ต่อการเรียนรู้และความคาดหวังตอ่ วทิ ยากร” วิทยากรสรุปการเรียนรู้ในกิจกรรมสัมพันธ์และปรับฐานการเรียนรู้ วิทยากรขอความร่วมมือใน การร่วมกจิ กรรม โดยยดึ หลัก 4 ส. (สว่ นรว่ ม/สนกุ สนาน/สาระ/สร้างสรรค)์ สรปุ ผลกำรเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความต่ืนตัว มีความสนใจ ให้การมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ เช่น สามารถทาความรู้จักกันระหว่างผู้อบรมกับวิทยากร และผู้อบรมกับผู้อบรม ภายในบรรยากาศท่ี สนุกสนานเป็นกันเอง และวิทยากรสามารถใช้กระบวนการ Play & Learn ที่มุ่งเน้นการละเล่นไปด้วย สอดแทรกการเรียนรหู้ รอื ความรู้ไปด้วย ทาให้ผู้อบรมสามารถมีความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรได้ดีย่ิงข้ึนและ เปน็ การเตรียมความพร้อมผ้อู บรมเพือ่ เข้าสูบ่ ทเรียนของหลกั สตู รต่อไป

๖ 2.2 หวั ขอ้ วิชำ : เรยี นรู้ตำรำบนผนื ดิน กิจกรรมเดินชมพนื้ ท่ี วทิ ยำกรหลัก นางสาวเมทินี น้อยเรือน นักทรพั ยากรบุคคลปฏิบตั ิการ 1) วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อสารวจและสรา้ งการเรียนรู้เชงิ พนื้ ที่ 1.2 เพอ่ื วิเคราะห์และนาเสนอสิง่ ท่สี งั เกตเหน็ และสงิ่ ท่ีได้จากการลงพ้ืนทใี่ นการเรียนรู้ 2) ประเดน็ เนอื้ หำ 2.1 การสารวจพืน้ ท่ีเพอื่ สรา้ งการเรียนรู้ 2.2 กาหนดประเด็นคาถาม “ท่านเหน็ อะไร” และ “ทา่ นได้อะไร จากการสารวจ” 2.3 ตัวแทนกลุ่มนาเสนอส่ิงทเี่ หน็ และสง่ิ ทไี่ ด้จากการสารวจ 3) ระยะเวลำ 1 ช่ัวโมง 4) วธิ ีกำร/เทคนิค 4.1 การชแี้ จง 4.2 การลงพ้นื ทสี่ ารวจ 4.3 การนาเสนอขอ้ มลู 5) วัสดุ / อปุ กรณ์ 5.1 คอมพิวเตอร์ 5.2 โปรเจคเตอร์ 6) กำรประเมินผล 6.1 ประเมนิ จากพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มและการตอบขอ้ ซกั ถาม/การแลกเปลยี่ น 6.2 การประเมนิ ผลรายวิชา 7) สรุปผลกำรดำเนนิ งำน สรุปประเดน็ เนือ้ หาวิชาตามวัตถปุ ระสงค์ ได้ดงั น้ี 7.1 สารวจและสรา้ งการเรียนรูเ้ ชิงพื้นที่ - การซักซ้อมความเข้าใจให้แก่ผู้เข้ารับการอบรม โดยกาหนดประเด็นคาถามวา่ “ท่านเห็น อะไร” และ “ท่านไดอ้ ะไร จากการสารวจ” ท้ังน้ีวทิ ยากรเน้นย้าใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมว่า “อยา่ ด่วนตัดสินใจ ไม่ แนะนา ไม่คดิ ไมช่ ว่ ยแก้ไขปัญหา” - การนาผู้เข้ารับการอบรมตามแต่ละกลุ่มเข้าสารวจพ้ืนท่ีท่ีจะทากิจกรรมเอาม้ือสามัคคี เพ่อื ให้เห็นสภาพพื้นท่ีกอ่ นดาเนนิ การทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ การออกแบบพื้นท่แี ละการดาเนินกจิ กรรมเอาม้ือสามัคคี - การเข้าสู่พื้นที่เพื่อแสดงให้เห็นถึงสภาพพื้นท่ี ปัญหาของพื้นท่ี และแนวทางในการแก้ไข ปญั หาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง นา โมเดล” - การสังเกตการณ์และหยิบวัตถุท่ีพบเจอในพ้ืนท่ีท่ีกลุ่มลงไปศึกษา และระดมความเห็น เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ มลู และเร่อื งราวเกย่ี วกบั วตั ถุที่หยบิ ไดจ้ ากพน้ื ที่ และนาเสนอสภาพพน้ื ที่ 7.2 วิเคราะหแ์ ละนาเสนอส่ิงที่สังเกตเหน็ และสิง่ ที่ได้จากการลงพืน้ ท่ใี นการเรียนรู้ - ผูน้ าเสนอแต่ละกล่มุ นาเสนอผลจากการสารวจผ่านวตั ถุทหี่ ยบิ มาจากพน้ื ที่

๗ - ฟางขา้ วเป็นส่วนของต้นข้าวที่เหลือจากการเกบ็ เก่ียวและนาเมล็ดข้าวออกแลว้ ถือเป็นผล พลอยได้ทางการเกษตรจากนาข้าวที่มีประโยชน์ในหลายด้าน และใช้เป็นวัตถุดิบสาคัญสาหรับการผลิตทาง เกษตรอนื่ ๆ และนามาใช้หม่ ดนิ เพื่อสร้างความชมุ่ ชน้ื ใหแ้ กผ่ นื ดนิ - ใบไม้ เป็นส่วนของพืชท่ีติดกบั ก่ิงและก้าน รูปทรงแบนๆ โดยมากมีสีเขียว มีหน้าท่ีหายใจ คายน้า เก็บอาหาร และสืบพันธุ์ ใบไม้ ที่ร่วงหล่นตามใต้โคนต้นไม้ หากทับถมมากๆ เข้า ก็จะเกิดการผุผังเน่า เปื่อยย่อยสลายจนกลายเป็นธาตุอาหารให้ต้นไม้เจริญเติบโตต่อไป นอกจากนั้นยังสามารถนาใบไม้มาทาปุ๋ย แห้ง สาหรบั บารุงดิน และนาใบไม้มาประดิษฐ์เปน็ ของใช้ในชวี ิตประจาวนั เชน่ กระต๊บิ ข้าว เปน็ ตน้ ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า ผู้เข้ารับการอบรมฯ ได้เห็นสภาพพ้ืนท่ี ได้เห็นความอุดมสมบูรณ์ของ พ้นื ทีแ่ ละการอยอู่ าศัยทเ่ี ก้อื กูลกันของสิง่ มีชวี ิต การนาเอาเศษใบไมแ้ หง้ มาย่อยสลายและสามารถนามาทาเป็น ปุ๋ยแห้งสาหรับบารุงดิน อีกทั้งสามารถนาเอาฟางข้าวมาห่มดิน เพ่ือสร้างความชุ่มช่ืนให้แก่ผืนดินและต้นไมท้ ี่ ช่วยดูดซบั น้าจากดนิ ได้ดี

๘ 2.3 วิชำ “เขำ้ ใจ เข้ำถึง พฒั นำ ศำสตรพ์ ระรำชำกบั กำรพัฒนำท่ยี ัง่ ยืน วทิ ยำกรหลัก พระวรี ะยุทธ์ อภิวิโร วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ศาสตร์พระราชาและการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ระยะเวลำ 4 ชัว่ โมง ประเด็น/ขอบเขตเนอ้ื หำ 1. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. หลักการทรงงาน “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” พระราชดารัสของในหลวงรชั กาลที่ 9 3. บันได 9 ขน้ั สูค่ วามพอเพียง 4. เรยี นรจู้ ากกรณีตวั อย่าง “โคก หนอง นา โมเดล” เทคนคิ วิธกี ำร 1. สอ่ื Power Point 2. บรรยาย 3. กระตุน้ ดว้ ยคาถามและแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ 4. สรุปการเรียนรู้ ขน้ั ตอน/วิธีกำร วิทยากรผู้เช่ียวชาญ บรรยายเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน และพระราชดารัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ของในหลวงรัชกาลที่ 9 และเรียนรู้จากกรณี ตัวอยา่ ง “โคก หนอง นา โมเดล” วิทยากรเกริ่นนาสถานการณ์ของโลก ท่ีส่งผลกระทบต่อประเทศไทย ที่ ณ ตอนน้ีชาวไทยต้อง ตระหนักถงึ ภัยคุกคามทั้ง 4 ด้าน ซ่ึงภยั คกุ คามทีว่ ่าน้ี ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระองคท์ า่ นทรงทานายไว้ลว่ งหน้า ผา่ น ส.ค.ส.พระราชทาน ปี พ.ศ. 2547 ไวว้ า่ จะเกดิ ระเบดิ 4 ลกู ดังน้ี ลูกที่ 1 คือ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด พายุ ความแห้งแล้ง ฯลฯ ยกตัวอย่างภยั พิบัติจากธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศไทยแลว้ นัน่ คือ คล่ืนยักษซ์ ึนามิทถี่ ล่มชายฝงั่ ทะเลอันดา มัน และในการทานายของพระองค์ท่านยังกล่าวไว้ว่า อาจจะมีแนวโน้มที่จะเกิดคลื่นยักษ์ซึนามิได้ทางชาวฝั่ง อา่ วไทย ลูกที่ 2 คือ ภัยทางสังคม โดยเฉพาะภัยท่ีเกิดจากการระบาดของโรคที่ไม่มีเช้ือโรค น่ันคือ กลุ่ม โรค NCDs (Non-Communicable deseases) หรือ ชอ่ื ภาษาไทยเรยี กวา่ กลมุ่ โรคไม่ติดต่อเรือ้ รัง น้ันเป็นช่ือ เรียกกลุ่มโรคท่ีไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเช้ือโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุก คลีหรือ ติดต่อ ผ่านตัวนาโรค (พาหะ) หรือสารคัดหล่ังต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซ่ึง ส่วนใหญ่เป็นผลจากไลฟ์สไตส์วิธีการใช้ชีวิต ท่ีมีพฤติกรรมเส่ียงอย่าง เหล้า บุหร่ี ขาดการออกกาลังกาย อาหารหวานมันเคม็ จัด และมคี วามเครยี ดติดตอ่ กนั สาหรบั ประเทศไทยเอง สถิตลิ า่ สุดพบว่ามีถงึ 14 ล้านคน ท่ีเป็นโรค ในกลุ่มโรค NCDs และท่ีสาคญั ยังถอื เป็นสาเหตุหลกั การเสียชีวิตของ ประชากรทงั้ ประเทศ โดยจาก สถิติปี พ.ศ. 2552 พบว่า มีประชากรเสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs มากกว่า 300,000 คน หรือ คิดเป็น 73% ของการเสียชีวิต ของประชากรไทยทั้งหมดในปี 2552 คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง 200,000 ล้านบาทต่อปี ทั้งสถติ กิ ารเสยี ชีวิตดงั กล่าวยงั แสดงว่าประเทศไทยมผี ู้เสยี ชีวติ มากกวา่ ค่าเฉลยี่ ของ

๙ ท้ังโลกและมีแนวโน้มจะสูงข้นึ เร่ือยๆ ในอนาคต ซึ่งโรคในกลุ่ม โรค NCDs ที่มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสดุ 6 โรค ได้แก่ 1.โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) 2.โรคหลอดเลอื ดสมองและหวั ใจ (Cardiovasvular & Cerebrovasvular Diseases) 3.โรคถงุ ลมโป่งพอง (Emphysema) 4.โรคมะเร็ง (Cancer) 5.โรคความดนั โลหติ สูง (Hypertension) 6.โรคอ้วนลงพงุ (Obesity) ลูกที่ 3 คือ ภัยจากเศรษฐกิจฝืดเคือง เกิดข้าวยากหมากแพง ยกตัวอย่างเช่น ทวีปแอฟริกาท่ีมี จานวนผูอ้ ดอยากเพ่ิมมากขน้ึ ทกุ ปี ปญั หาการแย่งชงิ ทรพั ยากร วกิ ฤตการขาดแคลนนา้ (น้าด่มื มรี าคาแพงกว่า น้ามัน) ยกตัวอย่างประเทศไทย ณ ตอนนี้ คือ ปัญหาน้าเค็มรุกล้าเน่ืองจากความแห้งแล้ง และไม่มีปริมาณนา้ จืดที่เพียงพอจะไปดันน้าเค็มออกได้ และปัญหาคนตกงานที่ประเทศไทยกาลังเผชิญ น่ันคือ การผ่าตัด ขา้ ราชการไทย ทีม่ หี ลกั เกณฑก์ ารขยายระยะเวลาราชการออกไปเป็นการเกษียณอายเุ มอ่ื ครบ 63 ปี ในเฉพาะ สาขาเฉพาะ การลดอัตรากาลงั คนเพ่อื นาไปสกู่ ารลดงบประมาณการจา้ งงานถงึ 2.3 แสนลา้ นบาท ฯลฯ ลูกที่ 4 คือ ภัยจากความขัดแย้ง เกิดศึกสงครามโลกระหว่างประเทศมหาอานาจ ท่ีเรียกว่า “Disruption” จึงมีความจาเปน็ แลว้ ทเ่ี ราทกุ คนต้องตระหนักถึงการปรับตวั ก่อนทจี่ ะถกู เทคโนโลยที าลายลา้ ง วิทยากรจึงกล่าวนาเข้าสู่วลีท่ีว่า “โลกเปลี่ยนคุณต้องปรับ” โดยยกตัวอย่างประเทศที่พัฒนา แล้ว ได้แก่ ประเทศอังกฤษ ท่ีประเทศใช้รถไฟฟ้าแทนการใช้รถยนต์ เพ่ือประหยัดพลังงานน้ามัน และยัง เสนอแนวคิดท่ีต้องแก้ปัญหาจากการศึกษาเพื่อสร้างการพฒั นาท่ียังยืน อีกทั้งวิทยากรยังยกตัวอย่างแนวคดิ ของอัลเบริ ์ต ไอสไตล์ ทว่ี ่า “การคิดแบบเดิม ทาแบบเดิม แต่หวงั ผลแบบใหม่ น่ันคอื การคิดของคนวกิ ลจริต (Insanely)” ซึ่งในสถานการณ์ที่เราต้องเผชิญแบบน้ี เรียกว่า The crisis conflict ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านนา้ การแย่งชิงน้า (Water crisis) ปัญหาด้านอาหาร การขาดแคลนอาหาร อาหารขยะ การปนเป้ือนของสารเคมี ในอาหาร (Food crisis) ปัญหาด้านพลังงาน (Energy crisis) ไม่ว่าจะเปน็ พลังงานน้ามัน พลังงานไฟฟ้า ฯลฯ หากเรายังคิดแบบเดิม ทาแบบเดิม หวังผลแบบใหม่ คงไปไมร่ อดแน่ ทางเดยี วทจ่ี ะรอดคอื ต้องน้อมนาศาสตร์ พระราชาและปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ต์ใชใ้ หไ้ ด้ วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์พระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย มุ่งเน้นไปที่ทฤษฎี “ดิน น้า ป่า คน” (40 ทฤษฏีใหม่) และการระเบิดจากข้างใน คนไทยต้องมีความรู้รัก สามัคคี และมีความเมตตากัน ให้เน้นถึงคาว่า ขาดทุน คือ กาไร ย่ิงให้ยิ่งได้มา ซึ่งในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรง มอบไว้ให้พวกเรานานแล้ว และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (King Bhumibol) ยังเป็นทฤษฏีที่อยู่ระหว่าง ทฤษฎีสงั คมนยิ ม (Karl Mark) กับทฤษฎที นุ นิยม (Adam Smith) ฉะนนั้ ในฐานะคนไทยเราจาเปน็ ตอ้ งน้อมนา ศาสตรพ์ ระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ต์ใช้ในวิวติ ประจาวนั เพ่อื ความอยู่รอดและความ ยั่งยนื ตอ่ ไป วิทยากรกล่าวถึงศาสตร์พระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นท่ีความพอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น การบริหารจัดการน้าตามศาสตร์พระราชา (จากภูผาสู่มหานที) โดยบริหารจัดการน้า แบบใหม่ให้สามารถมีพื้นท่ีเก็บกักนา้ ได้ถงึ 5 เท่า การปลูกปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง และเน้นการพฒั นา อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ทาอะไรต้องทาให้เหมาะสมกับฐานะและกาลังประเทศของเรา ต้องรู้จักเข้าใจโลก เข้าใจชีวิต เข้าใจปรัชญา ไม่ยึดติดตารา ใช้หลักการบริหารแบบคนจน คือ พ่ึงพาตนเองให้มากท่ีสุด ลงทุนต่า

๑๐ แตผ่ ลกาไรสงู ทาให้น้อย ทาใหป้ ระณีต ทาใหแ้ ม่นยา และทาให้มคี ุณภาพ อกี ท้งั ต้องคิดถึงประโยชน์ส่วนตัว เปน็ ท่ี 2 ประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ 1 ซึง่ พระองคท์ า่ นเปน็ แบบอย่างท่ีดี และมจี รยิ าวัตรทงี่ ดงาม คอื ความอ่อน น้อมถ่อมตน พระองค์ทรงคานึงถึงความทุกข์ของประชาชนที่ไม่มวี นั หยุด ความเดอื ดร้อนของประชาชนถือเป็น เร่ืองที่รอไม่ได้ เราทาราชการ ไม่ใช่รับราชการ ทุกท่ีของพระองค์ท่านคือท่ีทางาน โดยกว่า 4,741 โครงการพระราชดาริ ถือเป็นแนวทางท่ีจะช่วยบรรเทาความทุกข์ร้อนของประชาชน ยกตัวอย่างเช่น โครงการการปฏิรูปท่ดี นิ ทีพ่ ระองค์ทา่ นทา กระทงั่ พระองค์ทรงได้รับรางวัลนกั วทิ ยาศาสตรด์ ินเพอ่ื มนษุ ยธรรม และศาสตร์ของการพฒั นามนุษย์ มีหัวใจท่ีสาคัญ คือ จิตใจสูง กายสมบูรณ์ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งหมดน้ี ถือเป็นศาสตร์พระราชาและปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีเราเองต้องนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันเพอื่ ความยง่ั ยืนต่อไป โดยหลักของการทาให้ย่งั ยนื น้นั ต้องคานึงถึงปัจจยั 4 และยดึ หลักความรู้ค่คู ุณธรรม ในทน่ี ี้ คือ ทาอะไรต้องทาให้สอดคล้องกับภูมิประเทศและต้องมีความเพียรความอดทน ไม่พูดมาก ไม่ใจร้อน ไม่ ทะเลาะกัน ใชค้ วามรู้และเหตุผลในการแก้ปญั หาเพื่อนาไปสู่ความพอใจในทกุ ฝ่ายให้ได้ ใชห้ ลกั การบรหิ ารแบบ คนจน พระราชดารัสที่พระองค์ท่านตรัสไว้ว่า “เราไม่อยากเป็นประเทศที่ก้าวหน้าอย่างมาก เขาจะว่าเรา ล้าสมัยก็ช่างเขา” ประเทศของเราก็เหมือนบ้านที่ต้องวางรากฐานให้ม่ันคง โดยเน้นสร้างเสาเข็มให้ม่ันคง เสาเข็มในท่ีนี้กเ็ ปรียบเสมือนศาสตร์พระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งขั้นพื้นฐาน หากม่ันคงแล้วจงึ ค่อยขยับขยายไปสู่เศรษฐกิจพอเพียงขั้นก้าวหนา้ คือ พอเพียง แบ่งปัน แข่งขันได้ นั่นคือ บันได 9 ขั้น ได้แก่ บุญ ทาน เก็บ ขาย ข่าย พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่วมเย็น ทั้งนี้บริบทที่กล่าวมาท้ังหมดยังสอดคล้องกับ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก (SDGs) ท้ัง 17 ข้อ ซึ่งจาเป็นท่ีต้องมาปรับใช้ในประเทศไทยดังคากลา่ ว ที่วา่ “เป้าหมายของโลก เปา้ หมายของเรา ดว้ ยศาสตรพ์ ระราชา” ท้ายน้ีสงิ่ ทสี่ าคญั ในการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื นัน้ ปจั จัยสาคญั คอื “คน” การพัฒนาคน จึงมีความสาคัญท่สี ุด ต้องทาให้สามารถระเบิดจากข้างใน ต้องมคี ุณธรรมประจาใจ คือ ตอ้ งมฉี ันทะ วิรยิ ะ จิต ตะและวิมังสา อีกท้ังสร้างจิตสานึกให้มีความรู้รักสามัคคี เน้นไปที่ ส.ค.ส.พระราชทาน ปี พ.ศ. 2547 “สามัคคี คือ พลัง ค้าจุนแผ่นดินไทย” ต้องนึกถงึ ประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ส่วนตน ขาดทุนคือกาไร ยิ่งให้ยงิ่ ได้มา วิทยากรยกตัวอย่างเนื้อหาบางช่วงบางตอนในหนังสือพระมหาชนก “มิถิลาไม่สิ้นคนดี 9 วิธีฟ้ืนฟู มะม่วง” ท้งั น้ตี อ้ งคิดถงึ คาวา่ “อดทน และเพยี รพยายาม” ให้มาก วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้ผ้อู บรมไดซ้ กั ถามและแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ในหวั ข้อวชิ านี้ สรุปผลกำรเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ ตั้งใจ และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และการรับฟังการ บรรยาย เช่น การแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ และมีความรู้ความเข้าใจ อีกทั้งการตระหนักถึงศาสตร์ พระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของในหลวงรัชกาลที่ 9 เพ่ือให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวนั สคู่ วามยั่งยนื ต่อไป

๑๑ 2.4 วิชำ ถอดบทเรยี นผำ่ นสื่อแผน่ ดนิ ไทย เพอ่ื ไทย เป็นไท ตอน “ชะตำกรรมเกษตรเชงิ เด่ยี ว” วิทยำกร/ผรู้ บั ผดิ ชอบ ๑. พระวรี ะยทุ ธ์ อภิวโี ร (ครบู าจ๊อก) ศูนย์ปฏิบัติการเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ (บวร.) วดั พระบรมธาตดุ อยผาส้ม อ.สะเมงิ จ.เชยี งใหม่ 2. วา่ ที่ ร.ต.ชัยณรงค์ บวั คา นักทรพั ยากรบคุ คล ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนลาปาง วทิ ยำกรกลุม่ กลมุ่ ท่ี 1 สีเขยี ว 1. นายเกรยี งไกร สงิ ห์แกว้ นกั ทรัพยากรบุคคลชานาญการ 2. นางสาววชิรญาณ์ แยม้ เยอ้ื น นักทรัพยากรบุคคล กลุ่มท่ี 2 สีแดง 1. นางอัญชลี ปง่ แก้ว นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ 2. ว่าท่ี ร.ต.ชัยณรงค์ บัวคา นักทรัพยากรบคุ คล กลุ่มที่ 3 สมี ว่ ง 1. นางกรรณกิ าร์ กา๋ วิตา นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ 2. นางสาวเมทินี น้อยเรือน นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร กลุ่มท่ี 4 สีนา้ เงิน 1. นางอรณุ ศรี เดชะเทศ นักจัดการงานทวั่ ไปชานาญการ 2. นายณฐั นชิ รักขติวงศ์ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ กลุ่มที่ 5 สีส้ม 1. นางสาวณฐั กฤตา ชยั ตมู นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร 2. นายศานติ ธรรมไชย พนกั งานขับรถยนต์ วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้าอบรมสามารถปรบั ตัวในการประกอบอาชพี เกษตรกรรม ระยะเวลำ 2 ช่ัวโมง ขอบเขตเนอื้ หำวิชำ 1. เรยี นรู้จากสอ่ื 2. บทเรียน/คน้ พบสาเหตุ/แนวทางการป้องกัน เทคนคิ /วธิ กี ำร วิทยากรพูดคุยสร้างบรรยากาศ และนาเข้าสู่ บทเรียนดูสอื่ แผน่ ดินไทย เพอื่ ไทย เปน็ ไท ตอน “ชะตากรรม เกษตรเชิงเดี่ยว” โดยส่ือน้ีนาเสนอที่สถานท่ีโทรทัศน์ Thai BPS ร่วมกับ สสส. จัดทาโดย บริษัท ทีวี บูรพา จากัด “เม่ือ รากฐานกสิกรรมเปลี่ยนจากการทาเพ่ือกิน เป็นการทาเพ่ือ ขาย เกษตรกรไทยก็เรม่ิ เดินเข้าสูก่ ับดักของชะตากรรม หนั ไป พง่ึ พาปจั จัยภายนอก พงึ่ พงิ ตัวเองไมไ่ ด้ ถูกเลีย้ งไขจ้ นกลายเป็นทาสของระบบทนุ ” เนือ้ หาในส่ือแบง่ ออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 สื่อนาเข้าสู่พ้ืนที่ ภูทับเบิก อาเภอหล่มเก่า จังหวัด เพชรบรู ณ์ ซึ่งเปน็ พนื้ ที่ปลกู กะหล่าปลมี ากท่ีสุดในประเทศ มีสภาพอากาศ ที่เหมาะสม ชาวบ้านส่วนใหญ่เป็น ชาวม้งจึงเลือกอาชีพปลูกกะหล่า มี พน้ื ทีก่ ว่า 5,000 ไร่ มีผลผลติ ออกสู่ ตลาดปีละ 15,000 ตัน ชาวบ้านเลือกปลูกกะหล่าปลีเพราะมีน้าหนัก

๑๒ เยอะ สามารถจาหน่ายได้ดี มีราคา ปลูกง่ายโตเร็ว แต่ต้องแลกมาด้วยสภาพแวดล้อมเปล่ียนไปจากภูเขาที่มี ต้นไม้น้อยใหญ่ กลายเป็นภูเขาหัวโล้น ดินเส่ือมโทรม มีต้นทุนท่ีสูง ค่าสารเคมี ค่าปุ๋ย ค่ารถไถ บางครอบครัว จาหน่ายแลว้ ยงั มีเงนิ ไม่พอใช้หนส้ี นิ ท่ตี นเองลงทนุ ในการปลูกกะหล่าปลี ตอนท่ี 2 ส่ือนาเข้าสู่พ้ืนที่ ทานา จังหวัดสิงห์บุรี ซ่ึงเกษตรกร หวงั พ่ึงอาชพี ทานาเป็นหลัก หากราคาข้าวในปีนัน้ ๆ ราคาตก จาหน่าย ได้เงินมาอาจจะยังไม่พอใช้หน้ีสิน หรือพอใช้แต่ได้คุ้มกับค่าแรง การ ดูแล ค่าปุ๋ย ค่ายา ที่เสียไป เม่ือจะทานาในครั้งต่อๆ ไป ก็ต้องกู้หนี้ยืม สินมาลงทุนอีก ซ่ึงจะเป็นวัฏจักรแบบน้ีไปเร่ือยๆ หากยังทานาอย่าง เดยี ว “หลังสู้ฟ้า หนา้ สูด้ ิน” หน้ีสินไมม่ ีวันหมด ระบบทุนนิยมต่างๆ ได้ควบคุมไวห้ มดแล้ว ตอนท่ี 3 สื่อนาเข้าสู่พื้นที่ อาเภอบ่อนอก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ซ่ึงมีพื้นท่ีปลูกสับปะรดมากที่สุดในประเทศ ในส่ือ แสดงให้เห็นพื้นท่ีปลูกสับปะรดกว้างใหญ่ และย้อนให้เห็นถึง สภาพแวดล้อมก่อนหน้านี้ว่า เม่ือ 40 กว่าปีก่อน ในพ้ืนท่ีเป็นป่ามี ต้นไม้น้อยใหญ่ ชาวบ้านมีอาชีพทาไร่องุ่น ปลูกข้าว ปลูกพริก ปลูก พชื หลากหลาย ตอ่ มาเมอ่ื ปี พ.ศ. 2506 มีนายทุนชาวจนี มาเช่าพ้ืนที่ ได้ทาการถางป่าเพ่ือทาไรสับปะรดขนาดใหญ่ ชาวบ้านเห็นว่าสับปะรด เป็นพืชที่ดูแลง่าย ได้กาไรดี จึงชักชวนกันปลูกสับปะรด เปลี่ยนอาชีพ จากปลูกพื้นท่ีหลากหลาย จนเกิดเป็นพื้นท่ีไร่สับปะรดขนาดใหญ่ และ สื่อยังสะท้อนให้เห็นต้นทุนที่เกิดขึ้นค่าจ้างรถไถ ไร่ละ 1,900 บาท ซ่ึง ยังไม่ทันได้ผลผลิตจาหน่ายก็มีต้นทุนเสียแล้วเมื่อดูสื่อจบแล้ว วิทยากร ได้สรุปขอ้ ดี ขอ้ เสียของการเปน็ เกษตรกรเชิงเดี่ยว ดงั นี้ ขอ้ ดี คอื สามารถเลือกการดูแลและกาจัดศัตรพู ืชไดง้ ่าย เพราะทราบวา่ ปลูกอะไร และมอี ะไรบ้างที่ เปน็ ศตั รูพืช โดยสามารถทาใหเ้ ปน็ มาตรฐานที่รบั รูแ้ ละเขา้ ใจร่วมกันได้ในวงกว้าง และยังสามารถจดั พืชผลท่ีจะ ปลูกใหเ้ หมาะสมแกส่ ภาพพนื้ ท่ีได้อีกด้วย ขอ้ เสยี คอื ต้องอาศยั ปัจจยั การสร้างผลผลติ จากภายนอกมาก วตั ถดุ บิ ท่ีจะนามาใชใ้ นการเพาะปลูก จึงไม่สามารถกาหนดราคาเองไดโ้ ดยราคาจะข้นึ อย่กู บั กลไกทางตลาด และการแขง่ ขันระหว่างผ้ผู ลติ ด้วยกนั เอง การพัฒนาผลผลติ ทงั้ การใชป้ ุ๋ย การใช้ยาฆา่ แมลงจงึ ตามมาอย่าง เลีย่ งไมไ่ ด้เมอ่ื ผลผลิตเหล่าน้ีออกไปสู่ผู้บริโภค จึงอาจเหลือสารตกค้าง ไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและส่งผล ถึง ปัญหาการเสื่อมโทรมของทดี่ นิ เสร็จแล้ววิทยากรได้มอบหมายแต่ละกลุ่มให้ร่วมกัน ระดมสมองถอดบทเรียนส่ือท่ีได้รับชมไป ให้เวลา15 นาที และ นาเสนอกลุ่มละ 5 นาที โดยมีประเด็น 3 ข้อ คือ 1. ปัญหา 2. สาเหตุของปัญหา 3. ทางออก ผลการระดมสมองมีดังน้ี

๑๓ กลุ่มที่ 1 สีเขยี ว ปัญหำ สำเหตุของปญั หำ ทำงออก - หนส้ี ิน - โลภ, อยากรวย - ให้ความรู้ - ปัจจยั การผลติ ซอื้ ทกุ อยา่ ง - ขาดความรู้ - ปจั จยั การผลิต (ทาเอง) - ไม่สามารถกาหนดราคาผลผลิต - ขาดทุนในการผลติ - ทาเกษตรผสมผสาน ได้ - ก า ร ผ ลิ ต เ ป็ น ก า ร ป ลู ก พื ช - น้ อ ม น า ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง - สขุ ภาพแย่ เพราะใช้สารเคมี เชิงเดี่ยว เศรษฐกิจพอเพยี งมาปรบั ใช้ - ดนิ เสือ่ มโทรม กลุม่ ที่ 2 สแี ดง ปัญหำ สำเหตุของปัญหำ ทำงออก - การปลูกพชื เชงิ เดยี่ ว - ไม่มีทางเลอื ก - เกษตรผสมผสาน - หนี้สนิ - ทาตามกระแส - ใหค้ วามรู้ -ต้นทุนปัจจัยการผลติ - ไม่มเี งนิ ทุน - พึง่ ตนเอง - ไมม่ ีความรู้ - กาหนดราคาเองไมไ่ ด้ - ต้นทุนราคาการผลิตสูง, ไม่ สามารถผลิตเองได้ กล่มุ ที่ 3 สีม่วง ปัญหำ สำเหตขุ องปญั หำ ทำงออก - ขาดเงนิ ทนุ - เกษตรเชงิ เดย่ี ว - เกษตรผสมผสาน (พง่ึ ตนเอง) - ภยั ธรรมชาติ - ขาดการสนบั สนุนจากภาครัฐ - การรวมกลมุ่ - การตลาด - ยังมีวธิ ีคิดแบบเดิม - ศกึ ษาการตลาด นาการผลิต - ขาดความรู้ - การแขง่ ขนั สงู - การจัดการพน้ื ท่ี - ขาดการวางแผน - ทาเองทุกขั้นตอน (เศรษฐกิจ พอเพียง) - แหลง่ น้า, สิทธทิ ากนิ กลุ่มที่ 4 สีนำ้ เงนิ ปญั หำ สำเหตขุ องปญั หำ ทำงออก - ส่วนมากทาเกษตรเชิงเด่ียว ไม่ - ขาดความรู,้ ไม่มีต้นแบบ - ใหห้ นว่ ยงานราชการใหค้ วามรู้ สามารถควบคุมเหตุ และปัจจัย - ผู้บริโภค ไม่ปรับเปล่ียนแนวคิด - มีต้นแบบให้เข้าไปเรียนรู้ระดับ การผลติ พฤตกิ รรมในการบรโิ ภค ตาบล อาเภอ จังหวดั - ใชเ้ งนิ เป็นตัวตัง้ - ไม่สามารถกาหนด ราคาสินค้า - ส่งเสริมการเล้ียงสัตว์ ทาปุ๋ยใช้ - สภาพอากาศ ทางการเกษตรได้ด้วยตนเอง เอง - ใช้สารเคมี - เรง่ ผลิต ให้ทันตามความต้องการ - หยดุ ปลกู พชื เชิงเดย่ี ว ของตลาด - หันมาทาเกษตรผสมผสานให้ - ไม่สามารถ ควบคุมต้นทุนการ มากขึน้ ผลติ ได้ เชน่ ปุ๋ย ยา เมล็ดพันธ์ุ - ส่งเสรมิ ช่องทางการตลาด

๑๔ กลุ่มท่ี 5 สีส้ม ปัญหำ สำเหตขุ องปัญหำ ทำงออก - ใชเ้ งนิ เปน็ ตัวต้งั - ขาดการรวมกลมุ่ ของเกษตร - ใหค้ วามรู้ - ส่งเสริมการรวมกลุม่ - หนส้ี นิ - ขาดความรู้, มคี วามคิดเดิมๆ - ปลกู พชื ผสมผสาน - ส่งเสริมการแปรรปู - ตน้ ทนุ สงู (สารเคม,ี เมลด็ พนั ธุ์) - การเมืองไม่แนน่ อน - ทาเกษตรอินทรีย์ - เปลี่ยนแนวคิดเกษตรกรให้รู้จัก - ราคาคนซือ้ กาหนด - พชื เชิงเดยี่ ว พง่ึ ตนเองมากๆ - ปลกุ จติ สานกึ - ผลผลิตออกน้อยไม่ได้ตาม - ภาวะเศรษฐกจิ ต้องการ - ผลผลติ ลน้ ตลาด - ทาเชงิ เดี่ยว/คดิ แบบง่ายๆ - นา้ น้อย, อากาศแปรปรวน

๑๕ 2.5 วิชำ กำรออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตำมหลกั กำรพฒั นำภมู ิสังคมอย่ำงยง่ั ยนื เพ่อื กำรพึง่ ตนเอง และ รองรับภัยพบิ ตั ิ วิทยำกรหลัก/ ผรู้ ับผดิ ชอบ กรรมการบริษทั เอามือ้ สามคั คีวิสาหกจิ เพื่อสังคม นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบตั ิการ 1. นายณฐั พงษ์ มณกี ร 2. นางสาวณฐั กฤตา ชัยตมู วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจในการออกแบบพ้ืนทเ่ี ชิงภมู ิสังคมไทยตาม หลกั การพัฒนาภมู ิสงั คมอย่างยง่ั ยนื เพ่ือการพง่ึ ตนเองและรองรับภยั พบิ ัติ “โคก หนอง นา โมเดล” ระยะเวลำ 3 ชั่วโมง (180 นาที) ขอบเขตเนอ้ื หำวชิ ำ 1. สถานการณแ์ ละภาวะวิกฤตของโลก ประเทศ ชมุ ชน (นา้ อาหาร พลงั งาน) 2. แนวทางแก้ไขและรองรับภัยพิบตั ิด้วยการบริหารจดั การพน้ื ที่ “โคก หนอง นา โมเดล” 3. กรณศี ึกษาความสาเร็จ “โคก หนอง นา โมเดล” เทคนคิ /วิธีกำร/กระบวนกำร 1 .วทิ ยากรแนะนาตัวกบั ผู้เขา้ อบรม สร้างบรรยากาศการเรยี นรดู้ ว้ ยการทักทาย ชวนคยุ เล่าถึงประวตั ิตัวเอง 2. วทิ ยากรตั้งคาถามทาไมตอ้ งมาออกแบบพ้ืนที่ จาเปน็ ไหม 3. วิทยากรเล่าถึงสถานการณ์และวิกฤตของประเทศไทยพร้อมยกตัวอย่างเพื่อนาเข้าสู่เนื้อหา การออกแบบภูมิสังคมไทยตามหลกั การพัฒนาภมู ิสงั คมอย่างยั่งยนื เพื่อการพง่ึ ตนเอง และรองรบั ภยั พบิ ัติ“โคก หนอง นา โมเดล” 4. วิทยากรบรรยายถึงการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืน (การออกแบบพ้ืนทีช่ ีวิต) การออกแบบในท่ีน้ี คือ การออกแบบพ้ืนท่ีชีวิต (พื้นที่ท่ีมีชีวิต) ได้แก่ ดิน ต้นไม้ จุลินทรีย์ โดย การใชห้ ลักในหลวงรชั การที่ 9 คอื “หลกั ภูมสิ ังคม” (ในหลวงรัชการท่ี 9 บญั ญตั ิขน้ึ มาเอง) ภูมิสังคม มาจากคา 2 คา คือ ภูมิ (หลักภูมิศาสตร์: สภาพของพ้นื ที่ ดิน น้า อากาศ) แต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน เชน่ ปรมิ าณน้าฝน + สงั คม (คน ชุมชน) หลักของคน จะต้องมี 4 พ คือ พอกนิ พอใช้ พออยู่ พอรม่ เยน็ หลักการทรงงานใช้หลัก “ภูมิ” (ดิน น้า ลม ไฟ) ในการออกแบบ ในหลวงให้ทาแบบคนจน คือ การเอาม้ือ ซ่ึงได้หายจากไปสังคมไทยประมาณ 20 ปี สมัยนี้ใช้เงิน ใช้รถไถ ค่าแรงสูงสุดในเอเชียตะวันออก เฉยี งใต้ ดิน ให้ความสาคัญของดินเป็นหัวใจ หัวใจของกสิกรรมคือ “ทาให้ดินสมบูรณ์” เน้นการ บารงุ รักษา ใช้ดนิ เลยี้ งพืช ไมใ่ ช้ปุย๋ เลย้ี งพืช ป๋ยุ เปน็ อาหารของดนิ ห่มดิน คลุมดิน เตมิ ธาตุสารอาหาร ใช้ธาตุ จุลินทรีย์ น้า มีดินก็ต้องมีน้า ซ่ึงโลกน้ียังมีปัญหาเร่ืองน้า แล้วกสิกรรมจะอยู่อย่างไรให้รอด ก็ต้องมีการ ออกแบบเก็บนา้ ฝน

๑๖ ลม เราต้องดูทิศทางของลมด้วย : ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จะเป็นลมพายุ ส่วนทิศตะวันออก เฉยี งใต้ จะเป็นลมหนาว ไฟ คือ ดวงอาทติ ย์ แสง มีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื 5. วทิ ยากรสอนการออกแบบตามหลักการพัฒนาภมู สิ งั คมอย่างยงั่ ยืนเพอ่ื เป็นแนวทางแก้ไขและ รองรบั ภยั พิบตั ิด้วยการบรหิ ารจัดการพนื้ ท่ี “โคก หนอง นา” 6.วิทยากรให้ผู้เข้าอบรมได้ออกแบบพื้นที่ของตนเอง โดยการเขียนรูปแผนท่ี/แปลงที่ดินของ ตนเอง ระบุ…..ไร่ เขยี นทศิ ใสร่ ปู หนองนา้ (ทรงอสิ ระ) มองภาพล่มุ นา้ ปรับตามสภาพภูมิสงั คม ดงึ นา้ ให้ไปอยู่ บนโคก กระจายนา้ ลงคลองไสไ้ ก่ ดูทางน้าไหลประกอบดว้ ย บา้ น/ตบู /ศาลา/กระทอ่ ม จะอยบู่ นโคก นาข้าวจะ อยู่ที่ต่า ไม่แนะนาให้ทาข้าวขาย ห้ามขายให้พ่อค้าคนกลางเด็ดขาด ส่วนเลี้ยงสัตว์จะต้ังอยู่ตรงไหนก็ต้องดู ทิศทางประกอบ 7. วิทยากรยกตัวอย่างแบบจาลองการจัดการพื้นที่กสิกรรมประกอบเพื่อให้เห็นชัดเจนย่ิงข้ึน พร้อมสรุปเติมเตม็ และให้คาแนะนากับผเู้ ขา้ อบรม ผลกำรเรียนรู้ ผู้เขา้ อบรมส่วนใหญ่มคี วามสนใจ มีความต้ังใจในการเรียนรู้ในเรือ่ งการออกแบบเชิงภมู สิ ังคมไทย ตามหลักการพฒั นาภูมสิ ังคมอย่างย่งั ยืน เพ่ือการพงึ่ ตนเอง และรองรับภัยพิบัติ เพราะเป็นหลักการที่สามารถ นาไปปรับใช้ได้จริงต่อการพัฒนาและต่อยอดพื้นที่ของตนเองโดยตรง เป็นประโยชน์ต่อการทางานของผู้เข้า อบรมอยา่ งมาก

๑๗ 2.6 วชิ ำ ฝกึ ปฏบิ ัตฐิ ำนเรียนรู้ จำนวน 5 ฐำน วิทยำกร นางกรรณิการ์ กา๋ วิตา นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ วทิ ยากรประจาฐานคนรักษแ์ ม่ธรณี กิจกรรมทาปุ๋ยน้า 1. น.ส.ณัฐนรี ฝ้นั เรอื นแกว้ เครอื ข่ายกสกิ รรมธรรมชาติ 2. นายชวน พุทธวงค์วัน พนกั งานทัว่ ไป วทิ ยากรประจาฐานคนรกั ษ์แมธ่ รณี กิจกรรมทาปุ๋ยแห้ง 1. น.ส.กรองกาญจน์ ศริ าไพบูลย์พร เครือข่ายกสกิ รรมธรรมชาติ 2. นายศรี อนิ ทะรส พนกั งานทาความสะอาด วทิ ยากรประจาฐานคนรักษ์แมธ่ รณี กจิ กรรมทาสบู่เหลว 1. น.ส.นวรัตน์ ภาระษี เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ 2. นางปราณี เปีย้ ปลูก พนักงานทาความสะอาด วทิ ยากรประจาฐานคนรักษแ์ ม่ธรณี กิจกรรมทาน้ายาอเนกประสงค์ 1. นางดวงธดิ า อานาจผูก นักวิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ 2. นางนอม เถาเปีย้ ปลกู พนักงานทาความสะอาด วิทยากรประจาฐานคนรกั ษ์แม่ธรณี กิจกรรมทาแชมพู 1. น.ส.ศิริลักษณ์ มอรวู ี เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ 2. นางสาวสวุ ลี ฟูทอง พนักงานทาความสะอาด วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจ ฐานเรียนรู้ท้ัง 5 ฐาน ไดแ้ ก่ ฐานกิจกรรม ทาปุย๋ น้า , ฐานกจิ กรรมทาปยุ๋ แห้ง , ฐานกิจกรรมทาสบู่เหลว , ฐานกจิ กรรมทานา้ ยาอเนกประสงค์ และ ฐาน กิจกรรมทาแชมพู 2. เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมมีทกั ษะ และได้ฝกึ ปฏิบตั ิ ฐานเรียนรทู้ ัง้ 5 ฐาน ไดแ้ ก่ ฐาน กจิ กรรมทาปยุ๋ น้า , ฐานกิจกรรมทาปุย๋ แห้ง , ฐานกิจกรรมทาสบู่เหลว , ฐานกิจกรรมทาน้ายาอเนกประสงค์ , ฐานกจิ กรรมทาแชมพู ระยะเวลำ 4 ชัว่ โมง ประเด็น/ขอบเขตเนอ้ื หำ ฝกึ ปฏิบัติฐานเรียนรู้ จานวน 5 ฐาน - ฐานคนรกั ษ์แม่ธรณี กจิ กรรมทาปุ๋ยน้า - ฐานคนรกั ษแ์ ม่ธรณี กจิ กรรมทาปุ๋ยแหง้ - ฐานคนมีน้ายา กิจกรรมทาสบู่เหลว - ฐานคนมีนา้ ยา กิจกรรมทานา้ ยาอเนกประสงค์ - ฐานคนมนี ้ายา กิจกรรมทาแชมพู ขัน้ ตอน/วธิ ีกำร 1.วิทยากรแนะนาตัว สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยการทักทาย ชวนคุย เตรียมความพร้อม ด้วยการปรบมือ ก่อนนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของวิชา ประเด็นที่จะดาเนินกิจกรรม และขอ้ ตกลงในกระบวนการเรียนร้รู ว่ มกัน 2. วิทยากรแบ่งกลุ่ม จานวน 5 กลุม่ สี ให้เวียนฐานเข้าฝกึ ปฏิบัติฐานเรยี นรู้ ฐานละ 45 นาที

๑๘ รายละเอยี ดการเวยี นฐานเรียนรู้ เวยี นฐาน ฐานปยุ๋ น้า ฐานปยุ๋ แห้ง ฐานสบเู่ หลว ฐานนา้ ยา ฐานแชมพู กล่มุ 5 สีส้ม อเนกประสงค์ กล่มุ 4 สีน้าเงิน รอบที่ 1 กลมุ่ 1 สเี ขยี ว กลุ่ม 2 สแี ดง กลมุ่ 3 สีม่วง กลุ่ม 4 สีนา้ เงนิ กลุ่ม 3 สีม่วง กลุม่ 2 สีแดง (13.00 น.- 13.45 น.) กลุม่ 1สีเขียว รอบที่ 2 กลุ่ม 5 สสี ม้ กลมุ่ 1 สเี ขยี ว กล่มุ 2 สแี ดง กล่มุ 3 สีม่วง (13.45 น.-14.30 น.) เบรค รอบท่ี 3 กลุ่ม 4 สีน้าเงนิ กลุม่ 5 สีสม้ กลุ่ม 1 สเี ขียว กลุ่ม 2 สีแดง (14.45 น.-15.30 น.) รอบท่ี 4 กลุม่ 3 สีม่วง กลมุ่ 4 สีน้าเงิน กลุ่ม 5 สสี ้ม กลุ่ม 1 สีเขยี ว (15.30 น.-16.15 น.) รอบที่ 5 กลมุ่ 2 สแี ดง กลมุ่ 3 สีม่วง กลุ่ม 4 สีนา้ เงิน กลมุ่ 5 สีสม้ (16.15 น.-17.00 น.) 3. วิทยากรแบง่ กลมุ่ ให้ผู้เข้าอบรมถอดบทเรยี น จานวน 3 ประเดน็ • ไดอ้ ะไรจากการฝกึ ปฏบิ ัตฐิ านเรียนรู้ • มเี ทคนิค/เคล็ดลบั /ข้อพงึ ระวงั อย่างไรบ้าง • จะนาความรูท้ ไ่ี ด้มาประยกุ ตใ์ ชอ้ ย่างไร 4. กลมุ่ นาเสนอผลจากการฝกึ ปฏิบัติฐานเรยี นรู้ เทคนคิ วธิ ีกำร เรียนรจู้ ากการแบง่ กล่มุ ฝกึ ปฏบิ ตั ิฐานเรียนรู้ แบบเวียนฐาน จานวน 5 ฐาน สรปุ ผลและถอด บทเรยี นจากฐานเรยี นรู้ สรปุ เน้ือหำวชิ ำ/ผลกำรเรียนรู้ 1. ฐำนคนรกั ษ์แมธ่ รณี กิจกรรมทำปยุ๋ นำ้ วัสดุและอปุ กรณ์ 1. วัตถดุ ิบ (พืช สมุนไพร) 3 กิโลกรมั ลิตร 2. หวั เช้อื จุลินทรยี ์ 1 กิโลกรัม 3. นา้ ตาลออ้ ย/กากนา้ ตาล 1 ลิตร ถัง 4. น้าสะอาด 10 5. ถงั ขนาด 20 ลิตร แบบฝาปดิ ล็อค 1 ขัน้ ตอนและวธิ ที ำ 1. นาวัตถดุ บิ ที่เตรียมไว้มาสบั หรอื ตา 2. นานา้ ตาลอ้อย/กากนา้ ตาลมาละลายกับนา้ สะอาดท่เี ตรียมไว้

๑๙ 3. นาหัวเชื้อจุลนิ ทรีย์ผสมกบั น้าตาลออ้ ย/กากนา้ ตาลท่ีละลายแลว้ 4. นาวตั ถุดิบท่ีสับหรอื ตาเรยี บร้อยมาใสใ่ นภาชนะทีจ่ ดั ไว้หาไม้ไผ่ที่สานเปน็ ตาหมากรุกมาขดั ทับ เอาไว้ 5. นาส่วนผสมในขอ้ ที่ 3 มาเทใส่แล้วปิดฝาให้สนิทและเขยี น วัน/เดือน/ปี พรอ้ มทงั้ ช่ือวัตถุดิบที่ นามาหมัก 6. นาไปตั้งไว้ในทร่ี ่ม หมักทง้ิ ไว้ 90 วนั (3 เดือน) (อตั ราสว่ นท่ีใช้คอื 1 ลิตร / 400 ลติ ร) การใช้สมุนไพรไทยมาสกดั เปน็ สารอินทรียช์ วี ภาพเพือ่ ใชใ้ นการบารุงดนิ ปอ้ งกนั และกาจดั แมลง ศตั รพู ืช เปน็ วธิ ีการหน่ึงท่ีสอนให้เกษตรให้ลดการพึง่ พาการใช้สารเคมี ซงึ่ วิธกี ารดงั กล่าวนอกจากจะช่วยใน เรอ่ื งของการลดตน้ ทนุ การผลิตแลว้ ยังเปน็ การคนื ความสมดุลใหร้ ะบบนิเวศน์อกี ทางหนง่ึ ด้วย การทาน้าหมกั สมุนไพร 7 รส คอื การเลือกเอาสมุนไพรรสต่าง ๆมาทาน้าหมกั จุลินทรยี ์ชีวภาพ เพ่อื ประโยชน์ทางการเกษตร ใชไ้ ด้กับนาข้าว และพชื ผกั ทกุ ชนดิ ตวั ยาสมนุ ไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบง่ ออกตามรสของสมุนไพรไดป้ ระมาณ 7 รส คอื รสจดื รสขม รสฝาด รสเบ่อื เมา รสเปรีย้ ว รสหอมระเหย และ รสเผด็ ร้อน สมนุ ไพรท้ัง 7 รสมีประโยชนต์ อ่ ภาคการเกษตร ดงั นี้ 1.นำ้ หมกั สมนุ ไพรรสจืด วตั ถดุ ิบได้แก่ ใบกล้วย ผักบงุ้ รางจืด รวงข้าว ผักตบชวาและพชื สมุนไพรทมี่ รี สจดื ทุกชนดิ สรรพคณุ จะเป็นปยุ๋ บารงุ ดิน ให้ดินมคี วามรว่ นซุย โปร่ง ทาให้ดนิ ไมแ่ ข็ง ใช้ในการบารุงดนิ และ บาบดั นา้ เสียและขยะที่ส่งกล่นิ เหมน็ รวมทัง้ ใช้ในการล้างสารพษิ 2.นำ้ หมักสมนุ ไพรรสขม วตั ถดุ บิ ได้แก่ ฟา้ ทะลายโจร ใบสะเดา บอระเพ็ด ใบขเี้ หลก็ หญ้าใตใ้ บ เสลดพงั พอน และพชื สมุนไพรทมี่ รี สขมทุกชนดิ สรรพคุณ สามารถฆา่ เชือ้ แบคทเี รีย ป้องกันแมลง เพือ่ สร้างภูมิคมุ้ กนั ใหก้ ับพืช 3.น้ำหมักสมุนไพรรสฝำด วัตถุดิบ ได้แก่ ปลกี ล้วย เปลือกมังคดุ เปลือกฝรัง่ มะยมหวาน เปลือกแค ใบฝรงั่ ใบทับทมิ เปลือกลูกเนียง และพืชสมนุ ไพรที่มรี สฝาดทกุ ชนดิ สรรพคุณ ฆา่ เช้อื ราในโรคพืช แกเ้ ชื้อราในโรคพชื ทุกชนดิ 4.นำ้ หมกั สมนุ ไพรรสเบือ่ เมำ วัตถดุ บิ ได้แก่ หวั กลอย ใบเมล็ดสบู่ดา ใบนอ้ ยหน่า หางไหล ขอบชะนางแดง-ขาว สลัดได แสยก หนอนตายหยาก พญาไรใ้ บ เมล็ดมะกล่า และพืชสมุนไพรท่มี ีรสเบ่อื เมาทุกชนดิ สรรพคณุ การกาจัดหนอน เพล้ยี และ แมลง ในพืชผกั ทกุ ชนิด 5.นำ้ หมกั สมนุ ไพรรสเปรยี้ ว วัตถดุ ิบ ได้แก่ มะกรูด มะนาว มะขาม กระเจีย๊ บ เปลือกสม้ และพชื สมนุ ไพรทม่ี ีรสเปร้ียวทกุ ชนิด สรรพคุณ ไล่แมลงโดยเฉพาะ

๒๐ 6.นำ้ หมกั สมนุ ไพรรสหอมระเหย วัตถดุ บิ ไดแ้ ก่ ตะไคร้หอม ใบกะเพรา ใบเตย สาบเสือ โหระพา กระเพรา ผักชี กะทกรก และ พชื สมนุ ไพรท่มี รี สหอมระเหยทกุ ชนดิ สรรพคณุ จะเป็นน้าหมกั ทเ่ี ปลี่ยนกล่นิ ของตน้ พชื เพ่อื ป้องกันไม่ให้แมลงไปกดั กนิ ทาลาย 7.นำ้ หมักสมนุ ไพรรสเผ็ดรอ้ น วัตถุดิบ ไดแ้ ก่ พริก ขิง ข่า ตะไคร้ และพืชสมนุ ไพรทมี่ ีรสเผ็ดร้อนทกุ ชนดิ สรรพคณุ ไลแ่ มลง และ ทาใหแ้ มลงแสบรอ้ น

๒๑ 2. ฐำนคนรกั ษแ์ มธ่ รณี กิจกรรมทำปยุ๋ แห้ง วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 1. เศษวสั ดุท่เี หลือใช้จากการทาเกษตรเช่นเศษใบไม้, เศษหญา้ แห้ง 2. มลู สตั ว์ 3. แกลบดิบ 4. แกลบเผา 5. ราหยาบหรอื ละอองข้าว 6. ป๋ยุ นา้ จุลนิ ทรยี ์ ขน้ั ตอนและวิธีทำ 1. นาวตั ถดุ ิบท่ีเตรียมมาในขอ้ 1-5 ผสมคลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากนั (อตั ราส่วนทใี่ ชค้ อื 1 ต่อ 1) 2 . นาป๋ยุ น้าจุลินทรียม์ าผสมกบั นาสะอาดในอตั ราส่วน 1 ลติ ร / 100 ลติ ร 3. นาส่วนผสมในขอ้ ที่ 1 และ 2 ผสมให้เข้ากนั 4. ตรวจเช็คความชืน้ ดว้ ยการหยบิ ขึน้ มากาบีบให้แน่น เมอื่ แบมอื แลว้ ไม่แตกและไม่มนี า้ ไหล ออกมาจากง่ามน้ิวมือถอื วา่ ใช้ได้ (ความชือ้ 60%) 5. ตกั ใสก่ ระสอบโดยไม่ต้องกระแทกใหแ้ นน่ หมกั ทง้ิ ไว้ 7-15 วันจึงนาไปใสใ่ นแปลง (อัตราสว่ นที่ใชค้ ือ 500 กิโลกรมั / 1 ไร่)

๒๒ 3. ฐำนคนมนี ้ำยำ กจิ กรรมทำสบู่เหลว วัสดุและอปุ กรณ์ • หวั สบู่ (AD 25) 1 กิโลกรมั • เกลอื (ผงข้น - ชว่ ยให้นา้ ยาสระผมข้นข้ึน) 100 กรัม • นา้ สมนุ ไพรตามต้องการ 2.5 กิโลกรมั (หรือลิตร) • สารกนั เสยี 5 ซีซี • นา้ หอมกล่ินตามชอบปริมาณเลก็ น้อย วิธกี ำรทำ • นาสมนุ ไพรตม้ กบั น้าให้เดอื ด กรองเอากากออกให้ได้นา้ 2.5 ลติ ร พกั ไว้ให้เยน็ • เทหวั สบู่ (AD 25) ลงในภาชนะ คอ่ ยกวน • ค่อยๆ เตมิ น้าสมนุ ไพรที่เตรยี มไว้จนหมด กวนให้สว่ นผสมเข้ากัน ใส่นา้ หอมและสารกนั เสีย • คอ่ ยๆ ใสผ่ งขน้ ทีละนอ้ ยคนให้ละลายเขา้ กัน • ปล่อยทิง้ ไว้ให้ฟองยุบตวั จงึ กรอกใส่ในภาชนะ พรอ้ มใชห้ รอื จาหน่าย หมำยเหตุ 1. การทาสบู่เหลวตอ้ งกวน ชา้ ๆ เบาๆ ไปจนส่วนผสมละลายเข้ากันหมด 2. สมุนไพรทีน่ ามาใช้ ไดแ้ ก่ ขมนิ้ มะขามเปียก ทับทมิ มงั คดุ ทองพนั ชง่ั มะเขือเทศ แครอท วา่ นหางจระเข้ เปน็ ต้น

๒๓ 4. ฐำนคนมีน้ำยำ กิจกรรมทำนำ้ ยำอเนกประสงค์ วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ • Texopon N70 1 กิโลกรมั (สารที่ชว่ ยให้เกิดฟอง) • เกลอื ปน่ 1 กิโลกรมั • น้าหมกั ชวี ภาพผลไมร้ สเปรยี้ ว 5 ลติ ร • น้าเปล่า 10 ลิตร (ถ้าเปน็ น้าประปาควรตง้ั ผ่ึงอากาศไวใ้ หค้ ลอรนี ระเหยออกไปก่อนอย่าง นอ้ ย 1 วัน เพราะคลอรีนเปน็ นา้ ยาฆา่ เชอ้ื อาจจะมีผลต่อจุลินทรย์ในนา้ หมกั ได้) • ถงั /กะละมงั กน้ เรยี บ (ถ้าเป็นกะละมังก้นไมเ่ รียบจะทาให้การคนไมท่ ัว่ ถงึ นา้ ยากับเกลือจะไป ตดิ อยใู่ นร่อง) • ไมพ้ าย ถา้ หาไม่ได้ให้ใช้ไม้หรอื ทพั พอี ะไรกไ็ ด้ วธิ ีกำรทำ • เตรียมถงั หรอื ขวดแกว้ หรือภาชนะ • เท Texopon N70 จานวน 1 กิโลกรมั ลงในถังหรอื กะละมงั กน้ เรียบ ดงั กล่าว • เทเกลอื ผสมกบั Texopon N70 จากน้นั คอ่ ยๆ คนไปในทางเดยี วกัน จนสขี าวใสของ Texopon N70 เป็นสีขาวขนุ่ • เทนา้ หมักชีวภาพผลไม้รสเปรยี้ ว โดยเวลาเท ให้เทเขา้ หาด้านข้างภาชนะเบาๆ อย่าเทลงที่ตรง กลางภาชนะ เพราะจะทาให้เกิดฟอง • จากน้นั ค่อยๆ คนสว่ นผสมอย่างช้าๆ ไปในทางเดียวกัน ใหเ้ กดิ ฟองน้อยที่สุด • หากขน้ ไป ให้เตมิ น้าเปล่าไปเรอ่ื ยๆ จนกวา่ จะพอใจ • รอให้ฟองยุบแล้วนาไปชั่ง ตวง และบรรจใุ ส่ขวดท่เี ตรยี มไว้ พรอ้ มใชง้ านหรือจาหนา่ ยตอ่ ไป หมายเหต-ุ Texopon N70 สามารถหาซอ้ื ได้ตามร้านท่ขี ายอปุ กรณ์ทาสบ่หู รอื นา้ ยาอเนกประสงค์ท่ัวไป

๒๔ 5. ฐำนคนมนี ำ้ ยำ กิจกรรมทำแชมพู 500 กรมั 100 กรมั วัสดุและอุปกรณ์ 1.5 กิโลกรมั (หรอื ลติ ร) • AD 25 • ผงขน้ (เกลอื ) • น้าใบหม่ีสด (น้าสมนุ ไพรตามตอ้ งการ) • สารกันเสยี • นา้ หอมกล่นิ ตามชอบ ปริมาณเล็กน้อย วิธกี ำรทำ • นาสมนุ ไพรมาป่นั หรือขย่า กรองเอากากออก • นานา้ สมุนไพรมาละลายกับเกลือ (ผงขน้ ) • เท AD 25 ลงภาชนะ กวนไปทศิ ทางเดยี วกัน ค่อยๆกวนเบาๆ • ค่อยๆเทน้าสมุนไพรลงไปทลี ะน้อย คอ่ ยๆกวนเบาๆ เทสลับกันกวนไปจนหมดนา้ สมุนไพร • ใสน่ า้ หอม คอ่ ยๆกวนเบาๆ กวนต่อไป ประมาณ 15-20 นาที • ปลอ่ ยทง้ิ ไว้ใหฟ้ องยุบตวั จึงกรอกใสใ่ นภาชนะ

๒๕ 2.7 หวั ข้อวชิ ำ : ถอดบทเรียน สรุปบทเรียน/นำเสนอ กำรฝึกปฏิบตั ิกำรฐำนเรยี นรู้ (ฐำนคนรักษแ์ ม่ธรณี, ฐำนคนมีนำ้ ยำ) วทิ ยำกรหลกั / ผู้รบั ผิดชอบ 1. พระครูอภิวีโรภกิ ขุ 2. นายณัฐนิช รกั ขติวงศ์ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ ศพช.ลาปาง วตั ถุประสงค์ ๑. ให้ผู้อบรมไดแ้ ลกเปล่ยี นเรยี นรู้ร่วมกัน จากการได้ลงมือฝึกปฏบิ ตั ิการฐานเรยี นรฯู้ 2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้แนวทางในการประยุกต์ใช้ความรู้/ เติมเต็ม และให้ข้อเสนอแนะ ในทางปฏิบัติ ต่อการดาเนนิ การฐานเรียนร้ใู หเ้ กดิ ความย่งั ยนื ประเดน็ เนื้อหำ 1. แลกเปลยี่ นเรียนรู้ในองค์ความรใู้ นน้าหมกั 7 รส/ ฐานน้าหมักรสจดื บารุงดิน 2. แลกเปลย่ี นเรียนรดู้ า้ นการทาปุ๋ยแห้ง 3. แลกเปล่ียนเรยี นรูด้ ้านการทาสบ่เู หลว ทฤษฎแี ละการลงมือปฏิบัติ/ สตู รต่างๆ 4. แลกเปลี่ยนเรียนรูด้ ้านการทานา้ ยาเอนกประสงค์ ทฤษฎแี ละการลงมอื ปฏบิ ัต/ิ การนาไปใช้ 5. แลกเปลย่ี นเรียนรูด้ ้านการทาแชมพ/ู จากการลงมือปฏบิ ตั ิและการนาไปประยกุ ตใ์ ช้ ระยะเวลำ 2 ชว่ั โมง วิธีกำร/เทคนคิ 1. การนาเสนอตามประเด็นท่ไี ดร้ บั มอบหมายเป็นรายกลมุ่ 2. แลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ะหวา่ งฐาน/ กลุ่ม ใหข้ อ้ เสนอแนะ 3. แลกเปลี่ยนเรยี นรอู้ งค์ความรเู้ ดิมของผ้อู บรม/ วิทยากรเติมเตม็ สรุปประเด็นการเรยี นรู้ วัสดุ / อปุ กรณ์ ๑. ฟลิปชารต์ ปากกาเคมี กระดาษกาว ๒. โปรเจคเตอร์ 3. ส่ือ/ Power Point กำรประเมินผล ๑. ประเมินจากพฤตกิ รรมการมีส่วนร่วมและการตอบข้อซักถาม/การแลกเปลี่ยน ๒. แบบประเมนิ ผลโครงการ สรุปผลกำรดำเนนิ งำน 1 วิทยากรแนะนาตวั สรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยการทักทาย ชวนคุย ชวนร้องเพลง เตรียม ความพร้อม นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของวิชา ประเด็นที่จะพูดคุย และกติกาในการ นาเสนอรายกลมุ่ กลมุ่ ละไม่เกนิ 15 นาที

๒๖ 2 เริ่มการนาเสนอรายกลุ่ม โดยเรียงลาดับ ต้ังแต่ กลุ่มที่ 1 จนถึงกลุ่มท่ี 5 ในระยะเวลา กลุ่มละ 15 นาที ใน ประเด็นตามใบงานทไี่ ด้รับมอบหมายรายกลมุ่ ดงั น้ี 2.1 กลุม่ ท่ี 1 นาเสนอการฝึกปฏิบัตฯิ ณ ฐานเรียนรู้ การทาน้าหมัก 7 รส ซ่ึงได้แก่ รสจืด รสขม รสฝาด รสเปรี้ยว รส เบื่อเมา รสเผ็ดรอ้ น และระเหย ซง่ึ สามารถใช้ในทางการเกษตรได้ จะเป็นการลดต้นทุนการผลิต โดยได้ฝึกการทาน้าหมักรสจืดเพ่ือ บารงุ ดนิ หลักการคอื ใชว้ ัสดุในท้องถิน่ มาทาน้าหมัก ในท่นี ้ี ใช้จาก ต้นกล้วย เป็นการทดแทนสารเคมีอันตรายที่ใช้อยู่ ได้ผลผลิตท่ี ปลอดภัยขนึ้ ต่อผู้บริโภค ซ่งึ เทคนคิ ไดแ้ กว่ ัตถุดิบ 3 สว่ น นา้ ตาล 1 สว่ น หวั เช้อื 1 สว่ น และน้า 10 สว่ น ซง่ึ นา้ หมกั รสจดื ก็สามารถนาไปทาหัวเชอื้ ปุ๋ยหมกั แห้งได้ จากนัน้ ทาง กลุ่มได้เสนอวธิ กี ารประยุกตใ์ ช้จากประสบการณ์ด้วยการเปลย่ี นวัตถุดิบเป็นสิ่งท่ีหาได้ในท้องถิน่ อาทผิ กั ผลไม้ เศษอาหาร ฯลฯ และการทาน้าหมกั ไลศ่ ตั รพู ืช 2.2 กลุ่มที่ 2 นาเสนอการฝึกปฏิบตั ิฯ ณ ฐานเรยี นรู้ ของคนรกั ษ์แมธ่ รณี ในการทาปุ๋ยแห้ง โดยส่ิงทีไ่ ด้รบั จากการทาปุ๋ย แห้ง ได้แก่ สูตรการทาปุ๋ยในถุงซึ่งประหยัดพ้ืนที่ และเป็นการนา เศษวัสดุที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์แทนที่จะเผาท้ิง เป็นการลด ต้นทุนในการใช้ปุ๋ยเคมี ซ่ึงปลอดภัยต่อตัวผู้ใช้เองและผู้บริโภค เทคนิคในการทาปุ๋ยแห้งวธิ ีน้ี ต้องจัดเก็บในท่ีอากาศถ่ายเทสะดวก เลือกส่วนผสมแกลบเก่าอายุ 3 เดือนขึ้นไป และดูแลความช้ืน ประมาณ 60% ให้พอดีกับการหมัก จึงจะได้ผลดีและใช้เวลานอ้ ย องค์ความรู้น้ีสามารถนาไปถ่ายทอดสู่ชุมชนของตนเอง และ แลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ะหว่างกลุ่ม 2.3 กลุ่มท่ี 3 นาเสนอการฝึกปฏิบัติการฐานคนมี น้ายา ในประเด็นการทาสบู่เหลว ซึ่งจะเป็นการใช้สมุนไพรท่ีมีอยู่ ในครัวเรือน เหตุผลสาคัญของการทาสบู่เพื่อไว้ใช้เองและเป็นการ ลดรายจา่ ยลง เนอ่ื งจากการทาสบเู่ หลวใชเ้ อง ซ่ึงทางกลุ่มอภปิ ราย ว่าจะประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากกว่าการซ้ือหา ท้ังยังได้สรรพคุณ ทางการแพทย์จากสมุนไพรท่ีใช้เป็นส่วนผสม ซ่ึงทาได้หลายสูตร ขึ้นอยู่กับสมุนไพรที่นามาใช้เป็นส่วนผสมด้วย ชนิดส่วนผสมต้อง ปลอดภัย และลดการใชส้ ารเคมีเปน็ องคป์ ระกอบ อาจใชแ้ ตเ่ ฉพาะ AD28 ผงข้น ไม่ใส่สารกันเสียและน้าหอม บางแห่งอาจประยุกต์ โดยไมใ่ ชส้ ารเคมเี ลย

๒๗ 2.4 กลุ่มท่ี 4 นาเสนอการฝึกปฏิบัติการทาน้ายา เอนกประสงค์ ซ่งึ อาจประกอบด้วยสารเคมีอยู่บา้ ง แตก่ ารทาเองจะ ได้ปริมาณที่มากและสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้มากในสว่ นนี้ ทง้ั ใชล้ ้างจาน ลา้ งรถ ลา้ งห้องนา้ ซกั ผา้ ฯลฯ ซ่ึงส่วนใหญ่ต้องใชอ้ ยู่ แล้วในชีวิตประจาวันในฐานะของใช้ที่จาเป็น โดยความรู้ท่ีได้ สามารถนาไปถ่ายทอดสูช่ มุ ชน และประยกุ ต์ใช้ โดยการนาสมุนไพร ในทอ้ งถ่นิ มาใชแ้ ทนสารเคมี เพ่อื ลดตน้ ทุนไดม้ ากข้นึ และปลอดภัย ตอ่ ผู้ใช้ อาทิ ใช้นา้ หมักสับปะรด ทาน้ายาซักผ้า ใช้เกลือแทนสารฟู นา้ หมกั อายุ 3 ปีข้นึ ไปใช้แทนสารกันบดู ได้ 2.5 กลุ่มท่ี 5 นาเสนอการฝึกทาแชมพูเพ่ือใช้เอง ในครัวเรือนจากสมุนไพรเป็นส่วนประกอบหลัก อาทิ มะกรูด อัญชัญ เพื่อใช้ทดแทนสารเคมี เป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือน ลง หากทาจนชานาญ ยังสามารถจาหน่ายเพ่ือสร้างรายได้เสริม ไดอ้ ีกทางหนึง่ 3 หลังจากที่ตัวแทนสมาชิกท้ัง 5 กลุ่มได้นาเสนอ แล้ว พระครูอภิวีโรภิกขุได้ให้ข้อเสนอแนะในแต่ละประเด็น ตลอดจนการนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชน โดยให้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมในการทาน้าหมักรสต่างๆ อาทิ รสเบ่ือ เมา และการใช้อธรรมปราบอธรรม เพื่อกาจัดศัตรูพืช จาก สมุนไพรใกล้ตัวในท้องถิ่นท่ีมี จากน้ันสรุปประเด็นการเรยี นร้ปู ดิ ทา้ ย

๒๘ 2.8 วชิ ำ Work shop กำรจดั กำรพนื้ ที่ ดิน น้ำ ปำ่ คน วทิ ยำกร อ.กลุ ปญั ญาวงศ์ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติชมุ ชนต้นนา้ น่าน วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อฝกึ ปฏิบัติการออกแบบพ้ืนท่ีตามภมู ิสังคม วธิ กี ำร/กระบวนกำร ๑.บรรยาย ๒.ฝึกปฏิบัตริ ายกลุม่ วิธีกำร/ขนั้ ตอนดำเนินกำร ๑.ให้ความรขู้ อ้ มูลธรรมชาตขิ อง ดิน นา้ ลม ป่า คน ๒.ฝึกปฏบิ ตั ิการออกแบบการจดั การพน้ื ที่ และปฏิบัตจิ ริง ๓.ทดสอบความสาเร็จ/ปรบั ปรุงแกไ้ ข แลกเปลีย่ นเรียนรู้ วิทยากร แนะนาตัว ชวนคยุ เชื่อมโยงจากวิชา/กระบวนการกอ่ นหน้าน้ี สถานการณโ์ ลก ศาสตร์ พระราชาแนวคิด Zero Hunger เล่าถึงการย้อนกลับมาบ้านเกดิ ที่จังหวัดน่าน จากอาจารย์ยักษ์ ที่มีแนวคดิ ทาใหด้ ูอยู่ให้เหน็ และมองว่าปญั หาของตน้ นา้ นา่ นไม่เพยี งเปน็ ปญั หาของคนในพน้ื ท่ีเท่านน้ั แต่ เปน็ สถานการณ์ ปัญหาสาคัญของประเทศด้วยเช่นกัน จึงเป็นโจทย์ท่ีสาคัญของวิทยากร ที่จะไม่หวังพ่ึงน้า รอบๆพ้ืนท่ีแต่ บริหารจัดการน้าด้วยการทาโคกหนองนาโมเดลวิทยากร บรรยายสร้างความรู้ความเข้าใจถึงหลักกสิกรรมธรรมชาตทิ ี่ เป็นเรื่องของการเพาะปลูกที่ไม่ทาลายธรรมชาติ ในขณะท่ี เกษตรกรรมถูกนิยามว่า ทาเพื่อให้ร่ารวย จึงต้องทาความ เข้าใจนิยาม 5 ซ่งึ ถอื เปน็ หลกั ธรรมชาติ 5 เรอ่ื ง คอื 1.อุตนุ ยิ ำม ความเป็นไปตามธรรมชาตเิ ก่ียวกับปรากฎการณ์ ดิน : ร้จู ักความอุดมสมบูรณ์ของดนิ ต้องมคี วามรู้พอทีจ่ ะนาไปแก้ปัญหาได้ นา้ : รวู้ ่านา้ มาจากไหน ไหลจากไหนไปไหน ลม : รทู้ ิศทางลม หนา้ ร้อน หน้าหนาว พัดไปทางไหน ไฟ : รู้จกั แสงแดด

๒๙ 2.พชี นยิ ำม ความเป็นไปตามธรรมชาติท่ีเกย่ี วกับพันธุกรรมของส่งิ มชี ีวิต พชื เป็นสงิ่ มีชีวิตชนิดเดียวที่ เก็บเอาพลงั งานจากแสงอาทิตย์ มาผลิตเป็น แป้งและน้าตาล แล้วคายออกชิเจน ซ่ึงคนทาไม่ได้ คนต้องอาศัยพืชเป็น แหล่งสร้างพลงั งาน พชื สาคญั ถ้าจะดูแลพืช ก็ต้องดูแลดิน ใหเ้ ปน็ ดินที่มี ชีวิต ดินดเี ปน็ อยา่ งไร ต้องดแู ลดิน ให้เป็นดนิ ท่มี ีชีวิตดินทีมีชีวิตคืออะไร คือในดินมีส่ิงมีชีวิต องค์ประกอบของดินดี น้า แร่ธาตุ ซากพืช ซาก สัตว์ และอากาศ ในดินมีสิ่งมีชีวิตท่ีต้องการอากาศ อากาศในดินเกิดจาก อะไร? 3.จิตนยิ ำม ธรรมชาติเกี่ยวกบั จติ ใจ จิตวญิ ญาณ ไม่วา่ คน พชื หรอื สัตว์ ตา่ งมชี วี ิตจิตใจ การปลกู พชื ... ต้อง รจู้ ักธรรมชาติของพชื การเล้ยี งสตั ว์ .... ตอ้ งรจู้ ักธรรมชาตขิ องสัตว์ การปลกู บา้ น .... ต้องตามใจผอู้ ยู่ 4.กรรมนยิ ำม ความเป็นไปตามธรรมชาตเิ กี่ยวกับผลของการกระทา กฎแหง่ กรรม ทาอย่างน้ี แล้วจะเปน็ อย่างนี้ 5.ธรรมนยิ ำม การหมนุ เวียนเปลีย่ นไปตามธรรมชาติ ตามสภาพแวดลอ้ ม ถ้าไม่เข้าใจธรรมชาติ ฝนื ธรรมชาติ ต้นทุน การผลติ จะสูง คนรวยเทา่ นั้นทม่ี สี ิทธทิ ่ีจะไดก้ ิน คนจนจะเพิม่ ข้ีน คนอดอยากจะมากขึ้น กสกิ รรมธรรมชำติ ทำตำมธรรมชำติ เข้ำใจธรรมชำติ คำนงึ ถึงระบบนเิ วศ ธรรมชำตทิ ่ี เชื่อมโยงสัมพันธ์กบั ต้นทนุ = 0 “เมือ่ กอ่ นเกษตกร มง่ั คั่ง พระเจา้ อย่หู ัวรัชกาลท่ี 9 เคยตรัสว่า ประเทศของเรามัง่ ค่งั เพราะ เราเข้าใจ นยิ าม 5 เปน็ อยา่ งดี นคี่ ือความลึกซ้ึง การศึกษายคุ ใหมท่ าลายความเข้าใจเร่ืองน้ีไปท้ังหมด มุ่งเน้น ให้คนหนั มาพึ่งบริษทั บรษิ ทั กผ็ ลิตปุ๋ยสาเร็จมาให้ใช้ พอป่วยก็ไปซือ้ ยาทาอะไรก็ซอ้ื ไปหมด เกษตรกรก็เลิกทา เอง เลิกพ่ึงตนเอง นีค่ ือกำรเดินทำงสูห่ ำยนะ สู่ควำมอดอยำกยำกแค้น แตต่ อนน้ี ทง้ั โลกกาลังกาหนดเป้าหมายดว้ ยกันว่า ตอ้ งทาให้ความอดอยากเปน็ 0 “Zero Hunger ”หรือพดู งา่ ยๆ วา่ ตอ้ งไมท่ ้ิงใหค้ นอดอยากบนโลกน้ี และทง้ั หมดนี้ พระองค์ทา่ น( ร.9 )ไดท้ าไว้ให้ ดูแลว้ ” วิทยากรบรรยายเรื่อง 10 ข้ันตอนการตรวจแปลงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ พรอ้ มยกตัวอย่าง ประกอบการบรรยายในแต่ละขั้นตอน 1. การจดั กลุม่ สารวจพนื้ ที่แบ่งหนา้ ท่ีแบ่งคน ความสามคั คี 2. การเตรยี มดนิ ขดุ ร่องน้าและฝาย 3. ปลูกป่า 5 ระดบั 4. ลกู แฝดอนรุ กั ษ์ดินและน้า 5. ปลกู ดอกไมเ้ พ่ือบรหิ ารแมลง 6. การห่มดินฟางเศษใบไมแ้ หง้ และอ่นื ๆ

๓๐ 7. การเล้ยี งดนิ ใส่ปุย๋ อนิ ทรีย์แห้งชามนา้ ชาม 8. การท่องคาถาเลย้ี งดนิ 9. ศลิ ปะความสวยงามเรยี บร้อยของแปลง 10. การจดั เกบ็ อุปกรณ์ลา้ งทาความสะอาดจัดวางให้เปน็ ระเบยี บ โดยสรุปคือ วางแผน ปฏบิ ัติ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ประสานงานและ สวสั ดกิ าร วทิ ยากรให้ แตล่ ะกล่มุ สี สารวจพนื้ ที่ของศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนลาปาง แล้วให้ออกแบบพัฒนาพน้ื ทีท่ ่กี าหนด โดยใช้ หลัก 10 ขั้นตอน การตรวจแปลงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติและความรู้ที่ได้จากวิทยากร แต่ละกลุ่มสี วางแผนเก็บข้อมูล สารวจพื้นที่ แล้วนามาออกแบบพัฒนาพ้ืนที่ศูนย์ฯ บนกระดาษเอ4 ก่อน มาออกแบบบน กระดาษฟลปิ ชารท์ แลว้ จงึ เรม่ิ ออกแบบเสมอื นจรงิ โดยใช้ดินโคลนและวัสดุประกอบต่างๆ เป็นโมเดลนาเสนอ ให้กับศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนลาปาง ได้คัดเลือกเพื่อนาแนวคิดแนวทางจากการออกแบบนาเสนอของแต่ ละกลุ่มสีต่อไป

๓๑ 2.9 ฝกึ ปฏบิ ตั ิฐำนกำรเรียนรู้ “คนรกั ษส์ ขุ ภำพ/คนมนี ้ำยำ/คนมไี ฟ /พอกสมนุ ไพร /น้ำยำเอนกประสงค์ วิทยำกร/ผู้รับผดิ ชอบ นางอรุณศรี เดชะเทศ นกั จัดการงานทัว่ ไปชานาญการ ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนลาปาง วิทยำกรกลุม่ กลุ่มท่ี 1 สีเขียว 1. นายเกรยี งไกร สิงห์แกว้ นกั ทรัพยากรบุคคลชานาญการ 2. นางสาววชิรญาณ์ แย้มเย้อื น นักทรัพยากรบคุ คล กลุ่มที่ 2 สีแดง 1. นางอญั ชลี ปง่ แก้ว นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ 2. วา่ ท่ี ร.ต.ชัยณรงค์ บัวคา นักทรัพยากรบุคคล กลมุ่ ท่ี 3 สีม่วง 1. นางกรรณกิ าร์ กา๋ วิตา นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ 2. นางสาวเมทินี น้อยเรอื น นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ตั ิการ กลุ่มที่ 4 สีนา้ เงิน 1. นางอรณุ ศรี เดชะเทศ นักจัดการงานทัว่ ไปชานาญการ 2. นายณฐั นิช รักขติวงศ์ นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ กลมุ่ ที่ 5 สสี ม้ 1. นางสาวณฐั กฤตา ชัยตมู นกั ทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ัติการ 2. นายศานติ ธรรมไชย พนักงานขบั รถยนต์ 1. วตั ถปุ ระสงค์ 1.1 เพื่อใหผ้ ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ฐานเรยี นร้จู ากการปฏบิ ตั ิท้ัง 5 ฐาน ไดแ้ ก่ ฐานคนรักษน์ า้ 1) แซนวิชปลา 2) บา้ นปลา ฐานคนรกั สขุ ภาพ 3) ทานา้ คลอโรฟิลล์ 4) ทานา้ สมุนไพรแชเ่ ทา้ 5) ทาน้าสมุนไพรพอกหน้า 2. ประเด็นเน้อื หำ ฝึกปฏบิ ตั ฐิ านเรียนรู้ จานวน 5 ฐาน ฐานคนรักษ์น้า กิจกรรมทาแซนวชิ ปลา, กจิ กรรมทาบ้านปลา ฐานคนรักสุขภาพ กิจกรรมทาน้าคลอโรฟิลล์, กิจกรรมทาน้าสมุนไพรแช่เท้า, กิจกรรมทาน้า สมนุ ไพรพอกหน้า 3. ระยะเวลำ 4 ชว่ั โมง 4.เทคนคิ /วธิ ีกำร เรียนรู้จากการแบง่ กลมุ่ ฝกึ ปฏบิ ัตจิ ากฐานเรยี นรู้ แบบเวียนฐาน จานวน 5 ฐาน ฐานคนรกั ษ์น้า 1. แซนวชิ ปลา 2. บ้านปลา ฐานคนรกั สุขภาพ 3. ทาน้าคลอโรฟิลล์ 4. ทานา้ สมนุ ไพรแชเ่ ทา้ 5. ทาสมุนไพรพอกหนา้

๓๒ 1.วิทยากรแนะนาตัว สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยการทักทาย ชวนคุย เตรียมความพร้อม ด้วยการปรบมือ ก่อนนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของวิชา ประเด็นที่จะดาเนินกิจกรรม และข้อตกลงในกระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกนั 2. วทิ ยากรแบ่งกลุ่ม จานวน 5 กล่มุ สี ให้เวียนฐานเข้าฝึกปฏบิ ัติฐานเรียนรู้ ฐานละ 45 นาที รายละเอียดการเวยี นฐานเรียนรู้ เวียนฐาน ฐานแซนวิชปลา ฐานบา้ นปลา ฐานน้า ฐานนา้ สมนุ ไพรแช่ ฐานนา้ สมุนไพร คลอโรฟลิ ล์ เท้า พอกหนา้ รอบท่ี 1 ทุกกลมุ่ สี ทกุ กล่มุ สี - - - (13.00 น.- 13.45 น.) รอบที่ 2 กลมุ่ 5 สีสม้ กลุ่ม 1 สเี ขยี ว กลุม่ 2 สแี ดง กลุ่ม 3 สีม่วง กลมุ่ 4 สีน้าเงนิ (13.45 น.-14.30 น.) เบรค รอบที่ 3 กลมุ่ 4 สีนา้ เงนิ กลุม่ 5 สสี ม้ กลมุ่ 1 สเี ขยี ว กลุ่ม 2 สแี ดง กลุ่ม 3 สีม่วง (14.45 น.-15.30 น.) รอบที่ 4 กลุ่ม 3 สีม่วง กลุ่ม 4 สีน้าเงนิ กลมุ่ 5 สสี ม้ กลุม่ 1 สเี ขยี ว กล่มุ 2 สีแดง (15.30 น.-16.15 น.) รอบที่ 5 กลุ่ม 2 สีแดง กลุ่ม 3 สีม่วง กลุม่ 4 สีน้าเงิน กลมุ่ 5 สีส้ม กลุ่ม 1สีเขียว (16.15 น.-17.00 น.) 3. วิทยากรแบ่งกลุ่มให้ผูเ้ ข้าอบรมถอดบทเรียน จานวน 3 ประเด็น • ไดอ้ ะไรจากการฝกึ ปฏิบัตฐิ านเรียนรู้ • มเี ทคนิค/เคลด็ ลบั /ข้อพึงระวัง อย่างไรบ้าง • จะนาความรทู้ ไ่ี ดม้ าประยกุ ต์ใชอ้ ย่างไร 4. กลุ่มนาเสนอผลจากการฝกึ ปฏบิ ตั ิฐานเรยี นรู้ วิธกี าร วทิ ยากรให้ทกุ กลุม่ สี มารวมกันทฐ่ี านคนรักษ์นา้ กิจกรรมทาแซนวิชปลาและกิจกรรมทา บา้ นปลา ให้มาเรียนรู้และฝกึ ปฏิบตั ิร่วมกนั โดยวทิ ยากรจากศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ ไดบ้ รรยายและให้ความรู้ ถงึ ประโยชนข์ องแซนวิชปลาและบา้ นปลา ใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรมทราบและตอบขอ้ ซกั ถาม จากน้ันให้แตล่ ะกลมุ่ สี ลงมอื ปฏิบัติไปพรอ้ มๆ กัน หลักจากนั้น ก็จะใหแ้ ตล่ ะกลุม่ สี ไดเ้ วยี นฐานการปฏิบัติที่เหลือ คอื ฐานคนรกั สขุ ภาพ ได้แก่ การทาน้าคลอโรฟลิ ล์ การทานา้ สมุนไพรแช่เท้า การทาน้าสมนุ ไพรพอกหน้า เวยี นกนั ไปใหค้ รบ ทุกฐาน 5. วสั ดุ / อปุ กรณ์ 5.1 เครื่องฉาย จอโปรเจคเตอร์ 5.2 วัสด/ุ อุปกรณใ์ นฐานการเรยี นรู้ จานวน 5 ฐาน 5.3 อปุ กรณ์ประกอบการฝกึ อบรม

๓๓ 6. กำรประเมนิ ผล 6.1 ประเมนิ จากพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วมในการลงมอื ปฏบิ ัติ และการตอบขอ้ ซักถาม/การ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ 6.2 การประเมนิ ผลในภาพรวม 7. สรุปผลกำรดำเนินงำน จากฐานการเรยี นรู้ ท้ัง 5 ฐาน ผู้อบรม ได้องค์ความรู้ใหม่ๆ จากวิทยากรเครอื ขา่ ยกสกิ รรม ธรรมชาติ ได้แลกเปล่ยี นประสบการณท์ ้ังจากวิทยากรกับผู้อบรมและผอู้ บรมกับผ้อู บรมดว้ ยกัน เชน่ -ฐานแซนวชิ ปลา ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการทาแซนวิชปลา ในบอ่ เลย้ี งแบบธรรมชาติ โดยใชว้ สั ดุ จากธรรมชาติทีห่ าไดง้ ่ายในพ้ืนท่ี เชน่ ฟาง, มูลสัตว์ อกี ท้ังยงั แก้ปัญหานา้ เสยี ทาใหเ้ กิดจลุ นิ ทรยี ์หนอนแดง, ไรแดง ซ่งึ เปน็ อาหารปลา เปน็ การลดตน้ ทุนอาหารปลา ปลาโตเรว็ และมคี วามสวยงามอีกด้วยฃ -ฐานบ้านปลา สามารถใชว้ ัสดทุ ี่หาได้งา่ ยเพอ่ื สร้างบา้ นปลาเพื่อเป็นท่ีอยูไ่ ด้เป็นแหลง่ อาหารใช้ เปน็ ท่หี ลบภยั ของปลาเล็กปลานอ้ ยและทีส่ าคญั เป็นแหล่งเพาะพันธปุ์ ลาอีกดว้ ย -ฐานการทาน้าคลอโรฟลิ ล์ ผู้อบรมได้ทราบว่าหยกกล้วยกินได้ มีฤทธิ์เย็น, เก็บได้นานท่อี ณุ ภมู ิ ในกระบวนการทาท่ีสงู เกินไปจะทาให้สญู เสียคณุ ค่าสามารถการรับประทานเวลาทอ้ งวา่ งหากปรมิ าณไม่เข้มข้น เปน็ ประโยชนต์ อ่ สขุ ภาพ -ฐานทาน้าสมุนไพรแช่เท้า การใส่สมนุ ไพรชนิดตา่ งๆ ทมี่ ีสรรพคุณทางยา สรรพคุณบารงุ ร่างกายรักษาโรค ถอนพิษ ขับสารพษิ สรรพคุณของใบหนาด แกห้ วดั ขับเหง่ือ สรรพคุณของใบมะกรูด สามารถต้านเซลลม์ ะเรง็ กาจัดกลิน่ เท้า ปูเลยสรรพคุณสามารถ ลดบวม ลดเหน็บชาที่เทา้ ใบมะขาม สรรพคุณ ช่วยให้ผวิ เปลง่ ปล่งั มีนา้ มนี วล ใบรางจืดสรรพคุณชว่ ยถอดพิษ ขมิ้นสรรถคุณบารุงผิว, ลดอักเสบ -ฐานทาน้าสมุนไพรพอกหน้า ในผงถา่ นทจี่ ะนามาใช้ ต้องเผาโดยใช้ความรอ้ น 1000 องศา เซลเซียส ขึ้นไปซงึ่ ถ่านมคี ณุ สมบตั ิดูดซับสารพษิ และยงั สามารถนาสมุนไพรอ่ืนๆ ผสมพอกหน้าได้ เชน่ ขมน้ิ มะขาม มะนาว นา้ ผึง้ เป็นต้น พอกหน้า ท้งิ ไว้ 10-15 นาที แล้วล้างออก โดยห้ามยิ้ม, หวั เราะเวลาพอก หนา้ และยังสามารถใชน้ า้ คลอโรฟลิ ล์ มาล้างแทนนา้ เปลา่ ได้ ผิวหน้ามัน ควรพอก 2-3 ครง้ั ต่อสปั ดาห์ ซึ่ง จากการเขา้ ฐานเรยี นรขู้ องผอู้ บรมท้ัง 5 ฐาน ทาให้ผู้อบรมได้รับความรเู้ พ่มิ และเปน็ ประสบการณ์ใหม่ ใน หลักสตู รกสิกรรมธรรมชาติ ทเ่ี นน้ สมนุ ไพรจากธรรมชาติ

๓๔ 2.10 วิชำ ถอดบทเรยี นฝกึ ปฏบิ ัตฐิ ำนเรียนรู้ วทิ ยำกร/ผรู้ ับผิดชอบ ว่าที่ ร.ต.ชัยณรงค์ บวั คา นักทรพั ยากรบุคคล ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนลาปาง วิทยำกรกลุม่ กลมุ่ ท่ี 1 สีเขยี ว 1. นายเกรยี งไกร สิงห์แก้ว นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ 2. นางสาววชิรญาณ์ แย้มเย้ือน นกั ทรัพยากรบคุ คล กลมุ่ ท่ี 2 สีแดง 1. นางอญั ชลี ปง่ แก้ว นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ 2. ว่าท่ี ร.ต.ชัยณรงค์ บัวคา นักทรพั ยากรบคุ คล กลมุ่ ท่ี 3 สมี ่วง 1. นางกรรณกิ าร์ ก๋าวิตา นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ 2. นางสาวเมทินี น้อยเรอื น นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ กลุ่มที่ 4 สีน้าเงิน 1. นางอรุณศรี เดชะเทศ นกั จดั การงานทั่วไปชานาญการ 2. นายณฐั นิช รักขตวิ งศ์ นักวชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ กลุ่มท่ี 5 สสี ม้ 1. นางสาวณัฐกฤตา ชยั ตูม นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบตั ิการ 2. นายศานติ ธรรมไชย พนกั งานขับรถยนต์ วัตถุประสงค์ เพอ่ื ทบทวนกจิ กรรมในการฝึกปฏิบตั ฐิ านเรยี นรู้ ระยะเวลำ 2 ชัว่ โมง ขอบเขตเนอ้ื หำวชิ ำ ถอดบทเรยี น/สรุปบทเรียน/นาเสนอ เทคนคิ /วธิ ีกำร วิทยากรพดู คุยสรา้ งบรรยากาศ และนาเข้าสู่การถอดบทเรยี น ทบทวนกจิ กรรมเขา้ ฐานฝึกปฏิบัติ ในช่วงบ่าย จานวน 5 ฐาน คือ ฐานคนรักษ์น้า 1. แซนวิชปลา 2. บ้านปลา ฐานคนรกั สขุ ภาพ 3. ทานา้ คลอโรฟลิ ล์ 4. ทานา้ สมุนไพรแช่เทา้ 5. ทาสมุนไพรพอกหนา้ เ ส ร็ จ แ ล้ ว วิ ท ย า ก ร ไ ด้ มอบหมายแต่ละกลุ่มให้ร่วมกันระดม สมองถอดบทเรียนกิจกรรมเข้าฐานฝึก ปฏิบัติ ให้เวลา 30 นาที และนาเสนอ กลมุ่ ละ 5 นาที มปี ระเดน็ 4 ขอ้ คอื 1. มีความรู้เดิมอะไรบ้าง 2. ได้ความรใู้ หม่อะไรบา้ ง 3. พบปัญหาอะไรบ้าง 4. มีวธิ แี ก้ปญั หาอยา่ งไร เมื่อนาเสนอครบแลว้ วทิ ยากรเติมเตม็ แลกเปล่ยี นความรู้กบั ผู้อบรม ผลการระดมสมองมีดงั นี้

๓๕ กลุ่มท่ี 1 สเี ขียว แซนวิชปลำ ควำมรเู้ ดิม ควำมร้ใู หม่ ปญั หำ แก้ปญั หำ - การเลย้ี งแบบใชอ้ าหาร - การเล้ยี งแบบธรรมชาติ - เลยี้ งโดยอาหาร - ทาแซนวชิ ปลา โดย ใช้วสั ดุธรรมชาตใิ น สาเรจ็ รปู , แกลบ,พืช โดยใช้วัสดุจากธรรมชาติ สาเร็จรปู ทาใหน้ ้าเสยี ท้องถน่ิ - การขดุ บอ่ ปลาแบบเดิม ฟาง, มูลสัตว์ - ปลาโตช้า ทาให้ปลาโตช้า - แก้ปญั หาน้าเสีย - มตี น้ ทนุ สงู - ทาใหเ้ กดิ หนอนแดง, ไรแดง เปน็ อาหารปลา - ลดตน้ ทุนอาหารปลา - ปลาโตเร็ว กลุม่ ท่ี 2 สีแดง บ้ำนปลำ ควำมรู้เดิม ควำมรู้ใหม่ ปญั หำ แกป้ ัญหำ - ปลาชอบอยู่ตามโพรง - สามารถสรา้ งบ้านปลา - ความพร้อมของวสั ดุ - สรา้ งขนาดบ้านปลา อปุ กรณ์ ใหเ้ หมาะสม - หากนิ ตามธรรมชาติ เพือ่ เป็นที่อยไู่ ด้ - ปลากินอาหารสาเร็จรูป - เป็นแหล่งอาหาร - เป็นทหี่ ลบภยั ของปลา เล็ก - เปน็ แหล่งเพาะพันธุ์ ปลา

๓๖ กลมุ่ ที่ 3 สมี ่วง น้ำคลอโรฟลิ ล์ ควำมรู้เดิม ควำมรใู้ หม่ ปญั หำ แก้ปญั หำ - กล่มุ พืชสเี ขยี วทไี่ มเ่ ปน็ - หยกกล้วยกินได้ มีฤทธิ์ - คนท่มี ีอณุ ภูมิรา่ งกาย - น้าคลอโรฟิลล์ พิษต่อร่างกาย มฤี ทธิเ์ ย็น เยน็ , เกบ็ ได้นาน ตา่ ไมค่ วรรับประทาน เหมาะกบั คนทมี่ อี ณุ เชน่ ใบเตย เบญจรงค์ 5 - อณุ ภมู ใิ นกระบวนการทา - เหมาะกับการ ภมู ใิ นรา่ งกายสงู สี ผักหนอก (บัวบก) สงู เกนิ ไปจะทาใหส้ ญู เสีย รบั ประทานในฤดรู อ้ น, - สรรพคุณลา้ งสารพษิ ฯลฯ คณุ ค่า อากาศรอ้ นๆ - สรา้ งสมดุลใน - เป็นยาแก้ร้อนใน, ล้าง - การรบั ประทานเวลาท้อง ร่างกาย สารพษิ วา่ ง และไม่เข้มขน้

๓๗ กลุ่มที่ 4 สีนำ้ เงนิ ทำสมุนไพรพอกหน้ำ ควำมรู้เดิม ควำมรใู้ หม่ ปัญหำ แกป้ ัญหำ - ซ้ือครีมตามทอ้ งตลาด - ผงถา่ นทจี่ ะนามาใช้ ตอ้ ง - ลา้ งออกยาก - นามอื ท่ชี มุ่ น้าเช็ดล้าง มาใช้ - ไมท่ ราบวา่ ดินสอฟอง เผา้ โดยใชค้ วามร้อน 1000 - ผงถา่ นทม่ี ีคุณสมบัติ ทาความสะอาด และผงถ่าน สามารถ นามาฟอกหนา้ ได้ องศาเซลเซียส ขึน้ ไป เหมาะสมหาซื้อได้ยาก - ลา้ งโดยใช้โฟมล้าง - ถา่ นมคี ุณสมบัติดดู ซับ หนา้ หรอื สบู่ สารพิษ - สามารถนาสมนุ ไพรอนื่ ๆ ผสมพอกหนา้ ได้ เชน่ ขมั้น มะขาม มะนาว นา้ ผ้งึ เป็น ตน้ - พอกหน้า ท้ิงไว้ 10-15 นาที แล้วล้างออก - ห้ามยิม้ , หวั เราะเวลาพอก หน้า - สามารถใช้นา้ คลอโรฟลิ ล์ มาลา้ งแทนน้าเปล่าได้ - ผวิ หนา้ มัน ควรพอก 2-3 ครง้ั ตอ่ สัปดาห์

๓๘ กลมุ่ ท่ี 5 สสี ้ม นำ้ สมนุ ไพรแชเ่ ทำ้ ควำมรเู้ ดิม ควำมรูใ้ หม่ ปัญหำ แก้ปัญหำ - แช่เทา้ ในนา้ อุน่ เปล่าๆ - ใส่สมุนไพรชนิดต่างๆ ท่ีมี - สมนุ ไพรบางอย่างหา - หาพันธ์สุ มุนไพรมา ใสเ่ กลอื - ช่วยให้ผอ่ นคลาย สรรพคณุ ทางยา ยากภายในท้องถน่ิ ปลกู - สรรพคุณบารุงร่างกาย - ไม่มีเวลาเพียงพอใน - สร้างเครอื ข่ายดา้ น รกั ษาโรค ถอนพิษ ขบั การปฏบิ ัติ สมุนไพร สารพษิ - ขาดความรใู้ นดา้ น - สนบั สนุน, ส่งเสริม - ใบหนาด แกห้ วัด ขบั เหงื่อ สรรพคณุ ของสมนุ ไพร ในด้านสมนุ ไพร - ใบมะกรูด ตา้ น - ประสานกบั เซลล์มะเรง็ กาจัดกล่ินเท้า หน่วยงานราชการที่ - ปเู ลย ลดบวม ลดเหนบ็ ชา เกย่ี วขอ้ ง เชน่ อนามัย, - ใบมะขาม ช่วยให้ผวิ เปลง่ โรงพยาบาลส่งเสรมิ ปลง่ั สุขภาพตาบล (รพ. - รางจดื ชว่ ยถอดพษิ สต.) - ขมิน้ บารุงผวิ , ลดอักเสบ

๓๙ 2.11 หวั ข้อวิชำ : กิจกรรมเอำมือ้ สำมัคคี กำรประยุกต์ทฤษฎีใหมส่ กู่ ำรปฏบิ ตั ิ วทิ ยำกรหลกั 1. อาจารย์กลุ ปญั ญาวงศ์ 2. นายเกรยี งไกร สงิ หแ์ ก้ว นกั ทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ 1) วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้มีทกั ษะการใชพ้ ลงั งานในชมุ ชนในการบริหารจดั การพื้นทอี่ ยา่ งเปน็ ระบบและมี ประสทิ ธิภาพ 2)ประเดน็ เนื้อหำ ๑. บรรยายให้ความรู้ 10 ขน้ั ตอน การตรวจแปลงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ 2. แตล่ ะกลุม่ แบง่ งานมอบหมายงานโดยมีครพู าทา(วทิ ยากรพีเ่ ลี้ยง) 3. ทดลองผลการปฏบิ ัติ 3) ระยะเวลำ ๓.๐๐ ชว่ั โมง 4) วิธกี ำร/เทคนคิ 4.1 บรรยายแบบมีส่วนรว่ ม/แบ่งกลุ่ม/มอบหมายงาน/ทดลองปฏิบัติ ๕) วัสดุ / อปุ กรณ์ ๕.๑ กระดาน 5.2 เครอื่ งมอื จอบ เสยี ม พล่วั บ้งุ กี๋ 5.3 ปุ๋ยคอก ป๋ยุ หมัก 5.4 ตน้ ไม้ท่จี ะปลูก ๖) กำรประเมนิ ผล ๖.๑ ประเมินจากพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมและการตอบขอ้ ซักถาม/การแลกเปลี่ยน ๖.๒ การประเมินผลรายวชิ า และผลการปฏิบตั งิ าน 7) สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำน 7.1 วทิ ยากรแนะนาตวั สรา้ งบรรยากาศการเรียนร้ดู ว้ ยการทกั ทายชวนคยุ นาเข้าส่บู ทเรยี นด้วย การเกรน่ิ นาถึงวตั ถปุ ระสงคข์ องวิชา ประเดน็ ท่จี ะพูดคุย และขอ้ ตกลงในกระบวนการเรยี นร้รู ่วมกนั 10 ขั้นตอนการตรวจแปลง ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ มีดงั น้ี 1)แบง่ งานแบง่ คน 2)การจัดการน้า ขุดคลองไสไ้ ก่ หลมุ ขนมครก 3)ปลกู ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อยา่ ง ปลกู ป่า 5 ระดับ 4)ปลกู ดอกไม้ลอ่ แมลง ตวั ห้า ตัวเบยี น

๔๐ 5)ปลูกหญา้ แฝก สรา้ งฝาย 6)หม่ ดนิ ดว้ ยฟางข้าว หญ้าแห้ง 7)อาหารเล้ียงดิน แห้งชาม นา้ ชาม 8)ทอ่ งคาถาเลี้ยงดิน 9)เกบ็ อุปกรณ์ ทาความสะอาดให้เรยี บร้อย 10)ตรวจสอบความเรียบรอ้ ย สวยงาม ถกู ตอ้ ง 7.2 วางแผนการสร้างคลองไส้ไก่โดยกลุ่มผู้เข้าอบรมส่งตัวแทน ที่เป็นแกนนาของแต่ละสีๆละ 1 คน วางแผนการขุดคลองไส้ไก่รอบหนองน้า แรก โดยได้เดินสารวจและวางแผนรว่ มกนั ว่า จะมกี ารขุดตามสภาพภมู ิสงั คม/ ศาสตร์ของหนองน้า เพ่ือให้ท้ัง 5 หมู่บ้านมีน้าใช้ได้ตลอด ไม่เกิดการแย่งน้า และตลอดสายของคลองก็จะสร้างหลุมดักตะกรองดิน(หลุมขนมโคก) จานวน ตามสภาพพ้ืนที่ ความลาดชัน มีการสร้างสะพานจากไม้ไผ่และสะพานท่ีเกิด เองตามธรรมชาติซง่ึ จะเปน็ รากตน้ ไม้ใหญ่ที่ต้องขุดคลองมุดใต้รากไม้ มีการสร้างฝายชะลอน้าจากไมไ้ ผแ่ กนดิน เหนียวและหนิ เพื่อชะลอการไหลของนา้ และเป็นการยกระดับน้าในคลองให้สูงข้ึนทาให้พ้ืนดินโดยรอบคลองมี ความช่มุ ช้ืน การวางแนวคลองก็คดเคยี้ วตามธรรมชาติ และไดแ้ บง่ พน้ื ท่เี ปน็ 3 โซน โซนแรกเปน็ ท่สี ูงมหี ิน ดิน แข็งมีรากไผ่หนาแนน่ ทาให้ขุดยาก ต้องใช้แรงงาน 3 หมู่บ้าน พื้นท่ีโซนกลางเป็นท่ีราบดินแข็งมีรากพืชระดับ ผิวดินมากเช่นมะพรา้ วทาให้ขุดลึกไม่ได้ ใช้แรงงาน 1 หมู่บ้าน พ้ืนที่โซนปลายเป็นพ้ืนที่คันกัน้ นา้ ระหวา่ งสอง หนองนา้ มนี า้ หลากลน้ ในช่วงฤดูฝนที่มีน้ามาก ใช้แรงงาน 1 หม่บู ้าน - ผู้ใหญบ่ ้านเป็นตวั แทนจับฉลากเลือกพ้นื ที่ขุดคลองไสไ้ ก่ และรบั ฟังการชีแ้ จงสภาพพนื้ ทต่ี ามที่ จบั ฉลากได้ โดยการขดุ ใหร้ ับฟังการแนะนาจากกรรมการท่ไี ด้รับมอบหมาย สามารถปรับได้ตามสภาพภูมิ สงั คม/ภูมิศาสตร์ของพ้ืนที่ กานันใหท้ กุ คนใสร่ หสั ลยุ เริ่มทางานตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย - เมอ่ื ทุกหมู่บ้านเริ่มต้งั แต่แบง่ พ้นื ทก่ี ารขดุ ของแต่ละคน การวาง ฝงั สรา้ งฝายชะลอน้า การขุดหลุมขนมครกเพอ่ื เก็บน้าและดักตะกอนดนิ การทา คันดิน(คันนาทองคา)ให้เหมาะกับพื้นท่ี การหม่ คันดินด้วยฟางข้าว/เปลือก ข้าวโพด การใส่ปุ๋ยคอกป๋ยุ อินทรียเ์ พอ่ื บารงุ ดิน และรดดว้ ยนา้ หมักรสจืดใน อัตราส่วน 1:200 ปลูกกล้วย มะรมุ มนั สาปะหลัง และรดนา้ ใหช้ มุ่ ทกุ คนเก็บ เครื่องมอื ทาความสะอาดและจดั วางให้เรียบรอ้ ยเพอ่ื รอรับการตรวจจาก วทิ ยากรและตัวแทนของแตล่ ะหมู่บ้าน - การนาเสนอเพ่ือรับการประเมินจาก 5 หมบู่ ้าน 3 โซน ดังนี้ ตัวแทนโซนต้นนา้ (คลองไส้ไก่) สรุปผลการทางานจากพืน้ ที่เปน็ ที่ สูง มหี ิน ดนิ แห้งแขง็ และมีรากตน้ ไผ่ทาให้ขดุ ยากตอ้ งโค้งหลบก่อไผ่เร่ิมขุดเป็น แนวของคลองทาเป็นร่องเล็กๆตลอดสาย นาน้าจากหนองมาใส่ในร่องท่ีขุด เพ่ือให้ดินอ่อนตัวชุ่มน้าบ้างจึงสามารถขุดต่อได้ต้องนาดินมาทาคันคลองให้สงู และกวา้ งปอ้ งกนั น้าทห่ี ลากมาจากที่สูง ใชร้ ากไมท้ ่ลี อยเหนอื ดินในพ้นื ที่ลาดชัน เป็นบันไดน้า ช่วยชะลอความแรงของน้าท่ีไหลลงมา ทาคันกั้นและใช้ไม้ทา

๔๑ กรองใส่ไสก้ ลางดินเหนยี วป้องกนั ไม่ใหค้ ันพังในพื้นท่ีลาดชนั สูงทาหลุมขนมครกหนา้ ฝายดักตะกอน นาฟางมา คลมุ คนั คลองใส่ปุ๋ยคอกปยุ๋ นา้ รสจดื ปลูกมะรมุ บนคนั คลองรดนา้ ใหช้ ุ่ม ตวั แทนสรปุ จบกรรมการไมม่ ขี อ้ ซักถาม ผใู้ หญบ่ า้ นใหก้ ลา่ วคาถาเลีย้ งดนิ พร้อมกัน ตัวแทนโซนกลางน้า(กลางคลอง) สรุปผลการทางานจากพ้ืนที่ราบดินแข็งมีหินปนทรายทาให้ขดุ ได้ยากและไม่สามารถทาคันดินสูงหรือขุดลึกจะทาใหร้ ากมะพร้าวรมิ ขอบหนองขาดไม่ติดลูกและต้องเสริมคัน ดินดว้ ยการถมดนิ เพ่อื ทาให้น้าไหลไปทางปลางน้าได้เหมอื นทาคลองสองชน้ั กนั น้าทว้ ม มีการทาฝายทดน้าเพ่ือ ดันน้าให้สูงและเก็บกกั น้า เมื่อทาคันคลองเสร็จก็ห่มด้วยฟางข้าว และเปลือกข้าวโพดใส่ปุ๋ยมูลสัตวแ์ ละปยุ๋ น้า รสจืด ปลูกผักเซียงดาบนคันคลองรดน้าให้ชุ่มจบ กรรมการไม่มีข้อซักถาม ผู้ใหญ่บ้านให้กล่าวคาถาเล้ียงดิน พรอ้ มกัน ตัวแทนโซนปลายน้า(ปลายคลอง) สรุปผลการทางานจากพน้ื ท่รี าบระหว่างสองหนองน้าต้องวาง แนวการขุดคลองตามภูมิสังคม มีการสร้างฝายปลา(ฝายกันปลาออก)ก่อนที่น้าจะลงหนองทั้งสองแห่งและ ป้องกันไม่ให้นาลงหนองที่สองหมด โซนปลายน้ามีความเป็นห่วงว่าน้าจะไหลมาไม่ถึงเพราะมีการสร้างฝาย จานวนมากจึงใหข้ อ้ เสนอตัง้ กรรมการบริหารนา้ ของท้ังสามหมู่บา้ น(แกเ่ หมือง)ร่วมกันเพือ่ ให้ทกุ หมู่บ้านมีน้าใช้ ท่ัวถึงตลอดฤดูเพาะปลูก เมื่อทาคันคลองเสร็จห่มด้วยฟางข้าวใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยน้ารสจืดบารุงดิน ปลูกมัน สาปะหลังจบการนาเสนอ กรรมการเสนอแนะการปลูกพชื ให้แหวกโคนต้นไว้เพราะเมื่อใส่ปุ๋ยชิดโคนต้นไม้จะ ทาให้เกิดความรอ้ นสะสมอาจทาใหต้ ายได้ผใู้ หญ่บ้านให้กล่าวคาถาเล้ยี งดนิ พร้อมกนั บทสรุป ผลการจัดกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี ประยุกต์ทฤษฎใี หม่สกู่ ารปฏบิ ัติ ผลการตัดสินการขดุ คลองไสไ้ ก่(เหมืองนอ้ ย)รอบหนองนา้ ผลการตดั สนิ ดงั นี้ ที่ 1 กลมุ่ สเี ขียว ได้คะแนนรวม 276 คะแนน ท่ี 2 กลุ่มสีม่วง ได้คะแนนรวม 272 คะแนน ท่ี 3 กลุ่มสีแดง ได้คะแนนรวม 271 คะแนน ที่ 4 กลุ่มสีนา้ เงนิ ไดค้ ะแนนรวม 270.5 คะแนน ท่ี 5 กลมุ่ สีส้ม ได้คะแนนรวม 260 คะแนน 7.3 ทดลองผลการปฏิบตั ิงาน การขุดคลองไส้ไกร่ อบหนองนา้ ศพช.ลาปาง นา้ ไหลไดต้ ลอดสาย

๔๒ 2.12 หัวข้อวิชำ : แลกเปล่ยี นประสบกำรณก์ ับปรำชญ์ชำวบำ้ น “วถิ ภี มู ิปญั ญำไทยกับกำรพึ่งตนเอง” วิทยำกรหลกั นางกรองกาญจน์ ศริ าไพบูลยพ์ ร กลมุ่ กสกิ รรมธรรมชาติ โคก หนอง นา บ้านแมฮ่ า่ ง อาเภองาว จงั หวดั ลาปาง ผู้ดำเนินเวทเี สวนำ นางสาวเมทินี นอ้ ยเรอื น นกั ทรพั ยากรบุคคลปฏิบัตกิ าร 1) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื แลกเปล่ียนประสบการณ์กับปราชญ์ชาวบ้านเก่ยี วกับวิถีภมู ิปัญญาไทยกบั การพึง่ ตนเอง 2. เพ่ือไดแ้ นวทางในการดาเนนิ ชวี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารพ่ึงตนเอง 2) ประเดน็ เนอ้ื หำ 1. การนาวถิ ีภมู ิปญั ญาไทยมาปรับใชก้ ับการพง่ึ ตนเองในการดารงชีวติ 2. แรงบนั ดาลใจในการดาเนินชีวิตตามวถิ ีภูมิปัญญาไทยกับการพ่งึ ตนเอง 3. การถา่ ยทอดปัจจัยความสาเร็จ 3) ระยะเวลำ 2 ช่วั โมง 4) วธิ กี ำร/เทคนิค การเสวนา 5) วัสดุ / อปุ กรณ์ 1. คอมพวิ เตอร์ 2. โปรเจคเตอร์ 6) กำรประเมนิ ผล 1. ประเมนิ จากพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ มและการตอบขอ้ ซกั ถาม/การแลกเปล่ยี น 2. การประเมินผลรายวิชา 7) สรุปผลกำรดำเนนิ งำน สรุปประเด็นเนอื้ หาวชิ าตามวัตถุประสงค์ ไดด้ งั น้ี 1. เพือ่ แลกเปล่ยี นประสบการณ์กับปราชญ์ชาวบ้านเก่ียวกบั วถิ ีภมู ิปัญญาไทยกบั การพง่ึ ตนเอง - เร่อื งราวของชีวติ ก่อนทจ่ี ะมาดาเนินกิจกรรม “โคก หนอง นา โมเดล” โดยกอ่ นหนา้ นีเ้ คยเปน็ ครู กศน. อาเภองาว, เคยเป็นครูผู้ชว่ ยครูใหญ่โรงเรียนเอกชนในอาเภอเชียงของ จงั หวดั เชียงราย และเคยเป็น ผู้จัดการโครงการขององคก์ รพัฒนาเอกชน ด้านการพัฒนาเด็กแบบองคร์ วม - จากงานทไ่ี ด้ทาในดา้ นการพัฒนาเดก็ แบบองคร์ วม ซง่ึ เป็นการพฒั นาทัง้ ดา้ นรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คม จึงนาไปสกู่ ิจกรรมพาผูป้ กครองกลมุ่ เปา้ หมายได้รว่ มเรยี นรู้กบั ดร.วิวฒั น์ ศลั ย กาธร (อ.ยกั ษ)์ จากการเป็นผปู้ ระสานงานในครง้ั นน้ั จงึ นาไปสู่สิ่งทต่ี นเองอยากลงมอื ทาด้วยตนเอง - จากพืน้ ท่ีที่ไมม่ ีนา้ สาหรับการเกษตรสู่การขดุ และการสร้างฝายกัน้ น้า และการปลูกขา้ ว/พืชผกั ต่างๆ และปอเทอื งในการบารุงดนิ อกี ท้ังพ้นื ที่ทาการเกษตรถูกไฟป่าลุกลาม แตก่ ลับไม่ใชป่ ญั หา ได้พลกิ วิกฤต

๔๓ ใหเ้ ปน็ โอกาสในการขับเคล่อื นกจิ กรรม “โคก หนอง นา โมเดล” เริ่มจากการเอาม้ือสามัคคี มีการรวมพลงั ใน การขุดคลองไสไ้ ก่ และสร้างฝายก้ันน้า - ข้อดีของการเอามอื้ สามัคคี คอื ไดเ้ พอื่ นเพิ่มมากข้ึน และได้ความร้เู กี่ยวกบั การทาเกษตรกรรม เนน้ พัฒนาคนเป็นเปา้ หมาย แล้วคอ่ ยพฒั นาลักษณะกายภาพ การออกแบบพนื้ ทตี่ ามความต้องการของ เจ้าของทีแ่ ละตรงตามสภาพพน้ื ท่ี อกี ทั้งการสร้างระบบนเิ วศใหม้ ีความเกือ้ กูลกนั ทั้งดิน นา้ ป่า คน อยา่ งยั่งยืน 2. เพือ่ ได้แนวทางในการดาเนนิ ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารพ่ึงตนเอง - ได้ใช้ทนุ ทางกายภาพท่มี ีในการพงึ่ พาตนเอง - ได้เรียนรู้การรรู้ กั สามัคคผี ่านกิจกรรมการเอามื้อสามัคคี ได้เพ่อื นเพ่ิมข้ึน และไดเ้ รยี นรู้การทา เกษตรกรรมอย่างยั่งยนื - ได้เห็นความแตกตา่ งของพื้นทีจ่ ากพื้นท่ีเดิมสูพ่ ื้นท่ีท่ไี ดร้ บั การออกแบบเชงิ ภมู ิสังคม - ไดเ้ ห็นความร่วมมอื จากหลากหลายหน่วยงาน

๔๔ 2.13 วชิ ำ หำอยู่ หำกนิ Team Building 1) วิทยำกร 1.นางอรณุ ศรี เดชะเทศ ตาแหนง่ นกั จัดการงานทว่ั ไปชานาญการ 2.วิทยากรจากศูนยก์ สกิ รรมธรรมชาติ 2) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจการพง่ึ ตนเองและการใช้ทรัพยากรทมี่ ีอยู่อย่างจากดั ให้เกิด ประโยชนส์ งู สุด 2. เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมรจู้ กั การดารงชีวติ ในภาวะวิกฤต/การประสบภยั พิบัติ 3. เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารับการฝกึ อบรมรจู้ ักการวางแผนการทางานเป็นทมี ได้ฝึกวินยั และคุณธรรม 3) ระยะเวลำ 2 ชวั่ โมง 4) ประเด็น/ขอบเขตเนื้อหำ ฝึกปฏิบัติการเรียนรู้ในการวางแผนการทางานเป็นทีมในการดารงชีวิตในสภาวการณ์เกิดวิกฤต และภัยพิบัติ ในขณะท่ที รัพยากรมอี ยอู่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด และการฝึกให้มีวินยั และคณุ ธรรม 5) ขน้ั ตอน/วธิ กี ำร 1.วิทยากรแนะนาตัว สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยการทักทาย ชวนคุย เตรียมความพร้อม ด้วยการปรบมือ ก่อนนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของวิชา ประเด็นที่จะดาเนินกิจกรรม และขอ้ ตกลงในกระบวนการเรยี นรู้ร่วมกัน 2. วทิ ยากรสร้างกลยุทธใหเ้ หน็ ว่าวิชานี้ จะเป็นวิชาท่ีผู้เข้ารับการฝกึ อบรมจะต้องมีความลาบาก ในการดาเนนิ กิจกรรมน้ี เนื่องจากผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมจะตอ้ งจดั หาวัสด/ุ อปุ กรณท์ ีจ่ าเป็นในการดารงชวี ติ 3. วิทยากรจดั เตรียมวัสดุ, อุปกรณ์ เคร่ืองครัว และวัตถุดิบต่างๆ 4. ช้ีแจง กฎ กติกา พร้อมกับอธิบายแผนผังในการหาวัตถุดิบ (ชี้แจงว่าพ้ืนท่ีไหนอนญุ าต พ้ืนที่ ไหนไม่อนญุ าต) 5. มอบเช้อื เพลิง ในการจุดไฟให้กับทุกกลุม่ (ตามแต่วทิ ยากรจะกาหนด) 6. ถว้ ย ชาม ช้อน เคร่อื งปรุงประกอบอาหาร นา้ ปลา พริก กระเทยี ม รสดี (วิทยากรจะใช้กุศโลย บาย แมม้ เี งินกซ็ ้ือของทตี่ ้องการไมไ่ ด้ ต้องนาความสามารถมาแลกเพ่อื ให้ไดม้ าซง่ึ สง่ิ ที่เราต้องการ โดยจะให้แต่ ละสีส่งผแู้ ทนมาทาการแสดงเพอื่ แลกกบั วสั ดุท่ีใช้ในการประกอบอาหาร 7. ให้คดั เลอื กตัวแทนแต่ละกลุ่มสีเปน็ กรรมการ ตรวจให้คะแนนอาหาร (รสชาติ คณุ ภาพ ความ เหมาะสม การนาทรัพยากร/วัตถุดิบมาใช้ประกอบอาหารอย่างคุ้มค่า ให้แต่ละกลุ่มอธิบายสรรพคุณของ วตั ถดุ ิบแต่ละอยา่ ง 8. รับประทานอาหารพร้อมกัน (จากสิ่งที่มีและช่วยกนั ทา)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook