Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Published by thanatphat2606, 2020-04-16 08:01:55

Description: Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Keywords: Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Search

Read the Text Version

๙๒ ¡®¡ÃзÃǧ กํา˹´à´ç¡·ÕèàÊèÂÕ §μ‹Í¡ÒáÃÐทํา¼Ô´ ¾.È. òõôù อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ อนั เปน กฎหมายทมี่ บี ทบญั ญตั บิ างประการเกยี่ วกบั การจาํ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตาม บทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ออกกฎกระทรวงไว ดงั ตอไปนี้ ¢ŒÍ ñ เด็กท่ีประพฤติตนไมสมควร ไดแก เด็กท่ีมีพฤติกรรมอยางหนึ่งอยางใด ดังตอ ไปนี้ (๑) ประพฤติตนเกเรหรือขม เหงรังแกผูอื่น (๒) มัว่ สุมในลักษณะท่ีกอความเดอื ดรอ นราํ คาญแกผอู น่ื (๓) เลนการพนนั หรือมัว่ สมุ ในวงการพนนั (๔) เสพสุรา สูบบุหรี่ เสพยาเสพติดใหโทษหรือของมึนเมาอยางอื่น เขาไปในสถานที่ เฉพาะ เพอ่ื การจําหนายหรือด่ืมเคร่ืองดืม่ ท่ีมีแอลกอฮอล (๕) เขา ไปในสถานบริการตามกฎหมายวา ดว ยสถานบริการ (๖) ซื้อหรือขายบริการทางเพศ เขาไปในสถานการคาประเวณีหรือเกี่ยวของกับการคา ประเวณี ตามกฎหมาย วาดวยการปองกนั และปราบปรามการคาประเวณี (๗) ประพฤตติ นไปในทางชสู าว หรอื สอไปในทางลามกอนาจารในทส่ี าธารณะ (๘) ตอตา นหรือทา ทายคาํ สั่งสอนของผปู กครองจนผปู กครองไมอาจอบรมส่ังสอนได (๙) ไมเขา เรยี นในโรงเรียนหรอื สถานศึกษาตามกฎหมาย วาดวยการศกึ ษาภาคบังคับ ¢ÍŒ ò เดก็ ทป่ี ระกอบอาชพี ทน่ี า จะชกั นาํ ไปในทางกระทาํ ผดิ กฎหมายหรอื ขดั ตอ ศลี ธรรม อันดี ไดแ ก เด็กท่ปี ระกอบอาชพี ดงั ตอ ไปนี้ (๑) ขอทานหรอื กระทาํ การสอ ไปในทางขอทาน โดยลาํ พงั หรือโดยมผี ูบงั คับ ชักนํา ยยุ ง หรอื สง เสริม หรอื

๙๓ (๒) ประกอบอาชพี หรอื กระทาํ การใดอนั เปน การแสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบดว ยกฎหมาย หรอื ขัดตอศีลธรรมอันดี ¢ŒÍ ó เดก็ ทค่ี บหาสมาคมกบั บคุ คลทน่ี า จะชกั นาํ ไปในทางกระทาํ ผดิ กฎหมายหรอื ขดั ตอ ศลี ธรรมอนั ดี ไดแ ก เด็กทีค่ บหาสมาคมกับบคุ คล ดังตอไปน้ี (๑) บุคคลหรือกลุมคนท่ีรวมตัวกันม่ัวสุม เพ่ือกอความเดือดรอนรําคาญแกผูอื่น หรือ กระทําการอนั ขัดตอกฎหมายหรือศลี ธรรมอันดี หรอื (๒) บคุ คลท่ปี ระกอบอาชีพท่ีขัดตอ กฎหมายหรือศลี ธรรมอนั ดี ¢ŒÍ ô เด็กที่อยูในสภาพแวดลอมหรือสถานที่อันอาจชักนําไปในทางเสียหาย ไดแก เดก็ ทีอ่ ยใู นสภาพแวดลอมหรือสถานท่ี ดงั ตอ ไปนี้ (๑) อาศยั อยกู บั บคุ คลทม่ี พี ฤตกิ รรมเกย่ี วขอ งกบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษหรอื ใหบ รกิ ารทางเพศ (๒) เรรอนไปตามสถานทีต่ า งๆ โดยไมมีท่ีพกั อาศัยเปน หลักแหลงทีแ่ นน อน หรือ (๓) ถูกทอดท้ิงหรือถูกปลอยปละละเลยใหอยูในสภาพแวดลอมอันอาจชักนําไปในทาง เสียหาย ใหไ ว ณ วันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ วฒั นา เมืองสุข รัฐมนตรีวา การกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คอื โดยทม่ี าตรา ๔ แหง พระราชบญั ญตั ิ คมุ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ บญั ญตั ใิ หเ ดก็ ทเ่ี สยี่ งตอ การกระทาํ ความผดิ หมายความถงึ เดก็ ทป่ี ระพฤตติ น ไมสมควร เดก็ ทป่ี ระกอบอาชพี หรือคบหาสมาคมกับบคุ คลท่ีนาจะชกั นาํ ไปในทางกระทาํ ผดิ กฎหมาย หรือขัดตอศีลธรรมอันดี หรืออยูในสภาพแวดลอมหรือสถานท่ีอันอาจชักนําไปในทางเสียหายตามท่ี กําหนดในกฎกระทรวง จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้

๙๔ ตวั อยา ง บนั ทึกการจบั กุมผตู องหาที่เปน เด็กหรอื เยาวชน สถานทท่ี ําบันทึก ..................................................................................................................................................... วัน/เดือน/ป ท่ีบันทกึ ...................................................................................................................................................... วัน/เดอื น/ป ทจ่ี บั กุม ...................................................................................................................................................... สถานที่จับกุม ...................................................................................................................................................... เจา หนา ทีต่ าํ รวจผูจบั ...................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ไดแ จงแกผ ูท ีถ่ ูกจับตามรายชอ่ื ขา งลา งวา เขาตอ งถูกจบั ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ไดแ จง ใหผูถูกจบั ทราบวา ๑. ผูถกู จบั มสี ิทธทิ ี่จะไมใ หก ารหรอื ใหก ารกไ็ ด ๒. ถอ ยคําของผูถูกจับนัน้ อาจใชเปนพยานหลกั ฐานในการพิจารณาคดไี ด ๓. ผูถูกจบั มีสทิ ธิจะพบและปรึกษาทนายหรือผูซงึ่ จะเปนทนายความ ๔. ถาผูถูกจับประสงคจะแจงใหญาติ หรือผูซ่ึงตนไววางใจทราบถึงการจับกุม ทสี่ ามารถดาํ เนนิ การไดโ ดยสะดวกและไมเ ปน การขดั ขวางการจบั หรอื การควบคมุ ถกู จบั หรอื ทาํ ใหเ กดิ ความไมปลอดภัยแกบุคคลหน่ึงบุคคลใด เจาพนักงานสามารถอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตาม สมควรแกก รณี (ส. ๕๖ - ๒๘)

๙๕ ผถู ูกจบั รบั ทราบสิทธิแลว ( ) ไมข อดาํ เนินการตามขอ ๔ ( ) ขอดําเนินการตามขอ ๔ และไดดําเนนิ การเรยี บรอ ย ( ) ขอใหก ารรบั วา เปน บคุ คลตามหมายจบั และยงั ไมเ คยถกู ดาํ เนนิ คดนี มี้ ากอ น ในการจับกมุ ผูต อ งหาครงั้ นี้ เจาหนา ทีต่ าํ รวจชุดจับกุมไดก ระทาํ ไปตามอาํ นาจและหนาท่ี โดย มหี มายจบั มีคําสงั่ ศาล กระทาํ ความผิดซง่ึ หนาดงั ไดบ ัญญัตไิ วใ นมาตรา ๘๐ มพี ฤตกิ ารณอ นั ควรสงสยั วา ผนู น้ั นา จะกอ เหตรุ า ยใหเ กดิ ภยนั ตรายแกบ คุ คล หรอื ทรพั ยส นิ ของผอู น่ื โดยมเี ครอ่ื งมอื อาวธุ หรอื วตั ถอุ ยา งอนื่ อนั สามารถอาจใชใ นการกระทาํ ความผดิ เมอ่ื มเี หตุที่จะออกหมายจบั บุคคลน้ันตามมาตรา ๖๖ (๒) แตมีความ จําเปน เรง ดว นที่ไมอาจขอใหศาลออกหมายจับบุคคลน้ันได เปนการจับกุมผูตองหาหรือจําเลยท่ีหนีหรือจะหลบหนีในระหวาง ถูกปลอ ยช่วั คราว ตามมาตรา ๑๑๗ การปฏิบตั ขิ องเจา พนักงานผูจับตอเด็กหรือเยาวชนผถู ูกจับ กระทําโดย (ม.๖๙) แจง แกเดก็ หรือเยาวชนวาเขาตอ งถกู จบั แจงขอกลา วหารวมทง้ั สทิ ธติ ามกฎหมายใหทราบ กรณมี หี มายจับไดแสดงตอ ผถู ูกจบั นาํ ตวั ไปยงั ทที่ าํ การของพนักงานสอบสวนแหงทองท่ที ่ถี กู จับทนั ที แจง เหตแุ หง การจบั กมุ ใหบ ดิ า มารดา ผปู กครอง บคุ คลหรอื ผแู ทนองคก าร ซ่งึ เดก็ หรอื เยาวชนอาศยั อยูด ว ย กรณอี ยดู ว ยในขณะจบั กมุ / ในโอกาสแรกเทาทสี่ ามารถทาํ ได ทําบันทึกการจับกุม โดยแจงขอกลาวหาและรายละเอียดเก่ียวกับเหตุแหงการจับ ใหผ ถู กู จบั ทราบ และไดก ระทาํ ตอ หนา ผปู กครอง บคุ คลหรอื ผแู ทนองคก าร ซงึ่ เดก็ หรอื เยาวชนอยดู ว ย ในกรณีทีข่ ณะทาํ บนั ทกึ มบี คุ คลดังกลาวอยูด วย ในการจบั กมุ และควบคมุ ไดก ระทาํ โดยละมนุ ละมอ ม โดยคาํ นงึ ถงึ ศกั ดศิ์ รคี วามเปน มนษุ ย และไมเ ปน การประจานมไิ ดใ ชว ธิ กี ารเกนิ กวา ทจ่ี าํ เปน เพอ่ื ปอ งกนั การหลบหนหี รอื เพอื่ ความปลอดภยั ของเด็กหรือเยาวชนผูถูกจบั หรอื บคุ คลอื่น และมไิ ดใ ชเครอ่ื งพันธนาการแกเดก็ เจา หนา ทต่ี าํ รวจผจู บั ไดอ า นบนั ทกึ ใหผ ถู กู จบั ฟง แลว และผถู กู จบั ไดอ า นดว ยตนเองแลว รบั วา ถูกตอ งและไดมอบสําเนาบันทึก การจับกุมใหแ กผูถูกจับเรยี บรอ ย จึงใหลงลายมอื ชือ่ ไวเ ปน หลักฐาน (ลงชือ่ ).....................................................ผตู อ งหา (ลงชื่อ).....................................................ผูปกครอง (ถามี) (ลงชือ่ )......................................ผูจบั กุม (ลงชือ่ )......................................ผจู ับกุม (ลงชอื่ )......................................ผจู บั กุม (ลงชื่อ)......................................ผจู บั กมุ (ลงชือ่ )......................................ผูจับกุม (ลงชอ่ื )......................................ผจู บั กุม/บนั ทึก (ส. ๕๖ - ๒๘)

๙๖ ºÑ¹·¡Ö ¡ÒÃÊͺ¶ÒÁàºé×Í§μ¹Œ สถานท่ีบนั ทกึ .......................................................... วันเดือนปท ี่บนั ทึก................................................... บนั ทกึ นที้ าํ ขน้ึ เพอื่ แสดงวา (ยศ ชอ่ื ชอื่ สกลุ ตาํ แหนง ).................................................... พนกั งานสอบสวน ไดส อบถาม..............................ด.ช./ด.ญ.........................(เดก็ หรอื เยาวชน ผตู อ งหา) ในเบอื้ งตน โดยมี (ชอ่ื ชอื่ สกลุ )....................................................................ทอี่ ยเู ลขท.่ี .................... ซอย....................................ถนน...........................หมทู .่ี ..................แขวง (ตาํ บล)................................. เขต (อําเภอ).................................จังหวัด........................................เปนลามแปล หรือไดจัดหา เทคโนโลยี ส่ิงอํานวยความสะดวกหรือความชวยเหลืออื่นใดใหตามกฎหมายวาดวยการสงเสริม และพฒั นาคุณภาพชีวติ คนพิการแลว ปรากฏรายละเอยี ดเกยี่ วกบั เด็กเยาวชนผูตอ งหา ดังนี้ ๑. ชอื่ ตวั .....................................ชอ่ื สกลุ ................................อาย.ุ ..............ป สญั ชาต.ิ ................. ๒. ถน่ิ ทอี่ ยู เลขท.่ี ...................ซอย................................ถนน..................................หมทู .ี่ ............... แขวง (ตาํ บล)..................................เขต/อาํ เภอ................................จงั หวดั ............................... ๓. สถานทเ่ี กดิ เลขท.ี่ ...............ซอย................................ถนน..............................หมทู .่ี ................. แขวง (ตาํ บล)...............................เขต/อาํ เภอ................................จงั หวดั .................................. ๔. อาชพี ของเดก็ หรอื เยาวชนผตู อ งหา............................................................................................ ๕. รายละเอยี ดเกยี่ วกับบดิ าของเด็กหรือเยาวชนผูตอ งหา ชอื่ ตวั ...............................................................ชอื่ สกลุ ............................................................ ทอี่ ยเู ลขท.ี่ ..................ซอย....................................ถนน.....................................หมทู .่ี ............... แขวง (ตาํ บล).................................เขต/อาํ เภอ.................................จงั หวดั .............................. อาชพี ...............................................................หมายเลขโทรศพั ท. ..........................................

๙๗ ๖. รายละเอียดเก่ียวกับมารดาของเดก็ หรอื เยาวชนผูตอ งหา ชอื่ ตวั ...............................................................ชอื่ สกลุ ............................................................ ทอ่ี ยเู ลขท.ี่ ..................ซอย....................................ถนน.....................................หมทู .ี่ ............... แขวง (ตาํ บล).................................เขต/อาํ เภอ.................................จงั หวดั .............................. อาชพี ...............................................................หมายเลขโทรศพั ท. .......................................... ๗. รายละเอียดเก่ยี วกับผูปกครองของเดก็ หรือเยาวชนผูตองหา ชอื่ ตวั ...............................................................ชอ่ื สกลุ ............................................................ ทอ่ี ยเู ลขท.่ี ..................ซอย....................................ถนน.....................................หมทู .ี่ ............... แขวง (ตาํ บล).................................เขต/อาํ เภอ.................................จงั หวดั .............................. อาชพี ...............................................................หมายเลขโทรศพั ท. .......................................... ๘. รายละเอยี ดเกี่ยวกับบุคคลทีเ่ ด็กหรือเยาวชนผูตอ งหาอาศัยอยูด ว ย ชอื่ ตวั ...............................................................ชอ่ื สกลุ ............................................................ ทอี่ ยเู ลขท.่ี ..................ซอย....................................ถนน.....................................หมทู .่ี ............... แขวง (ตาํ บล).................................เขต/อาํ เภอ.................................จงั หวดั .............................. อาชพี ...............................................................หมายเลขโทรศพั ท. .......................................... ๙. รายละเอยี ดเกย่ี วกบั องคการทีเ่ ด็กหรอื เยาวชนผตู องหาอาศยั อยดู ว ย ชอื่ ตวั ...............................................................ชอื่ สกลุ ............................................................ ทอ่ี ยเู ลขท.่ี ..................ซอย....................................ถนน.....................................หมทู .ี่ ............... แขวง (ตาํ บล).................................เขต/อาํ เภอ.................................จงั หวดั .............................. อาชพี ...............................................................หมายเลขโทรศพั ท. .......................................... และไดแ จง ขอ หาใหเ ดก็ หรอื เยาวชนผตู อ งหาทราบวา ................................................................. ............................................................................................................................................... ไดอานบันทึกนี้ใหเด็กหรือเยาวชนผูตองหาฟงแลวรับวาถูกตอง จึงใหลงช่ือ ไวเ ปน หลักฐาน (ลงช่อื ).................................................เดก็ หรอื เยาวชนผตู อ งหา (ลงชอื่ ).................................................ลามแปล (ลงชอ่ื ).................................................พยาน (ลงชอื่ ).................................................พนกั งานสอบสวน/บนั ทึก/อา น

๙๘ ท่.ี ...................... สถานตี าํ รวจ................................ วนั ท.่ี ........เดอื น............................พ.ศ. ............... เรอื่ ง แจง การดาํ เนนิ คดกี บั ............................................................................................................. (แจงขอ หาโดยไมม ีการจับกมุ และควบคุมตัว) เรยี น ผอู าํ นวยการสถานพินจิ และคุมครองเด็กและเยาวชน ดวยพนักงานสอบสวน.....(หนวยงานพนักงานสอบสวน).....ไดสอบถามปากคําเบ้ืองตน และสอบสวนดําเนินคดีกับเด็กหรือเยาวชนดังรายละเอียดขางลางนี้แลว และเด็กหรือเยาวชนนี้ เปนผูที่จะตองไดรับการพิจารณาพิพากษาในศาลเยาวชนและครอบครัว จึงแจงมาเพ่ือทราบถึง การดําเนินคดกี บั เด็กหรอื เยาวชน ดังนี้ ๑. ชอื่ เดก็ หรอื เยาวชน......................................................................เพศ.................. ๒. เกดิ เมอื่ วนั ท.่ี ....................................................................อาย.ุ ........................ป ๓. เชอ้ื ชาต.ิ ................................สญั ชาต.ิ ...........................ศาสนา............................ ๔. ชอื่ บดิ ามารดา....................................................................................................... ๕. เวลาน้ีอยูในความปกครองของใคร และเกี่ยวของกับเด็กหรือเยาวชน อยา งไร................................................................................................................ ๖. ทอ่ี ยปู จ จบุ นั ........................................................................................................ ๗. อาชพี ของเดก็ หรอื เยาวชน และ ของบดิ ามารดาหรอื ผปู กครอง............................. ๘. การศกึ ษาอบรม ยงั ศกึ ษาอยใู นโรงเรยี นใดหรอื ออกจากโรงเรยี นแลว ..................... ๙. ครง้ั นตี้ องหาวา กระทาํ ผิดในความผดิ ฐานใด เมือ่ ใด ท่ไี หน................................... ๑๐. ครง้ั นกี้ ระทาํ ผดิ รว มกบั ใครหรอื ไม. ...................................................................... ๑๑. พฤตกิ ารณแ หง คด.ี ............................................................................................. ......................................................................................................................... (ส. ๕๖ - ๖๗)

๙๙ (ดา นหลัง) ๑๒. ถกู ดาํ เนนิ คดโี ดยแจง ขอ หาใหท ราบ เมอื่ วนั เวลาใด และทไี่ หน.............................. (ลงช่ือ)............................................พนกั งานสอบสวน/บันทกึ (........................................) ตําแหนง ......................................... พฤตกิ ารณแ หง คดโี ดยละเอยี ด......................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... การกระทาํ ของผตู อ งหาเปน ความผดิ ตามกฎหมายใด........................................................................ (ลงชื่อ)............................................พนักงานสอบสวน/บันทึก (........................................) ตาํ แหนง......................................... (ส. ๕๖ - ๖๗)

๑๐๐ ท.ี่ ....................... สถานตี าํ รวจ/หนว ยงาน........................................ วนั ท.่ี ........เดอื น..............................พ.ศ. .............. เร่อื ง แจง การจบั กมุ ....................................................................................................................... เรียน ผอู าํ นวยการสถานพนิ จิ และคมุ ครองเดก็ และเยาวชน............................................................... ดวย........................................................................ไดทําการจับกุมและพนักงาน สอบสวนไดส อบถามปากคาํ เดก็ หรอื เยาวชนดงั รายการละเอยี ดขา งลา งนแ้ี ลว และเดก็ หรอื เยาวชนนเ้ี ปน ผูท่ีจะตองไดรับการพิจารณาพิพากษาในศาลเยาวชนและครอบครัว จึงแจงมาเพ่ือจัดการรับตัวเด็ก หรอื เยาวชนผูตองหามาควบคุมไวย งั สถานพินจิ ตอ ไป ๑. ชอ่ื เดก็ หรอื เยาวชน..................................................................เพศ........................ ๒. เกดิ เมอื่ วนั ท.่ี .......................................................................อาย.ุ .....................ป ๓. เชอื้ ชาต.ิ ....................................สญั ชาต.ิ ...........................ศาสนา........................ ๔. ชอ่ื บดิ ามารดา....................................................................................................... ๕. เวลาน้ีอยูในความปกครองของใคร และเก่ียวของกับเด็กหรือเยาวชน อยา งไร................................................................................................................ ๖. ทอี่ ยปู จ จบุ นั ......................................................................................................... ๗. อาชพี ของเดก็ หรอื เยาวชน และ ของบดิ ามารดาหรอื ผปู กครอง............................... ๘. การศกึ ษาอบรม ยงั ศกึ ษาอยใู นโรงเรยี นใดหรอื ออกจากโรงเรยี นแลว ..................... ๙. ครง้ั นต้ี อ งหาวา กระทาํ ผดิ ในความผดิ ฐานใด เมอ่ื ใด ทไี่ หน.................................... ๑๐. ครง้ั นกี้ ระทาํ ผดิ รว มกบั ใครหรอื ไม. ...................................................................... ๑๑. พฤติการณแหงการจับกุม กลาวคอื ..................................................................... ถามปากคาํ ในเบอื้ งตน แลว ผตู อ งหาใหก าร........................................................... ๑๒. ถกู ควบคมุ แตว นั เวลาใด และทไ่ี หน...................................................................... (ส. ๕๖ - ๖๘) (ลงช่ือ)............................................พนักงานสอบสวน/บนั ทกึ (........................................) ตาํ แหนง.........................................

๑๐๑ ท่.ี ................... สถานตี าํ รวจ/หนว ยงาน........................................ ........................................................................... เรอื่ ง แจง การจบั กมุ ........................................................................................................................ แจง ความมายงั ................................................................................................................................ ดวย...........................................................ซ่ึงเปน.................................................... ไดถ กู จบั กมุ โดยตอ งหาวา ................................................................................................................. เหตุเกิดที่............................................................................เม่ือวันท่ี............................................ เวลา......................................................นาฬก า เวลานถี้ กู ควบคมุ ตวั อยทู .่ี ........................................ ฉะน้นั จึงแจงมาใหทราบ ขอแสดงความนับถอื (ลงชือ่ )............................................ (พนักงานผจู บั กุมหรอื พนักงานสอบสวน) หมายเหตุ แบบน้ีเปนแบบพนักงานผูจับกุมหรือพนักงานสอบสวนแจงไปยังบิดามารดา ผูปกครอง หรือ ผทู เี่ ดก็ หรือเยาวชนอาศัยอยตู ามความในมาตรา ๒๔ พ.ร.บ.วธิ ีพิจารณาคดเี ดก็ ฯ (ส. ๕๖ - ๖๙)

๑๐๒ คํารอ ง คดีหมายเลขดาํ ที่......../๒๕........ ตรวจสอบการจบั ศาลเยาวชนและครอบครัวจงั หวัด วนั ท.ี่ ..........เดอื น............................พ.ศ. ............. ¤ÇÒÁÍÒÞÒ {ระหวา ง พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภธู ร...............................................ผรู อง ...................................................................................................ผตู อ งหา ขาพเจา............................................พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจ........................... ขอยืน่ คาํ รองมีขอ ความตามทจ่ี ะกลาวตอไปน้ี คอื ขอ ๑ ดว ยเมอื่ วนั ท.ี่ ..............เดอื น...............................พ.ศ. ............เวลา...............น. เจาหนาที่ตํารวจประจําสถานีตํารวจ.....................................ประกอบดวย............................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ไดรวมกันจับกุม เด็ก เยาวชน ชื่อ....................................สกุล................................... อายุ................ป................เดือน สัญชาติ................................................................................. ที่อยู................................................................................................................................... อาชีพ...................................................หมายเลขโทรศัพท................................................... บิดาช่ือ........................................สกุล...............................................อายุ..........................ป อาชีพ..........................................เลขประจําตัวประชาชนหมายเลข....................................... ที่อยู...................................................................................................................................... หมายเลขโทรศพั ท. ........................................................................................................................... มารดาชื่อ.........................................สกุล...........................................อายุ..........................ป อาชีพ...........................................เลขประจําตัวประชาชนหมายเลข...................................... ที่อยู..................................................................................................................................... หมายเลขโทรศพั ท. ...........................................................................................................................

๑๐๓ ผูปกครองชื่อ........................................สกุล........................................อายุ...........................ป อาชีพ..............................................เลขประจําตัวประชาชนหมายเลข....................................... ที่อยู......................................................................................................................................... หมายเลขโทรศพั ท. ............................................................................................................................ พรอ มของกลาง คอื ......................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ โดยกลาวหาวา............................................................................................................................ นําสงพนักงานสอบสวนดําเนินคดี สงถึงที่ทําการของพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจ........................ เมอ่ื วนั ท.ี่ .................เดอื น............................................พ.ศ. ..................... เวลา............................น. พฤตกิ รรมแหง คดนี ี้ คอื ............................................................................................... ...................................................................................................................................................... เหตุเกิดที่................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ การกระทําของผูตองหาน้ีเปนความผิดตาม.............................................................. ...................................................................................................................................................... พนกั งานสอบสวนผรู บั ผดิ ชอบไดร บั ตวั ผตู อ งหา..................................................... เมอื่ .....................................................................................................เวลา...................................น. โดยใชเวลาเดินทางมาศาลระหวางเวลา.................................น. ถึงเวลา...............................น. รวม..................................ชัว่ โมง...............................นาที ในกรณีผูตองหา ถูกเรียกมา สงตัวมา เขาหาพนักงานสอบสวนเอง และ มีผูปกครอง ขาพเจาไดมอบตัวใหแกผูปกครองไปปกครองดูแล และไดสั่งใหนําตัวผูถูกจับมายังศาล ภายในวันที่....................................................เวลา............................น. ขอ ๒ พนักงานสอบสวนไดสอบถามเบ้ืองตนและแจงขอกลาวหาใหผูถูกจับทราบ และสอบถามเจาพนักงานผูจบั แลว มีรายละเอียดตามเอกสารท่แี นบมาพรอ มคํารอ ง ดังน้ี ¡ÒèºÑ ¡ØÁ ผูถกู จับยอมรับวาเปนบคุ คลผูถกู กลาวหาวา กระทําความผิดฐาน จริง การจับกุมเด็ก (ม.๖๖) กระทําความผดิ ซง่ึ หนาดังไดบญั ญตั ไิ วในมาตรา ๘๐ มีหมายจบั มีคาํ ส่ังศาล การจบั กมุ เยาวชน มพี ฤตกิ ารณอ นั ควรสงสยั วา เยาวชนนา จะกอ เหตรุ า ยใหเ กดิ ภยนั ตราย (ตาม ป.วิ.อาญา ม.๗๘) แกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอ่ืน โดยมีเคร่ืองมือ อาวุธ หรือวัตถอุ ยางอ่นื

๑๐๔ เม่อื มเี หตุท่ีจะออกหมายจับตามมาตรา ๖๖(๒) แตมีความจําเปน เรง ดว นทไี่ มอาจขอใหศ าลออกหมายจับบคุ คลนน้ั ได เปน การจบั กมุ ผตู อ งหาหรอื จาํ เลยทห่ี นหี รอื จะหลบหนี ในระหวา ง ถูกปลอยช่วั คราวตามมาตรา ๑๑๗ ¡Òû¯ÔºμÑ ¢Ô ͧà¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹¼Ù¨Œ ѺμÍ‹ à´ç¡ËÃÍ× àÂÒǪ¹¼ÙŒ¶¡Ù ¨Ñº (Á.öù) กระทาํ โดยละมนุ ละมอม และคาํ นงึ ถงึ ศกั ดิศ์ รคี วามเปนมนษุ ย แจงเหตุการจับแกบิดา มารดา ผูปกครอง บุคคลหรือผูแทนองคการ ซึ่งเด็ก หรือเยาวชนอาศัยอยูดวย แสดงตนเปนเจาพนักงาน และแจงขอกลาวหาใหผูตองหาทราบโดยชัดแจง แสดงหมายจบั ตอผถู ูกจับ/ผูป กครอง/บุคคล หรือผูแทนองคกรซึง่ เดก็ หรือเยาวชน อาศัยอยดู วย แจง สิทธิใหผ ถู กู จับทราบแลวตามกฎหมาย บันทึกการจับกุม โดยแจงขอกลาวหาและรายละเอียด หนาผูปกครอง บุคคล หรอื ผแู ทนองคก าร ซงึ่ เดก็ หรอื เยาวชนอยดู ว ย กรณมี ผี ปู กครองบคุ คลหรอื ผแู ทนองคก าร ซึง่ เด็กหรอื เยาวชนอาศัยอยดู ว ย ขณะจัดทําบนั ทกึ การจบั กุม มไิ ดใ ชว ธิ กี ารเกนิ กวา ทจ่ี าํ เปน เพอ่ื ปอ งกนั การหลบหน/ี เพอื่ ความปลอดภยั ของเดก็ / เยาวชนผูถูกจบั /บุคคลอ่นื àÍ¡ÊÒÃṺ·ŒÒÂคําÌͧ สําเนาภาพถายบนั ทึกการจบั กมุ ของเจาพนกั งานผูจ ับ สาํ เนาหมายจบั สําเนาภาพถายผูถูกจับรับรองสําเนาถกู ตองโดยเจาพนักงานผจู บั สาํ เนาภาพถา ยบตั รประจําตวั ประชาชนผูถกู จบั สาํ เนาภาพถายทะเบียนราษฎรผ ูถูกจับ สาํ เนาภาพถา ยบตั รประจําตัวประชาชนผูปกครอง สําเนาภาพถายทะเบยี นราษฎรผปู กครอง เอกสารอนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ ...................................................................................... .......................................................................................................................... บนั ทึกคาํ ใหก ารพนกั งานสอบสวน

๑๐๕ อน่ึง หากผูตองหาย่ืนคํารองขอปลอยช่ัวคราว ขอใหอยูในดุลพินิจของศาล / ไมค ดั คา น / ขอคดั คา น เนอ่ื งจาก...................................................................................................... ขอศาลไดโปรดพิจารณาตรวจสอบการจับและมีคําส่ังตามมาตรา ๗๓ แหง พระราชบญั ญัตศิ าลเยาวชนและครอบครวั และวิธีพจิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๓ ควรมิควรแลวแตจะโปรด ลงชือ่ ..............................................ผรู อ ง (...........................................) คํารอ งฉบับนี้ ขาพเจา..............................................เปนผเู รียง/พมิ พ ลงชอ่ื ..............................................ผเู รยี ง/พมิ พ (............................................)

๑๐๖ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμÊÔ ¢Ø ÀÒ¾¨Ôμ ¾.È. òõõñ ÀÁÙ ¾Ô ÅÍ´ØÅÂà´ª ».Ã. ใหไว ณ วนั ที่ ๑๓ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๑ เปน ปท่ี ๖๓ ในรชั กาลปจ จุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหป ระกาศวา โดยทเ่ี ปนการสมควรมีกฎหมายวา ดวยสุขภาพจิต พระราชบญั ญตั นิ ม้ี บี ทบญั ญตั บิ างประการเกยี่ วกบั การจาํ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซงึ่ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๒ และมาตรา ๓๓ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย บญั ญตั ิ ใหก ระทําไดโดยอาศยั อาํ นาจตามบทบัญญัตแิ หง กฎหมาย จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอมของ สภานิติบัญญัตแิ หง ชาติ ดังตอไปน้ี ÁÒμÃÒ ñ พระราชบัญญัตนิ ้เี รียกวา “พระราชบัญญัตสิ ุขภาพจติ พ.ศ. ๒๕๕๑” ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปนตนไป ÁÒμÃÒ ó ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “ความผดิ ปกตทิ างจติ ” หมายความวา อาการผดิ ปกตขิ องจติ ใจทแี่ สดงออกมาทางพฤตกิ รรม อารมณ ความคดิ ความจาํ สติปญญา ประสาทการรบั รู หรือการรูเ วลา สถานท่ี หรือบคุ คล รวมทง้ั อาการผิดปกติของจติ ใจทเ่ี กดิ จากสรุ าหรอื สารอ่ืนทอ่ี อกฤทธ์ิตอจติ และประสาท “แพทย” หมายความวา ผูประกอบวิชาชพี เวชกรรมตามกฎหมายวา ดวยวชิ าชีพเวชกรรม “จิตแพทย” หมายความวา แพทยซึ่งไดรับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติเปนผูมีความรู ความชาํ นาญ ในการประกอบวชิ าชพี เวชกรรม สาขาจติ เวชศาสตรห รอื สาขาจติ เวชศาสตรเ ดก็ และวยั รนุ

๑๐๗ “พยาบาล” หมายความวา ผูประกอบวิชาชีพการพยาบาลตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพ การพยาบาล และการผดุงครรภ “ผปู วย” หมายความวา บคุ คลทม่ี คี วามผิดปกติทางจิตซงึ่ ควรไดร บั การบําบดั รกั ษา “ผปู ว ยคดี” หมายความวา ผป ู ว ยท่ีอยรู ะหวา งการสอบสวน ไตส วนมูลฟองหรือพจิ ารณา ในคดีอาญา ซึ่งพนักงานสอบสวนหรือศาลสั่งใหไดรับการตรวจหรือบําบัดรักษารวมท้ังผูปวยท่ีศาล มคี ําสั่งใหไ ดร ับการบําบดั รกั ษาภายหลงั มคี าํ พิพากษาในคดีอาญาดวย “ภาวะอันตราย” หมายความวา พฤติกรรมที่บุคคลท่ีมีความผิดปกติทางจิตแสดงออก โดยประการท่นี าจะกอ ใหเกดิ อันตรายรายแรงตอ ชวี ติ รางกาย หรือทรพั ยส ินของตนเองหรอื ผูอ ่ืน “ความจําเปนตองไดรับการบําบัดรักษา” หมายความวา สภาวะของผูปวยซ่ึงขาด ความสามารถในการตดั สนิ ใจใหค วามยนิ ยอมรบั การบาํ บดั รกั ษาและตอ งไดร บั การบาํ บดั รกั ษาโดยเรว็ เพอื่ ปอ งกนั หรอื บรรเทามใิ หค วามผดิ ปกตทิ างจติ ทวคี วามรนุ แรง หรอื เพอ่ื ปอ งกนั อนั ตรายทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ กบั ผปู ว ยหรอื บคุ คลอื่น “การบําบัดรักษา” หมายความรวมถึง การดูแลชวยเหลือผูปวยทางการแพทยและทาง สงั คม “สถานบาํ บัดรักษา” หมายความวา สถานบาํ บดั รักษาทางสุขภาพจติ ที่รัฐมนตรปี ระกาศ กาํ หนดตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี “คมุ ขงั ” หมายความวา การจาํ กดั สทิ ธเิ สรภี าพของบคุ คลดว ยอาํ นาจของกฎหมายโดยการ คมุ ตัว ควบคุม กัก กกั กนั ขงั กกั ขงั จําขงั และจําคกุ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสุขภาพจิตแหง ชาติ “คณะกรรมการสถานบําบัดรักษา” หมายความวา คณะกรรมการสุขภาพจิตระดับ สถานบาํ บดั รักษา “พนกั งานเจา หนา ท”ี่ หมายความวา ผซู ง่ึ มคี ณุ สมบตั ติ ามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกาํ หนด และรัฐมนตรแี ตงตัง้ ใหปฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั ินี้ “อธบิ ดี” หมายความวา อธิบดกี รมสุขภาพจิต “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรผี รู ักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี ÁÒμÃÒ ô ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และใหมีอํานาจแตงตั้งพนักงานเจาหนาท่ี กับออกระเบียบและประกาศเพ่ือปฏิบัติการตามพระราช บญั ญตั นิ ี้ ระเบียบและประกาศนนั้ เม่อื ไดป ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคบั ได

๑๐๘ ËÁÇ´ ñ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ʋǹ·Õè ñ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃ梯 ÀÒ¾¨μÔ áË‹§ªÒμÔ ÁÒμÃÒ õ ใหม คี ณะกรรมการสุขภาพจติ แหง ชาติ ประกอบดวย (๑) นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรที นี่ ายกรฐั มนตรมี อบหมายเปน ประธานกรรมการ (๒) รฐั มนตรีวา การกระทรวงสาธารณสุข เปนรองประธานกรรมการ (๓) ปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม ปลดั กระทรวงแรงงาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ อยั การ สงู สุด ผูบญั ชาการตาํ รวจแหงชาติ และเลขาธิการคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหงชาติ เปนกรรมการ (๔) ผแู ทนองคก รภาคเอกชนทเ่ี ปน นติ บิ คุ คลและมวี ตั ถปุ ระสงคเ กยี่ วกบั การคม ุ ครองดแู ล บคุ คลท่มี คี วามผิดปกติทางจิต ซึง่ เลือกกนั เองจํานวนส่ีคน เปน กรรมการ (๕) ผูทรงคุณวุฒิจํานวนหกคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณ และมผี ลงานเปนท่ีประจกั ษใ นสาขาการแพทยจิตเวช จิตวทิ ยาคลินกิ สงั คมสงเคราะหท างการแพทย การพยาบาลสขุ ภาพจิตและจิตเวช กิจกรรมบาํ บัด และกฎหมายสาขาละหนึ่งคน เปนกรรมการ ใหอ ธบิ ดเี ปน กรรมการและเลขานุการ และขาราชการของกรมสุขภาพจติ ซึ่งอธบิ ดีแตงตัง้ จาํ นวนไมเ กินสองคนเปนผชู ว ยเลขานกุ าร การเลือกและการแตงตั้งกรรมการตาม (๔) และ (๕) ใหเปนไปตามระเบียบท่ีรัฐมนตรี ประกาศกําหนด ÁÒμÃÒ ö กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕) ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ ตอ งหาม ดังตอไปนี้ (๑) มสี ญั ชาตไิ ทย (๒) มีอายุไมต า่ํ กวา ย่สี บิ ปบ รบิ ูรณ (๓) ไมเ ปนคนไรค วามสามารถหรอื คนเสมือนไรความสามารถ (๔) ไมเคยไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับ ความผดิ ท่ีไดกระทําโดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ (๕) ไมเ ปน ผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง สมาชกิ สภาทอ งถน่ิ หรอื ผบู รหิ ารทอ งถนิ่ กรรมการ หรอื ผูด ํารงตําแหนง ซง่ึ รบั ผิดชอบในการบรหิ ารพรรคการเมอื ง ทีป่ รึกษาพรรคการเมอื งหรอื เจา หนา ที่ พรรคการเมอื ง

๑๐๙ ÁÒμÃÒ ÷ กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕) มวี าระการดาํ รงตาํ แหนง คราวละสามป และจะดาํ รงตําแหนง เกนิ สองวาระตดิ ตอกนั ไมไ ด ในกรณที ก่ี รรมการตามวรรคหนง่ึ พน จากตาํ แหนง ตามวาระ ใหด าํ เนนิ การแตง ตงั้ กรรมการ ขน้ึ ใหมภ ายในเกา สบิ วนั ในระหวา งทย่ี งั มไิ ดม กี ารแตง ตง้ั กรรมการขน้ึ ใหม ใหก รรมการซง่ึ พน จากตาํ แหนง ตามวาระนนั้ อยูในตาํ แหนง เพือ่ ดําเนินงานตอไปจนกวากรรมการซ่ึงไดรับแตงต้ังใหมเ ขา รบั หนาที่ ในกรณที กี่ รรมการตามวรรคหนง่ึ พน จากตาํ แหนง กอ นครบวาระ ใหม กี ารแตง ตงั้ กรรมการ แทนภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ตําแหนงน้ันวางลง และใหผูท่ีไดรับการแตงตั้งอยูในตําแหนงเทากับ วาระท่เี หลอื อยูของกรรมการซง่ึ ตนแทน ในกรณที วี่ าระของกรรมการตามวรรคหนง่ึ ทพ่ี น จากตาํ แหนง กอ นครบวาระเหลอื อยไู มถ งึ เกา สบิ วนั จะไมแ ตง ตงั้ กรรมการแทนตาํ แหนง ทวี่ า งนน้ั กไ็ ด และในกรณนี ใ้ี หค ณะกรรมการประกอบดว ย กรรมการที่เหลอื อยู ÁÒμÃÒ ø นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕) พน จากตาํ แหนง เมอื่ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการมีมติไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการท้ังหมดเทาที่มี อยูใหออก เน่อื งจากบกพรองตอหนาที่ มคี วามประพฤติเสอ่ื มเสีย หรือหยอ นความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบตั หิ รือมลี กั ษณะตอ งหามตามมาตรา ๖ ÁÒμÃÒ ù การประชมุ คณะกรรมการตอ งมกี รรมการมาประชุมไมนอ ยกวา กง่ึ หนึ่งของ จาํ นวนกรรมการทั้งหมดจึงเปน องคประชุม ใหประธานกรรมการเปนประธานในท่ีประชุม ในกรณีท่ีประธานกรรมการไมมาประชุม หรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหรองประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม หากรองประธานไมมา ประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดใหกรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหน่ึงเปนประธาน ในท่ีประชุม การวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดของทป่ี ระชมุ ใหถ อื เสยี งขา งมากของกรรมการทม่ี าประชมุ กรรมการคนหนงึ่ ใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพ่ิมข้ึน อีกเสียงหน่ึง เปนเสยี งชขี้ าด ÁÒμÃÒ ñð คณะกรรมการมอี าํ นาจและหนาท่ี ดังตอ ไปนี้ (๑) กําหนดนโยบาย และมาตรการในการคุมครองสิทธิของบุคคลท่ีมีความผิดปกติ ทางจิต และการเขาถงึ บรกิ ารดานสขุ ภาพจิตรวมทงั้ การอยูร ว มกันในสงั คม (๒) วางหลักเกณฑและวิธีการในการใหคําปรึกษา แนะนํา และประสานงานกับ หนว ยงานของรฐั และเอกชนเกย่ี วกบั การคมุ ครองสทิ ธขิ องบคุ คลทม่ี คี วามผดิ ปกตทิ างจติ การใหบ รกิ าร ดา นสขุ ภาพจติ และการอยูรวมกนั ในสงั คม

๑๑๐ (๓) ตรวจสอบและติดตามการดาํ เนินงานของคณะกรรมการสถานบาํ บดั รักษา (๔) กาํ หนดแบบหนงั สอื ใหค วามยินยอมรบั การบําบดั รักษาตามมาตรา ๒๑ (๕) กาํ หนดหนว ยงานดา นสงเคราะหแ ละสวัสดิการตามมาตรา ๔๐ (๒) (๖) วางระเบียบหรือประกาศเกยี่ วกับการปฏบิ ตั ิการตามพระราชบญั ญตั ินี้ (๗) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอ่ืนหรือตามท่ี คณะรัฐมนตรมี อบหมาย ÁÒμÃÒ ññ คณะกรรมการมอี าํ นาจแตง ตง้ั ทป่ี รกึ ษา หรอื คณะอนกุ รรมการเพอ่ื ปฏบิ ตั กิ าร ตามทค่ี ณะกรรมการมอบหมาย ใหนําความในมาตรา ๖ มาตรา ๘ และมาตรา ๙ มาใชบังคับกับที่ปรึกษาและ คณะอนุกรรมการ โดยอนุโลม ʋǹ·Õè ò ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃʶҹบําºÑ´Ã¡Ñ ÉÒ ÁÒμÃÒ ñò สถานบําบัดรักษาแตละแหงใหมีคณะกรรมการสถานบําบัดรักษาซ่ึงอธิบดี แตง ตง้ั ประกอบดว ย จิตแพทยประจาํ สถานบาํ บดั รกั ษาหนึ่งคน เปนประธานกรรมการ แพทยห น่งึ คน พยาบาลจิตเวชหนึ่งคน นักกฎหมายหน่ึงคน และนักจิตวิทยาคลินิกหรือนักสังคมสงเคราะห ทางการแพทยห น่งึ คน เปนกรรมการ ÁÒμÃÒ ñó คณะกรรมการสถานบาํ บัดรกั ษามอี ํานาจหนาท่ีดังตอ ไปนี้ (๑) ตรวจวนิ ิจฉยั ประเมนิ อาการและมคี ําสัง่ ตามมาตรา ๒๙ (๒) พิจารณา ทําความเห็นเกี่ยวกับการบําบัดรักษาและผลการบําบัดรักษาตาม พระราชบญั ญัติน้ี ÁÒμÃÒ ñô ใหน ําความในมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ มาใชบงั คับกับคณะกรรมการสถานบําบดั รกั ษาโดยอนโุ ลม ËÁÇ´ ò Ê·Ô ¸Ô¼»ÙŒ †Ç ÁÒμÃÒ ñõ ผูปวยยอ มมสี ทิ ธดิ ังตอไปน้ี (๑) ไดรับการบําบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย โดยคํานึงถึงศักดิ์ศรี ความเปนมนษุ ย (๒) ไดร บั การปกปด ขอ มลู เกยี่ วกบั การเจบ็ ปว ยและการบาํ บดั รกั ษาไวเ ปน ความลบั เวน แตม ี กฎหมายบัญญัติไวใ หเ ปดเผยได

๑๑๑ (๓) ไดรบั การคมุ ครองจากการวจิ ยั ตามมาตรา ๒๐ (๔) ไดรับการคุมครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม และระบบอื่น ๆ ของรัฐ อยา งเสมอภาคและเทาเทยี มกัน ÁÒμÃÒ ñö หา มมใิ หผ ใู ดเปด เผยขอ มลู ดา นสขุ ภาพของผปู ว ยในประการทนี่ า จะทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกผ ปู ว ย เวน แต (๑) ในกรณีทอ่ี าจเกดิ อนั ตรายตอ ผปู ว ยหรือผูอืน่ (๒) เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน (๓) มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติใหต อ งเปด เผย ÁÒμÃÒ ñ÷ การบําบัดรักษาโดยการผูกมัดรางกาย การกักบริเวณ หรือแยกผูปวย จะกระทาํ ไมไ ด เวน แตเ ปน ความจาํ เปน เพอื่ ปอ งกนั การเกดิ อนั ตรายตอ ผปู ว ยเอง บคุ คลอน่ื หรอื ทรพั ยส นิ ของผอู ่ืน โดยตอ งอยูภ ายใตก ารดแู ลอยางใกลช ิดของผบู าํ บดั รักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ ÁÒμÃÒ ñø การรักษาทางจิตเวชดวยไฟฟา การกระทําตอสมองหรือระบบประสาท หรอื การบาํ บดั รกั ษาดว ยวธิ อี น่ื ใด ทอี่ าจเปน ผลทาํ ใหร า งกายไมอ าจกลบั คนื สสู ภาพเดมิ อยา งถาวรใหก ระทาํ ได ในกรณีดังตอไปนี้ (๑) กรณีผูปวยใหความยินยอมเปนหนังสือเพื่อการบําบัดรักษานั้น โดยผูปวยไดรับ ทราบเหตผุ ลความจาํ เปน ความเสยี่ งทอ่ี าจเกดิ ภาวะแทรกซอ นทเี่ ปน อนั ตรายรา ยแรง หรอื อาจเปน ผล ทําใหไ มส ามารถแกไ ขใหรางกายกลับคนื สูส ภาพเดิม และประโยชนข องการบําบดั รักษา (๒) กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจําเปนอยางย่ิง เพื่อประโยชนของผูปวยหากมิได บาํ บดั รกั ษาจะเปน อนั ตรายถงึ แกช วี ติ ของผปู ว ย ทง้ั น้ี โดยความเหน็ ชอบเปน เอกฉนั ทข องคณะกรรมการ สถานบําบดั รกั ษา ใหนําความในมาตรา ๒๑ วรรคสาม มาใชบังคับกับการใหความยินยอมตาม (๑) โดยอนโุ ลม ÁÒμÃÒ ñù การทาํ หมนั ผูปวยจะกระทําไมได เวนแตไดป ฏบิ ัตติ ามมาตรา ๑๘ (๑) ÁÒμÃÒ òð การวจิ ยั ใด ๆ ทก่ี ระทาํ ตอ ผปู ว ยจะกระทาํ ไดต อ เมอื่ ไดร บั ความยนิ ยอมเปน หนงั สอื จากผปู ว ย และตอ งผา นความเหน็ ชอบของคณะกรรมการทด่ี าํ เนนิ การเกย่ี วกบั จรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคนของหนวยงานท่ีเก่ียวของ และใหนําความในมาตรา ๒๑ วรรคสาม มาใชบังคับกับการให ความยนิ ยอมโดยอนุโลม ความยินยอมตามวรรคหน่ึงผปู วยจะเพิกถอนเสยี เม่อื ใดกไ็ ด

๑๑๒ ËÁÇ´ ó ¡ÒÃบําº´Ñ Ã¡Ñ ÉÒ·Ò§ÊØ¢ÀÒ¾¨Ôμ ʋǹ·èÕ ñ ¼Ù»Œ †Ç ÁÒμÃÒ òñ การบําบัดรักษาจะกระทําไดตอเมื่อผูปวยไดรับการอธิบายเหตุผล ความจาํ เปน ในการบาํ บดั รกั ษา รายละเอยี ดและประโยชนข องการบาํ บดั รกั ษาและไดร บั ความยนิ ยอม จากผปู ว ย เวนแตเปน ผูป วยตามมาตรา ๒๒ ถาตองรับผูปวยไวในสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา ความยินยอมตาม วรรคหนึง่ ตองทําเปน หนงั สือ และลงลายมือชื่อผปู ว ยเปน สําคญั ในกรณีท่ีผูปวยมีอายุไมถึงสิบแปดปบริบูรณ หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจ ใหความยินยอมรบั การบําบัดรักษา ใหค สู มรส ผูบุพการี ผสู บื สนั ดาน ผปู กครอง ผูพทิ กั ษ ผอู นุบาล หรือผซู ่ึงปกครองดูแลบคุ คลน้นั แลว แตกรณี เปนผใู หค วามยินยอมตามวรรคสองแทน หนังสือใหค วามยินยอมตามวรรคสองและวรรคสาม ใหเปนไปตามแบบที่คณะกรรมการ กําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ÁÒμÃÒ òò บคุ คลทมี่ คี วามผดิ ปกตทิ างจติ ในกรณใี ดกรณหี นง่ึ ดงั ตอ ไปนเ้ี ปน บคุ คลทตี่ อ ง ไดรบั การบําบดั รกั ษา (๑) มภี าวะอันตราย (๒) มีความจําเปน ตอ งไดร ับการบาํ บัดรักษา ÁÒμÃÒ òó ผูใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณอันนาเช่ือวาบุคคลน้ันมีลักษณะตาม มาตรา ๒๒ ใหแ จง ตอ พนกั งานเจาหนาที่ พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตํารวจโดยไมชักชา ÁÒμÃÒ òô เมื่อพนักงานเจาหนาที่ พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจไดรับแจงตาม มาตรา ๒๓ หรอื พบบคุ คลซงึ่ มพี ฤตกิ ารณอ นั นา เชอื่ วา บคุ คลนนั้ มลี กั ษณะตามมาตรา ๒๒ ใหด าํ เนนิ การ นําตัวบุคคลน้ันไปยังสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษาซึ่งอยูใกลโดยไมชักชา เพ่ือรับการ ตรวจวนิ จิ ฉยั และประเมนิ อาการเบอ้ื งตน ตามมาตรา ๒๗ ทง้ั น้ี โดยจะมผี รู บั ดแู ลบคุ คลดงั กลา วไปดว ย หรือไมก็ได การนําตัวบุคคลตามวรรคหน่ึงไปยังสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา โดยการผูกมัดรางกายบุคคลดังกลาวจะกระทําไมได เวนแตเปนความจําเปนเพื่อปองกันการเกิด อันตรายตอ บคุ คลนน้ั เอง บคุ คลอ่นื หรือทรัพยส ินของผูอน่ื ÁÒμÃÒ òõ เมื่อผูรับผิดชอบดูแลสถานท่ีคุมขังหรือสถานสงเคราะห หรือพนักงาน คุมประพฤติ พบบุคคลท่ีอยูในความดูแลรับผิดชอบตามอํานาจหนาที่ มีพฤติการณอันนาเชื่อวา

๑๑๓ บคุ คล นน้ั มลี กั ษณะตามมาตรา ๒๒ ใหด าํ เนนิ การสง ตวั บคุ คลนน้ั ไปยงั สถานพยาบาลของรฐั หรอื สถาน บาํ บดั รกั ษาซงึ่ อยใู กลโ ดยไมช กั ชา เพอ่ื รบั การตรวจวนิ จิ ฉยั และประเมนิ อาการเบอื้ งตน ตามมาตรา ๒๗ การสง ตวั บุคคลตามวรรคหน่งึ ใหเปน ไปตามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการกาํ หนด ÁÒμÃÒ òö ในกรณีฉุกเฉิน เมื่อพนักงานเจาหนาที่ พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ไดรับแจงตามมาตรา ๒๓ หรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณอันนาเช่ือวาบุคคลนั้นเปนบุคคลที่มี ความผิดปกติทางจิตซึ่งมีภาวะอันตรายและเปนอันตรายที่ใกลจะถึง ใหมีอํานาจนําตัวบุคคลนั้น หรือเขาไปในสถานที่ใด ๆ เพ่ือนําตัวบุคคลน้ันสงสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา ซึ่งอยูใกลโดยไมชกั ชา เพื่อรบั การตรวจวนิ จิ ฉัยและประเมนิ อาการเบ้ืองตน ตามมาตรา ๒๗ ถาบุคคลนั้นขัดขวางหรือหลบหนีหรือพยายามจะหลบหนี ใหพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจมีอํานาจใชวิธีการเทาที่เหมาะสมและจําเปนแกพฤติการณในการนําตัวบุคคลนั้นสง สถานพยาบาล ของรฐั หรือสถานบําบัดรกั ษาตามวรรคหน่งึ การสงตัวบคุ คลตามวรรคหนึง่ ใหเปนไปตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการกาํ หนด ÁÒμÃÒ ò÷ ใหแพทยอยางนอยหนึ่งคนและพยาบาลอยางนอยหนึ่งคนท่ีประจําสถาน พยาบาลของรัฐ หรือสถานบําบัดรักษา ตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบื้องตนบุคคลท่ีมีการนําสง ตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ หรือมาตรา ๒๖ ใหแลวเสร็จโดยไมชักชา ท้ังนี้ ตองไมเกินส่ีสิบแปด ชวั่ โมงนับแตเ วลาท่ีบคุ คลนัน้ มาถึงสถานพยาบาลของรฐั หรอื สถานบาํ บัดรักษา การตรวจวนิ จิ ฉยั และประเมนิ อาการเบอ้ื งตน ตามวรรคหนง่ึ ใหแ พทยม อี าํ นาจตรวจวนิ จิ ฉยั และบาํ บัดรกั ษาเพยี งเทาที่จําเปน ตามความรนุ แรงของอาการเพอื่ ประโยชนแกสุขภาพของบคุ คลนั้น ในกรณที ผี่ ลการตรวจตามวรรคหนงึ่ ปรากฏวา บคุ คลนน้ั จาํ เปน ตอ งไดร บั การตรวจวนิ จิ ฉยั และประเมินอาการโดยละเอียดจากคณะกรรมการสถานบําบัดรักษาใหพนักงานเจาหนาที่สงตัว บคุ คล นน้ั พรอ มกบั รายงานผลการตรวจวนิ จิ ฉยั และประเมนิ อาการเบอื้ งตน เพอ่ื เขา รบั การตรวจวนิ จิ ฉยั และ ประเมนิ อาการโดยละเอียดตามมาตรา ๒๙ หลักเกณฑและวิธีการในการรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบ้ืองตน ตามวรรคสาม ใหเปนไปตามระเบยี บที่คณะกรรมการกําหนด ÁÒμÃÒ òø กรณที แี่ พทยต รวจพบวา บคุ คลใดมลี กั ษณะตามมาตรา ๒๒ ใหส ง ตวั บคุ คลนนั้ พรอมกับรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการเบ้ืองตน เพ่ือเขารับการตรวจวินิจฉัย และประเมินอาการโดยละเอียดตามมาตรา ๒๙ และใหนาํ ความในมาตรา ๒๗ วรรคสองและวรรคส่ี มาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม ÁÒμÃÒ òù เม่ือสถานบําบัดรักษารับบุคคลที่พนักงานเจาหนาท่ีนําสงตามมาตรา ๒๗ วรรคสาม หรือแพทยนําสงตามมาตรา ๒๘ แลวแตกรณี ใหคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา ตรวจวินิจฉัยและประเมินอาการบุคคลน้ันโดยละเอียดภายในสามสิบวันนับแตวันที่รับตัวบุคคลน้ันไว ในกรณีที่คณะกรรมการสถานบําบัดรักษาเห็นวาบุคคลนั้นมีลักษณะตามมาตรา ๒๒ ใหมีคําส่ัง อยา งใดอยา งหนึง่ ดงั ตอ ไปน้ี

๑๑๔ (๑) ใหบ คุ คลน้นั ตอ งเขา รับการบําบดั รักษาในสถานบําบดั รักษา (๒) ใหบุคคลน้ันตองรับการบําบัดรักษา ณ สถานที่อื่นนอกจากสถานบําบัดรักษา เม่ือบุคคลนั้นไมมีภาวะอันตราย ทั้งนี้ จะกําหนดเงื่อนไขใดๆ ที่จําเปนเก่ียวกับการบําบัดรักษา ใหบุคคลน้ัน หรือผูรบั ดแู ลบคุ คลน้ันตอ งปฏบิ ตั ดิ วยกไ็ ด ใหนาํ ความในมาตรา ๒๗ วรรคสอง มาใชบ ังคับกับการตรวจวนิ จิ ฉยั และประเมินอาการ ตามวรรคหนึง่ โดยอนโุ ลม หลักเกณฑและวิธีการในการพิจารณาและมีคําสั่งตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามที่ คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ÁÒμÃÒ óð คําส่ังรับผูปวยไวบําบัดรักษาตามมาตรา ๒๙ (๑) ใหคณะกรรมการสถาน บําบัดรักษากําหนดวิธีการและระยะเวลาการบําบัดรักษาตามความรุนแรงของความผิดปกติทางจิต แตทั้งนี้ตองไมเกินเกาสิบวันนับแตวันท่ีมีคําส่ัง และอาจขยายระยะเวลาไดอีกครั้งละไมเกินเกาสิบวัน นับแตว ันทีม่ คี าํ สั่งครัง้ แรกหรือครั้งถดั ไป ใหคณะกรรมการสถานบําบัดรักษาพิจารณาผลการบําบัดรักษาเพ่ือมีคําส่ังตาม มาตรา ๒๙ (๑) หรอื (๒) แลว แตก รณี กอ นสน้ิ กาํ หนดระยะเวลาบาํ บดั รกั ษาในแตล ะครง้ั ตามวรรคหนงีึ่ ไมนอ ยกวาสบิ หาวัน ÁÒμÃÒ óñ ในระหวางการบําบัดรักษาตามมาตรา ๓๐ วรรคหน่ึง เมื่อแพทยผูบําบัด รักษา เห็นวา ผูปวยไดรับการบําบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและผูปวยไมมีภาวะ อนั ตรายแลว ใหแ พทยจ าํ หนายผปู ว ยดงั กลา วออกจากสถานพยาบาลและรายงานผลการบําบดั รักษา และการจาํ หนา ยผปู ว ยใหค ณะกรรมการสถานบาํ บดั รกั ษาทราบโดยไมช กั ชา ทง้ั นี้ ใหแ พทยต ดิ ตามผล การบําบดั รักษาเปนระยะ หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารในการรายงานผลการบาํ บดั รกั ษา การจาํ หนา ยผปู ว ยและการตดิ ตามผล การบําบัดรกั ษาตามวรรคหนึ่ง ใหเ ปนไปตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการกาํ หนด ÁÒμÃÒ óò ในกรณีท่ีผูปวยหรอื ผรู ับดูแลผปู วยไมป ฏิบัตติ ามมาตรา ๒๙ (๒) หรือการ บาํ บดั รกั ษาไมเ ปน ผล หรอื พฤตกิ ารณท เ่ี ปน เหตใุ หม กี ารออกคาํ สง่ั ตามมาตรา ๒๙ (๒) เปลยี่ นแปลงไป คณะกรรมการสถานบําบัดรักษาอาจแกไขเพิ่มเติมหรือเพิกถอนคําส่ังหรือมีคําส่ังใหรับผูปวย ไวบําบดั รกั ษาตามมาตรา ๒๙ (๑) ก็ได ในกรณีผูปวยตามมาตรา ๒๙ (๒) ดูแลตนเองไมไดและไมมีผูรับดูแล ใหนําความใน มาตรา ๔๐ (๒) มาใชบงั คับ ÁÒμÃÒ óó ในกรณีที่ผูปวยหลบหนีออกนอกเขตสถานพยาบาลของรัฐหรือสถาน บําบัดรักษา ใหพนักงานเจาหนาท่ีประสานงานกับพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจและญาติ เพื่อติดตามบุคคลน้ันกลับมาที่สถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษา ทั้งน้ีมิใหนับระยะเวลา ทบ่ี คุ คลนน้ั หลบหนเี ขา ในกาํ หนดระยะเวลาตามมาตรา ๒๗ มาตรา ๒๙ หรอื มาตรา ๓๐ แลวแตก รณี

๑๑๕ ใหนําความในมาตรา ๔๖ มาใชบังคับกับการติดตามผูปวยท่ีหลบหนีตามวรรคหน่ึง โดยอนุโลม ÁÒμÃÒ óô เพ่อื ประโยชนใ นการบาํ บดั รกั ษาผูปว ย ใหค ณะกรรมการสถานบําบดั รกั ษา มีอํานาจสั่งยายผูปวยไปรับการบําบัดรักษาในสถานบําบัดรักษาอื่นได ตามระเบียบที่คณะกรรมการ กาํ หนด ÊÇ‹ ¹·èÕ ò ¼»ŒÙ dž ¤´Õ ÁÒμÃÒ óõ ภายใตบังคับมาตรา ๑๔ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ใหพนักงานสอบสวนหรือศาลสงผูตองหาหรือจําเลยไปรับการตรวจที่สถานบําบัดรักษา พรอ มท้ังรายละเอียดพฤติการณแ หง คดี เมื่อสถานบําบัดรักษารับผูตองหาหรือจําเลยไวแลว ใหจิตแพทยตรวจวินิจฉัยความผิด ปกติทางจิต และทําความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของพนักงานสอบสวนหรือศาลวาผูตองหา หรือจําเลย สามารถตอสูคดีไดหรือไม แลวรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินความสามารถ ในการตอ สคู ดใี หพ นกั งานสอบสวนหรอื ศาลทราบภายในสส่ี บิ หา วนั นบั แตว นั ทไ่ี ดร บั ผตู อ งหาหรอื จาํ เลยไว และอาจขยายระยะเวลาไดอ ีกไมเกนิ สี่สิบหาวนั เพอ่ื ประโยชนในการประเมนิ ความสามารถในการตอสคู ดี ใหสถานบาํ บัดรักษามีอํานาจ เรียกเอกสารที่เก่ยี วขอ งกบั ผตู องหาหรือจาํ เลยจากสถานพยาบาลอน่ื ได ใหน าํ ความในมาตรา ๒๗ วรรคสอง มาใชบ งั คบั กบั การตรวจวนิ จิ ฉยั ความผดิ ปกตทิ างจติ ตามวรรคสองโดยอนุโลม ในกรณีท่ีผูตองหาหรือจําเลยถูกคุมขัง และมีความจําเปนตองรับผูตองหาหรือจําเลย ไวในสถานบําบัดรักษาเพื่อการสังเกตอาการตรวจวินิจฉัย บําบัดรักษาและประเมินความสามารถ ในการตอสูคดี สถานบําบัดรักษาอาจขอใหพนักงานสอบสวนหรือศาลกําหนดวิธีการ เพ่ือปองกัน การหลบหนี หรือเพ่อื ปองกันอนั ตรายกไ็ ด หลักเกณฑและวิธีการในการรายงานผลการตรวจวินิจฉัยและประเมินความสามารถ ในการตอสูคดตี ามวรรคสอง ใหเปน ไปตามระเบยี บที่คณะกรรมการกําหนด ÁÒμÃÒ óö ภายใตบังคับ มาตรา ๑๔ วรรคสอง แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ใหสถานบําบัดรักษารับผูตองหาหรือจําเลยไวควบคุมและบําบัดรักษาโดยไมตองไดรับ ความยนิ ยอมจากผตู อ งหาหรอื จาํ เลย จนกวา ผตู อ งหาหรอื จาํ เลยจะหายหรอื ทเุ ลาและสามารถตอ สคู ดไี ด เวน แตพ นักงานสอบสวนหรือศาลจะมคี ําสั่งหรอื มกี ฎหมายบญั ญตั ิไวเ ปนอยา งอน่ื

๑๑๖ ใหจิตแพทยผูบําบัดรักษาทํารายงานผลการบําบัดรักษาสงใหพนักงานสอบสวนหรือศาล ภายในหนง่ึ รอยแปดสบิ วัน นบั แตวันทไ่ี ดรบั ผตู องหาหรือจาํ เลยไว ในกรณที ่จี ติ แพทยเ ห็นวา ผูตองหา หรอื จาํ เลยยงั ไมส ามารถตอ สคู ดไี ด ใหร ายงานผลการบาํ บดั รกั ษาทกุ หนง่ึ รอ ยแปดสบิ วนั เวน แต พนกั งาน สอบสวนหรือศาลจะมคี ําสั่งเปนอยางอืน่ ในระหวางการบําบัดรักษา เม่ือจิตแพทยผูบําบัดรักษาเห็นวา ผูตองหาหรือจําเลยไดรับ การบําบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลา และสามารถตอสูคดีไดแลวใหรายงานผลการ บาํ บัดรกั ษาตอพนกั งานสอบสวนหรือศาลทราบโดยไมชักชา หลักเกณฑและวิธีการในการรายงานผลการบําบัดรักษาตามวรรคสองและวรรคสาม ใหเ ปน ไปตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการกําหนด ÁÒμÃÒ ó÷ ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งใหสงผูปวยคดีไปคุมตัวหรือรักษาไวในสถานพยาบาล ตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ วรรคสอง แหงประมวลกฎหมายอาญา หรือตามมาตรา ๒๔๖ (๑) แหง ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ใหศ าลสง สาํ เนาคาํ สง่ั ไปพรอ มกบั ผปู ว ยคดี และใหส ถาน บาํ บัดรกั ษาผปู ว ยคดีไวค วบคุม และบําบดั รักษาโดยไมต อ งไดร บั ความยินยอมจากผป ู ว ยคดี ใหจิตแพทยผูบําบัดรักษารายงานผลการบําบัดรักษาและความเห็นตอศาลภายใน หนึ่งรอยแปดสิบวัน นับแตวันที่ไดรับผูปวยคดีไว ในกรณีที่จิตแพทยเห็นวามีความจําเปนตองบําบัด รักษาผูปวยคดีตอไป ใหรายงานผลการบําบัดรักษาและความเห็นตอศาลทุกหน่ึงรอยแปดสิบวัน เวนแตศาลจะมคี าํ ส่งั เปนอยางอนื่ ในการควบคมุ และบาํ บดั รกั ษา สถานบาํ บดั รกั ษาอาจขอใหศ าลกาํ หนดวธิ กี ารเพอื่ ปอ งกนั การหลบหนหี รือเพอื่ ปอ งกนั อนั ตรายก็ได หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารในการรายงานผลการบาํ บดั รกั ษาและการทาํ ความเหน็ ตามวรรคสอง ใหเ ปน ไปตามระเบียบท่ีคณะกรรมการกาํ หนด ÁÒμÃÒ óø ในระหวา งการบาํ บดั รกั ษาตามมาตรา ๓๗ เมอื่ จติ แพทยผ บู าํ บดั รกั ษาเหน็ วา ผูปวยคดีไดรับการบําบัดรักษาจนความผิดปกติทางจิตหายหรือทุเลาและไมมีภาวะอันตรายแลว ใหจิตแพทยรายงานผลการบําบัดรักษาและความเห็นเพ่ือจําหนายผูปวยคดีดังกลาวออกจาก สถานพยาบาลตอศาลโดยไมชักชา และรายงานผลการบําบัดรักษาและความเห็นดังกลาวให คณะกรรมการสถานบําบัดรกั ษาทราบ หลักเกณฑและวิธีการในการรายงานผลการบําบัดรักษาและการทําความเห็นตาม วรรคหนง่ึ ใหเ ปนไปตามระเบยี บทค่ี ณะกรรมการกําหนด ÁÒμÃÒ óù ในกรณีที่ศาลกําหนดเงือ่ นไขตามมาตรา ๕๖ วรรคสอง (๔) แหงประมวล กฎหมายอาญา ใหศ าลสง ผูปวยคดพี รอมทัง้ สาํ เนาคาํ พพิ ากษาไปยงั สถานบาํ บดั รกั ษา ใหจ ติ แพทยผ บู าํ บดั รกั ษารายงานผลการบาํ บดั รกั ษาและความเหน็ ตอ ศาลภายในเกา สบิ วนั นับแตวันที่ไดรับผูปวยคดีไว ในกรณีท่ีจิตแพทยเห็นวามีความจําเปนตองบําบัดรักษาผูปวยคดีตอไป ใหร ายงานผลการบาํ บัดรักษาและความเหน็ ตอ ศาลทุกเกาสบิ วนั เวน แตศาลจะมีคาํ ส่ังเปนอยา งอืน่ ใหน าํ ความในมาตรา ๓๗ วรรคสามและวรรคสี่ และมาตรา ๓๘ มาใชบ ังคับโดยอนุโลม

๑๑๗ ÊÇ‹ ¹·Õè ó ¡Òÿ¹„œ ¿ÊÙ ÁÃöÀÒ¾ ÁÒμÃÒ ôð ในกรณีท่ีคณะกรรมการสถานบําบัดรักษามีคําสั่งตามมาตรา ๒๙ (๒) ใหหัวหนาสถานบําบัดรักษามหี นาท่ี ดงั น้ี (๑) แจง ใหผรู ับดแู ลผูปวยรบั ตัวผปู วยไปดูแล (๒) ในกรณีที่ไมมีผูรับดูแลใหแจงหนวยงานดานสงเคราะหและสวัสดิการท้ังภาครัฐ และเอกชนตามที่คณะกรรมการประกาศกําหนด (๓) แจงใหพ นักงานเจาหนา ท่ีติดตามดแู ล ประสานงานและชว ยเหลือในการดําเนินการ ฟนฟูสมรรถภาพผูปวยตาม (๑) และหนวยงานตาม (๒) แลวรายงานใหคณะกรรมการสถานบําบัด รกั ษาทราบ ÁÒμÃÒ ôñ เมอ่ื ผถู กู คมุ ขงั ซง่ึ ไดร บั การบาํ บดั รกั ษาในระหวา งถกู คมุ ขงั ถงึ กาํ หนดปลอ ยตวั ใหหวั หนา สถานที่คุมขงั มหี นาทีด่ ําเนินการตามมาตรา ๔๐ ËÁÇ´ ô ¡ÒÃÍ·Ø ¸Ã³ ÁÒμÃÒ ôò ในกรณีท่ีคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา มีคําสั่งตามมาตรา ๒๙ (๑) หรือ (๒) หรือมีคําสั่งใหขยายระยะเวลาการบําบัดรักษาตามมาตรา ๓๐ ใหผูปวยหรือคูสมรส ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ผูปกครอง ผูพิทักษ ผูอนุบาล หรือผูซึ่งปกครองดูแลผูปวย แลวแตกรณี มีสิทธิอุทธรณ เปนหนังสือตอคณะกรรมการอุทธรณภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือแจง คําสงั่ ดังกลาว การอุทธรณตามวรรคหน่ึงไมเปนเหตุทุเลาการบังคับตามคําสั่ง เวนแตคณะกรรมการ อทุ ธรณจ ะเห็นสมควรใหม กี ารทเุ ลาการบังคบั ตามคําส่งั น้นั ไวชัว่ คราว ใหค ณะกรรมการอทุ ธรณพ จิ ารณาอทุ ธรณใ หแ ลว เสรจ็ ภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทไ่ี ดร บั อุทธรณคาํ วินิจฉัยของคณะกรรมการอทุ ธรณใหเ ปน ที่สุด หลักเกณฑและวิธีการในการย่ืนอุทธรณ และวิธีพิจารณาอุทธรณใหเปนไปตามระเบียบ ทค่ี ณะกรรมการกําหนด ÁÒμÃÒ ôó ใหมคี ณะกรรมการอทุ ธรณ ประกอบดว ย (๑) อธิบดี เปน ประธานกรรมการ (๒) ผแู ทนองคก รภาคเอกชนทเี่ ปน นติ บิ คุ คลและมวี ตั ถปุ ระสงคเ กย่ี วกบั การคมุ ครองดแู ล บุคคลทมี่ คี วามผดิ ปกติทางจิต ซึง่ เลอื กกนั เองจาํ นวนสามคน เปน กรรมการ

๑๑๘ (๓) ผูทรงคุณวุฒิจํานวนหาคน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูท่ีมีความรูและประสบการณ ในสาขาการแพทยจิตเวช จิตวิทยาคลินิก สังคมสงเคราะหทางการแพทย การพยาบาล สุขภาพจิต และจิตเวช และกฎหมาย สาขาละหนึ่งคน เปน กรรมการ ใหรองอธบิ ดหี รอื หัวหนาสถานบําบัดรกั ษา ซ่งึ อธบิ ดีแตงตั้งเปนกรรมการและเลขานกุ าร การเลอื กและการแตงตง้ั กรรมการตาม (๒) และ (๓) ใหเ ปน ไปตามระเบียบทรี่ ัฐมนตรีประกาศกําหนด ÁÒμÃÒ ôô คณะกรรมการอทุ ธรณมีอาํ นาจหนา ทด่ี ังตอไปนี้ (๑) พิจารณาอุทธรณต ามมาตรา ๔๒ (๒) รายงานผลการดาํ เนนิ การใหค ณะกรรมการทราบอยางนอ ยปล ะคร้งั ÁÒμÃÒ ôõ ใหนาํ ความในมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ มาใชบังคบั กับคณะกรรมการอทุ ธรณโดยอนโุ ลม ËÁÇ´ õ ¾¹Ñ¡§Ò¹à¨ŒÒ˹Ҍ ·Õè ÁÒμÃÒ ôö ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจ ดงั ตอไปนี้ (๑) เขา ไปในเคหสถาน หรอื สถานทใี่ ด ๆ ในระหวา งพระอาทติ ยข นึ้ และตกเพอ่ื นาํ บคุ คล ซึ่งมีพฤติการณอ นั นาเช่ือวา มลี ักษณะตามมาตรา ๒๒ ไปรบั การบําบัดรกั ษาในสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถานบําบัดรักษา เม่ือมีเหตุอันควรสงสัยตามสมควรวาบุคคลดังกลาวอยูในเคหสถาน หรอื สถานทนี่ นั้ ประกอบกบั มเี หตอุ นั ควรเชอื่ วา เนอ่ื งจากการเนน่ิ ชา กวา จะเอาหมายคน มาไดบ คุ คลนน้ั จะหลบหนีไป หรือกรณีมีเหตฉุ ุกเฉินเนอ่ื งจากบคุ คลนน้ั มีภาวะอันตรายและเปน อนั ตรายทใ่ี กลจะถงึ (๒) ซกั ถามบุคคลใด ๆ เพื่อทราบขอ มลู เก่ยี วกบั สุขภาพ ความเจ็บปว ย พฤตกิ รรมและ ความสัมพันธใ นครอบครัวและชุมชนของบคุ คลตาม (๑) (๓) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใด ๆ มาเพ่ือใหถอยคํา สงคําช้ีแจงเปนหนังสือ หรอื สง เอกสารหรือหลักฐานท่เี กยี่ วขอ งมาเพ่อื ตรวจสอบหรอื เพอื่ ประกอบการพิจารณา การดาํ เนนิ การตาม (๑) พนกั งานเจา หนา ทอ่ี าจรอ งขอใหพ นกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจ ใหความชว ยเหลอื อกี ได ทัง้ น้ี ใหพนกั งานเจาหนาท่ีปฏบิ ตั ติ ามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกําหนด ÁÒμÃÒ ô÷ ในการปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามพระราชบญั ญตั นิ พ้ี นกั งานเจา หนา ทต่ี อ งแสดงบตั ร ประจาํ ตวั ตอบุคคลทเี่ ก่ียวของ บตั รประจําตวั พนกั งานเจา หนาทใ่ี หเปน ไปตามแบบท่รี ฐั มนตรีประกาศกาํ หนด ÁÒμÃÒ ôø ในการปฏิบัติหนาท่ีของพนักงานเจาหนาท่ีตามมาตรา ๔๖ ใหบุคคลที่ เกย่ี วของอํานวยความสะดวกตามสมควร

๑๑๙ ÁÒμÃÒ ôù ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่เปน เจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา ËÁÇ´ ö º·กาํ ˹´â·É ÁÒμÃÒ õð ผูใดฝาฝนมาตรา ๑๖ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหน่ึงป หรือปรับไมเกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจาํ ทั้งปรับ ถา การกระทาํ ความผดิ ตามวรรคหนงึ่ ไดก ระทาํ โดยการโฆษณาหรอื เผยแพรท างสอ่ื มวลชน หรือสื่อสารสนเทศใด ๆ ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กนิ สองป หรอื ปรบั ไมเกนิ สห่ี ม่ืนบาท หรือ ทง้ั จําทั้งปรบั ÁÒμÃÒ õñ ผูใดแจงขอความอันเปนเท็จตอพนักงานเจาหนาที่ พนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจตามมาตรา ๒๓ โดยมีเจตนากลั่นแกลงใหเกิดความเสียหายแกผูหนึ่งผูใดตองระวางโทษ จําคกุ ไมเ กินหนึง่ ป หรือปรบั ไมเ กินสองหมื่นบาท หรือทง้ั จําทัง้ ปรับ ÁÒμÃÒ õò ผูใดไมปฏิบัติตามหนังสือของพนักงานเจาหนาท่ีตามมาตรา ๔๖ (๓) โดยไมม เี หตอุ ันสมควร ตองระวางโทษจําคุกไมเ กนิ หกเดอื น หรอื ปรบั ไมเกนิ หนง่ึ หมื่นบาท หรือท้งั จาํ ท้งั ปรบั ÁÒμÃÒ õó ผูใดไมอํานวยความสะดวกตามสมควรแกพนักงานเจาหนาท่ีในการปฏิบัติ หนาท่ีตามมาตรา ๔๘ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหน่ึงหมื่นบาท หรอื ทงั้ จําท้งั ปรบั º·à©¾ÒСÒÅ ÁÒμÃÒ õô ในวาระเร่ิมแรก ใหคณะกรรมการประกอบดวยกรรมการตามมาตรา ๕ (๑) (๒) (๓) และอธบิ ดี และใหป ฏิบตั ิหนา ที่คณะกรรมการตามพระราชบญั ญัตนิ ้ีไปพลางกอ นจนกวาจะมี กรรมการตามมาตรา ๕ (๔) และ (๕) ซงึ่ ตอ งไมเ กนิ หนง่ึ รอ ยยสี่ บิ วนั นบั แตว นั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ี้ ใชบ งั คบั ผูร บั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จลุ านนท นายกรัฐมนตรี

๑๒๐ ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี คอื โดยทป่ี ระชาชนสว นใหญย งั ขาดความรู ความเขาใจและมีทัศนคติดานลบตอบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต ทําใหบุคคลดังกลาวไมไดรับ การบาํ บดั รกั ษาอยา งถกู ตอ งและเหมาะสม เปน เหตใุ หค วามผดิ ปกตทิ างจติ ทวคี วามรนุ แรงขนึ้ จนกอ ใหเ กดิ อันตรายรายแรงตอชีวิต รางกาย หรือทรัพยสินของตนเองหรือผูอื่น สมควรมีกฎหมายวาดวย สุขภาพจิต เพ่ือกําหนดกระบวนการในการบําบัดรักษาบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต อันเปนการ คุมครองความปลอดภัยของบุคคลน้ันและสังคม รวมท้ังกําหนดกระบวนการในการบําบัดรักษา บุคคลท่ีมีความผิดปกติทางจิต ซึ่งอยูระหวางการสอบสวน การไตสวนมูลฟองหรือการพิจารณา หรือภายหลงั ศาลมีคําพิพากษาในคดีอาญา จึงจาํ เปน ตอ งตราพระราชบัญญตั ินี้

๑๒๑ เอกสารอา งองิ กาญจนา โชคเหรียญสขุ ชยั “¡ÒÃÊÍè× ÊÒÃàª§Ô ÍÇѨ¹ÀÒÉÒÃٻẺáÅСÒÃ㪔Œ กรงุ เทพฯ : บริษทั วี.พร้ินท (๑๙๙๑) จาํ กัด, ๒๕๕๐ ธานิศ เกศวพทิ ักษ “คาํ ͸ԺÒ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÇÔ¸¾Õ ¨Ô ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒ” กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พก รงุ สยาม พบั ลิชช่งิ จํากดั , ๒๕๕๗ นครินทร เมฆไตรรัตนและคณะ “¡ÒûÃѺà»ÅèÕ¹¡Åä¡ Ê¶ÒºÑ¹à¾×èÍàÊÃÔÁÊÌҧÊÁÃö¹Ð 㹡ÒÃทาํ §Ò¹´ŒÒ¹à´ç¡¢Í§Í§¤¡Òû¡¤ÃͧÊÇ‹ ¹·ÍŒ §¶¹èÔ มปม., ๒๕๕๓ มลู นธิ สิ ทิ ธมิ นษุ ยชนและการพฒั นา “¤Á‹Ù Í× ½¡ƒ ͺÃÁ¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตาํ ÃǨ㹡Òë¡Ñ ¶ÒÁ¼àŒÙ ÊÂÕ ËÒ¨ҡ¡Òà ¶¡Ù ŋǧÅÐàÁÔ´·Ò§à¾È” (มปท.มปป.) (อัดสําเนา) วรณัฐ วรชาติเดชา พ.ต.อ.หญิง “¢ÍŒ á¹ÐนําสําËÃºÑ à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨ㹡ÒäŒÁØ ¤ÃÍ§à´¡ç ” มปท., ๒๕๕๘ อรอมุ า วชิรประดิษฐพ ร “ÊÒàËμØ¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´¢Í§à´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹¡ºÑ ÁÒμáÒÃá¡Œä¢àª§Ô ÃØ¡” เอกสารวชิ าการหลกั สตู รผพู พิ ากษาผบู รหิ ารในศาลชน้ั ตน รนุ ที่ ๑๐ สถาบนั พฒั นาขา ราชการ ฝา ยตุลาการศาลยตุ ิธรรม สํานักงานศาลยตุ ิธรรม, ๒๕๕๕ (อดั สําเนา) สืบคน ทางออนไลน คําแนะนําการปฏิบัตติ าม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ พ.ศ.๒๕๕๓. สืบคน จาก www.demo.thaipolicedb.com/download/download-id ht. (สืบคน ๑๗ มี.ค. ๒๕๕๘)

๑๒๒ จัดพมิ พโ ดย โรงพิมพต าํ รวจ ถ.เศรษฐศริ ิ ดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๔๖๕๘

“เปนหลักประกันความยุติธรรมและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสินของประชาชนที่มีมาตรฐานสากล” พลตํารวจเอก จักรทิพย ชัยจินดา ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook