Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Broadcast Media Announcing and performance

Broadcast Media Announcing and performance

Published by CCDKM, 2019-05-09 02:17:17

Description: Broadcast Media Announcing and performance
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนันท์ ศิริเจริญ
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ประจำปี 2561

Search

Read the Text Version

2. ตวั อยางสารคดวี ชิ าการ (Academic Documentary) เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพยี ง” เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาช้ีแนวทางการดาํ รงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ตงั้ แตค รอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดับรัฐ ในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสาย กลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกา วทันตอโลกยุคโลกาภิวตั น ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมี ระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดพี อสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทง้ั น้ีจะตองอาศัยความรอบคอบและความระมัดระวังอยา งยิง่ ในการนําวิชาการตาง ๆ มา ใชในการวางแผนและการดําเนนิ การทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคน ในชาติและใหมีความรอบรทู ่ีเหมาะสม ดําเนินชวี ติ ดว ยความอดทน ความเพียร มสี ติปญญาและพรอม ตอการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วท้ังดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได เศรษฐกิจพอเพียง อาจขยายความไดวา เปนการดําเนินชีวิตหรือวิถีชีวิตของคนไทยใหอยูอยาง พอประมาณ เดินทางสายกลาง มีความพอดี และพอเพยี งกบั ตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยไมตอง พง่ึ พาปจ จัยภายนอกตาง ๆ ทเี่ ราไมไ ดเ ปนเจา ของ สิ่งสาํ คญั ตอ งรูจกั พ่ึงพาตนเอง เศรษฐกิจพอเพียงระดับเกษตรกร การดํารงชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนว พระราชดําริ แบง ได 2 ระดับ คอื หน่ึง เศรษฐกิจพอเพียงระดับบุคคลท่ัวไป เปนความสามารถในการดํารงชีวิตอยางไม เดือดรอน มีความเปนอยูอยางพอประมาณตน ตามฐานะตามอัตภาพและท่ีสําคัญไมหลงใหลตาม กระแสวัตถุนิยม มีอิสระในการประกอบอาชีพ เดินทางสายกลาง ทํากิจกรรมท่ีเหมาะสมกับตนเอง และสามารถพ่งึ พาตนเองได สอง เศรษฐกิจพอเพียงระดบั เกษตรกร เปนเศรษฐกิจเพื่อการเกษตรที่เปนการพ่ึงพาตนเอง เกษตรกรจะใชความรูความสามารถในการบริหารจัดการท่ีดิน โดยเฉพาะแหลงน้ํา และกิจกรรม การเกษตรไดอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพพื้นที่ และความตองการของเกษตรกรเอง ดว ยการ นําทฤษฎีใหม ข้ันที่หน่ึง : ฐานการผลิตความพอเพียงมาใชในไรนาของตนเอง โดยเร่ิมจากการผลิต จะตองทําในลักษณะพึ่งพาอาศัยทรัพยากรในไรนาและทรัพยากรธรรมชาติเปนสวนใหญ ใหมีความ หลากหลายของกิจกรรมการเกษตรในไรนา มีกิจกรรมเก้ือกูลกัน กิจกรรมเสริมรายไดใชแรงงานใน ครอบครัว ทํางานอยางเต็มท่ี ลดตนทุนการผลิต ตลอดจนการผสมผสานกิจกรรมการปลูกพืช เลี้ยง สตั วและประมงในไรนาใหเ กดิ ประโยชนสงู สุด …………………………………………………………………………………………………………………………. ที่มา: Iiiz Deu (2554) http://www.oknation.net/blog/iizdeu/2011/07/10/entry-1 124

3. ตวั อยา งสารคดีชีวประวตั ิ (Biography) เรื่อง “สตีเฟน ฮอวคิง (Stephen Hawking)” กอนชวงทศวรรษ 1920 ทุกคนเช่ือวาเอกภพตองคงท่ีและไมเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ภายหลังจึงพบวาแทจริงเอกภพกําลังขยายตัว แกแล็กซ่ีอื่นกําลังเคล่ือนตัวออกหางเรา หากคิด ยอ นกลับไป จะถึงจุดหนึ่งที่เราเคยอัดกันกวาปลากระปองเมื่อ 15,000 ลานปท่ีแลว นน่ั คือ บิ๊กแบง จุดเริ่มตนของเอกภพ วาแตมีอะไรกอนบิก๊ แบงหรือไม หากไมมีอะไรสรางเอกภพข้ึนมา ทําไมเอกภพ จึงเกิดจากบ๊กิ แบงในลักษณะนั้น เราเคยคดิ วาทฤษฎีกําเนิดเอกภพ สามารถแบงออกไดเปน 2 สวน สวนแรก คือ กฎฟสิกสตางๆ เชน สมการแมกซเวลลและสัมพันธภาพท่ัวไปที่กําหนดวิวัฒนาการเอก ภพกําหนดสภาวะใหทุกอณูเอกภพชั่วขณะพรอมกัน และสวนที่สองท่ีเล่ียงไมไดเลยก็คือสภาวะ แรกเร่มิ ของเอกภพ สตีเฟน ฮอวคิง คือใคร…….ศาสตราจารยชาวอังกฤษ สตีเฟน ฮอวคิง เปนหน่ึงใน นกั วทิ ยาศาสตรที่มีคนรูจักและไดรับความช่ืนชมมากท่ีสุดคนหนึ่งของโลก เขาไดถ อดรหัสปริศนาบาง เรื่องของเอกภพ และเขาไดทิ้งปริศนาเก่ียวกับชีวิตของเขา นั่นก็คอื เขามีชีวิตยนื ยาวนานขนาดน้ีได อยางไร จากการท่ีตองทนทุกขทรมานจากโรคท่ีเขาเปนอยู สตีเฟน ฮอวคิงเริ่มมีอาการผิดปกติของ ระบบประสาทโดยไมทราบสาเหตุ โดยมีผลกับประสาทส่ังการ ทําใหเสนประสาทที่ควบคุมการ เคลื่อนไหวของกลามเนื้อผิดปกติ กลามเนื้อสวนนั้นจะออนแอลงจนเกือบเปนอัมพาต เขามีอาการ ของโรคนี้ต้ังแตสมยั เรียนที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ ปญหาเรื่องการเดินและการพูดทวีความรุนแรง มากข้ึนทุกขณะ ทําใหเ ขาไมสามารถปกปดมนั ไดอกี ทา ยทสี่ ุดหมอก็บอกเขาวาเขามเี วลาอยบู นโลกอีก เพียงแค 2 ป แตเขากลับอยูมาไดอีกหลายสิบป และสามารถทํางานทางวิชาการดานจักรวาลหรือ เอกภพไดอ ยา งดเี ยีย่ ม ผูที่ศึกษา DNA ของ ฮอวคิง บอกวามีคนปวยโรคน้ีเพียงไมกี่คนเทานั้นท่ีโชคดีที่ความออน แรงของกลา ม เนอื้ อยใู นระดบั ท่รี ุนแรงนอย และในกรณขี องฮอรคงิ ถือวาเปนกรณีพิเศษเพราะเปนโรค น้ีมายาวนานถงึ 50 ป และไมคดิ วา จะมใี ครท่เี ปน โรคนี้แลวมชี ีวติ ยาวนานขนาดนี้ สตีเฟน ฮอวคิงโดง ดังไปทั่วโลกจากหนังสอื เร่ืองประวัติยอของกาลเวลาถูกตพี ิมพออก มาในป พ.ศ.2531 และขายได 10 ลานเลม หนังสือเลมนพ้ี ูดถึงเอกภพและการกําเนิดของมันในแบบงายๆ และนับต้ังแตน้ันเขาก็สราง ทฤษฎีหลายๆ เรือ่ งในการปรับความเขาใจของคนทั่ว ไปเกี่ยวกับหลุมดํา และเพราะฮอวคิงนี่เองที่ทาํ ใหทฤษฎบี ๊กิ แบงกลายเปนเร่ืองที่พูดถึงกันโดยทว่ั ไป ทีม่ า: ANYA PEDIA (2558) http://www.anyapedia.com/2013/06/stephen-hawking.html 125

หมายเหต:ุ ทฤษฎีกําเนิดเอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) ท่ีไดรับความเชื่อถือมาก ในหมูนักดารา ศาสตร คือ ทฤษฎีระเบิดใหญ หรือ บ๊ิกแบง (Big Bang Theory) เปนทฤษฎีทางดาราศาสตรที่ กลาวถึงประวัติศาสตรความเปนมาของจักรวาล ปจจุบันเปนทฤษฎีท่ีเปนที่เชื่อถือและยอมรับมาก ท่ีสดุ เปน การระเบิดคร้งั ย่งิ ใหญจากพลังงานบางอยางสาดกระจายมวลสารทั้งหลายออกไปทุกทิศทาง แลวเร่ิมเย็นตัวลง จับกลุมเปนกอนกาซขนาดใหญจนยุบตัวลงเปนกาแล็กซีและดาวฤกษ ไดกอรูป ขึ้นมาในกาแล็กซีเหลาน้ัน ประมาณหน่ึงหมื่นลานป หลังจากการระเบิดใหญท่ีเกลียวของของ กาแล็กซีทางชางเผือก ดวงอาทิตย โลกและดาวเคราะหดวงอ่ืน ไดถือกําเนิดขึ้นเปนระบบสุริยะ บ๊ิกแบงเปนแบบจําลองของการกําเนิดและการวิวัฒนาการของเอกภพในวิชาจักรวาลวิทยาซึ่งไดรับ การสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตรและจากการสังเกตการณที่แตกตางกันจํานวนมาก นักวิทยาศาสตรโดยท่ัวไปใชคําน้ีสําหรับกลาวถึงแนวคิดการขยายตัวของเอกภพหลังจากสภาวะ แรกเร่ิมท่ีทั้งรอนและหนาแนนอยางมากในชวงเวลาจํากัดระยะหน่ึงในอดีต และยังคงดําเนินการ ขยายตวั อยจู นถงึ ในปจ จุบนั จอรจ เลอแมตร (Georges Lemaitre) นักวิทยาศาสตรและพระโรมันคาทอลิก เปนผเู สนอ แนวคิดการกําเนิดของเอกภพ ซ่ึงตอมารูจักกันในชื่อ ทฤษฎีบ๊ิกแบง ในเบ้ืองแรกเขาเรียกทฤษฎีนี้วา สมมตฐิ านเกย่ี วกับอะตอมแรกเรม่ิ (hypothesis of the primeval atom) อเลก็ ซานเดอร ฟรีดแมน (Alexander Friedmann) ทําการคํานวณแบบจําลองโดยมีกรอบการพิจารณาอยูบนพื้นฐานของ ทฤษฎีสัมพทั ธภาพทวั่ ไปของอลั เบิรต ไอนส ไตน (Albert Einstein) ทม่ี า: http://board.postjung.com/605295.html https://std11117.wordpress.com http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?id=94505 ………………………………………………………………………………………………………………………………………… สรุปเนื้อหาสาระในบทนี้ คือ นักศึกษาไดทราบถึงความหมายที่ชัดเจนของ คาํ วาสารคดีวาเปนเชน ไร ไดร ับทราบถึงจดุ มุงหมายของการเขียนสารคดีโดยท่ัวไปในประเด็นตางๆ ท่ี นา สนใจและตอ งจดจาํ ใหได เชน เพ่ือใหความรู เพื่อใหขอเท็จจริง เพื่อใหความเพลิดเพลิน เปนตน ไดทราบถึงลักษณะของสารคดีในดานเน้ือเร่ือง การใชสํานวนภาษา ความทันสมัยของสารคดี ไดรับ ทราบถึงประเภทของสารคดี 3 ประเภท ไดแก สารคดีท่ัวไป สารคดีวิชาการ สารคดีชีวประวัติ ได ทราบถงึ องคประกอบของสารคดีทั้ง 3 ประการ ไดแก คํานาํ เน้ือเร่ืองและสรปุ ไดทราบถึงการทํา ความเขาใจกอนอานออกเสียงสารคดี ไดทราบหลักการอานออกเสียงสารคดีที่ถูกตองและมี ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล 126

แบบฝก หัด เพอ่ื ทบทวนความรูแ ละความเขาใจ แบบฝกหัดทา ยบทของทุกบท เพอื่ การกระตนุ ความต่นื ตัวในการเรียนรแู ละนาํ ไปสูการ จดจาํ ไดอ ยางลกึ ซ้ึง ดวยการใชคําถามทีต่ องอธบิ ายความและยกตัวอยา งประกอบ ซง่ึ ตอ งใชความเขา ใจจากการเรยี นรแู ละฝกปฏิบตั อิ ยา งสมํ่าเสมอ 1. ความหมายของคาํ วา สารคดี คืออะไร อธบิ าย 2. จุดมุงหมายของการเขียนสารคดโี ดยทว่ั ไปมีก่ีประเด็น อะไรบา ง อธบิ าย 3. ลกั ษณะของสารคดีมีอะไรบาง อธิบาย 4. ประเภทของสารคดมี ีกี่ประเภท อะไรบา ง 5. สารคดที ั่วไป เปน เชนไร อธบิ าย 6. สารคดีวชิ าการ เปน เชน ไร อธิบาย 7. สารคดีชีวประวตั ิ เปนเชนไร อธบิ าย 8. องคป ระกอบของสารคดมี กี ี่ประการอะไรบา ง อธิบาย 9. การทาํ ความเขา ใจกอนอา นออกเสียงสารคดี ประกอบไปดว ยอะไรบาง อธบิ าย 10. หลักการอานออกเสียงสารคดีทถี่ กู ตอง มอี ะไรบา ง อธบิ าย 11. ใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็นวา ท่ีผานมาเคยไดรับฟงรับชมสารคดีเรื่องใดบาง ที่ทําให นักศึกษาเกิดความประทับใจในการสรางอารมณความรูสึกรวมไปกับสารคดีน้ันๆ โดยการ อานออกเสียงของผูประกาศหรือผูดําเนินรายการที่เปนระดับมืออาชีพ ยกตัวอยางและ อธิบาย 127

จุดประสงคของการเรียนรูในบทนี้ 1. นักศกึ ษาไดรับรูแ ละเขาใจความหมายของขา ว 2. นักศกึ ษาไดร ูถึงหลักเกณฑใ นการพิจารณาคุณคาของขาวกอ นนาํ ไปอานเผยแพร 3. นกั ศกึ ษาไดรถู งึ การปฏิบัติตนและฝก ฝนการอานขา ว 4. นักศึกษาไดร แู ละฝก ฝนถึงวิธีการอานขาวอยางมปี ระสิทธิภาพและสามารถนําไปใชไ ดใน การปฏิบัตงิ านจริง 10.1 ความหมายของขาว “ขาว” มีความสําคัญสําหรับมนุษยทุกคนที่ยังคงตองใชชีวิตประจําวันอยูในสังคม เพราะ การไดรับรูขาวตางๆ จะทําใหมนุษยเราสามารถนําไปใชประโยชนในการใชชีวิตท่ีบาน ท่ีทํางาน ท่ี โรงเรียน ที่มหาวิทยาลัยและทุกๆ ที่ท่ัวโลก นอกจากนั้นเรายังสามารถนําขอมูลขาวสารจากขาวไป บอกตอยังสมาชิกในครอบครัว กลุมเพ่ือนและบุคคลอื่นๆ เพื่อไวใชปองกันตัว เอาไวใชสนับสนุน แนวคิดของปจ เจกบุคคลหรอื กลุมบคุ คลในการดาํ เนินการใดๆ ตอไป มผี ใู หความหมายของคําวา ขาว ไวหลากหลายมุมมอง อาทิ พีระ จิรโสภณ และมาลี บุญศิริพันธ (2538) ใหความหมายของขาววา หมายถึงรายงาน เหตุการณหรือเรื่องราวที่เกิดข้ึน ลําพังเหตุการณไมใชขาว แตขาวจะตองเปนเหตุการณท่ีไดมีการ รายงานใหผูรับสารทราบสาระสําคัญของขาว ตองเปนรายงานเหตุการณหรือสถานการณที่ผูส่ือขาว และบรรณาธิการเห็นพองตองกันวามีความสําคัญ และนาสนใจพอที่ประชาชนควรหรือตองรับรู เหตุการณห รอื เรอ่ื งราวนัน้ ตามหลกั การประเมนิ คณุ คาของขา ว เชน กรณีการเกิดคล่ืนยักษสึนามิ หาก ไมม ีการรายงานออกมา ประชาชนก็จะไมทราบวาจะเกิดอะไรขึ้น และมีผลกระทบอยางไรตอตนเอง และชมุ ชน เม่ือประชาชนไมรู กจ็ ะไมมกี ารเตรียมตวั ปอ งกนั หรือรบั มอื กบั ภัยธรรมชาติท่จี ะเกดิ ข้นึ 128

พศิ ิษฐ ชวาลาธวัช และคนอนื่ ๆ (2549) ใหคาํ อธบิ ายไวว า 1) ขาว คือ เรื่องราวอะไรอยา งหน่ึงท่ีประชาชนจะตอ งพูดถึง ถาย่ิงเปนเร่ืองราวท่ีชวน ใหผ คู นอยากจะแสดงความเห็นมากเทาไร กแ็ ปลวา มันย่งิ มี “คณุ คา” มากข้ึนเทานัน้ 2) ขาว คือ เหตุการณตางๆ ซ่ึงเกิดข้ึนใหมๆ สดๆ ถูกถวนและใหภูมิปญญานารูเห็น หรอื อาจจะไดแกการคนพบตางๆ อาจจะเกี่ยวกับทรรศนะตางๆ และอาจจะไดแกเรื่องราวชนิดตางๆ ซึง่ กระทบถึงประชาชนคนอา น 3) ขา ว คือขอ เท็จจริง สาระสําคัญเก่ียวกับการเกิดขึ้นของเหตุการณบางอยางหรือของ สิ่งใดสงิ่ หน่ึง หรือเกี่ยวกับการคดิ ซ่ึงทําใหผูคนสนใจ เน่ืองจากมีผลกระทบหรือมีอิทธิพลตอ ชวี ิตของ ผูคน หรอื มอี ทิ ธิพลตอ ความอยูเ ยน็ เปน สุของผคู น โดยอธิบายวา ขาวคือความจริงที่สมบูรณ (Completely true) เปนเรื่องราวหรือ เหตุการณที่เกิดขึ้นจากอดีตสูปจจุบันอยางมีความสัมพันธตอเนื่อง รวมถึงขอคิดเห็นดวย ดังนั้นสิ่งท่ี ถูกบนั ทกึ ในเนือ้ ขาวตอ งเปนขอเทจ็ จริงท่ยี ืนยันได ไมว า อกี กี่ปขา งหนา ทส่ี ําคัญ “ขอเท็จจริง” จะเปน เท็จหรือจริง จะสมมติขึ้นมาเองไมได เร่ืองราวเหลานั้นบางครั้งอาจสงผลกระทบตอคนหมูมากทั้ง ระดบั ทอ งถ่ินหรือประเทศหรือมวลมนุษยโลกและเม่ือปรากฏเปนขาวสูสาธารณชนสามารถกอใหเกิด ความเขาใจในตัวของมันเองได ขอเท็จจริงท่ีเปนขาวน้ัน ตองสามารถจะพิสูจนไดไมวาจะในอีกก่ีป ขางหนา เพราะความจริงในวันนี้คือความจริงอีก 10 ปหรือ 50 ปขางหนานั่นเอง ขาวที่ดีตองเปน ความจริง ตอ งเท่ียงแทแนน อน และจะตอ งอธบิ ายที่มาอนั เปนไปของขอเทจ็ จริงเหลานนั้ อยางลึกซ้ึง มี ลกั ษณะที่มีความหมายชัดเจนรอบดาน จอหน บี โบการท (John B. Bogart, 1848–1921) บรรณาธกิ ารขาวในประเทศของ หนังสือพิมพน วิ ยอรคซนั (New York Sun) ไดใหความหมายของคําวาขา วทีต่ อมามีผูนํามากลาวถงึ บอยที่สดุ วา “หมากดั คนไมเปนขา ว เพราะมนั เกิดขึ้นบอ ยๆ แตเ มอื่ คนกัดหมานนั่ แหละคือขา ว” (When a dog bites a man, that is not news, because it happens so often. But if a man bites a dog, that is news.) ขอความน้ีมคี วามหมายอยูในตวั และสามารถส่ือใหเห็นถึงธรรมชาติของ ความเปน ขา วไดร ะดับหน่ึง น่ันคือสิ่งทีเ่ ปนขาวนั้นจะตองเปนสิ่งที่ “ผดิ ปกติธรรมดา” ไมใ ชเ รอื่ งที่ เกิดขึน้ จนเปน ปกตวิ ิสัย สรุปไดวา “ขาว” เปนขอมูลเนื้อหาสาระตางๆ ของเหตุการณที่เกิดข้ึนซ่ึง มนุษยทุกคนตองการรับรูและควรไดรับรูเพ่ือนําเอาไปใชประโยชนตามแตความ เหมาะสมของแตละคน 129

10.2 การพิจารณาคุณคาของขาวกอนนาํ ไปอา นเผยแพร ผูนําเสนอขาวน้ัน คือ ผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการจะตองพิจารณาถึง “คุณคาของขาว” (the news worthiness or news values) ท่ีจะนําไปเผยแพรหรืออานใหผูฟงผูชมไดร บั ทราบวา มี ประโยชนม ากนอ ยเพยี งใด เหมาะสมในการนาํ ไปเผยแพรหรือไม จะสรางความเสียหายใหกับบุคคลท่ี อยูในขาวโดยไมยุติธรรมหรือเปลา และตรงกับความพึงพอใจหรือสิ่งที่ประชาชนตองการหรือเปลา เปน ตน (วจิ ติ ร ภกั นิกร 2553) ดังน้ันคุณคาขาวซ่ึงจะนํามาใชเปนเกณฑในการพิจารณาเพื่อตัดสินใจ ทจี่ ะนําเสนอรายงานเปน ขาว มีดงั นี้ 1) ขา วทจี่ ะนําเสนอน้ันตองมคี วามสดตอ สมัย มีความรวดเรว็ ทันเวลาเหมาะสมหรือ เหตกุ ารณฉ บั พลัน (timeliness or immediacy) รวมทัง้ ทนั ตอเหตกุ ารณ (Recentness) เพราะขาว ทจี่ ะอานนนั้ ตอ งใหม สด ทันเหตุการณแ ละเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบัน ย่งิ สามารถอานขาวที่ เหตุการณเพงิ่ จะเกดิ ข้นึ สดๆ รอ นๆ แลวมกี ารรายงานขา วเหตุการณดังกลา วอยางรวดเร็วทันทีทันใดก็ ยง่ิ จะเปนท่ีสนใจของประชาชนมากขึ้น ขาวนั้นก็จะย่ิงมีคุณคาของความเปนขาวมากขึ้นตามไปดวย ซึง่ คณุ คา ความรวดเรว็ นี้สื่อวิทยุและส่ือโทรทัศน จะสามารถนําเสนอโดยถายทอดสดหรือรายงานขาว ไดท นั ทีที่เกดิ เหตุการณขน้ึ ดังนั้นผูประกาศและผูดําเนินรายการตองมีความพรอมอยูเสมอตลอดเวลา โดยตองใชนํ้าเสียงในการอานขาวท่ีแสดงถึงความต่ืนตัว กระฉับกระเฉงจนทําใหผูฟงผูชมรูสึกไดวา เปน ขาวสดขาวดว นจรงิ ๆ เม่ือเกดิ เหตุการณขน้ึ แลว มกี ารนําเสนอหรอื รายงานขา วไดเรว็ มากเทา ใด 2) ขา วที่จะนาํ เสนอน้ันตองคํานงึ ถึงความถกู ตอ งครบถวน (Accuracy) ในทุกรายละเอยี ด ของขาวไมวา จะเปน ชื่อแหลงขาว ตาํ แหนง หรอื ความคิดเห็น จะตองถกู รายงานอยางรอบดานและเปน ขอ เท็จจรงิ ไมถกู บิดเบอื น โดยการใชนาํ้ เสยี งทฟ่ี งสบายรนื่ หอู านขา วแบบไมต ดิ ขดั 3) ขาวท่ีจะนําเสนอนั้นตองมคี วามใกลช ดิ (proximity or nearness) เพราะธรรมชาติของ มนุษยน้ันมักจะสนใจเรื่องที่ใกลตัวหรือมีความเกี่ยวของสัมพันธกับตัวเองโดยตรง ยิ่งเหตุการณใดมี ความใกลช ดิ กบั ผรู บั สารมาก เหตุการณน ั้นยอ มจะไดร ับความสนใจและมคี ุณคา ของความเปนขาวมาก ข้ึนไปอีก นอกจากน้ันความใกลชิดทางจิตใจยังถือไดวาสามารถสรางคุณคาของขาวไดดวย อัน หมายถึง การเกิดเหตุการณใดๆ ที่แมวาเปนเร่ืองไกลตัว แตหากบุคคลที่อยูในเหตุการณมี ความสัมพันธหรือเปนกลุมเพ่ือนกลุมญาติกากับผูรับสาร เหตุการณนั้นก็ถือวามีคุณคาความใกลชิด เชน กัน 4) ขาวท่ีจะนําเสนอน้ันตองคํานึงถึงความสมดุลและเปนธรรม (Balance and Fairness) กบั ทุกฝาย โดยตอ งอา นขาวนาํ เสนอขอ มลู ทกุ แงท กุ มมุ อยางเทาเทยี มกัน เชน เหตุการณที่ เกิดความขัดแยงจะตองนําเสนอความคิดเห็นของทั้งสองฝายที่โตแยงกันอยางพอๆ กัน ใหเวลาและ รายละเอียดใกลเคียงกัน ดว ยนํ้าเสียงในการอา นขาวท่ไี มโนมเอยี งไปทางดานใดดา นหนึ่งมากกวากนั 130

5) ขาวท่ีจะนําเสนอนนั้ ตองมคี วามเดนหรอื ความมีชือ่ เสียง (prominence) ความเดนในทนี่ ี้ ไมไดหมายถึงเฉพาะความเดน ของเหตุการณเ ทานน้ั แตยงั ครอบคลุมถึงความเดนของบุคคล สถานท่ี หรอื เวลาดวย เชน ขาวการไดรบั เลอื กต้งั เปน ประธานาธบิ ดีผวิ สีคนแรกของสหรฐั อเมรกิ าของบารัค โอบามา ขาวการพบสถานทที่ องเทยี่ วแหงใหมของประเทศไทยทมี่ ีความสวยงามของธรรมชาตอิ ยา ง นาตน่ื ตาต่ืนใจ หรือขาวเหตุการณเ สี้ยววินาทีท่ีเกิดเหตุระเบดิ วินาศกรรมในประเทศใดประเทศหนง่ึ ของโลก ซ่ึงกลองวงจรปด สามารถบันทึกภาพเหตกุ ารณใ นเสี้ยววินาทีทผ่ี ูกอ การรา ยจุดชนวนระเบิดไว ได เปน ตน 6) ขา วทจ่ี ะนําเสนอน้ันตอ งมผี ลกระทบ (impact or consequence) มนุษยม ักจะใหความ สนใจกบั เหตกุ ารณท ่ีสง ผลกระทบกับตัวเอง ดงั นัน้ เหตุการณใ ดกต็ ามทเ่ี กิดข้นึ แลว มผี ลกระทบตอ ชวี ิตความเปนอยขู องผคู นจํานวนมาก ไมว าจะเปนการทาํ ใหช วี ติ ดีข้ึนหรือแยล งกต็ าม เหตุการณน ้ัน ยอ มมีคณุ คาขาวสงู กวาเหตุการณท่ีมผี ลกระทบตอผคู นจาํ นวนนอย 7) ขาวท่จี ะนําเสนอนัน้ ตอ งมีความมีเง่ือนงาํ (suspense) เหตุการณใดก็ตามท่เี กิดขึน้ แลว ยัง ไมสามารถระบสุ าเหตุทแ่ี ทจริงหรือคลค่ี ลายไดอยา งชดั เจน ยอ มทาํ ใหผ ูคนทวั่ ไปเกดิ ความสงสัยใครร ู ในขอ เท็จจรงิ และอยากติดตามขา วนั้นไปจนกวา ความจริงจะถูกเปด เผยออกมา 8) ขาวที่จะนําเสนอนั้นตอ งมีความผิดปกติหรือผิดธรรมชาติ (unusualness or oddity) มนษุ ยน น้ั มักจะใหค วามสนใจในเรื่องท่ีผิดปกติหรือแปลกประหลาด ซง่ึ เปนส่ิงที่ไมเคยพบเห็นมากอน เร่ืองเหลานี้มักจะเรียกความสนใจจากผูรับสารเสมอ เชน เกิดเหตุการณตนมะนาวท่ีออกผลแลวมี ขนาดใหญเทาผลสมโอ เกิดเหตุการณที่คนกินนอนกับงูเหาเปนรอยๆ ตัวโดยไมถูกกัดตาย เกิด เหตกุ ารณท ี่สุนัขตวั หนงึ่ ในวิทยาลัยชางศลิ ปจะเหาหอนคลายรองเพลงทุกคร้ังเม่ือไดยินเสียงเพลงชาติ ในตอนเชา และตอนเย็นโดยวงดนตรจี ากวิทยาลยั นาฎศลิ ป เปนตน 9) ขาวท่ีจะนําเสนอนั้นตองมีความขัดแยงหรือการแขงขัน (conflict or combat) ความ ขัดแยงเปนเรื่องเกี่ยวกับความไมลงรอยหรือเขากันไมไดในเร่ืองความคิด ความเชื่อ เปาหมาย ผลประโยชน และวิถีชีวิต ซ่ึงความขัดแยงเปนธรรมชาติอยางหนึ่งของมนุษย เม่ือมาอยูรวมกันยอม เกิดความขัดแยงข้ึนอยเู สมอ ขณะเดียวกันมนุษยก็มักจะสนใจและอยากรูความขัดแยงของบุคคลอ่ืน เพอื่ จะตดิ ตามใหร ูผลวาจะออกมาเปน อยา งไร ฝายใดจะเปนฝา ยชนะ ฝา ยใดจะเปนฝายแพ 10) ขาวท่ีจะนําเสนอน้ันตองอยใู นความสนใจและมีความเราอารมณ (human interest or emotion) เพราะมนุษยยังมีความตองการเรื่องของอารมณและความรูสึก เหตุการณท่ีกอใหเกิด อารมณพ ื้นฐานของมนุษยปุถุชนนับต้ังแตอารมณโศกเศรา เห็นอกเห็นใจ ยนิ ดี รัก เกลียด โกรธ กลัว อิจฉา รษิ ยา ขบขัน ฯลฯ มกั จะเปน เหตุการณท ่ีทําใหมนุษยท่ัวไปเกิดความสนใจอยางยงิ่ การรายงาน เหตกุ ารณเหลานี้จึงมักจะทําใหผรู ับสารเกิดอารมณหรือความรูสึกรวมไปกับเหตุการณหรือบุคคลใน ขาวนัน้ ดว ย 131

11) ขาวท่ีจะนําเสนอนั้นตองมีความเกี่ยวของกับเร่ืองทางเพศหรือเรื่องอ้ือฉาว (sex and scandals) เรื่องเพศในท่นี ไี้ มไ ดหมายถึงเฉพาะเร่ืองเกี่ยวกับความสมั พันธท างเพศหรือสิ่งยั่วยทุ างเพศ เทาน้ัน หากแตยังรวมไปถึงเหตกุ ารณต างๆ ท่ีเกิดขึ้นโดยมีสาเหตุสาํ คญั อันเกิดมาจากความแตกตา ง ทางเพศดวย เชน การออกกฎหมายใหภรรยาสามารถใชนามสกุลของตัวเองได หรือมีสิทธิท่ีจะใชคํา นําหนานามวานางสาวหรอื นางก็ได กลมุ เพศที่สามเรียกรอ งการยอมรับของสังคม เปน ตน 12) ขาวท่ีจะนําเสนอนั้นตองมีความกาวหนาและความเปล่ียนแปลง (progress and change) มนุษยยอมมีความสนใจที่เรียนรสู ่ิงใหมๆ โดยเฉพาะหากส่ิงนั้นสามารถนํามาปรับปรุงหรือ เปลย่ี นแปลงชวี ติ ของตนไปในทิศทางทีด่ ขี ึ้น ดงั นั้นเหตุการณท ี่เกี่ยวของกับวิทยาการสมัยใหมในสาขา ตางๆ ท้ังความกาวหนาทางเทคโนโลยี การประดิษฐคิดคนนวัตกรรมตา งๆ การคน พบวิธีปองกันและ รักษาโรคแบบใหมที่มีประสิทธิภาพมากกวาวิธีเดิม ยอมเปนเหตุการณที่มีคุณคาของความเปนขาว ทง้ั สนิ้ 10.3 การปฏิบัตติ นในการอานขาว การอา นขา วโดยท่ัวไป ผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการในฐานะผูอา นขาวจะตองปฏิบตั ติ นดังนี้ 1) ตองปฏิบัติตนเปนสือ่ กลางในการอา นขา วถา ยทอดเร่ืองราวทีเ่ กดิ ข้ึนไปสผู ฟู ง ผูชม 2) ตอ งปฏบิ ัติตนเปนกลางเท่ียงตรง โดยอา นขาวอยางตรงไปตรงมาไมบิดเบอื นขาว ส่ิงใด ถูกเปนถูก ผดิ เปนผิด ไมเขาขางฝายหนึ่งฝายใด ไมมีอคติตอบุคคลในขาวท่ีกําลังอานหรือใชนํ้าเสียง แสดงความเยยหยนั เสียดสีเหนบ็ แนมบคุ คลในขาวที่ตนเองรูส ึกไมช อบ 3) ตองปฏิบตั ิตนดว ยการเกบ็ อารมณแ ละไมแ สดงอารมณค วามรสู ึกทอี่ อกนอกหนา ทง้ั ใน กรณที ่ีเหน็ ดวยหรอื ไมเ ห็นดว ยกบั เหตุการณใ นขาว 4) ตองปฏบิ ัติตนในการนําเสนอขา วใหครบสูตร “5W 1H” ไดแ ก -Who -What -Where -When -Why -How เพอ่ื อธิบายวาใครคือบคุ คลในขา ว เขาไปทําอะไร ทาํ ทไี่ หน ทาํ เมือ่ ใด ทาํ ไมจงึ ทําหรอื ทาํ ไมจึงเกดิ เหตกุ ารณน ้ันข้นึ มาและเหตุการณน ้ันเกิดข้ึนมาไดอ ยางไร 132

5) ตอ งปฏิบัตติ นดว ยการไมแสดงความคดิ เหน็ สว นตวั ของตนเองวิพากษวจิ ารณเ น้อื หาขาว ท่ีกําลังนําเสนอ ไมวาจะเปนทางบวกหรือทางลบ ถือเปนส่ิงท่ีตองระมัดระวังอยางมาก มิเชนน้ันจะ กลายเปนทําตนเหมือน “ผูวิพากษขาว” ไมใช “ผูอานรายงานขาว” เพราะอาจสงผลกระทบในทาง เสียหายตอ สถานีวทิ ยุหรือโทรทศั นทอี่ อกอากาศเผยแพรขาวนน้ั ๆ ไดอ ีกดว ย 6) ตองปฏิบตั ิตนดว ยความสามารถในการจบั ประเดน็ ขา วไดอ ยางรวดเร็วและสามารถอาน ขาวนาํ เสนอออกไปดว ยนาํ้ เสยี งที่แสดงความมั่นใจ ใชประโยคท่ีส่ือความหมายไดตรงประเด็นอยา งไม เยน่ิ เยอ อึดอาด จากขอปฏิบัติตนในการอานขาว จะเห็นไดวาส่ิงสําคัญที่ผูประกาศและผูดําเนินรายการใน ฐานะผูอานขาวจะตองปฏิบัติ คือ การนําเสนอขาวโดยมีจุดยืนอยูบนขอเท็จจริงท่ีถูกตอง เปนกลาง และสรางสรรคเ สมอ นอกจากน้ัน สจวท ดับเบล้ิ ยู ไฮด (Stuart W. Hyde 2008) นกั วิชาการดานสื่อจาก มหาวิทยาลยั San Francisco State University ไดนําเสนอหลกั การวธิ ีการอานขาว ท่สี ามารถ นาํ มาใชประกอบการปฏิบตั หิ นาท่ีของผปู ระกาศและผูดาํ เนินรายการไดอกี ดังนี้ 1) ผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการในฐานะผูอา นขาว เม่ือไดบทขา วท่ีจะตองอานแลว ตอ ง อา นบทขา วนน้ั ในใจใหเขาใจกอน โดยครงั้ แรกอานเพ่ือจับใจความสาํ คัญทว่ั ไป 2) ผูประกาศและผดู ําเนินรายการในฐานะผูอา นขาว จะตองสามารถสรปุ ถงึ ทมี่ าที่ไปของขาว ท่ีจะอานไดอยา งเขา ใจและชัดเจน 3) ผูป ระกาศและผดู ําเนินรายการในฐานะผูอานขาว ตองพิจารณาบทขาวทจี่ ะอา นกอนวา บรรยากาศหรืออารมณ (mood) ของขา วน้ันๆ เปน ไปในทิศทางใด เชน -เปน บรรยากาศของขา วเศราท่แี ฝงไปดวยอารมณส ะเทอื นใจ เมื่อรูด ังน้ีผปู ระกาศและผู ดาํ เนนิ รายการที่อานขาวตองไมท ําหนา ตาระรื่นอา นขาวไปยมิ้ แยมไปใชนาํ้ เสยี งรา เรงิ ที่ไมเขากับ เหตกุ ารณข องขาวนัน้ เพราะจะขดั กบั เนื้อหาหรืออารมณของขาวทต่ี องการใหเกิดความเห็นอกเหน็ ใจ หรือตอ งการสงกําลังใจใหผ ปู ระสบความยากลาํ บากและกําลงั เกดิ ความเศราใจจากเหตุรา ยตางๆ ที่ เกดิ ขนึ้ 4) ผูป ระกาศและผดู ําเนินรายการในฐานะผูอา นขาวควรทําเครอ่ื งหมายลงในบทขาววา ตอน ใดควรหยดุ คาํ ใดควรเนน และคําใดควรทอดจงั หวะใหผฟู งผูชมไมเ ครงเครยี ดจนเกินไป และจะไดท ํา ใหไมอา นเน้ือหาขา วผิดพลาด จังหวะในการอานขา วไมเ รว็ เกนิ ไปหรือชา เกินควร 5) ผปู ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการในฐานะผูอานขาวตองตรวจสอบความถกู ตอ งของคาํ ทุกคาํ รวมทงั้ วธิ อี า นคําน้ันๆ ใหแนใ จวา ออกเสียงไดถ ูกตอ งเสยี กอนท่ีจะนาํ ไปอานเผยแพรจริง 133

6) ผปู ระกาศและผูด ําเนนิ รายการในฐานะผูอานขาวตองลองอา นบทขา วนัน้ ๆ เพื่อเปนการ ฝกทักษะในการอานลวงหนา ปองกนั การสะดุดหรอื ติดขัดคําบางคําในเนื้อหาขา ว จนทําใหการอา น ขาวไมร าบรื่นอยา งท่ีควรเปน เพราะจะทาํ ใหผ ฟู ง ผูช มขาดความเช่อื มั่นในตวั ผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการท่ีอานขาวน้ันๆ กเ็ ปนไปได 7) ในการอานบทขา วท่มี ีความยาว ควรใชการมองลวงหนา ประมาณครง่ึ หรือคอนบรรทดั ในขณะอา นขา วประโยคกอนหนา และจําไวว า ขอความหรือประโยคท่ีจะตามมาน้ันวา อยางไร ในขณะ ทป่ี ากยงั อา นประโยคกอนหนา น้ันอยจู นกระทงั่ จบ ก็จะสามารถอานประโยคถดั ไปไดอยา งตอ เนื่อง และไมส ะดุด เพราะมิเชนนัน้ อาจเกิดการอานผิดพลาดไดงายมาก เนื่องจากไมไ ดฝกฝนการใชสายตา อา นหนงั สือหรือบทขา วลว งหนา จึงทาํ ใหมโี อกาสอา นผิดตัวสะกดหรอื ตูคําเติมความเขาไปเอง ซง่ึ เปน สิ่งทไ่ี มควรเกดิ ขึ้นในฐานะมืออาชีพ 10.4 วิธกี ารอา นขา วอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ การจะเปนผูประกาศและผูดาํ เนินรายการท่ีดีนั้นตองประกอบไปดวยคุณสมบัติหลาย ประการ แตหนึ่งในคุณสมบัติสําคัญก็คือ การใช “เสียงประกาศใหถูกตอง” เพ่ือการส่ือสารท่ีมี ประสิทธิภาพ ซง่ึ ประกอบไปดว ยปจจยั ตางๆ (ภทั ธีรา สารากรบรริ ักษ 2557) ดงั นี้ 1) เสยี งและนา้ํ เสยี งทน่ี า ฟง ผปู ระกาศและผูด าํ เนินรายการท่ีมีเนื้อเสียงทนี่ าฟงนนั้ ไดเ ปรียบกวาผูที่มีเสยี งแหบ เสียงใหญ หรือเสียงบาง แตไมจําเปนวาผูท่ีมีเนื้อเสียงดีจะสามารถเปนผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการทีด่ ีได ส่ิง สาํ คัญ คือ -ควรมีเสียงท่มี ีนํ้าหนักและชัดเจน -ระดับเสยี งตองไมสูงหรอื ต่ําเกินไป -ตอ งควบคุมการใชน ํา้ เสียงใหน า ฟง -ควรพูดอยางเตม็ เสยี งและตอ งควบคุมเสยี งใหม รี ะดับความดงั พอเหมาะ 2) ความชดั เจนในการออกเสยี ง ควรออกเสียงใหชัดเจน ทั้งพยัญชนะ สระและตัวสะกด การออกเสียงพยัญชนะควบ โดยเฉพาะ ร ล ว ควรอานไดถูกตอง ไมออกเสียง ล เปน ร และควรออกเสียงตวั ช ฉ ส ซ ไดอยาง ชัดเจน ไมอ อกเสียงแบบฝรงั่ เชน ช, ฉ เปน sh หรือ ร เปน r เม่ือเปลงเสียงคาํ ตองมีความชัดเจน ไมทําใหผูฟงผูชมเกิดความ สับสนวาผูประกาศและผดู ําเนนิ รายการพูดวาอะไร 134

3) ความสามารถในการใชเ สยี ง ผูประกาศและผูดําเนินรายการที่ดีตองมีลีลาในการใชเสียงเพื่อส่ือความหมายอยางเปน ธรรมชาติ เม่ือไดรับบทตองสามารถตีความบทท่ีไดรับและใชนํ้าเสียงถายทอดความรูสึกไดอยาง เหมาะสม ควรรูวา เมอ่ื ใดควรเวนวรรค เมอื่ ใดควรเนนนาํ้ หนกั เสียง เมอื่ ใดควรจริงจัง เม่ือใดควรผอน เสยี งใหม คี วามเปนกนั เอง เปน ตน 4) จงั หวะการอา นทเี่ หมาะสม ไมมกี ารกําหนดตายตัววา ผูป ระกาศและผูดําเนินรายการควรอานเร็วหรือชาในจังหวะเทาใด ใหอยูในการตัดสินใจดวยตนเอง แตก็ไมควรพูดเร็วเกินไป จนฟงไมทัน หรือพูดชาเกินไปหรือยืดยาด จนฟงแลวนาเบ่ือ ตองมีความชัดเจนทุกคํา รวมทั้งควรควบคุมจังหวะการอานใหเหมาะสมกับส่ิงที่ นาํ เสนอและรายการท่ีรับผดิ ชอบ 5) ความมีชวี ิตชวี า ควรเปลงเสียงดวยความสดใส กระตือรือรน มีชีวิตชีวาในน้ําเสียง มีความเปนธรรมชาติ เหมาะกับบุคลิกของตนเอง ควรย้ิมนอยๆ เพ่ือใหเสียงสดใสเปนกันเองและมคี วามเปนมติ ร แตตองดู ดวยวาเนื้อความท่ีอานนั้นเปน เรอ่ื งอะไรเหมาะสมหรือไม เชน -หากเปนเรื่องเศราหรือเปนความสูญเสียของผูคน ตองสํารวม ใชน้ําเสียงและสีหนาให เหมาะสมกับเนือ้ หาของขาวทนี่ ําเสนอดวย เพราะหากไมระวังในเร่อื งน้ี อาจสรางความไมพึงพอใจกับ ผูเก่ยี วขอ งกับเรอื่ งราวที่นาํ เสนอได จะเห็นไดวาท้ังหมดนี้เปนวิธีการฝกฝนตนเองที่ดี เพื่อใหพรอมสําหรับการทําหนาท่ีเปนผู ประกาศและผูดําเนินรายการท่ีมีคุณภาพ ดังนั้นจึงตองมีการเตรียมตัวฝกฝนอยางตอเน่ืองและขยัน พัฒนาตนเองอยางสม่ําเสมอ การฝกฝนบอยๆ จะทําใหเกิดความมั่นใจและสามารถทําผลงานออกมา ไดอ ยางมีคุณภาพ 135

ตัวอยา งที่ 1 บทขาวสาํ หรับผูประกาศและผดู าํ เนนิ รายการ ใชฝ ก ฝน ทกั ษะการอานออกเสียงบทขา ว “เดอะบีช” สถานีโทรทศั นไ อทีวี 19/01/1999 19:00:36 ขา วภาค: 19.00 น. หนา 1/2 วนั ท:่ี 19/01/1999- 15:24 น. ขา ว: เดอะ บชี ลาํ ดับท:่ี ……………………… ผูส่ือขาว: ………………………………………. สายขาว: ศิลปวฒั นธรรม โปรดิวเซอร: …………………………………… บ.ก.ขา ว…………………………………….. ชา งภาพ:…………………………………………… ตดั ตอ…………………………………. […] ขาวลงเสียง [...] ขา วอาน ความยาวโปรย: ....00:00:15 ความยาวเทป: 00:00:00 ภาพ เสยี ง ผูประกาศ ศาลแพงสงหมายใหจําเลยกรณีเดอะบีชแลว และสภา ทนายความก็เตรียมพยานหลักฐานเพื่อช้ีแจงตอศาลในวัน สืบพยาน โจทย แตกองถายทําภาพยนตรเร่ืองน้ี ยังสามารถ ถา ยทาํ ตอไปได เพราะยงั ไมม ีความผดิ เทป-อานตอ นิติกรกรมปาไมและตัวแทนอธิบดีกรมปาไมเซ็นรบั หมายศาล ในฐานะจําเลยที่ 2 และ 3 ตามขอกลาวหาของสภา ทนายความแลว ในกรณีอนุมัติใหกองถายหนังเรื่องเดอะบีช ละเมิดกฎหมายอุทยานแหงชาติและกฎหมายสิ่งแวดลอม แต จําเลยท้ังสองสามารถยื่นคัดคา นขอกลาวหาภายใน 7 วัน // สวนจําเลยทีไ่ มเซน็ รบั หมายศาล คือ รฐั มนตรีวาการกระทรวง เกษตรและสหกรณ // กับบริษัทประสานกองถายและ บรษิ ัททเวน็ ต้ี เซน็ จูรี่ ฟอกซ --------ปลอ ยเสยี งสัมภาษณ- ---------- เร่ิมท…่ี ….. จบท่ี……… ซอ นชอื่ 136

วรินทร เทยี มจรัส/ประธาน ตอหนาท่ี 2 โครงการสภาทนายความ พิทกั ษส ่ิงแวดลอม 19/01/1999 19:00:37 ขาวเดอะบีช หนา 2/2 ภาพ อา นตอ เสยี ง ขณะน้ีกลุมอนุรักษสิ่งแวดลอมจังหวัดกระบี่ไดหยุดการ ประทวงช่ัวคราว เน่อื งจากขาดแคลนงบประมาณทงั้ คาเชา เรือ ท่ีตอ งจอดประทวงและคา ท่ีพกั ซ่งึ ราคาคอ นขางสูง ขณะที่นายพิเชษฐ พันธุวิชาติกุล สมาชิกสภาผูแทนราษฎร พรรคประชาธิปตย จังหวัดกระบี่ ปฏิเสธวาบริษัททเว็นต้ี เซ็นจูร่ี ฟอกซ ไมไดเขาพักที่โรงแรมกระบี่เมอริไทม ของเขา แตอยา งใด พเิ ชษฐ พันธุว ชิ าติกลุ /รมช.คลงั -------------------ปลอ ยเสยี งสมั ภาษณ- ----------------- อา นตอ เร่ิมท…ี่ …. จบท่ี……… ผูส่ือขาวรายงานวากองถายหนังเร่ืองเดอะบีช ไมไดประกาศ ปดอาว แตประกาศกันพื้นที่สําหรบั ถายทําบริเวณอาวมาหยา เทา น้ัน 137

ตวั อยา งที่ 2 บทขา วสําหรับผูป ระกาศและผดู าํ เนินรายการ ใชฝก ฝน ทกั ษะการอา นออกเสียงบทขา ว “ปญ หานํา้ กวงเนา (เหนอื )” สถานโี ทรทัศน ชอ ง 9 อ.ส.ม.ท. ลาํ ดับขา ว 12.00 น. วนั จนั ทรท ่ี 18 มกราคม พ.ศ. 2542 ---------------------------------------------------- ขา ว 6 12.00 น. ปญ หานาํ้ กวงเนา (เหนือ) ผปู ระกาศ น้ําในลํานํา้ กวง ที่ลําพนู เริ่มเนา เสีย ชาวบา นเช่อื วา เกดิ จากน้าํ เสียของโรงงานอุตสาหกรรม เทป (ขาว 1 – เหนือ) สภาพน้ําในลาํ นํา้ กวง ต้ังแตตําบลเหมอื งงา ไปจนถึง บา นสบทา อาํ เภอปาซาง จังหวัดลาํ พูน รวมระยะทางนบั สิบ กิโลเมตร มสี ภาพเนา เสยี นาํ้ เปน สีดํา มกี ลิน่ เหมน็ ทําให ชาวบานทอี่ ยรู มิ แมน า้ํ ทงั้ สองฝง ซึง่ เปน เกษตรกร และทํา ประมงน้ําจืด ไดรับความเดอื ดรอ นจากกล่นิ เนาเหม็นของน้ํา และปลาทีล่ ดจาํ นวนลงอยางรวดเรว็ โดยชาวบา นสงสยั วา สาเหตุอาจจะมาจากนาํ้ เสียของโรงงานอุตสาหกรรมหลายแหง ทตี่ ัง้ อยูบรเิ วณริมแมน้ํากวง ปลอยน้าํ เสียลงสูแมนา้ํ ประกอบกับ เปนชวงหนา แลง น้าํ ในแมน ้ํากวงจงึ นอยกวาปกติ ทาํ ใหเ ห็น สภาพนา้ํ เนาเสยี อยางชดั เจน ซอ น ท. ชาวบา นริมแมนาํ้ กวง ----------------เปดเสียง------------------------------ จ.ลาํ พูน ขณะทน่ี างสาววลั ลิกา นิวาตวงศ ผจู ัดการนคิ ม อุตสาหกรรมภาคเหนือ จงั หวัดลําพนู บอกวา นา้ํ เสยี ของโรงงาน อุตสาหกรรม จํานวนกวา 60 แหง ภายในนิคมอุตสาหกรรมไดผา น การบําบัดคณุ ภาพนาํ้ ตามมาตรฐานโรงงานอุตสาหกรรมกอนปลอย ลงสูแมน้าํ จงึ ไมน าจะเปน สาเหตุใหนํ้าเนา เสียได ซอ น ท. วัลลิกา นวิ าตวงศ ---------------เปดเสียง-------------------------- ผจก.นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ผูป ระกาศ……………………….เฟดดํา 138

สรปุ เน้ือหาสาระในบทนี้ คอื นักศึกษาไดทราบถึงความหมายที่ชัดเจนของคําวา “ขาว” ไดทราบถึงการพิจารณาคุณคา ของขาวกอนนําไปอานเผยแพร การปฏิบัตติ นในการอานขาว องคประกอบสําคัญท่ีตองคํานงึ ถึงใน การอานขาว วิธีการอานขาวอยา งมีประสิทธภิ าพ ซ่ึงปจจัยตางๆ เหลา นจ้ี ะสามารถทําใหการทําหนาที่ ผูประกาศและผดู ําเนินรายการมีความเปนมอื อาชีพและสามารถนําเสนอขอมูลตางๆ ออกมาดวยการ อานออกสยี งเปนขาวทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลมากที่สดุ ………………………………………………………………………………………………………….. แบบฝกหัด เพ่อื ทบทวนความรแู ละความเขาใจ แบบฝกหดั ทายบทของทกุ บท เพอื่ การกระตุนความตนื่ ตวั ในการเรียนรแู ละนาํ ไปสูการ จดจาํ ไดอยางลกึ ซ้ึง ดวยการใชคาํ ถามท่ีตองอธิบายความและยกตวั อยา งประกอบ ซงึ่ ตอ งใชค วามเขา ใจจากการเรียนรแู ละฝก ปฏิบัตอิ ยางสม่ําเสมอ 1. ใหน กั ศกึ ษาอธิบายความหมายของคาํ วา “ขาว” 2. โปรดแสดงความคิดเห็นตอการพิจารณา “คุณคา ของขา ว” กอนนําไปอานเผยแพร วาคิดเห็น เชน ไร 3. ปจ จยั ดานความรวดเรว็ หรือทนั เหตกุ ารณ (timeliness or immediacy) เปน เชนไร อธบิ าย 4. ปจจัยดานความใกลชดิ (proximity or nearness) เปน เชนไร อธิบาย 5. ปจ จยั ดานความเดน หรอื ความมีชอ่ื เสยี ง (prominence) เปนเชน ไร อธบิ าย 6. ปจ จยั ดา นผลกระทบ (impact or consequence) เปนเชนไร อธบิ าย 7. ปจ จัยดา นความมีเง่ือนงํา (suspense) เปนเชนไร อธบิ าย 8. ปจจัยดา นความผดิ ปกติหรือผดิ ธรรมชาติ (unusualness or oddity) เปน เชน ไร อธบิ าย 9. ปจจัยดา นความขัดแยง หรอื การแขง ขัน (conflict or combat) เปน เชนไร อธิบาย 10. ปจจยั ดานความสนใจและมีความเราอารมณ (human interest or emotion) เปนเชนไร อธบิ าย 11. ปจจยั เร่อื งทางเพศหรือเรื่องอื้อฉาว (sex and scandals) เปน เชนไร อธิบาย 12. ปจจัยดานความกาวหนาและความเปลี่ยนแปลง (progress and change) เปนเชนไร อธิบาย 13. การปฏบิ ัตติ นในการอานขาว ประกอบดว ยอะไรบาง 14. องคป ระกอบสําคญั ทตี่ อ งคาํ นึงถงึ ในการอา นขาว ประกอบดว ยอะไรบา ง 15. วิธีการอานขาวอยา งมีประสทิ ธิภาพ ตองทําเชน ไรบา ง 139

จดุ ประสงคของการเรียนรใู นบทนี้ 1. นักศึกษามีความรูความเขาใจและสามารถบอกไดถึงปจจัยพื้นฐานสําคัญ ประเภทและ รปู แบบของการพดู 2. นักศึกษาไดเรียนรูและเขาใจในหลักการพูดดวยวิธีการตางๆ ท่ีสามารถนําไปปฏิบัติได อยา งเปน รปู ธรรมในการประกอบอาชีพในอนาคต 3. นกั ศึกษามีความรูและไดฝกฝนทักษะวิธีการพูดสําหรับการทาํ หนาท่ีเปนผูประกาศและผู ดาํ เนนิ รายการอยางเขา ใจเพิ่มมากข้นึ 4. นกั ศกึ ษาไดม คี วามรูใ นการเตรียมพรอ มเพ่ือปองกันและแกไ ขเมือ่ เกดิ อาการตื่นเวที 5. นักศึกษาสามารถนาํ ความรูที่ไดรับไปประยุกตใ ชใ นชวี ิตประจาํ วันหรือในการทํางานได 11.1 ปจ จัยพ้นื ฐานสาํ คญั ของการพูด การปฏิบตั หิ นาที่เปนผูป ระกาศและผูดําเนินรายการน้ัน ทกั ษะทีส่ ําคัญและมคี วามจาํ เปน มากอกี ประการหน่ึง คอื การพดู เพราะการพูดเปน พฤติกรรมสําคญั อยางหนึ่งที่ผคู นโดยทวั่ ไปใช ในการตดิ ตอส่ือสารเพอ่ื รบั และสงขอมูลตา งๆ ซึ่งกนั และกัน โดยมีปจ จัยพนื้ ฐานสาํ คญั ของการสือ่ สาร ดว ยการพูด (สปุ รดี ี สวุ รรณบูรณ 2558) ดังนี้ 1) ผูพูด ในวิชาน้เี ปนผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการ คอื ผสู งสาร (sender) 2) เรือ่ งท่ีพูด คือ สารหรือขอมลู ตา งๆ ทเ่ี ปน เนอื้ หาสาระ (message) 3) ภาษา คอื ส่ือ (media) หรือเคร่ืองมือที่ถา ยทอดสาร ท้งั ภาษาทใี่ ชถอยคําหรือ “วจั นภาษา” (verbal language) และภาษาทไ่ี มใชถ อยคําหรอื “อวัจนภาษา” (non-verbal language) 4) ผฟู งผูช ม คือ ผรู ับสาร (receiver) 140

นอกจากนัน้ ปจ จัยพน้ื ฐานสําคญั ของการพูด ยังรวมถึงผลลพั ธท ่เี กิดจากการพูด เชน ทาํ ใหมี ความรูและความเขาใจเพิ่มมากขึ้น เกดิ ความรูส ึกและปฏิกิรยิ าตอบสนองที่ผูฟ งผชู มแสดงออก เชน เห็นดว ย ไมเ ห็นดวย ชื่นชม ดีใจและเสยี ใจ เปน ตน รวมทั้งปจจัยดานสถานการณแ วดลอ มตา งๆ ใน การพดู เชน สถานท่ี เวลาและโอกาสในการพูดนําเสนอเรื่องราวนัน้ ๆ การใชท ้ัง “วัจนภาษา” และ “อวจั นภาษา” ควบคกู นั เพื่อชว ยใหการ สือ่ สารดว ยการพูดมปี ระสทิ ธิภาพมากย่งิ ขนึ้ การทําหนาที่ผปู ระกาศและผูดําเนินรายการท่ีมีคณุ ภาพตอ งสามารถพูดไดเปนอยา งดจี าก การใช “วัจนภาษา” คอื ถอ ยคาํ ภาษาทีส่ ่ือสารเน้ือหาสาระตา งๆ เปน หลกั นอกจากนั้นแลว สิ่งสําคัญ อีกประการหนึง่ ท่ชี ว ยใหการพดู ประสบความสําเรจ็ คือ “อวัจนภาษา” ซึ่งจะชวยสื่อความหมาย ชวย ใหการพูดเปนธรรมชาติ ชวยเนนใหเน้ือหาสาระมีนํ้าหนักและชวยใหผูฟงผูชมเกิดความรูสึกเช่ือม่ัน ศรทั ธาในตวั ผูประกาศและผูดําเนินรายการมากย่ิงขึ้น อวัจนภาษาท่ีสาํ คัญในการพูด (สงศรี อามาตย 2554) มีดงั นี้ 1) การเดนิ ควรเดนิ อยา งกระฉบั กระเฉงมนั่ ใจ มีชวี ติ ชีวาไมเ นิบเนือยแตไมเ รง รบี ลุกลน ทา เดนิ ทีค่ วรหลกี เล่ยี ง คือ การเดินวางกามแบบนกั เลงโต เดินตัวลีบกระมดิ กระเมยี้ น ประหมาอาย หลกุ หลิก แกวงแขนมากเกินไป นวยนาดแบบนางละคร เดินหลังงอหรือปลอยตวั ตามสบายเกนิ ไป 1.1 การเดินไปสูท่ีพูด ควรเดินชา ๆ มัน่ ใจ เมื่อถึงที่พูด ควรหยดุ เลก็ นอย กวาด สายตาไปท่วั ๆ ผฟู ง ผูชม ยมิ้ แยมแจมใส แลว จงึ เริ่มกลา วคําทักทาย 1.2 การเดนิ ระหวา งพดู ทําไดบางใหส อดคลองกับเนอื้ หาทพี่ ดู เชน กา วไปขางหนา หมายถงึ การเนนย้ํา ชี้จุดสาํ คัญ ถอยหลัง หมายถึง ชะงัก ลงั เลหรอื คดิ ทบทวน กาวไปขางๆ แสดงถงึ การเปรียบเทยี บ การเดนิ ระหวา งพดู ชว ยดึงดดู ความสนใจของผูฟงผชู ม แกความจาํ เจ แตถาเดินมาก เกินไปผฟู งผูชมจะมึนงงและไมค วรหนั หลังใหผูฟงผชู มขณะเดินกลับจากจดุ หนง่ึ ไปยงั อีกจุดหนง่ึ 1.3 การเดินกลบั ควรเดนิ อยางชา ๆ และมน่ั ใจเชน เดยี วกัน 2) การยนื และการนั่ง จะตอ งมีการทรงตัวท่ีสงางาม จะชวยใหผฟู ง ผูชมเกิดความรสู ึก ศรัทธาเชอื่ มนั่ ในตวั ผูประกาศและผดู าํ เนนิ รายการมากขน้ึ การทรงตวั ท่ีดลี ําตวั จะตองต้ังตรง หลังตรง ไหลตรง เก็บพงุ ดสู บายและเปนธรรมชาติ 2.1 การยืน ควรยนื สบายๆ วางเทาใหเ หมาะสม ไมหา งเกนิ ไปหรือชิดเกินไป สน เทา ชิดหรอื หา งเล็กนอย ปลายเทาหางพอสมควร น้ําหนักลงที่กอ นเนื้อกลมถัดจากหัวแมเทา ไมยืนเขยง หรือน้ําหนักลงท่ีสนเทา ทา ยืนท่ีควรหลกี เล่ยี ง เชน ทาตรงแบบทหาร เพราะไมเ ปนธรรมชาติ ทาพัก ขา หรือหยอนขาขา งใดขา งหนงึ่ เพราะดลู าํ ลองสบายๆ เกินไป ทาทิ้งสะโพกไปขางใดขางหน่งึ หรือ สลับกัน เพราะเสยี การทรงตัวและดูตลก ทา นางแบบ ทาไหลท รดุ คอเอียง หลกุ หลกิ โยกหนา-หลงั พิงโตะ-เกาอี้ หรือแทน พดู เปนตน 141

2.2 การนั่ง ตองฝกนง่ั ในทาท่ีดสู งา งาม หลงั ตรง วางเทาใหเหมาะสม สุภาพสตรคี วร เอียงขาไปขางใดขา งหน่งึ หรือไขวป ลายเทา ไมน ง่ั ไขวหาง น่ังใหเตม็ สะโพก เทา ยนั พ้นื 3) การใชกิรยิ าทาทางทีส่ มั พนั ธกบั การพูด ดงั นี้ 3.1 การเคล่อื นไหวศรี ษะและลาํ คอ สอ่ื ความหมายบางประการดงั น้ี ศีรษะตง้ั ตรง หมายถงึ กลา หาญ มน่ั คง มน่ั ใจ ภูมิใจ มีอํานาจ ผงกศรี ษะ หมายถึง ยอมรบั เห็นดว ย โนม ศรี ษะไป ขา งหนา หมายถึง เคารพ ขอรอ ง ขอความเห็นใจ ผงะศรี ษะไปขา งหลัง หมายถงึ ตกใจ สะดุง สัน่ ศรี ษะ หมายถึง ปฏิเสธ ไมเห็นดวย ไมย อมรบั กม ศรี ษะ หมายถงึ ขวยอาย สงบ ปลง สภุ าพ เอยี ง ศรี ษะ หมายถึง คิด สงสัย ไมแ นใ จ เปนตน 3.2 การแสดงสีหนา การแสดงสีหนาจะสอดคลอ งกับน้ําเสียง ทาทางและดวงตา เชน ยิม้ เศรา ตกใจ รา เริง สงสยั เสียใจ สหี นาโดยทว่ั ไป ควรย้ิมแยม แจมใสเปน มิตรกบั ผฟู ง 3.3 การใชทา มือ ชวยเนนยาํ้ หรือขยายความเขา ใจ ทามือมีหลายแบบ เชน หงายมือ แลวคอยๆ เคล่ือนไปสูผูฟ ง เปนการแสดงความรูสกึ เปน มิตร ยกยอ งหรือเชื้อเชญิ แบมือท้ังสองขา ง หมายถงึ สูญเสยี หมดหวงั ยกมือต้งั สน่ั หมายถงึ ปฏเิ สธ ควํา่ มอื แลวลดมอื ลง แสดงการขอรองให สงบ ขอใหช าลงหรือแสดงระดบั สูง-ตํ่า ตะแคงมือแลวเคลอื่ นมือไปทางซายหรือขวา แสดงถงึ การแบง ตะแคงมือตั้งบนฝา มือ แสดงการตัดแบง กํามือแสดงถึงความมนั่ คง เอาจรงิ เอาจัง ช้ีนิ้วแสดงถึง ลกั ษณะเฉพาะเจาะจง เนน ตักเตือนหรือบอกทิศทาง เปน ตน นอกจากนนั้ ยังมีการใชมอื และแขนแสดงขนาดเลก็ ใหญ สูง ตํา่ แสดงรูปราง กลม เหลี่ยม แสดงจํานวน เชน 1, 3, 5 และระดับมือท่ใี ชม อี ยู 3 ระดบั คือ สงู ระดับไหลขึน้ ไป กลาง ระดับ เอวถึงไหลแ ละตาํ่ คือ ระดับตางจากเอวลงไป โดยทว่ั ไปจะใชท ามือในระดับกลางและระดับสงู หลักการใชทามือท่ีดีตองเปนธรรมชาติ จังหวะเหมาะ มีความหมายและใชไ มม ากเกินไป ไมขดั เขนิ หรือมองดมู ือขณะทําทา หลีกเลีย่ งการใชท ามือชาๆ หรือไมมคี วามหมายหรอื มีลกั ษณะมือไม อยนู ิ่งแตเอาไปแตะจมูก เกาศีรษะ เปน ตน 4) การใชส ายตา การใชสายตาชวยใหการพูดมีพลังมีความหมาย สรา งความสมั พนั ธก บั ผฟู ง ผชู มถายทอดความรสู กึ ของผูพูด ไดร ับรปู ฏกิ ิรยิ าตอบสนองของผฟู ง ลักษณะการใชสายตาที่ควร ฝก ฝน คือ 4.1 การใชส ายตาเมือ่ เรม่ิ ตนพดู ใหมองผฟู ง ผชู มเปน สว นรวมกอ น โดยมองไปทผ่ี ฟู ง ผชู มที่อยตู รงกลางแถวหลังสุด หลังจากนน้ั จึงเปลีย่ นสายตาไปยงั จุดอ่ืน ซาย ขวา หนา หลัง ใหทว่ั ถึง และเปน ธรรมชาติ อยาเปลยี่ นสายตาโดยรวดเร็ว หรอื ใชสายตาแบบพัดลมสาย ควรจับตาและเปลย่ี น สายตาในลกั ษณะของการถา ยรปู 4.2 การใชส ายตาขณะพดู มองผูฟงผูชมใหทวั่ ถงึ สบตาและน่งิ อยูเฉพาะคนบาง และใชส ายตาแสดงความรสู กึ อารมณต ามเนอื้ หาท่ีพูด ความหมายของอวจั นภาษาเก่ยี วกับสายตา 142

บางประการ เชน เบงิ่ ตาโพลง หมายถงึ ตกใจ อยากได ปดตา หมายถึง ออนเพลยี หร่ีตา หมายถงึ สงสยั ไมแ นใ จ ยั่วเยา ประสานสายตา หมายถึง จริงใจ แนใจ ลดสายตาลง หมายถงึ เกรง รสู ึกผิด ยอมรบั ชาเลอื งตา หมายถึง อาย อจิ ฉา ดถู กู เปนตน ขณะทผ่ี ปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการกําลงั พูด ใหห ลีกเล่ยี งการมองเพดาน มองขาม ศีรษะไปทผี่ นงั หลังหอง มองออกนอกประตู หนา ตางหรอื ใชสายตาหลกุ หลิก เหลือบไปเหลอื บมา ตลอดเวลา เพราะทําใหเ สียบุคลิกภาพ 5) การใชเ สียง ตองระมัดระวังเพราะเสียงจะหอหมุ อยูโดยรอบถอยคาํ ชว ยถายทอด อารมณ และความรสู ึกของผูพูด จึงมีสิ่งทต่ี อ งคาํ นึงถึงเก่ยี วกับการใชเสยี ง ดงั นี้ 5.1 เสยี งและการออกเสยี ง จะตอ งชัดเจน แจมใส นมุ นวลชวนฟง ไมหวน ไมส ูง แหลมจนฟง ไมส บายหู ไมต าํ่ จนฟงไมถนดั ไมสน่ั เครือไมแหบพรา และไมเพ้ียนแปรง นอกจากนนั้ ยงั ตอ งไมดังหรือคอยจนเกนิ ไป หนัก เบา สูง ตาํ่ เปน ไปตามธรรมชาติ มีการ เนนยํ้าไมร าบเรยี บเสมอกัน ไปโดยตลอด (monotone) แตก ็ไมควรเปลีย่ นระดบั เสยี งขึ้น – ลง – สงู - ตํ่า มากเกินไป จนดูเหมือน เสียงแสดงละคร (dramatization) ออกเสียงสระ พยญั ชนะ และระดบั เสยี งวรรณยุกตชดั เจน ถกู ตอง การออกเสยี งชดั เจนถกู ตองชวยใหการพดู ครัง้ นน้ั ๆ นาฟงและนา เชือ่ ถอื 5.2 จังหวะการพูด ไมเ ร็วจนเสยี ความ ไมต ดั หรือรวบคาํ เชน “กระทรวง สาธารณสขุ ” ออกเสยี งเปน “กระทรวงสาสุข” /“มหาวทิ ยาลัย” ออกเสยี งเปน “มหาลัย” / “พิจารณา” ออกเสยี งเปน “พิณา” / “โทรทัศน” ออกเสียงเปน “โททัด” / “นกั ศึกษาวศิ วะ” ออก เสยี งเปน “นักศกึ ษาวิดวะ”เปนตน และตองไมชาเนบิ นาบจนเกนิ ไป การพูดเร็วเกนิ ไป ผูฟง ผชู มจะฟง ไมท ันและรูสึกเหนื่อย การพดู ชาจนเกินไปผฟู ง ผชู มก็จะรสู ึกราํ คาญและอึดอัด นอกจากน้ันยังตอ งเวน วรรคตอนใหถูกตอง การเวน วรรคตอนผิดจะทําใหส ื่อความหมายผิดได 11.2 ประเภทของการพดู ประเภทของการพูดแบงตามลกั ษณะการพูดได 2 ประเภท (สเุ มธ แสงนมิ่ นวล 2545) ดังนี้ 1) การพดู อยางเปนทางการ คอื การพูดอยางเปนพธิ ีการโดยใชภาษาทีเ่ ปนไปตามข้ันตอน และระเบียบปฏิบัติของสถานการณน้ันๆ ในการนําเสนอขอมูลขาวสารตางๆ ของผูประกาศและผู ดําเนินรายการไปยังกลุมผูรับสารผานส่ือสารมวลชนหรือในที่ประชุมหรือการพูดตอหนาชุมชนใน โอกาสตา งๆ และเพื่อวตั ถปุ ระสงคท ่ีแตกตางกันไป การพูดเชนนี้ตองอาศัยความรูความสามารถและมี ศิลปะในการพูดที่ฝกฝนมาเปนอยางดี การพูดอยางเปนทางการ เชน การนําเสนอขาวเชิงวิชาการ การปาฐกถา การอภิปราย การบรรยายและการกลา วสุนทรพจน เปน ตน 143

2) การพูดอยางไมเปน ทางการ คือ การพูดที่ไมเนน หลักการตามขั้นตอนหรอื ระเบียบใดๆ แตเนนการพูดเพ่ือนําเสนอขอมูลหรือแลกเปลี่ยนขอมูลแบบกันเองโดยใชภาษาในการพูดที่เหมาะสม กบั บคุ คล เหตุการณและกาลเทศะในขณะนั้น การพูดอยา งไมเปนทางการ เชน การแนะนาํ ตัว การ ซกั ถาม การตอบคาํ ถาม เปน ตน สิ่งสําคัญคือ ผูประกาศและผูดําเนินรายการตองฝกฝนใหเปนผูท่ีพูด ไดถูกตอง นา ฟงและเหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล รูปแบบของการพดู การพูดมหี ลายแบบ เพื่อใหประสบความสําเร็จในการพูด ผูพูดควรเลือกแบบการพูดให เหมาะสมกับจุดประสงคของการพูดแตละคร้ัง โดยรูปแบบของการพูด (กอบกาญจน วงศวิสิทธ์ิ 2551) มีดงั น้ี 1) การพูดบอกเลาหรือบรรยาย หมายถึง การพูดที่มุงใหความรู ความเขาใจแกผูฟง เชน การพูดอบรม ปฐมนิเทศ ชี้แจงระเบียบ ขอบังคับ สรุป รายงาน การสอน การเลาเรื่อง เลา ประสบการณ การแนะนาํ วิทยากร การพูดตามมารยาทสังคมในโอกาสตาง ๆ เชน การกลาวตอ นรับ แสดงความยนิ ดี อวยพร เปนตน 2) การพดู จูงใจหรอื โนมนาวใจ หมายถึง การพูดที่มุงใหความรู ความคิด ปลกุ เรา ใหผูฟง คิดตาม เช่ือถือ คลอยตาม และปฏิบัติตาม วิธีการพูดตองสอดใสอารมณ กิริยาทาทาง ความรูสึกที่ จรงิ ใจ ลงไป เชน การพดู จูงใจใหคนไปลงคะแนนเสยี งเลือกตั้ง การโนม นาวชักชวนใหคนประทวงหรือ เดนิ ขบวน โนมนา วใหค นบริจาคเงิน บริจาคโลหติ จงู ใจใหซ ือ้ สนิ คา เปน ตน 3) การพดู จรรโลงใจหรือการพดู เพอ่ื ความบนั เทงิ หมายถงึ การพูดท่ีมุงใหความสนุกสนาน รน่ื เริง ขณะเดียวกนั กไ็ ดสาระ หรอื ไดแ งคิดบางประการดวย เชน การเลานิทาน การเลาเรอื่ งตลก ขํา ขัน ปจ จุบันมีการพูดแบบน้ใี นทส่ี าธารณะและมผี ูสนใจฟง เปนจาํ นวนมาก ในการปฏบิ ัติ แมว าผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการจะเนนหนักไปในการพูดแบบใดแบบหนึ่ง แตส ามารถนําการพูดทั้ง 3 แบบ มาปรับใชใ หส อดคลอ งกับสถานการณและเน้ือหา เพ่ือใหก ารพูดคร้งั นัน้ ๆ ประสบความสาํ เรจ็ ไดตามที่เตรยี มการไว 11.3 หลักการพดู การพูดเปนทั้งศาสตรและศิลป จึงมีคําวา “วาทวิทยา” และ “วาทศิลป” ซ่ึงเปนวิชาท่ีมี ประโยชนและมีความจําเปนย่ิง คนเราทุกคนไมวาจะอยูในสายอาชีพใด การพูดดีพูดเปนจะเปนท้ัง อาวธุ และอาภรณประดบั ตัว จะเปนเคร่อื งสงเสรมิ ความกาวหนาความสาํ เร็จท้ังในทางสังคมและการ งานอยางแนนอน เพราะการพูดดีจะประหยัดเวลาทําใหมีความเขาใจดีตอ กัน ชวยใหอยูในสังคมโดย ไดรับมิตรไมตรีจิต (พนัส ทองพันธ และคณะ 2553) การพูดท่ีดีตองสอดคลองกับวัตถุประสงค โดย 144

การใชทั้งวัจนภาษา อวัจนภาษา และสื่อ ถูกตองเหมาะสมกับผูฟงผูชม สถานท่ี เวลา โอกาสและ สถานการณแ วดลอมตาง ๆ หลกั การพูดท่จี ะกลา วถึงตอไปน้ี คือ หลักการพูดที่ผูประกาศและผูดําเนิน รายการรูตวั ลว งหนา เพื่อใหก ารพดู ประสบความสําเร็จ ควรตองปฏบิ ัติตามหลกั การพูด ดังนี้ 1) การเตรียมตัวในการพูด กอนพูดทกุ ครงั้ ผูประกาศและผูดําเนินรายการจะตองเตรยี มการพดู ใหพรอม การ เตรียมทค่ี รบถวน คอื การเตรียมใหครบตามองคประกอบของการพูด โดยจัดลาํ ดับความสําคญั กอน- หลัง ดังน้ี 1. วิเคราะหผฟู ง ผูชม สถานท่ี เวลา โอกาส และสถานการณแวดลอมตางๆ เพราะ ผูฟงผูชม คือ องคประกอบสําคัญของการพูด ดังนั้นตองวิเคราะหรายละเอียดของผูฟงผูชมใหมาก ทสี่ ุด ทง้ั เพศ วัย การศึกษา อาชพี ศาสนา หรือลัทธิความเชื่อ ความสนใจพิเศษ จํานวน นอกจากน้ัน ยงั ตองวิเคราะหสถานท่ี เวลาและโอกาส ในการพูดครั้งน้ันดวย เชน พูดเวทีเสวนาวิชาการหรืองาน แถลงขาว พูดเนอื่ งในโอกาสวันปฐมนเิ ทศหรอื วันฉลองจบการศึกษา เปนตน ท้งั นี้เพื่อจะไดเตรียมบท พูดใหมีเน้ือหาสาระที่ตรงประเด็น เตรียมใชภาษาหรือกรณียกตัวอยางท่ีเขากับกลุมผูฟงผูชม รวมท้ัง การแตง กายของผูประกาศและผดู ําเนนิ รายการตองใหดเู หมาะสมกบั บรรยากาศของงานน้นั ๆ 2. เตรียมตัวผูพูดหรือผูประกาศและผูดาํ เนินรายการ จะเนน ในเร่ืองการเตรยี ม บุคลกิ ภาพ ทง้ั บคุ ลกิ ภาพภายนอกและบคุ ลกิ ภาพภายใน 2.1 บุคลิกภาพภายนอก ไดแก รูปราง หนาตา ผิวพรรณ การแตงกาย สุขภาพ การยนื การเดนิ การใชสายตา ทาทาง การออกเสียง เปนตน บุคลิกภาพภายนอก จะปรากฏเดน ชัด ในระยะเวลาอันสัน้ โดยสามารถดแู ลบคุ ลิกภาพภายนอกให “ดูด”ี ไดดงั น้ี -รูปรา ง หนาตา ผิวพรรณ มอี ะไรบา งไหมท่ีทําใหดีข้ึนกวาเดิมได สะอาด สะอานหรอื เปลา แกไขอาํ พราง ตกแตง เพิ่มเติมอะไรไดบ างไหม ดีท่ีสดุ หรอื ยงั พอใจหรือยัง -การแตงกาย เพ่ือใหดูเปนผูมีบุคลิกภาพดี คือ ยึดหลัก 5 ส. ไดแ ก สะอาด สะดวก สภุ าพ สวยงามและสงา โดยไมจาํ เปน ตอ งเดน สะดดุ ตามากนักแตดูแลวนามอง -สุขภาพ ผูประกาศและผูดําเนินรายการจะตองดูแลสุขภาพใหดอี ยูเสมอ การเจ็บปวยหรือแมแตพักผอนไมเพียงพอ มีผลตอบุคลิกภาพ อาจหงุดหงิด อารมณไมดี นํ้าเสยี งไม แจมใสและอาจทาํ ใหข าดปฏภิ าณไหวพริบในการคดิ การพดู การสนทนาโตต อบ -การใชส ายตา ทาทาง การออกเสียง หมายรวมถึง อิริยาบถตาง ๆ การใช ทาทาง การแสดงความรสู ึกทางสีหนา สายตา เปนตน 2.2 บุคลิกภาพภายใน ไดแก ลักษณะทางจิตใจ เชน อุปนิสัย ความสนใจ ความคิด ทัศนคติในการมองโลกและชีวิต ลักษณะทางอารมณ เชน ความสามารถในการควบคุม 145

อารมณและพฤติกรรมตางๆ ลักษณะทางสังคม เชน การมีมนุษยสัมพันธ การปรับตัว ลักษณะทาง ปญ ญา เชน ความเฉลียวฉลาด ความมีไหวพรบิ ปฏิภาณ เปนตน -บุคลิกภาพภายใน อาจมองไมเห็นในระยะอันส้ัน แตเปนสวนหนึ่งของ “ตัวตน” ของบุคคล บุคลิกภาพภายในเปนส่ิงท่ีสรางเสริมและพัฒนาได เชน การพยายามมองโลกใน แงดี การมองบุคคลอื่นอยางเปนมิตร การระงับอารมณฉุนเฉียว โกรธงาย การรจู ักการใหอภัย การมี ความหวงั และพลงั ใจ การรูจกั สนใจส่งิ ตา งๆ รอบตัว การรจู ักเอาใจเขามาใสใ จเรา การเพ่ิมพูนความรู ความคิด ประสบการณ เปน ตน -บุคลิกภาพภายในกับบุคลิกภาพภายนอกยอมสัมพันธกัน เม่ือผูประกาศ และผูดําเนินรายการปรากฏตัวเพ่ือพูดภายใน 4 นาทีแรก ผูฟงจะมองที่บุคลิกภาพภายนอก เชน รูปรางหนาตา เส้ือผา เคร่ืองแตงกาย เครอื่ งประดับ หลังจากนั้นผฟู งจะสนใจเรอ่ื งอ่ืนๆ เชน เน้ือหา สาระ สื่อ หรืออุปกรณและบุคลิกภาพภายในที่ผูประกาศและผูดําเนินรายการแสดงออก เชน ความคิด ทศั นคติ อารมณ ความเฉลียวฉลาด ความรู ความสามารถ เปนตน 3. เตรยี มเน้ือหา การเตรยี มเน้อื หา ตอ งใหส อดคลอ งกับวัตถุประสงค เหมาะสมกับ ผฟู งผชู ม สถานที่ เวลาและโอกาส ตามทไ่ี ดก ลาวไวแ ลว โดยมีลาํ ดบั ข้ันในการเตรียมเนอื้ หาดังน้ี 3.1 กําหนดวตั ถุประสงคก ารพูดใหช ัดเจน 3.2 เลือกเร่อื งท่ีจะพดู 3.3 คนควารวบรวมเนอื้ หา 3.4 วางโครงเรอื่ งและเรียบเรียงเรื่อง 4. เตรยี มสื่อหรือเคร่ืองมอื ถายทอดสารในการพูด คือ ภาษา ผูประกาศและผู ดําเนนิ รายการจะตองเตรียมวัจนภาษา ไดแก ถอยคํา คําคม ภาษิต คําพูดทป่ี ระทับใจ เตรียมฝกการ ใชอวัจนภาษา ไดแก กริยา ทาทาง การใชสีหนา แววตา ฯลฯ รวมไปถึงการเตรียมสื่อหรืออุปกรณ อื่นๆ ใหพรอ ม เพ่ือใหการพูดน้นั ๆ ประสบความสําเร็จมากท่ีสดุ เชน ไมโครโฟนมีเสียงดังหรือเบาไป หรอื ไม มีรูปภาพและแผนภูมิของจริงประกอบการพูดนําเสนอขาวภัยธรรมชาติ หรอื ไม เปนตนตอง เตรียมการใชสื่อนัน้ ใหคลองแคลวและเปน ไปตามลําดบั สอดคลอ งกบั เร่ืองทพ่ี ูด 2) การฝกพูด การพูดเปนทักษะดังน้ันการฝกพูดจึงเปนเร่ืองสําคัญ ผูประกาศและผูดําเนิน รายการอาจฝกคนเดยี วหรอื ฝก ตอหนา ผูอ่นื ก็ได โดยขน้ั ตอนการฝก พดู มดี งั นี้ 1) ทําบทพูดหรอื บันทกึ สั้น ปญ หาของผปู ระกาศและผูดําเนนิ รายการหลายคน คือ ตัง้ แตเริม่ ตน พดู กจ็ ําไมไ ดว าจะทกั ผฟู งผูช มอยางไรหรือลืมทักผฟู งผูช ม จาํ เน้ือหาสาระไมไดหรือสับสน ผูประกาศและผูดําเนินรายการจะตองอานเน้ือหาที่เตรียมไวใหเขาใจ แลวทําบทพูดหรือบันทึกสั้นๆ 146

เฉพาะประเด็นสําคัญ ลําดับไปตามโครงเร่ืองคือ นําเรื่อง เน้ือเรื่องและสรุป หากเกรงวาจะจําคํา ทกั ทายกับผฟู ง ผูช มไมไดก ็ควรเขียนไวในบทดว ย 2) พูดจากความเขาใจ เร่ิมตง้ั แตก ารเอย คาํ ทกั ทายผฟู งผูชมแลวจึงพูดลําดับไปตาม แผนงานทก่ี าํ หนดไว ถา เนื้อหาสัน้ ควรพดู ไดเองโดยไมต อ งดบู ท ถาเนื้อหามากและติดขัด ใหดูบทพูดที่ บันทึกหัวขอหรือประเด็นสําคัญไว แลวพูดอธิบาย ขยายความเองจากความเขาใจ การถือกระดาษ บนั ทกึ ควรถือใหเ รียบรอ ย ไมม วน พบั หักมุม เคาะ ดดี มวนหรอื นํามากระแทกกับฝา มือ เปน ตน 3) ฝก การใชอวัจนภาษา เชน การใชเสียง สายตา การยืน การเดิน การใชทา ทาง ประกอบการพูด 4) จับเวลา ตองพูดใหจ บภายในเวลาทีก่ ําหนด 5) ประเมินผล รวบรวมขอบกพรองในการพูด วเิ คราะหและประเมินผล หลังจาก นนั้ ควรฝก ซอ ม โดยแกไ ขขอบกพรอ งตา งๆ น้ัน 3) การปฏิบตั กิ ารพดู เมื่อเตรียมพรอมแลว ฝกพูดแลวข้ันตอ ไป คือ ข้ันปฏิบัติการพูดหรือลงมือพูด ซ่งึ เรม่ิ ตนและส้ินสดุ ตามลําดับ ดงั น้ี 1) เดนิ ไปสทู พ่ี ดู การเดินไปสทู พ่ี ูด ควรเดินอยา งกระฉับกระเฉง มั่นใจ เมื่อถึงท่ีพูด ควรหยุดเล็กนอยมองผูฟง ผูชม ยิ้มแยมแจมใส ยนื สบาย ๆ วางเทา ใหเหมาะสมไมห างหรอื ชดิ เกนิ ไป 2) กลาวทักทายกับผฟู ง ผชู ม เริม่ ตนพดู โดยการกลา วทกั ผูฟง ผูชมใหเหมาะสม 3) พูดไปตามลําดับโครงเร่อื ง ถาติดขัดใหดูหัวขอหรือประเด็นสําคัญที่ทาํ บันทึก เตือนความจําไว ขณะพดู ใชอวัจนภาษา เชน การเดิน การยืน การใชสายตา ทาทาง เสียงและจังหวะ การพูดใหเหมาะสม ถาใชส่ือประกอบการพูดก็ตองใชอยางคลองแคลวและเปนไปตามลําดับ สอดคลอ งกบั เน้ือหา 4) การเดินกลับ เมือ่ พูดจบควรเดินกลับที่น่ังอยางกระฉับกระเฉงและม่ันใจ ไมรีบ รอนเกินไป ผูประกาศและผูดําเนินรายการควรสํารวมอิรยิ าบถใหสุภาพเรียบรอย นับตั้งแตการเดิน ไปสทู ่ีพูด จนกระท่ังการเดินกลับสทู ่ีนั่ง เพราะทุกอิริยาบถอยูในสายตาของผูฟงผูชม บางคนเม่ือพูด จบกโ็ ลง ใจจนทาํ ใหล มื สาํ รวม บางคนวงิ่ กลับมายังที่นงั่ บางคนลมื ตวั แลบลน้ิ เพราะเขินอายท่ีผิดพลาด ทําใหเสียบคุ ลิกภาพและความนา เชือ่ ถอื 4) การประเมนิ การพดู การประเมินการพูดอาจประเมินโดยการบรรยาย หรือประเมินโดยกําหนดเกณฑ เปนคา ระดบั คะแนนก็ได หัวขอ การประเมินทัว่ ไปมีดงั นี้ 147

1) การปรากฏตัวและการกลาวทักทายกับผูฟงผูชม โดยจะพิจารณาวา ผูประกาศ และผูดําเนินรายการปรากฏตัวอยางกระฉับกระเฉงมั่นใจหรือไม กลาวคําปฏิสันถารกับผูฟงผูชม หรอื ไม ถกู ตอ งเหมาะสมเพยี งไร 2) การนําเรื่องหรืออารัมภบท ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการสามารถนาํ เร่ืองได อยางนาสนใจชวนใหคดิ ตามเรื่องตอ ไปหรือไม การนําเร่ืองชวยสรางบรรยากาศการพูดเพียงใด ทําให ผูฟงผูชมเลอื่ มใสผูประกาศและผูดําเนินรายการหรือชวยใหผูฟงผูชมเขาใจเรื่องท่ีจะพูดตอไปหรือไม สดั สว นการนําเรือ่ งเหมาะสมเพียงใด เปนตน 3) เนื้อหาและการดําเนินเร่ือง เนื้อหานาสนใจหรือไม การดําเนินเรื่องทําให นาสนใจและชวนติดตามเพียงไร สัดสว นของเนื้อหาเหมาะสมหรือไม การลําดบั เร่ืองไมสับสน เขาใจ งายหรือไม ตวั อยางชัดเจน เหมาะสมนา สนใจเพียงใด 4) การใชถอยคําสํานวนภาษาและส่อื หรอื อุปกรณอ่ืนๆ ถอยคําสํานวนภาษาทใี่ ช สุภาพเหมาะสมกับผูฟงผูชมหรือไม ลึกซ้ึง คมคาย สอดคลองกับเร่ืองที่พูดหรือไม ส่ือที่ใชเหมาะสม และชวยส่อื ความหมายยง่ิ ข้นึ หรอื ไม ลกั ษณะการใชส่ือเหมาะสมเพยี งใด 5) การออกเสียง ระดับเสียงและจังหวะการพูด การออกเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต ชัดเจนหรือไม น้ําเสียงแจมใสและนุมนวลชวนฟงหรอื ส่ันเครือ แหบพรา และเพี้ยนแปรง ระดบั เสยี งดงั พอสมควรหรือไม มีการเนนยาํ้ พอเหมาะชวนใหสนใจติดตามเรือ่ งหรือไม จังหวะการพูด ชา-เร็ว เหมาะสมเพยี งใด 6) การใชสายตาทาทาง ผูประกาศและผูดําเนินรายการมองผูฟ งผูชมทั่วถึงหรือไม จับตาเฉพาะคนบา งหรอื ไม ทาทางท่ใี ชสภุ าพเหมาะสมสอดคลองกบั เร่ืองทพี่ ูดเพียงใด 7) การลงทาย ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการมีการลงทายหรือการจบการพูด หรอื ไม ประทับใจหรอื ไม สัดสวนเหมาะสมเพียงใด จบเรอื่ งภายในเวลาท่กี ําหนดหรอื ไม 8) คุณคา ของเร่อื ง เน้อื เรอื่ งมีคณุ คาตอ ผฟู งผูชมมากนอยเพยี งใด 9) บคุ ลิกภาพท่ัวไป เชน การแตงกาย การเดิน การยนื หรือนั่งเหมาะสมหรอื ไม 10) ความสนใจของผูฟงผูชมใหความสนใจเพยี งไร ต้งั ใจฟง หรือไม รวมซักถามหรือ แสดงความคิดเห็นบางหรือไม จะเห็นไดวาการประเมนิ การพูด ประเมินไปตามองคประกอบของการพูดน่นั เอง ไดแก ประเมินผูประกาศและผูดําเนินรายการ เนื้อหาสาระ การใชภาษาและส่ือ รวมท้ังการประเมิน ผฟู ง (สปุ รีดี สุวรรณบรู ณ 2558) ผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการที่มีคุณภาพ ซงึ่ ตองการสอ่ื ความหมายและสรางความเขา ใจ กับผฟู ง ผชู มใหเ กิดความสําเรจ็ ในการสงสารตามวตั ถุประสงคท่ีต้ังใจไวน ั้น ตอ งหมนั่ ศึกษาและจดจํา ถึงหลกั การพดู การออกเสียง ดงั นี้ 148

5) การพดู ออกเสียงใหถูกตองตามหลักภาษา ไดแก 1. การพูดออกเสียงส้นั – ยาว ตา งกัน ความหมายก็ตางกนั ไปดว ย เชน เทา – ทา ว, เกา – กาว, เขา – ขาว ตัวอยางเชน 1) เขาบาดเจ็บท่ีเทา 2) กา วเทา ไปเกาคร้งั 3) เขาเดนิ เขา ไปรบั ประทานขาว 2. การพูดออกเสียงคาํ หลายพยางคใ หถูกตองตามหลักการออกเสียงคาํ บางคาํ ออก เสยี งแบบอักษรนํา ดงั น้ี ตารางท่ี 11.1 แสดงหลักการออกเสยี งคําบางคาํ ออกเสียงแบบอักษรนํา ดําริ อา นวา ดํา – หริ กนก อา นวา กะ – หนก ดํารสั อานวา ดาํ – หรดั ผลิต อา นวา ผะ – หลดิ ปรอท อา นวา ปะ – หรอด ตารางที่ 11.2 แสดงตวั อยางบางคาํ ไมใ ช คาํ สมาส แตพดู ออกเสยี งตอเนื่องแบบคาํ สมาส ผลไม อานวา ผน – ละ – ไม พลเมือง อานวา พน – ละ – เมอื ง ดาษดา อานวา ดาด – สะ – ดา เทพเจา อานวา เทบ – พะ – เจา ตารางท่ี 11.3 แสดงตัวอยา งคําบางคําไมน ยิ มพูดออกเสยี งใหมเี สยี งตอเนื่อง ทิวทัศน อา นวา ทิว – ทดั สัปดาห อา นวา สับ – ดา วิตถาร อา นวา วิด – ถาน รสนิยม อา นวา รด – นิ – ยม คุณคา อานวา คนุ – คา ดาษดืน่ อา นวา ดาด – ดน่ื 149

ตารางท่ี 11.4 แสดงตัวอยางการพดู ออกเสยี งใหถกู ตองตามความนยิ ม เทศบาล อานวา เทด – สะ – บาน กําเนดิ อานวา กาํ – เหนดิ ยมบาล อานวา ยม – มะ – บาน ชกั เยอ อา นวา ชัก – กะ – เยอ ตารางที่ 11.5 แสดงตัวอยา งการพูดออกเสยี งคาํ ควบกล้ํา ร, ล, ว หรือเปนอักษรนําใหช ัดเจนถกู ตอง ตราด อา นวา ตราด เปน อักษรควบ ตลาด จรงิ อา นวา ตะ – หลาด เปน อกั ษรนํา ปรกั หกั พัง อานวา จิง เปนอักษรควบไมแ ท อานวา ปะ – หรัก – หกั – พงั เปนอกั ษรนํา ตารางที่ 11.6 แสดงตัวอยา งการพูดออกเสยี งแบบควบแททงั้ หมด ปรบั ปรงุ เปลี่ยนปลง ปลาบปลมื้ แพรวพราว เพลดิ เพลนิ พลกุ พลา น คลุกเคลา คลาดเคลอ่ื น คลอนแคลน แกวง ไกว กวางขวาง ไขวค วา ตารางท่ี 11.7 แสดงตวั อยา งการพูดคําบางคาํ เปนคําเรียงพยางคก ันไมพ ูดออกเสียงแบบควบกล้ํา ปริญญา ออกเสยี งวา ปะ – รนิ – ยา ปรินิพพาน ออกเสียงวา ปะ – ริ – นบิ – พาน ปราชยั ออกเสียงวา ปะ – รา – ไช ปรัมปรา ออกเสียงวา ปะ – ราํ – ปะ – รา 150

ขอ สังเกต คอื ไมค วรใชภาษาพูดทีเ่ ปน คาํ เฉพาะของกลุมสื่อมวลชนหรือภาษาเชิงวชิ าการ ทเี่ ปนศพั ทเ ทคนิคกับผูฟงผชู มโดยท่ัวไป ซง่ึ อาจทําใหเ ขาใจยากและไมเหมาะสมกับกาลเทศะและ บคุ คล เชน -นายพลตํารวจถูกเตะโดงออกจากพื้นท่ีไปแขวนไว -เฮดโปรเจค็ วง่ิ เตนเพื่อขอยา ยไปในพืน้ ท่ีอูฟู -นายตํารวจพลาน เพราะถูกฐานนั ดร 4 ตะลุยคยุ เข่ยี ประวตั เิ บื้องหลงั -พระเอกสดุ หลอ ลากดนิ ที่กาํ ลังดงั เปนพลชุ อบทาํ ตาเลก็ ตานอ ยกับสาวๆ -เธอเปน นางรษิ ยาทชี่ อบเวอรทําตวั เปนนกั แสดงในทกุ โอกาส 6) สิ่งท่ีตองคาํ นงึ ถงึ ในการพดู การพูดทางสอื่ วิทยุและสื่อโทรทัศน เราสามารถฝกฝนได สวนศลิ ปะในการถายทอดผานส่ือ เหลานี้ จําเปนจะตองมีความแตกตางกัน เพราะลักษณะส่ือมีความแตกตางกัน เชน สื่อโทรทัศน สามารถเหน็ ทั้งรูปและเสียง สวนส่ือวิทยไุ มสามารถเห็นภาพและไดย ินแตเสียง ศิลปะในการพูดก็ตอง มีความแตกตา งกนั (สุทธชิ ัย ปญ ญโรจน 2557) จึงมีขอควรคํานงึ ถึง ดังนี้ 1. การใชภ าษาทีจ่ ะนาํ มาพดู ผปู ระกาศและผูด ําเนนิ รายการตองเลอื กใชถ อยคําที่ เขาใจงายเหมาะสมกับวยั ของผฟู งผูชม 2. ผูประกาศและผดู ําเนนิ รายการกบั ผูฟง ผูชมมีจุดมงุ หมายตรงกนั คอื ผูพูดมี จดุ มุงหมายทต่ี องการส่ือความหมายไปยังผูฟ งผชู มเพอ่ื ใหเขาใจเรื่องราวตางๆ ผูฟงผูช ม ก็มคี วามตั้งใจ ฟงสง่ิ ทผ่ี ูพดู ส่อื ความหมายให 3. ผูประกาศและผูดําเนนิ รายการตอ งออกเสยี งพูดใหชัดเจน ดงั พอประมาณ อยา ตะโกนหรอื พดู คอ ยเกนิ ไป 4. ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการตองมสี ีหนา ทาทางย้ิมแยมแจม ใสเปนกนั เอง ไม เครงเครยี ด 5. ผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการตองฝกทาทางในการยืน นง่ั ควรสงา ผา เผย การ ใชท า ทางประกอบการพูดก็มีความสําคญั เชน การใชม ือประกอบการนําเสนอเนื้อหาสาระตางๆ จะ ชวยใหผฟู ง ผชู มเขา ใจเรอื่ งราวไดง ายยิ่งขนึ้ 6. ผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการตองรักษามารยาทการพดู ใหเครง ครัดในเร่ือง เวลาในการพูด พดู ตรงเวลาและจบทนั เวลา 7. ผูประกาศและผดู าํ เนินรายการตองพูดเร่อื งใกลต วั ใหท ุกคนรูเรอื่ ง เปนเรอื่ ง สนกุ สนานแตมีสาระและพูดดวยทา ทางและกริ ยิ านมุ นวล เวลาพูดตอ งสบตาผูฟงผูชมดว ย 8. ผูประกาศและผดู าํ เนินรายการไมค วรพูดเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา การเมอื ง โดยไม จําเปน และไมควรพูดแตเ ร่อื งของตวั เอง 151

9. ผูประกาศและผดู ําเนินรายการตอ งไมพ ดู คาํ หยาบ นนิ ทาผอู ่ืน ไมพดู แซงขณะ ผอู น่ื พูดอยูแ ละไมช้ีหนา คสู นทนา 7) มารยาทในการพูด การพดู ที่ดีไมวา จะเปนการพดู ในโอกาสใดหรือประเภทใด ผปู ระกาศและผูดําเนนิ รายการตอ งคํานึงถึงมารยาทในการพดู ซ่ึงจะมสี ว นสง เสรมิ ใหไ ดรบั การช่ืนชมจากผฟู ง ผูชม ซ่ึงจะชว ย ใหประสบผลสําเร็จในการพดู มารยาททส่ี ําคัญของการพูดสรุป ไดดังนี้ 1. พดู ดว ยวาจาสภุ าพ แสดงหนาตาทย่ี ิ้มแยมแจมใส 2. ไมพูดอวดตนขม ผูอ ่ืน และยอมรับฟง ความคดิ ของผูอ่นื เปนสําคญั 3. ไมกลา ววาจาเสียดแทง กา วราวหรือพูดขัดคอบุคคลอนื่ ควรใชว ิธีท่สี ภุ าพเม่ือ ตอ งการแสดงความคิดเหน็ 4. รกั ษาอารมณในขณะพูดใหเ ปนปกติ 5. ไมน าํ เรื่องสว นตวั ของผูอ่นื มาพูด 6. หากนําคํากลา วของบคุ คลอืน่ มากลา ว ตอ งระบุนามหรือแหลงทมี่ าเปนการให เกียรตบิ ุคคลท่ีกลา วถงึ 7. หากพูดในขณะทผ่ี ูอืน่ ยงั พดู ไมจบ ควรกลาวคาํ ขอโทษ 8) เทคนคิ การใชน ้าํ เสยี ง ธรรมชาติของเสียงจะมี 3 ระดับ คือ ระดับเสยี งสงู ระดบั เสยี งกลางและระดับเสียง ต่าํ หากรูจ กั ใชร ะดบั เสยี งถูกตองตามสภาพการณแตล ะชว งของการพดู จะทําใหน้ําเสียงมพี ลังและ สามารถชักจงู ใหผฟู งผูชมเกิดอารมณคลอ ยตามได ควรตอ งปฏบิ ตั ิ (สาํ นักการศึกษา ศูนยขอมลู ขา วสารเมืองพทั ยา 2550) ดงั นี้ 1. ตองดูแลสขุ ภาพเสยี ง -นอนหลบั พกั ผอนใหเ พียงพอ คนที่อดนอนคุณภาพเสยี งจะดอ ยลงอยางมาก -พยายามงดด่ืมนาํ้ เย็นหรือเยน็ จัดหรอื เคร่ืองดม่ื ท่แี ชเ ยน็ หรือใสน ้ําแข็ง เพราะจะทาํ ใหเ สียงแหง อาจทาํ ใหขณะท่ีกําลงั ใชเ สยี งหรอื พูด เสียงอาจขาดหายเปน ชวง ๆ ไมนาฟง จึงควรดืม่ นาํ้ ธรรมดาหรือนา้ํ อุนจะดีกวา -งดเวนเคร่อื งด่มื ทีม่ ีแอลกอฮอล นา้ํ อัดลม เพราะจะทําใหเสยี งแหง -ตองสังเกตตนเองตลอดเวลาวา อวัยวะในการออกเสียงมีอาการผดิ ปกติหรอื ไม เชน เกิดอาการเจ็บคอ ไอเรื้อรัง ถาเกดิ ผดิ ปกติตองหาทางรักษาทันที -ไมอมลูกอมท่ีมรี สเปร้ยี วหรือหวานจนเกินไป เพราะมนี ้ําตาลปนอยูมากและจะทํา ใหเ กดิ อาการเหนียวในลาํ คอ เปนอปุ สรรคตอการออกเสียง 2. ตอ งฝก ควบคุมน้ําเสียง 152

ฝกหัดการควบคมุ นํ้าเสียง โดยการเลยี นแบบการทอดเสยี งตามผูประกาศหรอื ผู ดําเนนิ รายการที่มปี ระสบการณเปน มืออาชีพอยางแทจรงิ สังเกตการใชน้ําเสียงถายทอดอารมณข องผู ประกาศและผูดําเนินรายการตามรายการตา งๆ ท้ังทางวิทยุและโทรทัศน เปนตน จนในทายที่สุด สามารถถายทอดอารมณแ ละน้ําเสียงออกมาไดอ ยา งทรงพลงั เปน รปู แบบของตวั เราเอง น้ําเสยี งจะมคี วามเกยี่ วเน่ืองกบั อารมณของผพู ดู เวลาคนอารมณดีขณะพูดนา้ํ เสียง จะฟงสบายหูไปดวย ควรมีการเนนนํ้าหนักเสียงในแตละชวงของการพูดตามเน้ือหาและเร่ืองราวท่ี นาํ เสนออยางเหมาะสม ใชการทอดเสยี ง ใชเสียงหนักเสียงเบาตามจงั หวะทีส่ มควร 9) องคประกอบของการพูด 3 ประการ (สงศรี อามาตย 2554) ดงั น้ี 1. ผูพดู ผูประกาศและผูดําเนินรายการเปนผูที่จะตองถายทอดความรูสึก ความคิดเห็น ขอเท็จจริง ตลอดจนทัศนคติของตนสผู ูฟงโดยใชภาษา เสยี ง อากับกิริยาและบุคลิกภาพของตนใหมี ประสิทธิภาพมากทส่ี ุด จึงตอ งคาํ นึงถึงมารยาทและคณุ ธรรมในการพูดดวย ส่ิงสําคัญที่จะตองยดึ ไว เปนแนวปฏิบัติ คือ ผูประกาศและผูดําเนินรายการจะตองรูจักสะสมความรู ความคิดและ ประสบการณท่ีมีคุณคา มีประโยชนแลวรวบรวม เรียบเรียงความรู ความคิดเหลาน้ี ใหมีระเบียบ เพ่ือที่จะไดถายทอดใหผูฟงเขาใจไดอยางงายดาย การสะสมความรู ความคิดและประสบการณ ผูพูด สามารถทําไดห ลายทาง เชน จากการอาน การฟง การสังเกต การกระทําหรือปฏิบัติดวยตนเอง การ สนทนากับผูอ่ืนนอกจากนี้แลว ผูพูดจะตองมที ักษะ ในการพูด การคิด การฟง และมีความสนใจที่จะ พัฒนาบคุ ลกิ ภาพอยเู สมอ ซึ่งจะชว ยใหผพู ูด เกิดความมน่ั ใจในตนเอง 2. สาระหรอื เรื่องราวท่พี ูด เน้ือหาสาระท่ีผูประกาศและผูดําเนินรายการพูดออกไป จะตองพึงระวังอยูเสมอวา สาระท่ีตนพูดน้ันจะตองมีประโยชนตอผูฟงผูชม ควรเปนเรื่องท่ีใหม ทันสมัย เนื้อหาจะตองมีความ ชัดเจน ผูประกาศและผูดําเนินรายการตองขยายความ คือ ความรูที่นําเสนอสูผูฟงผูชมใหมีความ กระจาง ซง่ึ อาจขยายความดว ยการยกตวั อยา งแสดงดว ยตวั เลข สถติ ิ หรอื ยกหลักฐานตา งๆ มาอางอิง การเตรียมเน้อื หาในการพูดมีขัน้ ตอน ดังนี้ -การเลอื กหัวขอเรอื่ ง ถาผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการมีโอกาสเลอื กเรื่อง ท่จี ะพูดเอง ควรยึดหลกั ท่วี าตองเหมาะสมกับตนเอง คือ เปนเรื่องทตี่ นเองมคี วามรอบรใู นเรือ่ งน้ัน และเหมาะสมกับผูฟง ผูชมเปนเรอื่ งท่ผี ูฟงผูช มมคี วามสนใจ นอกจากน้จี ะตองคาํ นึงถึงโอกาส สถานการณ สถานท่ี และเวลา ทก่ี ําหนดใหพดู ดว ย -การกําหนดจดุ มุงหมายและขอบเขตของเร่อื งทจ่ี ะพูด ผูประกาศและผู ดําเนินรายการจะตองกาํ หนด จุดมุงหมายในการพูดแตล ะคร้ังใหช ัดเจนวา ตองการใหความรู โนมนา ว 153

ใจหรือเพื่อความบันเทิงเพือ่ จะไดเตรียมเรือ่ งใหส อดคลองกับจุดมงุ หมาย นอกจากนั้นยังจะตอ ง กําหนดขอบเขตเร่อื งทีจ่ ะพูดดวยวาจะครอบคลมุ เนื้อหาลึกซึ้งมากนอยเพียงใด -การคน ควา และรวบรวมความรู ผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการตอง ประมวลความรู ความคิดทง้ั หมดไวแ ลวแยกแยะใหไดวา อะไรคอื ความคิดหลกั อะไรคอื ความคิดรอง สง่ิ ใดที่จะนาํ มาใชเปนเหตผุ ลสนับสนนุ ความคิดนนั้ ๆ และทส่ี าํ คญั ผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการ จะตอ งบันทกึ ไวใหชดั เจนวาขอมลู ที่ไดม านน้ั มีทมี่ าจากแหลง ใด ใครเปนผูพูดหรอื ผูเขียน ท้งั นเ้ี พื่อ การอา งอิงทม่ี าของขอมูลไดถูกตอ งในขณะทีพ่ ูด -การจดั ระเบยี บเรื่อง คอื การวางโครงเร่ือง ซึง่ จะชวยใหก ารพดู ไมว กวน สับสนเพราะผูประกาศและผูดําเนนิ รายการไดจัดลําดับขน้ั ตอนการพูดไวอ ยา งเปน ระเบียบ มีความ ตอ เน่อื ง ครอบคลมุ เนื้อหาทงั้ หมดชวยใหผ ฟู งผูชมจบั ประเดน็ ไดง าย การจดั ลาํ ดบั เน้อื เรอ่ื งจะแบงเปน 3 ตอน คือ 1) คํานาํ 2) เนือ้ เรื่อง และ 3) การสรุป 3. ผูฟ ง ผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการกับผฟู งผชู มมีความสัมพันธก ัน โดยผู ประกาศและผูดาํ เนนิ รายการตองเราความสนใจผูฟง ผชู มดวยการใชภ าษา เสยี ง กิรยิ าทาทาง บุคลิกภาพของตน ในขณะเดียวกนั ผฟู ง ผชู มก็มสี วนชวยใหก ารพดู ของผูประกาศและผูดาํ เนินรายการ บรรลุจดุ หมายไดโดยการตั้งใจฟงและคิดตามอยา งมีเหตุผล กอ นจะพูดทุกคร้ังผูประกาศและผดู าํ เนิน รายการตองพยายาม ศึกษารายละเอียดท่ีเก่ียวกบั ผฟู ง ผูชมใหม ากทส่ี ดุ เชน จํานวนผฟู ง เพศ ระดับ การศกึ ษา ความเชอ่ื และคานิยม ความสนใจของผฟู งผูช ม เปน ตน การวิเคราะหผ ฟู งลวงหนา นอกจากจะไดนําขอมลู มาเตรียมการพูดใหเหมาะสมแลว ผูประกาศและผูด ําเนนิ รายการยงั สามารถ นําขอ มลู นน้ั มาใชในการแกป ญหาเฉพาะหนา ที่อาจจะเกดิ ข้ึนไดเ หมาะสมกบั สถานการณด ว ย 10) จุดมงุ หมายของการพดู มจี ดุ มุง หมายท่สี ําคญั ๆ อยู 3 ประการ ไดแก 1. การพูดเพ่ือใหความรูความเขาใจ มีจุดมงุ หมายที่จะใหผ ูฟง ผูชมเกิดความรูความ เขาใจในเรื่องท่ไี มเคยรู ไมเคยมีประสบการณหรือมีความรูประสบการณบางแตก็ยงั ไมก ระจางชัด การ พูดประเภทน้ี ไดแ ก การรายงาน การพูดแนะนาํ การบรรยาย การอธิบายการช้ีแจง ตามหวั ขอเรอ่ื งที่ ไดรบั มอบหมายใหมาพูดเพื่อเกดิ ความรู ความเขาใจ เชน -ทําอยางไรจึงจะเรียนเกงและประสบความสาํ เร็จ -ภยั แลง กับสภาวะโลกรอน -งามอยา งไทย -สง่ิ แวดลอมเปนพิษ เปน ตน 2. การพูดเพือ่ โนม นาวใจ เปน การพูดทม่ี จี ดุ มงุ หมายใหผูฟงผูชมเชอื่ และมีความคิด 154

คลอยตาม จะทาํ หรอื ไมทาํ ตามทผ่ี ูประกาศและผูดาํ เนินรายการตอ งการหรอื มีเจตนา ดังนนั้ ผูประกาศ และผดู าํ เนินรายการจะตองชแี้ จงใหผูฟงผูชมเห็นวา ถาไมเช่ือหรือปฏิบัติตามที่ตนเองนําเสนอแลวจะ เกิดโทษหรอื ผลเสยี อยางไร การพูดชนิดนีจ้ ะประสบความสําเร็จไดดีมากนอยเพียงไรน้ัน ขึน้ อยูกับตวั ผูประกาศและผูดําเนินรายการเองวามบี ุคลิกภาพดีไหม มีการใชถอยคาํ ภาษาท่ีงายแกการเขาใจของ กลุมผูฟ งผูชมหรือไม และที่สําคัญ คือ ผูประกาศและผูดําเนินรายการจะตองมีศิลปะและจิตวทิ ยาใน การจูงใจผูฟงผูชมดวยการพูดเพื่อโนมนาวใจ จะเห็นตัวอยางไดจากการพูดเพ่ือรณรงคใหเห็น ความสําคัญของการออกกําลังกายในการรักษาสุขภาพหรือการพูดเพ่ือรณรงคใหผูฟงผูชมเห็นพิษภัย และเลกิ สบู บหุ รี่ หรอื พดู ใหกระทาํ ส่ิงใดสง่ิ หน่ึง เชน การพูดเพื่อใหชวยกันประหยัดพลังงาน ประหยัด การใชน า้ํ มันและไฟฟา เปนตน 3. การพดู เพ่ือความบนั เทงิ เปนการพูดทมี่ ุง ใหผูฟงผชู ม เกดิ ความเพลิดเพลนิ รืน่ เริง สนกุ สนานผอนคลายความตงึ เครยี ด ในขณะเดียวกันก็อาจสอดแทรกเน้ือหาสาระทเ่ี ปน ประโยชนแ ก ผฟู งผูช มดวย ผูประกาศและผดู ําเนินรายการจงึ ตอ งเปนบุคคลทีม่ องโลกในแงดี มีอารมณข นั หนาตา ยิม้ แยม แจมใสไมเปน คนเครงเครยี ดเอาจริงเอาจงั เกนิ ไป เพราะสิง่ เหลา นจ้ี ะมผี ลตอ การสราง บรรยากาศความเปนกนั เองใหเกดิ ขึ้นได 11.4 วิธีการพดู สําหรบั ผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการ 1) ผปู ระกาศและผูดําเนินรายการจะตองเตรียมพรอมกอนพูด คอยดูสัญญาณจากผูกํากับ รายการ ถาเปน การพูดเรอ่ื งทว่ั ๆ ไป ท่ีมิใชเ รื่องเศรา หรือเรื่องเครยี ด ผูพูดควรทาํ ตนใหกระฉับกระเฉง ปรบั อารมณ ใหเบิกบาน หนา ตายิ้มแยม แจมใส จะชวยใหผ ูฟงผชู มติดตามรายการดวยความตั้งใจและ มอี ารมณเบกิ บานไปดว ย 2) ผูประกาศและผูดําเนินรายการตองควบคุมการทรงตัวขณะยืนพูดหรือนั่งพูดตองอยูใน ลักษณะที่สมดุลเปน ธรรมชาติ ไมท ิ้งนํ้าหนักตวั ใหเอียงไปขางใดขางหน่ึง ไมเกร็งหรือเครียดเกินไป มี ทา ทางประกอบบา งตามสมควร 3) ผูประกาศและผูดําเนินรายการที่ทําหนาที่ทางส่ือโทรทัศน จะตองแสดงออกทางสีหนา และแววตาใหสอดคลองกับเน้ือหาสาระหรือเร่ืองราวท่ีพูด เพราะกลองโทรทัศนสามารถจับภาพ ใบหนา ผพู ูดใหผชู มเห็นไดอ ยางชดั เจน ซง่ึ เปนอวัจนภาษาทชี่ วยในการสอื่ สารไดอ กี ทางหนง่ึ 4) ในกรณที ่ีผปู ระกาศและผูด ําเนินรายการตอ งพดู แบบฉบั พลนั หรือกะทันหนั คือ การพดู ที่ ไมม โี อกาสรูล ว งหนาหรือไมไ ดเตรียมตัวลวงหนา สิ่งท่ีจะชวยได คือ ความรจู ากขอมูลที่ส่ังสมมาและ จากประสบการณทไ่ี ดเหน็ มาไดสงั เกตไดจดจํา รวมทงั้ การมไี หวพริบปฏิภาณของตนเอง ส่ิงเหลาน้ีจะ 155

ชวยใหผูประกาศและผูดําเนินรายการพูดไดดีในการทํางานลักษณะเชนน้ี เชน ในการถามการตอบ หรอื การโตตอบในรายการสนทนา การสมั ภาษณผ ชู ํานาญการในวงการตา งๆ เปน ตน 5) ในกรณที ่ีผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการตองพูดแบบอา นจากรา งหรือตน ฉบบั วิธนี ี้นิยม ใชแบบเปนทางการ เชน การกลาวรายงาน แถลงการณ กลาวเปดงาน กลาวปดงาน กลาวชี้แจง ข้ันตอนในพิธีการตางๆ การกลาวรายงานตอ หนานายกรัฐมนตรี เปนตน กรณีเชนน้ผี ูประกาศและผู ดําเนินรายการตอ งใชทักษะการอานเขา มาชว ยดวย 6) ในกรณที ี่ผูประกาศและผูดําเนินรายการตองพูดแบบทองจํา บางครั้งผูประกาศและผู ดําเนนิ รายการจาํ เปนตองจําขอ ความบางอยา งไปใชอ างหรือใชพูด เชน โคลง กลอน บทกวีตาง ๆ คาํ คม ภาษิต ตัวเลข สถติ ิ ผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการสามารถนาส่ิงเหลาน้ีไปประกอบการพูดไดตาม ความเหมาะสม 7) ในกรณีที่ผูประกาศและผดู ําเนินรายการตองพูดจากความเขาใจโดยมีการเตรียมตัว ลวงหนา การพดู จากความเขาใจ คือการพูดจากความรู ความสามารถ ความรูสึกของผูป ระกาศและผู ดําเนินรายการเองและจะพูดไดดีย่ิงขึ้นถาไดมีการเตรียมตัวลวงหนา ผูท่ีคิดวายังมีความรู ความสามารถนอ ยกจ็ ะสามารถพูดไดด ีถาไดมีโอกาสเตรียมตัวและฝกฝน (กสุ มุ า รกั ษมณี 2536) ดังนั้นการฝกฝนปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ จะเปนเครื่องมือชวยใหผูท่ีตองการประกอบวิชาชีพ เปน ผูป ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการสามารถพัฒนาตนเองใหด ีย่ิงข้ึนไปไดอ ยา งแนน อน การเตรยี มความพรอ มเมื่อเกิดอาการตน่ื เวที เมื่อผูประกาศและผูดําเนินรายการมือใหมตองพูดตอหนากลุมคน สวนใหญเกือบทุกคนจะ เกิดความรูสึกประหมา ซึ่งถาเปนความรูสึกประหมาเล็กนอยจะกลายเปนสิ่งดี เพราะจะทําใหผู ประกาศและผูดําเนินรายการรูสึกมีชีวิตชีวา กระตือรือรนท่ีจะเตรียมตัวและพูด อาการประหมาท่ี เกิดข้ึน คอื การตน่ื เวที (stage fright) แตถ า มมี ากจนเกนิ ไป จะทําใหเสียบุคลิกภาพและอาจทําใหพูด ผิดพูดถูกสลับสับเปลี่ยนลําดับขอมูลท่ีจะพูดหนาหลังสับสนไปหมด จนทําใหเสียสาระสําคัญของงาน ได ดังนั้นจึงควรมีการเตรียมความพรอมเม่ือเกิดอาการตื่นเวที (นิพนธ ศศิธร 2524) ซ่ึงมีหลาย อาการ เชน -คอและปากแหง -เสียงหาย ตอ งกระแอมกระไอเรยี กเสยี งกอนพูด -พดู ไมออก ตะกกุ ตะกักหรือตดิ อา ง -ลืมจนนึกอะไรไมอ อก -ลังเลไมแ นใ จ สบั สน -หายใจขัด -มือสนั่ ขาสนั่ เขา กระตกุ 156

-เสียงเบากวา ปกติ -พูดเร็วขน้ึ เรื่อยๆ หรือ ชาลงเรื่อยๆ -หัวใจเตนถี่ เร็วกวา ปกติ -รูสึกเครียด เกร็งหรือไมส บายในทอ ง -ไมก ลาสบตาผฟู งผูช ม เพราะรูสกึ วา ผฟู ง ผูชมไมชอบหรือไมเ หน็ ดว ย -เหง่ือออกมาก รูสกึ กลวั เปน ตน อาการตืน่ เวทตี างๆ เหลานี้ของบางคนอาจมีเพียงเลก็ นอ ยจนไมม ใี ครสังเกตเห็น คอื เพียงแคร ูสึกกังวลเก่ียวกับการพูดและเกร็งเครียด (tension) ซ่ึงเปนอาการตนื่ เวทีในระดับปกติ ผอน คลายไดงาย แตบางคนอาจต่ืนเตนและกังวลมากจนถึงข้ึนกลัว (fear) กลัวที่จะพูด กลัวคนฟง อาจ อาเจียน ปวดทองมาก ใจเตนระทึก หูอ้ือ เหงื่อไหล หายใจหอบ เปนตน การตื่นเวทีระดับนี้ตองใช เวลาในการฝกฝนและสรางความเช่ือมั่นใหตนเองเพ่ือนํามาชวยแกไขใหอาการตื่นเวทีลดนอยลง สวน อาการการตืน่ เวทใี นระดบั สูงสดุ คือ การกลวั มาก (panic) ถงึ ขัน้ เขา ออน หมดแรง เปนลม เปนตน การเตรียมความพรอ มเพอ่ื ลดอาการตน่ื เวทีของผปู ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการมือใหม นน้ั มขี อเสนอแนะ ดงั น้ี 1)กอ นการพูด จะตองเตรียมตวั ใหพ รอม เพราะความรูส ึกวาตนเองพรอ มจะชวยใหเกดิ ความมั่นใจ นอกจากนั้นอาจใชวิธีหายใจเขาลึกๆ แลวกล้ันหายใจไว 2-3 วินาที แลวคอยๆ ผอนลมหายใจออก ออกซเิ จนที่เขา ไปในปอดจะชวยลดความตึงเครียดได โดยตองฝกหายใจใหเปนคือ หายใจเขากระบัง ลมจะพองตัวออกทําใหทองปองออกตามไปดวย และเมื่อหายใจออกทองจะตองแฟบลง การหายใจ โดยปกตเิ ปนเชน นี้ จะทาํ ใหเกิดความผอนคลายมากขึ้น หรือบางคนอาจใชวิธีลดความเครียดดวยการ จิบน้ํา ด่ืมกาแฟ ลุกขึ้นเดินไปเดินมา เพื่อใหใจสงบและทบทวนลําดับการพูดในใจวาจะทักทายผูฟง ผูช มอยางไร เร่มิ ตนพูดอยางไร จะขยายความเนอ้ื หาอยา งไรบางและจะจบการพูดอยา งไร การลําดับ การพูดไดตง้ั แตเริ่มตนพดู จนจบการพดู จะทําใหผูประกาศและผูดาํ เนินรายการมือใหมมั่นใจมากยงิ่ ขึ้น สงผลใหอาการตนื่ เวทลี ดนอ ยลง 2) ขณะพดู จะตอ งพยายามควบคุมสายตา มองผูฟง ผชู มใหทั่วถงึ และจับตาทีผ่ ฟู งผูชมเฉพาะคน ใหไ ด พูดชา ๆ ถา รูสกึ ตวั วากําลงั พดู เรว็ ข้ึนๆ ใหควบคมุ ใหชา ลง จะชวยลดความประหมา ลงได เปลี่ยน อิริยาบถขณะพูดใหเ ปลีย่ นแปลงไปบา ง เชน หันมายิม้ กับผฟู ง ผชู ม ใชภาษารางกายเสริม เชน ผายมือ หรอื กาํ หมดั แลวยกขึ้นเพ่ือแสดงความเช่ือม่ันเปนทา ทางประกอบการพูด ถารูสึกประหมาจนเกิดปาก แหงทําใหพูดติดขัด ตองพยายามแกไขดวยการกลืนน้ําลายหรือจิบน้ําใหปากเหงือกเกิดความชุมชื้น หายแหง ระวังไมใ หพูดชาหรือลืมขอมูลและหยุดคิดนานจนเกิดบรรยากาศเงียบกลางอากาศ (dead 157

air) ตองพยายามฝกฝนการพูดเพ่ือเช่ือมโยงสาระตางๆ ใหได กอนที่จะพูดนําเสนอขอมูลอื่นๆ ตอเนอ่ื งตอไป จะเห็นไดว าการเตรียมความพรอมเพื่อลดอาการตน่ื เวทีนนั้ ตองอาศยั การฝกฝนปฏิบัติอยู เรื่อยๆ ทั้งการฝกฝนดวยการหาโอกาสตางๆ ที่จะพูด เชน พูดหนาช้ันเรียน พูดตอหนาผูคนจํานวน มากในทป่ี ระชมุ พูดตอนไมมคี นฟงหรือตอนท่ีมีคนนอยๆ และเมอ่ื ถึงเวลาพูดจริงๆ ใหคดิ วากําลังพูด ใหคุณพอคุณแมพี่นองหรือเพื่อนสนิทฟง อยางไรก็ตามการลดอาการต่ืนเวทีที่ดีท่ีสุด คือ การสราง ความมั่นใจโดยการเตรียมตัวใหพรอมไวเสมอและหมั่นติดตามขาวสารขอมูลตางๆ อยางทัน สถานการณจ ะทาํ ใหม ีเรอื่ งราวทจ่ี ะนําไปพูดคุยใหผ ฟู ง ผชู มไดรับทราบหรือเพลิดเพลนิ ไดตลอดเวลา สรุปเน้ือหาสาระในบทน้ี คอื นักศึกษาไดค วามรูและเขา ใจเก่ียวกบั ปจจัยพืน้ ฐานสาํ คญั ของการพูด ประเภทของการพดู รปู แบบของการพูด หลกั การพูด วธิ กี ารพูดสําหรับผูประกาศและผูดําเนินรายการ รวมท้ังการเตรียม ความพรอมเมอื่ เกดิ อาการตน่ื เวที และสามารถนําความรูท่ีไดรับไปประยกุ ตใชไดจริงในการทาํ หนาท่ี เปน ผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการท้ังทางวิทยุและโทรทัศน ซึ่งจําเปนตองมีทักษะในการพูดและออก เสียงที่ถูกตอง นาฟง มากกวาคนธรรมดาโดยทั่วไป เพราะตองใชเสียงในการประกาศหรือดําเนิน รายการใหคนจํานวนมากไดรับฟง จึงควรที่จะฝกหัดใหมีวิธีการพูดและออกเสียงใหมีความชํานาญ อยางถกู ตองเหมาะสมท่สี ดุ ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 158

แบบฝกหดั เพอ่ื ทบทวนความรูและความเขา ใจ แบบฝก หดั ทายบทของทกุ บท เพอื่ การกระตุนความตื่นตวั ในการเรียนรูและนําไปสูการ จดจาํ ไดอยางลกึ ซ้งึ ดวยการใชคําถามทีต่ องอธิบายความและยกตัวอยางประกอบ ซึ่งตองใชความเขา ใจจากการเรยี นรูและฝกปฏบิ ตั ิอยางสมํา่ เสมอ 1. ปจ จัยพ้นื ฐานสาํ คญั ของการพดู ประกอบไปดว ยอะไรบาง 2. อวัจนภาษาท่ีสําคญั ในการพูด ไดแกอะไรบาง โปรดยกตัวอยา งและอธิบาย 3. ประเภทของการพูด แบงตามลักษณะไดก ี่ประเภท อะไรบา ง อธิบาย 4. รปู แบบของการพูด มีอะไรบาง อธบิ าย 5. หลักการพดู ท่ีผปู ระกาศและผูด ําเนนิ รายการรูตวั ลวงหนา เพอื่ ใหการพดู ประสบความสาํ เรจ็ ควร ตองปฏิบัติอยางไรบา ง 6. สิง่ ทต่ี องคาํ นึงถงึ ในการพูด มีอะไรบาง 7. จุดมงุ หมายของการพดู 3 ประการ มีอะไรบา ง อธบิ าย 8. วธิ ีการพดู สําหรบั ผูป ระกาศและผดู ําเนนิ รายการ ประกอบไปดวยอะไรบา ง 9. การเตรียมความพรอ มเมื่อเกดิ อาการตืน่ เวที ควรทําเชนไรบา ง อธิบาย 10. ใหน กั ศกึ ษาแสดงความคิดเห็น แลกเปลย่ี นประสบการณซ ่งึ กนั และกันวา การพูดในฐานะ ผูประกาศและผูดาํ เนินรายการนัน้ มที กั ษะใดควรตองฝกฝนและมีวิธกี ารฝก ฝนดวยวธิ ไี หนบาง จงึ จะเหมาะสมมากกวากัน 159

จดุ ประสงคของการเรียนรูในบทน้ี 1. นักศกึ ษามีความรูความเขาใจและสามารถบอกไดถึงข้ันตอนเพ่ือนําเสนอขอมูลขาวสาร ในสือ่ วิทยแุ ละส่ือโทรทศั น 2. นักศึกษาไดเรียนรูและเขาใจถึงขอควรปฏิบัติในการนําเสนอขอมูลขาวสารผานสื่อวิทยุ และสื่อโทรทัศนของผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการ 3. นักศกึ ษาไดเรยี นรแู ละเขา ใจถงึ วธิ ีการนําเสนอขอมลู ขาวสารทางสื่อวิทยแุ ละสื่อโทรทัศน 4. นักศึกษามีความรแู ละเขาใจถึงวิธกี ารสัมภาษณ การจับประเด็นและการสรุปปดทายโดย สามารถนาํ ไปใชไดใ นการปฏบิ ตั ิงานจรงิ 12.1 ขั้นตอนเพอ่ื นาํ เสนอขอ มลู ขา วสารในส่อื วิทยุและสือ่ โทรทัศน การปฏบิ ตั หิ นาท่ีของผูประกาศและผูดําเนินรายการในการประกอบอาชพี เปนสอื่ มวลชน นั้น ตองทําหนาที่ในการถายทอดความจริงไปสูประชาชนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนไดรับ ทราบขอมูลขาวสารที่ถูกตองและเท่ียงตรง (สมาคมนักขาวนักหนงั สือพิมพแหงประเทศไทย 2548) จึงจําเปนตองปฏิบัติหนาท่ีของตนโดยต้ังอยูบนพื้นฐานของความเปนกลาง ความถูกตองเปนธรรม อยางแทจริง ดวยการกล่ันกรองขอมูลขาวสารที่จะนําเสนอดวยความรับผิดชอบตอสังคมและยึด ประโยชนสาธารณะเปนหลัก ทั้งนี้ ส่ือมวลชนตองมีหลักเกณฑในการนําเสนอขาวโดยคํานึงถึง ประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับผูฟงผูชม คือ ขาวสารนั้นตองมีความนาสนใจมีความสําคัญ ตองเปน ขอเท็จจริงที่มีความสด ทันสมัยและเปนเหตุการณที่มีผลกระทบโดยตรงตอชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนในวงกวาง จึงจะเปนการทําหนาที่ของผูประกาศและผูดําเนินรายการในฐานะเปน ส่ือมวลชนทส่ี มบรู ณแ ละเกดิ ประโยชนก บั ประชาชนสงู สดุ ดวยเหตุน้ีจึงมีความจําเปนท่ีจะตองเรียนรู ทั้งในภาคทฤษฎีและฝกภาคปฏิบัติอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะทักษะการอาน การพูด การเลาและ 160

การอธิบายความ เปนการใชถอยคํา น้ําเสียง ลีลาทาทาง การแสดงออกรวมทั้งบุคลิกภาพของผู ประกาศและผูดาํ เนนิ รายการเพ่ือถายทอดความตอ งการหรือเน้ือหาสาระตามวัตถุประสงคในการส่ือ ถึงผูฟงผูชม ซ่ึงสิ่งเหลานี้ถือเปนความสามารถเฉพาะตัวทีส่ ามารถพัฒนาได โดยมขี ั้นตอนตา งๆ เพ่ือ ดําเนินการกอ นนาํ เสนอขอมูลขา วสาร (มานิต ศุทธสกลุ 2558) ดงั นี้ ขั้นตอนท่ี 1 ดําเนินการตรวจสอบความถูกตองเปนจริงของขอมูล ขาวสารทไี่ ดร บั มา โดยควรตรวจสอบวาเปนขอเท็จจริงหรือไม เปนขอมูลที่มีแหลงอางอิงหรือไม มีบุคคลหรือ องคกรใดท่ีเปนผูรับผิดชอบในการนําเสนอขอมูลนั้นๆ ออกมาหรือไม เหตุผลท่ีตองดําเนินการใน ขัน้ ตอนนี้เพราะในปจจุบันเปน ยคุ ดจิ ิทัล จงึ ทําใหม ีขอ มูลขาวสารทถี่ กู สง ตอ เกดิ ข้นึ เปน จํานวนมากและ มบี างสว นเปน ขอมลู ขาวสารทไ่ี มเปนความจรงิ แตถ กู สรางข้ึนมาเองเปนการบิดเบือนเพื่อผลประโยชน ตางๆ ของผูทําขึ้นมา และตองการใหเกิดการเผยแพรขอมูลท่ีตนเองสรางขึ้นมาน้ันไปยังสาธารณชน โดยผานสื่อวิทยุหรือส่ือโทรทศั นจ ากการประกาศหรือการพูด การเลา การอธิบายความของผูประกาศ และผูดําเนินรายการ ดังนั้นเพื่อใหขอมูลขาวสารท่ีจะนําเสนอตอประชาชนมีความถูกตองเปน ขอเท็จจริงและนาเชื่อถือ ผูประกาศและผูดําเนินรายการจึงตองทําหนาท่ีในการตรวจสอบขอมูล ขาวสารนั้นๆ กอนนําไปเผยแพรกอนดวย แมวาจะมีผูตรวจสอบมากอนแลว แตเพื่อปองกันความ ผดิ พลาดเพราะขอ มลู ขา วสารน้นั ๆ จะตองถกู นําเสนอผาน “ปากของผูประกาศและผูดําเนินรายการ” ซ่ึงหากเกิดความผิดพลาดโดยนําเสนอขอมูลขาวสารที่เปนเท็จ จึงเปนธรรมดาที่จะตองถูกผูรับสาร ตาํ หนกิ อนเปน อนั ดับแรก ขั้นตอนที่ 2 ดาํ เนนิ การตีความเน้อื หาสาระของขอมูลขา วสารใหเขาใจ อยางถอ งแทก อนนาํ เสนอ การทําความเขาใจในขอมูลขาวสารที่ไดรับมา ถือเปนสิ่งสําคัญอีกประการหน่ึงท่ีตอง ดําเนินการ เพราะกอนจะสงขอมูลขาวสารใดๆ ผูท่ีอยูในฐานะเปนผูประกาศและผูดําเนินรายการ จําเปนตองมีความเขาใจเนื้อหาสาระนั้นๆ อยางถองแท ท้ังในแงความหมาย เน้ือความ อารมณของ สาร เมื่อตีความและเขาใจอยางชัดเจนแลว จึงนําเสนอไปยังสาธารณชนดวยรูปแบบตางๆ เชน การ อา น การพดู การเลา การอธบิ ายความ เปน ตน ขั้นตอนท่ี 3 ดาํ เนินการนําเสนอขอมลู ขาวสารดว ยลีลาที่เหมาะสมกับ เน้ือเรอ่ื ง โดยวธิ ีการนาํ เสนอท่ีจะทําใหก ลมุ ผูรับสารเกดิ ความสนใจตอ งการตดิ ตามรบั ฟง รับชมนั้น ตอ ง ข้ึนอยกู ับตวั ผูป ระกาศและผดู าํ เนนิ รายการดวย โดยตองใหความสําคัญกับการออกเสียงที่ถูกตองตาม อักขรวิธี คํานึงถงึ การใชภาษาที่ถูกตองตามหลักการ ใชลีลาการออกเสียงและใชทาทางการนําเสนอ 161

ท่ีฟงแลวดูแลวผูรับสารรูสึกสบายหูสบายตา อันจะสงผลถึงทําใหเกิดความสบายใจที่จะเปดใจรับฟง ขอ มูลขาวสารที่ ผูประกาศและผูดําเนินรายการคนนั้นๆ กําลังนําเสนออยู ซ่ึงจะสงผลถึงประโยชนท่ี ไดรับจากการนําเสนอขอมูลขาวสารในแตละครั้ง คือ ไมเกิดความสูญเปลาเพราะมีกลุมผูรับสาร ติดตามฟง ตดิ ตามชมอยา งตั้งใจ โดยเกิดจากความสามารถในการนาํ เสนอขอมูลขาวสารจากผูประกาศ และผูด ําเนนิ รายการนัน่ เอง ขอ ควรระวังเกี่ยวกับการนําเสนอขอมูลขาวสารทางสือ่ วิทยุกับการพูด ทางสื่อโทรทัศน คือ การอานและการพูดทางวิทยุน้ันจะตองพูดใหผูรับสารฟงโดยใหผูฟงเกิด ภาพพจนตามไปดวย สวนทางส่ือโทรทัศนน้ันผชู มเห็นภาพทางจอโทรทัศนอยูแลว เพราะฉะนั้นการ อานและการพูดทางส่ือโทรทัศนจะตองบวกบุคลิกภาพลีลาเขาไปดว ย โดยจะตอ งมกี ารเตรียมตัวที่ดี คนทีอ่ านและพูดไมค อยดีนักคงตองฝกฝนการอานและพูดใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ถาปฏิบัติหนา ที่ ทางสือ่ วิทยุจะตองฝก เปลง เสียงออกมาใหฟ งแลวมีนาํ้ เสียงคงท่ีฟงสบายหไู มล ุนหรือแหบพรา หรือเสียง ขาดๆ หายๆ การเตรียมฝกตัวเองในเร่ืองของการเปลงเสียงมีความสําคัญอยางย่ิง เพราะการรักษา ระดับเสียงใหคงที่เปนส่ิงสําคัญ ฝกกลั้นลมหายใจเมื่อเวลาอานและพูดนานๆ หลายประโยคจะไม เหน่อื ย บางคนอานหนงั สอื นานๆ นา้ํ ลายจะสอตรงริมฝป าก หรือบางคนพดู ชามากคนจะรูสึกอึดอัดไป ดวย บางคนจะพูดเรว็ จนเกนิ ไปจนผูฟงจะฟงไมท นั ฟงไมร เู รอื่ ง ดังนนั้ การทาํ งานเปน ผูประกาศและผูด ําเนนิ รายการทางสือ่ วทิ ยจุ ึงตองระวังรักษาสุขภาพใหดี เสยี งทเ่ี ปลง ออกมาจะไดช วนฟง บางคนท่ีสขุ ภาพไมด ีจะมีอาการเหนอื่ ยมากแมใชเวลาในการอานหรือ การพูดไปไดไมนานจะพูดไมชัดเพราะล้ินพันดวยความเหน่ือยหอบ นาํ้ เสียงฟงแลวไมกระฉับกระเฉง จนอาจทําใหผฟู งเกิดความรําคาญข้ึนได ดังนั้นควรตอ งรักษาสุขภาพใหดีและตองทําจิตใจใหเบิกบาน แจมใสเวลาเปลงเสียงออกมาจะไดฟงเบิกบานไปดวย ฝกพูดไปดวยยิ้มไปดวยจะทําใหผูฟงรูสึกมี ความสุขและยิ้มตามไปดวย สวนการทําหนาท่ีผูประกาศและผูดําเนินรายการทางสื่อโทรทัศน จะตองฝกเพิ่มอีกหลาย อยางเพ่ิมเติม เพราะจะตองมีลีลาประกอบไปดวย จะตองฝกหนากระจกเพ่ือใหเห็นวาตนเองมี บุคลิกภาพเชนไร เวลาอานหรือพูดแลวมีอะไรท่ีควรปรับเปลี่ยนแกไขใหดูดีขึ้น โดยใชวิธีการบันทึก เทปเอาไวด เู พ่อื ใหเ ห็นขอบกพรอ งทีช่ ัดเจนในการนํามาพัฒนาตนเองใหดีข้ึน เปน การฝก สํารวจตนเอง กอ นท่ีจะเอาไปใหคนอนื่ วจิ ารณแ ละหากมใี ครมาชแ้ี นะบอกสอนควรยอมรบั ความคิดเหน็ ของผูอ ่ืนดว ย การฝกอีกประการหนง่ึ ในสอื่ โทรทัศน คอื การฝกใชสายตาดวย เพราะผูประกาศและผูดําเนินรายการ บางคนจะชินกับกลองๆ เดียว อาจจะมองกลองไมดี บางคนมองไฟแดงๆ ที่อยูบนตัวกลองทําใหตา เหลือบออกไป เพราะฉะนั้นจะตองฝกสบตากับกลอง ถาจะพูดกับผูชมอยาทําตาหลุกหลิกมองโนน มองนี่ หรือ กมมองนาฬิกาบายๆ เพื่อดูเวลาวาจะจบรายการหรือยัง ทําใหเหมือนไมมีสมาธิ สิ่ง เหลานี้เปนการฝกสําหรับผูประกาศและผูดําเนินรายการที่จะพูดทางสื่อโทรทัศนและควรฝกพูดใน 162

ลกั ษณะนั่งหรือเดนิ ใหคลองแคลว เพราะบางคร้งั อาจจะถกู ผูก ํากบั รายการส่ังใหเดินแลวพูด หรอื บาง คนตองน่ังแลว พูดหรอื บางคนตอ งยนื แลวพูด ไมวาจะอยูในทาทางใด จะตองสามารถควบคุมนํา้ เสียง ใหคงทไ่ี มเ บาไป ดังไปหรอื เสียงแกวง เสยี งแหบเสยี งหายหรอื ฟง แลวเหมือนเหน่ือยหอบ 12.2 ขอควรปฏบิ ตั ิในการนาํ เสนอขอ มูลขาวสารผานสื่อวิทยุและส่ือโทรทัศน การนําเสนอขอมูลขาวสารทั้งทางส่ือวิทยุและส่ือโทรทัศนน้ันสวนใหญใชขอมูลขาวสาร เดียวกันหรือเหมือนๆ กัน แตอาจใชวิธีการนําเสนอท่ีมีขอแตกตางกันบางเล็กนอยเพราะรูปแบบการ เผยแพรขอ มลู ไปสปู ระชาชน คอื ถา นําเสนอผา น “ส่ือวิทย”ุ จะทําใหผูร บั สารไดยนิ แตเสียงอานและ พูดของผูประกาศและผูดําเนินรายการเทา นั้น นภาภรณ อัจฉริยกุล (2550) กลาวถึงหลักการพูด ทางสือ่ วิทยุท่ดี ี คอื การใชภ าษาหรอื คาํ พดู ซึ่งมลี กั ษณะสําคญั ดังน้ี -ใชประโยคสนั้ ๆ งายๆ -นําเสนอที่แสดงความหมายในแงเ ดียว -ใชภาษาทส่ี ภุ าพ -ตอ งพูดอยใู นประเดน็ อยางกวน ออกนอกเรอื่ ง -ตอ งพูดดวยอารมณแ จมใส แตไมใชพดู ตลก พูดเลน -อยานําเรือ่ งสว นตวั มาพดู หรือพูดโออวดตนเองจนเกนิ ไป -อยา ใชคําหยาบหรือคาํ ดถู ูกเหยยี ดหยาม รวมท้งั คําคะนอง -ตองพูดย้ําหรอื เนนคําสําคัญเพอื่ แสดงความชัดเจนของความหมายท่ีพูด เปน ตน นอกจากน้ันยังควรดําเนินการส่ิงอื่นๆ เพ่ือท่จี ะทําใหการนําเสนอขอมลู ขาวสารทางสื่อวิทยุ ประสบความสําเร็จ ดังน้ี 1) การดแู ลรกั ษาเสียงใหดี ไมแตกไมแหบแหงจนฟงแลว รูส ึกระคายหผู ฟู ง 2) เวลานาํ เสนอดวยการอานตอ งอานขอมลู ขา วสารนนั้ ๆ ดว ยน้าํ เสยี งทแ่ี สดงความเชอื่ มน่ั ในสิง่ ทต่ี นเองอานอยู และฟง สบายไมต ดิ ขดั ตะกกุ ตะกกั หรอื เดี๋ยวอา นเสยี งเบาเด๋ียวอานเสียงดังไมถูก ทถี่ ูกทาง 3) ตอ งฝกฝนการอา นสะกดคาํ ใหถกู ตอ ง 4) ตอ งฝก ฝนการอา นทผ่ี สมผสานอารมณใหสอดคลอ งกับเนอื้ หาสาระของเรอ่ื งทีน่ าํ เสนอ 5) เวลาตอ งพดู นาํ เสนอขอมลู ตา งๆ กต็ องพดู นาํ เสนออยา งคลองแคลวเปน ธรรมชาติ รู วิธีการพูดเนนยํ้าในประเด็นที่สําคัญที่เหมาะสมโดยใชนํ้าเสียงที่แตกตางของผูประกาศและผูดําเนิน รายการทฝี่ ก ฝนมาเปน อยา งดี 6) ตอ งรจู ังหวะในการผอ นอารมณห รือกระตนุ อารมณผ ฟู ง ใหมีสว นรวมไปกับขอ มูลขา วสาร ทก่ี ําลังนาํ เสนออยู 163

สวนสือ่ โทรทัศนน ั้นเปนส่ือท่ีสามารถไดยินเสียงและเห็นภาพดวยจึงเปนส่ิงที่ผูประกาศและผู ดาํ เนินรายการทุกคนตอ งคํานงึ ถงึ เร่อื งของการดแู ลบคุ ลกิ ภาพทง้ั รูปรา ง หนาตา เส้ือผา ทรงผม ใหดดู ี ดนู ามอง ดูเหมาะสมและสะอาดสะอานเปนระเบียบเรียบรอย การใสเ ครอื่ งประดับตางๆ อาทิ สรอย แหวน นาฬิกา ตองไมมากเกินไปหรือนอยเกินไปในการปรากฏตัวออกสื่อโทรทัศน ผูประกาศและผู ดําเนินรายการตองทําเหมือนกับวามีผูชมมานั่งฟงอยูเ ปนจํานวนมาก การพูดตองมีชีวิตชีวา สายตา ตองไมม องอยางเล่ือยลอย ควรมีสีหนาท่ียิ้มแยมแจมใสตลอดการพูด มีใบหนาท่ีแสดงความเปนมิตร อีกท้ังควรมีการซอมการพูดไมควรใชตนฉบับในขณะพูดมากนัก ใหพยายามจดจําเนื้อหาสาระโดยไม ตองกมมองตนฉบับมากนักจะทําใหดูเปนมืออาชีพมากข้ึน สําหรับสวนที่มีเนื้อหาสําคัญหรือขาวที่มี ความจําเปนตองอานก็ควรอานดวยความลื่นไหลเปนธรรมชาติ สําหรับปจจัยประกอบตางๆ ท่ีจะทํา ใหการนําเสนอขอมูลขาวสารทางส่อื โทรทัศนประสบความสําเร็จ (สทุ ธิชัย ปญ ญโรจน 2557) ไดแ ก 1) การใชว ธิ ีการอานหรือพดู ที่เปนรูปแบบเฉพาะของตนเอง อาทิ การเนน เสียง การลาก เสียง การใชหางเสียง การหาคําลงทายขอมูลขาวสารท่ีทําใหผูชมจดจําไดวาเปนตนเองเทาน้ันท่ีพูด แบบน้ี เปนการสรา งความนา สนใจและจดจําไดของกลมุ ผรู บั ชม 2) การใชล ลี าทา ทางประกอบที่แสดงความเปน เอกลักษณข องตนเองทไ่ี มเหมอื นใคร 3) การใชบ คุ ลกิ ภาพและการแตง กายที่เปน แบบฉบับเฉพาะตน 4) การใชอ ปุ กรณชว ยตางๆ ประกอบการอานหรือการพดู นาํ เสนอ เชน แผนที่ แผนผัง ลูกโลก ไมช้ีไปท่ีบอรดขอมูล ปากกาขีดเขียนบอรดเพื่อนําเสนอขอมลู ประกอบการพูด การเลาขาว นัน้ ๆ 5) การเขยี นบทและการเตรยี มตน ฉบบั ในการนําเสนอทีม่ รี ปู แบบและลักษณะการพดู นําเสนอท่ีแตกตา งจากผูประกาศและผูดําเนินรายการอื่นๆ เปนการสรางจุดจดจําใหกับกลุมผรู บั สาร ไดอ กี ทางหน่ึง 6) การฝกฝนวิธกี ารอา นและการพดู ขอ มลู ขา วสารอยูสม่ําเสมอ โดยตองเปด รับฟง รับชม จากผูประกาศและผูดําเนินรายการอื่นๆ ดวย ไมใชไมดูคนอื่นเลย เพราะทุกอยางสามารถเรียนรูได จากทั้งมืออาชีพ เพ่ือนําขอดีจุดแข็งที่พบเห็นมาใชบาง และเรียนรูจากมือใหม เพื่อไมทําในสิ่งท่ี กอ ใหเ กดิ ความไมน า ติดตามชมรายการของตนเองไดด ว ยเชนเดียวกนั นอกจากนัน้ ศลิ าพรต ภูสิงหา (2538) ยังไดน ําเสนอถึงขอ ควรปฏบิ ตั สิ ําหรบั การทผี่ ู ประกาศและผดู ําเนินรายการจะนําเสนอขอ มลู ขาวสารไดอยา งมคี ุณภาพและประสบความสําเร็จ ดงั นี้ 1. มีความสนใจและเอาใจใสในการฟง ติดตามขาวสารทั่วโลกทกุ วัน 2. ฝกฝนการอานใหแตกฉาน 3. ทดลองอา นบทกบั ไมโครโฟน 164

4. ปรับปรุงนํา้ เสยี งของตนเองใหพ ฒั นาขึ้น ไมแ หบแหง แตกพรา 5. ยึดแบบอยา งผปู ระกาศและผดู ําเนินรายการทีต่ นเองช่นื ชอบ 6. รจู ักระดับเสยี งของตนเองใหถอ งแท 7. ออกเสยี งอกั ขระวิธี ร, ล คาํ ควบกลาํ้ ใหถูกตอง 8. อยา ทอดลมหายใจนานระหวา งคาํ 9. อยา อานชา ไปหรอื เรว็ ไป 10. ใหอ า นออกเสียงอยา งชดั ถอยชดั คํา 11. อานใหเปน ธรรมชาติ ปรงุ แตง เสยี งบา ง 12. ไมอานลากเสยี งหรือเสยี งแปรง 13. อานแบงวรรคตอนใหเ หมาะสม 14. เวลาอานกวาดตาดบู ทใหท่วั และรวดเรว็ 15. ไมต อเตมิ บทโดยไมจ าํ เปน 16. รจู ักใชนํ้าเสยี งใหเ หมาะสมกบั ขอความทีป่ ระกาศ 17. รกั ษาระดบั เสียงใหส มํ่าเสมอ 18. ใสชีวติ จติ ใจลงไปในนา้ํ เสียง 19. ปรบั แตง นา้ํ เสียงใหนาฟง 20. มีจังหวะจะโคนในการอาน 21. ฝก ลดอาการประหมา 22. ฝก อา นคาํ ยาก 23. ฝกทาอา นบท โดยน่ังตวั ตรง ไมกมมาก ชําเลืองอาน ตง้ั ศรี ษะตรง 24. ฝก แกปญหาเฉพาะหนาในการอานประกาศ การพดู การเลาความ 25. ขยันอา นหนงั สือ ฟง วทิ ยุ ดูโทรทศั น จากขอมลู ดงั กลาว จะเห็นไดว าบคุ คลที่ตองการประสบความสาํ เร็จในการประกอบอาชีพเปน ผูประกาศและผูดําเนินรายการ จําเปนจะตองรูวาตนเองจะตองนําเสนอขอมูลขาวสารอยางไรถึงจะ ออกมาดูดีดูนาสนใจ เพราะรูปแบบการนําเสนอขอมูลขาวสารในรายการมีสวนสําคัญตอความสําเร็จ ในอาชีพนี้ นอกจากนัน้ การมีปฏิภาณไหวพริบ การแกไขปญหาเฉพาะหนา ความมีชีวิตชีวา การออก เสียงถูกตองชัดเจน จังหวะในการพูด รวมไปถึงความมั่นใจในการอานการพูดการเลาความ การ อธิบายความ ก็เปนสวนหน่ึงที่จะชวยใหผูประกาศและผูดําเนินรายการประสบความสําเร็จในการ นาํ เสนอขอมลู ขาวสารในฐานะประกอบอาชีพเปนสอ่ื มวลชนไดอ ยางมีคณุ คานา ภาคภมู ใิ จ 165

หลักการทั่วไปในการนาํ เสนอขอ มูลขา วสารทางสอ่ื วทิ ยุและสอ่ื โทรทศั น มดี ังนี้ (วิจติ ร อาวะกลุ 2534) 1) ตอ งอยูบ นพนื้ ฐานของความเปนจริง ไมย ว่ั ยุ บดิ เบือน หรือใชภาษาคลุมเครืออันกอนให เกิดความเขาใจผดิ 2) คําพดู ตางๆ ก็ดี หรือขอความใดก็ตาม ทีเ่ ผยแพรทางสื่อวิทยแุ ละสอ่ื โทรทัศนจะตอ งไม ชน้ี าํ ใหป ระชาชนเกดิ ความสับสน อลหมา น ต่นื ตระหนกเสียขวญั หรอื เกิดความแตกแยก กระทบกระเทอื นตอ ความมั่นคงของชาติหรอื ความสัมพนั ธอันดีกบั ตางประเทศ 3. ไมใชภาษาหรอื ถอยคาํ ใดที่มีความหมายสอเจตนาทีจ่ ะทําใหเ กิดความกระทบกระเทือน เสียดสผี อู นื่ ใหเ กิดความไมสามคั คกี นั ในสังคม หมคู ณะหรือแมแตล ะเมิดสิทธิและความรูสกึ โดยสว นตัว 4. ภาษาทางส่อื วทิ ยแุ ละสือ่ โทรทัศนต องไมส อ ไปในทางหยาบคายหรือลามกอนาจาร 5. การใชค าํ พูดตา งๆ ตองไมสอแสดงวา มเี จตนาเอนเอียงเขาขางหนงึ่ ขางใด เพราะสื่อวทิ ยุ และสือ่ โทรทศั นถือเปนส่อื มวลชนควรวางตัวเปน กลาง โดยเฉพาะการเสนอขา ว ตอ งไมมีความคดิ เหน็ ของผูประกาศและผดู าํ เนนิ รายการเจอื ปนอยู 6. ภาษาที่ถกู ตองตามหลักการและศลิ ปะการพดู ยอ มจงู ใจใหนา สนใจมากกวา การใชภาษา โดยขาดศลิ ปะและหลักการ 7. ภาษาทนี่ าํ มาใชทางส่ือวทิ ยแุ ละส่อื โทรทัศนตอ งมีความกระชบั เขาใจงาย ไมเ พอเจอ วกวน สับสน ดงั นัน้ การใชภ าษาการใชถ อยคาํ ตา งๆ จึงตอ งเขียนใหฟง ไดง า ยที่สุดฟงแลวเกดิ ความ เขาใจไดทันที เพราะภาษาทีย่ ากอาจทาํ ใหผูฟงผชู มไมเ ขาใจและในที่สุดจะเลิกสนใจรบั ฟง ทันที 8. ภาษาที่นํามาใชเพ่ือความบันเทิง จะตองคํานึงถึงความสอดคลองกับตัวเรื่องวาเร่ืองเปน เรื่องอะไร เกิดในสมัยใด ลักษณะและสําเนียงการออกเสียงเปนอยางไร ภาษาที่ดีนอกจากจะตอง คํานึงถึงความชดั เจน ในความหมายแลวยงั ตอ งคาํ นงึ ถึงความกะทัดรัดของถอยคําดว ย ภาษาท่ีใชใน รายการบันเทิงมักจะใชภาษาพูด แตต องเปนภาษากลาง ๆ ที่สุภาพ ไมควรใชภาษาวบิ ัติ คําคะนอง โดยไมจําเปน และทีส่ าํ คญั คอื ภาษาวทิ ยแุ ละโทรทัศนจะตองเปนภาษาสรางสรรค ผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการที่ดตี อ งฝก ฝนลีลาและอารมณในการอา นประกาศและพดู ทางส่อื วิทยุและสื่อโทรทศั น ดวยวิธกี ารตา งๆ ดังน้ี 1) รูจ กั ถา ยทอดโดยใชน า้ํ เสียงและอารมณค วามรสู ึกใหเหมาะกับขอความหรอื ขอ มลู ท่ีจะประกาศหรอื พดู นาํ เสนอ 2) รูตัวอยูตลอดวาเวลาอานหรือพูดตองออกเสียงอยางชดั เจน พดู ออกมาอยางชัด ถอยชดั คํา เปน ธรรมชาติ ปรงุ แตเสยี งบางตามความเหมาะสม 3) รูตัวอยูต ลอดวา ไมค วรอานลากหางเสียง จนทาํ ใหเสียงฟงดูแปรง แตค วรอานให ทง้ิ หางเสียงเปน ธรรมชาติ 166

4) รูว ิธกี ารกลั้นหายใจและสามารถเกบ็ ลมไดเปนเวลานานพอสมควร เพอื่ ใหเวลา อา นหนงั สือหรอื ออกเสียง จะไดม ีความตอเนื่องลน่ื ไหล ไมสะดดุ หผู ฟู ง คอื ไมควรสดู ลมหายใจบอยๆ ระหวา งอา นออกเสียงประกาศหรือขณะกําลังพูดนาํ เสนอขอมูลขา วสารอยู 4) รวู ิธีการใหจงั หวะการอา นหรือพดู ที่ไมชาอดึ อาดจนนาเบ่ือหรือเร็วจนผูฟง จบั ใจความสาํ คญั ของเนื้อหาสาระท่ปี ระกาศหรือพดู นาํ เสนอไมได 5) รูม ารยาทในการทาํ งานวาไมค วรตอ เติมบทจากตนฉบับ เวน แตจ ะมีเหตุการณ ฉกุ เฉินเขามาใหตองมีการปรับบทใหส ้ัน กระชบั มากขึน้ ตามเวลาทม่ี ีจาํ กดั หรือเหตผุ ลอนื่ ๆ ที่เหมาะสม 6) รูตัววา ควรฝก ฝนทักษะในการใชเ สียง (นภาภรณ อัจฉริยกลุ 2550) ดังน้ี 6.1 อักขรวธิ ี ไดแก ความถกู ตอ งตามการออกเสยี ง การออกเสียง “ร หรือ ล” การออกเสียงคําควบคาํ กลํา้ การออกเสียงตรงคาํ ไมเ พ้ียนสูง เพย้ี นตา่ํ 6.2 ลลี าการนาํ เสนอ ไดแ ก การแบง วรรคตอนทถ่ี ูกตอง การใชจังหวะ นํ้าหนักคํา ท่มี ีหนกั -เบาอยา งถกู ตองตรงจุดท่ีเหมาะสม การรักษาความถูกตองของบทตนฉบับ การ ใชน้าํ เสยี งทมี่ คี วามเหมาะสมกบั เนื้อหา 6.3 ความชดั เจน ไดแก การออกเสียง อานชดั ถอยชัดคํา ไมมีเสยี งสอดแทรก หรอื มเี สียงสูดลมหายใจเขา ออกที่ดังจนฟง แลว กวนหู 6.4 การออกเสียงอานและพดู ควรตองระลึกไวเ สมอวา ตองออกเสียงเปน ลกั ษณะโดยธรรมชาติ ไมดดั เสียงหลอ สวย ไมฝ นจนเกร็ง นํ้าเสยี งมีความชัดเจนไพเราะนาฟง ไม ระคายหู การใชระดบั เสยี งและน้ําเสยี งทพ่ี อเหมาะพอควร นา ฟงแบบมั่นใจ การออกเสยี งอา นและ พดู ตามความนยิ มท่ียอมรบั กันโดยทวั่ ไป การออกเสยี งอา นและพูดตามวิธคี าํ ประพันธหรือฉันทลักษณ การออกเสยี งอานและพูดตามวธิ คี าํ สมาส การออกเสียงอานและพูดช่ือเฉพาะตามความตอ งการของ เจา ของ เปน ตน 12.3 ศลิ ปะการนําเสนอขอ มูลขา วสารของผปู ระกาศและผูด ําเนนิ รายการ โดยวิธีการอานทางสือ่ วิทยุและสื่อโทรทัศน สรุปไดดังนี้ คือ เปนการอานออกเสียงท่ีผู ประกาศและผดู ําเนนิ รายการตองใชทั้งศาสตรและศลิ ป โดยตอ งเรยี นรูวธิ ีการอานออกเสียงใหถูกตอง ตามหลักเกณฑของภาษาและรูจักใชศิลปะลีลาการอานใหสอดคลอง เหมาะสมกับขอมูลขาวสารท่ี อาน ซ่ึงสวนใหญจะเปนการอานขาว บทความหรือสารคดี โดย ภิญโญ ชางสาน (2542) ไดเสนอ หลกั การสาํ คญั ท่เี ปน ศิลปะการนาํ เสนอ ดงั นี้ 167

1. อานออกเสียงใหน าฟง ควรดาํ เนนิ การดังน้ี 1.1 เมอื่ ไดบ ทมาแลว ตองอานในใจเพื่อศึกษาใหเ ขาใจอยา งชดั เจนทัง้ สาระสาํ คัญ และอารมณข องบทท่จี ะอา น 1.2 ทําเครอ่ื งหมายลงในบทท่จี ะอานวา ตอนใดควรหยดุ คําใดควรเนน และคาํ ใด ควรทอดจังหวะ การทําเครอื่ งหมายในบทไมม ีกฎเกณฑตายตัวแตโ ดยทั่วไปนยิ มทําเคร่ืองหมายงา ยๆ ดงั นี้ -เครือ่ งหมายขดี เฉยี งขีดเดยี ว (/) ขีดระหวางคําแสดงการหยุดเวนนิดหนงึ่ เพราะมีคาํ หรอื ขอ ความอนื่ ตอไปอกี การอานตรงคําท่ีมีเคร่อื งหมายนจี้ ึงไมค วรลงเสียงหนกั เพราะ ยงั ไมจ บประโยค -เครือ่ งหมายขดี เฉยี งสองขดี (//) ขีดหลงั ประโยคหรือระหวางคาํ เพอื่ แสดง ใหรูวา ใหห ยดุ เวนนานหนอ ย -เครื่องหมายวงกลมลอมคาํ ท่ีสงสัย หรือไมแ นใจวา อา นวาอยา งไร -คําที่ตองการเนนใหขดี เสนใตท ี่คาํ นั้น -คําใดท่ที อดจงั หวะใหเ สน โคงท่สี ว นบนของคํานนั้ (...) -เครื่องหมายมุมควํ่าหรือหมวกเจก ควํ่า () แสดงวาขอความนั้นจะเนน เสยี งข้ึนสงู และมมุ หงายหรือหมวกเจกหงาย () แสดงการเนน เสียงลงต่ํา (นภาภรณ อัจฉรยิ ะกุล 2532) 1.3 ฝก ซอ มวาออกเสยี งตามจงั หวะ ลีลา ซงึ่ ไดพ จิ ารณาใหสอดคลองเหมาะสม กับเน้อื หา และไดท ําเคร่ืองหมายเปน สญั ลักษณไ วแลว คําใดหรอื ตอนใดออกเสยี งแลวไมเหมาะสม ก็ แกไขปรับปรุงเสียใหมใหเ หมาะสมและนาฟงย่ิงข้ึน 1.4 อา นใหเปน เสยี งพูดที่มชี ีวิตชีวา อยาอา นแบบทองจาํ หรืออานแบบอา น หนงั สอื โดยท่ัวไป คาํ ขน้ึ ตน ในการอา นควรอา นใหดังและชากวา ปกติเล็กนอย เพ่ือใหผ ฟู ง หันมาสนใจ แลว จงึ ผอนเสยี งลงปกติตามจังหวะลลี าทเ่ี หมาะสม 1.5 อานใหสมั พนั ธกับรูปแบบบทรายการน้ัน ๆ เชน การอา นบทความ หรือสาร คดีตองมีจังหวะลีลาการเนนคํา มากกวาการอานขาว การอานขาวตองอานใหเร็วกวาการอาน บทความ หรอื สารคดี เปนตน 2. การออกเสียงใหถูตอง เปนสิ่งสําคัญมาก ท้ังนเี้ พราะผูประกาศและผูดําเนินรายการใน ฐานะเปนสอ่ื มวลชลมีอิทธิพลตอผูฟงผูชมเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะกับเยาวชนของชาตทิ ี่มักจดจํา ถอยคําจากสื่อวิทยุและสื่อโทรทัศนไปเปนแบบอยาง จึงตอ งตระหนักถึงความสําคญั ในการอานออก เสยี ง ใหถูกตอ งเปนพิเศษ จะตอ งคดิ อยูเสมอวา เราเปนครูภาษาไทยคนหน่งึ 168

3. อา นออกเสยี งใหช ดั เจน ตองออกเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต ใหถกู ตองและ ชัดเจนทุกหนวยเสยี ง หนว ยเสยี งใดมีปญ หาจะตอ งฝก ฝนเปน พิเศษ เชน เสยี ง ร ล และเสียง พยัญชนะควบกล้ํา เพราะถา อานออกเสียงไมช ัดเจน จะทาํ ใหความหมายผิดเพี้ยนไป เชน -แมใหม รดกเขา 1 ราน อานผดิ เปน แมใ หม รดกเขา 1 ลา น -มยรุ เี ปน คนรกั ของเธอ อานผิดเปน มยุรีเปนคนลักของเธอ -ฝนตกเปน คร้งั คราว อา นผดิ เปน ฝนตกเปน คา งคาว 4. อานใหคลองแคลว ทงั้ การอานขาว บทความ สารคดี หรอื สปอตโฆษณา จะตองอานให คลองแคลว โดยควรปฏบิ ตั ิดังนี้ 4.1 ศึกษาเนือ้ หาทจี่ ะอา นลวงหนา เพ่ือใหเขาใจสาระสาํ คญั และอารมณข องเร่ืองท่ี จะอา น 4.2 ตรวจสอบคาํ ยากและความถูกตองของเนื้อหาทจ่ี ะอา น เมอ่ื พบคําที่ไมแ นใจ วาจะอานออกเสยี งอยางไร จะตองตรวจสอบจากพจนานุกรม หรอื สอบถามจากผรู ู และควรขีดเสน ใตคาํ นั้นไวดว ยเพ่อื จะไดร ะมัดระวงั เมื่ออานไปถึง 4.3 ทําเครื่องหมายแบงจังหวะในการอานใหถูกตองและเหมาะสม 4.4 ตอ งซอมอา นออกเสียงกอนอา นจริงทุกคร้ัง 4.5 ตอ งมเี วลานั่งพักผอนอยางเพยี งพอกอ นการอา นจรงิ ไมอานขณะท่ีกาํ ลงั เหนอื่ ย หรือปว ย 4.6 พยายามใชช วงสายตาใหกวาง ฝก เคล่ือนไหวสายตาใหวองไว สมํ่าเสมอและ เปล่ียนบรรทัดไดอยางถูกตองแมนยํา ไมมีการยอนกลบั ศิลปะการนาํ เสนอขอ มลู ขา วสารของผปู ระกาศและผูด าํ เนนิ รายการ โดยวิธกี ารพูดทางสือ่ วิทยแุ ละส่ือโทรทัศนด วยการใชเ สียงและนาํ้ เสียงนน้ั มคี วามสาํ คัญเปน อยา งยิ่งในการประกาศหรอื ดําเนนิ รายการ ดังน้นั การฝกฝนศิลปะการพดู เพอ่ื ใหส ามารถใชเ สยี งและ น้าํ เสยี งที่มีคณุ ภาพจงึ เปนส่งิ สําคญั โดยมรี ายละเอียดดังนี้ 1) พดู ใหเ ตม็ เสียง จะชวยใหหายประหมา เพม่ิ ความสนใจแกผ ฟู ง พูดใหเ ตม็ เสยี งในทีน่ ไี้ มใช การตะเบ็งเสียง 2) พยายามเปลยี่ นเสยี งใหม ีท้ังดงั ปานกลางและเบา ใหสอดคลองกับเหตกุ ารณ เพื่อให คําพูดมีชวี ติ ชีวา โดย - เสยี งดงั เพอื่ เนน ความสําคัญของสงิ่ ท่ีพูด - เสียงปานกลาง เพ่ือเลาเหตุการณทั่วๆ ไป - เสียงเบา เพอ่ื สิง่ ที่ไมสาํ คญั หรอื โศกเศรา 169

3) พูดใหเ ปนจังหวะ ไมช า ไมเรว็ เกินไป ทั้งนห้ี ากพดู เร็วเกินไป คนฟงอาจตามไมท ัน แตหาก พดู ชาอาจจะทําใหผูฟง เกิดความเบื่อหนายได 4) พดู สอดแทรกอารมณลงในนํา้ เสยี ง ทั้งนีเ้ พราะนํา้ เสยี งและหางเสียงสามารถทาํ ให ความหมายแตกตางกันออกไป เชน เปนอะไรไป (เหรอ) นํา้ เสยี งแสดงคาํ ถาม เปนอะไรไป (นะ) นาํ้ เสยี งแสดงราํ พึง ราํ พัน เปน อะไรไป (อีกละ ) นา้ํ เสียงแสดงความไมพ อใจ 5) พยายามอยาใหมีเสยี ง เออ..อา .. เพราะเปน คําที่ไมมีความหมายและยงั แสดงถึงความไม พรอ มหรือประหมาอีกดว ย นอกจากนน้ั คาํ วา “ครับ คะ นะครับ นะคะ” ถาพดู บอยเกนิ ไปกจ็ ะทาํ ให เกิดความราํ คาญได 6) เมือ่ จะใชเ สยี งตองมีความพรอมทั้งกาย ใจ เชน ไมห ิว ไมเหนอ่ื ย ไมงว ง เพราะมิเชน นน้ั นาํ้ เสยี งที่เปลง ออกมาจะไมมพี ลงั แตจะแสดงความเหน่ือยลา ออ นแรงออกมาทางนํ้าเสยี ง 7) ใหฝกยมิ้ ขณะพูด รวมทั้งการรจู กั ใชถ อ ยคาํ สวสั ดี ทกั ทายผฟู ง ผูชม การกลาวคําขอบคุณ ขอโทษ กลา วลาที่ฟง เปน ธรรมชาติ 8) ใหคิดวา กําลังพูดอยกู ับคนที่เรารักเพยี ง 1 คน 9) ใชภาษาที่ฟงเขา ใจงา ย ไมพดู ซบั ซอน วกวน 10) คําพูดที่ใชต องสุภาพ ไมห ยาบคายลามก ไมใชคาํ ผวน คาํ สองแงสองมุม 11) พูดดวยเสียงธรรมชาตขิ องตนเอง 12) พูดเปน กันเองกับผฟู งผูชม 13) พูดใหถ ูกตอ งตามอักขระวธิ ี ระวังการออกเสียง ร, ล ตวั ควบกลํา้ 14) ศกึ ษาคําเฉพาะและใชใหถูกตอง 15) หลกี เลย่ี งศพั ทเทคนคิ วชิ าการ ภาษาตางประเทศที่เขา ใจยาก 16) อยาพูดทีเลนทจี ริงกบั เร่ืองสาํ คัญหรือนําเรื่องสําคญั ไปใหพ ดู ตลก 17) อยา นาํ เรือ่ งสวนตวั มาพดู เกินไป 18) อยา พูดนอกเรื่อง นอกประเดน็ 19) อยาใหมีจดุ บอดหรอื ความเงยี บขณะออกอากาศ 20) ควรเขียนหัวขอ สาํ คญั ท่ีจะพดู ไว เพ่ือกันลืมหรือพูดวกวน 21) การพูดทุกๆ ครั้ง จะตองแสดงความหมายในแงเ ดยี ว ไมมีการขัดแยง กนั เองหรอื ลังเลใจ 22) หากจัดรายการสองคนข้ึนไป อยาแยงกันพูดในเวลาเดียวกนั 23) อยานําภาษาแสลงหรือภาษาของคนกลมุ ใดกลุมหนงึ่ มาพดู ออกอากาศ 170

24) คาํ นงึ ถึงวัตถุประสงคข องการออกอากาศ โดยเฉพาะความม่ันคงปลอดภยั ของประเทศ วฒั นธรรมประเพณีอันดีงามของสังคมไทย 25) ขณะพดู ใหมีอารมณแจมใสอยูเสมอ นอกจากน้นั ผปู ระกาศและผูดําเนินรายการยังตองคํานึงถึงการดูแลรกั ษาเสียงของตนใหด ีอีก ดวย ดังนี้ 1) การใชนํ้าเสียง เสียงของผูประกาศและผูดําเนนิ รายการที่ดีไมไดห มายความวา จะตอ งมเี สยี งหวาน กงั วาน เหมอื นสยี งของนักรอ ง แตตองเปน เสยี งซึง่ เปลง ออกมาตามธรรมชาติ มคี วามรสู ึกจริงใจ เตม็ ไปดว ย พลัง มชี ีวิตชวี า พดู ตามอารมณความรสู ึกของเร่ืองทพ่ี ูดน้ันๆ โดยน้าํ เสยี งที่ดคี วรมลี กั ษณะดงั น้ี 1.1 เสียงดังพอท่ีผูฟงซ่งึ อยูไกลสดุ จะไดย ินชดั เจน ผปู ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการ ควรพยายามสังเกตปฏิกริ ิยาตอบสนองของผูฟงซึ่งอยไู กลทสี่ ุด หากพบวาผูฟ ง เหลา นั้นขาดความสนใจ หรือจาํ เปน ตองเง่ยี หฟู ง เปน ไปไดวา ผปู ระกาศและผดู ําเนนิ รายการพูดเบาไป ควรเปลง เสียงใหด งั ขึน้ 1.2 เสียงดงั ชัดเจนพอทผ่ี ฟู ง จะเขาใจไดตลอด โดยเฉพาะคําที่ยากตอการเปลงเสียง เชน คาํ ควบกล้าํ ตวั ร – ล เปน ตน ควรใชภาษาทีง่ า ยตอการเขาใจเหมาะสําหรบั ผูฟง 1.3 ชาหรือเรว็ พอทจ่ี ะทําใหผฟู งไมเบื่อหนาย หากผูประกาศและผดู าํ เนินรายการ จาํ เปน ตอ งพดู ชา เพราะพูดไปคดิ ไป จงพยายามเตรยี ม และฝก ซอมเรื่องท่ีพดู ใหมากข้ึน หรือหาก พบวาตนพดู เรว็ เกนิ ไป ควรสงบใจใหเยือกเยน็ ลง พยายามเพ่มิ นาํ้ หนักเนนคําพูด จะทาํ ใหลดอตั รา ความเร็วของการเปลง เสียงได 1.4 จงั หวะจะโคนดี ไมติดขัดอึกอัก เอออา จนทาํ ใหผ ฟู ง รําคาญ บางครัง้ คาํ “อา” อาจทาํ ใหประโยคท่พี ูดเสยี ความหมายไปเลยกไ็ ด อาทิ “ผูชายหนาตาคมเขมระดบั พระเอกหนงั …. เออ ………ไดข ับรถไป…..เออ………พบกับคนรักของเขาทก่ี ําลัง…..อา……รอเขาอยู” ถาเปน เชนนี้จะทํา ใหความหมายของประโยคผิดเพ้ยี นอยา งนาเขินอาย อีกประเด็นหนึง่ คือ อยา พูดรวั จนผูฟง รสู กึ เหน่อื ยแทน ตองมกี ารเวน วรรคตอน ใหจ ังหวะการพูดพอดีและพูดใหชดั เจน 1.5 มรี ะดบั เสียงตา งๆ กนั เสียงซึ่งทาํ ใหผ ูฟ ง เบ่อื หนา ยเปน เสยี งราบเรียบในระดับ เดยี วตลอดการพูด การพูดจรงิ ใจจะออกมาในรปู ของการเนน หนัก – เบา เสียงสูง – เสียงต่ํา การ เปล่ยี นระดับนาํ้ เสยี งใหเ หมาะสมในขณะพูด จะชวยใหการพูดเปน ท่นี า สนใจ มรี สชาติ และนํ้าหนกั ตอ ความรูสึกของผฟู ง 1.6 มคี วามรูสึกเปน ธรรมชาติ อารมณค วามรสู กึ ของผปู ระกาศและผูด าํ เนนิ รายการ ทจี่ รงิ ใจและเปนธรรมชาติ ตามปกตแิ ลวจะมอี ิทธิพลตอความรสู กึ ของผฟู งเปนอยา งยิง่ อยางไรก็ตาม ไมควรสอดแทรกอารมณค วามรูสกึ ลงไปในน้ําเสยี งดวยการเสแสรงแกลงดดั เพราะผูฟง จะจับไดทันที วาผปู ระกาศและผูดาํ เนนิ รายการไมม คี วามจริงใจ 171

ขอบกพรอ งทวั่ ไปของการใชน ้าํ เสยี ง 1) เสยี งเบาเกินไป 2) พดู ชา หรือเร็วเกนิ ไป 3) พดู ตะกุกตะกกั เดยี๋ วเออเดีย๋ วอา ผูฟง จะรําคาญ 4) พูดดว ยทว งทํานองเหมอื นอานหนังสอื หรอื ทองจาํ จะทาํ ใหฟง แลวงวงนอน 5) พูดราบเรียบระดับเสยี งเดยี วกนั ตง้ั แตตน จนจบ ทาํ ใหไม นา สนใจฟง 2) การใชส ายตาและทา ทาง การใชส ายตาและทา ทางประกอบการพดู เปนส่ือทสี ําคัญที่จะชวยถายทอดความรสู กึ นกึ คิด จากผปู ระกาศและผดู าํ เนินรายการไปยังผูฟงไดอยางดที ี่สดุ สามารถทาํ ใหผูฟง เขาใจเร่ืองราวชัดเจน และดึงดดู ความสนใจของผฟู งไดม ากขึ้น ในขณะเดยี วกนั กเ็ ปน การสรา งบคุ ลิกภาพของผูประกาศและ ผดู ําเนนิ รายการใหเดน กวา ผูอ่ืนอยา งเห็นไดช ดั โดยขอแนะนาํ การใชส ายตาและทา ทาง มดี งั น้ี 2.1 การสบสายตา สิ่งที่ถายทอดความรสู ึกนา้ํ ใสใจจรงิ ของผูประกาศและผดู ําเนิน รายการไปสูผูฟ งไดด ที ่สี ดุ คือ ดวงตาของผูประกาศและผดู าํ เนนิ รายการทส่ี ามารถสอ่ื ความรูสกึ นึกคิด โดยอาศยั ความจริงใจทถ่ี ายทอดออกมาทางดวงตา จําทําใหผฟู งมคี วามเช่ือถือ สนใจทีจ่ ะติดตามการ พูดโดยตลอด การพูดพรอมกับการมองผฟู งใหท่ัวถงึ เปน การแสดงใหเห็นวา ผปู ระกาศและผูดําเนิน รายการมคี วามจริงใจแลวยังแสดงวา มคี วามสนใจและไมท อดทิ้งผฟู ง อกี ดว ย 2.2 การใชท าทางประกอบการพดู หมายถงึ สีหนา การวางทา อากัปกิรยิ าและการ ใชม อื ท้งั นี้ อาจแสดงดวยมอื เปลา หรอื มีอปุ กรณประกอบดวยกไ็ ด -สหี นา ตามปกติผูประกาศและผูดําเนนิ รายการทม่ี สี ีหนาย้ิมแยม แจม ใส ยอมไดเ ปรียบเสมอ เปนเสนหด ึงดูดใจของผฟู งต้งั แตแรกเสมอ แตในบางครงั้ ผปู ระกาศและผูดําเนนิ รายการตอ งเปลยี่ นความรูสึกใหเปนไปตามสาระของการพูดดว ย บางครงั้ ตอ งมีความจรงิ จงั บางครั้งมี ความราเริงยินดี บางครง้ั มคี วามโศกเศรารนั ทด หรือบางคร้ังมคี วามไมพงึ พอใจ เปนตน ท้งั น้ี ขอใหยดึ หลักของความเปนธรรมชาติ อยาพยายามแสรงตีสีหนา จะทําใหผฟู ง รูไดท ันทีวา ผปู ระกาศและผู ดําเนินรายการไมม คี วามจริงใจและจะขาดความเชื่อถือในทันที -การวางทา ทา ยืนทีด่ ที สี่ ุดการยืนตรงตามสบาย ไมต องเกรง็ ยืนใหเ ทาทั้ง สองหา งกันพอสมควร ทงิ้ นํ้าหนักตัวลงบนเทาทั้งสองขาง ปลอยมือทั้งสอบขางไวขางลําตัว ไมควรยนื พักเทาขางใดขางหนึ่งขณะพูด ไมควรเอามือไพลหลังหรือกุมไวขางหนาและไมควรเอามือยึดกับ ไมโครโฟนหรือทาวแทน พดู จนรา งโนมลง ทําใหข าดความสงาผาเผย -อากปั กริ ิยา การเคลอ่ื นไหวรา งกายเปน ธรรมชาตเิ ปนสิง่ ปกตขิ องผู 172

ประกาศและผูดําเนินรายการที่ดียอมมีอิสระในการเคล่ือนไหวสวนตางๆ ของรางกายไปตามอารมณ ความรูสึกโดยธรรมชาติได การเอียงคอ เอียงตัว การพยักหนา การสายศีรษะ การกมศีรษะ ยกั ไหล การเดนิ ฯลฯ โดยเฉพาะการเดิน การเดินเมื่อจําเปน ขอสําคัญ อยาพยายามหันหลงั ใหผูฟง เหลาน้ี ลวนเปนอากัปกิริยาซ่ึงผูประกาศและผูดําเนินรายการกระทําได แมไมมีความหมายใดๆ เพราะเปน การชว ยใหการพูดดูเปน ธรรมชาติขึน้ อยางไรกต็ ามอากัปกิริยาบางอยางควรละเวน กลาวคือ การลวง แคะ แกะ เกา หาว โยก คอ น กะพรบิ เปน ตน ซงึ่ เปน อาการที่ไมนาดู -การใชม ือ โดยปกตกิ ารปรากฏตวั ตอ ที่ชมุ นมุ ชน ควรฝกปลอ ยมอื อยขู า ง ลําตัว ผูประกาศและผูดําเนินรายการท่ีมีประสบการณมักสามารถใชมือเปนประโยชนตอการพูดได เปนอยางดี โดยอาจใชมือประกอบในการขยายความ เชน การบอกถึงทิศทาง จํานวน ขนาด รูปราง เปนตน บางคร้ังผูประกาศและผูดําเนินรายการอาจไมตองการขยายความ แตเพื่อเปนการแสดง อารมณ ความรูสึก หรือความหนักแนนของคําพูด นอกจากน้ีการใชอุปกรณประกอบการพูด เชน แผนภูมิ รปู ภาพ สิ่งของ ฯลฯ ควรมขี นาดใหญ หรือชัดเจนพอทท่ี กุ คนจะเหน็ ไดท ่ัวถึง ขอ ควรระวงั ในการใชน า้ํ เสียง สายตาและทาทาง การใชนา้ํ เสยี ง ตองพยายามใชเสียงทเี่ ปนตวั ของตัวเอง อยาเลียนเสียง และลีลาของใคร พยายามพูดใหเปนธรรมชาติ แตต องพดู ดังกวา เดมิ เพราะมีผฟู ง จํานวนมาก การใชสายตาใหท่ัวถึง อยา มองจุดใดจดุ หน่ึงเพยี งจุดเดยี ว หรือมองท่อี น่ื แทนทจ่ี ะมองผูฟง และอยาสวมแวน ตาดาํ เพ่ือปกปดตาของตนเอง เพราะเปนการไมจ รงิ ใจตอผูฟ ง ทาทางประกอบการพูด พึงเขาใจวาทกุ คนไมจําเปน ตอ งทาํ ทาแบบเดยี วกนั อยาพยายาม ทาํ ลายบุคลิกของตนเอง ดว ยการเลยี นแบบทาทางผอู น่ื ควรพูดดว ยความรสู ึกทจี่ ริงใจ พยายามเปน กนั เองกบั ผูฟ ง และรักษาลลี าทเ่ี ปนธรรมชาติใหม ากที่สุด 12.4 วธิ ีการสมั ภาษณ การจับประเดน็ และการสรุปปด ทาย เนอ่ื งจากผูประกาศและผูดาํ เนนิ รายการไมใชแ คอานขอมลู ขาวสารตามบทเทานนั้ แต บอ ยครงั้ ท่จี ะตองสมั ภาษณแ หลง ขาวสดๆ ดว ย ดังน้นั จึงตอ งรจู กั วิธกี ารสมั ภาษณเ พ่ือใหไดข อมูล ขอ เท็จจรงิ เพมิ่ เตมิ จากบทที่อานไป โดยมีขอ ควรระวงั และขอควรฝก ฝนดงั นี้ (สายสวรรค ขยันยิ่ง 2553) 173


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook