Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Published by thanatphat2606, 2020-04-16 08:01:55

Description: Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Keywords: Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Search

Read the Text Version

วิชา ปป. (CP) ๒๑๔๐๕ แกลาะรผปู้มฏคี ิบวัตาติม่อผดิเดปก็ กเตยทิ าาวงชจนิตสตรี

ตําÃÒàÃÂÕ ¹ หลกั สตู ร นกั เรียนนายสบิ ตํารวจ วชิ า ปป. (CP) ๒๑๔๐๕ การปฏิบตั ติ อ เด็ก เยาวชน สตรี และผมู ีความผดิ ปกติทางจิต เอกสารนี้ “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผูหน่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทงั้ หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ” ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นท่ีไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา กองบัญชาการศกึ ษา สาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๖๓

1

คาํ นาํ หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ท่ีเขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ ทักษะวิชาชีพตํารวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี จติ สํานึกในการใหบ ริการเพื่อบําบัดทกุ ขบ าํ รุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คัญ กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ ฝก อบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบญั ชาการศกึ ษา ศนู ยฝ ก อบรมตาํ รวจภธู รภาค ๑ - ๙ และกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตําราเรียน หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจี่ าํ เปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ ของนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพ่ี งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส าํ หรบั ประกอบ การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม ความตอ งการอยา งแทจรงิ และมคี วามพรอมในการเขา สปู ระชาคมอาเซยี น ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด ใหคําปรึกษา คําแนะนํา ประสบการณท่ีเปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู ท่ีเปนประโยชน จนทําใหการจัดทําตําราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี ซึ่งกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดนี้คงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน การสอนและการจดั การฝกอบรมของครู อาจารย และครฝู ก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏบิ ัตงิ าน ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทําใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อม่ัน ศรัทธา และความผาสุกใหแกประชาชนไดอ ยา งแทจ รงิ พลตํารวจโท ( อภิรตั นยิ มการ ) ผูบ ัญชาการศกึ ษา

1

ÊÒúÞÑ Ë¹ŒÒ ÇªÔ Ò ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ‹Íà´ç¡ àÂÒǪ¹ ÊμÃÕ áÅмÁÙŒ Õ¤ÇÒÁ¼´Ô »¡μÔ·Ò§¨μÔ ñ ๑ ÊÇ‹ ¹·èÕ ñ ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑμàÔ ¡ÕÂè ǡѺà´ç¡ ๑ ๑ º··Õè ñ º··ÑèÇä» ๔ - วตั ถปุ ระสงค ๕ - บทนํา ù - บทบาทของเจาพนักงานตํารวจท่ีเกยี่ วกับเดก็ หรอื เยาวชน ๙ - การสรา งสัมพนั ธภาพกับเด็กหรือเยาวชน ๙ - สาเหตแุ หง การกระทาํ ความผดิ ของเด็ก ๑๐ ๑๑ º··Õè ò ¡ÒäÁŒØ ¤ÃͧÊÔ·¸Ôà´ç¡ ๑๒ - วัตถุประสงค ๑๓ - บทนาํ ๑๔ - อนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ด็ก ๒๔ - การคมุ ครองสิทธิเด็กและเยาวชนในประเทศไทย ๒๕ - การคมุ ครองสิทธิเดก็ และเยาวชนตามประมวลกฎหมายอาญาฯ òù - การคุม ครองสิทธิเด็กและเยาวชนตามประมวลกฎหมาย ๒๙ วธิ ีพจิ ารณาความอาญาฯ ๒๙ - การคุมครองสทิ ธิเด็กและเยาวชนตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็กฯ ๒๙ - การคุม ครองสิทธเิ ดก็ และเยาวชนตามพระราชบัญญตั ิศาลเยาวชน ๓๐ และครอบครัว และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัวฯ ๓๑ - การคุม ครองสิทธเิ ดก็ และเยาวชนตามพระราชบญั ญัติคุมครองแรงงาน ๓๓ º··Õè ó á¹Ç·Ò§»¯ÔºμÑ ¢Ô ͧ਌Ҿ¹¡Ñ §Ò¹μÒí ÃǨ - วัตถปุ ระสงค - บทนาํ - การออกหมายจบั เด็กหรือเยาวชน - การจบั กมุ เด็กหรือเยาวชน - แนวทางปฏบิ ัตขิ องเจาพนักงานตํารวจในการจับกุมเดก็ หรอื เยาวชน - การตรวจสอบการจบั

˹ŒÒ - แนวทางปฏบิ ัติของเจา พนกั งานตํารวจในการคน ๓๕ - แนวทางปฏบิ ตั ิในการจดบันทกึ คํารองทกุ ขในคดที ีผ่ เู สียหายเปนเดก็ ๓๘ หรือเยาวชน º··èÕ ô à·¤¹¤Ô ¡Òë¡Ñ ¶ÒÁà´ç¡ ¡Òû͇ §¡¹Ñ áÅСÒÃÃÑ¡ÉÒʶҹ·àèÕ ¡Ô´àËμØ ôó - วัตถุประสงค ๔๓ - บทนํา ๔๓ - เทคนิคการซักถามเด็กหรอื เยาวชน ๔๓ - การสงั เกตพฤตกิ รรมหรือภาษากายของผถู กู ซกั ถาม ๔๕ - การใชค ําถามในการซกั ถามเดก็ เพ่อื แสวงหาขอมูล ๔๖ - การปองกันและรักษาสถานท่ีเกดิ เหตุ ๔๗ ÊÇ‹ ¹·Õè ò õõ º··èÕ ñ á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºμÑ Ô¢Í§¾¹¡Ñ §Ò¹à¨ÒŒ ˹ŒÒ·ÕËè ÃÍ× à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨ ¡Ã³·Õ ¾Õè ºº¤Ø ¤Å·èÁÕ ÕÅѡɳÐÁÕÀÒÇÐÍ¹Ñ μÃÒÂáÅÐÁ¤Õ ÇÒÁจํา໚¹μŒÍ§ä´ŒÃѺ¡ÒÃบาํ ºÑ´ÃÑ¡ÉÒ μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÊÔ ¢Ø ÀÒ¾¨μÔ ¾.È.òõõñ õ÷ - วตั ถุประสงค ๕๗ - บทนํา ๕๗ - วิธกี ารสังเกตลักษณะของผมู ีอาการทางจติ ๕๗ ÀÒ¤¼¹Ç¡ öó àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§ ñòñ

ʋǹ·Õè ñ ÇÔ¸»Õ ¯ºÔ μÑ Ôà¡ÂÕè Ç¡ºÑ à´¡ç

1

๑ º··èÕ ñ º··ÑÇè ä» ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ ๑. เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจ มีความเขาใจบทบาทและอํานาจหนาที่ของ เจา พนักงานตาํ รวจท่คี วรปฏบิ ตั ิตอเด็กหรือเยาวชน ๑.๑ บทบาทของเจาพนักงานตํารวจเกี่ยวกับเด็กหรอื เยาวชน ๑.๒ สามารถสรางสมั พนั ธภาพกับเด็กหรอื เยาวชน ๑.๓ สามารถเขา ใจสาเหตแุ หง การกระทาํ ผิดของเด็ก ๑.๔ เขา ใจความหมายเด็กตามกฎหมายไทย เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาท่ีตามบทบาทหนาท่ีของเจาพนักงานตํารวจ ตอไป º·นํา เด็กคือทรัพยากรบุคคลท่ีมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะประเทศชาติจะมีความ เจริญมั่นคงอยูไดมากนอยเพียงใดอยูท่ีเด็ก ซ่ึงเขาจะเจริญเติบโตมาเปนผูใหญท่ีมีคุณภาพหรือไม รัฐจึงมีหนาท่ีสําคัญในการปกปองคุมครองเด็ก ตลอดจนแสวงหาวิธีการชวยเหลือเยียวยาหากเด็ก เหลาน้ันหลงผิดไปกระทําการใดๆ ที่กอใหเกิดความเดือดรอนหรือกระทําความผิดตามกฎหมาย การปฏิบัติตอเด็กและเยาวชนเปนส่ิงสําคัญเปนอยางยิ่งในการปฏิบัติงานของเจาพนักงานตํารวจ ที่ตองมีความรอบรูและเชี่ยวชาญในแตพระราชบัญญัติที่เก่ียวของ เพ่ือใหเกิดความม่ันใจและถูกตอง และวธิ ปี ฏิบัตเิ กี่ยวกับเด็ก º·ºÒ·¢Í§à¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨ·àÕè ¡èÂÕ Ç¢ÍŒ §¡ºÑ à´¡ç ËÃÍ× àÂÒǪ¹ เจาพนักงานตํารวจมีสวนเก่ียวของกับเด็กหรือเยาวชน ทั้งในดานการปองกันมิใหเด็ก หรอื เยาวชนกระทาํ ความผดิ ตลอดจนปอ งกนั มใิ หเ กดิ เหตรุ า ยทส่ี ง ผลกระทบตอ ชวี ติ รา งกาย และทรพั ยส นิ ของเดก็ และเยาวชน ขณะเดียวกันเมอ่ื เกิดเหตุรายแรงท่มี ีเด็กหรอื เยาวชนไปมีสว นเกยี่ วของ ไมวาจะ ในฐานะเปนผูกระทําความผิดหรือในฐานะของผูเสียหายก็ตาม เจาพนักงานตํารวจก็จะตองเปนผูท่ี เผชิญเหตุการณเหลานั้น ดังน้ันเพ่ือเปนการปองกันมิใหเกิดเหตุการณรายแรงขึ้นกับเด็กหรือเยาวชน ส่ิงท่ีเจาพนักงานตํารวจควรใหความสนใจกับเด็กหรือเยาวชนท่ีเด็กหรือเยาวชนท่ีเจาพนักงานตํารวจ ควรใหค วามสนใจ ๑. เดก็ ทขี่ าดการเอาใจใสด ูแลจากครอบครัว ผปู กครอง ถูกทอดท้ิง ๒. เดก็ ทอ่ี าศยั อยใู นสภาพแวดลอ มทไี่ มเ หมาะสม เสย่ี งตอ การถกู ละเมดิ หรอื ถกู ชกั จงู ใหกระทําความผิด

๒ ๓. เด็กท่ีมีรองรอยของการถูกทํารายตามเนื้อตัวรางกาย เชน มีรองรอยการถูกทุบตี หรอื บาดแผล เดก็ ที่พยายามทํารา ยตัวเอง หรอื มีประวตั พิ ยายามฆา ตวั ตาย ๔. เด็กท่ีมีความแปรปรวนทางอารมณหรือมีความกาวราว ซึมเศรา เพราะส่ิงเหลาน้ี อาจเกิดมาจากการถูกตําหนิ ถูกสบประมาท หรือถูกดูถูกดูแคลนเปนประจําจากบุคคลในครอบครัว หรือบคุ คลทีใ่ กลชดิ ๕. เด็กที่หนีออกจากบาน ไมเรียนหนังสือ ตอตานสังคม แสดงพฤติกรรมเรียกรอง ความสนใจที่ไมเหมาะสมเหลานี้ เจาพนักงานตํารวจควรจะใหความสนใจวาอะไรเปนสาเหตุที่ทําให เดก็ มพี ฤตกิ รรมเชน น้ัน เพือ่ ชว ยในการปกปองคมุ ครองเด็ก ๖. เด็กที่ชอบพูดเกี่ยวกับเรื่องเพศสัมพันธหรือการแสดงพฤติกรรมทางเพศกอนวัย อนั ควร เพราะเขาอาจเปน เด็กท่เี คยถกู ลวงละเมิดทางเพศมากอ น ๗. เด็กที่ไมมีปฏิกิริยาตอบโต เงียบขรึม แยกตัวออกจากสังคม หรือมีพฤติกรรม ท่ีเปล่ียนไปจากเดิม เชน อาบน้ําหรือชําระลางรางกายบอยคร้ังหรือใชเวลาในการชําระลางรางกาย นานผดิ ปกติไปจากเดมิ เพราะสิ่งเหลานี้อาจเปนเพราะเดก็ อาจถูกลวงละเมิดได นอกจากที่กลาวมาแลว เจาพนักงานตํารวจควรจะตองใหความสําคัญกับเด็กท่ีเปน เดก็ เรร อ น เดก็ กาํ พรา เดก็ พกิ าร เดก็ ทอี่ ยใู นสภาพลาํ บาก ตลอดจนเดก็ ทเ่ี สยี่ งตอ การกระทาํ ความผดิ ดว ย ซึ่งพระราชบัญญัติคมุ ครองเด็กฯ ไดใหคาํ นิยามของเด็กเหลา น้ไี ว คือ “เด็กเรรอน” หมายความวา เดก็ ท่ไี มมบี ิดามารดาหรอื ผูปกครองหรอื มีแตไมเล้ียงดู หรอื ไมสามารถเล้ียงดูได จนเปนเหตุใหเด็กตองเรรอนไปในท่ีตางๆ หรือเด็กที่มีพฤติกรรมใชชีวิตเรรอน จนนา จะเกิดอนั ตรายตอสวสั ดิภาพของตน “เดก็ กําพรา” หมายความวา เดก็ ทีบ่ ดิ าหรือมารดาเสยี ชีวิต เดก็ ที่ไมป รากฏบดิ ามารดา หรอื ไมส ามารถสืบหาบิดามารดาได “เด็กท่ีอยูในสภาพยากลําบาก” หมายความวา เด็กที่อยูในครอบครัวยากจนหรือบิดา มารดาหยาราง ทิ้งรา ง ถูกคุมขงั หรอื แยกกนั อยูแ ละไดรับความลําบาก หรือเดก็ ทต่ี อ งรบั ภาระหนา ที่ ในครอบครวั เกินวยั หรือกําลังความสามารถและสตปิ ญ ญา หรือเดก็ ทีไ่ มสามารถชว ยเหลอื ตวั เองได “เดก็ พกิ าร” หมายความวา เดก็ ทมี่ คี วามบกพรอ งทางรา งกาย สมอง สตปิ ญ ญาหรอื จติ ใจ ไมวา ความบกพรองนั้นจะมมี าแตก ําเนดิ หรอื เกดิ ขึน้ ภายหลัง “เดก็ ทเี่ สยี่ งตอ การกระทาํ ผดิ ” หมายความวา เดก็ ทป่ี ระพฤตติ นไมส มควร เดก็ ทป่ี ระกอบ อาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลที่นาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอศีลธรรมอันดี หรอื อยใู นสภาพแวดลอ มหรอื สถานทอ่ี นั อาจชกั นาํ ไปในทางเสยี หาย ทงั้ นี้ ตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง กาํ หนด กลา วคือ

๓ ๑) เดก็ ที่ประพฤตติ นไมสมควร ไดแ ก เดก็ ท่ีมพี ฤติกรรมอยา งหนง่ึ อยางใด ดังตอไปนี้ (๑) ประพฤตติ นเกเรหรือขม เหงรังแกผอู ืน่ (๒) ม่ัวสมุ ในลักษณะทกี่ อความเดือดรอ นราํ คาญแกผอู น่ื (๓) เลนการพนนั หรอื มวั่ สมุ ในวงการพนัน (๔) เสพสรุ า สบู บหุ ร่ี เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษหรอื ของมนึ เมาอยา งอน่ื เขา ไปในสถานท่ี เฉพาะ เพื่อการจําหนา ยหรือดืม่ เคร่อื งดม่ื ท่ีมแี อลกอฮอล (๕) เขา ไปในสถานบรกิ ารตามกฎหมายวาดวยสถานบรกิ าร (๖) ซ้ือหรือขายบริการทางเพศ เขาไปในสถานการคาประเวณีหรือเกี่ยวของกับ การคา ประเวณี ตามกฎหมายวาดว ยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี (๗) ประพฤติตนไปในทางชสู าว หรอื สอ ไปในทางลามกอนาจารในทสี่ าธารณะ (๘) ตอ ตา นหรอื ทา ทายคาํ สงั่ สอนของผปู กครอง จนผปู กครองไมอ าจอบรมสงั่ สอนได (๙) ไมเขาเรียนในโรงเรียนหรือสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษา ภาคบงั คบั ๒) เด็กที่ประกอบอาชีพที่นาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอศีลธรรม อนั ดี ไดแก เดก็ ท่ีประกอบอาชีพ ดังตอไปนี้ (๑) ขอทานหรือกระทําการสอไปในทางขอทาน โดยลําพังหรือโดยมีผูบังคับ ชกั นาํ ยยุ ง หรือสงเสรมิ หรอื (๒) ประกอบอาชีพหรือกระทําการใดอันเปนการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ดวยกฎหมาย หรอื ขัดตอศีลธรรมอนั ดี ๓) เด็กที่คบหาสมาคมกับบุคคลท่ีนาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอ ศีลธรรมอันดี ไดแ ก เด็กท่ีคบหาสมาคมกบั บคุ คล ดงั ตอไปน้ี (๑) บุคคลหรือกลุมคนที่รวมตัวกันม่ัวสุม เพ่ือกอความเดือดรอนรําคาญแกผูอื่น หรือกระทําการอันขัดตอกฎหมายหรือศีลธรรมอนั ดี หรอื (๒) บคุ คลทปี่ ระกอบอาชพี ทขี่ ดั ตอกฎหมายหรือศลี ธรรมอันดี ๔) เด็กท่ีอยูในสภาพแวดลอ มหรือสถานทอ่ี ันอาจชักนาํ ไปในทางเสยี หาย ไดแ ก เด็กที่ อยใู นสภาพแวดลอมหรอื สถานที่ ดังตอไปน้ี (๑) อาศัยอยูกับบุคคลที่มีพฤติกรรมเกี่ยวของกับยาเสพติดใหโทษหรือใหบริการ ทางเพศ (๒) เรร อ นไปตามสถานทตี่ า ง ๆ โดยไมม ที พ่ี กั อาศยั เปน หลกั แหลง ทแี่ นน อน หรอื (๓) ถูกทอดทิ้งหรือถูกปลอยปละละเลยใหอยูในสภาพแวดลอมอันอาจชักนํา ไปในทางเสยี หาย (กฎกระทรวงกาํ หนดเด็กที่เสี่ยงตอการกระทําผดิ พ.ศ.๒๕๔๙)

๔ เนื่องจากเด็กเหลาน้ี มีความเส่ียงตอการกระทําความผิด หรืออาจถูกชักนําไปกระทํา ความผดิ ไดงาย ขณะเดยี วกันเด็กเหลานก้ี ็อาจถกู ลวงละเมดิ จากบุคคลอ่ืนไดง ายเชน กนั เจา พนักงาน ตํารวจซ่ึงปฏิบัติงานและพบเห็นเด็กเหลาน้ี ควรจะใหความสําคัญในการสรางสัมพันธภาพกับเด็ก เหลาน้ี เพื่อเปน การปอ งกันมิใหเ ด็กเหลา นถี้ ูกลว งละเมิดหรอื ตกเปนผูกระทําความผิดในอนาคต ¡ÒÃÊÌҧÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ÀÒ¾¡ºÑ à´ç¡ËÃÍ× àÂÒǪ¹ การสรางความสัมพันธภาพกับเดก็ เปน สงิ่ สาํ คัญมาก เพราะเจา พนกั งานตํารวจจะไดร ับ ความรวมมอื จากเด็กหรือไม อยทู สี่ ัมพนั ธภาพที่มตี อกนั ในการสรางสมั พนั ธภาพควรจะตองเรมิ่ จาก ๑. เจาพนักงานตํารวจจะตองเขาใจสภาพของเด็กเหลานด้ี ว ย อยาปลอ ยใหความรสู ึก หรืออคติสวนตวั มามีผลตอการปฏบิ ัติงาน เนอ่ื งจากเหตุผลดานเช้อื ชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ อายุ หรือทัศนคติของเด็ก เพราะเด็กเหลานี้เปนกลุมที่มีความออนแอเพราะเหตุสภาพรางกาย สุขภาพ ความเจ็บปวย ความพิการ สติปญญา ตลอดจนภูมิหลังทางสังคมท่ีเลวรายที่เขาประสบมา ซึ่งทําให การสรางความสัมพันธภาพอาจจะตอ งใชเวลาจนกวาเดก็ ๆ เหลานจี้ ะใหความไววางใจ ๒. สิ่งที่ตองตระหนกั คือ ขอมูลท่ีไดจ ากเด็กๆ เหลานี้ อาจไมถกู ตองท้งั หมด เดก็ จะมี พฤติกรรมในการกาวราว ตอ ตาน เพอ่ื ความจําเปน ในการอยูร อดของเขา อยา พิจารณาเดก็ ในดานลบ เพียงอยางเดียว จะตองพิจารณาในดานบวกดวย เพื่อจะไดเขาใจในวิถีชีวิตของเขาและจะทําให สัมพนั ธภาพน้ันนานขึ้น ๓. ควรจะตองเร่มิ ตนการสรางสัมพนั ธภาพในเร่อื งที่เดก็ สนใจ เชน เรื่องกีฬากับท่ีเด็ก เลน กฬี าอยเู ปน ประจาํ เปด ใจในการรบั ฟง สงิ่ ทเี่ ดก็ พดู หรอื เลา ดว ยความอดทนอยา เรง รบี ใชศ พั ทท วั่ ๆ ไป ที่เด็กเขาใจหรือใชศัพทที่เด็กๆ ใชพูดคุยกัน อยาใชศัพทท่ีเก่ียวกับอาชีพตํารวจซึ่งเด็กอาจไมเขาใจ หาขอ มลู ของเดก็ จากสภาพแวดลอ ม คนรอบขา ง เพอ่ื ใหท ราบถงึ ภมู หิ ลงั ของเดก็ กอ นทจ่ี ะเขา ถงึ ตวั เดก็ เพราะหากเขา ถึงตัวเดก็ เลย เขาอาจปฏเิ สธในการสรา งความสัมพนั ธก บั เขาได ๔. แสดงความขอบคุณเด็กที่ใหความรวมมือ และแสดงความชื่นชมเด็กวาทําไดดี ในการใหข อ มูลท่ีเปนประโยชน ๕. การวางตัวและการแสดงทาทางขณะที่ทําการพูดคุยกับเด็กมีความสําคัญมาก ตอการยอมรับหรือเปดใจของเด็ก ควรจะตองแสดงความเปนกันเอง อยาแสดงอาการของการ มอี าํ นาจเหนอื ตวั เดก็ เชน การยนื กอดอกพดู กบั เดก็ ทน่ี งั่ อยทู พ่ี นื้ โดยใชค าํ พดู ในลกั ษณะของการสง่ั การ ใหเ ดก็ ทาํ หรอื พดู แตค วรจะพดู ดว ยนา้ํ เสยี งทเี่ ปน กนั เอง แนะนาํ และอธบิ ายเกย่ี วกบั ตนเอง ดว ยภาษา งายๆ น่ังอยูในระดบั เดยี วกบั เด็กท่ีจะพูดคยุ ดว ย ๖. จะตองตระหนักวา เด็กๆ เหลานี้เติบโตมาอยางโดดเด่ียว ขาดการเอาใจใส การพฒั นาดา นอารมณแ ละศลี ธรรมของพวกเขาจะไมส มดลุ ซงึ่ อาจทาํ ใหเ ดก็ เหลา นไ้ี มเ ขา ใจวา สง่ิ ใดผดิ ส่ิงใดถูก ไมเขาใจกลไกของความยุติธรรม ไมเขาใจถึงความเก่ียวพันในส่ิงที่ไดกระทําลงไปวาสงผล กระทบตอตนเองหรือผูอื่นอยางไร ดังนั้น จึงตองอาศัยความอดทนและความสม่ําเสมอในการสราง ความสัมพนั ธก บั เดก็ ๆ

๕ ๗. เขาใจในเรื่องพัฒนาการของเด็กในดานตางๆ ท้ังดานรางกาย ความคิด อารมณ และศีลธรรม วาเด็กในกลุมน้ีจะมีการพัฒนาการในดานตางๆ ไมเหมือนกับเด็กท่ัวๆ ไปท่ีไดรับ การเล้ียงดูเอาใจใสจากครอบครัว ซ่ึงเด็กเหลานี้ อาจมีรางกายไมสมบูรณ กระบวนการการรับรู ความเขา ใจ การมเี หตผุ ล การแกป ญ หาและการตดั สนิ ใจทแ่ี ตกตา งกบั เดก็ ทว่ั ไปทอี่ ยใู นวยั เดยี วกนั การเรยี นรู ทจี่ ะควบคมุ อารมณข องตนมนี อ ย และจากสภาพแวดลอ มทเี่ ดก็ เปน อยู ทาํ ใหก ระบวนการรบั รอู ะไรถกู อะไรผดิ ทางดานศีลธรรมมีนอยกวา ปกติ เปนตน ๘. เก็บขอมูลของเด็กๆ ที่เจาพนักงานตํารวจไปสรางสัมพันธภาพน้ันไว เชน รูปราง ลกั ษณะ และขอ สงั เกตในระหวา งการพดู คยุ วา เดก็ นน้ั มคี วามสนใจในเรอื่ งอะไร มคี วามสามารถพเิ ศษ อะไรบาง กิจกรรมท่ีเด็กชอบ เหลานี้จะไดนําไปเปนขอมูลในการปกปองและคุมครองเด็กกลุมเสี่ยง เหลา นไี้ ดต อ ไป ÊÒàËμØá˧‹ ¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´¢Í§à´ç¡ ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนกระทําความผิดเชนนั้น เจาพนักงานตํารวจจะตัดสินเด็ก หรอื เยาวชนทตี่ อ งหาวา กระทาํ ผดิ จากเหตกุ ารณท เ่ี กดิ ขนึ้ นนั้ เพยี งอยา งเดยี วไมไ ด เจา พนกั งานตาํ รวจ ควรจะตอ งใหความสําคัญของภมู ิหลงั และสภาพสงั คมแวดลอ มของเด็กดวยวา ทําไมเดก็ หรือเยาวชน ไดก ระทําความผดิ โดยแยกเปน ÊÒàËμ¨Ø Ò¡ÊÀÒ¾áÇ´ÅÍŒ ÁÀÒ¹͡μÑÇà´ç¡ ๑. ครอบครัว หรือชุมชน จากการศึกษาวิจัยพบวา ประวัติการกระทําผิดของพอ จะทําใหบุตรมีโอกาสกระทําผิดรายแรงได เม่ือเปรียบเทียบกับครอบครัวที่ไมมีการกระทําผิดของพอ การทารุณกรรมและละเลยเด็ก จะสัมพันธกับการมีพฤติกรรมรุนแรงตอมา แตระดับของความรุนแรง ขึ้นอยูกับลักษณะของการทารุณกรรม เชน เด็กที่ถูกทํารายทางรางกายจะมีการกระทําผิดรุนแรงบาง เล็กนอย ในขณะที่เด็กที่ถูกละเลยทอดท้ิงจะกระทําผิดรุนแรงมากกวา การจัดการที่ไมเหมาะสมของ ครอบครัว ครอบครัวที่ขาดการต้ังเปาหมายพฤติกรรมที่ชัดเจน ขาดการควบคุมดูแล มีระเบียบวินัย ท่ีเขมงวดหรือไมแนนอน และขาดทักษะการเปนพอแม เปนปจจัยที่กอใหเกิดความรุนแรงในเด็กได การขาดการมสี ว นรว มของเดก็ และพอ แมท าํ ใหเ ดก็ มพี ฤตกิ รรมรนุ แรง เชน พอ แมท ไ่ี มเ ขา ไปมสี ว นรว ม ในการศึกษาของลูก พอท่ีไมเขารวมในกิจกรรมยามวางของบุตรชาย และการไมส่ือสารกันระหวาง พอ แมก บั ลกู ในวยั รนุ ความขดั แยง ในครอบครวั การแสดงออกซง่ึ ความขดั แยง อยา งรนุ แรงในชวี ติ ครอบครวั จะเพ่ิมความเสี่ยงตอการมีพฤติกรรมรุนแรงของบุตร โดยเฉพาะหากแสดงความขัดแยงใหบุตรท่ีอยู ในชวงอายุ ๑๔ ถึง ๑๖ ป เห็นจะทาํ ใหเพ่ิมพฤติกรรมรุนแรงเมอ่ื อายุ ๑๘ ป การถูกแยกจากพอ แม ความสัมพันธที่ไมดีระหวางบุตรกับพอแมจะทําใหพฤติกรรมรุนแรงมากข้ึน โดยพบวาเม่ือเด็กชาย มีปญหากับพอแมต้ังแตอายุกอน ๑๐ ขวบ หรือลูกออกจากบานกอนอายุ ๑๖ ป จะมีโอกาสเส่ียง ยงิ่ ขน้ึ การมพี นี่ อ งทก่ี ระทาํ ความผดิ จะเพมิ่ ความเสย่ี งตอ การมพี ฤตกิ รรมรนุ แรง พบวา เดก็ อายุ ๑๐ ขวบ ท่ีมีพี่นองกระทําผิดจะเพ่ิมความเส่ียงตอพฤติกรรมรุนแรง เพราะพ่ีนองที่กระทําความผิดจะมี ความสมั พนั ธอ ยา งมากกบั การมพี ฤตกิ รรมรนุ แรงในวยั รนุ โดยเฉพาะจะมอี ทิ ธพิ ลสงู ตอ หญงิ มากกวา ชาย

๖ อยางไรก็ตามสาเหตุการกระทําความผิดของเด็กและเยาวชน มิใชมีแตเฉพาะ ครอบครวั ทีม่ คี วามบกพรอ งดังเชน ท่กี ลา วขา งตน เพยี งอยา งเดียว แตส ามารถเกิดขน้ึ กบั ครอบครวั ท่มี ี ความสมบูรณก็เปนได ซึ่งกรณีน้ีอาจเกิดจากครอบครัวท่ีบิดามารดาตั้งความหวังกับเด็กและเยาวชน สงู เกนิ ไป จงึ เขม งวดกวดขนั เปน ผลใหเ กดิ ความกดดนั กบั เดก็ และเยาวชน เมอ่ื เดก็ และเยาวชนไมไ ดเ ปน ไป ตามที่คาดหวังไวก็จะระบายออกมาโดยไมรูตัว ซ่ึงมีผลกระทบตอจิตใจเด็กและเยาวชน จนอาจ ทําใหเด็กและเยาวชนรูสึกวาตนเองไมมีคุณคา จึงปลอยตัวประพฤติตนไปตามสภาพแวดลอมที่ไมดี หรือทเี่ รยี กวา เปนการประชดชวี ิต ๒. สถานทอ่ี ยอู าศยั เชน สถานทอ่ี ยอู าศยั ของเดก็ อยใู กลบ อ นการพนนั หรอื สถาน บนั เทงิ จากการศึกษาพบวาการที่เดก็ เตบิ โตทามกลางความยากจน มโี อกาสเส่ยี งตอ การมพี ฤตกิ รรม รนุ แรง การเตบิ โตในครอบครวั ทีม่ ีรายไดต า่ํ จะเพ่มิ โอกาสเปนวยั รุนท่ีใชค วามรนุ แรง ความไรร ะเบียบ ในชมุ ชน การขาดความผกู พนั กบั เพอ่ื นบา น การมเี พอื่ นบา นผใู หญท ก่ี ระทาํ ความผดิ และมคี วามสะดวก ในการไดยาเสพตดิ มาใช จะเพมิ่ ความเส่ียงตอการกระทําผิดและรุนแรง ๓. สถานะทางเศรษฐกิจ การขาดแคลนเคร่ืองอุปโภคบริโภคท่ีจําเปน จากการ ศึกษาพบวา ครอบครวั ของชนชัน้ ลา งทีม่ ีความยากจนและผใู ชแรงงานชนชน้ั ลา งที่มคี วามยากไร และ ผูใชแ รงงานซ่งึ มีรายไดไมเพยี งพอทีจ่ ะใชจ ายในการดําเนินชีวติ ทาํ ใหเ กดิ การขาดแคลนเคร่ืองอปุ โภค บรโิ ภคที่จาํ เปน ซ่ึงจะพบวา เดก็ และเยาวชนมักจะกระทําความผดิ ในขอ หาลกั ทรพั ยจ าํ นวนมาก หรือ พบวา มผี ใู หญช กั จงู ใหเ ดก็ และเยาวชนกระทาํ ความผดิ โดยเดก็ และเยาวชนหวงั เพยี งคา ตอบแทน เชน ชกั จงู ใหนาํ ยาเสพตดิ ไปสง ตอ หรือจาํ หนาย โดยใหเ งนิ เปนคาตอบแทน ๔. การดอยโอกาสทางการศึกษา ความออนดอยสติปญญาหรือประสบการณ เนื่องดวยเด็กและเยาวชนยังมีสติปญญาและประสบการณนอย จึงมักถูกชักจูงไปในทางที่ผิด ไดโดยงาย หรืออาจกระทําไปดวยความรูเทาไมถึงการณ โดยยังไมมีความคิดที่รอบคอบ หรือยัง ไมส ามารถแยกแยะวา สง่ิ ใดควรหรอื ไมค วรทาํ เชน ถกู ชกั นาํ ใหไ ปยงุ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ หรอื ถกู ชกั จงู ให ประกอบอาชพี ทไ่ี มเ หมาะสมแตม รี ายไดด ี เดก็ และเยาวชนทมี่ รี ะดบั การศกึ ษาตา่ํ จะไมแ สวงหาความรู เพอื่ พฒั นาตนเอง หรอื ไมม คี วามกระตอื รอื รน ทจ่ี ะเตบิ โตเปน ผใู หญท แ่ี กป ญ หาของตนเองดว ยเหตผุ ล เพ่ือเลี้ยงตนเองได ทําใหเด็กและเยาวชนกลุมน้ีอยูในกลุมเส่ียงที่จะกอใหเกิดการกระทําความผิด ไดโดยงาย สาเหตภุ ายในตวั ของเดก็ ๑. สภาพความผิดปกติของรางกาย เด็กและเยาวชนไดรับการถายทอดพันธุกรรม มาจากบดิ ามารดา เชน โรคปญญาออ น หรือระดับสตปิ ญ ญาต่าํ กวาเกณฑป กติ หรือมรี า งกายพิการ สิ่งเหลาน้ีจะทําใหเด็กและเยาวชนรูสึกวาตนเองมีปมดอย เกิดความนอยเนื้อต่ําใจ และอาจถูกเด็ก และเยาวชนวัยเดียวกันลอเลียน จนทําใหเด็กและเยาวชนรูสึกวาตนเองถูกซ้ําเติม และเกิดอารมณ

๗ คอนขางรุนแรง จึงแสดงออกในทางกาวราว เชน ทํารายรางกายผูลอเลียนหรือเด็กและเยาวชน ที่ออนแอกวา หรือหากไมสามารถตอบโตไดก็จะเกิดการเก็บกดสะสมไปเร่ือยๆ และแสดงออก เมื่อมโี อกาส ๒. สภาพความผิดปกติทางจิตใจ เด็กและเยาวชนจะมีวุฒิภาวะทางดานจิตใจ และอารมณแ ตกตา งจากผใู หญ ทงั้ เดก็ และเยาวชนแตล ะคนจะมวี ฒุ ภิ าวะของจติ ใจและอารมณไ มเ ทา กนั เด็กและเยาวชนบางกลุมมีวุฒิภาวะทางจิตใจและอารมณไมปกติ ซ่ึงอาจเกิดจากประสบการณ และการเล้ียงดูที่แตกตางกัน ในวัยรุน เด็กและเยาวชนมักจะมีอารมณคึกคะนอง ขาดความอดทน ตอ สงิ่ เรา หรอื สภาพแวดลอ ม บางคนไมช อบถกู บงั คบั และมกั แสดงออกกบั การถกู บงั คบั อยา งไมถ กู ตอ ง โดยเฉพาะในวัยนี้มีการเปล่ียนแปลงทางดานรางกายและจิตใจ รวมถึงฮอรโมนทางเพศที่เพ่ิมขึ้น หลายคนมกี ารแสดงออกในทางรนุ แรง กา วรา ว และใชว ธิ รี นุ แรงในการแกป ญ หา (อรอมุ า วชริ ประดษิ ฐพ ร, ๒๕๕๕) ÊÇ‹ ¹ÊÃØ» เดก็ และเยาวชนมวี ฒุ ภิ าวะทางดา นจติ ใจและอารมณแ ตกตา งจากผใู หญ รวมทงั้ เดก็ และ เยาวชนแตล ะคนจะมวี ฒุ ภิ าวะของจติ ใจและอารมณไ มป กตแิ ละไมเ ทา กนั ซงึ่ อาจเกดิ จากประสบการณ และการเลีย้ งดทู ่แี ตกตางกัน โดยเฉพาะในวัยนม้ี กี ารเปล่ยี นแปลงทางดา นรางกาย และจิตใจ รวมท้งั ฮอรโมนทางเพศที่เพมิ่ ข้ึน หลายคนมีการแสดงออกในทางรนุ แรง กา วราว และใชว ธิ ีรนุ แรงแกปญหา ในกรณีเดก็ หรอื เยาวชนกระทาํ ความผิดเชน น้นั เจา พนักงานตาํ รวจจะตัดสินเดก็ หรอื เยาวชนท่ีตอ งหา วากระทําความผิดจากเหตุการณท่ีเกิดขึ้นน้ันเพียงอยางเดียวไมได เจาพนักงานตํารวจควรจะตองให ความสําคญั ของภมู ิหลัง และสภาพสังคมและแวดลอ มของเดก็ และเยาวชน รวมท้ังปฏิบัตติ อเดก็ และ เยาวชน ตามกฎหมายท่เี กย่ี วของตามบทบาทและอาํ นาจหนา ทใี่ หถ กู ตองเหมาะสม



๙ º··Õè ò ¡ÒäÁŒØ ¤ÃͧÊÔ·¸àÔ ´¡ç ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ ๑. เพอ่ื ใหนักเรียนนายสิบตํารวจ มีความเขาใจในการคุมครองสทิ ธเิ ด็กตามอนุสญั ญา วา ดว ยสิทธเิ ด็ก ๒. เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ มคี วามเขา ใจ กฎหมายตา งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การคมุ ครอง สทิ ธิเดก็ ในประเทศไทย ๒.๑ การคุมครองสิทธิเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา ๒.๒ การคุมครองสิทธิเดก็ ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา ๒.๓ พระราชบญั ญตั คิ ุมครองเดก็ ฯ ๒.๔ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน และครอบครวั ฯ ๒.๕ การคมุ ครองสิทธเิ ด็กและเยาวชนตามพระราชบญั ญตั คิ ุมครองแรงงาน เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทและอาํ นาจหนา ทขี่ องเจา พนกั งานตาํ รวจไดอ ยา ง ถกู ตอ งเหมาะสมตอไป º·นาํ จากอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กฯ “เด็กโดยเหตุท่ียังไมเติบโตเต็มท่ีทั้งรางกายและจิตใจ จึงตองการพิทักษและดูแลเปนพิเศษ รวมถึงตองการการคุมครองทางกฎหมายท่ีเหมาะสมทั้งกอน และหลังเกิด” และสหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากลดวยวา เด็กมีสิทธิที่จะไดรับการดูแล และการชวยเหลือเปนพิเศษ ประเทศไทยไดเขาเปนภาคี ในอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เม่ือวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๕ และมีผลบังคับกับประเทศไทย เมื่อวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕ ประเทศไทย จงึ ตอ งนาํ หลกั เกณฑ ซง่ึ อนสุ ญั ญาฉบบั นมี้ าปรบั กฎหมายภายในประเทศทเ่ี กย่ี วกบั เดก็ เพอื่ ใหส อดคลอ ง กบั สาระสําคัญในอนสุ ญั ญาวาดว ยสิทธเิ ดก็ จากอนุสัญญาวา ดว ยสทิ ธเิ ด็กฯ ในสวนอารมั ภบทท่กี ลา ววา “เดก็ โดยเหตุทีย่ งั ไมเ ติบโต เต็มที่ทั้งรางกายและจิตใจ จึงตองการการพิทักษและดูแลเปนพิเศษ รวมถึงตองการการคุมครอง ทางกฎหมายที่เหมาะสมทั้งกอนและหลังการเกิด” และสหประชาชาติไดประกาศในปฏิญญาสากล ดว ยวา เดก็ มสี ิทธทิ ี่จะไดร บั การดูแลและการชว ยเหลอื เปน พเิ ศษ สาํ หรบั ประเทศไทยไดเ ขา เปน ภาคอี นสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ โดยการภาคอนวุ ตั ิ (คอื การ ใหค วามยนิ ยอมของรฐั เพอื่ เขา ผกู พนั ตามสนธสิ ญั ญา ซง่ึ จะใชใ นกรณที ร่ี ฐั นน้ั มไิ ดเ ขา รว มในการเจรจา ทําสนธสิ ญั ญาและมไิ ดล งนามในสนธสิ ญั ญานนั้ มากอ น) เมื่อวนั ที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๕ และมีผล บงั คบั กบั ประเทศไทย เมือ่ วนั ที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๕

๑๐ และจากทป่ี ระเทศไทยเขา เปน ภาคี ในอนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ ฯ น้ี จงึ ทาํ ใหป ระเทศไทย จะตองนําหลักเกณฑซ่ึงอนุสัญญาฉบับนี้มาปรับกฎหมายภายในประเทศท่ีเก่ียวกับเด็ก เพื่อให สอดคลองกับสาระสาํ คัญในอนุสัญญาวา ดว ยสิทธิเด็ก ͹ÊØ ÑÞÞÒÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÊÔ·¸Ôà´¡ç ในอนุสัญญาวา ดว ยสิทธเิ ด็ก ไดนิยามความหมายคาํ วา “เด็ก” ไวว า “เด็ก” หมายถงึ มนษุ ยท กุ คนท่ีอายุตํา่ กวา ๑๘ ป เวนแตจ ะบรรลนุ ติ ิภาวะกอนหนานัน้ ตามกฎหมายทใ่ี ชบังคับแกเ ด็กนน้ั (อนุสัญญาวา ดวยสิทธเิ ดก็ ขอ ๑) อนสุ ญั ญาวาดวยสิทธิเดก็ (Convention on the Rights of the Child 1989) ไดกําหนดในภาครัฐและภาคสังคมไดตระหนักถึงความสําคัญของเด็กเพื่อจะนําไปสูการ ปฏบิ ตั ิมีจํานวนทั้งหมด ๕๔ ขอ ซึง่ แบง เปน ๓ สวน คือ สวนท่ี ๑ เริ่มจากขอ ๑ ถึงขอ ๔๑ วาดวยหลักการและเนื้อหาเก่ียวกับสิทธิท่ีเด็ก พงึ จะไดรบั โดยเนน หลกั พนื้ ฐาน ๔ ประการ กลา วคือ ๑) หามเลือกปฏิบัติตอเด็กและการใหความสําคัญแกเด็กทุกคนอยางเทาเทียมกัน โดยไมคํานึงถึงความแตกตางของเด็กในเร่ืองเช้ือชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทาง การเมือง ชาติพันธุ หรือสังคม ทรัพยสิน ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะอ่ืนๆ ของเด็ก หรอื บดิ ามารดา หรือผูปกครองทางกฎหมาย ทงั้ นเ้ี พอ่ื ใหเ ดก็ มโี อกาสที่เทา เทียมกัน ๒) การกระทาํ หรอื การดาํ เนนิ การทง้ั หลายตอ งคาํ นงึ ถงึ ประโยชนส งู สดุ เปน อนั ดบั แรก ๓) สิทธิในการมีชีวติ การอยูรอด และการพัฒนาทางดานจติ ใจ อารมณ สงั คม ๔) สทิ ธใิ นการแสดงความคดิ เหน็ ของเดก็ และการใหค วามสาํ คญั กบั ความคดิ เหน็ เหลา นน้ั (คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชน, ๒๕๕๔) สวนท่ี ๒ เรมิ่ จากขอท่ี ๔๒ ถงึ ขอ ที่ ๔๕ เปนขอ กาํ หนด เปนหลักเกณฑและแบบพิธี ซึ่งประเทศใหส ัตยาบันแกอ นุสญั ญานีต้ องปฏิบตั ิตาม สวนท่ี ๓ เริ่มจากขอท่ี ๔๖ ถึงขอท่ี ๕๔ เปนขอกําหนดวิธีการสอดสองดูแล การปฏบิ ตั ติ ามอนสุ ญั ญา และกําหนดเง่ือนไขตางๆ ในการบงั คับใช สําหรับสาระสําคัญที่เด็กพึงจะไดรับตามอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กน้ัน พอสรุปไดเปน ๖ หลักการ ดังนี้ ñ. ËÅÑ¡¡Ò÷ÑèÇä» เปนการคุมครองสิทธิเสรีภาพท่ัว ๆ ไปในแงท้ังสวนบุคคล การแสดงความเห็น ศาสนา วัฒนธรรม ความเสมอภาคภายใตกฎหมายเดียวกัน การศึกษาและอ่ืนๆ นอกจากนนั้ เปน สว นทเ่ี กยี่ วกบั การคมุ ครองดแู ลเดก็ โดยทว่ั ไป โดยกาํ หนดไวใ นรปู หลกั พงึ ปฏบิ ตั ขิ องรฐั ภาคี อยา งไรกต็ ามมบี ทบญั ญตั ทิ ต่ี ดั ปญ หาผลกระทบทางลบในการบงั คบั ในอนสุ ญั ญานปี้ ด ทา ยไวว า อนสุ ญั ญาน้ี ไมมีผลทําใหเด็กไดรับความคุมครองนอยไปกวาที่เขามีอยูตามกฎหมายอ่ืนๆ สาระสําคัญของหลักน้ี อยูในขอ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๒๕ ๓๐ ๓๘ และขอ ๔๑

๑๑ ò. ËÅ¡Ñ ¡ÒäÁŒØ ¤ÃͧÃÒ‹ §¡Ò ªÇÕ μÔ àÊÃÀÕ Ò¾ áÅÐÊÇÊÑ ´ÀÔ Ò¾¢Í§à´¡ç มงุ คมุ ครองมใิ หเ ดก็ ถูกละเมิดสทิ ธเิ หนือรา งกาย ชีวติ และเสรีภาพ ไมว าจะทํารา ย ฆา ลวงเกนิ ทางเพศ ขูดรีด หากาํ ไร ทางเพศ หรือคากําไรทางเศรษฐกิจหรือนําเด็กไปเปนวัตถุซ้ือขายหรือปฏิบัติตอเด็กท่ีไมเหมาะสม จนเปนผลเสียตอสวัสดิภาพของเด็ก รวมท้ังคุมครองใหมีการเยียวยา ฟนฟู เด็กที่ถูกละเมิดดังกลาว ใหกลับคนื สูสภาพปกติได สาระสาํ คญั ของหลกั นี้อยใู นขอ ๑๙ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ และ ขอ ๓๙ ó. ËÅ¡Ñ ¡ÒÃãËÊŒ ÇÊÑ ´¡Ô ÒÃ椄 ¤Áá¡à‹ ´¡ç มงุ คมุ ครองการใหเ ดก็ ไดร บั ขา วสารขอ มลู ทเ่ี ปน ประโยชนตอพัฒนาการของเด็ก ใหไดรับการดูแลดานสุขภาพอนามัย ไดรับการประกันสังคม ไดรับ การศึกษาท้ังในแงของการเลาเรียนและโอกาสที่จะศึกษาเลาเรียนเพ่ือพัฒนาทางดานบุคลิกภาพ การมมี นษุ ยสมั พนั ธอ นั ดี มีความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง สังคม และสภาพแวดลอ มทางธรรมชาติ ไดร ับ การพักผอนหยอนใจและสงเสริมชวี ิตดานศิลปวัฒนธรรม มีสาระสาํ คัญในขอ ๑๗ ๒๔ ๒๖ ๒๘ ๒๙ และขอ ๓๐ ô. ËÅ¡Ñ ¡ÒäÁŒØ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸·Ô ҧᾧ‹ มงุ คมุ ครองใหเ ดก็ ไดร บั สทิ ธใิ นฐานะพลเมอื งของรฐั ทมี่ ชี อื่ มสี ญั ชาติ สามารถตดิ ตอ กบั ครอบครวั มภี มู ลิ าํ เนาหรอื ทอี่ ยอู าศยั รว มกบั บดิ ามารดา ไดร บั อปุ การะ เลี้ยงดูจากบิดามารดาหรือผูปกครอง โดยมีรัฐชวยสนับสนุนและใหหลักประกัน มีสาระสําคัญอยูใน ขอ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๘ และ ๒๗ õ. ËÅÑ¡¡Òä،Á¤Ãͧà´ç¡·ÕèÁÕ»˜ÞËÒ¤ÇÒÁ»ÃоÄμÔËÃ×Í¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´·Ò§ÍÒÞÒ มงุ คมุ ครอง ใหเ ดก็ ทถี่ กู กลา วหาวา กระทาํ ความผดิ ทางอาญาไดร บั การปฏบิ ตั ทิ แี่ ตกตา งไปจากผตู อ งหาท่ี เปน ผใู หญ โดยใหไ ดร บั ผลกระทบจากการตอ งถกู ดาํ เนนิ คดแี ละควบคมุ ตวั นอ ยทส่ี ดุ สาํ หรบั เดก็ ทมี่ ปี ญ หา ความประพฤติ หรือกระทําความผดิ ทางอาญา คมุ ครองใหไ ดรับโอกาสแกไขเยยี วยาใหสามารถเตบิ โต เปน พลเมอื งดขี องสงั คม โดยมสี มมตฐิ านวา เดก็ กระทาํ การใด ๆ เพราะขาดวฒุ ภิ าวะทาํ ใหส ง่ิ แวดลอ ม มีอิทธิพลผลักดันตอความประพฤติของเด็ก นอกจากน้ันยังมีหลักประกันมิใหเด็กตองรับโทษจําคุก ตลอดชีวติ หรือประหารชวี ิต มสี าระสาํ คญั อยใู นขอ ๓๗ และขอ ๔๐ ö. ËÅÑ¡¡Òä،Á¤Ãͧà´ç¡¼ÙŒ´ŒÍÂâÍ¡ÒÊ มุงคุมครองใหเด็กดอยโอกาส เด็กผูขาดไร ผอู ปุ การะ เดก็ ผตู กอยใู นเภทภยั และเดก็ พกิ ารไดร บั การดแู ลและอปุ การะเลยี้ งดใู หเ ทา เทยี มกบั เดก็ ทวั่ ไป มีสาระสําคัญอยูในขอ ๒๐ ๒๑ ๒๒ และขอ ๒๓ (นคนิ ทร เมฆไตรรตั น และคณะ, ๒๕๕๓) ¡Òä،Á¤ÃÍ§Ê·Ô ¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â ประเทศไทยไดบัญญัติกฎหมายหลายฉบับเพื่อคุมครองสิทธิเด็กท่ีเขาสูกระบวนการ ยตุ ธิ รรมทางอาญา โดยการปรบั ปรงุ แกไ ขกฎหมายทมี่ อี ยเู ดมิ และบญั ญตั กิ ฎหมายใหมเ พอ่ื ใหส อดคลอ ง กับอนสุ ัญญาวาดว ยสิทธเิ ด็ก (Convention on the Rights of the Child) และกฎอนั เปนมาตรฐาน ขน้ั ตํา่ ของสหประชาชาติวา ดว ยการบริหารงานยุตธิ รรมเกี่ยวกบั คดเี ด็กและเยาวชน (United Nations Standard Minimum Rules for the Administration of Juvenile Justice) หรือกฎแหงกรงุ ปก กิง่ (The Beijing Rules) ซึ่งพอจะสรปุ ไดดงั นี้

๑๒ ñ) ¡ÒäŒØÁ¤ÃͧÊÔ·¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒÏ (๑) หามมิใหลงโทษประหารชีวิตและจําคุกตลอดชีวิตแกเด็กหรือเยาวชน ซึ่งกระทาํ ความผดิ ในขณะทีม่ ีอายุตา่ํ กวา ๑๘ ป โดยใหเปลย่ี นระวางโทษจากประหารชวี ติ หรือจําคุก ตลอดชวี ิตน้นั มาเปน ระวางโทษจําคกุ ๕๐ ป (มาตรา ๑๘) (๒) เด็กอายุไมเกิน ๑๐ ป กระทําการอันกฎหมายบัญญัติเปนความผิด เด็กน้ัน ไมตองรับโทษ แตใหพนักงานสอบสวนสงตอเด็กนั้นใหแกพนักงานเจาหนาท่ีตามกฎหมายวาดวย การคมุ ครองเด็กเพอ่ื ดําเนินการคุมครองสวัสดภิ าพตามกฎหมาย (มาตรา ๗๓) (๓) เด็กอายกุ วา ๑๐ ป แตยังไมเกิน ๑๕ ป กระทําการอนั กฎหมายบญั ญัตเิ ปน ความผดิ เด็กน้นั ไมตองรบั โทษ แตศาลมอี าํ นาจที่จะดาํ เนินการ - วากลาวตักเตือนเด็กแลวปลอยตัวไป และถาศาลเห็นสมควรศาลจะเรียก บิดา มารดา ผูปกครอง หรอื ผูทเี่ ดก็ อาศัยอยดู ว ยมาตักเตือนดวยก็ได - ถาศาลเห็นวาบิดามารดาหรือผูปกครองสามารถดูแลเด็กได ศาลจะมี คาํ สง่ั ใหม อบตวั เดก็ ใหแ กบ คุ คลดงั กลา ว โดยวางขอ กาํ หนดใหบ คุ คลนนั้ ๆ ระวงั เดก็ ไมใ หไ ปกอ เหตรุ า ย ตลอดเวลาทศ่ี าลกาํ หนด ซึง่ ขอกาํ หนดของศาลน้ันตองไมเกิน ๓ ป และกําหนดจํานวนเงินตามทเี่ ห็น สมควร ซ่ึงบิดามารดาหรือผูปกครองจะตองชําระตอศาล ไมเกินคร้ังละ ๑๐,๐๐๐ บาท หากเด็กน้ัน กอเหตรุ า ยขึ้น แตถาเด็กอาศัยอยูกับบุคคลอื่น และศาลเห็นวาไมสมควรจะเรียกบิดา มารดา หรอื ผปู กครองมาวางขอ กาํ หนด ศาลจะเรยี กตวั บคุ คลทเี่ ดก็ อาศยั อยมู าสอบถามวา จะยอมรบั ขอ กาํ หนดของศาลทกี่ าํ หนดไว ทาํ นองเดยี วกบั กรณวี างขอ กาํ หนดใหแ กบ ดิ า มารดา หรอื ผปู กครองนน้ั หรือไม และถาบุคคลท่ีเด็กอาศัยอยูดวยน้ันยอมรับขอกําหนดดังกลาว ศาลก็จะมีคําสั่งมอบตัวเด็ก ใหแ กบุคคลนั้นโดยวางขอกาํ หนด - ในกรณีท่ีศาลมอบตัวเด็กใหแกบิดา มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลที่เด็ก อาศยั อยดู ว ยนน้ั ศาลจะกาํ หนดเงือ่ นไขเพ่ือคุมความประพฤติเดก็ ตามวธิ ีการทีก่ ําหนดไวใ นประมวล กฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ กลาวคือ ใหไปรายงานตัวตอเจาพนักงานท่ีศาลระบุไวเปนครั้งคราว ใหฝ ก หดั หรอื ทาํ งานอาชพี อนั เปน กจิ จะลกั ษณะ ใหล ะเวน การคบหาสมาคมหรอื การประพฤตใิ ดอนั อาจ นําไปสูการกระทําความผิด หรือไปรับการบําบัดรักษาการติดสารเสพติด ความบกพรองทางรางกาย จติ ใจ หรือเจบ็ ปวย เปนตน - ในกรณีเด็กไมมีบิดา มารดา ผูปกครอง หรือมีแตศาลเห็นวาไมสามารถ ดแู ลเดก็ ได หรอื กรณบี คุ คลทเี่ ดก็ อาศยั อยดู ว ยนน้ั ไมย อมรบั ขอ กาํ หนดของศาลในการคมุ ประพฤตเิ ดก็ ศาลอาจมคี าํ สง่ั มอบตวั เดก็ นนั้ ใหอ ยกู บั บคุ คลหรอื องคก ารทศ่ี าลเหน็ สมควร เพอื่ อบรมดแู ลและสงั่ สอน ตามระยะเวลาทศ่ี าลกาํ หนดก็ได เม่อื บุคคลหรอื องคการนน้ั ยนิ ยอม - สงตวั เด็กไปยังโรงเรยี น หรือสถานฝก อบรม ตามระยะเวลาทีศ่ าลกําหนด แตอ ยาใหเ กินกวา ทีเ่ ดก็ นั้นจะมีอายคุ รบ ๑๘ ป อยางไรก็ตาม คําสั่งของศาลน้ัน ศาลอาจมีอํานาจเปล่ียนแปลงแกไขคําส่ัง หรอื มคี าํ สงั่ ใหมได หากพฤตกิ รรมแหงคาํ ส่งั ไดเปลยี่ นแปลงไป (มาตรา ๗๔)

๑๓ (๔) หากศาลพจิ ารณาจากความรสู กึ ผดิ ชอบและสงิ่ อน่ื ทงั้ ปวงเกยี่ วกบั ผกู ระทาํ ความผดิ ซึ่งเปน เด็กหรือเยาวชนที่อายกุ วา ๑๕ ป แตตํ่ากวา ๑๘ ป แลว เหน็ วา ยงั ไมสมควรพพิ ากษาลงโทษ ในความผดิ ทก่ี ฎหมายบญั ญตั ไิ ว สาํ หรบั ความผดิ ทเี่ ดก็ หรอื เยาวชนไดก ระทาํ นน้ั ศาลกจ็ ะใหด าํ เนนิ การ โดยการวางขอกําหนด ดังท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๗๔ แตหากศาลเห็นวาสมควรพิพากษาลงโทษ กใ็ หลดมาตราสว นลงกึ่งหนึง่ (มาตรา ๗๕) ò) ¡ÒäÁØŒ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹ μÒÁ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÇ¸Ô ¾Õ ¨Ô ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒÏ (๑) กรณีท่ีเด็กหรือเยาวชน เปนผูเสียหายอายุไมเกิน ๑๘ ป มารองทุกข ในการจดบนั ทกึ คาํ รองทุกข ในคดบี างประเภทท่ีกฎหมายกําหนด เชน ความผิดเก่ยี วกับเพศ ความผดิ เก่ยี วกับชวี ติ รางกาย ซึ่งมิใชเกิดจากการชลุ มนุ ตอสู ความผิดเกย่ี วกบั เสรภี าพ กรรโชกทรพั ย ชิงทรัพย ปลนทรัพย ความผิดวาดวยการปองกันและปราบปรามการคาประเวณี เหลานี้เปนตน จะตองมีทีม สหวิชาชีพอันไดแก นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลท่ีเด็กรองขอ และพนักงานอัยการ รวมอยดู วย (มาตรา ๑๒๔/๑) (๒) การถามปากคําเด็กหรือเยาวชน ในฐานะเปนผูเสียหายหรือพยานในคดี บางประเภททก่ี ฎหมายกาํ หนดใหพ นกั งานสอบสวนแยกการถามปากคาํ ไปในทที่ เี่ หมาะสม เปน สดั สว น และใหม ีทีมสหวิชาชีพรว มในการถามปากคํา (มาตรา ๑๓๓ ทว)ิ (๓) การชี้ตัวบุคคล กรณีที่ผูเสียหายซึ่งเปนเด็กหรือเยาวชนอายุไมเกิน ๑๘ ป จะตองทําการชี้ตัวบุคคลใหพนักงานสอบสวนจัดใหมีการชี้ตัวบุคคลในสถานที่ท่ีเหมาะสมและจะตอง ไมใ หผถู ูกชีต้ ัวมองเหน็ เด็กหรือเยาวชนน้นั และในการชีต้ ัวนจ้ี ะตองมีทีมสหวิชาชีพรว มอยดู วย และในกรณที ี่เด็กหรือเยาวชนอายไุ มเ กนิ ๑๕ ป เปนผตู อ งหา หากตอ งมีการชต้ี วั บคุ คลใหพ นกั งานสอบสวนจดั ใหม กี ารชต้ี วั ในสถานทท่ี เี่ หมาะสมและปอ งกนั มใิ หผ ตู อ งหาเหน็ ตวั บคุ คล ทจี่ ะตองชตี้ ัวน้ัน (มาตรา ๑๓๓ ตร)ี (๔) ในคดีท่ีผูตองหาเปนเด็กหรือเยาวชนมีอายุไมเกิน ๑๘ ป ในวันท่ีพนักงาน สอบสวนแจงขอหา กอนตามคําใหการ ใหพนักงานสอบสวนสอบถามวาผูตองหานั้นมีทนายความ หรือไม หากไมมีทนายความ ใหจัดหาทนายความให (มาตรา ๑๓๔/๑) (๕) ในการสอบสวนผูตองหาซ่ึงเปนเด็กหรือเยาวชนท่ีมีอายุไมเกิน ๑๘ ป ใหใช หลักเกณฑเดียวกับการถามปากคําผูเสียหาย กลาวคือ จะตองสอบสวนในสถานท่ีท่ีเหมาะสม เปนสัดสว น และมีทีมสหวิชาชีพเขารว มการสอบสวน (มาตรา ๑๓๔/๒) (๖) ในการสบื พยานทเี่ ปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป ใหศ าลจดั พยานใหอ ยใู นทที่ เ่ี หมาะสม สําหรับเด็ก และศาลอาจเปนผูถามพยานเองหรือถามผานนักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห หรือใหคูความถามผานนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห โดยถายทอดภาพและเสียงไปยัง หองพจิ ารณา (มาตรา ๑๗๒ ตร)ี (๗) ในคดีทีจ่ ําเลยเปน เดก็ หรือเยาวชนอายุไมเกนิ ๑๘ ป ในวันทถ่ี กู ฟอ งตอ ศาล หากจําเลยไมมที นายความใหศาลต้งั ทนายความให (มาตรา ๑๗๓)

๑๔ ó) ¡ÒäŒØÁ¤ÃͧÊÔ·¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹ μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ¤ÁŒØ ¤Ãͧà´ç¡Ï พระราชบัญญัติคุมครองเด็กฯ มุงเนนการสงเคราะหชวยเหลือเด็กและลงโทษ ผทู ่เี กี่ยวของทีก่ ระทาํ ละเมิดตอเด็ก มใิ ชล งโทษเดก็ แตอ ยา งไร “เดก็ ” ในความหมายทปี่ รากฏในนยิ ามของพระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ ฯ มาตรา ๔ บญั ญตั ิวา “เดก็ ” หมายความวา บคุ คลซงึ่ มอี ายตุ าํ่ กวา สบิ แปดปบ รบิ รู ณ แตไ มร วมถงึ ผทู บ่ี รรลุ นิติภาวะดว ยการสมรส จากพระราชบัญญัติดังกลาว ไดกําหนดใหการปฏิบัติตอเด็กไมวากรณีใด ใหค าํ นงึ ถงึ ประโยชนส งู สดุ ของเดก็ เปน สาํ คญั และไมใ หม กี ารเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ ปน ธรรม (มาตรา ๒๒) ขอ กาํ หนดสําหรับผูปกครอง (๑) ใหก ารอปุ การะเลย้ี งดู อบรมสงั่ สอน และพฒั นาการเดก็ ทอ่ี ยใู นความปกครอง ดูแลของตนตามสมควรแกขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแหงทองถิ่น และตองคุมครอง สวัสดิภาพเด็กท่ีอยูในความปกครองดูแลของตน มิใหตกอยูในภาวะอันนาจะเกิดอันตรายหรือจิตใจ (มาตรา ๒๓) (๒) ตอ งไมท อดทง้ิ หรอื ละทงิ้ เดก็ หรอื ละเลยไมด แู ลไมใ หส งิ่ จาํ เปน ในการดาํ รงชพี จนนา จะเกดิ อนั ตราย ปฏบิ ตั ติ อ เดก็ ในลกั ษณะทเ่ี ปน การขดั ขวางการพฒั นาการของเดก็ ปฏบิ ตั ติ อ เดก็ ในลักษณะทเ่ี ปน การเล้ียงดูโดยมิชอบ (มาตรา ๒๕) ขอ หา มมิใหบุคคลใดบุคคลหนงึ่ กระทําตอเดก็ แมว าเด็กจะยินยอมหรือไมกต็ าม (๑) กระทําหรือละเวนการกระทําอันเปนการทารุณกรรมตอรางกายหรือจิตใจ ของเด็ก (๒) จงใจหรอื ละเลยไมใ หส งิ่ จาํ เปน แกก ารดาํ รงชวี ติ หรอื การรกั ษาพยาบาลแกเ ดก็ ทอ่ี ยูใ นความดูแลของตน จนนาจะเกดิ อันตรายแกร า งกายหรอื จติ ใจของเดก็ (๓) บังคับ ขูเข็ญ ชักจูง สงเสริม หรือยินยอมใหเด็กประพฤติตนไมสมควร หรือนา จะทาํ ใหเดก็ มคี วามประพฤตเิ สีย่ งตอ การกระทําผิด (๔) โฆษณาทางสอื่ มวลชนหรอื เผยแพรด ว ยประการใด เพอื่ รบั เดก็ หรอื ยกเดก็ ใหแ ก บคุ คลอนื่ ทม่ี ใิ ชญ าตขิ องเดก็ เวน แตเ ปน การกระทาํ ของทางราชการหรอื ไดร บั อนญุ าตจากทางราชการแลว (๕) บังคบั ขเู ขญ็ ชกั จงู สงเสริม ยนิ ยอม หรอื กระทาํ ดวยประการใดใหเ ด็กไปเปน ขอทาน เดก็ เรร อ น หรอื ใชเ ดก็ เปน เครอ่ื งมอื ในการขอทานหรอื การกระทาํ ผดิ หรอื กระทาํ ดว ยประการใด อันเปนการแสวงหาประโยชนโดยมชิ อบจากเด็ก (๖) ใช จา ง หรอื วานเด็กใหท าํ งานหรอื กระทาํ การอนั อาจเปนอนั ตรายแกร า งกาย หรอื จิตใจมีผลกระทบตอ การเจรญิ เติบโตหรอื ขดั ขวางตอ พัฒนาการของเดก็

๑๕ (๗) บงั คบั ขเู ขญ็ ใช ชกั จงู ยยุ ง สง เสรมิ หรอื ยนิ ยอมใหเ ดก็ เลน กฬี าหรอื ใหก ระทาํ การใด เพื่อแสวงหาประโยชนทางการคาอันมีลักษณะเปนการขัดขวางตอการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการ ของเดก็ หรือมลี กั ษณะเปนการทารณุ กรรมตอเด็ก (๘) ใชหรือยินยอมใหเด็กเลนการพนันไมวาชนิดใดหรือเขาไปในสถานที่ เลนการพนัน สถานคาประเวณี หรือสถานทที่ ่หี า มมิใหเ ด็กเขา (๙) บงั คับ ขูเขญ็ ใช ชกั จงู ยุยง สงเสรมิ หรือยินยอมใหเด็กแสดงหรอื กระทาํ การ อันมีลกั ษณะลามกอนาจาร ไมวา จะเปน ไปเพ่อื ใหไดมาซ่ึงคา ตอบแทนหรอื เพ่อื การใด (๑๐) จาํ หนา ย แลกเปลย่ี น หรอื ใหส รุ าหรอื บหุ รแี่ กเ ดก็ เวน แตก ารปฏบิ ตั ทิ างการแพทย (มาตรา ๒๖) หากผใู ดฝา ฝน กระทาํ การดงั กลา วจะตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๓ เดอื น หรอื ปรบั ไมเกนิ ๓๐,๐๐๐ บาท หรือทั้งจําทัง้ ปรบั (มาตรา ๗๘) และเพ่ือเปนการปกปองช่ือเสียง เกียรติคุณ สิทธิของเด็ก พระราชบัญญัติ คมุ ครองเดก็ ฯ ยงั กาํ หนดหา มมใิ หผ ใู ดโฆษณาหรอื เผยแพรท างสอ่ื มวลชนหรอื สอื่ สารลกั ษณะประเภทใด ซงึ่ ขอ มลู เกยี่ วกบั เดก็ หรอื ผปู กครอง โดยเจตนาทจ่ี ะทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกจ ติ ใจ ชอื่ เสยี ง เกยี รตคิ ณุ หรือสิทธิประโยชนอื่นใดของเด็ก หรือเพื่อแสวงหาประโยชนสําหรับตนเองหรือผูอ่ืนโดยมิชอบ (มาตรา ๒๗) หากผูใดฝาฝนตองระวางโทษจําคุกไมเกิน ๖ เดือน หรือปรับไมเกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรอื ทง้ั จาํ ท้ังปรบั (มาตรา ๗๙) เด็กท่พี งึ ไดรบั การคุมครองสวัสดภิ าพ พระราชบัญญัติคุมครองเด็กฯ ไดกําหนดประเภทของเด็กท่ีพึงไดรับการคุมครอง สวัสดภิ าพไวในมาตรา ๔๐ กลาวคอื ๑) เด็กท่ีถูกทารุณกรรม ซึ่งหมายถึง เด็กที่กระทําหรือละเวนการกระทําดวย ประการใดๆ จนเปน เหตใุ หเ ดก็ เสอ่ื มเสยี เสรภี าพ หรอื เกดิ อนั ตรายแกท ง้ั กายหรอื จติ ใจ เดก็ ทถ่ี กู กระทาํ ผดิ ทางเพศ หรือเด็กที่ถูกใชใหกระทําหรือประพฤติในลักษณะท่ีนาจะเปนอันตรายแกรางกายหรือจิตใจ หรือขดั ตอ กฎหมาย ศีลธรรมอันดี ไมวาเด็กจะยินยอมหรอื ไมกต็ าม ๒) เด็กที่เสี่ยงตอการกระทําผิด ซ่ึงไดมีกฎกระทรวงกําหนดเด็กท่ีเส่ียงตอการ กระทําผิด พ.ศ.๒๕๔๙ กําหนดไว คอื ขอ ๑ เด็กท่ีประพฤติตนไมสมควร ไดแก เด็กที่มีพฤติกรรมอยางหนึ่งอยางใด ดังตอ ไปนี้ (๑) ประพฤติตนเกเรหรือขม เหงรงั แกผูอน่ื (๒) มัว่ สมุ ในลกั ษณะที่กอความเดอื ดรอ นราํ คาญแกผูอนื่ (๓) เลน การพนนั หรอื ม่ัวสมุ ในวงการพนัน (๔) เสพสุรา สูบบุหร่ี เสพยาเสพติดใหโทษหรือของมึนเมาอยางอ่ืน เขาไปใน สถานท่ีเฉพาะ เพอื่ การจาํ หนา ยหรือดืม่ เคร่ืองดื่มทมี่ ีแอลกอฮอล

๑๖ (๕) เขา ไปในสถานบรกิ ารตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ (๖) ซื้อหรือขายบริการทางเพศ เขาไปในสถานการคาประเวณีหรือเกี่ยวของกับ การคาประเวณี ตามกฎหมายวา ดวยการปองกันและปราบปรามการคา ประเวณี (๗) ประพฤติตนไปในทางชูส าว หรือสอ ไปในทางลามกอนาจารในที่สาธารณะ (๘) ตอ ตา นหรอื ทา ทายคาํ สงั่ สอนของผปู กครองจนผปู กครองไมอ าจอบรมสง่ั สอนได (๙) ไมเขาเรียนในโรงเรียนหรือสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษา ภาคบงั คับ ขอ ๒ เด็กท่ีประกอบอาชีพที่นาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอ ศลี ธรรมอนั ดี ไดแ ก เด็กท่ีประกอบอาชีพ ดังตอ ไปน้ี (๑) ขอทานหรอื กระทาํ การสอ ไปในทางขอทาน โดยลาํ พงั หรอื โดยมผี บู งั คบั ชกั นาํ ยยุ ง หรือสงเสริม หรอื (๒) ประกอบอาชีพหรือกระทําการใดอันเปนการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ดว ยกฎหมายหรือขดั ตอศลี ธรรมอนั ดี ขอ ๓ เด็กที่คบหาสมาคมกับบุคคลที่นาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมาย หรือขดั ตอศีลธรรมอนั ดี ไดแ ก เดก็ ท่ีคบหาสมาคมกับบคุ คล ดงั ตอไปนี้ (๑) บุคคลหรือกลุมคนที่รวมตัวกันม่ัวสุม เพื่อกอความเดือดรอนรําคาญแกผูอ่ืน หรอื กระทําการอันขดั ตอกฎหมายหรือศีลธรรมอันดี หรอื (๒) บคุ คลทปี่ ระกอบอาชพี ทข่ี ดั ตอกฎหมายหรอื ศลี ธรรมอนั ดี ขอ ๔ เดก็ ทอ่ี ยใู นสภาพแวดลอ มหรอื สถานทอี่ นั อาจชกั นาํ ไปในทางเสยี หาย ไดแ ก เด็กทีอ่ ยูในสภาพแวดลอมหรอื สถานท่ี ดงั ตอไปนี้ (๑) อาศัยอยูกับบุคคลที่มีพฤติกรรมเกี่ยวของกับยาเสพติดใหโทษหรือใหบริการ ทางเพศ (๒) เรรอ นไปตามสถานท่ีตา งๆ โดยไมม ีท่ีพกั อาศัยเปน หลกั แหลง ทแ่ี นน อน หรือ (๓) ถูกทอดท้ิงหรือถูกปลอยปละละเลยใหอยูในสภาพแวดลอมอันอาจชักนําไป ในทางเสียหาย ๓) เดก็ ทอี่ ยใู นสภาพทจี่ าํ ตอ งไดร บั การคมุ ครองสวสั ดภิ าพตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง เรอื่ งกําหนดเดก็ ทอ่ี ยูในสภาพทีจ่ ําเปนตอ งไดรบั การคุม ครองสวสั ดภิ าพ พ.ศ.๒๕๔๙ ไดแก (๑) เดก็ ทต่ี อ งหาวา กระทาํ การอนั กฎหมายบญั ญตั เิ ปน ความผดิ แตอ ายยุ งั ไมถ งึ เกณฑ ตองรับโทษทางอาญา (๒) เด็กท่ีศาลหรือผูอํานวยการสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนสงมา รับการคุมครองสวัสดิภาพ และไมมีผูปกครองหรือผูใหการอุปการะเล้ียงดู หรือมีแตไมอยูในสภาพ ทจ่ี ะใหการดูแลเอาใจใสต อ เด็กได

๑๗ (๓) เด็กท่ีประกอบอาชีพท่ีนาจะเกิดอันตรายแกรางกายหรือจิตใจ หรือประกอบ อาชพี ในบริเวณทีเ่ สี่ยงอันตรายแกรา งกายหรือจติ ใจ (๔) เด็กที่อาศัยอยูกับบุคคลท่ีมีพฤติกรรมที่นาสงสัยวาประกอบอาชีพไมสุจริต หรือหลอกลวงประชาชน ¡Òä،Á¤ÃͧÊÇÑÊ´ÔÀÒ¾à´ç¡ การคุม ครองสวสั ดภิ าพเด็ก ไดก ําหนดไวใ นหมวด ๔ ของพระราชบญั ญตั คิ ุมครอง เดก็ ฯ ซึง่ มสี าระสําคัญ ดังน้ี ๑) เมอื่ มผี พู บเหน็ หรอื ประสบพฤตกิ ารณท น่ี า เชอื่ วา มกี ารกระทาํ ทารณุ กรรมตอ เดก็ ใหรบี แจงหรือรายงานตอพนักงานเจาหนา ที่ พนักงานฝายปกครองหรือตาํ รวจหรือผมู ีหนา ท่คี มุ ครอง สวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ อันไดแก ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ผูวาราชการจังหวัด ผูอํานวยการเขต นายอําเภอ ปลัดอําเภอ ผูเปนหัวหนาประจําก่ิงอําเภอ หรือ ผบู รหิ ารองคก ารปกครองสว นทอ งถ่ิน (มาตรา ๔๑ วรรคหนึ่ง) ๒) เม่ือพนักงานเจาหนาที่ พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ หรือผูที่มีหนาที่ คุมครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ ไดรับแจงเหตุ หรือเปนผูพบเห็นหรือประสบพฤติการณ ทนี่ า เชอื่ วา มกี ารกระทาํ ทารณุ กรรมตอ เดก็ ในสถานทใี่ ด ใหม อี าํ นาจเขา ตรวจจบั และมอี าํ นาจแยกตวั เดก็ จากครอบครัวของเดก็ เพื่อคมุ ครองสวสั ดิภาพเด็กโดยเรว็ ท่สี ดุ (มาตรา ๔๑ วรรคสอง) การแจงหรือรายงานตามมาตรา ๔๑ นี้หากไดกระทําโดยสุจริตยอมไดรับ ความคุม ครองและไมตอ งรบั ผดิ ทง้ั ทางแพง อาญา หรอื ทางปกครอง (มาตรา ๔๑ วรรคทา ย) ๓) ในการดําเนินการคุมครองสวัสดิภาพเด็กตองรีบจัดใหมีการตรวจรักษา ทางรา งกายและจิตใจทนั ที อาํ นาจหนา ทข่ี องพนกั งานเจา หนา ทใ่ี นการปฏบิ ตั งิ านตามพระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ ฯ พนักงานเจาหนาที่ หมายความวา ผูซ่ึงรัฐมนตรีแตงต้ังใหปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตนิ ้ี ในกรณขี องà¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨ¨Ð໹š ¾¹¡Ñ §Ò¹à¨ÒŒ ˹Ҍ ·μèÕ ÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¤Ô ÁŒØ ¤Ãͧഡç Ï μ‹ÍàÁ×èÍä´ŒÃѺ¡ÒÃá싧μéѧ¨Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕÇ‹Ò¡ÒáÃзÃǧ¡ÒþѲ¹ÒÊѧ¤ÁáÅФÇÒÁÁÑ蹤§¢Í§Á¹Øɏ โดยการยืน่ คํารองขอเปน พนกั งานเจา หนาทน่ี นั้ หากรบั ราชการหรอื มีถน่ิ ที่อยูใ นเขตกรุงเทพมหานคร ใหยื่นที่สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สําหรับในจังหวัดอื่น ใหยื่นท่ีสํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัด (ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย วาดวยการกําหนดแบบมีการประจําตัวพนักงานเจาหนาท่ี ตามพระราชบัญญัตคิ มุ ครองเดก็ พ.ศ.๒๕๔๖, พ.ศ.๒๕๔๗ ขอ ๔)

๑๘ พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองเดก็ ฯ ไดก าํ หนดอาํ นาจและหนา ทใ่ี หแ กพ นกั งานเจา หนา ท่ี เพ่ือประโยชนในการปฏบิ ัติตามพระราชบัญญตั ิ ไวเ ปน พิเศษในมาตรา ๓๐ กลาวคือ พนกั งานเจาหนา ท่ีตามพระราชบัญญตั ิคุมครองเด็ก มอี าํ นาจหนา ทดี่ ังนี้ (๑) เขา ไปในเคหสถาน สถานทใี่ ดๆ หรอื ยานพาหนะใดๆ ในระหวา งเวลาพระอาทติ ยข น้ึ ถึงพระอาทิตยตกเพื่อตรวจคน ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทําทารุณกรรมเด็ก มีการ กักขังหรือเล้ียงดูโดยมิชอบ แตในกรณีมีเหตุอันควรเช่ือวาหากไมดําเนินการในทันที เด็กอาจไดรับ อนั ตรายแกร า งกายหรอื จติ ใจ หรอื ถกู นาํ พาไปสถานทอี่ นื่ ซงึ่ ยากแกก ารตดิ ตามชว ยเหลอื กใ็ หม อี าํ นาจ เขาไปในเวลาภายหลงั พระอาทิตยต กได (๒) ซักถามเด็กเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวาเด็กจําตองไดรับการสงเคราะหหรือ คุม ครองสวสั ดภิ าพ ในกรณจี ําเปน เพื่อประโยชนแ กก ารสงเคราะหและคมุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ อาจนาํ ตวั เดก็ ไปยงั ทท่ี าํ การของพนกั งานเจา หนา ท่ี เพอื่ ทราบขอ มลู เกยี่ วกบั เดก็ และครอบครวั รวมทง้ั บคุ คลท่ี เดก็ อาศัยอยู ทงั้ นจี้ ะตองกระทาํ โดยมิชกั ชา แตไ มว า กรณใี ดจะกกั ตวั เดก็ ไวนานเกนิ กวาสิบสองช่วั โมง ไมไ ด เมอ่ื พน ระยะเวลาดงั กลา วใหป ฏบิ ตั ติ าม (๖) ระหวา งทเ่ี ดก็ อยใู นความดแู ลจะตอ งใหก ารอปุ การะ เลย้ี งดู และหากเจบ็ ปวยจะตอ งใหการรักษาพยาบาล (๓) มหี นงั สอื เรยี กผปู กครอง หรอื บคุ คลอน่ื ใดมาใหถ อ ยคาํ หรอื ขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั สภาพความเปน อยู ความประพฤติ สขุ ภาพ และความสมั พนั ธในครอบครัวของเดก็ (๔) ออกคาํ สงั่ เปน หนงั สอื ใหผ ปู กครองของเดก็ นายจา งหรอื ผปู ระกอบการ เจา ของ หรอื ผคู รอบครองสถานทที่ เี่ ดก็ ทาํ งานหรอื เคยทาํ งาน อาศยั หรอื เคยอาศยั อยู เจา ของหรอื ผคู รอบครอง หรือผูดูแลสถานศึกษาที่เด็กกําลังศึกษาหรือเคยศึกษา หรือผูปกครองสวัสดิภาพ สงเอกสาร หรือหลกั ฐานเกยี่ วกับสภาพความเปนอยู การศกึ ษา การทํางาน หรือความประพฤติของเด็กมาให (๕) เขาไปในสถานที่อยูอาศัยของผูปกครอง สถานที่ประกอบการของนายจาง ของเดก็ สถานศกึ ษาของเดก็ หรือสถานทท่ี ่เี ดก็ มีความเกีย่ วขอ งดวย ในระหวา งเวลาพระอาทิตยข ้ึน ถึงพระอาทติ ยตกเพ่อื สอบถามบคุ คลท่อี ยใู นท่ีน้ัน ๆ และรวบรวมขอมูลหรอื หลกั ฐานเก่ียวกบั สภาพ ความเปนอยู ความสมั พนั ธในครอบครวั การเลยี้ งดู อปุ นสิ ยั และความประพฤติของเด็ก (๖) มอบตัวเด็กใหแกผูปกครองพรอมกับแนะนําหรือตักเตือนผูปกครองใหดูแล และอุปการะเลยี้ งดเู ดก็ ในทางทีถ่ ูกตอง เพื่อใหเด็กไดร ับการพฒั นาในทางที่เหมาะสม (๗) ทํารายงานเกี่ยวกับตัวเด็กเพ่ือมอบใหแกสถานแรกรับในกรณีมีการสงเด็ก ไปยังสถานแรกรบั หรอื หนว ยงานทเ่ี ก่ียวของเมอื่ มีการรองขอ อยา งไรกต็ าม กรณที พ่ี นกั งานเจา หนา ทจ่ี ะเขา ไปในเคหสถานใดๆ หรอื ยานพาหนะ ใดๆ ตาม (๑) ซกั ถามเดก็ เมือ่ มีเหตุอันควรสงสัยตาม (๒) และเขาไปในสถานที่อยูอาศยั ของผปู กครอง ตาม (๕) พนักงานเจาหนาทต่ี องแสดงบตั รประจําตวั กอนและใหบ ุคคลทเี่ ก่ียวของอาํ นวยความสะดวก ตามสมควร (มาตรา ๓๐ วรรคสาม) หากผใู ดขดั ขวางไมใ หพ นกั งานเจา หนา ทป่ี ฏบิ ตั งิ านตอ งไดร ะวางโทษ จาํ คุกไมเกิน ๑ เดือน หรอื ปรบั ไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐ บาท หรือท้งั จําท้งั ปรบั (มาตรา ๘๐)

๑๙ °Ò¹¤ÇÒÁ¼´Ô áÅк·กาํ ˹´â·É μÒÁ ¾.Ã.º.¤ÁŒØ ¤ÃÍ§à´¡ç ¾.È.òõôö วา ดว ย มาตรา บทกําหนดโทษ ËÁÇ´ ñ ๗ - ๒๑ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒäÁØŒ ¤Ãͧഡç - ระงับการดาํ เนินคดีอาญา ---------------- ๒๒ - ๓๑ ม.๘๓ ว.๑ ดูหมวด ๙ ใน ËÁÇ´ ò ม.๒๔ “ฐาน ๒๘” ¡Òû¯ºÔ μÑ μÔ Í‹ à´ç¡ เวน โทษ ---------------- ๑. ¼Ù½Œ †Ò½¹„ º·ºÑÞÞÑμÔ ม.๘๓ ว.๑ ม.๘๓ ว.๒ - ดาํ เนินการแกไข หรอื - ปฏิบัติตามคําแนะนํา ของพนักงานเจาหนาท่ีหรือผูมีหนาท่ีคุมครอง สวัสดภิ าพเด็กตาม ม.๒๔ แลว ๒. กระทาํ หรอื ละเวน การกระทาํ อนั เปน การทารณุ กรรม ม.๒๖(๑) - จาํ คุกไมเกิน ๓ เดอื น หรือ ตอรางกายหรือจิตใจของเด็ก ความผิดภายใต ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรือ º·ºÑÞÞÑμÔáË‹§¡®ËÁÒÂÍè×¹ ไมวาเด็กจะยินยอม ม.๗๘ - ท้งั จําทง้ั ปรับ หรือไม ถา ความผดิ นโ้ี ทษตามกฎหมายอืน่ หนักกวา ใหต อ งโทษตามกฎหมายน้ี (ม.๒๖) ๓. จงใจหรือละเลยไมใหส่ิงจําเปนแกการดําçªÕÇÔμ ม.๒๖(๒) - จาํ คุกไมเ กนิ ๓ เดอื น หรอื หรือการÃÑ¡ÉÒ¾ÂÒºÒÅแกเด็กท่ีอยูในความดูแล ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรอื ของตนจน¹‹Ò¨Ðà¡Ô´ÍѹμÃÒÂแกรางกายหรือจิตใจ ม.๗๘ - ทั้งจาํ ทั้งปรับ ของเด็ก ๔. บังคับ ขูเข็ญ ชักจูง สงเสริม หรือยินยอมใหเด็ก ม.๒๖(๓) - จําคุกไมเ กิน ๓ เดือน หรือ ประพฤติตนไมสมควรหรือนาจะทําใหเด็ก ตองโทษ - ปรบั ไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.- หรอื มคี วาม»ÃоÄμÔàÊèÕ§μ‹Í¡ÒáÃÐทาํ ¼Ô´ ม.๗๘ - ท้ังจําท้งั ปรับ ม.๒๖ (๔) - จําคกุ ไมเกนิ ๓ เดอื น หรอื ๕. â¦É³Ò·Ò§Êè×ÍÁÇŪ¹หรือเผยแพรดวยประการใด ตองโทษ - ปรับไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.-หรอื เพื่อรับà´ç¡ËÃ×Í¡à´ç¡ãËŒแกบุคคลอ่ืนท่ีมิใชญาติ ม.๗๘ - ท้งั จําทัง้ ปรับ ของเด็ก (àÇŒ¹áμ‹เปนการกระทําของทางราชการ หรอื ไดรับอนญุ าตจากทางราชการแลว)

๒๐ วา ดว ย มาตรา บทกําหนดโทษ ๖. บังคับ ขเู ขญ็ ชกั จูง สงเสรมิ ยินยอม หรือกระทํา ม.๒๖ (๕) - จําคกุ ไมเ กนิ ๓ เดือน หรอื ตอ งโทษ - ปรับไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรือ ดวยประการใดใหเด็กไปเปน¢Í·Ò¹ เด็กเรรอน ม.๗๘ - ท้ังจาํ ทั้งปรับ หรือใชเด็กเปนเครื่องมือในการขอทานหรือการ กระทําผิดหรือกระทําดวยประการใดอันเปนการ áÊǧËÒ»ÃÐ⪹â´ÂÁԪͺจากเด็ก ๗. ใช จาง หรือวานเด็กใหทํางานหรือกระทําการ ม.๒๖ (๖) - จําคกุ ไมเกนิ ๓ เดอื น หรอื อั น อ า จ à » š ¹ ÍÑ ¹ μ Ã Ò Â แ ก  ร  า ง ก า ย ห รื อ จิ ต ใจ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๓๐,๐๐๐.-หรอื มีผลกระทบตอการเจริญเติบโต หรือขัดขวาง ม.๗๘ - ทั้งจาํ ทัง้ ปรบั ตอพฒั นาการของเด็ก ๘. บังคบั ขเู ขญ็ ใช ชกั จงู ยยุ ง สง เสรมิ หรือยินยอม ม.๒๖ (๗) - จาํ คุกไมเ กิน ๓ เดอื น หรือ ãËŒà´ç¡àÅ‹¹¡ÕÌÒหรือใหกระทําการใดเพื่อแสวงหา ตองโทษ - ปรับไมเกนิ ๓๐,๐๐๐.-หรอื ประโยชนทางการคา อันมีลักษณะเปนการ ม.๗๘ - ทัง้ จาํ ทงั้ ปรับ ขัดขวางตอการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการ ของเด็กหรือมีลักษณะเปนการทารุณกรรม ตอเด็ก ๙. ใชหรือยินยอมใหเด็กàÅ‹¹¡Òþ¹Ñ¹ไมวาชนิดใด ม.๒๖ (๘) - จาํ คุกไมเกนิ ๓ เดอื น หรอื หรือเขาไปในสถานท่ีเลนการพนัน สถาน¤ŒÒ ตองโทษ - ปรับไมเกิน ๓๐,๐๐๐.-หรอื »ÃÐàdzหÕ รือสถานทีท่ ่ีหา มมใิ หเ ด็กเขา ม.๗๘ - ทง้ั จาํ ทั้งปรับ ๑๐. บังคับ ขูเข็ญ ใช ชักจูง ยุยง สงเสริม หรือ ม.๒๖ (๙) - จาํ คกุ ไมเ กิน ๓ เดอื น หรอื ยินยอมใหเด็กแสดงหรือกระทําการอันมีลักษณะ ตองโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๓๐,๐๐๐.-หรือ Å Ò Á ¡ Í ¹ Ò ¨ Ò Ã ไ ม  ว  า จ ะ เ ป  น ไ ป เ พื่ อ ใ ห  ไ ด  ม า ม.๗๘ - ทง้ั จําทง้ั ปรบั ซง่ึ คา ตอบแทนหรือเพื่อการใด ๑๑. จําหนาย แลกเปล่ียน หรือãËŒÊØÃÒËÃ×ͺØËÃÕèá¡‹à´ç¡ ม.๒๖ (๑๐) - จําคกุ ไมเกิน ๓ เดอื น หรอื (àÇŒ¹áμ‹ การปฏบิ ตั ิทางการแพทย) ตองโทษ - ปรบั ไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.-หรือ ม.๗๘ - ท้งั จําท้งั ปรับ ๑๒. โฆษณาหรือเผยแพรทางสื่อมวลชนหรือส่ือสาร ม.๒๗ - จําคุกไมเ กิน ๖ เดือน หรอื สนเทศประเภทใด ซ่ึงขอมูลเก่ียวกับตัวเด็กหรือ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเ กิน ๖๐,๐๐๐.-หรือ ผูปกครองโดยเจตนาที่จะทําãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁàÊÕÂËÒ ม.๗๙ - ท้งั จาํ ท้ังปรบั แกจิตใจ ช่ือเสียง เกียรติคุณหรือสิทธิประโยชน อ่นื ใดของเดก็

๒๑ วาดว ย มาตรา บทกําหนดโทษ ๑๓. à¼Âá¾Ã‹·Ò§Êè×ÍÁÇŪ¹หรือส่ือสารสนเทศ ม.๒๗ - จาํ คกุ ไมเ กิน ๖ เดือน หรอื ตองโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๖๐,๐๐๐.-หรือ ประเภทใดซ่ึงขอมูลเก่ียวกับตัวเด็กหรือผูปกครอง ม.๗๙ - ทัง้ จําท้ังปรับ โดยเจตนาที่จะทําใหเกิดความเสียหายแกจิตใจ ชื่อเสียง เกียรติคุณหรือสิทธิประโยชนอ่ืนใด ม.๓๐ (๑) - จาํ คกุ ไมเ กิน ๑ เดือน หรอื ของเด็กหรือเพื่อแสวงหาประโยชน สําหรับตนเอง ตอ งโทษ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรอื หรอื ผูอน่ื â´ÂÁªÔ ͺ ม.๘๐ ว.๑ - ทั้งจําทัง้ ปรบั ๑๔. ¢Ñ´¢ÇÒ§ไมใหพนักงานเจาหนาที่เขาไปในเคหสถาน สถานที่ ยานพาหนะ ในระหวา งเวลาพระอาทติ ยข น้ึ ม.๓๐ (๑) - จาํ คุกไมเ กิน ๑ เดือน หรือ ถึงพระอาทิตยตกเพ่ือตรวจคน ในกรณีÁÕàËμØ ตองโทษ - ปรบั ไมเ กิน ๑๐,๐๐๐.-หรือ อันควรสงสัยวามีการกระทําทารุณกรรมเด็ก ม.๘๐ ว.๑ - ทัง้ จาํ ท้ังปรับ มีการกักขังหรอื เลี้ยงดูโดยมชิ อบ ๑๕. ¢Ñ´¢ÇÒ§ไมใหพนักงาน਌Ò˹ŒÒ·èÕࢌÒä»ã¹àÇÅÒ ม.๓๐ (๓) - จาํ คุกไมเกนิ ๑ เดอื น หรอื ËÅѧ¾ÃÐÍÒ·ÔμÂμ¡ เม่ือมีเหตุอันควรเชื่อวาหาก ตอ งโทษ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ ไมด าํ เนนิ การในทนั ทเี ดก็ อาจไดร บั อนั ตรายแกร า งกาย ม.๘๐ ว.๒ - ท้งั จําทงั้ ปรบั หรือจิตใจ หรือถูกนําพาไปสถานที่อ่ืนซึ่งยากแก ม.๓๐ (๔) - จาํ คกุ ไมเกิน ๑ เดือน หรือ การตดิ ตาม ชวยเหลอื ตองโทษ - ปรับไมเกนิ ๑๐,๐๐๐.-หรอื ๑๖. ã˶Œ ÍŒ ÂคําÍ¹Ñ à»¹š à·ç¨ ไมย อมมาใหถอ ยคาํ ไมย อม ม.๘๐ ว.๑ - ท้งั จาํ ท้ังปรับ ใหถอยคําโดยไมมีเหตุอันสมควรหรือตอพนักงาน ม.๓๐ (๕) - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ เดือน หรือ เจา หนาทีซ่ ง่ึ ปฏิบตั ิหนา ที่ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ ๑๗.äÁ‹ÂÍÁÊ‹§àÍ¡ÊÒÃหรือหลักฐานเกี่ยวกับสภาพ ม.๘๐ ว.๑ - ท้ังจาํ ทัง้ ปรับ ความเปน อยู การศกึ ษา การทาํ งาน หรอื ความประพฤติ ของเด็กมาให ๑๘. ¢Ñ´¢ÇÒ§äÁ‹ãËŒ¾¹Ñ¡§Ò¹à¨ŒÒ˹ŒÒ·ÕèࢌÒä»สถานที่อยู อาศยั ของผปู กครอง ของนายจา งของเดก็ สถานศกึ ษา ของเด็กหรือสถานท่ีที่เด็กมีความเกี่ยวของดวย ในระหวา งเวลาพระอาทติ ยขึน้ ถึงพระอาทิตยต ก

๒๒ วา ดวย มาตรา บทกาํ หนดโทษ ËÁÇ´ ó ๓๒ - ๓๙ ¡ÒÃʧà¤ÃÒÐˏഡç - จาํ คกุ ไมเกิน ๖ เดอื น หรือ ---------------- ๔๐ - ๔๗ - ปรับไมเกนิ ๖๐,๐๐๐.-หรือ ËÁÇ´ ô ม.๔๓ - ทง้ั จําท้งั ปรับ ¡ÒäØÁŒ ¤ÃͧÊÇÊÑ ´ÔÀҾഡç ตอ งโทษ - จาํ คกุ ไมเกิน ๖ เดือน หรือ ---------------- ม.๘๑ - ปรับไมเกนิ ๖๐,๐๐๐.-หรือ ๑๙. ผปู กครองหรอื ญาตขิ องเดก็ ฝา ฝน ขอ กาํ หนดของศาล - ท้งั จาํ ท้งั ปรับ ในการคุมความประพฤติ หามเขาเขตกําหนดหรือ ๔๘ - ๕๐ หา มเขาใกลตัวเด็กผถู ูกกระทาํ ทารณุ กรรม ม.๕๐ ตอ งโทษ ËÁÇ´ õ ม.๗๔ ¼¤ÙŒ ØÁŒ ¤ÃͧÊÇÑÊ´ÔÀÒ¾à´ç¡ ---------------- ๒๐. ผูปกครองสวัสดิภาพหรือผูคุมครองสวัสดิภาพเด็ก à»´ à¼ÂªèÍ× μÇÑ ªÍè× Ê¡ÅØ ÀÒ¾ËÃ×Í¢ŒÍÁÙÅเก่ยี วกับเดก็ ผูปกครอง ในลักษณะท่ีนาจะเกิดความเสียหายแก ชื่อเสียง เกียรติคุณ หรือสิทธิประโยชนของเด็ก หรอื ผปู กครอง ๒๑. ¾¹¡Ñ §Ò¹à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕ นกั สงั คมสงเคราะห นกั จติ วทิ ยา ม.๕๐ ว.๒ - จาํ คุกไมเ กนิ ๖ เดือน หรอื และผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพเด็ก ตาม ม.๒๔ ตองโทษ - ปรับไมเกิน ๖๐,๐๐๐.-หรือ ซ่ึงลวงรูขอมูลในการปฏิบัติหนาที่ของตน เปดเผย ม.๗๔ - ทัง้ จาํ ทั้งปรับ ใหเกิดความเสียหาย ๒๒. â¦É³ÒËÃÍ× à¼Âá¾Ã·‹ Ò§ÊÍ×è ÁÇŪ¹หรอื สอ่ื สารสนเทศ ม.๕๐ ว.๓ - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ เดอื น หรอื ซง่ึ ขอ มลู ทเี่ ปด เผยโดยฝา ฝน บทบญั ญตั ใิ นวรรคหนงึ่ ตอ งโทษ - ปรบั ไมเกนิ ๑๐,๐๐๐.-หรอื หรือวรรคสอง ม.๗๔ - ทง้ั จาํ ทั้งปรบั ËÁÇ´ ö - จาํ คุกไมเ กนิ ๑ เดอื น หรอื ๕๑ - ๖๒ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ ʶҹÃѺàÅéÂÕ §à´¡ç ʶҹáÃ¡ÃºÑ Ê¶Ò¹Ê§à¤ÃÒÐˏ ม.๕๒ - ทัง้ จําทั้งปรับ ʶҹ¤ØŒÁ¤ÃͧÊÇÑÊ´ÔÀÒ¾ áÅÐʶҹ¾Ñ²¹Ò áÅп¹œ„ ¿Ù ตองโทษ ---------------- ม.๘๒ ว.๑ ๒๓. ¨´Ñ μ§Ñé ËÃÍ× ดาํ à¹¹Ô ¡¨Ô ¡ÒÃสถานรบั เลยี้ งเดก็ สถานแรกรบั สถานสงเคราะห สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพหรอื สถาน พฒั นาและฟน ฟตู าม ม.๕๒ â´ÂÁäÔ ´ÃŒ ºÑ ãºÍ¹ÞØ Òμ หรือใบอนุญาตถูกเพิกถอน หรือหมดอายุ

๒๓ วาดวย มาตรา บทกาํ หนดโทษ ๒๔. กระทําการเปนผูปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับ ม.๕๕ - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ เดือน หรอื ตอ งโทษ - ปรับไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐.-หรือ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพและ ม.๘๔ - ทง้ั จําทัง้ ปรบั สถานพัฒนาและ¿¹„œ ¿Ùâ´ÂÁÔä´ŒÃºÑ á싧μ§éÑ ๒๕. เจาของ ผูปกครองสวัสดิภาพ และผูปฏิบัติงานใน ม.๖๑ - จําคกุ ไมเ กนิ ๖ เดือน หรอื สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๖๐,๐๐๐.-หรอื สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสถานพฒั นาและฟน ฟู ม.๗๙ - ทงั้ จําทั้งปรับ ทาํ รา ยรา งกายหรอื จติ ใจ กกั ขงั ทอดทง้ิ หรอื ลงโทษ เด็กที่อยูในความ»¡¤Ãͧ´ÙáÅâ´ÂÇÔ¸Õ¡ÒÃÃعáç ประการอ่ืน ËÁÇ´ ÷ ๖๓ - ๖๗ - จําคกุ ไมเกิน ๓ เดอื น หรอื ¡ÒÃʧ‹ àÊÃÔÁ¤ÇÒÁ»ÃоÄμ¹Ô ¡Ñ àÃÕ¹áÅй¡Ñ È¡Ö ÉÒ ม.๖๔ - ปรับไมเ กนิ ๓๐,๐๐๐.-หรอื ตอ งโทษ - ทง้ั จาํ ทั้งปรับ ---------------- ม.๘๕ ๒๖. กระทําการเปนการยุยง สงเสริม ชวยเหลือ หรือ สนับสนนุ ã˹Œ Ñ¡àÃÂÕ ¹ËÃ×͹¡Ñ ÈÖ¡ÉÒ½†Ò½„¹ ไมปฏบิ ตั ิ ตามกฎเกณฑท สี่ ถานศกึ ษาหรอื กฎกระทรวงกาํ หนด ๒๗. ไมอํานวยความสะดวกแกพนักงานเจาหนาที่ ม.๖๗ - จําคกุ ไมเ กนิ ๑ เดือน หรือ ท่ีปฏิบัติหนาท่ี เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยวามีการ ตองโทษ - ปรบั ไมเกิน ๑๐,๐๐๐.-หรอื ฝาฝนกฎหมายหรือระเบียบเก่ียวกับความประพฤติ ม.๘๖ - ทัง้ จําทัง้ ปรบั ของนักเรียนหรือนักศึกษาใหพนักงานเจาหนาที่ - จําคกุ ไมเกิน ๑ เดือน หรอื มีอํานาจเขาไปในเคหสถาน สถานท่ีหรือ ๖๘ - ๗๗ - ปรับไมเกิน ๑๐,๐๐๐.-หรือ ยานพาหนะใดๆ ในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้น ๗๘ - ๘๖ - ทัง้ จาํ ท้ังปรับ ถึงพระอาทิตยตก หรือในระหวางเวลาทําการ ม.๘๓ ว.๑ เพ่ือทําการตรวจสอบการฝา ฝน ËÁÇ´ ø ¡Í§·¹Ø ¤ØŒÁ¤Ãͧഡç ---------------- ËÁÇ´ ù º·¡íÒ˹´â·É ---------------- ๒๘.เจา ของหรอื ผปู กครองสวสั ดภิ าพของสถานรบั เลย้ี งเดก็ สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครอง สวสั ดภิ าพ หรอื สถานพฒั นาและฟน ฟผู ใู ดäÁ»‹ ¯ºÔ μÑ Ô μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¹Ô éÕ

๒๔ ô) ¡ÒäØÁŒ ¤ÃͧÊÔ·¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔÈÒÅàÂÒǪ¹áÅФÃͺ¤ÃÇÑ áÅÐÇ¸Ô ¾Õ Ô¨ÒóҤ´ÕàÂÒǪ¹áÅФÃͺ¤ÃÇÑ Ï (๑) การพิจารณาออกหมายจับ หากการออกหมายจับมีผลกระทบกระเทือน ตอ จติ ใจของเดก็ หรอื เยาวชนนน้ั อยา งรนุ แรงโดยไมจ าํ เปน ใหศ าลพยายามหลกี เลย่ี งการออกหมายจบั โดยใชวิธกี ารติดตามตัวเดก็ หรือเยาวชนนน้ั ดวยวิธอี ่นื กอน (มาตรา ๖๗) (๒) การจับและควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชน ตองกระทําดวยความละมุนละมอม โดยคาํ นึงถงึ ศกั ดิศ์ รีความเปน มนุษยแ ละไมเ ปน การประจานเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๖๙ วรรค ๓) (๓) หา มมใิ หค วบคมุ คมุ ขงั กกั ขงั คมุ ความประพฤตหิ รอื ใชม าตรการอนั มลี กั ษณะ เปน การจาํ กดั สทิ ธเิ สรภี าพเดก็ หรอื เยาวชน ซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ หรอื เปน จาํ เลย เวน แตม หี มาย หรอื คําส่งั ศาลหรือเปน กรณีการควบคุมเทาทีจ่ าํ เปน เพื่อดาํ เนนิ การซักถาม แจงขอ กลาวหา แจง สิทธิ ตามกฎหมายหรือตรวจสอบการจับกุมตามมาตรา ๖๙ ๗๐ ๗๒ (มาตรา ๖๘) หามควบคุม เด็กหรือเยาวชนที่ถูกกลาวหา ปะปนกับผูใหญ และหามควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชนนั้นไวในหองขัง ที่จัดไวสําหรับผตู อ งหาทเี่ ปนผูใหญ (มาตรา ๑๒๙) (๔) หา มมใิ หใชว ธิ กี ารควบคมุ เกินกวาท่ีจําเปนเพ่อื ปองกันการหลบหนี เพอื่ ความ ปลอดภยั ของเดก็ หรอื เยาวชนนน้ั ผถู กู จบั หรอื บคุ คลอน่ื และมใิ หใ ชเ ครอ่ื งพนั ธนาการแกเ ดก็ ไมว า กรณี ใดๆ เวน แตม คี วามจาํ เปน อยา งยงิ่ อนั มอิ าจหลกี เลย่ี งได เพอ่ื ปอ งกนั การหลบหนหี รอื เพอ่ื ความปลอดภยั ของเด็กผูถูกจบั หรือบุคคลอ่นื (มาตรา ๖๙ วรรคสาม และมาตรา ๑๐๓) (๕) ใหศาลแตงต้ังท่ีปรึกษากฎหมาย หากเด็กหรือเยาวชนไมมีท่ีปรึกษากฎหมาย (มาตรา ๗๓ และมาตรา ๑๒๐) (๖) การพิจารณาคดีอาญาท่ีเด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย ตองกระทําในหองท่ี มิใชหองพิจารณาคดีธรรมดา แตถาไมอยูในวิสัยที่จะกระทําได จะตองไมปะปนกับการพิจารณาคดี ธรรมดา และเฉพาะบุคคลท่เี กย่ี วของกับกรณเี ทา นั้นท่ีจะมีสทิ ธเิ ขา ฟง การพิจารณา (มาตรา ๑๐๗ และ มาตรา ๑๐๘) (๗) การพิจารณาคดีอาญาท่ีเด็กหรือเยาวชนเปนจําเลย ใหใชถอยคําท่ีจําเลย สามารถเขาใจงาย กับตองใหโอกาสจําเลย บิดา มารดา ผูปกครองหรือบุคคลที่จําเลยอาศัยอยูดวย หรอื บคุ คลทเ่ี กี่ยวของ แถลงขอ เทจ็ จรงิ ความรูสกึ และแสดงความคดิ เห็น ตลอดจนระบุและซักถาม พยานได ไมว า ในเวลาใดๆ ระหวา งทมี่ กี ารพจิ ารณาคดนี น้ั การพจิ ารณาคดอี าญานไี้ มจ าํ ตอ งดาํ เนนิ การ ตามกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาโดยเครง ครัด (มาตรา ๑๑๔) (๘) แมวามีคําพิพากษาหรือคําสั่งลงโทษหรือใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชน แลว ก็ตาม หากตอ มาขอ เทจ็ จริงหรือพฤตกิ ารณทีศ่ าลใชใ นการพจิ ารณาคดีเปล่ยี นแปลงไป เมอ่ื มเี หตุ อนั สมควร ศาลทพี่ จิ ารณาคดนี นั้ กม็ อี าํ นาจแกไ ขเปลย่ี นแปลงคาํ พพิ ากษา หรอื คาํ สง่ั หรอื วธิ กี ารสาํ หรบั เด็กและเยาวชนได

๒๕ ในกรณีศาลท่ีแกไขเปลี่ยนแปลงคําพิพากษา หรือคําส่ัง หรือวิธีการสําหรับเด็ก หรอื เยาวชน ไมใ ชศ าลทพี่ พิ ากษาคดหี รอื ออกคาํ สง่ั ลงโทษเดก็ หรอื เยาวชนนน้ั ใหศ าลทส่ี งั่ เปลย่ี นแปลง แกไ ขคําพิพากษาหรือคําส่ังนั้น แจง ใหศ าลทเี่ ปน ผูพิพากษาตดั สินคดที ราบ (มาตรา ๑๓๗) õ) ¡ÒäØÁŒ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸àÔ ´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¤Ô ÁØŒ ¤Ãͧáç§Ò¹ เนอื่ งจากเด็กมีสภาพรางกาย ตลอดจนสติปญ ญายงั มคี วามพรอ มไมเพยี งพอทจ่ี ะ ทํางานเชนเดียวกบั ผใู หญ จงึ ตอ งมกี ฎหมายคมุ ครองเปนพิเศษ áç§Ò¹à´ç¡ หมายถึง แรงงานจากลกู จางซึ่งเปนเดก็ อายุต้งั แต ๑๕ ปข น้ึ ไป แตย งั ไมถ งึ ๑๘ ป พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฯ มาตรา ๔๔ กําหนดหามนายจางจางเด็กอายุ ตํ่ากวา ๑๕ ป เปนลูกจาง หากนายจางฝาฝนระวางโทษปรับตั้งแตสี่แสนบาทถึงแปดแสนบาท ตอลูกจางหนงึ่ คนหรือจําคุกไมเกินสองป หรอื ท้ังจําทง้ั ปรับ (มาตรา ๑๔๘/๑) พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฯ มาตรา ๔๙ ไดกําหนดงานท่ีหามมิใหนายจาง ใหล กู จา งซึง่ เปน เดก็ อายตุ าํ่ กวา ๑๘ ปทํางาน ดังนี้ (๑) งานหลอม เปา หลอ หรอื รดี โลหะ (๒) งานปม โลหะ (๓) งานเกี่ยวกับความรอ น ความเยน็ ความสั่นสะเทอื น เสยี ง และแสงที่มรี ะดับ แตกตางจากปกติ อนั อาจเปน อนั ตรายตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง (๔) งานเกยี่ วกับสารเคมที ี่เปนอนั ตรายตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง (๕) งานเก่ียวกับจุลชีวันเปนพิษ ซ่ึงอาจเปนเชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเชื้ออื่น ตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง (๖) งานเกยี่ วกับวตั ถมุ ีพิษ วตั ถุระเบิด หรือวตั ถุไวไฟ เวน แตง านในสถานีบรกิ าร น้าํ มันเชอื้ เพลิงตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง (๗) งานขบั หรือบังคบั รถยกหรือปนจั่นตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง (๘) งานใชเลือ่ ยเดนิ ดว ยพลงั ไฟฟา หรือเครอ่ื งยนต (๙) งานที่ตองทาํ ใตดิน ใตน ํา้ ในถํา้ อุโมงค หรือปลองในภเู ขา (๑๐) งานเก่ียวกบั กัมมันตภาพรังสตี ามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง (๑๑) งานทาํ ความสะอาดเครอื่ งจกั รหรอื เครอ่ื งยนตข ณะทเี่ ครอื่ งจกั รหรอื เครอ่ื งยนต กาํ ลงั ทาํ งาน (๑๒) งานทีต่ องทาํ บนนง่ั รา นท่สี งู กวาพ้นื ดนิ ต้งั แตส บิ เมตรข้ึนไป (๑๓) งานอ่ืนตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง

๒๖ ซงึ่ งานทร่ี ัฐมนตรวี าการกระทรวงแรงงานฯ ไดออกกฎกระทรวงฉบับที่ ๖ (พ.ศ.๒๕๔๑) หามมิใหนายจางใหล กู จา งซ่งึ เปน เดก็ อายุตํา่ กวา ๑๘ ปทํา ไดแก (๑) งานเกี่ยวกบั ความรอน ความเย็น ความสน่ั สะเทอื น และเสียงอนั อาจเปน อนั ตราย ดงั ตอ ไปน้ี (ก) งานซ่ึงทําในท่ีท่ีมีอุณหภูมิในสภาวะแวดลอมในการทํางานสูงกวาส่ีสิบหา องศาเซลเซยี ส (ข) งานซ่ึงทําในหองเย็นในอุตสาหกรรมการผลิตหรือการถนอมอาหารโดยการ ทาํ เยือกแขง็ (ค) งานทใ่ี ชเ ครือ่ งเจาะกระแทก (ง) งานทมี่ ีระดับเสยี งท่ีลูกจางไดร ับตดิ ตอกันเกินแปดสิบหา เดซิเบล (เอ) ในการ ทาํ งานวันละแปดช่วั โมง (๒) งานเกี่ยวกับสารเคมีที่เปนอันตราย วัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟ ดงั ตอไปน้ี (ก) งานผลิตหรือขนสง สารกอ มะเรง็ ตามรายชือ่ ในบัญชีทา ยกฎกระทรวงนี้ (ข) งานทเี่ กี่ยวขอ งกับสารไซยาไนด (ค) งานผลิตหรือขนสง พลุ ดอกไมเพลงิ หรอื วัตถรุ ะเบิดอื่น ๆ (ง) งานสํารวจ ขดุ เจาะ กลั่น บรรจุ หรือขนถา ยน้าํ มันเชื้อเพลิงหรือกา ซ เวน แต งานในสถานบี รกิ ารน้าํ มนั เชื้อเพลิง (๓) งานเกี่ยวกับจุลชีวันเปนพิษซ่ึงอาจเปนเช้ือไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเช้ืออื่น ดังตอ ไปนี้ (ก) งานที่ทําในหองปฏบิ ตั กิ ารชนั สูตรโรค (ข) งานดูแลผูปว ยดว ยโรคตดิ ตอ ตามกฎหมายวา ดวยโรคติดตอ (ค) งานทาํ ความสะอาดเครื่องใชแ ละเครื่องนงุ หม ผูปว ยในสถานพยาบาล (ง) งานเก็บ ขน กําจัดมลู ฝอยหรือส่ิงปฏกิ ูลในสถานพยาบาล (๔) งานขับหรือบังคับรถยกหรือปนจั่นที่ใชพลังงานเครื่องยนตหรือไฟฟาไมวาการขับ หรือบังคบั จะกระทําในลักษณะใด (๕) งานเกี่ยวกับกมั มันตภาพรังสีทุกชนดิ นอกจากจะกําหนดประเภทงานที่หามจางเด็กอายุตํ่ากวา ๑๘ ป ทํางานแลว พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฯ มาตรา ๕๐ กําหนด หามมิใหนายจางจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุ ตํ่ากวา ๑๘ ป ทาํ งานในสถานทดี่ งั ตอไปนี้

๒๗ มาตรา ๕๐ หา มมใิ หน ายจา งใหล กู จา งซง่ึ เปน เดก็ อายตุ าํ่ กวา สบิ แปดปท าํ งานในสถานที่ ดงั ตอไปนี้ (๑) โรงฆา สัตว (๒) สถานที่เลน การพนัน (๓) สถานบรกิ ารตามกฎหมายวา ดวยสถานบรกิ าร (๔) สถานท่ีอ่ืนตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง เชน กฎกระทรางกําหนดสถานท่ีท่ีหาม นายจางใหลูกจา งซง่ึ เปน เดก็ อายตุ ํา่ กวา ๑๘ ปทาํ งาน พ.ศ.๒๕๕๙ ไดแก - โรงงานประกอบกจิ การเกี่ยวกบั สัตวนํ้า ตามกฎหมายวาดวยโรงงาน - สถานประกอบกจิ การทปี่ ระกอบกจิ การเกย่ี วกบั การแปรรปู สตั วน าํ้ ตามพระราช บัญญัตกิ าํ หนดการประมง พ.ศ.๒๕๕๘ หากนายจางฝา ฝน มาตรา ๔๙ หรอื มาตรา ๕๐ หรือกฎกระทรวงทอ่ี อกตามมาตรา ๒๒ (ซงึ่ เกยี่ วกบั งานเกษตรกรรม งานประมงทะเล งานบรรทกุ หรอื ขนถา ยสนิ คา เปน ตน ) ในสว นทเี่ กย่ี วกบั การหา มมใิ หน ายจา ง จา งลกู จา ง ซง่ึ เปน เดก็ อายตุ า่ํ กวา ๑๘ ป ทาํ งานตามประเภทของงาน และสถานท่ี ทกี่ าํ หนด ตอ งระวางโทษปรบั ตงั้ แตส แี่ สนบาทถงึ แปดแสนบาทตอ ลกู จา งหนงึ่ คน หรอื จาํ คกุ ไมเ กนิ สองป หรอื ทง้ั จาํ ทงั้ ปรบั (มาตรา ๑๔๘/๒) และหากการกระทาํ ความผดิ ดงั กลา วเปน เหตใุ หล กู จา งไดร บั อนั ตราย แกกายหรือจิตใจหรือถึงแกความตาย ตองระวางโทษปรับต้ังแตแปดแสนถึงสองลานบาทตอลูกจาง หน่ึงคน หรอื จาํ คกุ ไมเกินส่ีปหรอื ทง้ั ปรับทัง้ จํา (มาตรา ๑๔๘/๒ วรรคทา ย) º·ÊÃ»Ø ประเทศไทยไดบ ญั ญตั กิ ฎหมายหลายฉบบั เพอื่ คมุ ครองสทิ ธเิ ดก็ ทเี่ ขา สกู ระบวนยตุ ธิ รรม ทางอาญา โดยการปรับปรุงแกไขกฎหมายที่มีอยูเดิมและบัญญัติกฎหมายใหมเพื่อใหสอดคลองกับ อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก และกฎอันเปนมาตรฐานข้ันตํ่า ของสหประชาชาติวาดวยการบริหารงาน ยุตธิ รรมเก่ยี วกับคดีเดก็ และเยาวชน หรอื กฎแหง กรุงปก ก่ิง

๒๘

๒๙ º··èÕ ó á¹Ç·Ò§»¯ÔºμÑ ¢Ô ͧ਌Ҿ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨ ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤ ๑. เพื่อสรางความเขาใจในแนวทางการปฏิบัติหนาท่ีตามกฎหมายและอํานาจหนาที่ ของเจาพนักงานตํารวจ ๑.๑ การออกหมายจบั เดก็ หรอื เยาวชน ๑.๒ การจบั กุมเดก็ หรอื เยาวชน ๑.๓ การเขียนบนั ทกึ การจบั กมุ เด็กหรือเยาวชน ๑.๔ การตรวจสอบการจบั เดก็ หรอื เยาวชน ตามจดุ ประสงคท พี่ ระราชบญั ญตั ศิ าล เยาวชนและครอบครัวฯ กําหนดศาลทาํ การตรวจสอบการจบั ๑.๕ การปฏิบตั ิของเจาพนักงานตํารวจในการคน ๑.๖ การปฏิบัติในการจดบันทึกคํารองทุกขใ นคดที ผี่ เู สยี หายเปน เดก็ หรือเยาวชน º·นํา เจาพนักงานตํารวจตองสรางความเขาใจในการปฏิบัติงานวา เด็กมีความสําคัญตอ การพัฒนาประเทศ รัฐจึงจําเปนตองคุมครองดูแลเด็ก ขณะเดียวกันหากเด็กพลาดพลั้ง ไปกระทํา ความผิดดวยเพราะเหตุท่ีออนดอยประสบการณ ขาดความยั้งคิดหรือดวยเหตุใดก็ตาม เพ่ือใหเด็ก เหลา นนั้ ไดม โี อกาสกลบั ตวั เปน คนดขี องสงั คมในอนาคต ซง่ึ จาํ เปน ทจี่ ะตอ งมวี ธิ ดี าํ เนนิ การเกยี่ วกบั เดก็ เปนการเฉพาะ เพื่อใหสอดคลองกบั หลกั สากล ¡ÒÃÍÍ¡ËÁÒ¨Ѻഡç ËÃÍ× àÂÒǪ¹ การพิจารณาออกหมายจับเดก็ หรอื เยาวชน ซึง่ ตองหาวากระทาํ ความผิดนน้ั จะตอ งอยู ภายใตห ลกั เกณฑ ดงั นี้ ๑) จะตองอยูภายใตหลักเกณฑของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖๖ กลาวคือ (๑) เมอื่ มหี ลกั ฐานตามสมควรวา บคุ คลใดนา จะไดก ระทาํ ความผดิ อาญา ซงึ่ มอี ตั รา โทษจําคุกอยางสงู เกิน ๓ ป หรือ (๒) เมอ่ื มหี ลกั ฐานตามสมควรวา บคุ คลใดนา จะไดก ระทาํ ความผดิ อาญาและมเี หตุ อันควรเช่อื วา จะหลบหนหี รอื จะไมย งุ เหยงิ กับพยานหลักฐาน หรอื กอเหตอุ นั ตรายประการนั้น ถาบุคคลนั้นไมมีที่อยูเปนหลักแหลง หรือไมมาตามหมายเรียก หรือตามนัด โดยไมม ีขอ แกต ัวอนั ควร ใหสันนษิ ฐานวาบคุ คลนั้นจะหลบหนี

๓๐ ๒) ในการพิจารณาออกหมายจับเด็กหรือเยาวชน ซ่ึงตองหาวากระทําความผิดนั้น นอกจากศาลจะพิจารณาถึงเหตุที่จะออกหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖๖ แลว พระราชบัญญตั ศิ าลเยาวชนและครอบครวั ฯ มาตรา ๖๗ ยงั กําหนดหลกั เกณฑด ังน้ี (๑) ใหศ าลคาํ นงึ ถงึ การคมุ ครองสทิ ธเิ ดก็ หรอื เยาวชนเปน สาํ คญั โดยเฉพาะในเรอื่ ง อายุ เพศ และอนาคตของเด็กหรือเยาวชน ทพ่ี งึ ไดรบั การพัฒนาและปกปองคุม ครอง (๒) หากการออกหมายจับจะมีผลกระทบกระเทือนตอจิตใจของเด็กหรือเยาวชน อยา งรนุ แรงโดยไมจ าํ เปน ใหพ ยายามหลกี เลย่ี งการออกหมายจบั โดยใชว ธิ ตี ดิ ตามตวั เดก็ หรอื เยาวชน นนั้ ดว ยวธิ ีอน่ื กอ น ¡ÒèѺ¡ÁØ à´¡ç ËÃÍ× àÂÒǪ¹ เน่ืองจากเด็กมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ รัฐจึงจําเปนตองคุมครองดูแลเด็ก ขณะเดยี วกนั หากเดก็ พลาดพลง้ั ไปกระทาํ ความผดิ ดว ยเพราะเหตทุ อ่ี อ นดอ ยประสบการณ ขาดความยง้ั คดิ หรือดวยเหตุใดก็ตาม เพื่อใหเด็กเหลานั้นไดมีโอกาสกลับตัวเปนคนดีของสังคมในอนาคต ซ่ึงจําเปน ท่จี ะตองมวี ธิ กี ารดําเนินการเกย่ี วกับเด็กเปนการเฉพาะ เพื่อใหส อดคลองกบั หลกั สากล พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ไดกําหนดหลักเกณฑในการจับกุมเด็ก หรอื เยาวชนนน้ั ซงึ่ ตองหาวา กระทาํ ความผดิ ไวในมาตรา ๖๖ กลาวคือ ¡Ã³àÕ ´¡ç ซง่ึ หมายถงึ บคุ คลอายยุ งั ไมเ กนิ ๑๕ ปบ รบิ รู ณ “ËÒŒ ÁÁãÔ Ë¨Œ ºÑ ¡ÁØ à´¡ç ” ซง่ึ ตอ งหา วา กระทําความผิด àÇŒ¹áμ‹ (๑) เด็กกระทาํ ความผดิ ซึ่งหนา (๒) มีหมายจบั หรือมีคาํ ส่ังของศาล กรณีเยาวชน ซ่ึงหมายถึง บุคคลอายุเกิน ๑๕ ปบริบูรณ แตยังไมถึง ๑๘ ปบริบูรณ ซ่ึงตองหาวากระทําความผิด ใหปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กลาวคือ เจา พนักงานตาํ รวจจะจับผใู ดโดยไมม ีหมายจับหรือคาํ ส่ังศาลไมได เวน แต (๑) เม่อื บุคคลนั้นไดก ระทาํ ความผิดซง่ึ หนา (๒) เมอื่ พบบุคคลโดยมพี ฤตกิ ารณอ นั ควรสงสัยวา ผนู นั้ นาจะกอเหตรุ าย ใหเ กดิ ภยันตรายแกบคุ คลหรือทรพั ยสินของบุคคลอนื่ โดยมีเครื่องมอื อาวุธ หรือวตั ถุอยา งอ่ืนอันสามารถ อาจใชใ นการกระทาํ ความผดิ (๓) เมื่อมีเหตุท่ีจะออกหมายจับบุคคลนั้น เนื่องจากมีหลักฐานตามสมควรวา บคุ คลนนั้ นา จะไดก ระทาํ ความผดิ อาญา และมเี หตอุ นั ควรเชอ่ื วา จะหลบหนหี รอื จะไปยงุ เหยงิ กบั พยาน หลักฐาน หรือกอเหตุอันตรายประการอื่น แตมีความจําเปนเรงดวนท่ีไมอาจขอใหศาลออกหมายจับ บุคคลนน้ั ได (๔) เปนการจับกุมผูตองหาหรือจําเลยที่หนีหรือจะหลบหนีในระหวางถูกปลอย ชั่วคราว ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๑๗

๓๑ ขอ สงั เกต กรณี“à´¡ç ”คาํ วา กระทาํ ซง่ึ หนา มคี วามหมายวา กระทาํ ผดิ ตอ หนา ผจู บั ดงั นนั้ หากเดก็ กระทาํ ความผดิ ซงึ่ หนา ตอ ผเู สยี หายแมผ เู สยี หาย จะชตี้ วั และยนื ยนั ใหจ บั กไ็ มอ าจจบั เดก็ นน้ั ได แมว า พ.ร.บ.จดั ตงั้ ศาลเยาวชนฯ พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๔๙ จะอนญุ าตใหจ บั ได กรณที ผ่ี เู สยี หาย ชตี้ วั ยนื ยนั ใหจ บั โดยแจง วา มกี ารรอ งทกุ ขแ ลว แตเ นอื่ งจาก พ.ร.บ.จดั ตงั้ ศาลเยาวชนฯ ไดถ กู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ พ.ศ.๒๕๕๓ และ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ฉบับนี้ ก็ไมไดระบกุ รณีการจับกรณนี ีไ้ ว ดวยเหตุผล เพือ่ ใหเ ดก็ ไดร ับ ความคุมครองมากขนึ้ (ศาลเยาวชนและครอบครวั จงั หวัดศรีสะเกษ, ๒๕๕๔) กรณี “àÂÒǪ¹” ยังคงใชหลักการเดิม ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖๖ á¹Ç·Ò§»¯ºÔ μÑ ¢Ô ͧà¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨ㹡ÒèºÑ ¡ØÁà´ç¡ËÃ×ÍàÂÒǪ¹ เพื่อสรางความเขาใจในการปฏิบัติงานของเจาพนักงานตํารวจในการจับกุมเด็ก หรือ เยาวชนนน้ั จึงขอสรปุ สาระสาํ คัญท่ีกาํ หนดไวในกฎหมายเปนขอ ๆ ดงั ตอไปนี้ ๑. ในการจับกมุ เดก็ หรอื เยาวชนนนั้ เจาพนกั งานตํารวจผทู าํ การจบั กมุ จะตอ ง - แจง ใหเ ด็กหรอื เยาวชนน้ันวา เขาถูกจบั และ - แจง ขอ กลา วหา รวมทง้ั สทิ ธิตามกฎหมาย เชน มที ป่ี รึกษากฎหมายรวมในการ สอบปากคํา เด็กหรือเยาวชนมีสิทธิท่ีจะใหการหรือไมใหการก็ได และถอยคําน้ันอาจใชเปนพยาน หลกั ฐานในการพจิ ารณาคดีได โดยคาํ นงึ ถงึ อายุ เพศ และสภาพจติ ดวย (มาตรา ๗๕ วรรคสอง) - หากมีหมายจบั จะตอ งแสดงหมายจบั ใหก บั เดก็ หรือเยาวชนผนู นั้ รับรูด ว ย - จากนนั้ จะตอ งนาํ ตวั เดก็ หรอื เยาวชนผถู กู จบั ไปยงั ทที่ าํ การของพนกั งานสอบสวน ทองทที่ ถ่ี กู จบั ทันที หากพนักงานสอบสวนทองที่ที่ถูกจับนั้น มิใชเปนผูรับผิดชอบคดีก็ใหสงตัวเด็ก หรือเยาวชนน้ันไปยงั สถานท่ที าํ การของพนักงานสอบสวนผูรบั ผดิ ชอบโดยเรว็ (มาตรา ๖๙ วรรคแรก) ๒. แจง ใหผ ปู กครอง ทราบถึงการจบั เดก็ หรอื เยาวชน ๒.๑) ขณะเจา พนกั งานตาํ รวจจบั กมุ เดก็ หรอื เยาวชน ซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ นน้ั มีผูปกครอง ซ่ึงไดแก บิดา มารดา ผูปกครอง บุคคลหรือผูแทนองคกร ซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัย อยดู วย อยดู วยในขณะทท่ี าํ การจบั กมุ นนั้ ใหเ จาพนักงานตาํ รวจผูจับกมุ - แจงเหตแุ หงการจับใหบคุ คลดังกลาวทราบ และ - ในกรณที เี่ ปน ความผดิ อาญา ซงึ่ มอี ตั ราโทษอยา งสงู ตามทกี่ ฎหมายกาํ หนดไว จําคุกไมเกิน ๕ ป เจาพนักงานตํารวจจับกุม จะส่ังใหบุคคลดังกลาวเปนผูนําตัวเด็กหรือเยาวชนนั้น ไปยังที่ทําการของพนักงานสอบสวนแหง ทอ งทท่ี ถ่ี กู จบั กไ็ ด

๓๒ ๒.๒) ขณะเจา พนกั งานตาํ รวจจบั กมุ เดก็ หรอื เยาวชน ซงึ่ ตอ งหาวา กระทาํ ความผดิ นั้น ไมม ีผปู กครองดังกลาวอยกู บั ผูถูกจับใหเ จาพนกั งานตาํ รวจผูจบั กุม - แจง ใหบ คุ คลดงั กลา วคนใดคนหนงึ่ ทราบถงึ การจบั กมุ ในโอกาสแรกเทา ท่ี สามารถกระทําได และ - หากผถู กู จบั ประสงคจ ะตดิ ตอ สอ่ื สารหรอื ปรกึ ษาหารอื กบั บคุ คลเหลา นนั้ ซง่ึ ไมเ ปน อปุ สรรคตอ การจบั กมุ และอยใู นวสิ ยั ทจ่ี ะดาํ เนนิ การไดใ หเ จา พนกั งานตาํ รวจผจู บั ดาํ เนนิ การ ใหต ามสมควรแกก รณีโดยไมชกั ชา (มาตรา ๖๙ วรรคสอง) ๓. วิธีการจับกุมและควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชน ซ่ึงตองหาวากระทําความผิด เจาพนักงานตาํ รวจผจู ับกุมจะตองกระทําการจบั กมุ - ดวยความละมนุ ละมอม และ - คาํ นงึ ถึงศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย และไมเ ปน การประจานเด็กหรือเยาวชน และ - หามมิใหใชวิธีการควบคุมเกินกวาท่ีจําเปน เพ่ือปองกันการหลบหนีหรือ เพื่อความปลอดภยั ของเดก็ หรอื เยาวชนผถู ูกจบั หรอื บุคคลอืน่ - ไมใหใชเครื่องพันธนาการไมวากรณีใดๆ เวนแต มีความจําเปนอยางอื่น อันมอิ าจหลีกเลี่ยงไดเพอ่ื ปองกันการหลบหนี หรือเพอื่ ความปลอดภัยของผถู กู จบั หรือบุคคลอ่ืน (มาตรา ๖๙ วรรคสาม) ๔. บันทึกการจับกุม กอนสงตัวเด็กหรือเยาวชนผูถูกจับไปใหกับพนักงานสอบสวน แหง ทองท่ีทีถ่ กู จบั นน้ั ใหเจาพนกั งานตาํ รวจผจู ับกุม - ทาํ บนั ทกึ การจบั กมุ โดยแจง ขอ กลา วหาและรายละเอยี ดเกยี่ วกบั เหตแุ หง การจบั ใหผถู กู จบั ทราบ - หามมิใหถ ามคาํ ใหการผถู กู จบั - ถา ขณะทาํ บนั ทกึ ดงั กลา ว มบี ดิ า มารดา ผปู กครอง หรอื บคุ คลหรอื ผแู ทนองคก าร ซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวย อยูในขณะนั้นดวย เจาพนักงานตํารวจตองทําบันทึกตอหนาบุคคล ดังกลาวและจะใหล งลายมอื ช่ือเปน พยานดว ยกไ็ ด - ถอยคําของเด็กหรือเยาวชนในชั้นจับกุม มิใหศาลรับฟงเปนพยานเพื่อพิสูจน ความผิดของเดก็ หรอื เยาวชน แตศาลอาจนํามาฟง เปน คณุ แกเ ด็กหรือเยาวชนได (มาตรา ๕๙ วรรคทาย) ๕. หามบันทึกภาพ เพื่อเปนการคุมครองสิทธิเด็กหรือเยาวชน ซ่ึงตองหาวากระทํา ความผิด หามมิใหเจาพนักงานผูจับกุมเด็กหรือเยาวชน หรือพนักงานสอบสวน จัดใหมีหรืออนุญาต ใหมี หรือยินยอมใหมีการถายภาพ หรือบันทึกภาพเด็กหรือเยาวชน ซ่ึงตองหาวากระทําความผิด เวน แต เพอื่ ประโยชนในการสอบสวน (มาตรา ๗๖)

๓๓ ๖. ไมว า กรณใี ดๆ กต็ าม หา มมิใหผ ตู อ งหาทเ่ี ปน เดก็ อายไุ มเกิน ๑๘ ปบริบูรณ ไปช้ี ทเี่ กดิ เหตปุ ระกอบคาํ รบั สารภาพ เพราะจะเปน การประจานเดก็ และอาจเปน การกระทาํ ผดิ ตามกฎหมาย เดก็ รวมทง้ั หา มมใิ หน าํ ผตู อ งหาไปขอขมาศพหรอื บดิ า มารดา สามี ภรรยา มติ รสหาย หรอื ผปู กครอง ของผูตาย นอกจากนี้ หามนําผูเสียหาย พยานเขารวมในการชี้ที่เกิดเหตุประกอบคํารับสารภาพ ของผูตองหาเปนอันขาด โดยเฉพาะผูเสียหายที่เปนเด็ก สตรี พระภิกษุ สามเณร นักพรต นักบวช (คําส่ัง สํานักงานตํารวจแหงชาติ ท่ี ๔๑๙/๒๕๕๖ เร่ือง การอํานวยความยุติธรรมในทางอาญา ขอ ๖.๑๐.๒) ¡ÒÃμÃǨÊͺ¡ÒèºÑ การตรวจสอบการจบั เปน วธิ กี ารพทิ กั ษส ทิ ธเิ ดก็ และเยาวชนในเบอ้ื งตน เพราะเมอ่ื พนกั งาน สอบสวนไดรบั ตัวเดก็ หรอื เยาวชน ซึ่งถูกจบั แลว พนักงานสอบสวนตอ งนาํ ตัวเด็กหรือเยาวชนไปศาล เพอ่ื ตรวจสอบการจบั กมุ ทนั ที ทั้งนี้ ภายใน ๒๔ ชวั่ โมง นับแตเวลาที่เด็กหรือเยาวชนไปถึงท่ที ําการ ของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ แตมิใหนับเวลาเดินทางตามปกติท่ีนําตัวเด็กหรือเยาวชนผูถูกจับ จากที่ทําการของพนักงานสอบสวนมาศาลเขา ในกาํ หนดเวลา ๒๔ ชัว่ โมงน้นั ดวย (มาตรา ๗๒) จุดประสงคที่พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ กําหนดใหศาลทําการ ตรวจสอบการจบั เพราะ ๑. ตรวจสอบวาผูถูกจับนั้นเปนบุคคล ซึ่งตองหาวากระทําความผิดหรือไม หมายถึง เด็กหรอื เยาวชนทถ่ี กู จบั มาน้ันใชค นทต่ี อ งการจบั จรงิ หรอื ไม ๒. ตรวจสอบวา การจบั นนั้ เปน ไปโดยชอบดว ยกฎหมายหรอื ไม หมายถงึ ผจู บั มอี าํ นาจ ท่ีจะจับหรือไม มีเหตุที่จะจับหรือไม โดยแยกวาเปนการจับเด็กหรือเยาวชนตามมาตรา ๖๖ เชน หากเปนเด็กจะจับไดต อ เมื่อมีหมายจับ หรอื คาํ ส่ังของศาลใหจ ับ หรือเปน การกระทาํ ความผดิ ซึ่งหนา เปน ตน ๓. ตรวจสอบวา การปฏิบัติของเจาพนกั งานชอบดวยกฎหมายหรือไม เชน ไดแ จง บิดา มารดาหรอื ผูป กครองหรอื ไม ใชเคร่อื งพนั ธนาการในกรณที ี่กฎหมายไมอ นญุ าตหรอื ไม เปนตน การตรวจสอบการจับตามมาตรา ๗๓ แหง พระราชบัญญตั ิศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ เปนบทกฎหมายท่ีบัญญัติข้ึนใหมเปนคร้ังแรกในประเทศไทย ซ่ึงเม่ือมีผลใชบังคับมาแลวระยะหนึ่ง องคก รตางๆ ในกระบวนการยตุ ธิ รรม โดยเฉพาะสํานักงานตํารวจแหง ชาติ กรมพนิ ิจและคุมครองเดก็ และเยาชน รวมถึงศาลเยาวชนและครอบครัวตางมีความเห็นที่ตรงกันวา การตรวจสอบการจับ มีประโยชนตอกระบวนการสอบสวนของเจาพนักงานตํารวจ การสอบขอเท็จจริงของสถานพินิจ และคมุ ครองเดก็ และเยาวชน และการพจิ ารณาพพิ ากษาคดขี องศาลเยาวชนและครอบครวั นอกจากนี้ ยังชวยแกไขเยียวยาปญหาและพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนที่กระทําความผิดไดมากทีเดียว ดังเหตผุ ลทพี่ อจะประมวลไดด ังน้ี

๓๔ ๑) การตรวจสอบการจับเปนวิธีการพิทักษสิทธิเด็กและเยาวชนในเบื้องตนวาจะไมถูก จับผิดคน การจับกุมและปฏิบัติของเจาพนักงานตองเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย โดยที่ผูพิพากษา เปนผูต รวจสอบภายใน ๒๔ ชวั่ โมง นับแตเ วลาท่เี ด็กหรอื เยาวชนไปถงึ ทีท่ าํ การของพนกั งานสอบสวน ผรู บั ผดิ ชอบ ๒) เปนการสรางความเขาใจแกบิดา มารดาหรือผูปกครองของเด็ก และเยาวชน หลังจากถูกจับมาแทบจะในทันที ทําใหบิดา มารดาหรือผูปกครองสามารถเขาไปดูแลบุตรหลาน หรือบคุ คลท่อี ยใู นความปกครองของตนไดอ ยา งรวดเรว็ ๓) เด็กหรือเยาวชน และผูปกครองมีโอกาสพบและปรึกษาท่ีปรึกษากฎหมายต้ังแต ชั้นตรวจสอบการจับ ซึ่งสามารถชวยเหลือใหคําแนะนํา ใหคําปรึกษาเพื่อคล่ีคลายปญหาและ ความกังวลใจตางๆ ได อีกทั้งยังสามารถชวยเหลือในชั้นผัดฟองตามมาตรา ๗๕ ในช้ันพิจารณา ตามมาตรา ๑๒๐ และหากเปนการจับกุมโดยมิชอบดวยกฎหมายจริง ศาลจะมีคําสั่งใหปลอยตัวเด็ก หรือเยาวชนไปในทนั ที ๔) การทเี่ ดก็ หรอื เยาวชนไดม าอยใู นอาํ นาจศาลเยาวชนและครอบครวั ทนั ทที พ่ี นกั งาน สอบสวนสงตัวมานั้น ทําใหพวกเขามีโอกาสที่จะไดรับการมอบตัวใหแกผูปกครองไปดูแลระหวาง การสอบสวนตามท่ีศาลเห็นสมควร หรือไดรับการพิจารณาคํารองขอปลอยตัวชั่วคราวระหวาง การสอบสวนไดในเวลาอันรวดเรว็ และไมมขี น้ั ตอนยงุ ยาก ๕) เจา พนกั งานตาํ รวจผจู บั กมุ ไดร บั การดแู ลปกปอ งคมุ ครองจากขอ กลา วหาวา กลน่ั แกลง หรือปฏิบัติโดยมิชอบดวยกฎหมายในการจับกุม หรือไมแจงการจับกุมใหบิดา มารดาหรือผูปกครอง ทราบ เพราะหากเกดิ กรณเี ชน นจี้ รงิ เดก็ หรอื เยาวชนและผปู กครอง รวมถงึ ทป่ี รกึ ษากฎหมายกส็ ามารถ แถลงตอ ศาลเพอื่ คดั คา นการจบั กมุ และการปฏบิ ตั โิ ดยมชิ อบดงั กลา วไดใ นทนั ที (คณะกรรมาธกิ ารสงั คม กิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผสู งู อายุ คนผพู ิการ และผดู อ ยโอกาส, ๒๕๕๔) ขอสงั เกต ๑. กรณมี ีขอ สงสยั เก่ยี วกบั อายุเดก็ พระราชบญั ญัติศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ มาตรา ๗๗ กาํ หนดวา ในระหวา งการสอบสวน หากมีขอสงสัย เกยี่ วกบั อายเุ ดก็ ทถ่ี กู จบั กมุ หรอื ควบคมุ ใหพ นกั งานสอบสวนมอี าํ นาจดาํ เนนิ การสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณา ความอาญาและกฎหมายอนื่ ทเ่ี กย่ี วขอ ง แตห ากปรากฏภายหลงั วา บคุ คลนน้ั มอี ายไุ มเ กนิ กวา อายทุ กี่ าํ หนดไว ตามมาตรา ๗๓ แหงประมวลกฎหมายอาญาในขณะกระทําความผิด (ซ่ึงหมายความวา ขณะกระทําความผิดน้ันอายุไมเกิน ๑๐ ป) และ อยใู นความควบคมุ ของสถานพนิ จิ หรอื องคก รอนื่ ใด ใหส ถานพนิ จิ หรอื องคก ารดงั กลา ว รายงานใหศ าลทราบเพอ่ื มคี าํ สงั่ ปลอ ยตวั และใหพนักงานสอบสวนดําเนินการตามมาตรา ๖๙/๑ วรรคหนึ่ง กลาวคือ ถาความผิดท่ีเด็กกระทําน้ัน เปนความผิดที่ กฎหมายบญั ญัตใิ หอยูในอํานาจของพนกั งานสอบสวนหรอื เจา พนักงานอ่ืนทจ่ี ะเปรียบเทยี บได หากเปน การกระทาํ ครง้ั แรก ใหพนกั งานสอบสวนหรอื เจาพนักงานน้นั เรียกเด็ก บดิ ามารดา ผูป กครอง หรอื บคุ คล หรือผแู ทนองคการซง่ึ เด็กนน้ั อาศัย อยดู ว ย มาวา กลา วตกั เตอื น ถา เด็กสาํ นึกในการกระทาํ และบิดามารดา ผปู กครอง หรอื บุคคล หรือองคการซง่ึ เดก็ น้นั อาศัย อยดู ว ย สามารถดแู ลเดก็ ได กใ็ หงดการสอบสวนและปลอ ยตวั ไป

๓๕ นอกจากน้ี ในกรณเี ดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๐ ป กระทาํ ความผดิ โดยความผดิ นนั้ กฎหมายบญั ญตั ใิ หอ ยใู นอาํ นาจเปรยี บเทยี บ ของพนกั งานสอบสวน หรอื เจา พนกั งานอนื่ หากเปน การกระทาํ ครง้ั แรก มาตรา ๖๙/๑ วรรคสอง ใหอ าํ นาจพนกั งานสอบสวน หรอื เจา พนกั งานนนั้ เรยี กเดก็ บดิ ามารดา ผปู กครอง หรอื บคุ คล หรอื ผแู ทนองคก าร ซงึ่ เดก็ อาศยั อยดู ว ย มาวา กลา วตกั เตอื น ถาเด็กสํานึกในการกระทํา และบิดามารดา ผูปกครอง หรือบุคคล หรือองคการซ่ึงเด็กน้ันอาศัยอยูดวย สามารถดูแล เด็กได ก็ใหงดการสอบสวน และปลอยตัวไป เวนแตเด็กน้ันกระทําความผิดอื่นซึ่งมิใชความผิดที่สามารถเปรียบเทียบได เชนนี้ พนักงานสอบสวนตองสงตัวเด็กที่อายุไมเกิน ๑๐ ปน้ันใหพนักงานเจาหนาท่ีตามกฎหมายวาดวยการคุมครองเด็ก เพ่ือใหดําเนินการคุมครองสวัสดิภาพตามกฎหมายนั้น ในโอกาสแรกท่ีกระทําได แตตองภายในเวลาไมเกิน ๒๔ ช่ัวโมง นับแตเวลาที่เด็กนั้นมาถึงสถานที่ทําการของพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ และจากมาตรา ๖๙/๑ วรรคทาย ยังกําหนด หา มมใิ หผเู สยี หายฟอ งเดก็ อายุไมเ กิน ๑๐ ป เปนคดีอาญาตอ ศาลใดดวย ๒. ในกรณีเด็กหรือเยาวชนอยูในเกณฑตองดําเนินการตามกฎหมายวาดวยการฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด ใหดําเนินการฟนฟูตามกฎหมายกอน แตหากไมอาจดําเนินการฟนฟูไดหรือทําการฟนฟูไมสําเร็จ ใหพนักงานสอบสวน หรอื พนกั งานอยั การ นาํ ตวั เดก็ หรอื เยาวชนไปศาล เพอื่ ใหศ าลมคี าํ สงั่ เกย่ี วกบั การควบคมุ ตวั และพนกั งานอยั การอาจฟอ งคดี ภายในระยะเวลาท่กี ฎหมายกําหนด หรอื ภายใน ๓๐ วนั นับแตศ าลมคี าํ ส่งั (มาตรา ๖๙/๒) á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμԢͧà¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨ㹡Ò䌹 ในเร่ืองของหลักเกณฑการคน กรณีที่เด็กหรือเยาวชนผูถูกตองหาวากระทําความผิด นั้น จะใชหลักเกณฑที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากําหนดไว เพราะพระราชบัญญัติ ศาลเยาวชนและครอบครวั ฯ ไมไ ดบ ญั ญตั ไิ วเ ปน พเิ ศษ อยา งเชน การจบั กมุ ดงั นน้ั จงึ ใหน าํ บทบญั ญตั ิ แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาใชบังคับไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติ แหงพระราชบัญญัตศิ าลเยาวชนและครอบครัว (มาตรา ๖) การคนแยกเปน ๓ ประเภท คอื ๑. การคน ตัวบคุ คล ๒. การคน สถานที่ ๓. การคนยานพาหนะ ๑) ¡Ò乌 μÇÑ º¤Ø ¤Å (๑) การคนตัวบุคคลผูตอ งสงสัย ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๓ “หามมิใหทําการคน บุคคลใดในที่สาธารณะ เวนแตเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจเปนผูคนในเมื่อมีเหตุอันควร สงสัยวาบุคคลน้ันมีส่ิงของในความครอบครองเพ่ือจะใชในการกระทําความผิด หรือซึ่งไดมาโดยการ กระทาํ ความผิด หรือซึ่งมีไวเ ปนความผิด” จากบทบญั ญตั ดิ งั กลา ว เหน็ ไดว า การคน ตวั บคุ คลในทสี่ าธารณะ เจา พนกั งาน ตาํ รวจจะทําการคนตัวบุคคลผตู อ งสงสัยไดต อเมื่อÁÕàËμÍØ Ñ¹¤ÇÃʧÊÂÑ วา - บคุ คลนั้นมสี ง่ิ ของในครอบครอง เพือ่ จะใชใ นการกระทําความผิด - สิ่งของที่บุคคลนั้นครอบครองนั้นเปนสิ่งท่ีไดมาจากการกระทําความผิด หรอื มไี วเปนความผดิ

๓๖ ขอ สังเกต ๑. มเี หตอุ ันควรสงสยั “ตองเปน เหตอุ ันควรสงสยั ” ท่มี อี ยูก อ นการคน และตองมิใชขอสงสยั ที่อยูบ นพ้นื ฐานของ ความรูสกึ ของเจาหนาทเ่ี พียงอยา งเดยี ว (คําพพิ ากษาฎีกา ที่ ๘๗๒๒/๒๕๕๕) ๒. ในเรื่องการคนกรณีน้ีกฎหมายไมไดบัญญัติวาจะตองเปนเจาพนักงานฝายปกครอง หรือเจาพนักงานตํารวจ ชนั้ ยศใดท่ีจะตองเปนหวั หนา ในการตรวจคน ตวั บคุ คล (๒) การคน ตัวผูถูกจบั หรอื ผตู อ งหา ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๕ วรรคแรก “เจาพนักงานผูจับหรือรับตัวผูถูกจับไว มีอํานาจคนตัวผูตองหา และยึดส่ิงของตางๆ ท่ีอาจใชเปน พยานได” ดงั น้นั กรณที เี่ จาพนักงานตํารวจมเี หตอุ นั ควรสงสัยวา ผูถกู จบั นัน้ ซุกซอนสิ่งของท่ีใชใ นการ กระทําความผิดหรือมีไวเปนความผิดนั้นอยูกับตัว เจาพนักงานตํารวจผูจับกุม หรือรับตัวก็มีอํานาจ ทีจ่ ะคนตัวบุคคลและยึดสิ่งของนัน้ ได แตตองกระทาํ การคนโดยสุภาพ แตหากผูถูกจับหรือผูตองหาเปน¼ÙŒËÞÔ§ ¼ÙŒ·èÕ¨Ðทํา¡Ò䌹¨ÐμŒÍ§à»š¹¼ÙŒËÞÔ§ (มาตรา ๘๕ วรรคสอง) ซงึ่ กรณที ไี่ มม เี จา พนกั งานตาํ รวจหญงิ กส็ ามารถขอความรว มมอื จากผหู ญงิ อน่ื ท่อี ยูบริเวณใกลเคียงนั้นเปนผูทาํ การคนได ๒) ¡Ò乌 ʶҹ·Õè ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา มาตรา ๙๒ กําหนด “หา มมใิ หค น ในท่รี โหฐานโดยไมมหี มายคน หรือคําส่ังศาล” ดงั นน้ั หากจะตอ งทาํ การคน ในทร่ี โหฐาน เจา พนกั งานตาํ รวจจะตอ งไปทาํ การคน ได ตอเม่อื มีหมายคน เทานนั้ เวน แตจะเปน กรณีเขา ขอยกเวน ตามทีม่ าตรา ๙๒ กําหนด กลาวคือ (๑) เมอื่ มเี สยี งรอ งใหช ว ยมาจากขา งในทร่ี โหฐาน หรอื มเี สยี ง หรอื พฤตกิ ารณอ นื่ ใด อันแสดงไดวามีเหตรุ า ยเกิดขึน้ ในท่รี โหฐานนั้น (๒) เมอ่ื ปรากฏความผิดซงึ่ หนากําลงั กระทําลงในทร่ี โหฐาน (๓) เม่ือบุคคลท่ีไดกระทําความผิดซึ่งหนา ถูกไลจับและหนีเขาไปหรือมีเหตุ อันแนนแฟน ควรสงสยั วาไดเขาไปซกุ ซอ นตวั อยใู นทร่ี โหฐานนนั้ (๔) เมื่อมีพยานหลักฐานตามสมควรวาส่ิงของท่ีมีไวเปนความผิด หรือไดมา โดยการกระทาํ ความผดิ หรอื ไดใ ชห รอื มไี วเ พอื่ ใชใ นการกระทาํ ความผดิ หรอื อาจเปน พยานหลกั ฐานพสิ จู น การกระทําความผิดไดซอนหรืออยูในน้ัน ประกอบท้ังตองมีเหตุอันควรเชื่อวาหากรอหมายคน สิง่ ของนั้น จะถกู โยกยา ยหรอื ทาํ ลายเสียกอ น (๕) เม่ือที่รโหฐานน้ัน ผูที่จะตองถูกจับเปนเจาบานและการจับน้ัน มีหมายจับ หรอื เปน การจบั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญามาตรา ๗๘ การใชอํานาจตรวจคนกรณีน้ี ใหผูตรวจคนจัดทําºÑ¹·Ö¡¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹â´ÂäÁ‹ÁÕ ËÁÒ¤¹Œ (Ẻ Ê õö – óñ) โดยแสดงเหตผุ ลทที่ าํ ใหส ามารถเขา คน ได แลว มอบบนั ทกึ การตรวจคน และ ºÞÑ ª·Õ Ã¾Ñ Â» ÃСͺº¹Ñ ·¡Ö ¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ â´ÂäÁÁ‹ ËÕ ÁÒ¤¹Œ (Ẻ Ê õö – óò) ใหไ วแ กผ คู รอบครอง

๓๗ สถานท่ีท่ีถูกตรวจคน แตถ าไมมีผคู รอบครองอยู ณ ที่น้ันใหสงมอบบันทกึ ดงั กลาวแกบุคคลเชนวา น้ัน ในทันทีที่กระทําได แลวใหรีบรายงานผลการตรวจคนพรอมท้ังเหตุผลเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชา เหนือขน้ึ ไปหน่ึงช้ัน (คําสัง่ สาํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติ ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๒.๑) การตรวจคนกรณีมีหมายคน หรือคําสั่งของศาลน้ัน หัวหนาในการจัดการใหเปน ไปตามหมายนั้น คือ เจาพนักงานผูมีชื่อในหมายคนหรือผูรักษาการแทนซ่ึงจะตองเปนเจาพนักงาน ตํารวจทีม่ ยี ศตงั้ แตชนั้ รอยตํารวจตรขี น้ึ ไปเทาน้นั และเมอ่ื ทําการตรวจคนเสร็จสนิ้ แลว ใหดาํ เนินการ ตามท่ศี าลสงั่ ไวด วย (คาํ สงั่ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ท่ี ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๒.๓) การตรวจคนในท่ีรโหฐาน ใหเ จาพนกั งานตาํ รวจปฏิบตั ดิ ังนี้ ๑. เจา พนกั งานตาํ รวจทจี่ ะทาํ การตรวจคน ตอ งแตง เครอ่ื งแบบ เวน แตม เี หตจุ าํ เปน หรือกรณีเรงดว น หรอื เปนเจา พนกั งานตาํ รวจทม่ี ีตาํ แหนง ตั้งแตผ ูก าํ กบั การขนึ้ ไปจะไมแ ตงเคร่ืองแบบ ก็ได แตตองแจงยศ ช่ือ ตําแหนงพรอมทั้งแสดงบัตรประจําตัวใหเจาบานหรือผูครอบครอง สถานทนี่ ้นั ทราบ ๒. กอนลงมือตรวจคนใหเจาพนักงานตํารวจที่จะทําหนาท่ีในการตรวจคนแสดง ความบรสิ ทุ ธจิ์ นเปน ทพ่ี อใจกบั เจา บา นหรอื ผคู รอบครองสถานทน่ี น้ั แลว จงึ ลงมอื ตรวจคน ตอ หนา เจา บา น หรือผคู รอบครองสถานทน่ี น้ั หรอื ถา หาบุคคลเชน วานนั้ ไมไ ด หรอื สถานท่นี ้นั ไมม ผี ใู ดอยูก็ใหต รวจคน ตอหนาบุคคลอื่นอยา งนอยสองคนที่เจาพนักงานตํารวจไดขอรอ งมาเปน พยาน ๓. หากเปนกรณีตรวจคนท่ีอยูหรือสํานักงานของผูตองหาหรือจําเลย ซ่ึงถูก ควบคุมหรือขังอยูใหทําตอหนาบุคคลน้ัน ถาบุคคลน้ันไมติดใจหรือไมสามารถมากํากับ จะตั้งผูแทน หรือพยานมากํากับก็ได ถาผูแทนหรือพยานไมมี ใหตรวจคนตอหนาบุคคลในครอบครัวหรือตอหนา บุคคลอืน่ อยา งนอยสองคนที่เจา พนกั งานตาํ รวจไดขอรองมาเปน พยาน ๔. ในการตรวจคนท่รี โหฐาน ใหเ จา พนกั งานตํารวจสัง่ เจา ของหรอื คนทีอ่ ยูในน้นั หรือผูรักษาสถานท่ีซึ่งจะตรวจคนยอมใหเขาไปโดยมิหวงหาม อีกทั้งใหความสะดวกตามสมควร ทุกประการ ในอันท่ีจะจัดการตรวจคนน้ัน ถาบุคคลดังกลาวไมยอมใหเขาไป ใหเจาพนักงานตํารวจ ช้ีแจงเหตุความจําเปนกอน ถายังไมยินยอมอีก เจาพนักงานตํารวจมีอํานาจใชกําลังเขาไป ในกรณี จาํ เปนจะตอ งเปด หรือทําลายประตูบา น ประตเู รอื น หนา ตาง ร้ัว หรอื สิง่ กีดขวางอยา งอ่ืนๆ ใหทาํ ได แตจะทาํ ใหเ สยี หายเกินกวาความจาํ เปนไมไ ด ๕. ในการตรวจคน ตอ งกระทาํ ดว ยความระมดั ระวงั และพยายามหลกี เลย่ี งมใิ หเ กดิ ความเสียหาย เวนแตมเี หตจุ ําเปน ที่ไมอ าจหลกี เลย่ี งได ๖. สงิ่ ของใดทีย่ ึดได ตองใหเ จาของหรอื ผูครอบครองสถานท่ี บคุ คลในครอบครวั ผตู องหา จาํ เลย ผูแทน หรือพยาน แลวแตกรณี ดูเพือ่ ใหรบั รองวา ถูกตอ ง ถา บุคคลเชนนน้ั รบั รอง หรอื ไมยนิ ยอมรับรองอยางใด ใหมีรายละเอยี ดปรากฏไวใ นบันทกึ การตรวจคน ๗. เมื่อเจาพนักงานตํารวจตรวจคนเสร็จส้ินแลวตองจัดทําบันทึกการตรวจคน โดยใหป รากฏรายละเอยี ดแหง การตรวจคน และสงิ่ ของทตี่ รวจคน โดยสง่ิ ของทตี่ รวจคน ใหห อ หรอื บรรจุ หบี หอ ตตี ราไว หรือใหทําเคร่ืองหมายไวเปน สาํ คัญ

๓๘ ๘. บันทึกการตรวจคนน้ันใหอานใหเจาของ หรือผูครอบครองสถานที่ บุคคล ในครอบครวั ผูตองหา จาํ เลย ผแู ทน หรอื พยาน แลว แตก รณีฟง แลว ใหบ ุคคลเชน วานนั้ ลงลายมอื ชือ่ รับรองไวหากไมยินยอมใหบันทึกเหตผุ ลไว (คาํ สงั่ สํานกั งานตํารวจแหง ชาติ ที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ ขอ ๒.๔) ๓) ¡Ò䌹ÂÒ¹¾Ò˹Рในเร่ืองการคนยานพาหนะ ไมมีกฎหมายระบุไววาจะตองปฏิบัติอยางไร แตไดมี คําพิพากษาศาลฎีกา ไดว างแนวทางไวด ังน้ี รถไฟ จากคาํ พพิ ากษาฎกี าที่ ๒๐๒๔/๒๔๙๗ สถานทบ่ี นขบวนรถไฟโดยสารเปน ที่ ซ่ึงสาธารณชนมีความชอบธรรมท่ีจะเขาไปได การคนบุคคลใดในสถานที่ดังกลาวจึงไมจําตองมี หมายคน และไมอ ยภู ายใต ป.วิ.อาญา มาตรา ๙๖ และไมตองปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๑๐๒ วรรคหนึ่ง รถยนต กรณีที่รถยนตจอดหรือแลนอยูบนถนนหรืออยูในทางสาธารณะ จากคําพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๕๑/๒๕๕๑ รถยนตท่ีกําลังแลนอยูบนถนนสาธารณะเปนยานพาหนะ เพอื่ พาบคุ คลหรอื สงิ่ ของจากทแี่ หง หนงึ่ ไปยงั ทอี่ กี แหง หนง่ึ ไมถ อื วา เปน ทร่ี โหฐาน เจา พนกั งานตาํ รวจ ซึ่งมีอํานาจหนาที่ปองกันปราบปรามอาชญากรรม มีอํานาจตรวจคนรถยนตไดโดยไมตองมีคําส่ัง หรอื หมายของศาล หากมเี หตสุ งสยั วา ในรถยนตม สี ง่ิ ผดิ กฎหมายซกุ ซอ น ดงั นน้ั เมอ่ื เจา พนกั งานตาํ รวจ กบั พวกสงสยั วา ในรถยนตท ม่ี ผี ขู บั ขม่ี ามสี ง่ิ ของผดิ กฎหมายซกุ ซอ นอยู เจา พนกั งานตาํ รวจยอ มมอี าํ นาจ คนรถยนตน ้นั ไดโ ดยไมต องมคี ําส่งั หรือหมายของศาล ขอ พงึ ระวัง หากการคน ทไ่ี มช อบดว ยกฎหมาย เชน คน โดยไมม หี มายคน และไมเ ขา ขอ ยกเวน ตามกฎหมายทจี่ ะคน ไดโ ดยไมต อ งมหี มายคน ดงั กลา วขา งตน แลว การกระทาํ ดงั กลา วเปน เรอ่ื งทพี่ นกั งานเจา หนา ทจ่ี งใจกระทาํ ผดิ กฎหมาย ซงึ่ เปน การละเมดิ ดงั นนั้ จะตอ งใชค า สนิ ไหม ทดแทนจากการกระทาํ ดงั กลา วตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยมาตรา๔๒๐รวมทง้ั ใชร าคาทรพั ยส นิ และคา เสยี หายอน่ื ตามมาตรา๔๓๘ (คําพพิ ากษาฎีกาท่ี ๖๓๐๑/๒๕๔๑) á¹Ç·Ò§»¯ÔºμÑ Ô㹡Ò贺ѹ·¡Ö คําÃÍŒ §·Ø¡¢ã¹¤´·Õ Õè¼ÙàŒ ÊÕÂËÒÂ໹š à´ç¡ËÃÍ× àÂÒǪ¹ ในกรณที ผี่ เู สยี หายเปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป นนั้ ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๒๔/๑ บญั ญตั วิ า “ใหน าํ บทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนง่ึ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลมแกก ารจดบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ขใ นคดที ผี่ เู สยี หายเปน เดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ แปดป เวน แตม เี หตจุ าํ เปน ไมอ าจหาหรอื รอนกั จติ วทิ ยาหรอื นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลทเี่ ดก็ รอ งขอและพนกั งานอยั การได และเดก็ ไมป ระสงคจ ะใหม หี รอื รอบคุ คลดงั กลา วตอ ไป ทงั้ น้ี ใหผ รู บั คาํ รอ งทกุ ข ตามมาตรา ๑๒๓ หรอื มาตรา ๑๒๔ แลว แตก รณี บนั ทกึ เหตดุ งั กลา วไวใ นบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ขด ว ย” จากมาตราดงั กลา วทร่ี ะบใุ หก ารจดบนั ทกึ รองทกุ ขคดที ่ีผูเ สยี หายเปน เดก็ อายุไมเ กิน ๑๘ ป โดยนําหลักเกณฑท ก่ี ําหนดไวใ นมาตรา ๑๓๓ ทวิ มาบงั คบั ใชโ ดยอนโุ ลม

๓๙ มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนงึ่ บญั ญตั วิ า “ในคดคี วามผดิ เกย่ี วกบั เพศ ความผดิ เกยี่ วกบั ชวี ติ และรางกายอันมใิ ชค วามผิดท่ีเกดิ จากการชุลมนุ ตอ สู ความผิดเก่ยี วกบั เสรภี าพ ความผดิ ฐานกรรโชก ชงิ ทรพั ย และปลน ทรพั ย ตามประมวลกฎหมายอาญา ความผดิ ตามกฎหมายวา ดว ยการปอ งกนั และปราบปราม การคา ประเวณี ความผดิ ตามกฎหมายวา ดว ยมาตรการในการปอ งกนั และปราบปรามการคา หญงิ และเดก็ ความผดิ ตามกฎหมายวา ดว ยสถานบรกิ ารหรอื คดคี วามผดิ อนื่ ทม่ี อี ตั ราโทษจาํ คกุ ซงึ่ ผเู สยี หายหรอื พยาน ทเี่ ปน เดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ แปดปร อ งขอ การถามปากคาํ ผเู สยี หายหรอื พยานทเ่ี ปน เดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ แปดป ใหพนักงานสอบสวนแยกกระทําเปนสวนสัดในสถานท่ีที่เหมาะสมสําหรับเด็ก และใหมีนักจิตวิทยา หรอื นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลทเี่ ดก็ รอ งขอ และพนกั งานอยั การรว มอยดู ว ยในการถามปากคาํ เดก็ นน้ั และในกรณที น่ี กั จติ วทิ ยาหรอื สงั คมสงเคราะหเ หน็ วา การถามปากคาํ เดก็ คนใดหรอื คาํ ถามใด อาจจะมผี ล กระทบกระเทือนตอจิตใจเด็กอยางรุนแรง ใหพนักงานสอบสวนถามผานนักจิตวิทยาหรือ นกั สงั คมสงเคราะหเ ปน การเฉพาะตามประเดน็ คาํ ถามของพนกั งานสอบสวน โดยมใิ หเ ดก็ ไดย นิ คาํ ถาม ของพนักงานสอบสวนและหามมิใหถามเดก็ ซ้าํ ซอ นหลายคร้งั โดยไมม เี หตอุ ันสมควร” ดังน้ัน จะเห็นไดวา เมอื่ นําบทบัญญัตมิ าตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนง่ึ ดังกลา ว มาบังคบั ใช โดยอนุโลมในการบันทึกคํารองทุกขคดีท่ีผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ตามที่มาตรา ๑๒๔/๑ กําหนดแลว เชนน้ี พนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจซึ่งเปนผูรับคํารองทุกข ตามมาตรา ๑๒๓ และ ๑๒๔ มีหนาท่ีปฏบิ ัติตามหลักเกณฑของกฎหมายดังนี้ ๑) วธิ กี ารจดบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ขท จ่ี ะตอ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท มี่ าตรา ๑๒๔/๑ ประกอบ มาตรา ๑๓๓ ทวิ กาํ หนดใหต อ งมกี ลมุ สหวชิ าชพี รว มดว ยนน้ั จะใชเ ฉพาะประเภทคดที ก่ี ฎหมายกาํ หนด ไวเ ทานน้ั คือ (๑) คดคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะ - ความผิดเกีย่ วกบั เพศ - ความผดิ เกย่ี วกับชีวิตรางกาย อันมใิ ชค วามผิดทเี่ กิดจากการชุลมนุ ตอ สู - ความผิดเกยี่ วกับเสรีภาพ - ความผดิ ฐานกรรโชก ชิงทรัพย และปลน ทรพั ย (๒) คดีความผดิ ตามกฎหมายวา ดวย การปองกนั และปราบปรามการคา ประเวณี (๓) คดีความผิดตามกฎหมายวาดวย มาตรการในการปองกันและปราบปราม การคาหญงิ และเดก็ (๔) คดคี วามผิดตามกฎหมายวาดว ยสถานบริการ (๕) คดีความผิดอื่นที่มีอัตราโทษจาํ คกุ ซง่ึ ผูเสยี หายที่เปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป รองขอ

๔๐ ขอ สงั เกต นายธานศิ เกศวพิทักษ รองประธานศาลฎีกาไดใหขอ สังเกตวา เจตนารมณของมาตรา ๑๓๓ ทวิ ไมประสงคจ ะให ความคุมครองแกเด็ก การเขารวมในการชุลมุนตอสู กลาวคือ ไมคุมครองผูเสียหายหรือพยานที่เปนเด็กที่เขาในการชุลมุน ตอ สู แมจะเปน คดีอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๙๔, ๒๙๙ กต็ าม แตหากผเู สียหายหรือพยานท่ีเปนเด็กน้ัน เปนผูบริสุทธิ์ไมไดเขารวมในการชุลมุนตอสู แตบังเอิญอยูในบริเวณดังกลาวเชนน้ี เด็กนั้นนาจะไดรับความคุมครองสิทธิ ตามมาตรา ๑๓๓ ทวนิ ้ี โดยไมต องรองขอ เหน็ ไดว า คดตี ามขอ (๑) - (๔) ขา งตน นนั้ เปน หนา ทข่ี องผรู บั คาํ รอ งทกุ ข รอ งทจ่ี ะตอ งจดั ใหม กี ลมุ สหวชิ าชพี รว มในการ จดบันทกึ คาํ รอ งทุกข แตถาเปน คดีความผดิ อ่นื ทม่ี อี ัตราโทษจําคกุ มิใชค ดตี ามขอ (๑) - (๔) ซ่ึงนอกเหนอื จากทีม่ าตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคแรกระบไุ วน ้นั ผรู บั คํารองทกุ ขจะนาํ หลักเกณฑก ารจดบันทึกคํารองทกุ ข ที่กาํ หนดไวต ามมาตรา ๑๒๔/๑ ประกอบ มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคแรกมาใชเ ม่ือผเู สียหายที่เปนเด็กรองขอ (ธานศิ เกศวพิทกั ษ, ๒๕๕๗) ๒) พนักงานสอบสวนและพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูรับคํารองทุกขจะตอง ปฏบิ ตั ิตามที่มาตรา ๑๓๓ ทวิ กาํ หนดกลา วคือ (๑) จะตองแยกกระทําเปน สว นสดั ในสถานทท่ี ี่เหมาะสมสําหรบั เด็ก (๒) ตองจัดใหมีกลุมสหวิชาชีพ คือ นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคล ท่ีผูเสียหาย ซึ่งเปนเด็กรองขอ และพนักงานอัยการรวมอยูดวยในการจดบันทึกคํารองทุกข โดยมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคสอง กาํ หนดใหเ ปน หนา ทข่ี องพนกั งานสอบสวน ทจ่ี ะตอ งแจง ใหน กั จติ วทิ ยา หรอื นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลท่เี ด็กรองขอ และพนกั งานอยั การทราบ ในกรณีจําเปนเรงดวนอยางย่ิงซ่ึงมีเหตุอันควร ไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพ หรือบุคคลทเ่ี ดก็ รอ งขอ เขา รว มในการถามปากคาํ พรอมกนั ได มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหา ใหพ นกั งาน สอบสวนถามปากคํา โดยมีบุคคลใดบุคคลหน่ึง ดังที่กลาวมาขางตนอยูรวมก็ได แตตองบันทึกเหตุท่ี ไมอาจรอบุคคลอ่ืนไวในสํานวนการสอบสวน และมิใหถือวาการถามปากคําผูเสียหายหรือพยาน ซึง่ เปนเดก็ ในกรณดี ังกลาวท่ีไดก ระทาํ ไปแลว ไมชอบดวยกฎหมาย ขอ สงั เกต ในกรณีที่ไมอาจรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพหรือบุคคลที่เด็กรองขอนั้น ในมาตรา ๑๒๔/๑ ไดบัญญัติไวต อนทายวา “.....เวนแตมีเหตุจําเปนไมอาจหาหรือรอนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห บุคคลท่ีเด็กรองขอและพนักงานอัยการได และเด็กไมประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาวตอไป ท้ังน้ี ใหผูรับคํารองทุกขตามมาตรา ๑๒๓ หรือมาตรา ๑๒๔ แลว แตก รณี บนั ทึกเหตดุ งั กลาวไวใ นบนั ทึกคาํ รอ งทุกขด ว ย” จากมาตราดังกลาว แสดงวา กฎหมายยอมยกเวนใหผูรับคํารองทุกขมีอํานาจจดบันทึกคํารองทุกขในกรณีมีเหตุ จําเปน ไมอาจหาหรือรอบุคคลในกลุมสหวิชาชีพใหครบถวนทุกประเภทได กลาวคือ ตองเปนกรณีเด็กไมประสงคจะใหมี หรอื ไมประสงคจะรอบุคคลดงั กลา วตอไป ดังน้ัน หากเด็กยังประสงคจะใหมีหรือรอบุคคลดังกลาว ผูรับคํารองทุกขตองปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ีกฎหมายกําหนด อยา งไรก็ตาม การทีก่ ฎหมายยอมรับความประสงคของผเู สียหายที่เปนเดก็ อายไุ มเกิน ๑๘ ป ทไ่ี มตอ งการใหมหี รือรอบคุ คล ทกี่ ฎหมายกาํ หนด จะใชเ ฉพาะเรอ่ื ง การจดบนั ทกึ คาํ รอ งทกุ ข ในคดที ผ่ี เู สยี หายเปน เดก็ อายไุ มเ กนิ ๑๘ ป ตามมาตรา ๑๒๔/๑ เทา นนั้ แตห ากเปน กรณที พี่ นกั งานสอบสวนถามปากคาํ ผเู สยี หายหรอื พยานตามมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหนงึ่ หรอื ถามปากคาํ ผูตองหาที่เปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ป ตามมาตรา ๑๓๔/๒ ประกอบมาตรา ๑๓๓ ทวิ พนักงานสอบสวนตองปฏิบัติตาม มาตรา ๑๓๓ ทวิ อยา งเครง ครัด จะปฏิบัตติ ามความตองการของเด็กไมได (ธานศิ เกศวพทิ กั ษ, ๒๕๕๗)

๔๑ ๓) ในการถามปากคําผูเสียหายหรือพยานซ่ึงเปนเด็ก หากนักจิตวิทยาหรือ นกั สงั คมสงเคราะหเ หน็ วา การถามปากคาํ เดก็ คนใดหรอื คาํ ถามใด อาจมผี ลกระทบกระเทอื นตอ จติ ใจ เด็กอยางรุนแรง ใหพนักงานสอบสวนถามผานนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะหเปนการเฉพาะ ตามประเด็นคําถามของพนักงานสอบสวน โดยมิใหเด็กไดยินคําถามของพนักงานสอบสวน และ หามมิใหถ ามเดก็ ซ้ําซอ นหลายครงั้ โดยไมมีเหตุอันสมควร ๔) เปน หนา ทขี่ องพนกั งานสอบสวนทจ่ี ะตอ งแจง ใหน กั จติ วทิ ยาหรอื นกั สงั คมสงเคราะห บคุ คลทเี่ ดก็ รอ งขอและพนกั งานอยั การทราบ และแจง สทิ ธดิ งั กลา วขา งตน ใหผ เู สยี หายหรอื พยานทเี่ ปน เดก็ ทราบ ๕) หากผูเสียหายหรือพยานท่ีเปนเด็ก ไมพอใจ นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห หรอื พนกั งานอยั การทเี่ ขา รว มในการจดบนั ทกึ นนั้ ผเู สยี หายหรอื พยานทเี่ ปน เดก็ ตง้ั รงั เกยี จได ซง่ึ มาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคสาม ไดระบุไว แตมิไดระบถุ ึงหลักเกณฑหรอื สาเหตใุ นการต้ังรงั เกยี จ เพียงแตระบุให เปล่ยี นตวั บคุ คลดงั กลาว ดงั นน้ั จึงควรคํานึงถงึ ความพอใจและสบายใจของเดก็ เปน สําคัญ ขอสังเกต (๑) โดยทวั่ ไป ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ไดก าํ หนดใหผ แู ทนโดยชอบธรรม มอี าํ นาจจดั การแทน ผเู สยี หาย ซง่ึ เปน ผเู ยาวไ ด หากเปน กรณคี วามผดิ ทไี่ ดก ระทาํ ตอ ผเู ยาวซ งึ่ อยใู นความดแู ล และผแู ทนโดยชอบธรรมทมี่ อี าํ นาจจดั การ แทนผเู สยี หายซง่ึ เปน ผเู ยาวต ามมาตรา ๕(๑) เชน วา น้ี ยอ มมอี าํ นาจรอ งทกุ ขแ ทนผเู สยี หายทเ่ี ปน ผเู ยาวไ ดต ามมาตรา ๓(๑) หากเปน กรณที ผ่ี แู ทนโดยชอบธรรมใชอ าํ นาจจดั การแทนตามมาตรา ๕(๑) ประกอบ มาตรา ๓(๑) รอ งทกุ ขแ ทนผเู สยี หายทเี่ ปน เดก็ พนกั งาน สอบสวนยอ มไมอ ยใู นบงั คบั ทจี่ ะตอ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๑๒๔/๑ กลา วคอื พนกั งานสอบสวนไมต อ งนาํ บทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๑๓๓ ทวิ วรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลมแกการจดบันทึกคํารองทุกขของผูแทนโดยชอบธรรมแตอยางใด ทงั้ น้ี เพราะวตั ถปุ ระสงคห ลกั ของการแกไ ขเพม่ิ เตมิ มาตรา ๑๒๔/๑ กค็ อื มงุ ประสงคจ ะคมุ ครองเดก็ ทเ่ี ขา สกู ระบวนการยตุ ธิ รรม ไมวา จะในฐานะเปน ผเู สียหาย ผูต อ งหา หรอื พยาน มิใหเ ดก็ ไดร ับผลกระทบจากกระบวนการยตุ ธิ รรม หรอื ปองกนั มใิ หมีการ กระทาํ การใดๆ อนั อาจเปน การซาํ้ เตมิ จติ ใจเด็ก ดังนัน้ มาตรา ๑๒๔/๑ ทเ่ี พิ่มเตมิ ขน้ึ ใหมน ้ี จงึ ไมอ าจนาํ ไปใชบงั คับแกก รณี ผแู ทนโดยชอบธรรมใชอ าํ นาจจดั การแทนตามมาตรา ๕(๑) ประกอบมาตรา ๓(๑) รอ งทกุ ขแทนผูเสยี หายท่เี ปนผเู ยาว ซงึ่ อยู ในความดูแลได หากแตจ ะมผี ลใชบ ังคบั สําหรบั กรณีทผี่ ูเ สยี หายเปน เดก็ อายุไมเ กนิ ๑๘ ป ซ่ึงเปน ผูเสยี หายโดยตรงรอ งทกุ ข ดวยตนเองเทา นน้ั และมาตรา ๑๒๔/๑ นี้ใชบังคับท้ังท่ีเปนการรองทุกขตอพนักงานสอบสวนตามมาตรา ๑๒๓ และกรณีที่ ผเู สียหายรองทุกขตอพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ ตามมาตรา ๑๒๔ (ธานิศ เกศวพทิ ักษ, ๒๕๕๗) (๒) การนับอายุของผูเสียหายที่เปนเด็กอายุไมเกิน ๑๘ ปนั้น จะใชหลักเกณฑอยางไรในเร่ืองนี้ นายธานิศ เกศวพทิ ักษ รองประธานศาลฎกี า ไดใหความเหน็ วา “เจตนารมณข องมาตรา ๑๒๔/๑ ทเ่ี พิม่ เตมิ ใหมทีม่ ุงประสงคจ ะคุมครอง ผูเสียหายที่เปนเด็กที่เขาสูกระบวนการยุติธรรม มิใหเด็กไดรับผลกระทบจากกระบวนการยุติธรรมหรือปองกันมิใหมีการ กระทําใดๆ อันอาจเปนการซํ้าเติมจิตใจเด็กแลว ก็นาจะตองนับอายุของผูเสียหายท่ีเปนเด็กจนถึงวันท่ีผูเสียหายท่ีเปนเด็ก รองทุกข ดังนั้นแมในวันท่ีมีการกระทําความผิด ผูเสียหายซึ่งเปนเด็กยังมีอายุไมเกิน ๑๘ ป แตในวันที่ผูเสียหายรองทุกข ผูเสยี หายมอี ายเุ กิน ๑๘ ปแลว กรณไี มนาจะตอ งดวยหลกั เกณฑต ามมาตรา ๑๒๔/๑” (ธานิศ เกศวพทิ ักษ, ๒๕๕๗) (๓) หลักเกณฑม าตรา ๑๒๔/๑ คาํ นึงถงึ วฒุ ิภาวะของผเู สียหายซึง่ เปนเด็ก โดยใชเ กณฑอ ายไุ มเ กิน ๑๘ ปเ ทา นน้ั หาใชหลกั เรื่อง “ผูเยาว” หรือ “ผบู รรลนุ ติ ิภาวะ” ไม ดงั เห็นไดจ าก บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประกอบรางพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมาย วธิ ีพิจารณาความอาญา (ฉบบั ที.่ ..) พ.ศ. ... เร่ืองเสรจ็ ที่ ๔๔๐/๒๕๕๐ หนา ๖ มีขอสงั เกตของสํานักงานอัยการสงู สดุ เก่ียวกับ เจตนารมณข องการแกไ ขเพมิ่ เตมิ มาตรา ๑๒๔/๑ ตามพระราชบญั ญตั แิ กไ ขเพม่ิ เตมิ ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ.๒๕๕๐ มขี อ ความตอนหนง่ึ วา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook