Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรศิลปะ2562

หลักสูตรศิลปะ2562

Published by krumaliwan, 2019-05-14 23:05:50

Description: หลักสูตรศิลปะ2562

Keywords: ART

Search

Read the Text Version

๑. ทาไมต้องเรยี นศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ช่ืนชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนาไปสู่การพัฒนาส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเช่ือม่ันในตนเอง อันเป็นพ้ืนฐาน ในการศกึ ษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ เรยี นรูอ้ ะไรในศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสาคญั คอื  ทศั นศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมท้ังสามารถใช้เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างทศั นศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเป็นมรดก ทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่นิ ภูมิปัญญาไทยและสากล ชนื่ ชม ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั  ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรีกบั ประเพณวี ฒั นธรรม และเหตกุ ารณ์ในประวัติศาสตร์  นาฏศลิ ป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์เบ้ืองต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศลิ ป์ทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล

๒. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่าง อสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่า งานทศั นศลิ ป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรมภูมิปัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ ดนตรีที่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คณุ ค่า นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า ของนาฏศิลป์ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

๓. คุณภาพผู้เรียน จบช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓  รู้และเข้าใจเร่ืองทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการ สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อสื่อความหมายและเร่ืองราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์รูปแบบเนื้อหาและประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อ่ืน สามารถเลือกงาน ทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดข้ึนอย่างเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิก ในการนาเสนอข้อมูลและมคี วามรู้ ทกั ษะท่ีจาเปน็ ดา้ นอาชีพทเี่ ก่ียวข้องกนั กบั งานทัศนศิลป์  รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น แต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ ท่มี าจากยคุ สมัยและวัฒนธรรมตา่ ง ๆ  รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง บรรเลงเคร่ืองดนตรี ท้ังเดี่ยวและเป็นวงโดยเน้น เทคนิคการร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงท่ีมีเคร่ืองหมาย แปลงเสียงเบ้ืองต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อรูปแบบของผลงาน ทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้านดนตรกี บั ศิลปะแขนงอ่นื แสดงความคดิ เห็นและบรรยายอารมณ์ ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ช่ืนชอบได้อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมิน คุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรี ในธรุ กจิ บันเทิง เข้าใจถงึ อทิ ธพิ ลของดนตรีทม่ี ีต่อบุคคลและสงั คม  ร้แู ละเขา้ ใจทีม่ า ความสมั พนั ธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแต่ละวัฒนธรรมในยุคสมัยต่าง ๆ วเิ คราะห์ปจั จยั ทที่ าให้งานดนตรไี ดร้ บั การยอมรับ  รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแปลความและส่ือสาร ผ่านการแสดง รวมท้ังพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพ การแสดง วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรู้เร่ืององค์ประกอบทางนาฏศิลป์ รว่ มจดั การแสดง นาแนวคิดของการแสดงไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั  รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพ้ืนบ้าน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ ของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมท้ังสามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์และละคร มีความเข้าใจ ความสาคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละครในชีวิตประจาวนั

๔. จบช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖  รู้และเข้าใจเก่ียวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการส่ือความหมาย สามารถใช้ศัพท์ ทางทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และเน้ือหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการท่ีสูงข้ึนในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เน้ือหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศลิ ปินทงั้ ไทยและสากล ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์ งานที่เหมาะสมกับโอกาส สถานท่ี รวมท้ังแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพสังคมด้วยภาพล้อเลียนหรือ การ์ตูน ตลอดจนประเมินและวจิ ารณค์ ุณค่างานทัศนศลิ ปด์ ้วยหลกั ทฤษฎวี ิจารณ์ศลิ ปะ  วิเคราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพลของมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาระหว่างประเทศท่ีมีผลต่อการสร้างสรรค์ งานทัศนศลิ ป์ในสงั คม  รู้และเข้าใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท และจาแนกรูปแบบ ของวงดนตรีทัง้ ไทยและสากล เข้าใจอทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมตอ่ การสรา้ งสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์ และความรสู้ ึกที่ได้รับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตา่ งกนั อา่ น เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตรา จังหวะตา่ ง ๆ มที กั ษะในการรอ้ งเพลงหรอื เลน่ ดนตรเี ด่ียวและรวมวงโดยเนน้ เทคนคิ การ แสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์ การเลน่ ดนตรขี องตนเองและผู้อน่ื ไดอ้ ย่างเหมาะสม สามารถนาดนตรไี ประยุกต์ใชใ้ นงานอน่ื ๆ  วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของดนตรีที่สะท้อนแนวความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนกั ดนตรีในวัฒนธรรมตา่ ง ๆ สร้างแนวทางและมีส่วนร่วมในการสง่ เสริมและอนรุ กั ษ์ดนตรี  มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และเป็นหมู่ สรา้ งสรรค์ละครส้ันในรูปแบบที่ช่ืนชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และ ละครที่ต้องการส่ือความหมายในการแสดง อิทธิพลของเคร่ืองแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานท่ีท่ีมีผลต่อการแสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมิน ในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทางการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวัน และ นามาประยกุ ต์ใช้ในการแสดง  เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสาคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ สามารถเปรียบเทียบ การนาการแสดงไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย

๕. สาระของหลกั สูตร กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ สาระทเ่ี ป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระศิลปะ ประกอบดว้ ย สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป์ สาระที่ ๒ ดนตรี สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ โครงสรา้ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ กลมุ่ สาระศลิ ปะ รายวิชาพืน้ ฐาน จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หน่วยกติ ศ ๒๑๑๐๑ ศิลปะ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๑๑๐๒ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๒๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๒๑๐๒ ศิลปะ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๓๑๐๑ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๓๑๐๒ ศลิ ปะ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หนว่ ยกติ รายวิชาเพ่มิ เติม จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๐๒๐๑ การปฏิบัตเิ ครื่องเป่า๑ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หนว่ ยกิต ศ ๒๐๒๐๒ การปฏบิ ตั ิเคร่ืองเปา่ ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หนว่ ยกิต ศ ๒๐๒๐๓ นาฏศิลปพ์ ้ืนบ้าน ๑ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หนว่ ยกิต ศ ๒๐๒๐๔ นาฏศิลปพ์ ้ืนบ้าน ๒ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๐๒๐๕ วาดภาพทวิ ทศั น์ ๑ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หนว่ ยกติ ศ ๒๐๒๐๖ วาดภาพทิวทัศน์ ๒ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑ หนว่ ยกิต ศ ๒๐๒๐๗ นาฏศลิ ป์ไทย ๑ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต ศ ๒๐๒๐๘ นาฏศลิ ป์ไทย ๒ จานวน ๔๐ ชวั่ โมง ๑ หน่วยกิต ศ ๒๐๒๐๙ วาดภาพแสงเงา ๑ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกติ ศ ๒๐๒๑๐ วาดภาพแสงเงา ๒ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑ หน่วยกิต ศ ๒๐๒๑๑ ดนตรีสากล ๑ ศ ๒๐๒๑๒ ดนตรสี ากล ๒

ศ ๒๑๑๐๑ วิชาศลิ ปะ ๖. ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ คาอธิบายรายวิชา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์และส่ิงแวดล้อม หลักการ ออกแบบงานทัศนศิลป์โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล หลักการวาดภาพ แสดงทัศนียภาพ การรวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว ๓ มิติ การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรืองานกราฟิกในการนาเสนอความคิดและข้อมูล การประเมินงานทัศนศิลป์ ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถ่ินภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรมไทยและสากล โดยใช้ทักษะการสร้างสรรค์งานทัศนศลิ ปต์ ามจิตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์วิเคราะห์วิ พากย์ วจิ ารณค์ ุณค่างานทศั นศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึกความคิดต่องานศิลปะ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล มคี วามคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืนชม เห็นคุณค่าและประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวัน รหัสตวั ชวี้ ดั ศ ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ศ ๑.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๓ รวมทั้งหมด ๙ ตัวชี้วัด

๗. โครงสร้างรายวิชา รายวชิ า ศ ๒๑๑๐๑ วชิ าศิลปะ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ชว่ั โมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต หนว่ ยท่ี/ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั สาระสาคัญ จานวน น้าหนกั ชอ่ื หน่วย เวลา คะแนน (ช่ัวโมง) ๑ ศ ๑.๑ ม.๑/๑ บรรยายความแตกตา่ งและ -ความแตกต่างและความ ๒๑ ๔๐ ทศั นศลิ ป์ ความคลา้ ยคลงึ กันของงานทัศนศิลป์ และ คล้ายคลึงกนั ของงานทัศนศลิ ป์ ๑๒ ๒๐ สร้างสรรค์ สง่ิ แวดลอ้ มโดยใชค้ วามรเู้ ร่ืองทัศนธาตุ และส่ิงแวดล้อมโดยใช้ความรู้เร่ือง ๕ ๒๐ ศ ๑.๑ ม.๑/๒ ระบุ และบรรยายหลักการ ทัศนธาตุ ๒ ๒๐ ๔๐ ๑๐๐ ออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเปน็ -หลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ เอกภาพความกลมกลนื และความสมดลุ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความ ศ ๑.๑ ม.๑/๓ วาดภาพทศั นียภาพแสดง กลมกลนื และความสมดลุ ให้เหน็ ระยะไกลใกล้ เปน็ ๓ มิติ -การวาดภาพทัศนียภาพแสดง ศ ๑.๑ ม.๑/๔รวบรวมงานปั้นหรือส่อื ผสม ให้เหน็ ระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มาสร้างเปน็ เรื่องราว ๓ มติ โิ ดยเน้นความเป็น มติ ิ และการส่ือถงึ เร่ืองราวของงาน -การสรา้ งเปน็ เร่ืองราว ๓ มิตโิ ดย การรวบรวมงานป้นั หรือสือ่ ผสม ๒ ศ ๑.๑ ม.๑/๕ ออกแบบรูปภาพ -การออกแบบรปู ภาพ รงั สรรค์ สัญลักษณ์ หรือกราฟกิ อื่น ๆ ในการ สัญลักษณ์ หรอื กราฟิกอนื่ ๆ ใน งาน นาเสนอความคดิ และข้อมูล การนาเสนอความคดิ และข้อมูล ออกแบบ ศ ๑.๑ ม.๑/๖ประเมินงานทัศนศิลป์ และ -ประเมินงานทัศนศิลป์ และ บรรยายถึงวธิ ีการปรับปรงุ งานของตนเอง บรรยายถงึ วิธกี ารปรับปรุงงาน และผู้อนื่ โดยใช้เกณฑ์ทก่ี าหนดให้ ของตนเองและผู้อน่ื โดยใช้ เกณฑ์ท่ีกาหนดให้ ๓ ศ ๑.๒ ม.๑/๑ ระบุ และบรรยายเกีย่ วกับ -ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศลิ ป์ เรียนรู้ ลกั ษณะ รูปแบบงานทศั นศิลป์ของชาติและ ของชาติและของท้องถ่ินตนเอง ประวัติ ของท้องถนิ่ ตนเองจากอดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน จากอดตี จนถึงปจั จบุ ัน ศาสตร์ ศ ๑.๒ ม.๑/๒ ระบุ และเปรียบเทียบงาน -งานทศั นศลิ ป์ของภาคต่าง ๆ ศิลป์ ทัศนศิลป์ของภาคตา่ ง ๆ ในประเทศไทย ในประเทศไทย ศ ๑.๒ ม.๑/๓เปรียบเทยี บความแตกตา่ ง -งานทศั นศิลป์ในวัฒนธรรมไทย ของจดุ ประสงค์ในการสร้างสรรค์งาน และสากล ทศั นศิลป์ของวฒั นธรรมไทยและสากล ทกุ ตวั ชี้วดั วดั ผลประเมนิ ผลการเรียนรู้ รวมเวลาเรยี น

๘. การวิเคราะห์เพอ่ื จดั ทาคาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ สาระท่ี ๑ : ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ที่ ศ ๑.๑ ศ ๑.๒ ตัวช้ีวดั การ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/ทอ้ งถิ่น เรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะ หนว่ ยที่ ๑ กระบวนการ ทัศนศิลป์ ๑. บรรยายความแตกตา่ งและความ สรา้ งสรรค์ คล้ายคลึงกันของงานทัศนศลิ ป์และ ๑.วาดภาพ (๓) มีวนิ ยั ศ ๑.๑ ม.๑/๑ สิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ ศ ๑.๑ ม.๑/๒ ๒.ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบงาน ทศั นียภาพแสดงให้ (๔) ใฝเ่ รียนใฝ่รู้ ศ ๑.๑ ม.๑/๓ ทศั นศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความ ศ ๑.๑ ม.๑/๔ กลมกลนื และความสมดลุ เหน็ ระยะไกลใกล้ (๕)อยู่อยา่ งพอเพียง ๓.วเิ คราะห์หลกั การวาดภาพทศั นียภาพ หนว่ ยท่ี ๒ ๔.อธบิ ายวธิ ีสร้างเรื่องราว ๓ มิติ จากการ เป็น ๓ มิติ (๖) มุ่งมั่นในการทางาน รังสรรค์ รวบรวมงานป้ันหรอื สื่อผสม งานออกแบบ ๑.วเิ คราะหห์ ลักการออกแบบรปู ภาพ ๒.สรา้ งเรอ่ื งราว ๓ (๗) รักความเปน็ ไทย ศ ๑.๑ ม.๑/๕ สญั ลกั ษณ์ และกราฟิกอน่ื ๆ ในการ ศ ๑.๑ ม.๑/๖ นาเสนอความคดิ และข้อมลู มติ ิ จากการรวบรวม ๒.วเิ คราะห์หลักการประเมนิ งานทศั นศลิ ป์ ๓.บรรยายถึงวิธกี ารปรับปรุงงานของ งานปัน้ หรือส่อื ผสม ตนเองและผู้อื่นโดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดให้ ๑.ออกแบบรปู ภาพ (๒) ซื่อสตั ย์สจุ ริต สญั ลักษณ์ และ กราฟิกอืน่ ๆ ใน (๔) ใฝเ่ รียนใฝ่รู้ การนาเสนอ (๖) มุ่งม่ันในการทางาน ความคดิ และข้อมูล (๗) รักความเป็นไทย ๒.ประเมนิ งาน ทศั นศลิ ป์ หนว่ ยที่ ๓ ๑.ระบุ และบรรยายเกยี่ วกบั ลักษณะ รปู แบบ - (๖) มุง่ มน่ั ในการทางาน เรียนรู้ งานทศั นศลิ ป์ของชาตแิ ละของท้องถน่ิ (๗) รักความเปน็ ไทย ตนเองจากอดีตจนถงึ ปัจจุบนั (๘) มีจติ สาธารณะ ประวัตศิ าสตร์ ๒.ระบุ และเปรียบเทียบงานทัศนศลิ ปข์ อง ศิลป์ ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย ๓.เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของ ศ ๑.๒ ม.๑/๑ จดุ ประสงคใ์ นการสรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์ ศ ๑.๒ ม.๑/๒ ของวัฒนธรรมไทยและสากล ศ ๑.๒ ม.๑/๓

วิชา ศ ๒๑๑๐๒ รายวชิ าศิลปะ ๙. ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ คาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ เวลา ๔๐ชั่วโมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต โน้ตบทเพลงไทย อัตราจังหวะสองชั้น เสียงร้องและเสียงของเคร่ืองดนตรีในบทเพลงจาก วฒั นธรรมตา่ ง ๆ การรอ้ งและการบรรเลงเครอ่ื งดนตรีประกอบการร้อง วงดนตรีพ้ืนเมือง วงดนตรีไทย วงดนตรสี ากล การใช้และบารุงรักษาเคร่ืองดนตรี การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง จังหวะกับอารมณ์ เพลง ความดัง-เบากับอารมณ์เพลง ความแตกต่างของอารมณ์เพลง การนาเสนอบทเพลง การ ประเมนิ คุณภาพของบทเพลง บทบาทและอทิ ธิพลของดนตรีองค์ประกอบของดนตรีในแตล่ ะวัฒนธรรม การปฏิบัติของผู้แสดงและผู้ชม ประวัตินักแสดง การพัฒนารูปแบบของการแสดงอิทธิพลของ นักแสดงท่ีมีผลต่อพฤติกรรมของผู้ชม นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร ในการแสดงภาษาท่า และ การตีบทท่าทางเคล่ือนไหวที่แสดงสื่อทางอารมณ์ ระบาเบ็ดเตล็ด ราวงมาตรฐาน รูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ บทบาทและหนา้ ท่ีของฝ่ายต่างๆ ในการจดั การแสดงการสรา้ งสรรค์กจิ กรรมการแสดง หลักใน การชมการแสดงปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของนาฏศิลป์นาฏศิลป์พื้นบ้านละครไทย และละคร พนื้ บา้ น ประเภทของละครไทยในแตล่ ะยุคสมยั โดยใชท้ ักษะการสรา้ งสรรคง์ านดนตรีและนาฏศิลป์ ตามจิตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์วิพากย์ วิจารณค์ ณุ ค่างานดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดต่องานดนตรีและ นาฏศลิ ป์ เพือ่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีและนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล แสดงออกทางดนตรี และนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ช่ืนชม เหน็ คณุ คา่ และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน รหสั ตวั ชว้ี ดั ศ ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ศ ๒.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ศ ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ศ ๓.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ รวมทง้ั หมด ๑๘ ตัวช้ีวัด

๑๐. โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ า ศ ๒๑๑๐๒ วชิ าศิลปะ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ช่ัวโมง จานวน ๑ หน่วยกิต หน่วยท/ี่ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด สาระสาคญั จานวน น้าหนัก ชือ่ หน่วย เวลา คะแนน (ช่วั โมง) ๑ ศ ๒.๑ ม.๑/๑ อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย -โน้ตบทเพลงไทย อตั ราจังหวะ ๑๐ ๒๐ ดนตรี และโนต้ สากล สองชน้ั ๙ ๒๐ ไพเราะ ศ ๒.๑ ม.๑/๒เปรียบเทียบเสียงร้องและ -เสียงรอ้ งและเสียงของเครื่อง ๑ ๑๐ ๒๐ ๕๐ เสนาะ เ สี ย ง ข อ ง เ ค รื่ อ ง ด น ต รี ที่ ม า จ า ก ดนตรี ในบทเพลงจาก บรรเลง วัฒนธรรม ท่ีต่างกนั วัฒนธรรมตา่ ง ๆ ศ ๒.๑ ม.๑/๓ร้องเพลงและใช้เคร่ือง -การร้องและการบรรเลงเครื่อง ดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วย ดนตรีประกอบการร้อง บทเพลง ทห่ี ลากหลายรปู แบบ -วงดนตรพี นื้ เมือง ศ ๒.๑ ม.๑/๔จัดประเภทของวงดนตรี -วงดนตรไี ทย -วงดนตรสี ากล ไทยและวงดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ศ ๒.๑ ม.๑/๙ใช้และบารุงรักษาเคร่ือง -การใช้และบารุงรักษาเคร่ือง ดนตรี อยา่ งระมดั ระวังและรับผดิ ชอบ ดนตรีของตน ๒ ศ ๒.๑ ม.๑/๕แสดงความคิดเห็นที่มีต่อ -การถ่ายทอดอารมณ์ของบท คุณค่า อารมณ์ของบทเพลงท่ีมีความเร็วของ เพลง ดนตรี จงั หวะ และความดงั - เบา แตกตา่ งกัน กบั ชีวิต ศ ๒.๑ ม.๑/๖เปรียบเทียบอารมณ์ ๑)จงั หวะกับอารมณเ์ พลง ประจาวัน ความรสู้ ึกในการ ฟงั ดนตรีแต่ละประเภท ๒)ความดัง-เบากับอารมณ์ ศ ๒.๑ ม.๑/๗นาเสนอตวั อยา่ งเพลงท่ี เพลง ตนเองช่ืนชอบ และอภปิ รายลักษณะเด่นที่ ๓)ความแตกต่างของอารมณ์ ทาให้งานนน้ั นา่ ช่นื ชม เพลง ศ ๒.๑ ม.๑/๘ใช้เกณฑ์สาหรับประเมิน การนาเสนอบทเพลงทต่ี นสนใจ -การประเมนิ คณุ ภาพของบท คุณภาพ งานดนตรหี รอื เพลงท่ีฟงั ศ ๒.๒ ม.๑/๑ อธิบายบทบาท เพลง ความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อ -บทบาทและอทิ ธิพลของดนตรี สงั คมไทย -องคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ ศ ๒.๒ ม.๑/๒ ระบุความหลากหลายของ ละวฒั นธรรม องค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกนั ทกุ ตวั ช้วี ัด -วดั ผลประเมินผลการเรยี นรู้ รวมเวลาเรียน

๑๑. โครงสร้างรายวิชา รายวิชา ศ ๒๑๑๐๒ วิชาศิลปะ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต หน่วยท่/ี ชือ่ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั สาระสาคญั จานวน นา้ หนัก หน่วย เวลา คะแนน -การปฏบิ ัตขิ องผู้แสดงและผูช้ ม (ช่วั โมง) ๓.นาฏยลลี า ศ ๓.๑ม.๑/๑ อธิบายอทิ ธพิ ลของ -ประวัตนิ ักแสดงที่ชนื่ ชอบ ๒๕ นักแสดงชอ่ื ดงั ทม่ี ผี ลต่อการโน้มน้าว -การพฒั นารปู แบบของการ ๑๒ อารมณ์หรือความคดิ ของผูช้ ม แสดง ศ ๓.๑ม.๑/๒ใช้นาฏยศัพทห์ รอื ศัพท์ -อทิ ธิพลของนักแสดงที่มผี ลต่อ ทางการละครในการแสดง พฤติกรรมของผ้ชู ม ศ ๓.๑ม.๑/๓แสดงนาฏศิลปแ์ ละละคร -นาฏยศพั ทห์ รือศพั ท์ทางการ ในรูปแบบงา่ ย ๆ ละครในการแสดง -ภาษาทา่ และการตบี ท -ทา่ ทางเคล่ือนไหวท่ีแสดงสอ่ื ทางอารมณ์ -ระบาเบ็ดเตลด็ -ราวงมาตรฐาน -รปู แบบการแสดงนาฏศลิ ป์ ๔.เรียนรูส้ รา้ ง ศ ๓.๑ม.๑/๔ใชท้ ักษะการทางานเป็น -บทบาทและหน้าทีข่ องฝา่ ยต่าง ๗ ๑๕ สรค์นาฏศิลป์ กลุ่ม ในกระบวนการผลิตการแสดง ๆ ในการจดั การแสดง -การสร้างสรรค์กจิ กรรมการ ศ ๓.๑ม.๑/๕ใชเ้ กณฑ์งา่ ย ๆ ท่ี แสดงทีส่ นใจ โดยแบ่งฝ่ายและ กาหนดใหใ้ นการพจิ ารณาคุณภาพการ หน้าที่ใหช้ ัดเจน แสดงทช่ี มโดยเนน้ เร่ืองการใช้เสยี งการ -หลักในการชมการแสดง แสดงทา่ และการเคล่ือนไหว -ปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ การ ๓.๒ ม.๑/๑ ระบปุ จั จัยทีม่ ีผลต่อการ เปล่ียนแปลง ของ นาฏศิลป์ เปลี่ยนแปลงของนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์ นาฏศิลปพ์ นื้ บ้าน ละครไทย พ้นื บ้าน ละครไทยและละครพืน้ บ้าน และละครพ้ืนบ้าน ๓.๒ ม.๑/๒ บรรยายประเภทของละคร -ประเภทของละครไทยในแต่ละ ไทย ในแตล่ ะยคุ สมัย ยุคสมยั ทกุ ตวั ช้วี ัด -วัดผลประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑ ๑๐ รวมเวลาเรยี น ๒๐ ๕๐

๑๒. การวเิ คราะหเ์ พอ่ื จดั ทาคาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ สาระที่ ๒ : ดนตรี มาตรฐาน ที่ ศ ๒.๑ ศ ๒.๒ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ท้องถน่ิ ศ ๒.๑ ม.๑/๑ ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะ ศ ๒.๑ ม.๑/๒ ศ ๒.๑ ม.๑/๓ -วิเคราะห์โนต้ บทเพลงไทย อัตราจงั หวะสองชนั้ -อ่าน เขยี น รอ้ งโนต้ -มงุ่ มั่นในการทางาน ศ ๒.๑ ม.๑/๔ ศ ๒.๑ ม.๑/๙ -เปรยี บเทยี บเสียงรอ้ งและเสียงของเครอ่ื ง ไทย และโนต้ สากล -มีความรับผดิ ชอบ ศ ๒.๑ ม.๑/๕ ดนตรี ในบทเพลงจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ -การใชแ้ ละ ศ ๒.๑ ม.๑/๖ ศ ๒.๑ ม.๑/๗ -จดั ประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีทมี่ า บารงุ รักษาเครอื่ ง ศ ๒.๑ ม.๑/๘ ดนตรี อยา่ ง ศ ๒.๒ ม.๑/๑ จากวัฒนธรรมต่าง ๆ ศ ๒.๒ ม.๑/๒ ระมดั ระวังและ รบั ผิดชอบ -แสดงความคิดเห็นท่มี ีต่ออารมณ์ของ -นาเสนอตัวอยา่ ง -ความภาคภมู ใิ จ -ม่งุ มัน่ ในการทางาน บทเพลงที่มคี วามเร็วของจงั หวะ และความดงั เพลงที่ตนเองชืน่ ชอบ - เบา แตกตา่ งกนั -ประเมินคุณภาพ -อภปิ รายลักษณะเดน่ ที่ทาให้งานนน้ั นา่ ชืน่ ชม ของบทเพลง -วเิ คราะห์หลกั การประเมนิ คุณภาพของบท เพลง -อธบิ ายบทบาทและอทิ ธิพลของดนตรี -ระบุองคป์ ระกอบของดนตรใี นแตล่ ะ วัฒนธรรม

๑๓. การวเิ คราะห์เพ่อื จัดทาคาอธิบายรายวิชากลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ สาระที่ ๓ : นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ที่ ศ ๓.๑ ศ ๓.๒ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถิ่น หนว่ ยท่ี ๓ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ ศ ๓.๑ม.๑/๑ ศ ๓.๑ม.๑/๒ -อธิบายอทิ ธิพลของนกั แสดงชอื่ ดังทม่ี ีผลต่อ -ใชน้ าฏยศัพท์หรอื ศัพท์ -มงุ่ มัน่ ในการ ศ ๓.๑ม.๑/๓ การโน้มนา้ วอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม ทางการละครในการแสดง ทางาน หนว่ ยที่ ๔ ศ ๓.๑ม.๑/๔ -วิเคราะห์หลักการใชน้ าฏยศพั ท์หรือศพั ท์ แสดงนาฏศลิ ป์และละครใน -มีความ ศ ๓.๑ม.๑/๕ ๓.๒ ม.๑/๑ ทางการละครในการแสดงแสดงนาฏศิลป์และ รปู แบบงา่ ย ๆ รับผิดชอบ ๓.๒ ม.๑/๒ ละครในรูปแบบง่าย ๆ -วิเคราะห์ใช้เกณฑ์งา่ ย ๆ ท่ีกาหนดให้ในการ -ใช้ทกั ษะการทางานเป็น -ความ พจิ ารณาคณุ ภาพการแสดงที่ชมโดยเน้นเร่อื ง กลุม่ ในกระบวนการผลติ ภาคภูมใิ จ การใช้เสียงการแสดงท่า และการเคลื่อนไหว การแสดง -ม่งุ มั่นในการ -ระบปุ ัจจัยทมี่ ผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงของ -ใชเ้ กณฑ์ง่าย ๆ ที่ ทางาน นาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทยและ กาหนดให้ในการพจิ ารณา ละครพ้นื บ้าน คุณภาพการแสดงทีช่ มโดย -บรรยายประเภทของละครไทย ในแตล่ ะยุค เน้นเรอื่ งการใช้เสียงการ สมยั แสดงทา่ และการ เคลือ่ นไหว

รหัสวชิ า ศ ๒๒๑๐๑ รายวิชาศิลปะ ๑๔. ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑ หน่วยกติ องค์ประกอบของดนตรีจากแหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ปัจจัยในการสร้างสรรค์บทเพลง เทคนิคการร้องและบรรเลงดนตรี การบรรยายอารมณ์ ความรู้สึกในบท เพลง การประเมินความสามารถทางดนตรี อาชีพทางด้านดนตรี บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิงดนตรี ในวัฒนธรรมต่างประเทศ เหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตรก์ ับการเปล่ียนแปลง ทางดนตรใี นประเทศไทย โดยใชท้ ักษะการสรา้ งสรรค์งานดนตรี ตามจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์วิเคราะห์ วิพากย์ วิจารณค์ ณุ ค่างานดนตรี ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคดิ ตอ่ งานดนตรี เพ่ือให้เกดิ ความเขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์และวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ภมู ิปัญญาไทยและสากล แสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ ช่ืนชม เห็นคุณค่าและ ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รหสั ตวั ช้ีวัด ศ ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ศ ๒.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ รวมทัง้ หมด ๙ ตัวช้ีวดั

๑๕. โครงสร้างรายวิชา รายวชิ า ศ ๒๒๑๐๑ วชิ าศิลปะ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา เวลา ๔๐ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต หนว่ ยที่/ช่ือ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั สาระสาคญั จานวน นา้ หนัก หน่วย เวลา คะแนน ศ ๒.๑ ม.๑/๑ เปรยี บเทยี บการใช้ -องค์ประกอบของดนตรจี าก (ชวั่ โมง) ๑.ดนตรีกับ องคป์ ระกอบดนตรีทม่ี าจากวฒั นธรรม แหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ ๘ ๒๐ วฒั นธรรม ต่างกนั -ดนตรีในวัฒนธรรม ศ ๒.๒ ม.๑/๑ บรรยายบทบาท และ ตา่ งประเทศ ๓๐ ๖๐ ๒.สร้างสรรค์ อิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของ -เหตุการณ์ประวตั ศิ าสตร์กับ ดนตรี ประเทศต่าง ๆ การเปล่ยี นแปลง ทางดนตรี ๒ ๒๐ ศ ๒.๒ ม.๑/๒บรรยายอทิ ธิพลขอ ในประเทศไทย ๔๐ ๑๐๐ วัฒนธรรมและเหตกุ ารณ์ใน ประวัตศิ าสตร์ที่มตี ่อรปู แบบของดนตรใี น -เครอื่ งหมายและสญั ลกั ษณ์ ประเทศไทย ทางดนตรี ศ ๒.๑ ม.๑/๒ อ่าน เขยี นรอ้ งโน้ตไทย -ปัจจยั ในการสรา้ งสรรคบ์ ท และโน้ตสากลทีม่ เี ครื่องหมายแปลงเสียง เพลง ศ ๒.๑ ม.๑/๓ ระบุปัจจัยสาคัญทมี่ ี -เทคนคิ การร้องและบรรเลง อทิ ธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ดนตรี ศ ๒.๑ ม.๑/๔ ร้องเพลง และเล่นดนตรี -การบรรยายอารมณ์ และ เดี่ยวและ ความรู้สึกในบทเพลง รวมวง -การประเมินความสามารถ ศ ๒.๑ ม.๑/๕ บรรยายอารมณ์ของเพลง ทางดนตรี และความร้สู กึ ท่ีมีต่อบทเพลงทีฟ่ งั -อาชพี ทางดา้ นดนตรี ศ ๒.๑ ม.๑/๖ ประเมิน พฒั นาการ -บทบาทของดนตรีในธุรกจิ ทกั ษะทางดนตรขี องตนเอง หลงั จากการ บันเทิง ฝกึ ปฏิบตั ิ ศ ๒.๑ ม.๑/๗ ระบงุ านอาชีพต่าง ๆ ท่ี วัดผลประเมินผล เกยี่ วข้องกบั ดนตรแี ละบทบาทของดนตรี ในธรุ กิจบันเทิง ทกุ ตวั ชี้วัด รวมเวลาเรยี น

๑๖. การวิเคราะห์เพ่อื จัดทาคาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ สาระที่ ๒ : ดนตรี มาตรฐาน ที่ ศ ๒.๑ ศ ๒.๒ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถ่นิ ศ ๒.๑ ม.๑/๑ ศ ๒.๒ ม.๑/๑ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะ ศ ๒.๒ ม.๑/๒ -เปรียบเทยี บการใช้ - -ใฝเ่ รยี นใฝร่ ู้ ศ ๒.๑ ม.๑/๒ องคป์ ระกอบของดนตรีจาก -รกั ความเป็นไทย ศ ๒.๑ ม.๑/๓ ศ ๒.๑ ม.๑/๔ แหลง่ วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ศ ๒.๑ ม.๑/๕ ศ ๒.๑ ม.๑/๖ -บรรยายบทบาท และอิทธิพล ศ ๒.๑ ม.๑/๗ ของดนตรีในวฒั นธรรมของ ประเทศต่าง ๆ -บรรยายอิทธิพลของวฒั นธรรม และเหตกุ ารณใ์ นประวัติศาสตร์ ที่มีต่อรูปแบบของดนตรีใน ประเทศไทย -วิเคราะห์การอ่าน เขียนร้อง -อ่าน เขียนร้องโนต้ ไทย -มุ่งม่นั ในการทางาน โน้ตไทย และโนต้ สากลที่มี และโน้ตสากลที่มี -มีความรับผดิ ชอบ เครื่องหมายแปลงเสียง เคร่ืองหมายแปลงเสียง -ระบุปัจจัยสาคญั ท่ีมอี ิทธพิ ลต่อ -ร้องเพลง และเล่น ดนตรีเดี่ยวและ การสร้างสรรคง์ านดนตรี รวมวง -วิเคราะห์หลักการร้องเพลง และ -ประเมิน พฒั นาการ เล่นดนตรีเด่ียวและรวมวง ทักษะทางดนตรีของ -บรรยายอารมณ์ของเพลงและ ตนเอง หลังจากการฝึก ความรูส้ ึกที่มีตอ่ บทเพลงทฟ่ี งั ปฏบิ ัติ -วิเคราะหห์ ลักการประเมนิ พฒั นาการทักษะทางดนตรีของ ตนเอง หลงั จากการฝกึ ปฏิบัติ -ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ท่ี เกย่ี วข้องกับดนตรีและบทบาท ของดนตรีในธรุ กิจบันเทงิ

รหัสวชิ า ศ ๒๒๑๐๒ รายวิชาศิลปะ ๑๗. ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ คาอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑ หน่วยกิต รปู แบบของทศั นธาตแุ ละแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบ การใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของศิลปิน เทคนิคในการวาดภาพส่ือความหมาย การ ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ การพัฒนางานทัศนศิลป์ การจัดทาแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์ การวาดภาพถ่ายทอดบุคลิกลักษณะ ของตัวละคร งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา วัฒนธรรมท่ีสะท้อนใน งานทัศนศิลป์ปัจจุบันงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย การออกแบบงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรม ไทยและสากล ศิลปะแขนงอ่ืน ๆ กับการแสดง แสง สี เสียง ฉากเคร่ืองแต่งกาย อุปกรณ์ หลักและวิธีการ สร้างสรรค์การแสดง โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร หลักและวิธีการวิเคราะห์ การ แสดง วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง นาฏศิลป์ และการละคร ราวงมาตรฐาน ความสัมพันธ์ของ นาฏศิลป์หรือ การละครกับสาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ นาฏศิลป์พื้นเมือง ความหมาย ที่มา วัฒนธรรม ลักษณะเฉพาะ รูปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ นาฏศิลป์พ้ืนเมือง ละครไทยละครพื้นบ้าน และ การละครสมยั ตา่ ง ๆ โดยใช้ทักษะสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ และทักษะสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ และงานนาฏศิลป์ถ่ายทอด ความรสู้ ึก ความคิดตอ่ งานทัศนศิลป์ และงานนาฏศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทศั นศิลปแ์ ละงานนาฏศลิ ป์ ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล มีความคิดต่องานทัศนศิลป์และงานนาฏศิลป์อย่างอิสระ ชื่นชม เห็นคุณค่าและประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั รหัสตวั ช้วี ดั ศ ๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ศ ๑.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ศ ๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ศ ๓.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๑๗ ตวั ชวี้ ัด

๑๘. โครงสรา้ งรายวิชา รายวชิ า ศ ๒๒๑๐๒ วิชาศลิ ปะ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา เวลา ๔๐ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต หนว่ ยที/่ ช่อื มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัด สาระสาคัญ จานวน น้าหนัก หนว่ ย เวลา คะแนน ศ ๑.๑ ม.๒/๑ อภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุใน -รูปแบบของทัศนธาตแุ ละ (ชว่ั โมง) ๑.เรียนรู้และ ดา้ นรปู แบบ และแนวคดิ ของงานทัศนศลิ ป์ แนวคดิ ในงานทัศนศิลป์ ๑๔ ๓๐ สรา้ งสรรค์ ทเ่ี ลอื กมา -ความเหมอื นและความ ทศั นศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๒/๒บรรยายเกย่ี วกับความ แตกตา่ งของรูปแบบการใช้ ๕ ๑๐ เหมอื นและความแตกต่างของรูปแบบการ วสั ดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลป์ ๒.สืบสาน ใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ในงานทัศนศลิ ปข์ องศลิ ปนิ ของศิลปิน ๑ ๑๐ ทศั นศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๒/๓วาดภาพด้วยเทคนิคที่ -เทคนิคในการวาดภาพสื่อ ๒๐ ๕๐ หลากหลาย ในการสอื่ ความหมายและ ความหมาย เรือ่ งราวตา่ ง ๆ -การประเมินและวิจารณง์ าน ศ ๑.๑ ม.๒/๔สร้างเกณฑ์ในการประเมนิ ทศั นศลิ ป์ และวจิ ารณง์ านทัศนศิลป์ -การพฒั นางานทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๒/๕นาผลการวจิ ารณไ์ ป -การจัดทาแฟ้มสะสมงาน ปรบั ปรงุ แก้ไขและพฒั นางาน ทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๒/๖วาดภาพแสดง -การวาดภาพถ่ายทอด บุคลกิ ลักษณะของตัวละคร บคุ ลกิ ลกั ษณะ ของตัวละคร ศ ๑.๑ ม.๒/๗บรรยายวธิ กี ารใช้งาน -งานทศั นศิลปใ์ นการโฆษณา ทัศนศิลป์ ในการโฆษณาเพ่ือโนม้ น้าวใจ และนาเสนอตัวอย่างประกอบ -วัฒนธรรมท่ีสะทอ้ นในงาน ทัศนศลิ ป์ปจั จุบนั ศ ๑.๒ ม.๒/๑ ระบุ และบรรยายเกย่ี วกับ -งานทศั นศลิ ป์ของไทยในแต่ วัฒนธรรมต่าง ๆ ท่สี ะท้อนถงึ งานทัศนศลิ ป์ ละยุคสมยั ในปัจจบุ นั -การออกแบบงานทัศนศิลป์ ศ ๑.๒ ม.๒/๒ บรรยายถงึ การ ในวฒั นธรรมไทยและสากล เปลีย่ นแปลงของงานทศั นศิลปข์ องไทยใน แตล่ ะยุคสมัยโดยเนน้ ถึงแนวคิดและ วัดผลประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เนื้อหาของงาน ศ ๑.๒ ม.๒/๓ เปรยี บเทียบแนวคดิ ในการ ออกแบบงานทัศนศลิ ป์ท่มี าจาก วฒั นธรรมไทยและสากล ทกุ ตัวช้ีวดั รวมเวลาเรียน

๑๙. โครงสร้างรายวิชา รายวชิ า ศ ๒๒๑๐๒ วชิ าศลิ ปะ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา เวลา ๔๐ช่วั โมง จานวน ๑ หน่วยกิต จานวน น้าหนัก คะแนน หน่วยท่ี/ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ดั สาระสาคญั เวลา ๓.นาฏยสรา้ งสรรค์ ๒๕ (ชัว่ โมง) ๔.นาฏยประวัติ ๑๕ ศ ๓.๑ ม.๒/๑ อธิบายการบรู ณา - ศิลปะแขนงอ่นื ๆ กบั การแสดง ๑๒ ๑๐ การศลิ ปะแขนงอืน่ ๆ กับการ -แสง สี เสียง -ฉาก ๕๐ แสดง -เครอ่ื งแต่งกาย -อปุ กรณ์ ศ ๓.๑ ม.๒/๒สร้างสรรค์การ -หลกั และวิธกี ารสรา้ งสรรคก์ าร แสดงโดยใช้องค์ประกอบ แสดง โดยใช้องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ นาฏศิลปแ์ ละการละคร และการละคร ศ ๓.๑ ม.๒/๓วิเคราะห์การแสดง -หลักและวิธีการวเิ คราะห์การแสดง ของตนเองและผู้อ่ืน โดยใชน้ าฏย -วธิ ีการวิเคราะห์ วจิ ารณ์การแสดง ศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร ท่ี นาฏศิลป์ และการละคร เหมาะสม -ราวงมาตรฐาน ศ ๓.๑ ม.๒/๔ เสนอข้อคดิ เห็นใน -ความสัมพันธ์ของนาฏศิลปห์ รือ การปรับปรงุ การแสดง การละครกบั สาระการเรียนรู้อืน่ ๆ ศ ๓.๑ ม.๒/๔เชอ่ื มโยงการเรียนรู้ ระหว่างนาฏศลิ ป์และการละคร กับสาระการเรียนรอู้ น่ื ๆ ศ ๓.๑ ม.๒/๑ เปรียบเทยี บ -นาฏศิลป์พ้นื เมือง ๗ ลกั ษณะเฉพาะของ การแสดง -ความหมาย -ทีม่ า นาฏศลิ ป์จากวฒั นธรรมต่างๆ -วัฒนธรรม -ลกั ษณะเฉพาะ ศ ๓.๑ ม.๒/๒ระบุหรอื แสดง -รปู แบบการแสดงประเภทตา่ ง ๆ นาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์พ้นื บ้าน -นาฏศลิ ป์ ละครไทย ละครพื้นบ้าน หรอื -นาฏศลิ ป์พนื้ เมือง มหรสพอนื่ ท่ีเคยนิยมกันในอดีต -ละครไทย ศ ๓.๑ ม.๒/๓อธบิ ายอทิ ธิพลของ -ละครพื้นบา้ น วัฒนธรรมทมี่ ผี ลต่อเน้ือหาของ -การละครสมยั ต่าง ๆ ละคร ทกุ ตวั ชี้วดั วัดผลประเมินผลการเรียนรู้ ๑ รวมเวลาเรียน ๒๐

๒๐. การวเิ คราะห์เพ่อื จดั ทาคาอธิบายรายวิชากล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ สาระท่ี ๑ : ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ที่ ศ ๑.๑ ศ ๑.๒ ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ทอ้ งถิ่น ศ ๑.๑ ม.๒/๑ ศ ๑.๑ ม.๒/๒ ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ ศ ๑.๑ ม.๒/๓ -ใฝ่เรียนใฝร่ ู้ ศ ๑.๑ ม.๒/๔ -อภปิ รายเกีย่ วกับทัศนธาตุในด้านรปู แบบ และ -วาดภาพดว้ ยเทคนิคท่ี -มุ่งมนั่ ในการ ศ ๑.๑ ม.๒/๕ ทางาน ศ ๑.๑ ม.๒/๖ แนวคิดของงานทัศนศิลปท์ ี่เลือกมา หลากหลาย ในการส่ือ -มีความรบั ผดิ ชอบ ศ ๑.๑ ม.๒/๗ -บรรยายเก่ียวกบั ความเหมอื นและความ ความหมายและเรื่องราว -ใฝ่ร้ใู ฝเ่ รยี น ศ ๑.๒ ม.๒/๑ -มุ่งมั่นในการ ศ ๑.๒ ม.๒/๒ แตกต่างของรูปแบบการใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ใน ตา่ ง ๆ ทางาน ศ ๑.๒ ม.๒/๓ -รักความเป็นไทย งานทศั นศิลป์ของศิลปนิ -สร้างเกณฑ์ในการ -วเิ คราะหห์ ลักการวาดภาพด้วยเทคนคิ ท่ี ประเมนิ และวิจารณ์งาน หลากหลาย ในการสอ่ื ความหมายและ ทศั นศิลป์ เร่อื งราวตา่ ง ๆ -นาผลการวิจารณไ์ ป -วิเคราะหห์ ลกั การสรา้ งเกณฑ์ในการ ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนา ประเมินและวิจารณง์ านทัศนศลิ ป์ งาน -วิเคราะห์หลกั การวาดภาพแสดง -วาดภาพแสดง บุคลกิ ลกั ษณะของตัวละคร บุคลิกลักษณะของตัว -บรรยายวิธกี ารใชง้ านทศั นศิลป์ ในการ ละคร โฆษณาเพ่ือโน้มน้าวใจ และนาเสนอ ตวั อยา่ งประกอบ -เปรยี บเทียบลักษณะเฉพาะของ การแสดง -แสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ พนื้ บ้าน ละครไทย ละคร นาฏศิลปจ์ ากวัฒนธรรมตา่ งๆ พนื้ บา้ น หรอื มหรสพอ่นื ท่ี -ระบุ นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบา้ น ละครไทย ละคร เคยนยิ มกันในอดตี พ้นื บ้าน หรือมหรสพอ่นื ท่เี คยนยิ มกนั ใน อดีต -อธบิ ายอิทธิพลของวฒั นธรรมท่มี ีผลตอ่ เนื้อหาของละคร

๒๑. การวเิ คราะห์เพือ่ จดั ทาคาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ สาระท่ี ๓ : นาฏศิลป์ มาตรฐาน ที่ ศ ๓.๑ ศ ๓.๒ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/ทอ้ งถ่นิ ศ ๓.๑ม.๒/๑ ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ ศ ๓.๑ม.๒/๒ ศ ๓.๑ม.๒/๓ -อธบิ ายการบรู ณาการศิลปะแขนงอน่ื ๆ -สร้างสรรคก์ ารแสดงโดยใช้ -มุ่งม่ันในการ ศ ๓.๑ม.๒/๔ ทางาน ศ ๓.๑ม.๒/๔ กับการแสดง องคป์ ระกอบนาฏศิลป์และการ -มคี วามรับผดิ ชอบ -วิเคราะห์การแสดงโดยใช้องคป์ ระกอบ ละคร นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร -เชอ่ื มโยงการเรียนร้รู ะหว่าง -วเิ คราะหก์ ารแสดงของตนเองและผ้อู นื่ นาฏศลิ ปแ์ ละการละครกบั สาระ โดยใช้นาฏยศพั ทห์ รือศพั ท์ทางการละคร ที่ การเรียนรู้อ่ืน ๆ เหมาะสม -เสนอข้อคิดเหน็ ในการปรบั ปรุงการแสดง ศ ๓.๑ม.๒/๑ -เปรยี บเทยี บลกั ษณะเฉพาะของ การแสดง -แสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ -ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น ศ ๓.๑ม.๒/๒ นาฏศลิ ป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ พืน้ บ้าน ละครไทย ละคร -รกั ความเป็นไทย ศ ๓.๑ม.๒/๓ -ระบุ นาฏศลิ ปพ์ นื้ บา้ น ละครไทย ละคร พื้นบ้าน หรือมหรสพอนื่ ที่เคย พน้ื บ้าน หรือมหรสพอื่นทเี่ คยนยิ มกันใน นยิ มกนั ในอดตี อดีต -อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มผี ลตอ่ เนื้อหาของละคร

รหัสวิชา ศ ๒๓๑๐๑ รายวิชาศิลปะ ๒๒. ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ คาอธิบายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ เวลา ๔๐ช่ัวโมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต องคป์ ระกอบของบทละคร ภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศิลป์ รูปแบบการแสดงการประดิษฐ์ท่า ราและทา่ ทางประกอบการแสดง องค์ประกอบนาฏศิลป์ วิธกี ารเลือกการแสดงละครกับชวี ิตการ ออกแบบและสรา้ งสรรค์อปุ กรณ์และเคร่ืองแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์ ความสาคัญและบทบาทของ นาฏศิลป์ และการละครในชีวิตประจาวัน การอนรุ ักษน์ าฏศลิ ป์ โดยใชท้ ักษะการสร้างสรรคง์ านนาฏศิลป์ ตามจิตนาการและความคดิ สร้างสรรค์วิเคราะห์ วิ พากย์ วิจารณค์ ุณคา่ งานนาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึกความคดิ ตอ่ งานนาฏศิลป์ เพ่ือให้เกดิ ความเขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากล แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ช่ืนชม เห็นคุณค่าและ ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั รหสั ตวั ชว้ี ดั ศ ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ศ ๓.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ รวมทง้ั หมด ๑๐ ตวั ชี้วดั

๒๓. โครงสร้างรายวชิ า รายวิชา ศ ๒๓๑๐๑ วิชาศลิ ปะ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ชัว่ โมง จานวน ๑ หน่วยกติ หนว่ ยที่/ชื่อ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั สาระสาคัญ จานวน นา้ หนกั หนว่ ย เวลา คะแนน (ชว่ั โมง) ๑.นาฏยลีลา ศ ๓.๑ ม.๓/๑ ระบุโครงสร้างของบท -องค์ประกอบของบทละคร ๒๖ ๖๐ ๒.นาฏยอาภรณ์ ละครโดยใช้ศพั ท์ทางการละคร -ภาษาท่าหรอื ภาษาทาง ๑๒ ๒๐ ศ ๓.๑ ม.๓/๒ ใชน้ าฏยศพั ท์หรอื ศัพท์ นาฏศลิ ป์ ๒ ๒๐ ๔๐ ๑๐๐ ทางการละคร ที่เหมาะสมบรรยาย -รูปแบบการแสดง เปรียบเทียบการแสดงอากปั กิรยิ าของ -การประดิษฐท์ ่าราและท่าทาง ผคู้ นในชวี ิตประจาวนั และในการแสดง ประกอบการแสดง ศ ๓.๑ ม.๓/๓ มีทักษะในการใช้ความคิด -องคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ ในการพฒั นารูปแบบการแสดง -วธิ ีการเลือกการแสดง ศ ๓.๑ ม.๓/๔ มที กั ษะในการแปลความ -ละครกับชีวติ และการสื่อสารผ่านการแสดง ศ ๓.๑ ม.๓/๕ วจิ ารณ์เปรยี บเทยี บงาน นาฏศิลป์ ที่มีความแตกตา่ งกันโดยใช้ ความรู้ รือ่ งองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ ศ ๓.๑ ม.๓/๖ รว่ มจัดงานการแสดงใน บทบาทหน้าที่ต่าง ๆ ศ ๓.๑ ม.๓/๗ นาเสนอแนวคดิ จากเนอื้ เร่ือง ของการแสดงท่สี ามารถนาไปปรับ ใช้ในชีวติ ประจาวัน ศ ๓.๒ ม.๓/๑ ออกแบบ และสรา้ งสรรค์ -การออกแบบและสร้างสรรค์ อุปกรณ์ และเครื่องแต่งกายเพือ่ แสดง อุปกรณ์และเครื่องแต่งกาย นาฏศลิ ป์ละครที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ เพ่ือการแสดงนาฏศลิ ป์ ศ ๓.๒ ม.๓/๒ อธิบายความสาคญั และ -ความสาคญั และบทบาทของ บทบาทของนาฏศิลป์และการละครใน นาฏศลิ ป์ และการละครใน ชวี ิตประจาวัน ชวี ติ ประจาวนั ศ ๓.๒ ม.๓/๓ แสดงความคิดเหน็ ในการ - การอนุรักษ์นาฏศิลป์ อนุรกั ษ์ ทุกตวั ชี้วดั วัดผลประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รวมเวลาเรียน

๒๔. การวเิ คราะหเ์ พือ่ จัดทาคาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ สาระท่ี ๓ : นาฏศิลป์ มาตรฐาน ที่ ศ ๓.๑ ศ ๓.๒ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/ท้องถน่ิ ศ ๓.๑ม.๓/๑ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ ศ ๓.๑ม.๓/๒ ศ ๓.๑ม.๓/๓ - ระบโุ ครงสร้างของบทละคร -ทักษะในการใช้ความคดิ ในการ -ใฝเ่ รยี นใฝ่รู้ ศ ๓.๑ม.๓/๔ -ซื่อสตั ย์ ศ ๓.๑ม.๓/๕ โดยใช้ศพั ทท์ างการละคร พฒั นารปู แบบการแสดง -มีความ ศ ๓.๑ม.๓/๖ รับผิดชอบต่อ ศ ๓.๑ม.๓/๗ -ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ -มีทักษะในการแปลความและการ งานที่ไดร้ บั มอบหมาย ทางการละคร ทเี่ หมาะสม สอื่ สารผ่านการแสดง บรรยายเปรยี บเทยี บการ -วจิ ารณเ์ ปรยี บเทียบงานนาฏศลิ ป์ แสดงอากปั กิริยาของผู้คนใน ท่ีมคี วามแตกตา่ งกันโดยใชค้ วามรู้ ชีวติ ประจาวันและ เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ ในการแสดง -รว่ มจัดงานการแสดงในบทบาท หนา้ ที่ต่าง ๆ -นาเสนอแนวคดิ จากเน้ือเรอื่ ง ของ การแสดงทีส่ ามารถนาไปปรบั ใช้ ในชวี ิตประจาวัน ศ ๓.๒ ม.๓/๑ -อธบิ ายความสาคญั และ -ออกแบบ และสรา้ งสรรค์อุปกรณ์ -ใฝ่รู้ใฝ่เรยี น ศ ๓.๒ ม.๓/๒ บทบาทของนาฏศลิ ป์และการ และเครื่องแต่งกาย เพ่อื แสดง -อยู่อย่าง ศ ๓.๒ ม.๓/๓ ละครในชีวิตประจาวัน นาฏศลิ ป์และละครที่มาจาก พอเพียง -แสดงความคดิ เห็นในการ วัฒนธรรมตา่ ง ๆ -รกั ความเปน็ อนรุ กั ษ์ ไทย

รหสั วิชา ศ ๒๓๑๐๒ รายวิชาศิลปะ ๒๕. ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๒ คาอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ เวลา ๔๐ชั่วโมง จานวน ๑ หนว่ ยกติ ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ เทคนิควิธีการของศิลปินในการ สร้างงานทัศนศิลป์ วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ การสร้างงาน ทัศนศิลป์ท้ังไทยและสากล การใช้หลักการออกแบบในการสร้างงานสื่อผสม ๓การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ การวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา และคุณค่า ในงานทัศนศิลป์ การใช้เทคนิค วิธีการที่หลากหลาย สร้างงานทัศนศิลป์เพื่อส่ือความหมาย การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป์ การจัด นิทรรศการ งานทัศนศิลป์กับการสะท้อนคุณค่า ของวัฒนธรรม ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ ละยคุ สมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล การเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น เทคนิคและ การ แสดงออกในการขับรอ้ งและบรรเลงดนตรเี ดี่ยวและรวมวงอัตราจงั หวะ ๒ และ ๔ การประพันธ์เพลงใน อัตราจังหวะ ๒ และ ๔ การเลือกใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์บทเพลง การเปรียบเทียบความ แตกต่างของบทเพลง อิทธิพลของดนตรี การจัดการแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆ ประวัติดนตรีไทยยุคสมัย ตา่ ง ๆ ประวัติดนตรตี ะวันตกยุคสมยั ตา่ ง ๆ ปัจจยั ท่ีทาใหง้ านดนตรไี ดร้ บั การยอมรบั โดยใช้ทักษะสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ และทักษะสร้างสรรค์งานดนตรี ตามจินตนาการ และ ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ และงานดนตรีถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์และความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์และดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล มีความคิดต่องานทัศนศิลป์และดนตรี อย่างอิสระ ช่ืนชม เห็นคุณค่าและ ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั รหสั ตัวช้ีวดั ศ ๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ม.๓/๑๑ ศ ๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ศ ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ศ ๓.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ รวมทงั้ หมด ๒๓ ตวั ชวี้ ดั

๒๖. โครงสรา้ งรายวิชา รายวิชา ศ ๒๓๑๐๒ วิชาศลิ ปะ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ช่ัวโมง จานวน ๑ หนว่ ยกติ หนว่ ยที/่ ชอ่ื มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ดั สาระสาคัญ จานวน น้าหนกั หน่วย เวลา คะแนน (ชั่วโมง) ๑.ออกแบบ ศ ๑.๑ ม.๓/๑ บรรยายสิง่ แวดลอ้ มและงาน -ทัศนธาตุ หลักการ ๓๐ สร้างสรรค์ ๑๔ ทัศนศลิ ป์ ทัศนศลิ ป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรเู้ ร่ืองทัศนธาตุ ออกแบบในส่ิงแวดลอ้ ม และหลกั การออกแบบ และงานทัศนศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๒ ระบุ และบรรยายเทคนิควิธีการ -เทคนคิ วธิ กี ารของศิลปนิ ของศิลปนิ ในการสร้างงาน ทัศนศลิ ป์ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๓ วเิ คราะห์ และบรรยายวิธกี ารใช้ -วิธกี ารใช้ทศั นธาตุและ ทศั นธาตุ และหลักการออกแบบในการสรา้ งงาน หลักการออกแบบในการ ทศั นศลิ ปข์ องตนเอง ให้มีคุณภาพ สร้างงานทศั นศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๔ มีทกั ษะในการสรา้ งงานทัศนศลิ ป์ -การสรา้ งงานทัศนศลิ ปท์ ัง้ อย่างน้อย ๓ ประเภท ไทยและสากล ศ ๑.๑ ม.๓/๕มที กั ษะในการผสมผสานวสั ดตุ ่าง ๆ -การใชห้ ลักการออกแบบ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ ในการสรา้ งงานสื่อผสม ศ ๑.๑ ม.๓/๖ สรา้ งงานทัศนศลิ ป์ ทั้ง ๒ มิติ และ -การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ ๓ มติ ิ เพ่ือถา่ ยทอดประสบการณ์และจนิ ตนาการ ๒มติ ิ และ ๓ มิติ เพ่ือ ศ ๑.๑ ม.๓/7 สร้างสรรคง์ านทัศนศิลปส์ อ่ื ถา่ ยทอดประสบการณ์ ความหมายเปน็ เรื่องราว โดยประยกุ ตใ์ ช้ทัศนธาตุ และจินตนาการ และหลกั การออกแบบ -การประยุกตใ์ ช้ทศั นธาตุ ศ ๑.๑ ม.๓/๘วเิ คราะห์และอภิปรายรูปแบบ และหลกั การ เนอ้ื หาและคณุ ค่าในงานทัศนศิลป์ ของตนเอง และ ออกแบบสร้างงาน ผอู้ ่ืน หรือของศลิ ปิน ทศั นศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๙ สร้างสรรคง์ านทัศนศิลปเ์ พื่อ -การวิเคราะห์รปู แบบ บรรยายเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ โดยใช้เทคนิค ที่ เนือ้ หา และคุณค่า ในงาน หลากหลาย ทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๑๐ระบอุ าชีพที่เก่ียวข้องกับงาน การใช้เทคนิค วิธกี ารที่ ทัศนศิลปแ์ ละทักษะทจี่ าเปน็ ในการประกอบอาชีพ หลากหลาย นน้ั ๆ สร้างงานทศั นศลิ ปเ์ พ่ือสอ่ื ศ ๑.๑ ม.๓/๑๑เลอื กงานทศั นศลิ ปโ์ ดยใชเ้ กณฑ์ที่ ความหมาย กาหนดข้นึ อยา่ งเหมาะสม และนาไป จดั -การประกอบอาชีพทาง นิทรรศการ ทศั นศลิ ป์ -การจดั นิทรรศการ

๒ ศ ๑.๒ ม.๓/๑ศึกษาและอภปิ รายเกยี่ วกบั งาน งานทัศนศลิ ป์กบั การ ๒๗. สืบสาน ทศั นศลิ ป์ ทศั นศลิ ป์ ท่ีสะท้อนคุณค่าของวฒั นธรรม สะท้อนคุณค่า ของ ๕ ๑๐ ศ ๑.๒ ม.๓/๒เปรียบเทียบความแตกต่างของ งาน วัฒนธรรม ๑ ๑๐ ๒๐ ๕๐ ทศั นศิลปใ์ นแต่ละยุคสมัย ของวฒั นธรรมไทยและ -ความแตกตา่ งของงาน สากล ทศั นศลิ ปใ์ นแตล่ ะยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและ สากล ทกุ ตวั ช้ีวัด วัดผลประเมนิ ผลการ เรียนรู้ รวมเวลาเรียน

๒๘. หน่วยท/่ี ชื่อ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ดั สาระสาคัญ จานวน น้าหนัก หน่วย เวลา คะแนน (ชั่วโมง) ๓ ศ ๒.๑ ม.๓/๑ เปรียบเทียบองคป์ ระกอบที่ใช้ -การเปรยี บเทียบ ๑๐ ๒๐ องคป์ ระกอบ ในงานดนตรแี ละงานศิลปะอื่น องค์ประกอบในงานดนตรี ดนตรี ศ ๒.๑ ม.๓/๒ รอ้ งเพลง เล่นดนตรเี ด่ยี ว และ รวมวง โดยเน้นเทคนคิ การร้อง การเล่นการ และงานศลิ ปะอ่ืน แสดงออกและคุณภาพเสยี ง ศ ๒.๑ ม.๓/๓ แตง่ เพลงสน้ั ๆ -เทคนิคและการแสดงออก จังหวะง่าย ๆ ศ ๒.๑ ม.๓/๔อธบิ ายเหตผุ ลในการเลอื กใช้ ในการขบั ร้องและบรรเลง องคป์ ระกอบดนตรใี นการสรา้ งสรรค์ งาน ดนตรขี องตนเอง ดนตรเี ดี่ยวและรวมวง -อัตราจังหวะ ๒ และ ๔ -การประพนั ธ์เพลงในอัตรา จงั หวะ ๒ และ ๔ -การเลอื กใช้องคป์ ระกอบ ในการสรา้ งสรรค์บทเพลง ๔ ศ ๒.๑ ม.๓/๕เปรียบเทียบความแตกต่าง -การเปรยี บเทยี บความ ๙ ๒๐ บูรณาการ ระหวา่ ง งานดนตรขี องตนเองและผูอ้ ่ืน แตกต่างของบทเพลง ดนตรี ศ ๒.๑ ม.๓/๖ อธบิ ายเก่ียวกับอิทธิพลของ -อทิ ธิพลของดนตรี ดนตรี ที่มีตอ่ บุคคลและสังคม -การจัดการแสดงดนตรใี น ศ ๒.๑ ม.๓/7นาเสนอหรอื จัดการแสดงดนตรี วาระตา่ ง ๆ ท่เี หมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระ การ -ประวตั ดิ นตรไี ทยยุคสมัย เรยี นรู้อื่นในกล่มุ ศิลปะ ตา่ ง ๆ ศ ๒.๒ ม.๓/๑บรรยายววิ ฒั นาการของดนตรีแต่ -ประวตั ดิ นตรีตะวันตกยุค ละ ยุคสมยั สมยั ตา่ ง ๆ ศ ๒.๒ ม.๓/๒อภิปรายลักษณะเดน่ ทท่ี าให้งาน -ปจั จัยทีท่ าใหง้ านดนตรี ดนตรีน้นั ไดร้ ับการยอมรับ ได้รับการยอมรับ ทุกตวั ช้ีวดั วัดผลประเมนิ ผลการ ๑ ๑๐ รวมเวลาเรยี น เรียนรู้ ๒๐ ๕๐

๒๙. การวิเคราะห์เพอ่ื จดั ทาคาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ สาระที่ ๑ : ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ที่ ศ ๑.๑ ศ ๑.๒ ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/ทอ้ งถิ่น คุณลกั ษณะ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ ศ ๑.๑ ม.๓/๑ -บรรยายสิ่งแวดล้อม และงาน -มที กั ษะในการสรา้ งงาน -ใฝ่เรียนใฝร่ ู้ ศ ๑.๑ ม.๓/๒ ทศั นศิลป์ทเ่ี ลอื กมาโดยใช้ความรู้ ทศั นศลิ ป์อย่างน้อย ๓ ประเภท -มีความ ศ ๑.๑ ม.๓/๓ เร่ืองทัศนธาตุ และหลกั การออกแบบ -มที กั ษะในการผสมผสานวัสดุ รับผดิ ชอบต่อ ศ ๑.๑ ม.๓/๔ - ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการ ต่าง ๆ ในการสรา้ งงานทัศนศิลป์ งานทไ่ี ดร้ ับ ศ ๑.๑ ม.๓/๕ ของศิลปนิ ในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ โดยใชห้ ลกั การออกแบบ มอบหมาย ศ ๑.๑ ม.๓/๖ -วเิ คราะห์ และบรรยายวธิ กี ารใช้ -สร้างงานทัศนศลิ ป์ ทั้ง ๒ มติ ิ -มจี ิตสาธารณะ ศ ๑.๑ ม.๓/7 ทศั นธาตุ และหลักการออกแบบใน และ ๓ มติ ิ เพ่ือถ่ายทอด ศ ๑.๑ ม.๓/๘ การสร้างงานทัศนศิลปข์ องตนเอง ประสบการณ์และจนิ ตนาการ ศ ๑.๑ ม.๓/๙ ให้มคี ุณภาพ -สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์สื่อ ศ ๑.๑ ม.๓/ -วเิ คราะห์และอภปิ รายรูปแบบ ความหมายเป็นเร่ืองราว โดย ๑๐ เนือ้ หาและคุณค่าในงานทศั นศิลป์ ประยกุ ต์ใช้ทัศนธาตุ และ ศ ๑.๑ ม.๓/ ของตนเอง และผู้อนื่ หรอื ของศิลปนิ หลกั การออกแบบ ๑๑ -ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้องกบั งาน -สร้างสรรค์งานทศั นศิลป์เพื่อ ทศั นศิลป์และทักษะทีจ่ าเปน็ ในการ บรรยาย เหตุการณ์ต่าง ๆ ประกอบอาชีพน้นั ๆ โดยใชเ้ ทคนิค ที่หลากหลาย -เลอื กงานทัศนศิลปโ์ ดยใชเ้ กณฑ์ ทกี่ าหนดขึ้นอยา่ งเหมาะสม และนาไป จดั นิทรรศการ ศ ๑.๒ ม.๓/๑ -อภปิ รายเก่ยี วกบั งานทัศนศิลป์กบั - -ใฝ่เรยี นใฝร่ ู้ ศ ๑.๒ ม.๓/๒ การสะท้อนคุณคา่ ของวฒั นธรรม -รักความเป็น -เปรียบเทียบความแตกตา่ งของงาน ไทย ทัศนศลิ ป์ในแต่ละยุคสมยั ของ วฒั นธรรมไทยและสากล

๓๐. การวิเคราะห์เพือ่ จัดทาคาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ สาระที่ ๒ : ดนตรี มาตรฐาน ที่ ศ ๒.๑ ศ ๒.๒ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/ทอ้ งถ่นิ ศ ๒.๑ ม.๓/๑ ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะ ศ ๒.๑ ม.๓/๒ ศ ๒.๑ ม.๓/๓ - เปรยี บเทยี บองคป์ ระกอบที่ใชใ้ น -รอ้ งเพลง เล่นดนตรเี ด่ยี ว -ใฝ่เรียนใฝร่ ู้ ศ ๒.๑ ม.๓/๔ งานดนตรีและงานศิลปะอน่ื และรวมวง โดยเนน้ เทคนิค -มคี วามรับผิดชอบต่อ -อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้ การรอ้ ง การเลน่ การ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย องค์ประกอบดนตรีในการ แสดงออกและคุณภาพเสยี ง สรา้ งสรรค์ งานดนตรีของตนเอง -แต่งเพลงส้ัน ๆ จังหวะง่าย ๆ ศ ๒.๑ ม.๓/๕ -เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหว่าง -นาเสนอหรอื จัดการแสดง -มคี วามรับผดิ ชอบต่อ ศ ๒.๑ ม.๓/๖ ศ ๒.๑ ม.๓/7 งานดนตรขี องตนเองและผู้อ่ืน ดนตรี ท่เี หมาะสมโดยการบูร งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ศ ๒.๒ ม.๓/๑ - อธิบายเกย่ี วกับอิทธิพลของดนตรี ณาการกบั สาระ การเรียนรู้ -มจี ิตสาธารณะ ศ ๒.๒ ม.๓/๒ ทมี่ ีต่อบุคคลและสงั คม อืน่ ในกลุ่มศิลปะ -บรรยายววิ ัฒนาการของดนตรีแต่ ละ ยคุ สมยั -อภิปรายลักษณะเดน่ ท่ีทาให้งาน ดนตรีนั้นได้รับการยอมรับ

๓๑. ศ ๒๐๒๐๑ การปฏิบตั ิเคร่อื งเป่าสากล ๑ รายวชิ าเพิม่ เติม กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต ศึกษาเคร่อื งดนตรสี ากล ทฤษฎีการดนตรี โนต้ สากล ศัพท์สังคีต ฝกึ โสตประสาท ปฏบิ ัติเครือ่ ง เป่าสากลตามความถนดั โดยฝึกบรรเลงท้งั เดย่ี วและกลุ่ม และจดั การแสดงเป็นคร้ังคราว การดแู ลรกั ษา เคร่ืองดนตรีสากล โดยใช้ทกั ษะการสรา้ งสรรค์งานดนตรี ตามจิตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์วเิ คราะห์ วพิ ากย์ วิจารณค์ ณุ คา่ งานดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดผ่านผลงานด้านดนตรี เพ่ือให้ผู้เรียนค้นพบความถนัดความสามารถของตนเอง และแสดงออกทางดนตรีอย่าง สร้างสรรค์ ช่นื ชม เห็นคณุ คา่ และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ผลการเรียนรู้ ๑.ศกึ ษาประเภทเคร่ืองดนตรีสากล เรียนรธู้ รรมชาติของเครื่องดนตรี ๒.ทฤษฎีการดนตรี โนต้ สากล ศัพทส์ งั คีต ฝึกโสตประสาท ๓.ปฏิบัติเครือ่ งเปา่ ดนตรสี ากลตามความชอบความถนดั ๔.บรรเลงเคร่อื งดนตรสี ากลท้ังเดย่ี วและกลุม่ ๕.จัดการแสดงผลงานดนตรีสากล ท้ังเด่ียวและกลุ่ม ๖.การดูแลรกั ษาเครอื่ งดนตรี รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

๓๒. โครงสรา้ งรายวิชา วชิ า ศ ๒๐๒๐๑ การปฏิบัติเครื่องเป่าสากล ๑มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ชว่ั โมงจานวน ๑หนว่ ยกิต หนว่ ยที่/ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั จานวนเวลา นา้ หนัก ช่ือหน่วย (ชั่วโมง) คะแนน ๑.ศกึ ษาประเภทเคร่ืองดนตรีสากล -ศกึ ษาประเภทเครื่องเปา่ ๑๐ ๑ เรยี นรธู้ รรมชาตขิ องเครื่องดนตรี สากล ทฤษฎกี ารดนตรี ๒๐ ทฤษฎี ๒.ทฤษฎีการดนตรี โนต้ สากล ศพั ท์ โนต้ สากล ศพั ท์สงั คตี ฝึก ๑๒ ดนตรี สังคตี ฝึกโสตประสาท โสตประสาท โดยฝกึ ๒๐ สากล ๖.การดแู ลรกั ษาเครือ่ งดนตรีสากล บรรเลงทง้ั เดี่ยวและกล่มุ การดแู ลรักษาเครื่อง ๒ ๓.ปฏิบัตเิ คร่ืองเป่าสากลตาม ดนตรี เคร่อื ง ความชอบความถนดั ของตนเอง -ปฏิบัตเิ ครือ่ งเป่าสากล ดนตรขี อง ตามความถนัด ฉนั -ฝกึ บรรเลงเคร่ืองดนตรี ๑๐ ๒๐ ๓ ๔.บรรเลงดนตรสี ากลท้ังเดย่ี วและ สากลทง้ั เดีย่ วและกล่มุ เสนาะ กลุ่ม บรรเลง -จัดการแสดงและ ๖ ๒๐ ๔ ๕.จัดการแสดงผลงานดา้ นดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก คร้ืนเครง สากลท้ังเดยี่ วและกลุ่ม ดนตรี ความคดิ ผ่านผนงานด้าน ดนตรี วัดผลประเมนิ ผลการ ๒ ๒๐ เรยี นรู้ รวมเวลาเรยี น ๔๐ ๑๐๐

๓๓. ศ ๒๐๒๐๑ การปฏิบตั เิ ครอ่ื งเปา่ สากล ๒ รายวิชาเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑ หน่วยกติ ศกึ ษาประเภทแนวดนตรี โนต้ เพลง MARCHING และหลกั การบรรเลงวงโยธวาทิต วงสตรงิ คอมโบ ฝกึ ทักษะการขบั รอ้ งและบรรเลงดนตรโี ดยนาองคป์ ระกอบทางดนตรีและเทคนิควธิ กี ารทาง ดนตรมี าใช้มีความรับผดิ ชอบและระมัดระวังในการใชแ้ ละเก็บรักษาเครือ่ งดนตรี จดั การแสดงและ สรา้ งสรรคง์ านดนตรตี ามความถนัดและความสนใจ โดยใชท้ กั ษะเทคนิควธิ ีการมาสร้างสรรค์ผลงานดนตรี ตามจติ นาการและความคดิ สร้างสรรค์ วเิ คราะหว์ ิพากย์ วจิ ารณ์คุณค่างานดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ ผ่านผลงานด้านดนตรี เพ่ือให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง และแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ ช่ืนชม เห็น คุณคา่ และประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ผลการเรยี นรู้ ๑.ศึกษาประเภทเครื่องเปา่ และหลกั การบรรเลงวงโยธวาทิต วงสตริงคอมโบ ๒.ฝึกทกั ษะการขับรอ้ งและบรรเลงดนตรีโดยนาองค์ประกอบทางดนตรีและเทคนคิ ทางดนตรีมานาเสนอ ผลงาน ๓.ความรบั ผิดชอบและระมัดระวังในการใชแ้ ละเก็บรักษาเครอ่ื งดนตรี ๔.จดั การแสดงและสรา้ งสรรคง์ านดนตรีตามความถนัดและความสนใจ รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้

๓๔. โครงสรา้ งรายวิชา วชิ า ศ ๒๐๒๐๒ การปฏิบัติเครอื่ งเป่าสากล ๒มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๔๐ชวั่ โมงจานวน ๑หนว่ ยกิต หน่วยท/่ี ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั จานวนเวลา น้าหนัก ชือ่ หน่วย (ชวั่ โมง) คะแนน ๑๐ ๑ ๑.ศึกษาประเภทเคร่ืองเป่าและ -ศึกษาประเภทเครื่องเปา่ ๒๐ ๑๐ ประเภท หลกั การบรรเลงวงโยธวาทติ วงสตรงิ และหลกั การผสมวง ๒๐ ๘ บทเพลง คอมโบ ต่างๆ ฝึกทักษะการขบั ๑๐ ๒๐ ๒ ๒๐ รอ้ งและบรรเลงดนตรี ๔๐ ๒๐ ๑๐๐ โดยนาองคป์ ระกอบทาง ดนตรีและเทคนคิ ทาง ดนตรมี าใช่ ๒ ๒.ฝกึ ทักษะการขับรอ้ งและบรรเลง -ใช้ทักษะ และเทคนคิ บรรเลง ดนตรีโดยนาองคป์ ระกอบทางดนตรี วธิ ีการมาสรา้ งสรรค์ และขับ และเทคนิคทางดนตรมี านาเสนอ ผลงานดนตรี ตามจิตนา รอ้ ง ผลงาน การและความคิด สรา้ งสรรคว์ เิ คราะห์วิ พากย์ วจิ ารณ์คุณค่า งานดนตรี ถา่ ยทอด ความรู้สกึ ความคดิ ผา่ น ผลงานด้านดนตรี ๓ ๔.จดั การแสดงและสร้างสรรค์งาน เขา้ ร่วมจดั การแสดงผล สร้างสรรค์ ดนตรีตามความถนัดและความสนใจ งานและสรา้ งสรรค์ ดนตรี ผลงานดนตรีตามความ ถนดั และความสนใจ ๔ ๓.ความรับผิดชอบและระมัดระวงั ใน -มคี วามรบั ผดิ ชอบและ รู้ รกั ษ์ การใช้และเกบ็ รักษาเครื่องดนตรี ระมดั ระวังในการใชแ้ ละ เครือ่ ง เก็บรักษาเคร่ืองดนตรี ดนตรี วดั ผลประเมนิ ผลการ เรยี นรู้ รวมเวลาเรียน

๓๕. ศ ๒๐๒๐๓ นาฏศลิ ปพ์ ืน้ บ้าน ๑ รายวิชาเพ่มิ เติม กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑ หน่วยกติ ประวตั ิความเปน็ มา ดนตรีที่ใช้ เครื่องแต่งกายในการแสดง ท่ารา รปู แบบการแสดง บทบาท และหน้าท่ขี องฝ่ายต่าง ๆ ในการจดั การแสดง ในการแสดงนาฏศิลป์พน้ื บา้ นภาคเหนือ ประเภทฟ้อน เล็บ ฟ้อนจอ้ ง และฟ้อนดอกเสีย้ ว โดยใช้ทักษะการสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ ตามจติ นาการและความคิดสร้างสรรค์วเิ คราะห์ วิ พากย์ วจิ ารณ์คุณคา่ งานนาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรูส้ ึกความคิดต่องานนาฏศลิ ป์ เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจความสัมพนั ธข์ องนาฏศลิ ปพ์ น้ื บ้านและภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น แสดงออกทาง นาฏศลิ ป์อยา่ งสร้างสรรค์ ช่ืนชม เห็นคณุ คา่ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ผลการเรยี นรู้ ๑. ศึกษาประวตั ิความเปน็ มาของการแสดงนาฏศลิ ป์พืน้ บา้ นภาคเหนอื ประเภทฟ้อนเลบ็ ฟ้อนจ้อง และฟ้อนดอกเสีย้ ว ๒. บอกชนิดของเครื่องดนตรี และเครื่องแต่งกายท่ีใช้ประกอบการแสดงประเภทฟ้อนเล็บ ฟอ้ นจ้อง และฟ้อนดอกเสีย้ ว ๓. วิเคราะห์รูปแบบการแสดง บทบาทและหน้าทข่ี องฝ่ายต่าง ๆ ในการจัดการแสดงประเภท ฟ้อนเล็บ ฟ้อนจ้อง และฟ้อนดอกเสยี้ ว ๔. วิเคราะห์ทา่ ราฟอ้ นเล็บ ฟ้อนจ้อง และฟ้อนดอกเสย้ี ว ๕. ปฏิบตั ทิ า่ ราฟ้อนเลบ็ ฟ้อนจอ้ ง และฟ้อนดอกเสย้ี ว ๖. ฝกึ ปฏิบัติฟ้อนเล็บ ฟอ้ นจ้อง และฟ้อนดอกเส้ียว ๗. จัดการแสดงฟ้อนเลบ็ ฟอ้ นจ้อง และฟอ้ นดอกเสีย้ ว รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรียนรู้

๓๖. โครงสรา้ งรายวิชา รายวชิ าศ ๒๐๒๐๓วิชานาฏศิลป์พื้นบ้าน ๑ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๔๐ช่ัวโมงจานวน๑หนว่ ยกิต หนว่ ยท่ี/ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั จานวน น้าหนกั ชือ่ หน่วย เวลา คะแนน ๑.ประวัตคิ วาม (ช่วั โมง) ๑. ๑.ศึกษาประวตั ิความเป็นมาของการแสดง เปน็ มา ดนตรที ใี่ ช้ เคร่ือง ๘๐ นาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พนื้ บา้ นภาคเหนือ ประเภทฟ้อนเล็บ แต่งกายในการแสดง ทา่ รา ๓๘ พน้ื บ้าน ฟอ้ นจ้อง และฟ้อนดอกเสยี้ ว รูปแบบการแสดง บทบาท ภาคเหนอื ๒.บอกชนิดของเคร่ืองดนตรี และเคร่ืองแต่ง และหน้าท่ีของฝา่ ยต่าง ๆ ในการจัดการแสดง ในการ กายท่ีใชป้ ระกอบการแสดงประเภทฟ้อนเลบ็ แสดงนาฏศิลป์พื้นบ้าน ฟอ้ นจ้อง และฟ้อนดอกเสยี้ ว ภาคเหนอื ประเภทฟ้อนเลบ็ ๓.วเิ คราะหร์ ูปแบบการแสดง บทบาทและ ฟอ้ นจ้อง และฟ้อนดอก หน้าท่ขี องฝา่ ยต่าง ๆ ในการจัดการแสดง เสย้ี วโดยใช้ทักษะการ ประเภทฟ้อนเลบ็ ฟ้อนจ้อง และฟ้อนดอก สรา้ งสรรคง์ านนาฏศลิ ป์ เส้ยี ว ตามจิตนาการและความคิด ๔.วเิ คราะหท์ า่ ราฟ้อนเล็บ ฟ้อนจ้อง และ สรา้ งสรรคว์ ิเคราะห์ วพิ ากย์ ฟ้อนดอกเสี้ยว วิจารณ์คุณค่างานนาฏศิลป์ ๕.ปฏิบตั ิท่าราฟ้อนเล็บ ฟ้อนจ้อง และฟ้อน ถ่ายทอดความรสู้ ึกความคิด ดอกเสย้ี ว ต่องานนาฏศลิ ป์ ๖.ฝกึ ปฏบิ ตั ิฟอ้ นเลบ็ ฟ้อนจ้อง และฟ้อนดอก เส้ยี ว ๗.จดั การแสดงฟ้อนเล็บ ฟ้อนจ้อง และฟ้อน ดอกเสีย้ ว ทกุ ตวั ช้ีวัด วดั ผลประเมินผลการ ๒ ๒๐ เรยี นรู้ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรยี น

๓๗. ศ ๒๐๒๐๔ นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบา้ น ๒ รายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต ประวตั คิ วามเป็นมา ดนตรที ่ีใช้ เคร่ืองแต่งกายในการแสดง ท่ารา รูปแบบการแสดง บทบาท และหน้าทขี่ องฝ่ายต่าง ๆ ในการจดั การแสดงในการแสดงนาฏศลิ ป์พ้นื บ้าน ประเภทฟ้อนมองเซิง ฟ้อนนก โดยใชท้ กั ษะการสรา้ งสรรค์งานนาฏศลิ ป์ ตามจติ นาการและความคิดสรา้ งสรรค์วิเคราะห์ วิ พากย์ วิจารณ์คุณค่างานนาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึกความคดิ ต่องานนาฏศลิ ป์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจความสมั พันธ์ของนาฏศลิ ปพ์ ้ืนบา้ นและภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน แสดงออกทาง นาฏศิลป์อย่างสรา้ งสรรค์ ชนื่ ชม เหน็ คุณค่าและประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน ผลการเรยี นรู้ ๑.ศึกษาประวตั ิความเปน็ มาของการแสดงประเภทฟ้อนมองเซิง ฟ้อนนก ๒.บอกชนิดของเคร่ืองดนตรี และเครื่องแต่งกายท่ีใช้ประกอบการแสดงประเภทฟ้อนมองเซิง ฟอ้ นนก ๓.วเิ คราะห์รปู แบบการแสดง บทบาทและหนา้ ทขี่ องฝ่ายต่าง ๆ ในการจัดการแสดงประเภท ฟอ้ นมองเซงิ ฟ้อนนก ๔.วเิ คราะหท์ ่าราฟ้อนมองเซิง ฟอ้ นนก ๕.ปฏบิ ตั ิทา่ ราฟ้อนมองเซิง ฟอ้ นนก ๖.ฝึกปฏิบตั ิฟอ้ นมองเซิง ฟอ้ นนก ๗.การแสดงฟ้อนมองเซิง ฟ้อนนก รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรยี นรู้

๓๘. โครงสร้างรายวิชา รายวิชาศ ๒๐๒๐๔วิชานาฏศลิ ป์พ้ืนบ้าน ๒ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๔๐ช่วั โมงจานวน๑หนว่ ยกิต จานวน นา้ หนั ก หนว่ ยท/ี่ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา ชือ่ หน่วย (ชว่ั โม คะแน น ง) ๘๐ ๑. ๑.ศกึ ษาประวัติความเป็นมาของการแสดง ๑.ประวัตคิ วามเป็นมา ดนตรี ๓๘ นาฏศิลป์ ประเภทฟ้อนมองเซิง ฟอ้ นนก พื้นบ้าน ๒.บอกชนดิ ของเคร่ืองดนตรี และเครื่องแตง่ ท่ใี ช้ เครือ่ งแตง่ กายในการ ภาคเหนอื กายทใี่ ช้ประกอบการแสดงประเภทฟ้อนมอง แสดง ทา่ รา รปู แบบการ เซงิ ฟ้อนนก ๓.วเิ คราะหร์ ปู แบบการแสดง บทบาทและ แสดง บทบาทและหน้าที่ของ หนา้ ทีข่ องฝา่ ยต่าง ๆ ในการจัดการแสดง ประเภทฟ้อนมองเซิง ฟอ้ นนก ฝ่ายต่าง ๆ ในการจัดการ ๔.วเิ คราะห์ท่าราฟ้อนมองเซิง ฟ้อนนก ๕.ปฏบิ ตั ทิ า่ ราฟ้อนมองเซิง ฟ้อนนก แสดงในการแสดงนาฏศลิ ป์ ๖.ฝกึ ปฏบิ ัติฟอ้ นมองเซิง ฟ้อนนก ๗.การแสดงฟ้อนมองเซงิ ฟ้อนนก พื้นบ้าน ประเภทฟ้อนมองเซงิ ฟอ้ น โดยใช้ทกั ษะการ สรา้ งสรรค์งานนาฏศลิ ป์ ตาม จิตนาการและความคิด สรา้ งสรรคว์ เิ คราะห์ วิพากย์ วจิ ารณค์ ณุ ค่างานนาฏศิลป์ ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคดิ ตอ่ งานนาฏศิลป์ ทุกตวั ช้ีวัด วดั ผลประเมินผลการเรยี นรู้ ๒ ๒๐ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรียน

๓๙. ศ ๒๐๒๐๕ วาดภาพทวิ ทัศน์ ๑ รายวิชาเพิ่มเติม กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑ หนว่ ยกติ หลักการวาดภาพทิวทัศน์ ความหมายของการวาดภาพทิวทัศน์ ประเภทของการวาดภาพ ทิวทัศน์ ข้ันตอนการวาดภาพทิวทัศน์และการจัดองค์ประกอบศิลป์สาหรับการวาดภาพทิวทัศน์ วิเคราะห์รูปแบบและเทคนิควิธีการวาดภาพทิวทัศน์ สร้างสรรค์แสดงความงามของทัศนธาตุและ หลกั การจดั องค์ประกอบศิลป์ สร้างสรรค์งานการวาดภาพทิวทัศน์ จากประสบการณ์และจิตนการ ตาม ความสนใจ โดยใช้ทักษะการสร้างสรรค์งานทศั นศิลป์ ตามจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรคว์ เิ คราะห์ วพิ ากย์ วิจารณค์ ุณคา่ งานงานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดต่องานทัศนศิลป์ เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในความสมั พันธข์ องงานทัศนศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น แสดงออกทาง ทัศนศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ ช่นื ชม เห็นคุณคา่ และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั ผลการเรยี นรู้ ๑.ร้แู ละเข้าใจในเร่ืองหลักการวาดภาพทิวทัศน์ ความหมาย ประเภทและขนั้ ตอนการวาดภาพ ทิวทศั น์ ๒.รแู้ ละเข้าใจในหลกั การใช้ทัศนธาตุและการจดั องคป์ ระกอบศิลป์สาหรบั การวาดภาพทิวทศั น์ ๓.วิเคราะห์รปู แบบและเทคนิควิธีการวาดภาพทวิ ทศั น์ ๔.ใชก้ ระบวนการคดิ สร้างสรรค์การวาดภาพทิวทศั น์แสดงความงามของทัศนธาตแุ ละหลักการ จดั องค์ประกอบศิลป์ ๕.สรา้ งสรรคง์ านการวาดภาพทวิ ทัศน์ จากประสบการณแ์ ละจินตนาการ ตามความสนใจ รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรียนรู้

๔๐. โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ า ศ ๒๐๒๐๕ วาดภาพทวิ ทศั น์ ๑ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ชั่วโมงจานวน ๑ หนว่ ยกติ หน่วยท/่ี ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ จานวนเวลา นา้ หนัก ชื่อหน่วย (ชั่วโมง) คะแนน ๑.รู้และเข้าใจในเร่ืองหลกั การ - หลกั การ ความหมาย ๑ ความหมาย ประเภทของการวาด ประเภทของการวาดภาพ ๖ ๒๐ หลกั ภาพทวิ ทศั น์ ทวิ ทศั น์ สาคัญ ๒.รแู้ ละเขา้ ใจในหลกั การใช้ - หลักการใช้ การวาด ทศั นธาตแุ ละการจดั องคป์ ระกอบ ทศั นธาตแุ ละการจดั ภาพ ศลิ ปส์ าหรบั การวาดภาพทิวทัศน์ องค์ประกอบศลิ ป์สาหรับ ทิวทศั น์ ๓.วิเคราะห์รูปแบบและเทคนิค การวาดภาพทวิ ทัศน์ วธิ กี ารวาดภาพทวิ ทศั น์ - วิเคราะหร์ ูปแบบและ เทคนคิ วธิ วี าดภาพ ทิวทัศน์ ๒ ๔.ใชก้ ระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ - สรา้ งสรรค์วาดภาพ ๓๒ ๖๐ ข้ันตอน วาดภาพทวิ ทัศน์แสดงความงามของ ทวิ ทศั น์ การวาด ทัศนธาตแุ ละหลักการจัด - วาดภาพทิวทศั น์ ภาพ องค์ประกอบศิลป์ ตามจินตนาการ และ ทวิ ทศั น์ ๕.สรา้ งสรรค์งานวาดภาพทวิ ทศั น์ ความสนใจ จากประสบการณแ์ ละจินตนาการ ตามความสนใจ วดั ผลประเมนิ ผลการ ๒ ๒๐ เรียนรู้ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรยี น

๔๑. ศ ๒๐๒๐๖ วาดภาพทิวทศั น์ ๒ รายวชิ าเพ่มิ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑ หนว่ ยกติ การวาดภาพทิวทัศน์บก การวาดภาพทวิ ทัศน์ทะเล การวาดภาพทวิ ทศั นส์ ง่ิ ก่อสรา้ ง โดยใชท้ กั ษะการสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ ตามจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ถา่ ยทอด ความร้สู กึ ความคดิ ต่องานทัศนศลิ ป์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจความสัมพันธ์ของงานทัศนศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น แสดงออกทาง ทศั นศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ ช่ืนชม เหน็ คุณคา่ และประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน ผลการเรยี นรู้ ๑.วาดภาพทิวทศั น์บก ๒.วาดภาพทวิ ทัศน์ทะเล ๓.วาดภาพทวิ ทัศนส์ ิ่งก่อสรา้ ง ๔.วาดภาพทิวทัศนต์ ามจนิ ตนาการ รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรียนรู้

๔๒. โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ า ศ ๒๐๒๐๖ วาดภาพทิวทศั น์ ๒ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ช่ัวโมงจานวน ๑ หน่วยกติ หน่วยท่ี/ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ จานวนเวลา นา้ หนกั ชอื่ หน่วย วาดภาพทวิ ทัศนบ์ ก (ชว่ั โมง) คะแนน -ขน้ั ตอนการวาดภาพ ๑ ทิวทัศน์บก ๘ ๒๐ จัดสวน ๒ วาดภาพทิวทศั นท์ ะเล -ขัน้ ตอนการวาดภาพ ๑๐ ๒๐ ทะเล ทิวทศั น์ทะเล ๑๐ ๒๐ ๓ วาดภาพทิวทศั นส์ งิ่ กอ่ สร้าง -ขน้ั ตอนการวาดภาพ ชุมชน ทิวทัศนส์ ิง่ ก่อสร้าง ๔ วาดภาพทวิ ทศั น์ตามจินตนาการ -ขน้ั ตอนการวาดภาพ ๑๐ ๒๐ จินตนาการ ทวิ ทศั นต์ ามจนิ ตนาการ วดั ผลประเมินผลการ ๒ ๒๐ เรียนรู้ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรียน

๔๓. ศ ๒๐๒๐๗ นาฏศลิ ป์ไทย ๑ รายวชิ าเพิม่ เติม กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑ หน่วยกิต ประวัตคิ วามเป็นมา ดนตรที ี่ใช้ เครอื่ งแต่งกายในการแสดง ทา่ รา รปู แบบการแสดง บทบาท และหน้าท่ขี องฝ่ายต่าง ๆ ในการจดั การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย ใชท้ กั ษะการสร้างสรรคง์ านนาฏศลิ ป์ ตามจิตนาการและความคิดสรา้ งสรรคว์ เิ คราะห์ วิพากย์ วจิ ารณ์คณุ ค่างานนาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรสู้ ึกความคิดต่องานนาฏศลิ ป์ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจและ แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ชื่นชม เห็นคุณค่าและ ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน ผลการเรียนรู้ ๑. ศกึ ษาประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดงนาฏศิลป์ไทย ประเภทระบา รา ฟ้อน ๒. บอกชนดิ ของเครื่องดนตรี และเครื่องแตง่ กายท่ีใชป้ ระกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย ๓. วิเคราะห์รปู แบบการแสดง บทบาทและหน้าที่ของฝา่ ยต่าง ๆ ในการจดั การแสดง ๔. วเิ คราะหท์ า่ ราระบาดอกบวั ราสีนวล ระบาโบราณคดี ๕. ปฏิบตั ทิ า่ ราระบาดอกบัว ราสนี วล ระบาโบราณคดี ๖. จดั การแสดงระบาดอกบวั ราสีนวล ระบาโบราณคดี รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้

๔๔. โครงสร้างรายวชิ า รายวิชาศ ๒๐๒๐๗ วชิ านาฏศิลป์ไทย ๑ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ชว่ั โมง จานวน ๑ หน่วยกิต หนว่ ยที่/ ผลการเรียนรู้ สาระสาคัญ จานวน น้าหนกั ชื่อหน่วย เวลา คะแนน ๑.ประวตั ิความ (ชว่ั โมง) ๑. ๑.ศกึ ษาประวัติความเป็นมาของการแสดง เป็นมา ดนตรีท่ีใช้ เครือ่ ง ๘๐ นาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ไทย ประเภทระบา รา ฟอ้ น แตง่ กายในการแสดง ทา่ รา ๓๘ รปู แบบการแสดง บทบาท ไทย ๒.บอกชนิดของเครื่องดนตรี และเครื่องแต่ง และหนา้ ทข่ี องฝา่ ยต่าง ๆ กายท่ีใชป้ ระกอบการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย ในการจดั การแสดง ในการ ๓.วเิ คราะหร์ ปู แบบการแสดง บทบาทและ แสดงนาฏศลิ ป์ไทย โดยใช้ หน้าท่ีของฝา่ ยตา่ ง ๆ ในการจัดการแสดง ทกั ษะการสร้างสรรคง์ าน ๔.วเิ คราะหท์ า่ ราระบาดอกบัว ราสีนวล นาฏศิลป์ ตามจติ นาการ ระบาโบราณคดี และความคิดสรา้ งสรรค์ ๕.ปฏิบตั ิทา่ ราระบาดอกบัว ราสนี วล ระบา วเิ คราะห์ วิพากย์ วจิ ารณ์ โบราณคดี คุณค่างานนาฏศลิ ป์ ๖.จดั การแสดงระบาดอกบัว ราสีนวล ระบา ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิด โบราณคดี ต่องานนาฏศิลป์ ทกุ ตวั ช้ีวดั วดั ผลประเมนิ ผลการ ๒ ๒๐ เรียนรู้ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรยี น

๔๕. ศ ๒๐๒๐๘ นาฏศิลป์ไทย ๒ รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต ประวตั คิ วามเปน็ มา ดนตรีที่ใช้ เครือ่ งแต่งกายในการแสดง ท่ารา รูปแบบการแสดง บทบาท และหนา้ ท่ีของฝ่ายต่าง ๆ ในการจดั การแสดงนาฏศิลป์ไทย ใชท้ ักษะการสร้างสรรค์งานนาฏศลิ ป์ ตามจิตนาการและความคิดสร้างสรรคว์ ิเคราะห์ วพิ ากย์ วิจารณค์ ุณค่างานนาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคดิ ต่องานนาฏศลิ ป์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและ แสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ช่ืนชม เห็นคุณค่าและ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวัน ผลการเรียนรู้ ๑. ศึกษาประวตั ิความเปน็ มาของการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย ประเภทระบา รา ฟ้อน ๒. บอกชนดิ ของเครือ่ งดนตรี และเคร่ืองแต่งกายที่ใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์ไทย ๓. วเิ คราะหร์ ปู แบบการแสดง บทบาทและหนา้ ท่ีของฝ่ายต่าง ๆ ในการจดั การแสดง ๔. วเิ คราะห์ท่าราระบาไก่ ราแม่บทเลก็ ระบาเทพบันเทิง ๕. ปฏบิ ัติทา่ ราระบาไก่ ราแม่บทเล็ก ระบาเทพบนั เทิง ๖. จัดการแสดงระบาไก่ ราแม่บทเล็ก ระบาเทพบันเทิง รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรยี นรู้

๔๖. โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ าศ ๒๐๒๐๘ วิชานาฏศิลป์ไทย ๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ชว่ั โมงจานวน ๑ หน่วยกิต หน่วยที่/ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั จานวน น้าหนั ช่ือหน่วย เวลา ก ๑.ศกึ ษาประวัติความเปน็ มาของการแสดง ๑.ประวตั ิความเป็นมา ดนตรี (ช่วั โม ๑. นาฏศิลป์ไทย ประเภทระบา รา ฟอ้ น ที่ใช้ เคร่ืองแต่งกายในการ ง) คะแน นาฏศลิ ป์ ๒.บอกชนดิ ของเครื่องดนตรี และเครื่องแตง่ แสดง ทา่ รา รูปแบบการ น กายทใี่ ช้ประกอบการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย แสดง บทบาทและหน้าท่ีของ ๓๘ ไทย ๓.วิเคราะหร์ ปู แบบการแสดง บทบาทและ ฝ่ายตา่ ง ๆ ในการจัดการ ๘๐ หนา้ ทีข่ องฝา่ ยตา่ ง ๆ ในการจัดการแสดง แสดง ในการแสดงนาฏศิลป์ ๔.วิเคราะห์ท่าราระบาไก่ ราแมบ่ ทเล็ก ระบา ไทย โดยใชท้ กั ษะการ เทพบันเทิง สร้างสรรค์งานนาฏศลิ ป์ ตาม ๕.ปฏิบัติทา่ ราระบาไก่ ราแม่บทเล็ก ระบา จติ นาการและความคิด เทพบันเทิง สร้างสรรค์วิเคราะห์ วิพากย์ ๖.จดั การแสดงระบาไก่ ราแม่บทเลก็ ระบา วิจารณค์ ุณค่างานนาฏศิลป์ เทพบนั เทิง ถา่ ยทอดความรสู้ ึกความคิด ต่องานนาฏศลิ ป์ ทกุ ตวั ชี้วดั วัดผลประเมินผลการเรยี นรู้ ๒ ๒๐ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรยี น

๔๗. ศ ๒๐๒๐๙ วาดภาพแสงเงา ๑ รายวชิ าเพม่ิ เติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จานวน ๑ หน่วยกติ หลักการวาดภาพแสงเงา ประเภทของการวาดภาพแสงเงา ลักษณะของเงาวัตถุและการจัด องค์ประกอบศิลป์สาหรับการวาดภาพแสงเงา วิเคราะห์รูปแบบและเทคนิควิธีการวาดภาพแสงเงา สร้างสรรค์แสดงความงามของทัศนธาตุและหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ จากประสบการณ์และจิตน การ ตามความสนใจ โดยใช้ทกั ษะการสรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจิตนาการและความคิดสร้างสรรค์วเิ คราะห์ วพิ ากย์ วิจารณ์คุณคา่ งานทศั นศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ต่องานทัศนศลิ ป์ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในความสัมพันธข์ องงานทัศนศิลป์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น แสดงออกทาง ทัศนศลิ ป์อยา่ งสร้างสรรค์ ชื่นชม เหน็ คุณคา่ และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจาวัน ผลการเรียนรู้ ๑.รูแ้ ละเข้าใจในเรื่องหลักการ ประเภทและลกั ษณะของเงาวัตถุในการวาดภาพแสงเงา ๒.รูแ้ ละเข้าใจในหลักการใช้ทัศนธาตุและการจดั องคป์ ระกอบศลิ ปส์ าหรับการวาดภาพแสงเงา ๓.วเิ คราะหร์ ูปแบบและเทคนิควธิ ีการวาดภาพแสงเงา ๔.ใช้กระบวนการคดิ สรา้ งสรรคก์ ารวาดภาพแสงเงา แสดงความงามของทศั นธาตุและหลกั การ จดั องค์ประกอบศิลป์ ๕.สร้างสรรคง์ านการวาดภาพแสงเงา จากประสบการณ์และจินตนาการ ตามความสนใจ รวมท้ังหมด ๕ ผลการเรียนรู้

๔๘. โครงสรา้ งรายวชิ า รายวชิ า ศ ๒๐๒๐๙ วาดภาพแสงเงา ๑ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ชว่ั โมง จานวน ๑ หนว่ ยกติ หน่วยที่/ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ จานวนเวลา น้าหนัก ชื่อหน่วย (ชวั่ โมง) คะแนน ๑.รแู้ ละเขา้ ใจในเร่ืองหลกั การ - หลักการ ประเภท ๘ ๑ ๒๐ หลกั ประเภทและลักษณะของเงาวตั ถุใน และลักษณะของเงาวตั ถุ ๓๐ สาคญั ๖๐ การวาด การวาดภาพแสงเงา ในการวาดภาพแสงเงา ภาพแสง เงา ๒.รูแ้ ละเข้าใจในหลักการใช้ - หลักการใช้ ๒ ทัศนธาตแุ ละการจัดองคป์ ระกอบ ทศั นธาตแุ ละการจดั ข้นั ตอน การวาด ศิลปส์ าหรับการวาดภาพแสงเงา องค์ประกอบศิลป์สาหรบั ภาพ แสงเงา ๓.วเิ คราะห์รปู แบบและเทคนิค การวาดภาพ วิธกี ารวาดภาพแสงเงา แสงเงา - วิเคราะหร์ ปู แบบและ เทคนิควิธีวาดภาพแสง เงา ๔.ใชก้ ระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์การ - สร้างสรรคว์ าดภาพแสง วาดภาพแสงเงา แสดงความงามของ เงา ทัศนธาตุและหลักการจัด - วาดภาพแสงเงา องค์ประกอบศิลป์ ตามจิตนการ และความ ๕.สรา้ งสรรค์งานวาดภาพแสงเงาจาก สนใจ ประสบการณ์และจนิ ตนาการ ตามความสนใจ วดั ผลประเมนิ ผลการ ๒ ๒๐ เรียนรู้ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรยี น

๔๙. ศ ๒๐๒๑๐ วาดภาพแสงเงา ๒ รายวชิ าเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑ หนว่ ยกิต การวาดภาพทิทศั น์ การวาดภาพแสงเงาอวยั วะต่างๆของคน การวาดภาพคนเหมือน โดยใชท้ ักษะการลงแสงเงา การสร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ ตามจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ถ่ายทอดความรูส้ ึกความคิดต่องานทัศนศิลป์ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจความสัมพันธ์ของงานทัศนศิลป์และภูมิปัญญาท้องถ่ิน แสดงออกทาง ทศั นศิลป์อย่างสร้างสรรค์ ชนื่ ชม เหน็ คณุ ค่าและประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน ผลการเรยี นรู้ ๑.วาดภาพทวิ ทศั น์ ๒.วาดภาพแสงเงาอวัยวะตา่ งๆของคน ๓.วาดภาพการวาดภาพคนเหมอื น รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรยี นรู้

๕๐. โครงสร้างรายวิชา วชิ า ศ ๒๐๒๑๐ วาดภาพแสงเงา ๒ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ชัว่ โมง จานวน ๑ หน่วยกติ หนว่ ยท/่ี ผลการเรยี นรู้ สาระสาคัญ จานวนเวลา น้าหนัก ชือ่ หน่วย วาดภาพทวิ ทศั น์ (ช่ัวโมง) คะแนน -ขั้นตอนการวาดภาพ ๑ ทิวทศั น์ ๑๒ ๓๐ ทวิ ทศั น์ ๒ วาดภาพมอื -ขนั้ ตอนการวาดภาพคน ๒๖ ๕๐ มนุษย์ วาดภาพเท้า เหมอื น วาดภาพตา คิว้ วาดภาพจมกู วาดภาพปาก วาดภาพคนเหมือน วดั ผลประเมินผลการ ๒ ๒๐ เรียนรู้ ๔๐ ๑๐๐ รวมเวลาเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook