Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Book05_การปฐมพยาบาล

Book05_การปฐมพยาบาล

Published by thanatphat2606, 2020-04-13 00:26:54

Description: Book05_การปฐมพยาบาล

Keywords: Book05_การปฐมพยาบาล

Search

Read the Text Version

วิชา ศท. (GE) ๒๑๑๐๖ การปฐมพยาบาล

ตาํ ราเรยี น หลักสตู ร นักเรยี นนายสบิ ตํารวจ ÇªÔ Ò È·. (GE) òññðö ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ เอกสารน้ี “เปนความลับของทางราชการ” หามมิใหผูหน่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ หรือแปลสว นหนง่ึ สวนใด หรือท้ังหมดของเอกสารนเี้ พ่อื การอยา งอื่น นอกจาก “เพอ่ื การศกึ ษาอบรม” ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นท่ีไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา กองบญั ชาการศึกษา สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๖๓

1

คาํ นาํ หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ท่ีเขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ ทักษะวิชาชีพตํารวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี จติ สํานึกในการใหบ ริการเพื่อบําบัดทกุ ขบ าํ รุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คัญ กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ ฝก อบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบญั ชาการศกึ ษา ศนู ยฝ ก อบรมตาํ รวจภธู รภาค ๑ - ๙ และกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตําราเรียน หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจี่ าํ เปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ ของนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพ่ี งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส าํ หรบั ประกอบ การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม ความตอ งการอยา งแทจรงิ และมคี วามพรอมในการเขา สปู ระชาคมอาเซยี น ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด ใหคําปรึกษา คําแนะนํา ประสบการณท่ีเปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู ท่ีเปนประโยชน จนทําใหการจัดทําตําราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี ซึ่งกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดนี้คงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน การสอนและการจดั การฝกอบรมของครู อาจารย และครฝู ก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏบิ ัตงิ าน ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทําใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อม่ัน ศรัทธา และความผาสุกใหแกประชาชนไดอ ยา งแทจ รงิ พลตํารวจโท ( อภิรตั นยิ มการ ) ผูบ ัญชาการศกึ ษา

1

ÊÒúÑÞ Ë¹ÒŒ ÇÔªÒ ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ñ ๑ º··èÕ ñ ¡ÒÂÇÔÀÒ¤ÈÒÊμþ ×¹é °Ò¹ ๒ - จดุ ประสงคการเรยี นรู ๓ - ระบบผวิ หนงั หรือระบบหอหมุ รางกาย (Integumentary system) ๔ - ระบบกระดูก (Skeletal system) ๕ - ระบบกลา มเน้ือ (Muscular system) ๕ - ระบบยอ ยอาหาร (Digestive system) ๖ - ระบบขับถายปส สาวะ (Urinary system) ๗ - ระบบหายใจ (Respiratory system) ๘ - ระบบไหลเวยี นโลหิต (Vascular system) ๙ - ระบบประสาท (Nervous system) ๙ - ระบบตอ มไรท อ (Endocrine system) ๑๐ - ระบบสบื พนั ธุ (Reproductive system) ๑๐ - สรุป ๑๐ - กจิ กรรมการเรียน ññ - อา งองิ ๑๑ ๑๑ º··èÕ ò ËÅ¡Ñ ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ๑๑ - จุดประสงคก ารเรียนรู ๑๓ - วัตถุประสงคของการปฐมพยาบาล ๒๒ - หลักการปฐมพยาบาล ๒๒ - ขัน้ ตอนการปฐมพยาบาลทางยุทธวธิ ี ๒๓ - สรปุ - กิจกรรมการเรียน - อางอิง

º··Õè ó ¡Òû°Á¾ÂÒºÒźҴá¼ÅáÅСÒÃËŒÒÁàÅ×Í´ ˹ŒÒ - จุดประสงคก ารเรยี นรู òõ - ชนิดของบาดแผล ๒๕ - การหามเลอื ด ๒๕ - วิธีการการหามเลอื ด ๒๘ - การเสยี เลอื ดภายใน ๒๙ - การปฐมพยาบาลผูเสียเลอื ดภายใน ๓๒ - อาการแสดงภาวะช็อก ๓๒ - การปฐมพยาบาลภาวะช็อก ๓๒ - การปฐมพยาบาลบาดแผลท่ีอนั ตราย ๓๓ - สรปุ ๓๓ - กจิ กรรมการเรียน ๓๘ - อางอิง ๓๘ ๓๘ º··èÕ ô ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ¡Ãд¡Ù Ë¡Ñ óù - จุดประสงคก ารเรยี นรู ๓๙ - กระดูกสวนตาง ๆ ท่ีพบการแตกหักได ๔๐ - สาเหตุของกระดูกหกั ๔๑ - อาการของผทู ี่กระดูกหกั ๔๑ - หลักท่ัวไปในการปฐมพยาบาลผูที่กระดูกหัก ๔๑ - หลักการเขา เฝอกช่ัวคราว ๔๒ - ชนิดของเฝอ กชั่วคราว ๔๒ - สรุป ๔๔ - กิจกรรมการเรียน ๔๔ - อา งองิ ๔๔ ôõ º··èÕ õ ¡ÒÃà¤ÅÍè× ¹ÂŒÒ¼ŒÙºÒ´à¨çº ๔๕ - จุดประสงคการเรียนรู ๔๕ - การเคลื่อนยายผบู าดเจ็บดว ยมือเปลา ๕๖ - การเคล่อื นยา ยโดยใชอ ปุ กรณ

- สรปุ ˹Ҍ - กิจกรรมการเรียน ๕๘ - อางองิ ๕๘ º··Õè ö ¡ÒêNj ¿œ„¹¤×¹ª¾Õ (CPR) ๕๘ - จุดประสงคก ารเรยี นรู õù - การชว ยฟนคนื ชีพ (Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR) ๕๙ - ขอ บงชใี้ นการปฏบิ ตั ิการชว ยฟน คืนชพี ๕๙ - ข้ันตอนการปฏิบัติการชว ยฟนคืนชีพ ๕๙ - การใชเ คร่อื งชอ็ กไฟฟา หัวใจอัตโนมตั ิ ๖๐ - สรปุ ขัน้ ตอนสําคญั ๔ ประการของการใชเครอื่ ง AED ๖๖ - สรุป ๖๘ - กิจกรรมการเรียน ๖๙ - อา งอิง ๖๙ º··èÕ ÷ ¡ÒÃจําṡ¼ŒÙºÒ´à¨ºç ๗๐ - จุดประสงคการเรยี นรู ÷ñ - บทนํา ๗๑ - ความตอ เนอ่ื งในกระบวนการจาํ แนก ๗๑ - การจาํ แนกผบู าดเจ็บในทีเ่ กดิ เหตุ ๗๕ - สรุป ๗๕ - กจิ กรรมการเรยี น ๗๘ - อา งอิง ๗๘ ๗๘

1

๑ º··èÕ ñ ¡ÒÂÇÔÀÒ¤ÈÒÊμþ ¹é× °Ò¹ ¨´Ø »ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ ๑. ผเู รยี นมคี วามรคู วามเขาใจเกี่ยวกบั กายวิภาคศาสตรพ ื้นฐาน ๒. ผูเรียนสามารถนําความรูเก่ียวกับกายวิภาคศาสตรพื้นฐาน ไปประยุกตใชในการ ปฐมพยาบาลได การที่เจาหนาท่ีจะสามารถทําการปฐมพยาบาลผูบาดเจ็บไดอยางปลอดภัยมากยิ่งข้ึน และเพื่อรักษาชีวิตของผูบาดเจ็บน้ัน จําเปนอยางยิ่งท่ีเจาหนาท่ีจะตองมีความรูเก่ียวกับอวัยวะ และสว นประกอบตา งๆ และภาวะปกตขิ องระบบรา งกาย ซึง่ อธิบายไดพอสงั เขปดังตอไปนี้ ÀÒ¾»ÃСͺáÊ´§ÍÇÂÑ ÇÐáÅÐÊÇ‹ ¹»ÃСͺ¢Í§Ã‹Ò§¡ÒÂÁ¹Øɏ ท่มี า : http://body-human.blogspot.com/2012/03/blog-post.html ระบบตางๆ ในรางกายทุกระบบมีการทํางานประสานเชื่อมโยงกันทําใหมนุษยสามารถ ดํารงชีวิตอยูไดอยางปกติ หากระบบใดระบบหนึ่งเกิดความผิดปกติ สูญเสียการทํางาน จะทําใหเกิด ความผิดปกติของระบบอ่ืนๆ สงผลใหมนุษยไมสามารถดํารงชีวิตไดอยางปกติ และจะแสดงอาการ ผิดปกติหรือทําใหเกิดความเจ็บปวย เจาหนาที่จะตองทําการประเมินอาการของผูบาดเจ็บเบ้ืองตน กอ นท่ีจะทาํ การปฐมพยาบาล ในรางกายของมนุษยประกอบดวยระบบตา งๆ ๑๐ ระบบ ดงั น้ี ๑. ระบบผิวหนังหรือระบบหอหมุ รางกาย (Integumentary system) ๒. ระบบกระดกู (Skeletal system) ๓. ระบบกลามเน้ือ (Muscular system)

๒ ๔. ระบบยอยอาหาร (Digestive system) ๕. ระบบขับถา ยปสสาวะ (Urinary system) ๖. ระบบหายใจ (Respiratory system) ๗. ระบบไหลเวียนโลหิต (Vascular system) ๘. ระบบประสาท (Nervous system) ๙. ระบบตอมไรทอ (Endocrine system) ๑๐. ระบบสบื พนั ธุ (Reproductive system) ในบทเรยี นจะกลาวถึงระบบตางๆ ในรางกายพอสังเขป แยกเปน ระบบ ไดดงั นี้ ñ. Ãкº¼ÇÔ Ë¹Ñ§ËÃ×ÍÃкºËÍ‹ ËØŒÁËҧ¡Ò (Integumentary system) ผิวหนังในรางกายมนุษยจะปกคลุมหอหุมรางกายท้ังหมด ภายในจะมีประสาท รบั ความรูสกึ มากมาย เพือ่ รับรูก ารสัมผสั การกด ความเจบ็ ปวด และอณุ หภมู ริ อ นเย็น ฉะนัน้ ระบบ ผิวหนงั จงึ มีหนาท่ีสาํ คัญในการควบคุมอณุ หภูมริ า งกาย ผิวหนังของมนุษย มีจํานวน ๒ ช้นั ไดแก ๑. ผวิ หนงั ชัน้ นอกหรอื หนงั กําพรา (Epidermis) ๒. ผิวหนงั ช้นั ในหรอื ช้ันหนงั แท (Dermis) ÀÒ¾»ÃСͺâ¤Ã§ÊÃÒŒ §áÅÐÊÇ‹ ¹»ÃСͺ¢Í§¼ÔÇ˹§Ñ ที่มา : www.thaigoodview.com ประโยชนของระบบผวิ หนังหรอื ระบบหอ หุมรา งกาย - ปอ งกันและปกปดอวัยวะภายในไมใ หไดร ับอนั ตราย - ปอ งกันไมใหเ ชอ้ื โรคเขา สูรา งกายไดโ ดยงาย - ชว ยรกั ษาอณุ หภูมขิ องรางกายใหคงที่ - ชว ยในการรับความรสู ึกสมั ผสั เชน รอน หนาว เจ็บปวด - ชวยสรา งวิตามนิ ดใี หแ กร า งกาย - แสดงใหเหน็ ถึงความผิดปกตขิ องรา งกาย เชน ผ่นื คัน ผวิ หนังซีด ฯลฯ

๓ ò. Ãкº¡Ãд١ (Skeletal system) รางกายมนุษยประกอบดวยกระดูกท้ังหมด จํานวน ๒๐๖ ชิ้น คิดเปนประมาณ ๒๐ เปอรเซ็นตของน้ําหนักรางกาย แตอาจจะแตกตางกันไปในแตละบุคคล กระดูกแตละช้ิน จะเช่อื มตอ กันดวยเอ็นและกลามเนือ้ ซึ่งสามารถแบง ออก ๒ ชนดิ ตามหนาท่ี ดังนี้ ๑. กระดกู แกน (Axial skeleton) มหี นา ทพ่ี ยงุ รบั นา้ํ หนกั รา งกาย ประกอบดว ยกระดกู ดังตอ ไปนี้ ๑.๑ กะโหลกศีรษะ ๑.๒ กระดูกสนั หลงั ๑.๓ กระดกู ซโ่ี ครง ๒. กระดูกรยางค (Appendicular skeleton) มีหนาที่ชวยรางกายในการเคลื่อนไหว ไดแ ก ๒.๑ กระดูกแขน ๒.๒ กระดกู สะบกั ๒.๓ กระดกู ขา ๒.๔ กระดูกเชิงกราน กะโหลกศีรษะ กระดูกขากรรไกร กระดูกไหปลารา กระดกู ทรวงอก กสปทรนั อละหอนดงลบูกกงั นแรขะนดูก กระดูกซ่ีโครง กระกกดรรกู ะะเดบูกนเหน็บ กระดกู เชิงกราน ขอมือ กระดกู แขนทอ นใน กระดูกทสอ ว นนแลขานง กระดูกขาออ น หกรวั ะเขดา กู สะบา กระดกู แขง กระดกู แขง กระดูกขอเทา ÀÒ¾»ÃСͺ Ãкº¡Ãд¡Ù ã¹Ã‹Ò§¡ÒÂÁ¹ÉØ Â ท่มี า : https://duangkamon5652.wordpress.com/ระบบกระดกู /

๔ ประโยชนของระบบกระดูก - ปอ งกนั อวัยวะสาํ คัญทอ่ี ยูภ ายใน - ค้ําจุน พยงุ โครงสรา งของรา งกาย - เปน ทีย่ ึดเกาะของกลามเนอ้ื และเอ็น - เปนแหลงผลติ เมด็ เลือดใหแกรางกาย - เปน แหลงเกบ็ สะสมแคลเซยี มใหแ กรางกาย ó. Ãкº¡ÅÒŒ Áà¹×éÍ (Muscular system) รางกายมนษุ ยแบง กลามเนอ้ื ออกเปน ๓ ชนิด คือ ๑. กลา มเนอ้ื ลาย (Skeletal muscle) เปนกลามเนื้อท่ยี ดึ ติดกบั กระดกู ทําหนา ที่ เก่ียวกับการเคลื่อนไหว โดยการยืดและหดตัวของเซลลกลามเนื้อ การทํางานของกลามเนื้อชนิดน้ี รางกายสามารถบังคบั ได ภายในอํานาจจติ ใจ ๒. กลามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) เปนกลามเน้ือท่ีพบอยูตามอวัยวะภายใน ตางๆ เชน ผนงั ลาํ ไส ผนงั กระเพาะอาหาร ผนงั หลอดเลอื ด เปนตน การทํางานของกลา มเน้ือเรยี บ ถกู ควบคุมโดยระบบประสาทอตั โนมัติ ๓. กลามเน้ือหัวใจ (Cardiac muscle) เปนกลามเนื้อชนิดเดียวท่ีอยูนอกอํานาจ จิตใจ และถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ การทํางานของกลามเน้ือชนิดน้ีจะหดและคลายตัว เปน จงั หวะตลอดชีวติ เพ่อื สูบฉีดโลหติ ไปเลยี้ งสวนตา งๆ ของรา งกาย ÀÒ¾»ÃСͺ¡ÅÒŒ Áà¹éÍ× ทีม่ า : https://sites.google.com/a/hatyaiwit.ac.th/kroosert5/home/bi-ngan-laea-baeb-thdsxb-1/phaph-khorngsrang-rabb-klam-neux

๕ ô. ÃкºÂÍ‹ ÂÍÒËÒà (Digestive system) การยอยอาหาร คือ กระบวนการเปล่ียนโมเลกุลของอาหารท่ีมีขนาดใหญใหเปน โมเลกุลขนาดเล็กลง พอท่ีจะดูดซึมเขาสูรางกายและเซลลของรางกายสามารถนําไปใชประโยชนได ประกอบดวยอวยั วะตา งๆ ไดแก ๑. ปาก ๒. คอหอยและหลอดอาหาร ๓. กระเพาะอาหาร ๔. ลาํ ไสเ ล็ก ๕. ลาํ ไสใหญ ๖. ทวารหนกั ÀÒ¾»ÃСͺÃкº¡ÒÃÂÍ‹ ÂÍÒËÒà ทีม่ า : https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/30588-043066 õ. Ãкº¢ºÑ ¶Ò‹ »˜ÊÊÒÇÐ (Urinary system) เปนระบบหน่ึงในรางกายท่ีเก่ียวของกับการขับของเสีย หรือขับสารพิษออกจาก รางกาย เพ่ือควบคุมสภาวะรางกายใหคงที่ โดยน้ําปสสาวะจะเปนตัวนําพาของเสียออกจากรางกาย จงึ ชว ยรักษาสมดลุ ของของเหลวและแรธาตตุ า งๆ โครงสรา งของระบบขับถา ยปสสาวะ ประกอบดว ย ๑. ไต เปนอวยั วะคู มีรูปรา งคลา ยถ่ัว ทาํ หนาท่ีผลิตและขับถา ยนํ้าปสสาวะเพือ่ นํา สารพษิ และสารเคมอี อกจากรา งกาย อกี ทงั้ ยงั ขบั เกลอื แรท เี่ กนิ ความจาํ เปน ออกจากรา งกาย เพอื่ รกั ษา สมดลุ ของเกลือแร ๒. ทอไต ๓. กระเพาะปส สาวะ เปน อวยั วะทที่ าํ หนา ทเ่ี กบ็ พกั นาํ้ ปส สาวะชวั่ คราว กอ นขบั ออก จากรางกาย โดยปกตมิ คี วามจเุ ฉลย่ี ๕๐๐ มิลลลิ ติ ร ๔. ทอปสสาวะ

๖ ÀÒ¾»ÃСͺÃкº¢Ñº¶‹Ò»ʘ ÊÒÇÐ ทมี่ า : https://sites.google.com/a/bcnnv.ac.th/wichakar-phyabal-bukhkhl-thuk-chwng-way/bth-thi-4-kar-phyabal-phu-pwy- thi-mi-khwam-phid-pkti-khxng-kar-khab-thay-passawa/kaywiphakh-laea-srirwithya-rabb-thang-dein-passawa ö. ÃкºËÒÂ㨠(Respiratory system) ประกอบดวยอวยั วะตางๆ ดงั นี้ ๑. จมูก (Nose) ๒. หลอดคอ (Pharynx) ๓. หลอดเสยี ง (Larynx) ๔. หลอดลม (Trachea) ๕. ปอด (Lung) มี ๒ ขาง อยูใ นชอ งอก มีรปู รางคลายกรวย ภายในมลี กั ษณะ คลายฟองน้ํา มีหนาท่ีนํากาซคารบอนไดออกไซดออกจากเลือด และนํากาซออกซิเจนเขาสูเลือด ¡Ãкǹ¡ÒÃ㹡ÒÃËÒÂ㨠เมื่อกลามเนื้อและกระดูกสวนอกขยายตัวและยกข้ึน ในขณะที่กะบังลมลดต่ําลง ทําใหโพรงในชองอกขยาย ทําใหเกิดการหายใจเอาอากาศท่ีมีออกซิเจนเขาไปยังถุงลมในปอดท่ีมี หลอดเลือดฝอยติดอยู ออกซิเจนจะผานผนังเสนเลือดฝอยเขาสูเม็ดเลือดแดง คารบอนไดออกไซด ทอ่ี ยใู นหลอดเลอื ดจะผา นเขา สถู งุ ลมปอด และเมอื่ กลา มเนอื้ หยดุ ทาํ งานและหยอ นตวั ลง ทรวงอกยบุ ลง และความดันในชองทองจะดันกะบังลมกลับมาอยูในลักษณะเดิม กระบวนการเชนน้ีทําใหความดัน ในปอดเพ่ิมขึ้น เมื่อความดันในปอดสูงกวาความดันอากาศภายนอก อากาศภายในปอดพรอมกับ กาซคารบ อนไดออกไซดจ งึ ถกู ดันออกสภู ายนอก ทําใหเ กิดการหายใจออก ÀÒ¾»ÃСͺÃкº¡ÒÃËÒÂ㨠ท่มี า : http://www.bwc.ac.th/e-learning/virachai02/haijai.htm

๗ ÷. ÃкºäËÅàÇÕ¹âÅËÔμ (Vascular system) อวยั วะหรอื สว นประกอบทีส่ ําคญั ในระบบไหลเวียนโลหิต มีดังน้ี ๑. โลหิตหรือเลือด เปนเน้ือเยื่อชนิดหน่ึงท่ีทําหนาที่ลําเลียงสารอาหารตางๆ ในรา งกาย ประกอบดว ย น้ําเลือด เม็ดเลอื ด และเกล็ดเลือด ๒. เสนเลือด แบง ออกเปน ๓ ชนดิ ไดแก ๒.๑ เสนเลือดแดง ทําหนาท่ีนําเลือดออกจากหัวใจไปยังเสนเลือดฝอย เพอื่ นาํ ไปเลีย้ งสว นตา งๆ ของรางกาย ๒.๒ เสนเลือดดํา ทําหนาท่ีนําเลือดที่นําไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย แลวกลับสูห ัวใจ ๒.๓ เสนเลือดฝอย เปนเสนเลือดขนาดเล็ก มีหนาท่ีนําเลือดจาก หลอดเลอื ดแดงไปเลยี้ งสว นตา งๆ ของรางกายและนาํ เลอื ดดาํ จากรา งกายไปยังหลอดเลือดดํา ๓. หัวใจ เปนอวัยวะท่ีสําคัญที่สุดในระบบไหลเวียนโลหิต ทําหนาที่สูบฉีดโลหิต ไปเลี้ยงรางกาย มีขนาดประมาณเทากําปนของเจาของ อยูในชองอกระหวางปอดทั้ง ๒ ขาง หัวใจ คนปกติจะเตนประมาณ ๖๐ – ๘๐ ครั้งตอ นาที ÀÒ¾áÊ´§ÃкºäËÅàÇÂÕ ¹âÅËμÔ ÀÒ¾áÊ´§¡Ò÷Òí §Ò¹¢Í§ËÑÇ㨠ที่มา : https://kattytewli22.wordpress.com/72-2/ ทม่ี า : https://benjawan010335.wordpress.com/

๘ ø. Ãкº»ÃÐÊÒ· (Nervous system) เปนระบบท่ีควบคุมการทําหนาท่ีของสวนตางๆ ทุกระบบในรางกายใหทํางาน ประสานสมั พนั ธก นั เพอื่ ใหร า งกายสามารถปรบั ตวั ใหเ ขา กบั สง่ิ แวดลอ มทงั้ ภายในและภายนอกรา งกาย ใหสามารถดํารงชีวิตอยูได นอกจากน้ีระบบประสาทยังเปนแหลงท่ีมาของความคิด ความรูสึก สตปิ ญ ญา ความฉลาดไหวพรบิ การตดั สนิ ใจ การใชเ หตผุ ลและการแสดงอารมณอ กี ดว ย อวยั วะทสี่ าํ คญั ของระบบประสาท ไดแก ๑. สมอง มลี กั ษณะเปน รูปคร่งึ วงกลมควา่ํ อยูในกะโหลกศรี ษะ เปนสว นทสี่ ําคัญ ที่สดุ เกย่ี วของโดยตรงกบั การเรียนรู ความโง ความฉลาด ๒. ไขสันหลัง เปนเนื้อเย่ือที่มีลักษณะเปนทอยาวอยูภายในกระดูกสันหลัง เปนสวนท่ียาวตอลงมาจากสมอง หนาท่ีหลักคือถายทอดกระแสประสาทระหวางสมองกับสวนตางๆ ของรางกาย ๓. เสนประสาท เปนเนื้อเย่ือท่ีมีลักษณะเปนเสนใยยาวๆ พบอยูในเนื้อเย่ือ และอวัยวะตางๆ ทวั่ รา งกาย ÀÒ¾ÊÁͧ ÀÒ¾ä¢Ê¹Ñ ËÅѧ ÀÒ¾àʹŒ »ÃÐÊÒ· ทมี่ า : http://thenervous.weebly.com/ ทม่ี า : http://www.atom.rmutphysics.com/ ที่มา : http://www.moe.go.th/ ÀÒ¾»ÃСͺÃкº»ÃÐÊÒ·áÅÐÍÇÑÂÇÐã¹Ãкº»ÃÐÊÒ· ù. Ãкºμ‹ÍÁäÃŒ·Í‹ (Endocrine system) เปนกลุมเซลลท่ีสรางและหลั่งสารเคมีท่ีเรียกวาฮอรโมน แลวสงออกนอกตัวเซลล โดยผานทางกระแสเลือดหรือน้ําเหลือง เพ่ือไปควบคุมเซลลเปาหมายท่ีอยูไกลออกไป ซึ่งฮอรโมน มีความสําคัญตอรางกายและมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของคนเรา โดยฮอรโมนแตละชนิดจะทํางาน ไปพรอ มๆ กัน เพ่อื รักษาสมดลุ ของรา งกายใหคงทอี่ ยเู สมอ หนาท่ีสําคัญของระบบตอมไรทอ คือ ควบคุมระบบพลังงานของรางกาย ควบคุม ปริมาณนํ้าและเกลือแรในรางกาย ควบคุมการเจริญเติบโตของรางกาย ควบคุมระบบสืบพันธุ และตอมนํา้ นม

๙ ÀÒ¾»ÃСͺÃкºμ‹ÍÁä÷Œ Í‹ ทีม่ า : https://sites.google.com/site/32645xwaywa1/rabb-txm-ri-thx ñð. ÃкºÊ׺¾Ñ¹¸Ø (Reproductive system) เปน ระบบเพอื่ รกั ษาชาตพิ นั ธขุ องมนษุ ยใ หส บื ทอดตอ ไปได ประกอบดว ยระบบสบื พนั ธุ ของเพศชายและระบบสบื พนั ธขุ องเพศหญงิ ÃкºÊ׺¾Ñ¹¸¢Ø ͧà¾ÈªÒ ÃкºÊ׺¾Ñ¹¸¢Ø ͧà¾ÈËÞÔ§ ÀÒ¾»ÃСͺÃкºÊº× ¾Ñ¹¸Ø ท่ีมา : https://sites.google.com/site/biologytarnpla58e/kar-sub-phanth-laea-kar-ceriy-teibto

๑๐ ÊÃØ» ความรดู า นกายวภิ าคพนื้ ฐาน เปน การศกึ ษาเกย่ี วกบั รา งกายและอวยั วะตา งๆ ของมนษุ ย ถึงรูปราง ลักษณะ ความสัมพันธ และตําแหนงในสภาพปกติ ซึ่งเปนพื้นฐานในการศึกษาวิชาการ ปฐมพยาบาล เพ่ือประโยชนในการวิเคราะห วินิจฉัยความผิดปกติที่เกิดขึ้น และนําไปประยุกตใชใน การใหก ารปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจบ็ ไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพตอ ไป ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ ๑. ผูสอนและผูเ รียนชวยกันสรปุ เน้ือหา ๒. ผเู รยี นศึกษารปู ภาพรา งกาย และอวยั วะตา งๆ ของมนษุ ย ÍŒÒ§Í§Ô อรพนิ ยงวัฒนา. ผแู ปล. ÃÒ‹ §¡ÒÂÁ¹ØÉÂ. กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาสน, ๒๕๕๕. รําแพน พรเทพเกษมสันต. ¡ÒÂÇÀÔ Ò¤ÈÒÊμÃᏠÅÐÊÃÕÃÇÔ·ÂҢͧÁ¹Øɏ Human Anatomy and Physiology. กรงุ เทพฯ : ศิลปบรรณาคาร, ๒๕๕๖.

๑๑ º··Õè ò ËÅÑ¡¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ¨´Ø »ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙŒ ๑. ผเู รียนมีความรหู ลักการปฐมพยาบาลผบู าดเจบ็ ๒. ผเู รยี นบอกความหมายของการปฐมพยาบาล ๓. ผูเ รยี นทราบถงึ ขัน้ ตอนการปฐมพยาบาลทางยทุ ธวิธี การบาดเจบ็ หรอื เจบ็ ปว ยเปน สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ ไดเ สมอ แตถ า หากไดร บั การชว ยเหลอื ในเบอื้ งตน เพ่ือบรรเทาอาการบาดเจ็บหรือเจ็บปวยนั้น จะสงผลดีตอการรักษาพยาบาลในข้ันตอไป ดังนั้น การปฐมพยาบาลจึงมีความจําเปนสําหรับทุกคนท่ีจะตองเรียนรูไว เพ่ือจะไดสามารถนํามาใชในการ ชวยเหลือตนเองและคนรอบขางไดอยางถูกตอง รวมถึงเจาหนาที่ตํารวจควรมีความรูและทักษะ ดานการปฐมพยาบาล เพอ่ื ใหสามารถชวยเหลือผูอน่ื ขณะปฏบิ ตั ิหนาท่ี และสามารถชวยเหลอื ตนเอง หรือผูรวมงานหากอยูในสถานการณการตอสูหรือเกิดการปะทะกับฝายตรงกันขาม เพื่อลดโอกาส การเกดิ ความพิการหรือการสูญเสียกาํ ลังพล ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ หมายถึง การใหความชวยเหลือแกผูปวยหรือผูบาดเจ็บ ณ สถานที่ เกดิ เหตุ โดยใชอ ุปกรณเทา ที่จะหาไดในขณะนั้น มาใชใ นการรกั ษาเบือ้ งตน โดยทําการปฐมพยาบาล ใหเร็วที่สุดหลังเกิดเหตุ เพื่อชวยบรรเทาอาการเจ็บปวย หรืออาการบาดเจ็บน้ันๆ กอนท่ีผูปวย หรือผูบาดเจ็บจะไดร ับการดแู ลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย หรอื ถกู นําสง ไปยังโรงพยาบาล ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤¢ ͧ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ๑. เพ่ือปองกนั หรือชวยไมใหผูบาดเจ็บเสยี ชวี ิต ๒. เพ่ือไมใ หผูบาดเจ็บไดรบั อันตรายเพิม่ ขนึ้ ๓. เพ่ือลดความเจ็บปวดหรอื บรรเทาความทรมานของผบู าดเจบ็ ๔. เพอื่ ใหผูบ าดเจบ็ กลับสสู ภาพเดมิ โดยเร็ว รวมท้ังปองกันความพิการทอี่ าจจะเกดิ ขึน้ ภายหลงั ËÅ¡Ñ ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ หลักการทั่วไปในการปฐมพยาบาลน้ันจําเปนจะตองกระทําโดยเร็วที่สุด ซ่ึงตองคํานึงถึง กลมุ บุคคลสองกลมุ ตอไปนี้ ñ. ¼ªŒÙ Ç‹ ÂàËÅÍ× สว นใหญเ ปน บคุ คลทอ่ี ยใู นเหตกุ ารณข ณะนน้ั จงึ ควรมหี ลกั การชว ยเหลอื ดงั นี้

๑๒ ๑.๑ ความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุเปนส่ิงสําคัญท่ีตองคํานึงถึงกอน เปนอันดับแรกกอ นเขา ไปใหก ารชว ยเหลือ ๑.๒ สํารวจระบบสําคัญของรางกายดวยสายตาอยางรวดเร็ว และวางแผนใหการ ชว ยเหลอื อยา งมสี ติ ไมต น่ื เตนตกใจ หา มเคล่อื นยาย เมือ่ มกี ารบาดเจบ็ ของอวัยวะตางๆ ซ่ึงผใู หก าร ชวยเหลืออาจมองไมเห็น ถาทําการเคล่ือนยายทันทีหรือไมถูกวิธี อาจทําใหเกิดการบาดเจ็บมากขึ้น โดยเฉพาะกระดกู สันหลังหกั อาจทําใหผบู าดเจ็บหรือพกิ ารไปตลอดชวี ติ แตมีขอยกเวนกรณีการบาดเจ็บเกิดขึ้นในสถานท่ีท่ีไมปลอดภัย อาจเกิด อนั ตรายมากขน้ึ ทงั้ ผบู าดเจบ็ และผชู ว ยเหลอื หรอื ไมส ะดวกตอ การปฐมพยาบาล จาํ เปน ตอ งเคลอ่ื นยา ย ผูบาดเจ็บไปอยูในท่ีปลอดภัยกอน จึงใหทําการชวยเหลือได เชน ผูบาดเจ็บอยูในนํ้า อยูในกองไฟ หรอื กลางถนน เปน ตน ๑.๓ ชวยเหลือดวยความนุมนวล และระมัดระวัง โดยใหการชวยเหลือตามลําดับ ความสาํ คัญของการมชี ีวติ หรอื ตามความรุนแรงท่ไี ดรับบาดเจ็บ ๑.๔ บนั ทกึ รายละเอียดเกย่ี วกับเหตกุ ารณ อาการ ลกั ษณะของผูบ าดเจ็บเก่ยี วกับ การปฐมพยาบาลที่ไดทําการชวยเหลือ พรอมท้ังนําบันทึกดังกลาวติดตัวไปกับผูบาดเจ็บเสมอ เพอื่ ประโยชนใ นการรกั ษาตอ ไป ò. ¼ÙŒºÒ´à¨çº หรือผูเคราะหรายจากเหตุการณตางๆ โดยสาเหตุที่จะทําใหผูปวยเจ็บ เสยี ชีวิตไดอ ยา งรวดเร็ว หากไมไ ดรับการปฐมพยาบาลทนั ที ไดแก ๒.๑ การหยดุ หายใจ ทําใหรางกายขาดออกซิเจน และจะเสียชีวิตภายในไมก่ีนาที ผูปฐมพยาบาล จงึ ตองรวู ธิ กี ารผายปอด ซึ่งวิธีท่ีงายและไดผลดีที่สุด คือ การเปาลมหายใจเขาปอดทางปากหรือจมกู ๒.๒ หัวใจหยุดเตน ทําใหไมมีการสูบฉีดเลือด สําหรับนําออกซิเจนไปเล้ียงรางกายทั่วไป ผูปฐมพยาบาลจําเปนจะตองรูวิธีสําหรับแกไขทําใหมีกระแสเลือดไหลเวียนในรางกาย คือ การนวด หัวใจภายนอก ๒.๓ การเสยี เลือดจากหลอดเลอื ดใหญข าด ทําใหเลือดไหลออกจากรางกายอยางรวดเร็ว และจะทําใหเสียชีวิต ผูป ฐมพยาบาลจงึ ตอ งรูวิธกี ารหามเลอื ด ๒.๔ ภาวะช็อก เปน การตอบสนองของศนู ยป ระสาทสว นกลางในสมองของรา งกายทถ่ี กู กระตนุ ดว ยความรสู ึกท่สี งมาจากตําแหนง ทบี่ าดเจ็บ อาจมคี วามกลวั และความตกใจรว มดว ย ภาวะชอ็ กจะมี ความรนุ แรงมาก ถา มกี ารสญู เสยี เลอื ดหรอื นาํ้ เหลอื ง (ในรายมแี ผลไหม) การชอ็ กอาจทาํ ใหเ สยี ชวี ติ ได ทงั้ ท่บี าดเจ็บไมรุนแรงนกั ดงั น้นั ผูปฐมพยาบาลจงึ ตอ งรวู ธิ กี ารปองกนั และรักษาอาการช็อก

๑๓ ¡Òû°Á¾ÂÒºÒżºŒÙ Ò´à¨ºç ·Ò§Â·Ø ¸Ç¸Ô Õ (Tactical Combat Casualty Care : TCCC) ầ‹ Í͡໚¹ ó ª‹Ç§ ¤×Í ชวงที่ ๑ การปฐมพยาบาลระหวางการปะทะ (Care Under Fire) ชว งท่ี ๒ การปฐมพยาบาลในพน้ื ท่ีการปะทะ (Tactical Field Care) ชวงท่ี ๓ การสง กลับผบู าดเจ็บทางยุทธวิธี (Tactical Evacuation Care) ¢¹éÑ μ͹¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ·Ò§ÂØ·¸ÇÔ¸Õ ª‹Ç§·Õè ñ ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅÃÐËÇ‹Ò§¡ÒûзР(Care Under Fire) เรม่ิ ทาํ การปฐมพยาบาลในทเ่ี กดิ เหตุ ซงึ่ ผบู าดเจบ็ และผชู ว ยเหลอื ยงั อยภู ายใตก ารปะทะ หรอื อยูในภาวะอันตราย ตามข้นั ตอน ดงั น้ี ๑. ยิงตอบโต รอ งขอกาํ ลังเพ่ิม และหาทีก่ ําบงั โดยเนนความปลอดภยั ของผชู วยเหลือ กอนเปนลําดับแรก ๒. ตรวจสอบวา ผบู าดเจ็บยงั มีชวี ิตอยหู รือไม ดว ยการถามตอบ หรือใหท าํ ตามสง่ั ๓. ถาผูบาดเจ็บสามารถชวยเหลือตัวเองได ใหผูบาดเจ็บทําการชวยเหลือตัวเองกอน (self-aid) เชน การยิงตอบโต เขาทกี่ ําบัง หามเลอื ดโดยใชส ายรดั หา มเลือด ๔. ยิงคุม ครองผบู าดเจ็บ ไมใหบาดเจ็บเพ่มิ ขึน้ ๕. เขา ชวยเหลือผูบาดเจบ็ เมอ่ื สถานการณป ลอดภยั ๖. ถา ผบู าดเจ็บไมต อบสนอง ใหเคล่อื นยา ยผูบาดเจ็บเขา สทู ก่ี ําบงั หรือท่ปี ลอดภัย ๗. เมอ่ื สถานการณส งบและปลอดภยั ควรรบี แจง เหตเุ พอ่ื ขอความชว ยเหลอื และรายงาน ผูบังคับบัญชา ª‹Ç§·èÕ ò ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅã¹¾×¹é ·èÕ¡ÒûзР(Tactical Field Care) เริ่มทําการปฐมพยาบาล เม่ือผูชว ยเหลอื และผูบาดเจบ็ อยูในสถานการณทป่ี ลอดภัยแลว คือ ไมตกอยูภายใตการยิงปะทะ มีท่ีกําบังปลอดภัย แตยังมีขีดจํากัดในเร่ืองของเคร่ืองมือ เวลา และอุปกรณทางการแพทย การชวยเหลืออาจตอเนื่องจากการปฐมพยาบาลชวงระหวางการปะทะ หรือไมกไ็ ด ตามขนั้ ตอนการประเมนิ และปฐมพยาบาลโดยใชหลัก MABC ดงั นี้ ๑. M : Massive Hemorrhage (»ÃÐàÁÔ¹¡ÒÃàÊÕÂàÅ×Í´ÁÒ¡) ผูชวยเหลือประเมินอาการผูบาดเจ็บอยางรวดเร็ว ปฐมพยาบาลอาการบาดเจ็บ ท่จี ะทาํ ใหถึงแกชีวติ กอ น เชน การหาตําแหนง เสียเลอื ดมากและหยุดการไหลของเลือดทันที โดย - ใชมือท่ีสวมถุงมือแลวลูบตามรางกายของผูบาดเจ็บต้ังแตหัวจรดเทา เพื่อหา ตาํ แหนงท่มี เี ลอื ดไหล - สาํ รวจมอื ตนเองหลงั จากทใ่ี ชม อื ลูบไปตามรา งกายของผูบาดเจบ็ - เมื่อเจอแผล ใหทาํ แผลนั้นใหเ สรจ็ กอ น (หรอื พบจุดทมี่ กี ารเสยี เลือดรุนแรงใหท ํา ทันที)

๑๔ - พลิกตัวผูปวยเพ่ือสํารวจวามีแผลดานหลังหรือไม ถามีเลือดออกมากใหทําการ หามเลอื ด - ประเมินระดับความรสู ึกตัว (Assessment Mental status) ควบคูไปดวยโดยการ ถามคาํ ถาม ๓ ขอ : ชื่อ, วัน, สถานท่ี และการใชระบบ AVPU การประเมินระดับความรูสกึ ตวั ใชห ลักการประเมนิ โดยใชอ ักษรชวยจาํ AVPU ดงั นี้ ๑) A = Alert หมายถงึ ผบู าดเจบ็ รสู กึ ตวั ดี พดู คยุ รเู รอื่ ง สามารถบอก ชอ่ื อยทู ไ่ี หน วนั เดือน ป ได ๒) V = Verbal response หมายถึง ผูบ าดเจ็บตอ งใชเ สยี งเรยี ก จึงตอบสนองตอ การรับรู ๓) P = Painful stimulus หมายถงึ ผบู าดเจบ็ ตอบสนอง เมอื่ กระตนุ ดว ยความเจบ็ ปวด ๔) U = Unresponsive หมายถงึ ผเู จบ็ ไมร ูสกึ ตวั Alert : ผบู าดเจบ็ รสู กึ ตวั ดี ท่มี า : www.nmd.go.thdocumentpdfebook2ebook.pdf Verbal responsive : ผูบาดเจบ็ ตอ งใชเ สียงเรยี ก จงึ ตอบสนองตอการรบั รู ท่มี า : www.nmd.go.thdocumentpdfebook2ebook.pdf

๑๕ Painful stimulus : ผูบาดเจบ็ ตอบสนองตอ ความเจบ็ ปวด ทีม่ า : www.nmd.go.thdocumentpdfebook2ebook.pdf วธิ ีกระตนุ ใหผ ูบาดเจ็บตอบสนองตอ ความเจบ็ ปวด มีอยู ๒ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๑. การตอบสนองตอความเจ็บปวดของระบบสวนกลาง (Central painful stimulus) มวี ธิ ีกระตุน ดงั นี้ • การกดบรเิ วณกระดูกเหนอื เบาตา (supraorbital pressure) • การนวดบรเิ วณกระดูกหนาอก (sterna rub) • การหยิกบริเวณรกั แร (armpit pinch) ๒. การกระตุนตอ ความเจ็บปวดของระบบสว นปลาย (Peripheral painful stimulus) โดยใชวิธกี ารกระตนุ ดวยการใชข องแขง็ เชน ดา มปากกากดบริเวณ โคนเล็บ (nail bed pressure) ในระหวา งการกระตุน ผูบาดเจบ็ ดวยวิธที ่ีกลาวมา ผูบาดเจบ็ จะมีปฏกิ ริ ยิ า เชน ใชมือปด หรอื ขยับหนี หรืออาจแสดงลักษณะ เชน การเกร็งตวั งอแขน (decorticate) หรอื ตวั เกรง็ เหยียดแขน (decerebrate) บงชถ้ี ึง ผูบาดเจ็บอาจมีอาการผิดปกติทางสมอง ตามมา Flexion (decorticate) posturing Extontion (decorticate) posturing ภาพแสดง ลกั ษณะการแสดงถงึ การเกรง็ ตวั งอแขน และตัวเกร็งเหยียดแขน เมื่อกระตุน ดวยความเจบ็ ปวด ทม่ี า : www.nmd.go.thdocumentpdfebook2ebook.pdf

๑๖ Unresponsive : ผูปว ยเจ็บไมต อบสนองตอ การรบั รู ท่ีมา : www.nmd.go.thdocumentpdfebook๒ebook.pdf หากผบู าดเจบ็ มีอาการหวาดระแวง/สับสน “ควรทําการปลดอาวธุ ” เพอื่ ปองกันการทํารา ยตัวเองและผูชว ยเหลือ ò. A : Airway ¡ÒÃμÃǨ´¤Ù ÇÒÁ¼Ô´»¡μ¢Ô ͧ·Ò§à´Ô¹ËÒÂ㨠(๑) เปด ทางเดนิ หายใจ • ในกรณีที่ไมสงสัยวามีการบาดเจ็บบริเวณกระดูกตนคอ ใชวิธีกดหนาผาก- เชยคาง (Head-tilt Chin-Lift) (Jaw Thrust) ที่มา : http://thainurseclub.blogspot.com/ • ในกรณีท่ีสงสัยวามีการบาดเจ็บบริเวณกระดูกตนคอ ใชวิธียกขากรรไกร ทมี่ า : https://danger.mongabay.com/

๑๗ (๒) ดู : ส่งิ อดุ ก้นั ทางเดนิ หายใจ นาํ สง่ิ ทอ่ี ดุ ก้นั ทางเดนิ หายใจออก (ถา ม)ี (๓) ฟง : เสยี งลมหายใจของผูบาดเจบ็ (๔) สัมผัส : ผชู วยเหลือใชแกม แนบบรเิ วณปากและจมกู ของผูบ าดเจบ็ วารูสึกถงึ ลมหายใจของผบู าดเจบ็ หรือไม (จับอัตราความถี่ของการหายใจ) (๕) หากจาํ เปน ใหใ ชท อ ชว ยหายใจชนดิ สอดทางปาก (OPA) หรอื สอดทางจมกู (NPA) การใชท อชวยหายใจชนดิ สอดทางจมกู (NPA) การใชทอ ชว ยหายใจชนิดสอดทางปาก (OPA) ท่มี า : https://www.aic.cuhk.edu.hk/web8/ ท่ีมา : https://www.aic.cuhk.edu.hk/web8/ Nasopharyngeal%20airway.htm Guedel%20airway.htm ó. B : Breathing ¡ÒÃμÃǨ´Ù¤ÇÒÁ¼Ô´»¡μԢͧ¡ÒÃËÒÂ㨠(๑) ถอด/ตัด/ฉีก เส้ือผาที่ปดทรวงอก/รักแรออก เพ่ือใหเห็นชัดเจนและสามารถ สาํ รวจบาดแผลท่ียังไมเห็นได (๒) สังเกตหนาอกของผูบาดเจ็บบริเวณปอด พองและยุบพรอมกันท้ัง ๒ ขาง ในขณะหายใจ (๓) ตรวจดบู าดแผล ถา มใี หร บี ทาํ แผลบาดเจบ็ ทหี่ นา อก เชน แผลทะลบุ รเิ วณหนา อก ดวยแผนฟลมปดแผลชองอก/ทําแผลแบบกันน้ําและอากาศ จะตองหาทางเขา – ออกของแผล และทาํ การปดแผลท้งั สองทาง (๔) ตองใชเ ขม็ เจาะระบายลมออกจากชองอกหรอื ไม ô. C : Circulation ¡ÒÃμÃǨ¡ÒÃäËÅàÇÂÕ ¹¢Í§àÅÍ× ´ áÅÐËÒ¡ÒúҴ਺ç ã¹ÊÇ‹ ¹μÒ‹ § æ ¢Í§ÃÒ‹ §¡Ò (๑) ตรวจชพี จรท่ีคอ/ขอมอื (๒) ปฐมพยาบาลบาดแผลเลก็ นอยอ่นื ๆ ทพี่ บ หากผูบาดเจบ็ ไมม สี ัญญาณชพี (ไมหายใจ ไมม ีชพี จร) จะทําการชว ยฟนคืนชพี (CPR) เมอื่ แนใ จวา อยูในสถานการณท ่ีปลอดภยั เพราะหากสถานการณยงั ไมปลอดภยั ผูชวยเหลอื อาจตกอยูใ นอนั ตรายได

๑๘ ªÇ‹ §·èÕ ó ¡ÒÃʧ‹ ¡ÅºÑ ¼ŒÙºÒ´à¨ºç ·Ò§Â·Ø ¸ÇÔ¸Õ (Tactical Evacuation Care) เปน การเตรยี มผบู าดเจบ็ ใหพ รอ มสาํ หรบั การสง กลบั ซง่ึ อาจจะเปน การสง กลบั โดยพาหนะ ทางการแพทย (MEDEVAC) หรอื การสง กลับโดยไมใชพ าหนะทางการแพทย (CASEVAC) หากจาํ เปน ตอ งสง กลบั โดยไมใ ชพ าหนะทางการแพทย ผชู ว ยเหลอื ตอ งทาํ การเคลอื่ นยา ย ผูบาดเจ็บดวยความระมัดระวัง เพ่ือปองกันไมใหผูบาดเจ็บไดรับความบาดเจ็บเพ่ิมมากขึ้น โดยผชู ว ยเหลอื ตอ งสามารถทาํ การปฐมพยาบาลตามความจาํ เปน ระหวา งการสง กลบั ตามขนั้ ตอนดงั นี้ ๑. การเขาเฝอกชวั่ คราว (๑) ประคองศีรษะใหอ ยูน่ิง ถาสงสัยวามีการบาดเจ็บทก่ี ระดกู สนั หลัง (๒) ตรวจดภู าวะกระดกู หกั ตามสว นตา ง ๆ ของรา งกาย และทาํ การดามกระดกู ทหี่ กั ๒. ประเมินผูปว ยซา้ํ - ระดบั ความรูสึกตัว, ทางเดินหายใจ, การหายใจ, การเสยี เลือด ๓. สัญญาณชพี - อตั ราการเตนของหวั ใจ, การหายใจ, ความดนั โลหิต, อณุ หภูมิรา งกาย ¡ÒûÃÐàÁÔ¹ÊÑÞÞÒ³ª¾Õ (Vital sign) ÊÑÞÞÒ³ªÕ¾ เปนสิ่งท่ีบงบอกถึงความมีชีวิตของบุคคล ซ่ึงประกอบดวย อุณหภูมิ ชีพจร (อัตราการเตนของหัวใจ) การหายใจและความดันโลหิต ทําใหสามารถประเมินอาการผิดปกติ ของรางกาย ความรุนแรงของการบาดเจ็บ และความเรงดวนในการรักษา เพ่ือวางแผนและตัดสินใจ ทาํ การปฐมพยาบาล ดงั น้ี ñ. Í³Ø ËÀÁÙ Ô (temperature) อณุ หภมู ขิ องรา งกายเปน ความสมดลุ ระหวา งความรอ นทรี่ า งกายสรา งขนึ้ กบั ความรอ น ที่สญู เสียไปจากรางกาย อณุ หภมู ริ างกายปกติระหวา ง ๓๖.๕ – ๓๗.๕ องศาเซลเซียส (๑) ภาวะผดิ ปกตขิ องอุณหภมู ริ างกาย - อุณหภมู ริ างกายสูงกวา ๓๗.๕ องศาเซลเซียส หรอื ทเ่ี รียกวา ภาวะอุณหภูมิ รา งกายสงู กวาปกตหิ รอื “เปนไข” โดยแสดงอาการตวั รอน หนาแดง ตวั แดง เหงือ่ ออก ชีพจรเตนเรว็ กระสับกระสา ย - อุณหภูมริ างกายตาํ่ กวา ๓๖.๕ องศาเซลเซียส หรอื ทีเ่ รยี กวา ภาวะอณุ หภมู ิ รางกายต่ํากวาปกติ ผูบาดเจ็บจะมีอาการหนาวส่ัน รูสึกหนาวและส่ัน ผิวหนังซีดและเย็น ความดัน โลหติ ตํ่า ปสสาวะออกนอ ย สบั สนมึนงง งว งซมึ (๒) วิธกี ารวดั อุณหภมู ิรางกาย - ใชปรอท ท่เี ปนแทง แกว วดั ทางปาก รักแร ทางทวารหนัก

๑๙ - สาํ หรบั การปฏบิ ตั งิ านทางยทุ ธวธิ ี จะวดั อณุ หภมู โิ ดยใชก ารสมั ผสั ตวั ผบู าดเจบ็ เพื่อประเมนิ อุณหภูมิรางกายเบ้อื งตน วามคี วามผดิ ปกตขิ องอณุ หภูมริ างกายอยางไร ò. ªÕ¾¨ÃËÃÍ× ÍμÑ ÃÒ¡ÒÃàμ¹Œ ¢Í§ËÇÑ ã¨ (Pulse) เปน การหดและขยายตวั ของหลอดเลอื ดแดงเปน จงั หวะ ในการสบู ฉดี เลอื ดไปหลอ เลยี้ ง รา งกายสงผลใหสามารถจบั ชีพจรไดต ลอดเวลา ๒.๑ อตั ราการเตน ของชพี จรปกติ ดังน้ี (๑) ทารกแรกเกดิ ถงึ ๑ เดือน อตั ราการเตนของชีพจรประมาณ ๑๒๐ - ๑๖๐ ครั้ง/นาที (๒) เด็กอายุ ๑ -๑๒ ป อัตราการเตน ของชีพจรประมาณ ๘๐ - ๑๒๐ ครั้ง/นาที (๓) วยั รนุ - วัยผูใหญ อตั ราการเตน ของชีพจรประมาณ ๖๐ - ๑๐๐ ครงั้ /นาที ๒.๒ ตาํ แหนง การจบั ชีพจร (๑) ดา นขา งของคอ คลาํ ไดชดั เจนจุดบริเวณมุมขากรรไกรลา ง (๒) ดา นในของตน แขน (๓) ขอมือดานในบริเวณกระดูกปลายแขนดานนอกหรือดานหัวแมมือ เปนตําแหนงทน่ี ยิ มจบั ชีพจรมากท่สี ุด เพราะเปนทท่ี จ่ี ับไดงา ยและไมร บกวนผปู วย (๔) บริเวณขาหนีบ (๕) บรเิ วณหลงั ปมุ กระดกู ขอ เทา ดา นในและบรเิ วณหลงั เทา ใหด ตู ามแนวกลาง ตงั้ แตห วั เขา ลงไป ชพี จรท่ีจบั ไดจ ะอยกู ลางหลังเทา ระหวา งนิว้ หวั แมเทา กบั น้วิ ช้ี ๒.๓ วธิ ีปฏบิ ตั ใิ นการจบั ชพี จร วางนวิ้ ช้ี และนวิ้ กลาง ลงบนตาํ แหนง ตามขอ ๒.๒ โดยนบั จาํ นวนครง้ั ของการเตน ใน ๑ นาที เพือ่ ประเมนิ อาการของผูบาดเจบ็ ตาํ แหนงชีพจรทีค่ อ ตําแหนงชีพจรที่ทองแขนดานใน ตาํ แหนงชีพจรทข่ี อ มอื ที่มา : สํานักงานตาํ รวจแหง ชาติ

๒๐ ตําแหนง ชีพจรทข่ี าหนีบ ตําแหนงชีพจรที่หลงั เทา ตาํ แหนงชีพจรท่ีขอ เทาดา นใน áÊ´§μÓá˹§‹ ¡ÒèºÑ ª¾Õ ¨Ã ที่มา : สํานักงานตาํ รวจแหง ชาติ หา มใชน ้วิ หัวแมม อื ในการจับชีพจร เนอ่ื งจากนิว้ หัวแมมอื มีหลอดเลือดฝอย ซ่งึ อาจทําใหเจาหนาทีส่ ับสนระหวางชีพจรของเจา หนา ทีก่ ับชีพจรของผบู าดเจ็บ ó. ¡ÒÃËÒÂ㨠(Respiration) เปนการนําเอาออกซิเจนเขา สูรางกายและนําคารบ อนไดออกไซดออกจากรางกาย ๓.๑ สิ่งทตี่ องสงั เกตในการหายใจ มีดังน้ี (ñ) ÍÑμÃÒ¡ÒÃËÒÂ㨠มีหนวยเปนครั้ง/นาที โดยการหายใจเขาและออก นบั เปน ๑ ครั้ง อัตราการหายใจปกติ มีดงั น้ี • ทารกแรกเกิด อัตราการหายใจประมาณ ๓๕ – ๔๐ คร้ัง/นาที • เด็ก อัตราการหายใจประมาณ ๒๐ – ๓๐ ครัง้ /นาที • ผใู หญ อตั ราการหายใจประมาณ ๑๖ – ๒๐ คร้ัง/นาที (ò) Å¡Ñ É³Ð¢Í§¡ÒÃËÒÂ㨠สามารถสงั เกตไดจ ากการเคลอื่ นไหวของหนา อก หนา ทอ ง โดยปกตลิ กั ษณะการหายใจจะมจี งั หวะการหายใจเขา และหายใจออกสมา่ํ เสมอไมต อ งใชแ รง ไมมีเสยี ง และไมเจ็บปวด หากผบู าดเจ็บมลี กั ษณะการหายใจท่ตี างไปจากนแี้ สดงวา มคี วามผิดปกติ ô. ¤ÇÒÁ´Ñ¹âÅËÔμ (Blood pressure/ BP) เปนแรงดันเลือดขณะท่ีหัวใจบีบตัว และคลายตวั ไดแก (๑) คา ความดันสูงสดุ (Systolic pressure) เปนคาความดนั ตัวบน เกดิ จากแรงดนั เลือดขณะทหี่ ัวใจบบี ตวั ซ่งึ มคี า ปกติประมาณ ๙๐ - ๑๔๐ มิลลเิ มตรปรอท (mmHg) (๒) คาความดันตํ่าสุด (Diastolic pressure) เปนคาความดันตัวลาง เกิดจาก แรงดนั เลอื ดขณะที่หวั ใจคลายตัว ซง่ึ มคี าปกตปิ ระมาณ ๖๐–๙๐ มลิ ลเิ มตรปรอท (mmHg) ๔.๑ ภาวะความดันโลหติ ผิดปกติ • ความดันโลหิตสูง (Hypertension) : ความดันสูงกวาปกติวัดได ๑๔๐/๙๐ mmHg

๒๑ อาการ ของภาวะความดนั โลหติ สงู ไดแ ก ปวดศรี ษะบรเิ วณทา ยทอย ตาพรา หรอื มองไมเ หน็ คล่ืนไส อาเจียน ชกั และหมดสติในท่ีสดุ • ความดนั โลหติ ตาํ่ (Hypotension) : ความดนั ลดตา่ํ ลงกวา ปกตวิ ดั ได นอยกวา ๙๐/๖๐ mmHg อาการ ของภาวะความดันโลหิตตํ่า ไดแก ออนเพลีย ไมมีแรง เหนอ่ื ยงา ยกวา ปกติ หนา ซีด เหงอ่ื ออก ตวั เย็น เปน ลมหมดสติ áÊ´§¡ÒÃÇÑ´¤ÇÒÁ´Ñ¹âÅËμÔ â´Â㪌ÍØ»¡Ã³áÅСÒÃÇ´Ñ ¤ÇÒÁ´¹Ñ âÅËÔμâ´ÂäÁÁ‹ ÍÕ »Ø ¡Ã³ ท่มี า : สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ ๔.๒ การวัดความดันโลหิต ในสถานการณที่ไมมีเคร่ืองวัดความดันโลหิต จะสามารถประเมนิ ความดนั โลหติ ของผบู าดเจบ็ จากการจบั ชพี จร โดยมคี า ประมาณของความดนั โลหติ ตวั บน (Systolic) ดังนี้ (๑) หากจับชพี จรพบท่หี ลังเทา หรือขอเทาดา นใน แสดงวา ผูบาดเจบ็ มี ความดันโลหติ ตัวบน (Systolic) มากกวา ๙๐ mmHg (๒) หากจบั ชพี จรพบทขี่ อ มอื แสดงวา ผบู าดเจบ็ มคี วามดนั โลหติ มากกวา ๘๐ mmHg แตน อยกวา ๙๐ mmHg (๓) หากจับชพี จรพบตนแขนดา นในหรือที่ขาหนีบ แสดงวา ผูบาดเจบ็ มี ความดนั โลหติ มากกวา ๗๐ mmHg แตนอยกวา ๘๐ mmHg (๔) หากจบั ชพี จรพบทตี่ น คอ แสดงวา ผบู าดเจบ็ มคี วามดนั โลหติ มากกวา ๖๐ mmHg แตนอ ยกวา ๗๐ mmHg หากผูบาดเจ็บมีความดันโลหิตตัวบน (Systolic) นอยกวา ๖๐ mmHg (จับชีพจรพบที่ตนคอ เทาน้ัน) แสดงวาเร่ิมเขาสูภาวะช็อกซึ่งจะทําใหมีโอกาสเสียชีวิตมากยิ่งข้ึน ผูชวยเหลือตองให การปฐมพยาบาลและรบี นาํ สง บคุ ลากรทางการแพทยโ ดยเรว็ ทส่ี ดุ ระหวา งนาํ สง ตอ งประเมนิ สญั ญาณชพี ทุก ๕ นาที รักษาความอบอุนรางกายของผูบาดเจ็บ และชวยลดการเสียเลือดออกจากรางกาย ของผูบาดเจ็บใหไ ด

๒๒ ô. à¤ÅÍ×è ¹ÂŒÒ¼Œ»Ù dž Âà¾×èÍÃѺ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒμ‹Íä» »ÃÐà´¹ç ÊÓ¤ÑÞ - การเสยี เลอื ดเปนสิ่งท่อี ันตรายท่ีสดุ - หากไมแนใจวา กระดกู สันหลังไดร บั บาดเจ็บหรอื ไม ใหพยายามประคองกระดกู สันหลังไว - ใชผ าหม คลุมตัวผปู วยไวต ลอดเวลาทไ่ี มไดท ําการรกั ษา เพือ่ รักษาความอบอนุ ของรางกาย - หากคิดวายังประเมินผูบาดเจ็บหรือตรวจรักษายังไมถี่ถวนใหทําการประเมินผูบาดเจ็บและ ตรวจสอบสัญญาณชีพไดเ สมอ ÊÃØ» การปฐมพยาบาลเปนการชวยรักษาชีวิตของผูปวย การปฐมพยาบาลที่ถูกตอง และรวดเรว็ สามารถชว ยลดอนั ตรายทรี่ นุ แรงหรอื ลดความเสยี่ งตอ การเสยี ชวี ติ ชว ยปอ งกนั ไมใ หผ ปู ว ย ไดร บั อนั ตรายมากขน้ึ ลดอนั ตรายจากการบาดเจบ็ ชว ยปอ งกนั ภาวะแทรกซอ นหรอื ความพกิ ารทอ่ี าจ เกดิ ขน้ึ หลงั จากประสบอบุ ตั เิ หตุ และชว ยลดอาการเจบ็ ปวดทรมานจากการไดร บั บาดเจบ็ ตา งๆ ตลอดจน ชวยใหผูปวยฟนตัวและกลับสูสภาพเดิมโดยเร็ว เน่ืองจากผูปวยมักมีความกังวลเก่ียวกับอาการ บาดเจ็บของตนเอง นอกจากนแี้ ลว การปฏบิ ตั งิ านของเจา หนา ทต่ี าํ รวจนน้ั นอกจากจะตอ งมคี วามรทู างยทุ ธวธิ ี ในการปองกันตนเองแลว การมีความรูดานการปฐมพยาบาลเปนอีกทักษะหนึ่งที่มีความสําคัญ และจาํ เปน ในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ เพราะเจา หนา ทไี่ มอ าจรไู ดว า ในแตล ะภารกจิ จะตอ งเผชญิ เหตใุ นลกั ษณะ ใดบา ง ถึงแมไดพ ยายามตอสูปอ งกันอยางเต็มทแ่ี ลว หากเกิดการบาดเจบ็ ข้นึ ขณะปฏิบัติหนา ท่ี การท่ี เจา หนา ทม่ี คี วามรเู กย่ี วกบั การปฐมพยาบาลจะทาํ ใหส ามารถชว ยเหลอื ตนเองและผอู นื่ ได อยา งไรกต็ าม ในสถานการณท เี่ ปน อนั ตรายตอ ผชู ว ยเหลอื และผบู าดเจบ็ การทจ่ี ะทาํ ใหผ บู าดเจบ็ รอดชวี ติ ขน้ึ อยกู บั วธิ กี ารปฐมพยาบาลท่รี วดเร็ว ถกู วธิ แี ละปลอดภยั ไมท ําใหก ารบาดเจบ็ รุนแรงมากขึน้ เปนการชวยให ผูบ าดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตสูงข้นึ และลดโอกาสการเกิดความพกิ าร หรือการสญู เสยี กาํ ลังพล ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ ๑. ผูสอนและผเู รียนชวยกันสรุปเน้อื หา ๒. ฝก ปฏิบตั ขิ ้นั ตอนการปฐมพยาบาลทางยทุ ธวธิ ี

๒๓ ͌ҧÍÔ§ นายแพทยเ รอื งศักด์ิ ศริ ิผล.(๒๕๕๑). ¤ÁÙ‹ ×Í»°Á¾ÂÒºÒÅ. กรงุ เทพฯ : นานมบี คุ ส. สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๕๗). ¤Á‹Ù Í× ¡Òý¡ƒ Â·Ø ¸Ç¸Ô »Õ ÃÐจาํ ʶҹตÕ าํ ÃǨ. กรงุ เทพฯ. โรงพมิ พต าํ รวจ. โรงเรียนเสนารักษ กรมแพทยทหารบก. (ไมปรากฏปท่ีพิมพ). ¤Ù‹Á×Í»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ ËÅÑ¡¡ÒôÙáÅ ¼ºÙŒ Ò´à¨ºç ·Ò§Â·Ø ¸ÇÔ¸Õ Tactical Combat Casualty Care (สําËÃºÑ ¤ÃÙ/ÍÒ¨ÒÏ). คน เมอ่ื ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙, จากกองทพั บก เวบ็ ไซต: http://www.rta.mi.th/630a0u/ qa_amds/file_qa_amds/life_oriented_strategy.pdf

๒๔

๒๕ º··Õè ó ¡Òû°Á¾ÂÒºÒźҴá¼ÅáÅСÒÃËŒÒÁàÅÍ× ´ ¨´Ø »ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠๑. ผเู รียนสามารถจําแนกชนดิ ของบาดแผลและทําการปฐมพยาบาลบาดแผลได ๒. ผเู รยี นสามารถอธบิ ายลักษณะการเสียเลอื ดภายนอกและการเสียเลอื ดภายในได ๓. ผเู รียนสามารถทําการหา มเลือดใหแ กผูบ าดเจ็บทม่ี กี ารเสียเลือดไดอยา งถกู วิธี อุบัติเหตุเกิดขึ้นไดเสมอ อาจเปนเพราะความประมาทของตนเองและผูอื่น หรือ เปนเหตุสุดวิสัย สิ่งที่ตามมาเม่ือเกิดอุบัติเหตุคือบาดแผล การปฐมพยาบาลบาดแผลอยางถูกตอง จะชวยปองกันอันตรายและลดอาการแทรกซอนที่อาจเกิดข้ึนได การเกิดบาดแผลแมเห็นภายนอก เพยี งเลก็ นอ ย แตอ าจเปน สาเหตใุ หอ วยั วะภายในบาดเจบ็ รนุ แรงจนเปน สาเหตใุ หเ กดิ การเสยี เลอื ดมาก ช็อก หัวใจหยุดเตน สมองบาดเจ็บ รวมท้ังเสนประสาทถูกทําลาย และหากบาดแผลน้ันเกิดจากการ กระทําของผูอ่ืน จนเปนเหตุใหถึงกับเสียชีวิต บาดแผลจะกลายเปนหลักฐานในการช้ีชัดถึงสาเหตุ การตาย และเปน หลักฐานสําคญั ในการมัดตัวผกู ระทําความผดิ ในคดฆี าตกรรมได ºÒ´á¼Å เกิดจากการฉีกขาดของเน้ือเยื่อและอวัยวะท้ังภายนอกและภายในรางกาย ซึ่งอาจเกิดจากการไดรับแรงกระแทกจากของแข็ง (Mechanical Forces) หรืออาจเกิดจากของมีคม จนทําใหเกิดรอยแยกของผิวหนังหรือเนื้อเยื่อช้ันใน จนอาจทําใหเปนอันตรายถึงเสียชีวิตได ดังน้ัน การปฐมพยาบาลบาดแผลอยางถูกตอง จะชวยปองกันอันตราย และลดอาการแทรกซอน ท่จี ะเกดิ ขน้ึ ได โดยควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี ª¹´Ô ¢Í§ºÒ´á¼Å ñ. ºÒ´á¼Å»´ เปน บาดแผลทไี่ มม รี อยแยกของผวิ หนงั ปรากฏใหเ หน็ เกดิ จากแรงกระแทกของของแขง็ ท่ีไมมีคม แตอาจมีการฉีกขาดของเนื้อเย่ือและเสนเลือดฝอยใตผิวหนัง ซ่ึงมองจากภายนอกจะเห็น เปนลักษณะฟกชํา้ โดยอาจมอี าการปวดรว มดวย แผลประเภทนท้ี ี่พบเห็นไดบอยในชวี ติ ประจาํ วันคอื รอยฟกชํ้าเปนจํ้าเลือด ซึ่งเกิดจากแรงกระแทกของวัตถุไมมีคม หรือส่ิงของตกหลนใสบริเวณรางกาย เชน ศีรษะ แขน ขา แตทําใหหลอดเลือดฝอยใตผิวหนังฉีกขาด มีเลือดซึมอยูในเน้ือเย่ือ การฟกช้ํา ทรี่ นุ แรงอาจบอกถงึ อาการบาดเจ็บท่ีรนุ แรงได เชน กระดกู แตกหรือหัก ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ (๑) ยกและประคองสว นทบ่ี าดเจบ็ ใหอยู ในทาสบาย (๒) ประคบเย็นและรัดสว นทฟ่ี กช้าํ (๓) ถา มีขอเคลด็ หรือกระดูกแตกหรือหกั ใหร บี สง แพทย ทีม่ า : เรอื งศักดิ์ ศริ ผิ ล

๒๖ ò. ºÒ´á¼Åà»´ เปน บาดแผลท่ีทาํ ใหเกดิ รอยแยกของผวิ หนงั แบงออกเปน ò.ñ á¼Å¶ÅÍ¡ เปน แผลตน้ื มผี วิ หนงั ถลอกและมเี ลอื ดออกเลก็ นอ ย ไมม อี นั ตราย รุนแรง พบบอยในชวี ติ ประจาํ วนั เชน การหกลม การถูกขีดขวน ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ทม่ี า : เรอื งศักดิ์ ศริ ผิ ล (๑) ใหร บี ทําการลา งแผลทันที เพอ่ื ปองกนั การตดิ เชอื้ และการอักเสบของแผล (๒) ใสยาฆาเชือ้ (๓) ปด แผลดวยผา สะอาด ò.ò á¼Å©Õ¡¢Ò´ เปนแผลท่ีเกิดจากวัตถุที่ไมมีคม แตมีแรงกระชากหรือกระแทก พอทจ่ี ะทาํ ใหผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนังฉีกขาดได ขอบแผลมักจะขาดกะรงุ กะร่ิง หรอื มกี ารชอกช้าํ ของแผลมาก ผบู าดเจบ็ จะเจบ็ ปวดมากเพราะถกู บรเิ วณปลายประสาท เชน บาดแผลจากการถกู รถชน บาดแผลจากเครอ่ื งจักรกล หรือถกู แรงระเบดิ ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ (๑) ทําความสะอาดแผลและรอบบาดแผล ดวยนาํ้ สะอาดและสบู (๒) หามเลอื ดดวยผา สะอาด ประมาณ ๓-๕ นาที (๓) ทําความสะอาดบาดแผลดว ยนา้ํ ยาฆา เชือ้ (๔) ปด แผลดวยพลาสเตอรห รอื ผาปดแผล ทมี่ า : เรอื งศักดิ์ ศิรผิ ล (๕) หากมบี าดแผลใหญห รือเนื้อเยือ่ ฉีกขาดกะรุงกะร่ิงใหนําสงโรงพยาบาล ò.ó á¼ÅμÑ´ เปนแผลท่ีเกิดจากอาวุธหรือเคร่ืองมือที่มีคมเรียบตัด เชน มีด ขวาน เศษแกว เศษกระจก ปากแผลจะแคบ เรยี บยาวและชดิ กัน ถา บาดแผลลึกจะมเี ลือดออกมาก แผลชนิดนีม้ กั จะหายไดเรว็ ประมาณ ๓-๗ วัน เน่อื งจากขอบแผลอยชู ิดกนั ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ (๑) ทาํ การหามเลอื ดและรบี นาํ สงโรงพยาบาล (๒) ถา มอี วัยวะทถี่ ูกตดั ขาด ใหใสถ งุ พลาสติก ท่ีสะอาด ปด ปากถุงใหแ นนไมใ หน ํ้าเขา (๓) แชใ นถังนํ้าแขง็ แลว นําสง โรงพยาบาลพรอมผูปว ยที่มา : เรอื งศกั ดิ์ ศริ ผิ ล

๒๗ ทม่ี า : https://nanananonpim.wordpress.com/ ò.ô á¼Å¶¡Ù á·§ เปน แผลทเ่ี กดิ จากวตั ถทุ มี่ ปี ลายแหลมแทงเขา ไป เชน มดี ปลายแหลม ตะปู เหล็กแหลม เศษไม ปากแผลจะเล็กแตลึก ถาลึกมากมีโอกาสจะถูกอวัยวะที่สําคัญมักจะมี เลอื ดออกมาก ทาํ ใหตกเลอื ดภายในได ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ (๑) ทาํ การหา มเลอื ด และรบี นําสง โรงพยาบาล (๒) ถามีวัตถปุ ก คาอยหู ามดึงออกใหใ ช ผาสะอาดกดรอบแผลและใชผ าพนั ไว แลว รบี นําตัวสงโรงพยาบาลทนั ที ทีม่ า : เรอื งศักดิ์ ศริ ิผล ò.õ ºÒ´á¼Å¶Ù¡ÂÔ§ ทําใหเกิดการบาดเจ็บภายในท่ีรุนแรง โดยตําแหนงที่กระสุน เขาสูรางกายบาดแผลจะเล็กและมีขอบชัดเจน แตตําแหนงท่ีกระสุนออก (อาจฝงใน) บาดแผล จะใหญกวาและฉกี ขาดมาก ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ทม่ี า : เรืองศักด์ิ ศริ ผิ ล - ใหท าํ การหามเลอื ด และรีบนาํ สง โรงพยาบาลโดยทันที เนอื่ งจาก มีการเสยี เลือดคอ นขางมาก

๒๘ ¡ÒÃËÒŒ ÁàÅ×Í´ เมอื่ เกดิ บาดแผล หากบาดแผลไมใ หญเ กนิ ไป เลอื ดมกั จะหยดุ ไดเ องภายในเวลาอนั รวดเรว็ จากกลไกการหามเลอื ดของรางกาย โดยอาศยั หลอดเลือดและสว นประกอบของเลอื ดคอื เกรด็ เลือด (platelet) และโปรตนี ตางๆ รวมตัวกันทําใหเ กิดลม่ิ เลอื ดไปอุดบาดแผล แตหากเสนเลือดถูกทําลาย หรือถูกตดั ขาด ทาํ ใหม ีเลอื ดไหลออกมาจากบาดแผลหรือเสนเลือด àÅÍ× ´ÍÍ¡ËÃ×Í¡ÒÃàÊÕÂàÅ×Í´ ầ‹ Í͡໚¹ ò »ÃÐàÀ· ¤×Í ñ. àÅÍ× ´ÍÍ¡ÀÒ¹͡ คือ การท่ีเลือดไหลออกมาภายนอกใหเห็น ซึ่งออกจากบาดแผลทางผิวหนัง แบงออกไดเปน ๓ ชนิด คือ เลือดออกจากเสนโลหิตแดง เลือดออกจากเสนโลหิตดํา และเลือด ออกจากเสนเลือดฝอย ñ.ñ àÅ×Í´ÍÍ¡¨Ò¡àÊŒ¹âÅËÔμá´§ - เลือดจะไหลทะลักหรือพุงออกมาตามจังหวะการเตนของหัวใจ มีสีแดงสด และมักไมเกิดเปนล่ิมเลือด หามเลือดไดยาก ถาหากเลือดไหลไมหยุดภายใน ๓ – ๔ นาที ผูปวย อาจตายได ñ.ò àÅ×Í´ÍÍ¡¨Ò¡àʹŒ âÅËμÔ ´Òí - เลอื ดจะมสี แี ดงคลา้ํ ลกั ษณะการไหลของเลอื ดจะไหลรนิ ๆ ไมแ รงและไมพ งุ ตามจังหวะการเตน ของหวั ใจ ñ.ó àÅÍ× ´ÍÍ¡¨Ò¡àʹŒ àÅÍ× ´½Í เลอื ดจะไหลออกมาลกั ษณะซมึ ๆ จากบาดแผล อยางชา ๆ ò. àÅÍ× ´ÍÍ¡ÀÒÂã¹ËÃÍ× àÅÍ× ´μ¡ã¹ คือ เลือดที่ออกภายในรางกายแตไมไหลออกมาภายนอกใหเห็น อาจเน่ืองมาจาก แผลในทรวงอก เชน ทป่ี อด หวั ใจ แผลในชองทอ ง เชน ในกระเพาะอาหาร ลาํ ไส ตบั มา ม เปน ตน แมไมอ าจมองเหน็ ได แตอาจมอี าการบง บอกใหทราบวา มีการตกเลอื ดอยภู ายใน ดังนี้ ๑. มอี าการซดี ลง สงั เกตไดจ ากผวิ หนงั รมิ ฝป าก กระพงุ แกม ในปาก เลบ็ และเปลอื กตา ดา นใน ๒. มีอาการหนามืดตามวั หูอื้อ ออ นเพลีย ในท่สี ุดผปู ว ยอาจเปน ลม ๓. มเี หงือ่ เหนียว ๆ ออก มอื เทา เยน็ ซีด ในบางรายมีอาการหนาวสัน่ ๔. หัวใจเตนเร็ว ชีพจรเตนเร็วแตแผวเบา ถาหากตกเลือดมากชีพจรจะเบาลงมาก และระยะการเตนของชพี จรไมส มา่ํ เสมอในทสี่ ดุ อาจจะคลาํ หาชพี จรไมพบ ๕. มอี าการหายใจเรว็ ถ่ีและหอบสนั้ ๖. มีอาการกระหายนํ้ามาก กระสบั กระสาย ทุรนทรุ าย

๒๙ ๗. มานตาขยาย ๘. ถา ปอดเปน แผลหรอื กระเพาะอาหารมแี ผล ผปู ว ยอาจอาเจยี นออกมาเปน โลหติ ๙. มอี าการหมดสติ และถาหากเลือดไหลไมหยุด ในทีส่ ดุ กถ็ ึงแกค วามตาย ÇÔ¸Õ¡ÒáÒÃËŒÒÁàÅ×Í´ การหามเลอื ดภายนอกแบง ออกเปน ๓ วิธี ไดแก ñ. ¡Òá´Å§º¹ºÒ´á¼Åâ´Âμç วิธีน้ีเปน วิธีหา มเลือดทีไ่ ดผลดีที่สุด อาจจะใชมอื กด หรอื ใชผา วางบนแผลกไ็ ด โดย (๑) กดใหก ดแนน ๆ นานประมาณ ๑๐ – ๓๐ นาที (๒) เมือ่ เลือดหยดุ ไหล ใหท าํ แผลและใชผาพัน (๓) อยาคลายผาหรือเปล่ียนผาพันแผลเปนอันขาด เพราะอาจทําใหเลือดออก ไดอกี และทําใหเ พิม่ ความบาดเจบ็ มากขน้ึ ถา เลือดโชกผา พัน ใหใชผาพันทบั เขา ไปอีกชนั้ หนง่ึ แทนท่ี จะเปลี่ยนผาใหม ท่มี า : http://www.nurse.nu.ac.th/ - ควรสวมถงุ มอื เม่ือสมั ผสั ตัวผูปวย เพื่อปองกนั การตดิ เช้ือ - กรณีผา ปด แผลชุมเลอื ดไมควรเอาออกและควรนําผาอีกช้นิ มาปด ทบั บนผา ชน้ิ แรก - พันผา แลว ผูกไว และควรยกอวยั วะใหสูงข้นึ - เมื่อทาํ การปฐมพยาบาลแลวใหรบี สง ตัวเขาโรงพยาบาลทนั ที

๓๐ ò. ¡Òá´º¹àʹŒ àÅ×Í´á´§ กรณีทม่ี เี ลือดออกรุนแรง ใหใชวธิ ีการกดบนเสนเลอื ดแดง ตามจดุ ทส่ี ําคญั ๆ ๔ จดุ คอื เสนเลอื ดแดงไปเล้ียงหนังศีรษะ เสนเลือดแดงไปเลยี้ งหนา เสน เลือดแดง ไปเลยี้ งแขน และเสน เลอื ดแดงไปเล้ียงขา ตําá˹‹§¡´ËŒÒÁàÅ×Í´ ท่มี า : https://www.doctor.or.th/ ó. ¡ÒÃÃÑ´¢Ñ¹ªÐà¹ÒÐËÃ×Í·Ù¹Ôà¡μ (Tourniquet) เปนการหามเลือดโดยการรัด ไมใ หเ ลอื ดออกจากหลอดเลอื ดแดงทม่ี าเลยี้ งบรเิ วณบาดแผล (ควรใชผ า ไมค วรใชเ ชอื กหรอื สายยางรดั ) ใชสาํ หรับบาดแผลบรเิ วณแขนขา ในกรณที ีบ่ าดแผลนั้นเปนเหตใุ หเ สยี ชวี ิตเพราะเสยี เลอื ดมากเทา นน้ั ตําแหนงที่ควรขันชะเนาะ ไดแ ก ๑) ทอนแขนสวนบนประมาณหนึ่งฝามือลงมาจากรักแร เพ่ือหามเลือดของแขน และมือ ๒) ทอ นขาสวนบนประมาณหน่ึงฝา มอื ลงมาจากขาหนบี เพื่อหา มเลอื ดขาและเทา วธิ ีขันชะเนาะ มีขนั้ ตอน ดังน้ี ๑) ใชผาพับเปนแถบกวางประมาณ ๒ นิ้ว วางเหนือขอบของแผลหรือสวนที่ขาด ๒-๔ นิ้ว ผกู เงือ่ นหนง่ึ ครัง้

๓๑ ๒) ใชว สั ดแุ ทง แขง็ สาํ หรบั ขนั ชะเนาะ เชน ปากกา ดนิ สอ ตะเกยี บ ชอ น กงิ่ ไม ทอ นไม วางบนปมเง่อื น กอ นผูกเงอ่ื นตายอกี ทบหนง่ึ ๓) หมุนอุปกรณที่ใชในการขันชะเนาะไปรอบเง่ือนท่ีผูกไวหลายๆ รอบเปนการ ขันชะเนาะจนเลือดหยุดไหลออกจากบาดแผล แลวผูกอุปกรณที่ใชในการขันชะเนาะล็อกกับแขน หรอื ขาไมใหอ ปุ กรณท่ใี ชใ นการขันชะเนาะหมนุ กลับได ๔) รบี นาํ สงผูปวยถึงมือแพทยแ ลว ใหแจง แกท มี แพทยและพยาบาลดวยวา บรเิ วณ และเวลาทข่ี ันชะเนาะหามเลอื ดไวคอื ที่ใดและเม่ือใด ¢Ñ¹é μ͹¡Òâ¹Ñ ªÐà¹ÒÐ ที่มา : https://health.mthai.com/ ÃÐÇѧ ๑. อยาขันชะเนาะลงบนผิวหนังโดยตรง ควรใชผ า หรอื สาํ ลหี ุมรอบแขนหรือขาเสียกอน ๒. ใชในรายที่แขนหรือขาไดรับบาดเจบ็ รุนแรงเทา น้นั ๓. หา มใชเ สนลวด หรือเชอื กผกู รองเทาเปน สายรดั หา มเลอื ด ๔. เม่ือรัดสายรัดหามเลอื ดแลว หามคลายสายรัดออก ๕. การคลายสายรัดหามเลือดออกตองกระทําโดยบุคลากรทางการแพทยท่ีมีความชํานาญ และอยูในสถานทที่ ่มี ีอปุ กรณชว ยชีวิตท่พี รอ ม

๓๒ ¡ÒÃàÊÂÕ àÅ×Í´ÀÒÂã¹ การหามเลือดภายในเปนไปไดยาก นอกจากการสังเกตอาการและปองกันภาวะช็อก แลว รอคอยการชวยเหลอื จากแพทยห รอื นาํ ผปู วยสง โรงพยาบาลเร็วทส่ี ดุ ¡Òû°Á¾ÂÒºÒżàŒÙ ÊÕÂàÅÍ× ´ÀÒÂã¹ ๑. ถา มีกระดกู หักใหใชเฝอ กดามเสยี กอ น ๒. ใหผ ปู ว ยนอนในทา ที่ถูกตองดงั ตอ ไปนี้ ๒.๑ นอนศีรษะตํ่าเทาสูง โดยใหผูปวยนอนศีรษะต่ํายกเทาสูงเหนือพื้นประมาณ ๑๒ – ๑๘ น้ิว หามใชทาน้ีถาผูปวยบาดเจ็บท่ีกระดูกสันหลัง กระดูกคอบาดเจ็บ สมองบาดเจ็บ ชองทอ งหรือทรวงอก (เพราะจะทาํ ใหอ วัยวะและเลอื ดในชองทอ งเพม่ิ ความดันใตกะบังลม) ๒.๒ สําหรบั ผูปวยมีกระดกู แขนขาหัก ใหน อนหงายราบ ๒.๓ สาํ หรบั ผปู ว ยบาดเจบ็ ทที่ รวงอกหรอื เปน โรคหวั ใจทย่ี งั สตดิ อี ยู ใหน อนศรี ษะสงู ๒.๔ ถาผปู วยหมดสติ ใหนอนตะแคงเพ่ือปองกันการสําลักอาเจียน ๓. คลายเสอ้ื ผา ใหหลวม ๔. ผบู าดเจ็บทไ่ี มรูส ึกตวั ใหนอนในทา พกั ฟน ๕. หามด่มื นํ้าและหา มกินอาหาร (เพอ่ื ปอ งกันอาเจียน และเตรียมตวั สาํ หรบั การผา ตดั ) แหงนศีรษะไปดานหลงั แขนดา นลา ง ตง้ั ฉากกบั ลาํ ตัว ตรวจนับชีพจร มอื หนุนใตแกม คลายเสือ้ ผา ใหห ลวมสูง งอเขา ใหลาํ ตวั ม่นั คง ใหผ บู าดเจ็บนอนหงายศีรษะต่าํ เทา สูง หาอปุ กรณร องปลายเทา หมั่นตรวจการหายใจและชีพจร หากผบู าดเจบ็ หยดุ หายใจหรอื หวั ใจหยดุ เตน ตองทําการการกชู วี ิต ÀÒ¾»ÃСͺ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅÀÒÇЪçÍ¡ ทีม่ า : เรืองศกั ดิ์ ศิริผล

๓๓ ÍÒ¡ÒÃáÊ´§ÀÒÇЪÍç ¡ ๑. หนาซีด เหงอื่ ออก ตวั เย็นชืน้ เหง่อื ออกเปน เม็ดๆ บนใบหนา ๒. ปลายมือ – ปลายเทา และผิวหนงั เย็นชื้น ๓. อาจคล่นื ไสอาเจียน ๔. ชีพจรเบาแตเรว็ หายใจหอบถ่ี ไมส ม่ําเสมอ ๕. รมู า นตาขยายโตขึน้ ทงั้ สองขา ง ๖. หากไมร บี ปฐมพยาบาลอาจเสยี ชีวิตได ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅÀÒÇЪÍç ¡ ๑. ใหน อนหงาย ศรี ษะต่าํ กวา เทา เล็กนอ ย ๒. คลายเส้อื ผา ใหหลวม ใหค วามอบอนุ ๓. ในรายท่ไี มร สู ึกตัว ใหนอนตะแคงหนาไปขา งใดขางหนงึ่ ๔. ถา มีการบาดเจบ็ ท่ีศรี ษะหรอื หายใจลําบาก ใหนอนราบธรรมดา ๕. ถามีเลือดออกใหทําการหามเลือด หรือมีกระดูกหักใหเขาเฝอกช่ัวคราวกอน เคลื่อนยา ย ¡Òû°Á¾ÂÒºÒźҴá¼Å·ÍÕè ѹμÃÒ ºÒ´á¼Å·ÐÅØ˹Ҍ Í¡ ภายในชอ งอกมีอวัยวะสําคญั อยูหลายอยาง เชน หัวใจ ปอด ตบั โดยมซี ี่โครงเปน เกราะ ปองกัน ซ่ึงบาดแผลทะลุหนาอกอาจทําใหเกิดการบาดเจ็บภายในท่ีรุนแรง บาดแผลท่ีทะลุผาน เยือ่ หุม ปอดจะทาํ ใหอากาศเขาไปกดเน้ือปอด ทาํ ใหปอดแฟบได บางครง้ั แรงกดยังสงผลใหเ ลอื ดไหล เขาหัวใจไมเต็มทท่ี าํ ใหข าดเลอื ดในการไหลเวียนและชอ็ กได ¡ÒÃ椄 à¡μÍÒ¡Òà ๑. หายใจลําบากและปวด อาจหายใจเรว็ ตน้ื และปอดสองขา งขยายไมเ ทากัน เชยนั้ อื่ ขหอมุ งปอด ลทมางเขบา าดแผล ปชเยอกอ่ื งตหริ ะมุ หปวอา ดง ปแฟอบด ๒. ไอ มีเลอื ดเปนฟอง กซีโ่รคะรดงกู ๓. ปาก เลบ็ และผิวหนงั เขยี ว ๔. มเี ลือดเปน ฟองออกจากบาดแผล ใเเลยนอือื่ ชดหไอหุม งลปรมอะาดรหววมกานัง ๕. บางรายขณะหายใจเขา จะมีเสยี งลมเขา ปอด ปสมอบดรูทณี่  ÀÒ¾»ÃСͺºÒ´á¼Å·ÐÅØ˹Ҍ Í¡ ทมี่ า : เรอื งศกั ด์ิ ศริ ผิ ล

๓๔ ผูบ าดเจบ็ จะ รชในูสวทกึยสาปนบระ่งัาแคยลอขะึน้ง ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ ปด บาดแผล อยางรวดเร็ว ๑. ใชฝา มอื ปดบาดแผลทนั ที ถาผูบาดเจบ็ รูสกึ ตวั ๓. ประคองผบู าดเจ็บทีร่ ูสกึ ตวั นง่ั ในทาสบาย ใหป ด แผลดวยฝามอื ของตนเอง โดยใหเ อียงตวั ไปขา งท่บี าดเจบ็ ใชผ า สะอาดหรอื ผา ทาํ แผลปด ดศรอาีรนษงรหะบั เลองั ียมงมี ไปอื ปองกนั ไมใ หลมเขา บาดแผล ดา นไมบ าดเจบ็ อยูดานบน แกขบั นลงาํ อตตวั งั้ ฉาก งยอันขลาาํ เตพัว่ือ ๒. ปด บาดแผลดวยผา สะอาดปดทบั ดวยพลาสตกิ ๔. ผูบาดเจ็บที่ไมรูสึกตัว ตรวจการหายใจ หรอื กระดาษฟอยล ใชพ ลาสเตอรปด ทับขอบ และชีพจร เตรียมทําการกูชีวิตถาจําเปน อีกครง้ั เพื่อปองกนั ลมเขา จัดใหผูบาดเจ็บอยูในทาพักฟน ใหดาน ทบ่ี าดเจ็บอยูดานลาง ๕. เรยี กรถพยาบาลหรือโทร ๑๖๖๙ ºÒ´á¼Å·èÕ·ŒÍ§ ทีม่ า : เรืองศักด์ิ ศิรผิ ล ความรนุ แรงของบาดแผลดไู ดจ ากเลอื ดและอวยั วะในชอ งทอ งทอี่ อกมา สว นใหญจ ะเปน การบาดเจ็บและเสียเลือดอยูภายใน บาดแผลถูกแทง ถูกยิง หรือถูกแรงกระแทกท่ีทอง อาจทําให อวยั วะภายในหรอื หลอดเลอื ดในชองทองฉกี ขาดหรือแตกได

๓๕ ๑. ใหผ ูบ าดเจบ็ นอนลง งอเขา และชวยประคองเขาถา จําเปน ยกและชว ยประคองเขา ทมี่ า : เรืองศักด์ิ ศิรผิ ล ๒. ใชผาทําแผลหรือผาสะอาดขนาดใหญปดคลุมแผล แลวใชผาพันแผลหรือปด พลาสเตอรใหอยูกับที่ ถามีไสไหลออกมาอยาสัมผัส อยาพยายามจับใสกลับเขาชองทอง ใหใช พลาสตกิ ปด อาหาร หรอื ผา สะอาดคลมุ เพอ่ื ปอ งกนั เชอ้ื โรคและปอ งกนั ไมใ หแ หง แลว ใชผ า พนั ทบั หลวมๆ ใชผ า ทําแผลหรือผา สะอาด ปดคลมุ บาดแผล หา มสมั ผสั หรอื พยายามจบั ไสท ไ่ี หล ออกมากลับเขาชองทอ ง ท่มี า : เรอื งศักด์ิ ศิรผิ ล ๓. ปอ งกนั ภาวะช็อก และเรยี กรถพยาบาลหรอื โทร ๑๖๖๙ ถาผูบาดเจ็บหมดสติ ใหตรวจดูชีพจรและการหายใจ เตรียมปฏิบัติการกูชีวิต (ถา จําเปน) จดั ใหผูบาดเจบ็ อยูในทา พักฟน กดแผลขณะทีผ่ ูบาดเจบ็ ไอ หรอื อาเจยี น ท่มี า : เรืองศกั ด์ิ ศิริผล

๓๖ ºÒ´á¼Å·ÕÈè ÕÃÉÐ การบาดเจ็บที่ศีรษะมีโอกาสเกิดอันตรายไดทั้งสิ้นจึงตองการการดูแลจากแพทย โดยเฉพาะอยางยิ่งการบาดเจ็บที่รุนแรงจะทําใหการรูสึกตัวเสียไป เสนเลือดและสมองอาจถูกทําลาย จงึ ตอ งสังเกตอาการและสาํ รวจการบาดเจบ็ อยา งละเอียด ÍÒ¡Ò÷¾èÕ º ๑. อาจไมร สู กึ ตัวระยะสนั้ หรือเล็กนอยจากการที่ศรี ษะถูกกระแทก ๒. อาจมนึ งง หรือคลน่ื ไสอาเจยี น เม่ือรสู ึกตวั ๓. จาํ เหตุการณไมได และปวดทว่ั ศรี ษะเลก็ นอ ย ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ กดแนน ๆ ๑. ถามีบาดแผลใหป ดแผลโดยใช บตหใหดิาาอ งดผจยาแาพู ผกนลั ผาสะอาดกดลงบนบาดแผล ใหส นิท เพ่ือหามเลือด - อยา ใชน ว้ิ กดบาดแผล ๒. เมือ่ เลือดหยดุ ใชผาพันทบั ใหผาทีป่ ดแผลอยูกับที่ ๓. ตรวจระดับปฏกิ ิริยาตอบสนองดวยการ ผบู าดเจบ็ ตอบคาํ ถาม ถามคําถามงา ยๆ งายๆ ไดหรอื ไม (๑) ถา ผบู าดเจ็บไมร ูส ึกตวั นานกวา ๓ นาที ใหเ รยี กรถพยาบาล นอนศรี ะษะสงู กวา อก หรอื โทร ๑๖๖๙ และจดั ใหนอน ทมี่ า : เรอื งศกั ดิ์ ศิริผล ในทา พักฟน (๒) บนั ทกึ การหายใจ ชพี จรและระดับ ปฏกิ ริ ิยาตอบสนองทุก ๑๐ นาที ๔. ใหผบู าดเจบ็ นอนลงใหศ ีรษะและไหล สงู กวาหนา อก และนาํ สง โรงพยาบาล ในทาน้ี ๕. ถาผบู าดเจบ็ ฟน ใหด ูอยางใกลชิดวาระดบั การตอบสนองเปล่ียนแปลงไปอยา งไร ๖. อยา ปลอยผบู าดเจบ็ อยูลําพังคนเดียว

๓๗ ºÒ´á¼Å¶Ù¡¤ÇÒÁÌ͹ เปนแผลท่ีเกิดจากความรอนแหง เชน ไฟไหม ความรอนเปยก เชน นํ้ารอนลวก การถูกกรด-ดาง สารเคมีที่มีผลทําใหเนื้อเยื่อมีการบาดเจ็บเปนอันตรายตั้งแต เล็กนอยจนถึงแกช วี ิต ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ·ÇèÑ ä» ใ๑ห๐คนวาามทเี ยน็ นาน ๑. ราดดว ยนํา้ เย็นหรอื เปดน้าํ ใหไหลผานบรเิ วณบาดแผล - บาดแผลรนุ แรงรีบขอความชว ยเหลือ หรือโทร ๑๖๖๙ ๒. รบี ถอดหรือตดั เสอ้ื ผา เครอ่ื งประดับ ถอดสิ่งของที่รัดอยูออก หรือเข็มขดั ออกจากบริเวณทีถ่ ูก กอ นทบ่ี าดแผลจะเรมิ่ บวม ความรอ นออก - ถา วตั ถุดงั กลาวตดิ กับบาดแผล หามถอดออก ๓. บาดแผลไมรุนแรงทายาสาํ หรบั แผลไฟไหม ถใใหสชนกูะรแ อคือคผแรวาน ัวผาดปนมดไปรมบอด เานอปดานผแหขาผาทยุลรี่ แลวปด ดวยผา สะอาด - หา มใชครมี ขีผ้ ึง้ ไขมัน หรอื ยาสฟี น ทา ทบี่ าดแผล ๔. ถาแผลกวางและลกึ หรือถกู อวัยวะสาํ คัญ ปดสวนทีบ่ าดเจบ็ ใหร บี นําสงโรงพยาบาล ใหเรยี บรอ ย - ใหผ ูบ าดเจบ็ นอนลง ยกและพยงุ ขา ใหศรี ษะอยตู ํ่า ใหสูง - ตรวจและบันทกึ การหายใจและชีพจร ทกุ ๆ ๑๐ นาที ระหวางรอทีมชว ยเหลือ หรือรถพยาบาล ทีม่ า : เรอื งศักดิ์ ศิริผล

๓๘ ÊÃ»Ø การดูแลบาดแผลและการหามเลือดท่ีมีประสิทธิภาพซ่ึงประกอบดวย การเขาใจ และ การมีทักษะในหลักการพยาบาลดูแลบาดแผล รวมถึงการปองกันการเกิดบาดแผล หรือไมทําใหเกิด แผลเพมิ่ ขน้ึ เปน สง่ิ ทส่ี ง เสรมิ ใหบ าดแผลหายเรว็ ขน้ึ เทคนคิ ในการทาํ แผลแตล ะชนดิ ตลอดจนการฟน ฟู สุขภาพ จงึ เปนสิง่ ที่มีความสาํ คัญและเปน ประโยชนตอผูบาดเจบ็ และญาตทิ ง้ั ทางดานรา งกาย จิตใจ และอารมณ ซ่งึ จะสง ผลใหเกิดคณุ ภาพชีวิตท่ีดีของผูบาดเจ็บและญาติตอ ไป ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ๑. ผสู อนและผเู รยี นชว ยกนั สรุปเนอื้ หา ๒. ฝกปฏิบัตกิ ารปฐมพยาบาลบาดแผลและการใชสายรัดหา มเลอื ด ÍŒÒ§Í§Ô นายแพทยเ รอื งศกั ดิ์ ศริ ผิ ล.(๒๕๕๑). ¤ÁÙ‹ Í× »°Á¾ÂÒºÒÅ. กรุงเทพฯ : นานมีบุค ส. ºÒ´á¼ÅáÅСÒû°Á¾ÂÒºÒÅ จาก http://thainurseclub.blogspot.com/2013/10/blog-post_3.html »°Á¾ÂÒºÒÅàºÍé× §μ¹Œ ¡ºÑ Ç¸Ô ¡Õ ÒÃËÒŒ ÁàÅÍ× ´ จาก https://health.mthai.com/howto/health-care/4079.html

๓๙ º··èÕ ô ¡Òû°Á¾ÂÒºÒÅ¡Ãд¡Ù Ë¡Ñ ¨Ø´»ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÕ¹Ì٠ผูเรียนสามารถจําแนกและอธิบายชนิดของกระดูกหักและทําการปฐมพยาบาลไดอยาง ถูกตอง โดยใชความรู ความเขาใจและทักษะดานการปฐมพยาบาลผูบาดเจ็บกระดูกหักและสามารถ ทําการเขาเฝอกชั่วคราว โดยใชวัสดุหรืออุปกรณท่ีหาไดในสถานท่ีเกิดเหตุไดอยางถูกวิธี ตลอดจน สามารถนาํ ความรูท่ไี ดร บั ไปชว ยเหลือและแนะนําผอู ่ืนไดอ ยา งถูกตอง กระดกู หกั (Bone fracture, Fracture หรอื Broken bone) เปน ภาวะทพี่ บไดบ อ ยทงั้ ในเดก็ และผูใหญ สวนใหญมักเกิดจากอุบัติเหตุที่มีแรงมากระทํามากเกินไปจนทําใหกระดูกหักและกอให เกิดอาการเจ็บปวด บวม เคล่ือนไหวไมได หรือเคลื่อนไหวผิดปกติ ในปจจุบันน้ีการรักษากระดูกหัก มคี วามเจรญิ กา วหนา ไปมาก สามารถรกั ษาใหห ายกลบั มาใชง านไดใ นเวลาอนั รวดเรว็ ไมต อ งพกิ ารจาก ความผดิ รปู หรอื กระดกู สน้ั ยาวไมเ ทา กนั อกี ตอ ไป โดยเฉลย่ี แลว คนเราจะเคยกระดกู หกั ประมาณ ๒ ครงั้ ในชีวิต แมกระทง่ั ในประเทศทพี่ ัฒนาแลว ฉะนน้ั จึงอาจเกดิ ขึ้นกบั ใครก็ได เมือ่ เปน เชนนีเ้ ราจึงควรให ความสําคญั ทจ่ี ะเรียนรูถ ึงวธิ กี ารปฐมพยาบาลกระดกู หกั ทถ่ี ูกวิธเี พื่อเอาไวช ว ยเหลือตัวเอง ครอบครัว หรอื คนอน่ื ๆ ท่ตี กอยูในสถานการณด งั กลา ว ¡Ãд¡Ù Ë¡Ñ หมายถงึ ภาวะท่ีสว นประกอบของกระดกู แตกแยกออกจากกัน อาจเปนการ แตกแยกโดยสน้ิ เชงิ หรอื อาจมบี างสว นตดิ กนั อยบู า ง ซง่ึ ขนึ้ อยกู บั ความรนุ แรงของแรงทมี่ ากระแทกตอ กระดกู ทําใหแนวการหกั ของกระดูกแตกตางกนั ª¹Ô´¢Í§¡Ãд¡Ù ËÑ¡ โดยทว่ั ไปแบง เปน ๒ ชนดิ คอื กระดกู หกั ชนดิ ปด (closed fracture) และกระดกู หกั ชนดิ เปด (opened fracture) ซง่ึ สามารถวินจิ ฉัยไดจ ากการสงั เกต ñ. ¡Ãд¡Ù Ë¡Ñ ª¹Ô´»´ คือ กระดูกหักแลว ò. ¡Ãд¡Ù Ë¡Ñ ª¹´Ô à»´ คอื กระดกู หกั แลว ไมทะลุผวิ หนงั และไมม ีบาดแผล ทิ่มแทงทะลุผิวหนัง ทําใหมีแผลตรง บนผวิ หนังตรงบริเวณท่ีหัก บรเิ วณทก่ี ระดกู หกั โดยอาจไมม กี ระดกู โผลอ อกมานอกผวิ หนงั กไ็ ด แตม แี ผล เหน็ ไดช ัดเจน ท่มี า : http://thainurseclub.blogspot.com/

๔๐ ¡Ãд١ʋǹμÒ‹ §æ ·è¾Õ º¡ÒÃáμ¡ËÑ¡ä´Œ ๑. กระดูกกะโหลกศีรษะแตก ๒. กระดูกขากรรไกรลา งหกั ๓. กระดกู สนั หลงั หัก ๔. กระดูกไหปลาราหกั ๕. กระดูกซี่โครงหัก ๖. กระดูกตน แขน, ปลายแขนหัก ๗. กระดูกขอมือหัก ๘. กระดกู เชงิ กรานหกั ๙. กระดกู ตน ขา, ปลายขาหกั ๑๐. กระดูกขอเทา หกั ÀÒ¾áÊ´§Ãкº¡Ãд¡Ù ที่มา : https://sites.google.com/site/tamchatchai10/

๔๑ ÊÒàËμ¢Ø ͧ¡Ãд¡Ù ËÑ¡ ๑. การไดรับแรงกระแทกโดยทางตรงหรือทางออม แลวสงผลใหกระดูกแตกหรือแยก ออกจากกัน ๒. อุบัตเิ หตทุ างจราจร ๓. การหกลม หรอื ตกจากทีส่ งู ๔. การเลน กีฬา ๕. โรคกระดกู ๖. การหดเก็งของกลามเน้อื และเสน เอ็น ๗. ดชั นีมวลกายต่ํา ÍÒ¡Òâͧ¼Ù·Œ ¡Õè Ãд١ËÑ¡ ๑. เจบ็ ปวดบรเิ วณกระดูกหัก ๒. บวมรอบ ๆ กระดูกหัก ๓. รูปรางของแขนขาหรอื ขอ ตอ เปล่ียนไปจากรูปเดมิ เชน คดงอ โกง โปงออก ฯลฯ ๔. บรเิ วณนั้น ๆ เคลื่อนไหวไมไ ด หรือเม่ือเคลอ่ื นไหวแลวมอี าการเจ็บปวด ๕. อาจไดย นิ เสียงกระดูกหกั เมอื่ บาดเจ็บโดยผบู าดเจบ็ หรือผขู า งเคียงไดย นิ ๖. หากกดเบา ๆ บนบรเิ วณกระดูกหัก จะไดยนิ เสียงบาดเจบ็ ËÅ¡Ñ ·ÇèÑ ä»ã¹¡Òû°Á¾ÂÒºÒżŒÙ·Õè¡Ãд¡Ù Ë¡Ñ ๑. การซกั ประวัตเิ ก่ียวกับการประสบเหตุ เพื่อประเมินความรนุ แรงของแรงที่มากระทํา - เกดิ ไดอยา งไร - ในทา ใด - ระยะเวลาทเ่ี กิด - ตําแหนงของกระดูกที่ไดรับบาดเจ็บ ๒. การตรวจรา งกาย โดยตรวจทงั้ ตวั และสนใจตอ สว นทไี่ ดร บั อนั ตรายมากเปน อนั ดบั แรก - ถอดเส้ือผาผูบาดเจ็บออก ควรใชวิธีตัดตามตะเข็บ อยาพยายามใหผูบาดเจ็บ ถอดเอง เพราะจะทาํ ใหเจบ็ ปวดเพม่ิ ข้นึ - สังเกตอาการและอาการแสดงวามีการบวม รอยฟกชํ้า หรือ จํ้าเลือด บาดแผล ความพิการผดิ รปู และคลําอยางนุม นวล - ถามกี ารบวมและชามากใหจ ับชีพจรเปรยี บเทียบกบั แขนหรือขาทัง้ สองขา ง - ตรวจระดับความรูสึก การเปลี่ยนแปลงสีผิว การตรวจบริเวณท่ีหัก ตองทําดวย ความระมดั ระวัง เพราะอาจทําใหปลายกระดกู ทห่ี กั เคลอ่ื นมาเกยกนั หรือทะลุออกมานอกผิวหนงั - ขณะตรวจรา งกาย ตอ งดแู ลทางเดนิ หายใจใหโ ลง ประเมนิ การหายใจและการไหลเวยี น ของเลอื ด สังเกตการตกเลือด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook