Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Published by thanatphat2606, 2020-04-16 08:01:55

Description: Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Keywords: Book18_การปฏิบัติต่อเด็ก เยาวชน สตรี

Search

Read the Text Version

๔๒ “...ในกระบวนการดาํ เนนิ คดชี น้ั สอบสวน ไดแ ก การรอ งทกุ ข การชตี้ วั การสอบปากคาํ ผตู อ งหา ผเู สยี หายหรอื พยานทเ่ี ปน เดก็ จําเปนจะตองมีนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห และพนักงานอัยการทําหนาท่ีดูแลชวยเหลือเด็ก โดยนักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะหมีบทบาทในการดูแลชวยเหลือเด็กทางดานจิตใจและสังคมโดยท่ัวไป สวนพนักงานอัยการ ทําหนาท่ีดูแลกระบวนการดําเนินคดีซ่ึงสอบสวนใหเปนธรรม การทําหนาท่ีดังกลาว จึงเปนมาตรฐานความคุมครองขั้นตํ่า ทรี่ ฐั ใหแกเ ด็ก โดยคํานึงถงึ ความมีวฒุ ิภาวะของเด็กเปนสําคัญ...” ซึ่งเมือ่ พจิ ารณาประกอบถอยคาํ ในตัวบทมาตรา ๑๒๔/๑ ท่ีบัญญัติวา “...ในคดีน้ี ผูเสียหายเปนเด็กอายุไมเกินสิบแปดป...” แลว ยอมเห็นเจตนารมณของกฎหมายมาตราน้ีวา มาตรา ๑๒๔/๑ คาํ นงึ ถงึ วฒุ ภิ าวะของผเู สยี หายทเี่ ปน เดก็ โดยใชเ กณฑอ ายไุ มเ กนิ ๑๘ ป เทา นนั้ หาไดใ ชห ลกั เกณฑเ รอ่ื งความเปน “ผูเยาว” ตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๐ ไม ดังน้ัน แมผูเสียหาย ท่ีเปนเด็กจะพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส เมื่อทําการสมรส หากการสมรสน้ันไดทําตาม บทบัญญัติมาตรา ๑๔๔๘ อันเปนเหตุใหผูเสียหายเปนผูบรรลุนิติภาวะ ตามมาตรา ๒๐ แลวก็ตาม หากวาผูเสียหาย ซงึ่ บรรลนุ ิติภาวะโดยการสมรสตามมาตรา ๒๐ น้ัน ยงั มีอายุไมเกนิ ๑๘ ป เปนผูรองทกุ ข พนักงานสอบสวนและพนักงาน ฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจ ผรู บั คาํ รอ งทกุ ขย อ มอยใู นบงั คบั ทจี่ ะตอ งดาํ เนนิ การตามมาตรา ๑๒๔/๑ (ธานศิ เกศวพทิ กั ษ, ๒๕๕๗) ÊÃ»Ø การที่ไดศึกษาแนวทางในการปฏิบัติของเจาพนักงานตํารวจ บทบาท และหนาท่ีของ เจา พนกั งานตาํ รวจจะตอ งมคี วามรใู นเรอื่ งกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ งกบั เดก็ และเยาวชน เรม่ิ ตงั้ แตก ฎหมาย และอาํ นาจหนา ทข่ี องเจา พนกั งานตาํ รวจวา มอี าํ นาจหรอื ไม การดาํ เนนิ การในขนั้ ตอ ไปคอื การออกหมายจบั เด็กหรือเยาวชนตามกระบวนการของศาล สวนการปฏิบัติเปนหนาท่ีของเจาพนักงานตํารวจที่จะให เปน ไปตามกรอบของกฎหมาย เชน การจับกุมเด็กหรอื เยาวชน การเขยี นบนั ทึกการจับกมุ เนื่องจาก การเขยี นบนั ทกึ การจบั กมุ นน้ั แตกตา งจากการจบั การเขยี นบนั ทกึ จบั กมุ ของบคุ คลทวั่ ไป สว นศาลกจ็ ะ ตอ งตรวจสอบการจบั กมุ เดก็ หรอื เยาวชนวา เปน ไปตามกระบวนกฎหมายหรอื ไม และการตรวจคน เดก็ หรือเยาวชน ตลอดจนการจดบันทึกคํารองทุกข จะตองดําเนินการตามกฎหมายท่ีเก่ียวของ ดังนั้น ในการปฏิบัติหนาท่ีของเจาพนักงานตํารวจจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามข้ันตอนของกฎหมายอยาง เครง ครดั เนน หนกั ในเรอื่ งสทิ ธิของเดก็ หรอื เยาวชนตอ ไป

๔๓ º··Õè ô à·¤¹Ô¤¡Òëѡ¶ÒÁà´ç¡ ¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅСÒÃÃ¡Ñ ÉÒʶҹ·àÕè ¡´Ô àËμØ ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤ ๑. เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีทักษะในการซักถามเด็กหรือเยาวชนตามหลัก พืน้ ฐานท่วั ไปที่เจาพนักงานตํารวจควรจะตองรูค ือ ๑.๑ เทคนิคการซักถามเด็กหรอื เยาวชน ๑.๒ การซักถามพฤตกิ รรมหรอื ภาษากายจากผถู กู ซักถาม ๑.๓ การใชค ําถามในการซักถามเด็กเพ่อื แสวงหาขอ มลู ๑.๔ การปองกันและรักษาสถานที่เกิดเหตุจนกวาเจาหนาท่ีกองพิสูจนหลักฐาน ดาํ เนินการเกบ็ รวบรวมวตั ถุพยานเปนที่เรยี บรอย º·นาํ พนื้ ฐานการซกั ถามเดก็ ในกรณนี ี้ มใิ ชก รณขี องการสอบปากคาํ ตามประมวลกฎหมายวธิ ี พิจารณาความอาญาฯ กําหนด หากแตเปนการซกั ถามเพื่อเกบ็ ขอ มลู จากเดก็ ซงึ่ เจาพนักงานตาํ รวจ ควรจะตอ งเรียนรู เพอื่ ใหการพูดคุยซกั ถามน้นั มปี ระสิทธภิ าพตอ การดําเนนิ การปองกันและดาํ เนินคดี ตอ ไป à·¤¹Ô¤¡Òëѡ¶ÒÁà´ç¡ËÃÍ× àÂÒǪ¹ ๑) การใชภาษาที่จะซกั ถามเด็ก ควรจะตอ งใชภาษา ตลอดจนทาทางและวธิ กี ารแสดง ทสี่ อดคลอ งกบั วยั และวฒุ ภิ าวะของเดก็ การใชภ าษาทเ่ี ปน ภาษาวยั รนุ ในการซกั ถามวยั รนุ จะทาํ ใหเ ดก็ เกิดความรูสึกคุนเคยเปนกันเอง ทําใหการซักถามดําเนินไปอยางไมเครงเครียด ซ่ึงจะเปนผลดี ตอการซักถาม ๒) ในกรณีท่ีเด็กถูกลวงละเมิดทางเพศ โดยเฉพาะที่ผูเสียหายเปนเด็กหญิง ไมควร ที่จะใหเจาพนักงานตํารวจชายพูดคุยกับผูเสียหายตามลําพัง ควรจะตองมีเจาหนาท่ีผูหญิงรวมดวย เพราะเด็กหญงิ ทถี่ กู ลวงละเมดิ นน้ั มักจะระมัดระวังตวั และหวาดกลวั กับผชู าย ๓) เด็กอาจจะระบุวันที่เกิดเหตไุ ดไ มชัดเจนวา เปน วนั ทเ่ี ทา ไหร แตเจาพนักงานตํารวจ อาจจะซกั ถามโดยการเทยี บเคยี งกบั วนั ทสี่ าํ คญั เชน วนั วาเลนไทน วนั ขน้ึ ปใ หม วนั ลอยกระทง เปน ตน ๔) การซกั ถามเด็ก ไมค วรอยใู นที่ทีม่ ีคนพลุกพลา น มคี วามเปน สัดสว น เหลาน้ี จะลด ความตึงเครยี ดท่เี กดิ ขึ้นกบั เดก็ ขณะทําการซักถาม จะชวยใหก ระบวนการซักถามดขี ้ึน ๕) หากในการซักถามจะตองผานลาม ควรจะจัดหาลามท่ีมาจากประเทศเดียวกับ ผูถูกซักถามเพราะจะเขาใจภาษาและวัฒนธรรมประเพณีของผูถูกซักถาม ลามควรจะตองเปนบุคคล

๔๔ ท่ีมีความรูดานภาษาไทยเปนอยางดี จะตองทําความตกลงกับลามอยางชัดเจนวา ใหแปลทุกคําพูด ท่ซี ักถามและทผ่ี ถู กู ซกั ถามตอบ หามเพม่ิ เตมิ หรอื สรปุ คําตอบ หามปรบั ประโยคทซ่ี ักถามหรอื คําตอบ กอนท่ีจะทําการซักถาม ควรใหลามอธิบายถึงวัฒนธรรมทองถิ่นของผูถูกซักถาม กอน เพื่อผูซักถามจะไดรูและจะไดซักถามไดอยางเหมาะสม ขณะเดียวกันควรสังเกตพฤติกรรม ของลามดวย เพราะบางกรณีลามอาจใชความรูสึกและอารมณของตนที่สงสารผูถูกซักถามมาเปน พืน้ ฐานในการแปล ทําใหค ําแปลความเปล่ยี นไปได ๖) ในการซักถามคร้ังแรกอาจตองใหระยะเวลาเพื่อใหเด็กรูสึกผอนคลาย ผูซักถาม ควรจะตองประเมินอารมณของเด็กกอน แลวจึงสรางความไววางใจระหวางกัน เพราะหากเริ่มตน การซกั ถามทด่ี แี ลว การซักถามตอไปยอ มไดรบั ความรวมมอื ๗) ในการซกั ถามครง้ั แรก อยา ถามลกึ ลงไปในรายละเอยี ดและอยา บงั คบั ใหเ ดก็ เจาะจง ลาํ ดบั เหตุการณม ากจนเกนิ ไป ใชท ักษะการฟงใหมาก และใชเ ทคนคิ การซกั ถาม เชน การสรุปความ การทวนคําถามอยางระมัดระวัง อยาซักถามเร็วเกินไป เพื่อความชัดเจนของคําตอบจากเด็ก ควรปลอ ยใหเ ดก็ เลา เรอ่ื งของตนเอง คาํ ถามทใ่ี ชเ พยี งแคช ใ้ี หเ หน็ วา ใครกระทาํ ความผดิ ตามกฎหมายหรอื ไม แสดงใหเ หน็ วาผซู กั ถามเอาใจใสตอ เด็ก และเขาใจในสง่ิ ท่ีเดก็ ประสบมา ๘) ในกรณีของเด็กเล็กกอนวัยเรียน ในการซักถามตองอาศัยผูที่มีความชํานาญพิเศษ ในการซกั ถามเดก็ ในวยั นี้ เพราะเดก็ ในวยั น้ี จะมคี วามสบั สนระหวา งจนิ ตนาการและความจรงิ ทเี่ กดิ ขน้ึ และในการซกั ถามอาจตอ งใชอ ุปกรณช วยเหลือ เชน ตกุ ตาเดก็ ทีม่ รี ูปรา งโครงรางชัดเจน หรอื รูปภาพ เกี่ยวกับรางกายมนุษย หรือการใหเด็กวาดภาพ ระบายสี ซ่ึงสิ่งเหลานี้ นักจิตวิทยาเด็กจะนํามา ใชประกอบการซักถาม เพราะเปนการกระตุนความทรงจําของเด็กได หรือเปนเคร่ืองชวยเหลือ ในการอธบิ ายของเดก็ ไดโดยเฉพาะในคดีการลว งละเมิดทางเพศ

๔๕ ¡ÒÃÊѧà¡μ¾Äμ¡Ô ÃÃÁËÃÍ× ÀÒÉÒ¡Ò¨ҡ¼Ù¶Œ ¡Ù «¡Ñ ¶ÒÁ ในระหวา งทซี่ กั ถาม หากเจา พนกั งานตาํ รวจสงั เกตพฤตกิ รรมตา งๆ หรอื ภาษากายทเี่ ดก็ แสดงออกมาขณะตอบคําถามนัน้ ประกอบดว ย จะชว ยในทางการวเิ คราะหข อมูลทไี่ ดจากการซักถาม วา มคี วามเปนจรงิ มากนอ ยเพียงใด เพ่ือประโยชนในการซักถาม ซ่งึ พอสรปุ พฤตกิ รรมตา งๆ ไดดงั นี้ พฤติกรรมที่บงบอกความหมาย ภาษากายทแ่ี สดงออก - โกหก - วติ กกังวล หรือเครยี ด - ไมก ลา สบสายตานาน หรอื สบตาแลว มองไปทอี่ น่ื หรอื จอ งตา นานเปน พิเศษ หรือกะพรบิ ตาถๆี่ - ความเศรา - ถมู อื ถตู า หรือแคะจมูก (เพราะมีสารเคมหี รอื ออกมาทาํ ให เกิดความระคายเคือง) - เอามอื ปด ปาก เอานิ้วมือมาแตะปากทนั ที - ดงึ ปกคอเส้ือ (เพราะเหงอ่ื ออกบริเวณคอ) - กัดริมฝปาก หรอื เมมปาก - กัดเล็บ ถูมือไปมา - มือสน่ั กระสบั กระสาย ลุกล้ีลุกลน - แตะผมบอยๆ หรือมว นปอยผมเลน - กอดอกหรือกา ยหนาผาก - หายใจถ่ี และแรงข้นึ - หวั ใจเตน เร็ว - กลามเน้อื เกรง็ ตัวแข็ง - หลกี เลีย่ งตอส่ิงที่ตนเองกลัว - แยกตวั ยม้ิ นอ ย รองไห - กม หนา มองตํ่า - พูดเสียงเบา และต่าํ - ความโกรธ - ขมวดคว้ิ จองมองและอาจเมม ปากพรอ มขบฟน - ความละอายใจ - หลีกเลีย่ งการเผชิญหนา กมหนา ไมส บตา - ขยับตวั ไปมา อาการขบริมฝป าก - ถอนหายใจ หรอื หวั เราะเบาๆ - ความอดึ อดั ใจ - หลบเลยี่ งโดยหันไปมองทางอื่น เมม ปาก - ย้ิมแหย หวั เราะไมเตม็ เสยี ง - หมนุ มือไปมา หันไปในทางทไี่ มม คี น เดินหนี - ความรสู กึ ผดิ - สหี นา กงั วล เงยี บ ไหลต ก - อาจนงั่ กม หนา และอาจกลา วคาํ ขอโทษเบาๆ ภายหลงั - หลบตา พูดเสียงตํ่า แหลงขอมลู การสอื่ สารเชิงอวัจนภาษารปู แบบและการใช (กาญจนา โชคเหรียญสุขชัย, ๒๕๕๐)

๔๖ ¡ÒÃãªคŒ ํา¶ÒÁ㹡Òëѡ¶ÒÁà´¡ç à¾×Íè áÊǧËÒ¢ŒÍÁÅÙ คําถามท่ีเจาพนักงานตํารวจจะตองใชในการซักถามเด็ก เพื่อแสวงหาขอมูลน้ี มิใช เปน การสอบปากคํา ซงึ่ ไมอยูในบังคบั ของประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา มาตรา ๑๓๓ ทวิ แตเปนการซักถามพูดคุยกับเด็ก เพ่ือใหเด็กไดเลาเรื่องวามีอะไรเกิดข้ึน ดังน้ัน จึงควรใชภาษางายๆ ทเ่ี ด็กเขา ใจ มีความอดทนที่จะรบั ฟงในเรอ่ื งท่ีเด็กเลา ใหเ ดก็ ไดเลา เรื่องอยางอิสระ อยาแสดงอาการ วาไมเชื่อถือในส่ิงท่ีเด็กเลาเร่ืองมานั้น เพราะจะทําใหเด็กไมใหความรวมมือที่จะเลาเร่ืองตอไป หรืออาจมีการเบ่ยี งเบนขอเท็จจริงของเรอื่ งในทส่ี ดุ ʧÔè ·Õèà¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨμÃÐ˹ѡ㹡ÒÃãªคŒ ํา¶ÒÁ ในการที่เจา พนกั งานตํารวจจะซักถามน้ัน สิง่ ที่จะตองตระหนัก คอื ๑. ในกรณีทเี่ ดก็ หรือเยาวชนตอ งหาวา กระทาํ ความผิด ใหระลึกเสมอวา เดก็ เขามีสิทธิ ที่จะไดรับการคุมครองตามกฎหมายอยางไรบาง การใชวาจาหรือคําถามในการซักถาม จึงคํานึงถึง ศกั ดิศ์ รคี วามเปน มนุษย และไมเปน การซักถามในลกั ษณะของการประจานเดก็ ๒. ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนเปนผูเสียหาย ในคดีโดยเฉพาะในคดีอุกฉกรรจหรือคดี ที่เด็กถูกลวงละเมิด การใชคําถามจะตองมีความระมัดระวังเปนอยางยิ่งท่ีจะไมเปนการคุกคามเด็ก นนั้ อกี และควรจะใหเ จาพนักงานตํารวจ ซ่งึ เปนผหู ญิงเปนผพู ดู คุย ตองใหค วามม่นั ใจวาเด็กจะไดร ับ ความปลอดภัย ๓. เนื่องจากการพัฒนาการทางรางกาย จิตใจ และระดับสติปญญาของเด็กในแตละ ชว งวยั มีไมเ ทา กนั จงึ ควรเรม่ิ ตน คาํ ถามทีเ่ ปนการวัดระดับสตปิ ญ ญากอ น เชน - ใหเ ดก็ บอกถงึ อวยั วะตา งๆ ในรา งกายของตนใหฟ ง ในภาษาทเี่ ขาพดู เพอ่ื จะได เขาใจตรงกนั วา สิ่งท่ีเขาพูดหมายถงึ อวัยวะสว นใดของรางกาย - ทดสอบวา เด็กเขา ใจในเรือ่ งของการนับตัวเลขหรือไม เขา ใจคาํ วา “ครั้ง” หรอื ไม เพราะเด็กอาจใชถ อยคาํ อื่น เชน “ท”ี “หน” - ทดสอบวา เดก็ เขา ใจเกย่ี วกบั ระยะเวลามากนอ ยแคไ หน เชน เดอื น ตา งกบั สปั ดาห อยางไร เขาใจเกี่ยวกับระยะทางใกล ไกล มากนอ ยเพียงใด เปนตน ๔. ลักษณะของการใชคําถาม เพ่ือใหเด็กไดเลาเรื่องหรืออธิบายเหตุการณท่ีเกิดนั้น อยา งอสิ ระ เจา พนกั งานตาํ รวจจะตอ งเปด โอกาสใหเ ขาเลา เรอ่ื งอยา งเตม็ ที่ อยา ขดั จงั หวะและอยา เรง รบี หากà´ç¡äÁ‹ÂÍÁàÅ‹ÒàÃè×ͧ·èÕà¡Ô´¢éÖ¹ ใหเจาพนักงานตํารวจใชคําถามที่เปนลักษณะ คาํ ถามปลายเปด ซง่ึ เปน คําถามท่ีอธบิ ายเหตุการณวา ใคร/ทําอะไร/ทไ่ี หน/อยางไร/เมื่อใด เชน - ใคร เปนผูก ระทําและเขาไดท ําอะไรกบั หนบู า ง - เขาทํากับหนูอยางไรบาง และทําท่ีสวนไหนของตัวหนู หรือท่ีสถานท่ีไหนที่เขา พาหนไู ป - เขาทาํ กับหนูเมอื่ ไหร และทาํ กคี่ ร้ังแลว เปนตน

๔๗ หลกี เลยี่ งการใช คาํ ถามนาํ ซงึ่ จะมเี พยี งคาํ ตอบใหเ ลอื กเพยี ง ๒ ประเภทเทา นน้ั เชน - ผูกระทาํ ความผิดเขาใสเสื้อสีแดง ใชห รือไม - ขณะทเี่ ขากระทาํ ความผิดอยูนั้น เขามปี นอยดู วย ใชหรือไม ๕. ในระหวา งซกั ถาม เจา พนกั งานตาํ รวจควรจะตอ งระวงั ภาษากายของตนใหม าก เชน - หากน่ังพยักหนาขณะที่ฟงเด็กเลาตลอดเปนระยะๆ และหากเมื่อใดที่หยุด พยักหนา เด็กอาจเขาใจวา เจา พนกั งานตํารวจผนู ัน้ สง สัญญาณใหเด็กหยุดเลาเร่ือง - หากนง่ั สบตากบั เดก็ ตลอดเวลาทเี่ ดก็ เลา เรอ่ื ง แตห ากเมอื่ ใดทผี่ รู บั ฟง หนั ไปมอง ทางอน่ื เดก็ ก็จะหยดุ เลา เรอ่ื ง เพราะคิดวาเรอื่ งที่เลา น้ันไมมคี วามสาํ คัญแตอยางใด ๖. ในการตงั้ คาํ ถามจะตอ งถามแบบคอ ยเปน คอยไป ตามลาํ ดบั เหตกุ ารณ และไมควร มคี นทตี่ ้ังคาํ ถามเดก็ หลายๆ คนพรอมกัน เพราะเดก็ จะสบั สนวา ควรจะตอบคาํ ถามใครกอ น ๗. หากไมเขาใจในสิ่งท่ีเด็กเลาเรื่องน้ัน จะตองถามย้ําอีกครั้ง เพื่อทําความเขาใจ รวมกนั อยา ขามเลยขอสงสัยนัน้ ไป ๘. เมอื่ ซักถามเสรจ็ แลว ควรขอบคุณสาํ หรบั ความรว มมอื ทเ่ี ดก็ เลาเรือ่ งใหฟง ¡Òû‡Í§¡¹Ñ áÅÐÃ¡Ñ ÉÒʶҹ·Õèà¡Ô´àËμØ การปองกันและรักษาสถานที่เกิดเหตุเปนเร่ืองที่เจาพนักงานตํารวจตองใหความสําคัญ โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรณีท่ีมีบุคคลจํานวนมากเขามาเก่ียวของ เชน กรณีการบังคับใชแรงงานเด็ก ในโรงงานนรก หรือกรณีที่ทําการเขาทลายแหลงบันเทิง ซ่ึงจะมีผูเขารวมปฏิบัติการเปนจํานวนมาก ตลอดจนอาจมีผูส่ือขาวที่ติดตามมาทําขาว การท่ีบุคคลจํานวนมากเขาไปยังสถานท่ีเกิดเหตุน้ัน อาจสงผลใหพยานหลักฐานถูกทําลายหรือสูญหายได เจาพนักงานตํารวจควรจะตองทําความเขาใจ กับบุคคลเหลาน้ันกอนเขาดําเนินการตรวจคนจับกุม ช้ีแจงใหบุคคลเหลานั้นเขาใจอยางชัดเจนวา หามกระทําสิ่งใดบางอันจะเปนการทําลายพยานหลักฐานทางคดี เชน หามเคลื่อนยายวัตถุจากท่ี ที่ตั้งอยู หรือหามเขาไปในบริเวณท่ีเจาพนักงานตํารวจวางสายก้ันสถานที่เกิดเหตุ (Police Line) เปน ตน ¢ŒÍ¤Çû¯ºÔ ÑμÔ㹡Òû͇ §¡Ñ¹áÅÐÃÑ¡ÉÒʶҹ·àèÕ ¡Ô´àËμØ ๑) กอ นเขา ไปยงั สถานทเี่ กดิ เหตุ ตอ งวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน แบง หนา ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ ใหชัดเจน ๒) เมื่อเจาพนักงานตํารวจเขาไปยังสถานที่เกิดเหตุ ใหทําการบันทึกสภาพของ สถานทนี่ ัน้ ซึง่ มี ๓ ขั้นตอน คอื - การจดบนั ทึก เปนการบันทกึ รายละเอยี ดตา งๆ ที่พบในสถานทีเ่ กดิ เหตุ - การถายภาพ เปนการบันทึกสภาพสถานที่เกิดเหตุท่ีดีท่ีสุดและใชเปนพยาน หลักฐานไดจนถึงขั้นพิจารณาคดี

๔๘ - การวาดแผนทแี่ ละแผนผังเปนการเสรมิ รายละเอียดเพือ่ ใหเขาใจ ๓) ปดกั้นสถานที่เกิดเหตุดวยสายก้ันสถานท่ีเกิดเหตุ (Police Line) เพื่อหามมิให บคุ คลเขาไปบรเิ วณดงั กลา ว เพราะอาจไปทาํ ลายพยานหลกั ฐานได บนั ทกึ ช่อื เวลาบุคคลเขา - ออก ๔) รกั ษาสภาพของสถานทเ่ี กดิ เหตใุ หค งสภาพเดมิ หา มเคลอ่ื นยา ยสงิ่ ของหรอื วตั ถใุ ดๆ หากมคี วามจาํ เปน ทจี่ ะตอ งเคลอ่ื นยา ยสง่ิ ของบางอยา ง กอ นเคลอ่ื นยา ยตอ งถา ยภาพและทาํ สญั ลกั ษณ ไวใหละเอยี ด เพอ่ื สามารถนํากลบั มาวางไวใ นทเี่ ดิมไดอยางถกู ตอ ง ๕) ปดกั้นมิใหผูใดเขาใกลเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกสหรือเครื่องคอมพิวเตอร และ หามไปยงุ เกี่ยวกับตัวเครอ่ื งจนกวา ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดานจะมาตรวจสอบดําเนนิ การ ãËŒ¾¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨ»Í‡ §¡¹Ñ áÅÐÃÑ¡ÉÒʶҹ·Õàè ¡Ô´àËμØ ¨¹¡Ç‹Òà¨ÒŒ ˹Ҍ ·è¡Õ ͧ¾ÔÊÙ¨¹ ËÅÑ¡°Ò¹ดาํ à¹Ô¹¡ÒÃࡺç ÃǺÃÇÁÇμÑ ¶Ø¾Âҹ໹š ·àÕè ÃÂÕ ºÃŒÍ ในกรณผี สู อื่ ขา วทตี่ อ งการนาํ เสนอขา วสารนนั้ ควรจะตอ งอธบิ ายเหตผุ ลความจาํ เปน ในการËŒÒÁࢌÒʶҹ·èÕ·èÕ»´¡éѹ¹Ñé¹ และกําหนดสถานทีใ่ หก บั ผสู ่อื ขา วหรือชา งภาพถา ยภาพในบรเิ วณ ทีไ่ มกระทบตอการปฏบิ ัติงานของเจา หนา ที่พสิ จู นห ลักฐาน

๔๙ แผนภมู แิ สดงข้ันตอนการดําเนินคดีอาญา (ในกรณีถูกจับกมุ ตัว) ตํารวจจับกุม/แจงการจบั /แจง สทิ ธิ/แจง ขอ หา (ถาจบั ตามหมาย/แสดงหมายจับ) กอ นสงตวั ใหพ นักงานสอบสวนทอ งทท่ี จ่ี บั บันทึกการจบั /แจง ขอกลา วหาและหมายเรียกเกีย่ วกับเหตุแหง การจับ สง พนกั งานสอบสวนทอ งทท่ี จ่ี บั /เพอื่ สง แกพ นกั งานสอบสวนผรู บั ผดิ ชอบ ซง่ึ ตอ ง - แจงบดิ า มารดา ผปู กครอง - ถามปากคาํ เบื้องตน - แจง ขอ กลา วหา - นาํ ตัวไปศาล/ไตส วนการจับ - แจงการจับไปยงั ผอ.สถานพนิ ิจ สง สถานพินิจภายใน ๒๔ ชัว่ โมง นับแตเวลาท่ีมาถงึ ท่ที ําการของพนักงานสอบสวน ไมป ระกัน พนักงานสอบสวนแจง ขอกลา วหา ประกนั ควบคุมทส่ี ถานแรกรบั ฯ กลับบา น เจา หนาทีน่ ดั สอบปากคํา แพทยท าํ การ พนกั งานคมุ ประพฤติ จติ แพทย นักจติ วิทยา - ตรวจรางกาย สอบปากคาํ เดก็ เยาวชน, ตรวจภาวะทางจติ - ตรวจสารเสพติด ผปู กครอง, ผูเสยี หาย หนั เหคดอี อกจากศาล โดยการ จดั ประชมุ กลมุ ครอบครวั และ จัดทาํ รายงานขอเท็จจรงิ เสนอศาล, ตาํ รวจ ชุมชน ตามมาตรา ๖๓ แหง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนและ พนักงานอัยการมีคําสั่ง ครอบครวั ไมฟ อง ฟอง คดียุติ ศาลมีคําพิพากษา อัยการสั่งไมฟอง ยกฟอ ง มีความผิด ๑. วากลาวตักเตอื น ๒. วางขอกาํ หนด ๓. ปรับ ๔. คมุ ความประพฤติ ๕. คมุ ความประพฤติพรอ มกาํ หนดเง่อื นไขพิเศษ - ใหมารายงานตวั ตามกาํ หนด - ใหประกอบอาชพี เปนกจิ จะลกั ษณะ - ใหต รวจปสสาวะทุกครง้ั ทีม่ ารายงานตัว - ใหศึกษาตอโดยนําหลกั ฐานมาแสดง - ใหท ํางานบรกิ ารสังคม ๖. ฝก อบรม ๗. จาํ คกุ

๕๐ แผนภูมิแสดงหลกั เกณฑการจับ หลกั เกณฑการจบั (ม.๖๖) - การออกหมายจับอยูภายใตบ ังคบั ป.ว.ิ อ.ม.๖๖ -- หศาาลกคกําานรงึ อถงึอกการหคมมุ าคยรอจังบสจิทะธมิเดีผ็กลหกรือระเยทาบวชกนรเะปเนทสือาํ คนญั ตอจิตใจของเด็ก หรือเยาวชนอยางรุนแรงโดยไมจําเปน ใหพยายามเล่ียงการออก หมายจบั โดยใชวิธตี ดิ ตามตัวเดก็ หรือเยาวชนนน้ั ดว ยวิธีอื่นกอ น การจับเดก็ การจบั เยาวชน ตาม ป.วิ.อ. หลักหามจับ ยกเวน - ความผดิ ซ่งึ หนา - มีหมายจับ - มคี ําสงั่ ศาล

๕๑ แผนภมู ิแสดงการดําเนินการของเจาพนักงานผจู ับ เจา พนกั งานผูจ ับ การดาํ เนนิ การสว นท่เี ก่ียวกับ การดาํ เนินการสว นทเี่ ก่ียวกบั บิดา มารดา ผูปกครอง หรือบคุ คล หรือ เดก็ /เยาวชนทีถ่ ูกจบั ผแู ทนองคก ารซ่ึงเด็กหรอื เยาวชนอาศยั - แจงวา เขาตองถกู จบั อยดู วย (ม.๖๙ ว.๒) - แจง ขอ กลา วหา - แจงสทิ ธิตามกฎหมาย ไมไดอ ยดู ว ยในขณะจบั อยูดว ยในขณะจับ - แสดงหมายจบั (ถามี) เจาพนักงานผูจับแจงใหบุคคล เจาพนกั งานผูจับแจง เหตุ ดงั กลา วทราบถงึ การจบั กมุ ในโอกาส (ม.๖๙ ว.๑) แรกเทาทีส่ ามารถทําได แหงการจับใหบคุ คล - จับโดยละมุนละมอม โดย ดังกลาวทราบ คํานึงถึงศักด์ิศรีความเปน ใหต ดิ ตอส่ือสารหรือ - หามควบคุม คมุ ขงั กกั ขัง คมุ มนุษยและไมเ ปนการประจาน ปรกึ ษาหารอื กับบคุ คล ความประพฤติหรือใชมาตรการ - หามใชวิธีควบคุมเกินจําเปน เหลา นั้น หากผูถ ูกจับประสงค อันมีลักษณะเปนการจํากัดสิทธิ (ม.๖๙ ว.๓) เดก็ หรอื เยาวชน เวน แตเปนกรณี - หามใชเครื่องพันธนาการ ตามมาตรา ม.๖๘ “เด็ก” เวนแต มีความจําเปน เพื่อปองกันการหลบหนีหรือ เพื่อความปลอดภัยของเด็ก ผูถกู จับหรอื บุคคลอน่ื (ว.๓)

๕๒ แผนภมู แิ สดงการดาํ เนนิ การในชัน้ เจาพนักงานผจู บั เม่ือจบั กมุ เดก็ หรอื เยาวชนแลว เจา พนักงานผจู ับทําบนั ทกึ การจบั กุม นาํ ตัวสง พนกั งานสอบสวนทันที (มาตรา ๖๙) โดยพิจารณาวาขณะจบั มบี ิดา มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลหรอื ผูแทนองคการ ซึ่งเดก็ หรือเยาวชนอาศยั อยดู ว ย อยูดวยหรือไม (ว.๒) อยูด วยในขณะจับ ไมไ ดอยดู ว ยในขณะจับ โทษจาํ คกุ ไมเ กิน ๕ ป โทษจาํ คุกเกิน ๕ ป เจาพนกั งานผูจับจะสง่ั ให เจาพนกั งานผูจบั นําตัวสงพนกั งาน บุคคลดังกลา วนาํ ตัวสง สอบสวนเอง พนกั งานสอบสวนกไ็ ด พนกั งานสอบสวนแหง ทองท่ที ถ่ี ูกจับ สรุปสาระสําคญั ในการดําเนนิ การในชั้นเจา พนกั งานผจู บั เมื่อจบั กุมเด็กหรอื เยาวชน เจา พนกั งานผูจบั ทําบันทกึ การจบั กุม (มาตรา ๖๙) เจาพนกั งานผูจับทําบันทึกการจบั กมุ (ม.๖๙ ว.ทาย) ซึง่ ประกอบดว ย - แจงขอกลา วหา - แจงรายละเอยี ดเกย่ี วกับเหตแุ หง การจับ - หามถามคาํ ใหการ - ถา ขณะทาํ บนั ทกึ ดงั กลา วมบี ดิ า มารดา ผปู กครอง หรอื บคุ คลหรอื ผแู ทนองคก าร ซึ่งเด็กหรือเยาวชนอาศัยอยูดวย อยูดวยในขณะน้ันตองกระทําตอหนาบุคคลดังกลาว และจะใหล งลายมอื ชือ่ เปน พยานดวยก็ได * หมายเหตุ ถอยคําของเด็กหรือเยาวชนในชั้นจับกุม หามศาลรับฟง เพื่อพิสูจน ความผิด แตอาจฟง เปน คุณได (ม.๖๙ ว.ทา ย)

๕๓ º·ÊÃ»Ø ในกรณีท่ีมีเหตุเกิดข้ึนที่เก่ียวของกับเด็กมักจะมีอุปสรรคและปญหาเกิดข้ึน อันเน่ือง มาจากปญหาการสอบถามขอมูลจากเด็กหรือเยาวชน มักจะเกิดจากผูท่ีกอเหตุเปนบุคคลที่ใกลชิด หรือจากการท่ีมารองทุกขกลาวโทษชาเกินไป ดังน้ัน เจาพนักงานตํารวจจึงตองมีเทคนิค มีความรู ในเรื่องเทคนิคในการซักถามขอมูลจากเด็กหรือเยาวชน เชน ตองรูในเรื่องเหตุท่ีเกิดข้ึนกับเด็ก อายุ การพฒั นาการ ตลอดจนพฤตกิ รรมในขณะทซ่ี กั ถาม การตงั้ ปญ หาในการซกั ถาม จะตอ งมคี วามเหมาะสม กบั วยั ของเดก็ หรอื เยาวชน ดงั นนั้ เจา พนกั งานตาํ รวจผปู ฏบิ ตั หิ นา ทจี่ ะตอ งมอี งคค วามรดู งั กลา วทกี่ ลา ว ขางตน ในการปอ งกนั และรักษาสถานทีเ่ กดิ เหตุ ยอมมคี วามสาํ คญั เชนกนั เนอื่ งจากสถานทเี่ กดิ เหตุ มาเกิดกับเด็กหรือเยาวชนสวนใหญผูที่กอเหตุจะเกิดจากบุคคลใกลชิด การรองทุกขกลาวโทษ มักจะ ลาชาเนื่องจากเด็กหรือเยาวชนไมไดมาแจงความรองทุกขทันที พยานหลักฐานในท่ีเกิดเหตุมักจะถูก ทาํ ลายหรอื เจา พนกั งานไมส ามารถเขา ไปในบา นทเี่ กดิ เหตุ เนอื่ งจากเปน เคหสถาน ดงั นนั้ เจา พนกั งาน ตํารวจผูปฏิบัติหนาท่ีจะตองปองกันและรักษาสถานที่เกิดเหตุไมใหพยานหลักฐานในท่ีเกิดเหตุถูก ทาํ ลาย ไมว า จะเกดิ จากบคุ คลภายใน หรอื บคุ คลภายนอก เพอ่ื ประโยชนใ นการรวบรวมขอ มลู หลกั ฐาน เพือ่ เอาผดิ แกผ ูกอเหตุตอ ไป

๕๔

๕๕ ÊÇ‹ ¹·Õè ò á¹Ç·Ò§»¯ºÔ μÑ ¢Ô ͧ¾¹Ñ¡§Ò¹à¨ŒÒ˹Ҍ ·Õè ËÃ×Í਌Ҿ¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨ ¡Ã³Õ·¾Õè ººØ¤¤Å ·ÕÁè ÕÅѡɳÐÁÕÀÒÇÐÍѹμÃÒ áÅÐÁ¤Õ ÇÒÁจาํ ໹š μŒÍ§ä´ÃŒ ºÑ ¡ÒÃบาํ ºÑ´ÃÑ¡ÉÒμÒÁ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô梯 ÀÒ¾¨μÔ ¾.È.òõõñ

๕๖

๕๗ º··èÕ ñ á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμ¢Ô ͧ¾¹Ñ¡§Ò¹à¨ŒÒ˹ŒÒ·ËÕè ÃÍ× à¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨ ¡Ã³·Õ Õ辺º¤Ø ¤Å ·ÁèÕ ÅÕ Ñ¡É³ÐÁÕÀÒÇÐÍ¹Ñ μÃÒÂáÅÐÁ¤Õ ÇÒÁจํา໚¹μÍŒ §ä´ŒÃºÑ ¡ÒÃบาํ º´Ñ Ã¡Ñ ÉÒμÒÁ ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ÊÔ Ø¢ÀÒ¾¨μÔ ¾.È.òõõñ ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ ๑.๑ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจทราบถึงบทบาทหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจตาม แนวทางการปฏบิ ตั ขิ องพนกั งานเจา หนา ทห่ี รอื เจา พนกั งานตาํ รวจ กรณที พี่ บบคุ คลทม่ี ลี กั ษณะมภี าวะ อนั ตราย และมีความจําเปนตองไดร ับการบําบัดรกั ษาตามพระราชบัญญัติสุขภาพจติ พ.ศ.๒๕๕๑ ๑.๒ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจเรียนศึกษาวิธีสังเกตลักษณะของผูมีอาการผิดปกติ ทางจิต º·นํา โดยที่ประชาชนสวนใหญยังขาดความรู ความเขาใจ ตอบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต ทําใหบุคคลดังกลาวไมไดรับการปฏิบัติอยางถูกตองและเหมาะสม เปนเหตุใหผูมีความผิดปกติ ทางจติ ทวคี วามรนุ แรงขนึ้ จนกอ ใหเ กดิ อนั ตรายรา ยแรงตอ ชวี ติ รา งกายหรอื ทรพั ยส นิ ของตนเองหรอื ผอู นื่ พระราชบญั ญตั สิ ุขภาพจติ พ.ศ.๒๕๕๑ กําหนดกระบวนการในการบาํ บัดรกั ษา อันเปนการคุมครอง ความปลอดภัยของบุคคลนั้นและสังคม รวมทั้งกําหนดกระบวนการในการบําบัดรักษาบุคคลท่ีมี ความผดิ ปกตทิ างจติ อยรู ะหวา งการสอบสวน การไตส วนมลู ฟอ งหรอื การพจิ ารณา หรอื ภายหลงั ศาลมี คาํ พพิ ากษาในคดีอาญา ÇÔ¸Õ¡ÒÃÊѧà¡μÅ¡Ñ É³Ð¢Í§¼ÙŒ·ÁèÕ ÕÍÒ¡Ò÷ҧ¨μÔ ñ. Ç¸Ô Õ¡Òà : ¡ÒÃจําṡ¼ŒÁÙ ¤Õ ÇÒÁ¼Ô´»¡μ·Ô Ò§¨μÔ เดิมทีแบบตรวจสอบความผิดปกติทางจิตโดยดร.แฮร (The Hare Psychopathy Checklist) จัดทําขึ้นเพื่อประเมินภาวะทางจิตของอาชญากร รวมทั้งวินิจฉัยคนท่ัวไปท่ีมีแนวโนม จะเปน ผทู ม่ี คี วามผดิ ปกตทิ างจติ โดยผเู ชย่ี วชาญดา นสขุ ภาพจติ สว นใหญใ หค าํ จาํ กดั ความผทู ม่ี ลี กั ษณะ ผิดปกติทางจิตวาเปนผูลาที่เอาเปรียบเหยื่อโดยใชเสนห การหลอกลอ ความรุนแรง และวิธีอ่ืนๆ เพ่ือใหบรรลุเปาหมายตามท่ีตนตองการมาจําแนกผูมีความผิดปกติทางจิตดวยการใชแบบตรวจสอบ ความผิดปกติทางจิตของดร.แฮร และลองเชือ่ ม่ันในสญั ชาตญาณของคณุ กนั เถอะ ¡ÒÃจาํ ṡ¼ÁŒÙ Õ¤ÇÒÁ¼Ô´»¡μ·Ô Ò§¨μÔ ñ.ñ ÁͧËÒàʹ‹Ë·Õè©Òº©ÇÂáÅйÔÊÑ¡Ðŋ͹»ÅéÔ¹»ÅŒÍ¹. ผูที่มีอาการทางจิต จะทําสิ่งที่ผูเชี่ยวชาญเรียกวา “การสวมหนากาก” ท่ีทําใหจิตใจดูเปนปกติ ทําใหรูสึกวาเปนคนนาคบ และรา เริง ตวั อยา งเชน ผปู วยอาจจะทําดเี พื่อหวงั ผล เพื่อใหเหย่อื ไวใจ

๕๘ ñ.ò ÁͧËÒ¹ÔÊÑ¡ÒÃÂÖ´μÑÇàͧ໚¹Èٹ¡ÅÒ§ËÃ×ͤԴNjÒμ¹à»š¹¼ÙŒÂÔè§ãËÞ‹ ผูที่มี ปญ หาทางจติ มักเช่ือวาตนเองฉลาดหรือมีอํานาจเหนอื ผูอ นื่ เกินกวาความเปนจรงิ ñ.ó ¨ºÑ μÒ´¡Ù ÒÃáÊǧËÒʧèÔ àÃÒŒ ÍÂà‹Ù ÃÍ×è Âæ ผทู มี่ ปี ญ หาทางจติ จะไมช อบการอยนู งิ่ ๆ ความเงยี บและการนงั่ ครนุ คดิ ตา งๆ พวกเขาตองการความบนั เทงิ และกจิ กรรมอยูเสมอ ñ.ô ¾Ô¨ÒóҴÙÇ‹Ò¤¹æ ¹éѹÁÕ¾ÄμÔ¡ÃÃÁâ¡Ë¡μÑÇàͧËÃ×ÍäÁ‹ ผูมีจิตผิดปกติมักจะ เลา เรื่องโกหกสารพัด ไมว าจะเปน การโกหกสขี าว หรอื การโกหกคาํ โตเพอ่ื ทาํ ใหผอู ่นื เขาใจผิด ñ.õ »ÃÐàÁ¹Ô ÃдºÑ ¡ÒÃâ¹ÁŒ ¹ÒŒ Ǫ¡Ñ ¨§Ù ¼ÍŒÙ ¹è× ผทู จ่ี ติ ผดิ ปกตทิ กุ คนลว นเจา เลห เ พทบุ าย และสามารถชักจูงใหผูอื่นทําสิ่งท่ีพวกเขาอาจไมทําในยามปกติ โดยใชความรูสึกผิด ใชกําลัง และใช วิธีการอน่ื ๆ เพ่อื โนม นา ว ñ.ö ÁͧËÒ¤ÇÒÁÃʌ٠¡Ö ÊÒí ¹¡Ö ¼´Ô ผทู ม่ี จี ติ วปิ รติ มกั ไมม คี วามละอาย หรอื ความเสยี ใจ ในการกระทาํ ของตนเลยแมแตน อย ผูที่มีจิตวิปริตอาจสรางความรูสึกผิดข้ึนมากลบพฤติกรรมที่ไมดีเพ่ือท่ีจะปนหัวคน ใหไ มร สู กึ โกรธ ยกตวั อยา งเชน พวกเขาอาจเสแสรง ทาํ เปน รสู กึ ผดิ ไมร สู น้ิ สดุ ทไี่ ดท าํ รา ยเหยอื่ จนกระทง่ั กลายเปน วาเหยื่อกลับตอ งรูสึกตําหนิ ตนเอง แทน ñ.÷ ¾Ô¨Òóһ¯Ô¡ÔÃÔÂÒ¡ÒÃμͺʹͧ·Ò§ÍÒÃÁ³¢Í§¤¹ æ ¹Ñé¹ ผูที่มีจิตวิปริต จะแสดงออกทางดานอารมณและความรูสึกนอยมากตอการเสียชีวิต การบาดเจ็บ อาการสาหัส และเหตุการณอื่นๆ ซงึ่ คนปกตทิ ่ัวไปจะมีการแสดงออกทางอารมณแ ละความรูสึกมากกวา ความแตกตางระหวางการตอบสนองทางอารมณของผูที่มีจิตวิปริตกับผูมี ความผิดปกติทางจิตทั่วไปแบบออติสติกคือ ในขณะท่ีคนท่ีปวยเปนออติสติกอาจจะดูไรความรูสึก ในทีแรก พวกเขาอาจสติแตกขึ้นมาและมองหาความชวยเหลือในภายหลังก็เปนได แตผูที่มีจิตวิปริต จะไมมอี ารมณส วนลึกซอนอยใู ตน ้ัน ñ.ø ÁͧËÒ¡ÒÃäÁ‹àÍÒã¨ãÊ‹¼ÙŒÍ×è¹ ผูที่มีจิตวิปริตมักไมเห็นอกเห็นใจผูอ่ืนและไม อยากขอ งเก่ยี วกับผูทม่ี จี ิตวิปรติ ดวยกัน ผลการวิจัยแสดงวาผูที่มีจิตวิปริตไมไดแคขาดความเห็นอกเห็นใจเทาน้ัน พวกเขาจะไมเห็นใจใคร แตจะทําอยางมีเจตนา (เชน ทําใหคนอื่นรูสึกชอบ) แถมยังมีความสามารถ ท่ีจะจดจําความรูสึกรวม (ความสามารถในการอานและเขาใจอารมณความรูสึกของผูอื่น) แตขาด ความสามารถท่ีจะเขาใจความรูสึกรว ม (ความสามารถทีจ่ ะรสู ึกถงึ อารมณเ หลาน้นั ) นเี่ ปน อกี วธิ ที จ่ี ะใชแ ยกแยะผทู มี่ จี ติ วปิ รติ ออกจากคนทป่ี ว ยเปน ออตสิ ตกิ คนที่ ปว ยเปน ออตสิ ตกิ อาจดขู าดความเหน็ ใจและดเู หมอื นหนุ ยนตบ า งในบางคราว แตพ วกเขามกั แครผ อู น่ื ดว ยใจจริงและมกั แสดงความเมตตาออนโยนออกมา ñ.ù ÅͧÊѧà¡μÃٻẺ¡ÒÃ㪌ªÕÇÔμ¢Í§¤¹æ ¹Ñé¹ พวกจิตวิปริตมักจะทําตัวเปน กาฝาก ซ่งึ หมายความวาคอยเกาะผูอ่ืนเพอื่ หาประโยชนใสตนนนั่ เอง

๕๙ ñ.ñð ¨ÑºμÒÁͧ¾ÄμÔ¡ÃÃÁ¢Í§à¢Ò ในแบบตรวจสอบความผิดปกติทางจิต โดย ดร.แฮร ระบวุ าตัวชวี้ ัดสําคัญสามประการ ไดแ ก การควบคุมพฤติกรรมตนเองตาํ่ การมพี ฤตกิ รรม สาํ สอ นทางเพศ และปญ หาอน่ื ๆ ในวัยเยาว ñ.ññ ¾Ù´¶Ö§à»Ò‡ ËÁÒÂ㹪ÕÇμÔ ผทู ่มี ปี ญ หาทางจติ จะมเี ปา หมายในชวี ิตท่ีไมย ึดโยง กับความเปนจริง ไมวาจะดวยเหตุผลท่ีไมมีเปาหมายในชีวิตเลย หรือไมสามารถบรรลุเปาหมายได รวมถงึ ยึดติดกับความคดิ ที่เกินจริงเก่ียวกบั ความสาํ เรจ็ และความสามารถของตนเอง ñ.ñò ÁͧËÒÊÞÑ ÞÒ³ÇÒ‹ ¤¹¤¹¹¹Ñé Á¤Õ ÇÒÁË¹Ø Ë¹Ñ ¾Å¹Ñ Ꮛ ËÃÍ× ¡ÒâҴ¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍº ËÃ×ÍäÁ‹ ท้งั สองอยางตางก็เปนหลกั ฐานชชี้ ัดวา เปน ลกั ษณะของผทู มี่ ีปญหาทางจิต ñ.ñó ¾Ô¨ÒóÒÇ‹Ò¤¹¤¹¹é¹Ñ ÃºÑ ¼Ô´ªÍºä´ËŒ ÃÍ× äÁ‹ ผทู ี่มอี าการทางจิตจะไมย อมรับ การกระทาํ ผดิ หรอื ขอ ผดิ พลาดในการตดั สนิ ของตนเองอยา งเดด็ ขาด เมอ่ื ถกู กดดนั พวกเขาอาจยอมรบั วาไดทําสิ่งที่ผดิ พลาดลงไป แตจะปนหวั คนอ่นื เพ่ือหลีกเลยี่ งผลทีต่ ามมาใดๆ ขอกลาวหาใดๆ อาจยอนกลับไปหาผูกลาวหา เพ่ือทําใหผูกลาวหาเชื่อวา พวกเขาโหดเกินไปหรือไมยุติธรรมท่ีไดกลาวหาออกไปในทีแรก เหย่ืออาจเร่ิมทบทวนประเด็นท่ีอาจ อยากจะหยิบยกข้ึนมา ñ.ñô μÃǨÊͺ¤ÇÒÁÊÁÑ ¾¹Ñ ¸Ã ÐËÇÒ‹ §¤Ê‹Ù ÁÃÊ ผทู มี่ อี าการทางจติ มกั มกี ารแตง งาน ระยะสน้ั ๆ หลายหน. พวกเขามกั จะโยนความผดิ ใหก บั แฟนเกา และไมเ คยยอมรบั วา ตนเองกม็ บี ทบาท สาํ คัญท่ที าํ ใหการแตงงานลมเหลว ñ.ñõ ÁͧËÒ»ÃÐÇÑμÔ¡ÒáÃÐทํา¼Ô´μÑé§áμ‹ÇÑÂàÂÒǏ ผูปวยทางจิตหลายคนมักมี พฤติกรรมกระทําความผดิ ตั้งแตย งั เปนเยาวชนอยู โดยเฉพาะอาการกา วราวตอ ผอู ่นื พวกเขาอาจแสดงลักษณะของชุดพฤติกรรมท่ีเรียกวา Macdonald Triad อันเปนกลุมตัวบงช้ีสามอยางในวัยเด็กถึงการมีพฤติกรรมกาวราวในอนาคต หนึ่งในนั้นคือการชอบ ทรมานสตั ว จดจาํ คาํ ของอารเ ธอร โชเปนฮาวร ทว่ี า : “คนทที่ รมานหรอื ฆา สตั วไ มส ามารถนบั เปน คนดี ไดเลย” อีกประโยคเปนคําพูดจากสุนทรพจนของทานมหาตมะ คานธี : “คุณจะรูจักตัวตนของคนๆ หน่งึ แจม แจง โดยดูจากวิธีท่เี ขาปฏิบัตติ อ สัตว” ñ.ñö ´Ùá¹Ç⹌Á¡ÒÃËźàÅÕ觤´ÕÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·èÕ¡‹Í¢éֹ䴌Í‹ҧàªèÕÂǪÒÞ ผูท่ีมี ปญหาทางจิตหลายคนสามารถหลบเลี่ยงได แมวาพวกเขาอาจถูกจับในบางครั้ง ความสามารถแกตัว จะชว ยในการตอ สคู ดเี ปนตวั บงชี้สําคญั ñ.ñ÷ ´ÇÙ Ò‹ ¤¹¤¹¹¹éÑ ãªÍŒ ºØ ÒÂทาํ μÇÑ à»¹š “à¾Íè× ¹¼¹ŒÙ Ò‹ ʧÊÒÔ Íº‹Ù Í‹ Âæ ËÃÍ× äÁ‹ ผทู ม่ี ี ปญ หาทางจติ เปน ผชู าํ่ ชองในการปน ความรสู กึ และความไมม นั่ คงของเราใหม องพวกเขาเปน “เพอ่ื นผนู า สงสารทไี่ มไ ดร บั ความยตุ ธิ รรม” และลดกลไกการปอ งกนั ทางอารมณ ทาํ ใหเ ราออ นแอเพอื่ ใชป ระโยชน จากเราในอนาคต ถาการใชจิตวิทยารวมกับการกระทําที่ช่ัวรายและไมเปนท่ียอมรับอยางตอเนื่อง นน่ั จะเปน สัญญาณเตือนเก่ยี วกบั นสิ ัยที่แทจ ริงของคนคนน้ัน

๖๐ พวกเขาอาจเสแสรงแสดงอารมณแ บบเฟคๆ ออกมา ความแตกตางระหวางนี่กับคนท่ีมีปญหาดานความกังวลใจก็คือ คนท่ีกังวล กระวนกระวายจะรูสึกผิดในใจสวนลึกและชวยตัวเองไมได ในขณะที่ผูที่มีอาการทางจิตจะทําเสมือน มันเปนการแสดง คนที่กังวลกระวนกระวายจะแสดงอาการออกมาแมในเวลาท่ีเขาไมอยากใหเปน เชนน้นั สว นผูที่มีอาการทางจิตจะแสดงอารมณอ อกมาตามแตทีใ่ จตองการจะทาํ ñ.ñø 椄 à¡μ»¯ÊÔ ÁÑ ¾¹Ñ ¸¢ ͧ¤¹æ ¹¹éÑ ·ÁÕè μÕ Í‹ ¤¹Ãͺ¢ÒŒ §à»¹š ¾àÔ ÈÉ ถงึ ผทู ม่ี อี าการ ทางจติ สว นใหญจ ะแสดงละครเกง และทาํ ตวั กลมกลนื ไปกบั สงั คม แตพ วกเขาอาจเผลอหลดุ เผยใหเ หน็ รองรอยทางบคุ ลิกทีเ่ ปนปญหาได ยกตัวอยางเชน ผูท่ีมีอาการทางจิตในท่ีทํางานอาจใชการขมขูเพื่อใหตัวเอง ไดด ใี นหนา ทก่ี ารงาน โดยทว่ั ไปผทู มี่ อี าการทางจติ มแี นวโนม ทจี่ ะดแู คลน ฉกี หนา กระทาํ ไมด ี เยาะเยย รวมถงึ ทํารายรางกาย (ในกรณีท่ีรนุ แรงบางกรณี กส็ ามารถฆา) ผทู ไ่ี มมีผลประโยชนตอ เขาหรือเธอได เชน ผใู ตบงั คบั บญั ชา คนท่มี รี า งกายออนแอหรอื คนท่ีระดบั ตาํ่ กวา เดก็ ผูส ูงวัย หรือแมก ระท่งั สัตว à¤Åç´ÅѺ - จงเชอื่ ในสญั ชาตญาณของคณุ ถา คณุ เชอื่ วา ใครบางคนมบี คุ ลกิ ลกั ษณะแบบผมู ปี ญ หา ทางจติ ใหร กั ษาระยะหา งความสมั พนั ธร ะหวา งคณุ กบั คนคนนนั้ ใหด ี คณุ จะไดไ มถ กู ปน หวั หรอื ดงึ เขา สู ความสมั พันธท ่ีอาจทาํ รา ยคุณ คําàμ×͹ - อยา ตราหนา คนทค่ี ณุ ไมช อบวา เปน พวกโรคจติ เพยี งเพราะคนคนนน้ั มบี คุ ลกิ ลกั ษณะ ตรงกับแบบตรวจสอบความผิดปกติทางจิตโดยดร.แฮร เพียงแค ๑ หรือ ๒ ขอ ขอใหจิตแพทย หรือผเู ช่ียวชาญดานสขุ ภาพจติ ท่ผี า นการรับรองมาเปนผูวินิจฉัยวาคนนน้ั เปนผปู ว ยโรคจิตเสียกอน áËŧ‹ ·ÕÁè ÒáÅСÒÃÍŒÒ§Í§Ô http://www.minddisorders.com/Flu-Inv/Hare-Psychopathy-Checklist.html http://psychopathyawareness.wordpress.com/๒๐๑๑/๐๔/๐๑/red-flags-how- to-identify-a-psychopathic-bond/ http://en.wikipedia.org/wiki/Psychopathy Thinking Person’s Guide to Autism: Autistic Grief is Not Like Neurotypical Grief Psychology Today: Navigating Grief and Loss as an Autistic Adult Psychology Today: Inside the Mind of a Psychopath – Empathic, But Not Always Psychopathic criminals have empathy switch

๖๑ Zero Degrees of Empathy: A New Theory of Human Cruelty Cappuccino Queen: What is a Psychopath? Includes a case study of one woman’s ex-lover º·ÊÃ»Ø เม่ือเจาพนักงานตํารวจไดรับแจงจากประชาชนหรือพนักงานเจาหนาท่ีตามพระราช บญั ญตั สิ ขุ ภาพจติ ฯ รอ งขอใหช ว ยดาํ เนนิ การนาํ ตวั บคุ คลทม่ี ภี าวะอนั ตรายและมคี วามจาํ เปน ตอ งไดร บั การบําบัดรักษาใหเจาพนักงานตํารวจ ปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการสุขภาพจิตแหงชาติ วาดวย การสง ตัวบคุ คลเพอื่ รับการตรวจวินจิ ฉยั และประเมินอาการเบื้องตนในกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑ ขอ ๓

๖๒

๖๓ ภาคผนวก

๖๔

๖๕ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô ¤ÁØŒ ¤ÃÍ§à´¡ç ¾.È.òõôö ÀÙÁ¾Ô ÅÍ´ØÅÂà´ª »Ã. ãËŒäÇŒ ³ Ç¹Ñ ·èÕ òô ¡¹Ñ ÂÒ¹ ¾.È.òõôö ໚¹»‚·èÕ õø ã¹ÃªÑ ¡ÒÅ»˜¨¨Øº¹Ñ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหป ระกาศวา โดยทเี่ ปน การสมควรปรบั ปรุงกฎหมายวาดวยการคุมครองเดก็ พระราชบญั ญตั นิ มี้ บี ทบญั ญตั บิ างประการเกยี่ วกบั การจาํ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซ่งึ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตาม บทบญั ญตั แิ หง กฎหมาย จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ นึ้ ไวโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอมของสภา ดังตอไปนี้ ÁÒμÃÒ ñ พระราชบัญญตั ิน้เี รยี กวา “พระราชบัญญัตคิ ุมครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖” ÁÒμÃÒ òñ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเม่ือพนกําหนดหน่ึงรอยแปดสิบวัน นับแตว ันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตนไป ÁÒμÃÒ ó ใหย กเลิก (๑) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๕ (๒) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๔ ลงวันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๕ ÁÒμÃÒ ô ในพระราชบัญญตั ิน้ี “เดก็ ” หมายความวา บคุ คลซง่ึ มอี ายตุ าํ่ กวา สบิ แปดปบ รบิ รู ณ แตไ มร วมถงึ ผทู ี่บรรลนุ ิติภาวะดว ยการสมรส “เด็กเรรอน” หมายความวา เด็กท่ีไมมีบิดา มารดา หรือผูปกครอง หรือมีแตไมเลี้ยงดูหรือไมสามารถเล้ียงดูได จนเปนเหตุใหเด็กตองเรรอนไปในที่ตางๆ หรือเด็ก ทีม่ ีพฤตกิ รรมใชช วี ติ เรร อ นจนนา จะเกดิ อันตรายตอสวสั ดภิ าพของตน ๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๐/ตอนท่ี ๙๕ ก/หนา ๑/๒ ตลุ าคม ๒๕๔๖

๖๖ “เดก็ กาํ พรา ” หมายความวา เดก็ ทบี่ ดิ าหรอื มารดาเสยี ชวี ติ เดก็ ทไ่ี มป รากฏ บดิ า มารดาหรือไมส ามารถสืบหาบดิ า มารดาได “เด็กท่ีอยูในสภาพยากลําบาก” หมายความวา เด็กที่อยูในครอบครัว ยากจนหรือบิดา มารดาหยาราง ท้ิงราง ถูกคุมขัง หรือแยกกันอยูและไดรับความลําบาก หรือเด็กที่ ตองรับภาระหนาที่ในครอบครัวเกินวัยหรือกําลังความสามารถและสติปญญา หรือเด็กที่ไมสามารถ ชวยเหลอื ตัวเองได “เด็กพิการ” หมายความวา เด็กที่มีความบกพรองทางรางกาย สมอง สติปญญาหรอื จิตใจ ไมว า ความบกพรอ งนน้ั จะมมี าแตกาํ เนิดหรอื เกดิ ขึน้ ภายหลัง “เด็กท่ีเสี่ยงตอการกระทําผิด” หมายความวา เด็กท่ีประพฤติตน ไมส มควร เดก็ ทีป่ ระกอบอาชพี หรอื คบหาสมาคมกบั บคุ คลทนี่ า จะชักนําไปในทางกระทาํ ผิดกฎหมาย หรือขัดตอศีลธรรมอันดี หรืออยูในสภาพแวดลอมหรือสถานท่ีอันอาจชักนําไปในทางเสียหาย ท้ังนี้ ตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง “นักเรียน” หมายความวา เด็กซึ่งกําลังรับการศึกษาข้ันพื้นฐานระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ทั้งประเภทสามัญศึกษาและอาชีวศึกษาหรือเทียบเทาอยูใน สถานศกึ ษาของรัฐหรือเอกชน “นักศึกษา” หมายความวา เด็กซ่ึงกําลังรับการศึกษาระดับอุดมศึกษา หรือเทยี บเทา อยใู นสถานศกึ ษาของรฐั หรือเอกชน “บดิ ามารดา” หมายความวา บดิ ามารดาของเดก็ ไมว า จะสมรสกนั หรอื ไม “ผูปกครอง” หมายความวา บิดามารดา ผูอนุบาล ผูรับบุตรบุญธรรม และผูปกครองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และใหหมายความรวมถึงพอเลี้ยงแมเล้ียง ผูปกครองสวัสดิภาพ นายจาง ตลอดจนบุคคลอื่นซ่ึงรับเด็กไวในความอุปการะเลี้ยงดูหรือซึ่งเด็ก อาศยั อยดู ว ย “ครอบครัวอุปถัมภ” หมายความวา บุคคลท่ีรับเด็กไวอุปการะเลี้ยงดู อยางบตุ ร “การเลี้ยงดูโดยมิชอบ” หมายความวา การไมใหการอุปการะเล้ียงดู อบรมส่ังสอน หรือพัฒนาเด็กตามมาตรฐานข้ันตํ่าที่กําหนดในกฎกระทรวง จนนาจะเกิดอันตรายแก รางกายหรือจิตใจของเดก็ “ทารุณกรรม” หมายความวา การกระทําหรือละเวนการกระทําดวย ประการใดๆ จนเปน เหตุใหเด็กเส่อื มเสยี เสรภี าพหรอื เกดิ อันตรายแกรางกายหรือจติ ใจ การกระทาํ ผดิ ทางเพศตอเด็ก การใชเด็กใหกระทําหรือประพฤติในลักษณะท่ีนาจะเปนอันตรายแกรางกาย หรือจิตใจหรือขดั ตอกฎหมายหรอื ศลี ธรรมอนั ดี ทงั้ น้ี ไมว า เด็กจะยินยอมหรือไมกต็ าม

๖๗ “สบื เสาะและพนิ จิ ” หมายความวา การคน หาและรวบรวมขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั บุคคลและนํามาวิเคราะหวินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห แพทย จิตวิทยา กฎหมาย และหลกั วิชาการอน่ื ทเ่ี ก่ียวของกบั บคุ คลและครอบครวั ของบุคคลนัน้ “สถานรับเล้ียงเด็ก” หมายความวา สถานท่ีรับเลี้ยงและพัฒนาเด็ก ที่มีอายุไมเกินหกปบริบูรณ และมีจํานวนตั้งแตหกคนขึ้นไป ซึ่งเด็กไมเก่ียวของเปนญาติกับเจาของ หรือผูดําเนินการสถานรับเล้ียงเด็กดังกลาว ทั้งน้ี ไมรวมถึงสถานพยาบาลหรือโรงเรียนท้ังของรัฐ และเอกชน “สถานแรกรับ” หมายความวา สถานท่รี ับเดก็ ไวอปุ การะเปนการชัว่ คราว เพอ่ื สบื เสาะและพนิ จิ เดก็ และครอบครวั เพอ่ื กาํ หนดแนวทางในการสงเคราะหแ ละคมุ ครองสวสั ดภิ าพ ท่ีเหมาะสมแกเดก็ แตล ะราย “สถานสงเคราะห” หมายความวา สถานทใี่ หก ารอปุ การะเลย้ี งดแู ละพฒั นา เดก็ ทจี่ าํ ตอ งไดรบั การสงเคราะห ซงึ่ มจี าํ นวนตงั้ แตหกคนขึ้นไป “สถานคุมครองสวัสดิภาพ” หมายความวา สถานที่ใหการศึกษา อบรม ฝกอาชีพ เพ่ือแกไขความประพฤติ บําบัด รักษา และฟนฟูสมรรถภาพท้ังทางดานรางกายและจิตใจ แกเด็กทพ่ี ึงไดร บั การคมุ ครองสวัสดภิ าพ “สถานพัฒนาและฟน ฟู” หมายความวา สถานที่ โรงเรยี น สถาบัน หรือ ศูนยที่จัดข้ึนเพื่อใหการบําบัดรักษา การฟนฟูสมรรถภาพท้ังทางดานรางกายและจิตใจ ตลอดจน การศึกษา แนะแนว และการฝกอบรมอาชีพแกเด็กท่ีจําตองไดรับการสงเคราะหหรือคุมครอง สวัสดภิ าพเปน กรณีพเิ ศษ “สถานพินิจ” หมายความวา สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน กรุงเทพมหานคร สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนจังหวัด และสถานพินิจและคุมครองเด็ก และเยาวชนของแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลจังหวัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวย การจดั ตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครัว “กองทุน” หมายความวา กองทนุ คมุ ครองเด็ก “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการคมุ ครองเดก็ แหงชาติ “พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความวา ผูซ่ึงรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการ ตามพระราชบญั ญตั ินี้ “ผูวาราชการจังหวัด” หมายความรวมถึงผูวาราชการกรุงเทพมหานคร และผูซ่งึ ไดร บั มอบหมายจากผวู า ราชการจงั หวัด “ปลัดกระทรวง” หมายความวา ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมน่ั คงของมนุษย และหมายความรวมถึงผซู ึ่งไดร บั มอบหมายจากปลดั กระทรวง “รฐั มนตร”ี หมายความวา รัฐมนตรผี ูรักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้

๖๘ ÁÒμÃÒ õ ใหศ าลทม่ี อี าํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดเี ยาวชนและครอบครวั ตามกฎหมาย วา ดว ยการจดั ตง้ั ศาลเยาวชนและครอบครวั และวธิ พี จิ ารณาคดเี ยาวชนและครอบครวั มอี าํ นาจพจิ ารณา พิพากษาคดีตามพระราชบัญญัติน้ี เวนแตในจังหวัดใดยังมิไดเปดทําการศาลเยาวชนและครอบครัว หรือแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวขึ้นในศาลจังหวัด ใหศาลจังหวัดมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดี ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ÁÒμÃÒ ö ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย รฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธกิ าร และรฐั มนตรวี าการกระทรวง ยุติธรรม รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และใหรัฐมนตรีแตละกระทรวงมีอํานาจแตงต้ังพนักงาน เจาหนาท่ีกับออกกฎกระทรวงหรือระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ทั้งน้ี ในสวนท่ี เก่ียวกบั ราชการของกระทรวงนั้น กฎกระทรวงหรือระเบียบนั้น เม่ือไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบ งั คบั ได ËÁÇ´ ñ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒäÁØŒ ¤Ãͧഡç ÁÒμÃÒ ÷ ใหมีคณะกรรมการคุมครองเด็กแหงชาติ ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย เปน ประธานกรรมการ ปลดั กระทรวงการพฒั นา สงั คมและความมั่นคงของมนุษย เปน รองประธานกรรมการ ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวง ยุติธรรม ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ อัยการสูงสุด ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ อธิบดีกรมการ ปกครอง อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ อธิบดีกรมสุขภาพจิต อธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชน และครอบครวั กลาง ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานสง เสรมิ สวสั ดภิ าพและพทิ กั ษเ ดก็ เยาวชนผดู อ ยโอกาส คนพกิ าร และผูสูงอายุ เปนกรรมการ และกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษยแตงต้ังจากผูเช่ียวชาญซึ่งมีประสบการณในการงาน ท่ีทําในวิชาชีพ สงั คมสงเคราะห ครู จิตวทิ ยา กฎหมาย แพทย ไมน อยกวา เจด็ ปว ชิ าชพี ละสองคน โดยจะตอ งมผี ูแ ทน จากภาคเอกชนอยางนอยวิชาชีพละหน่ึงคน และแตงต้ังจากผูมีประสบการณซึ่งมีผลงานเปนที่ ประจักษในดานสวสั ดกิ ารเดก็ มาไมน อยกวาเจ็ดปอ ีกสองคน โดยมีรองปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคม และความม่ันคงของมนุษยซ ึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายเปนกรรมการและเลขานกุ าร กรรมการผูทรงคุณวฒุ ิตามวรรคหนง่ึ ตอ งเปนสตรีไมนอ ยกวา หนึง่ ในสาม คณะกรรมการจะแตงต้ังขาราชการในกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมนั่ คงของมนษุ ยไมเ กินสองคนเปน ผูชว ยเลขานกุ ารก็ได

๖๙ ÁÒμÃÒ ø ใหสํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ทําหนาทเ่ี ปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ โดยใหมีอาํ นาจหนา ที่ดังตอไปนี้ (๑) ปฏิบตั ิงานธุรการทว่ั ไปของคณะกรรมการ (๒) ประสานงานและรว มมอื กบั สว นราชการ หนว ยงานของรฐั และเอกชน ทเี่ กย่ี วขอ งในการดาํ เนนิ งานเกย่ี วกบั การสงเคราะห คมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสง เสรมิ ความประพฤตเิ ดก็ (๓) พฒั นาระบบ รปู แบบ และวธิ กี าร ตลอดจนใหบ รกิ ารดา นสงเคราะห คมุ ครองสวัสดภิ าพ และสง เสริมความประพฤติเด็ก (๔) รวบรวมผลการวิเคราะห วิจัย ดําเนินการติดตามและประเมินผล การปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย รวมทง้ั แผนงานในการสงเคราะห คมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสง เสรมิ ความประพฤตเิ ดก็ ของหนวยงานของรฐั และเอกชนที่เก่ยี วของ แลวรายงานใหค ณะกรรมการทราบ (๕) ปฏบิ ตั ติ ามมตขิ องคณะกรรมการหรอื ตามทคี่ ณะกรรมการมอบหมาย ÁÒμÃÒ ù กรรมการผูท รงคุณวฒุ ิมวี าระอยูในตาํ แหนง คราวละสามป กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงเพราะครบวาระอาจไดรับ การแตงต้งั อกี ได แตต อ งไมเกนิ สองวาระติดตอ กัน ÁÒμÃÒ ñð นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๙ กรรมการ ผทู รงคุณวุฒิ พนจากตําแหนง เม่ือ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รฐั มนตรใี หอ อกเพราะบกพรอ งหรอื ไมส จุ รติ ตอ หนา ท่ี มคี วามประพฤติ เสื่อมเสียหรอื หยอ นความสามารถ (๔) ไดร ับโทษจาํ คกุ โดยคําพพิ ากษาถึงท่สี ดุ ใหจาํ คกุ (๕) เปน บคุ คลลม ละลาย (๖) เปน คนไรความสามารถหรอื คนเสมือนไรความสามารถ (๗) ขาดการประชมุ ตดิ ตอกนั สามคร้งั โดยไมมเี หตุอันสมควร ÁÒμÃÒ ññ ในกรณีท่ีกรรมการผูทรงคุณวุฒิพนจากตําแหนงกอนครบวาระ ใหรัฐมนตรีแตงตั้งบุคคลซ่ึงมีคุณสมบัติเชนเดียวกันตามมาตรา ๗ เปนกรรมการแทน และใหผูที่ ไดร บั แตงต้ังใหดาํ รงตาํ แหนง แทนอยูในตําแหนงเทา กับวาระท่เี หลอื อยขู องกรรมการซึง่ ตนแทน ÁÒμÃÒ ñò ในกรณีท่ีกรรมการผูทรงคุณวุฒิดํารงตําแหนงครบวาระแลว แตยังมิได มีการแตงต้ังกรรมการผูทรงคุณวุฒิใหม ใหกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่พนจากตําแหนงตามวาระปฏิบัติ หนา ที่ไปพลางกอน ÁÒμÃÒ ñó การประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่ง ของจํานวนกรรมการทงั้ หมดจึงเปน องคประชุม

๗๐ ใหป ระธานกรรมการเปน ประธานในทปี่ ระชมุ ในกรณที ป่ี ระธานกรรมการ ไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีได ใหรองประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม หากรองประธานไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีไดใหกรรมการซ่ึงมาประชุมเลือกกรรมการ คนหนงึ่ เปนประธานในทีป่ ระชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของท่ีประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึง ใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพ่ิมขึ้น อกี เสยี งหนึง่ เปน เสยี งช้ขี าด ÁÒμÃÒ ñô คณะกรรมการมอี าํ นาจและหนา ท่ี ดงั ตอไปนี้ (๑) เสนอความเห็นตอรฐั มนตรเี ก่ียวกับนโยบาย แผนงาน งบประมาณ และมาตรการในการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็กตาม พระราชบญั ญตั นิ ี้ (๒) เสนอความเห็นตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงและระเบียบ เพือ่ ปฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญตั ิน้ี (๓) วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังเก่ียวกับ การรบั เงิน การจายเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการจัดหาผลประโยชนข องกองทนุ (๔) วางระเบียบเก่ียวกับวิธีการดําเนินการคุมครองสวัสดิภาพเด็ก ตามมาตรา ๔๗ (๕) วางหลักเกณฑใ นการแตงต้ังพนกั งานเจา หนา ที่ (๖) ใหค าํ ปรกึ ษา แนะนาํ และประสานงานแกห นว ยงานของรฐั และเอกชน ทีป่ ฏบิ ตั งิ านดานการศกึ ษา การสงเคราะห คมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสงเสรมิ ความประพฤตเิ ดก็ รวมทั้ง มอี าํ นาจเขา ไปตรวจสอบในสถานรบั เลยี้ งเดก็ สถานแรกรบั สถานสงเคราะห สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ สถานพัฒนาและฟนฟู สถานพินิจ หรือสถานที่ที่เกี่ยวของกับการสงเคราะหคุมครองสวัสดิภาพ และสงเสรมิ ความประพฤติเดก็ ท้งั ของรฐั และเอกชน (๗) ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและตรวจสอบการดาํ เนนิ งานของคณะกรรมการ คมุ ครองเดก็ กรงุ เทพมหานครและคณะกรรมการคมุ ครองเดก็ จงั หวดั รวมทงั้ ใหค าํ แนะนาํ และเสนอแนะ ในการปองกันและแกไขปญหาการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็ก ในกรงุ เทพมหานครและระดบั จงั หวัด (๘) ดําเนินการอื่นใดท่ีเก่ียวกับการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสรมิ ความประพฤติเดก็ ÁÒμÃÒ ñõ คณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน เพอ่ื ปฏิบัติการตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย

๗๑ ใหน าํ บทบญั ญตั มิ าตรา ๑๓ มาใชบ งั คบั กบั การประชมุ ของคณะอนกุ รรมการ หรอื คณะทํางาน โดยอนุโลม ÁÒμÃÒ ñö ใหม คี ณะกรรมการคมุ ครองเดก็ กรงุ เทพมหานคร ประกอบดว ย ผวู า ราชการ กรุงเทพมหานคร เปนประธานกรรมการ ปลัดกรุงเทพมหานคร เปนรองประธานกรรมการ ผูแทน สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผแู ทนสาํ นกั งานอยั การสงู สดุ ผแู ทนกองบญั ชาการตาํ รวจนครบาล ผูแทนกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ผูแทนศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ผูแทนสถานพินิจ และคมุ ครองเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร ผแู ทนสาํ นกั งานสง เสรมิ สวสั ดภิ าพและพทิ กั ษเ ดก็ เยาวชน ผูดอยโอกาส คนพิการ และผูสูงอายุ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาชุมชน ผูอํานวยการสํานักการศึกษา ผอู าํ นวยการสาํ นกั อนามยั และผอู าํ นวยการสาํ นกั การแพทย เปน กรรมการ และกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ ซ่ึงผูวาราชการกรุงเทพมหานครแตงตั้งจากผูเช่ียวชาญซึ่งมีประสบการณในการงานที่ทําในวิชาชีพ สังคมสงเคราะห ครู จติ วทิ ยา กฎหมาย แพทย วชิ าชีพละสองคน โดยจะตอ งมีผแู ทนจากภาคเอกชน อยางนอยวิชาชีพละหน่ึงคน และแตงต้ังจากผูมีประสบการณดานสวัสดิการเด็กอีกสองคน โดยมี ผูอ าํ นวยการสํานักสวัสดกิ ารสงั คมเปนกรรมการและเลขานกุ าร กรรมการผทู รงคุณวุฒติ ามวรรคหนงึ่ ตอ งเปนสตรไี มน อยกวา หน่ึงในสาม คณะกรรมการคมุ ครองเดก็ กรงุ เทพมหานครจะแตง ตงั้ ขา ราชการในสาํ นกั สวสั ดกิ ารสงั คมไมเกนิ สองคน เปน ผชู วยเลขานุการก็ได ÁÒμÃÒ ñ÷ ใหมีคณะกรรมการคุมครองเด็กจังหวัด ประกอบดวย ผูวาราชการ จังหวัด เปนประธานกรรมการ รองผูวาราชการจังหวัด ซ่ึงไดรับมอบหมายจากผูวาราชการจังหวัด เปนรองประธานกรรมการ อัยการจังหวัด พัฒนาการจังหวัด แรงงานจังหวัด ผูอํานวยการเขตพื้นที่ การศกึ ษา นายแพทยส าธารณสขุ จงั หวดั ผบู งั คบั การตาํ รวจภธู รจงั หวดั ผแู ทนศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวัด หรือผูแทนศาลจังหวัด ในกรณีท่ีจังหวัดนั้นไมมีศาลเยาวชนและครอบครัว ผูแทนสถานพินิจ และคุมครองเด็กและเยาวชนจังหวัด หรอื ผแู ทนกระทรวงยุติธรรม ซงึ่ แตง ต้ังจากขาราชการในจงั หวัด ในกรณีที่จังหวัดนั้นไมมีสถานพินิจ นายกองคการบริหารสวนจังหวัด เปนกรรมการ และกรรมการ ผทู รงคณุ วฒุ ิ ซงึ่ ผวู า ราชการจงั หวดั แตง ตงั้ จากผเู ชยี่ วชาญ ซง่ึ มปี ระสบการณใ นการงานทที่ าํ ในวชิ าชพี สงั คมสงเคราะห ครู จิตวทิ ยา กฎหมาย แพทย วชิ าชพี ละสองคน โดยจะตอ งมีผูแ ทนจากภาคเอกชน อยา งนอ ยวชิ าชพี ละหนง่ึ คน และแตง ตงั้ จากผมู ปี ระสบการณด า นสวสั ดกิ ารเดก็ อกี สองคน โดยมพี ฒั นา สังคมและสวสั ดิการจังหวัดเปนกรรมการและเลขานกุ าร กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ติ ามวรรคหนง่ึ ตองเปน สตรไี มนอยกวา หน่งึ ในสาม คณะกรรมการคุมครองเด็กจังหวัดจะแตงต้ังขาราชการในจังหวัดน้ัน ไมเ กินสองคนเปน ผชู วยเลขานกุ ารก็ได ÁÒμÃÒ ñø ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใชบ ังคับกบั การดํารงตาํ แหนง การพน จากตําแหนง การแตงต้ังกรรมการแทน และการปฏบิ ตั หิ นา ที่

๗๒ ของกรรมการผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ โดยอนุโลม เวนแตอํานาจของรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๐(๓) และมาตรา ๑๑ ใหเ ปนอาํ นาจของผวู าราชการกรุงเทพมหานครหรือผวู าราชการ จังหวดั แลว แตก รณี ÁÒμÃÒ ñù ใหน ําบทบัญญัติมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๕ มาใชบงั คบั กับการประชุม และการแตงต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานของคณะกรรมการคุมครองเด็กกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการคมุ ครองเดก็ จงั หวดั โดยอนุโลม ÁÒμÃÒ òð คณะกรรมการคมุ ครองเดก็ กรงุ เทพมหานครและคณะกรรมการคมุ ครองเดก็ จังหวัดมีอาํ นาจและหนาท่ี ดังตอ ไปนี้ (๑) เสนอความเห็นตอคณะกรรมการเก่ียวกับนโยบาย แผนงาน งบประมาณ และมาตรการในการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็ก ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ (๒) ใหค าํ ปรกึ ษา แนะนาํ และประสานงานแกห นว ยงานของรฐั และเอกชน ที่ปฏิบตั งิ านดานการศึกษา การสงเคราะห คุมครองสวสั ดภิ าพ และสง เสรมิ ความประพฤติเดก็ รวมท้ัง มอี าํ นาจเขา ไปตรวจสอบในสถานรบั เลยี้ งเดก็ สถานแรกรบั สถานสงเคราะห สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ สถานพัฒนาและฟนฟู สถานพินิจ หรือสถานท่ีที่เกี่ยวของกับการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็กของรัฐและเอกชนภายในเขตกรุงเทพมหานครหรือเขตจังหวัด แลว แตกรณี (๓) กําหนดแนวทางการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริม ความประพฤตเิ ดก็ ในเขตกรุงเทพมหานครหรือเขตจังหวดั แลวแตกรณี (๔) จัดหาทุนเพ่ือการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริม ความประพฤตเิ ด็กในเขตกรุงเทพมหานครหรือเขตจงั หวัด แลว แตก รณี และรายงานผลการดาํ เนนิ การ เกย่ี วกบั การจดั หาทุน และการจดั การทนุ ตอคณะกรรมการและคณะกรรมการบริหารกองทุน (๕) ตรวจสอบหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวของมาชี้แจงกรณีมีการปฏิบัติ ตอเดก็ โดยมิชอบ (๖) เรยี กเอกสารหรอื พยานหลกั ฐานใดๆ หรอื ขอคาํ ชแ้ี จงจากผทู เี่ กยี่ วขอ ง เพอื่ ประกอบการวินิจฉยั ในการปฏิบตั ิหนา ทต่ี ามพระราชบญั ญัตินี้ (๗) ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและตรวจสอบการดาํ เนนิ งานเกยี่ วกบั การสงเคราะห และสงเสริม ความประพฤติเด็กในกรุงเทพมหานครและระดับจังหวัด แลวแตกรณี แลวรายงานผล ตอ คณะกรรมการ (๘) ดําเนินการอนื่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการมอบหมาย ÁÒμÃÒ òñ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ีใหกรรมการและอนุกรรมการ เปนเจา พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

๗๓ ËÁÇ´ ò ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ‹Íà´¡ç ÁÒμÃÒ òò การปฏิบัติตอเด็กไมวากรณีใด ใหคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของเด็ก เปนสาํ คัญและไมใหมกี ารเลอื กปฏิบตั โิ ดยไมเปน ธรรม การกระทาํ ใดเปน ไปเพอ่ื ประโยชนส งู สดุ ของเดก็ หรอื เปน การเลอื กปฏบิ ตั ิ โดยไมเปน ธรรมตอ เดก็ หรือไม ใหพ ิจารณาตามแนวทางทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง ÁÒμÃÒ òó ผูปกครองตองใหการอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนาเด็ก ที่อยูในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแกขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแหงทองถ่ิน แตท้ังนี้ตองไมต่ํากวามาตรฐานขั้นตํ่าตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงและตองคุมครองสวัสดิภาพเด็ก ที่อยูในความปกครองดแู ลของตนมิใหตกอยใู นภาวะอนั นาจะเกิดอันตรายแกรางกายหรือจติ ใจ ÁÒμÃÒ òô ปลดั กระทรวง ผวู า ราชการจงั หวดั ผอู าํ นวยการเขต นายอาํ เภอ ปลดั อาํ เภอ ผเู ปน หวั หนา ประจาํ กง่ิ อาํ เภอ หรอื ผบู รหิ ารองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ มหี นา ทคี่ มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ท่ีอยูในเขตพ้ืนท่ีที่รับผิดชอบ ไมวาเด็กจะมีผูปกครองหรือไมก็ตาม รวมท้ังมีอํานาจและหนาที่ ดูแลและตรวจสอบสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ สถานพฒั นาและฟน ฟู และสถานพนิ จิ ทต่ี ง้ั อยใู นเขตอาํ นาจ แลว รายงานผลการตรวจสอบตอ คณะกรรมการ คณะกรรมการคุมครองเด็กกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการคุมครองเด็กจังหวัด แลวแตกรณี เพอ่ื ทราบ และใหมอี ํานาจและหนาทเี่ ชน เดียวกับพนักงานเจาหนาท่ตี ามพระราชบญั ญัติน้ี ÁÒμÃÒ òõ ผปู กครองตอ งไมก ระทาํ การ ดังตอ ไปนี้ (๑) ทอดทง้ิ เดก็ ไวใ นสถานรบั เลย้ี งเดก็ หรอื สถานพยาบาลหรอื ไวก บั บคุ คล ทร่ี บั จางเล้ียงเด็กหรอื ทส่ี าธารณะหรือสถานท่ใี ด โดยเจตนาที่จะไมรบั เด็กกลับคืน (๒) ละทงิ้ เดก็ ไว ณ สถานทใี่ ดๆ โดยไมจ ดั ใหม กี ารปอ งกนั ดแู ลสวสั ดภิ าพ หรือใหก ารเลี้ยงดูที่เหมาะสม (๓) จงใจหรอื ละเลยไมใ หส ง่ิ ทจ่ี าํ เปน แกก ารดาํ รงชวี ติ หรอื สขุ ภาพอนามยั จนนา จะเกดิ อนั ตรายแกรา งกายหรอื จิตใจของเด็ก (๔) ปฏิบัติตอเด็กในลักษณะที่เปนการขัดขวางการเจริญเติบโต หรอื พัฒนาการของเด็ก (๕) ปฏิบัตติ อ เดก็ ในลักษณะทีเ่ ปนการเลยี้ งดโู ดยมิชอบ ÁÒμÃÒ òö ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงกฎหมายอ่ืน ไมวาเด็กจะยินยอมหรือไม หามมิใหผ ูใดกระทําการ ดงั ตอไปน้ี (๑) กระทําหรือละเวนการกระทําอันเปนการทารุณกรรมตอรางกาย หรอื จิตใจของเดก็

๗๔ (๒) จงใจหรอื ละเลยไมใ หส งิ่ จาํ เปน แกก ารดาํ รงชวี ติ หรอื การรกั ษาพยาบาล แกเด็กท่อี ยใู นความดแู ลของตน จนนา จะเกดิ อันตรายแกรางกายหรือจิตใจของเดก็ (๓) บังคับ ขูเข็ญ ชักจูง สงเสริม หรือยินยอมใหเด็กประพฤติตน ไมส มควรหรอื นา จะทําใหเด็กมคี วามประพฤตเิ สย่ี งตอการกระทาํ ผดิ (๔) โฆษณาทางสื่อมวลชนหรือเผยแพรดวยประการใด เพ่ือรับเด็ก หรอื ยกเดก็ ใหแ กบ คุ คลอน่ื ทม่ี ใิ ชญ าตขิ องเดก็ เวน แตเ ปน การกระทาํ ของทางราชการหรอื ไดร บั อนญุ าต จากทางราชการแลว (๕) บังคับ ขูเข็ญ ชักจูง สงเสริม ยินยอม หรือกระทําดวยประการใด ใหเ ดก็ ไปเปน ขอทาน เดก็ เรร อ น หรอื ใชเ ดก็ เปน เครอ่ื งมอื ในการขอทานหรอื การกระทาํ ผดิ หรอื กระทาํ ดว ยประการใด อนั เปน การแสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบจากเด็ก (๖) ใช จา ง หรอื วานเด็กใหท ํางานหรือกระทําการอันอาจเปนอันตราย แกร างกายหรือจติ ใจ มีผลกระทบตอ การเจริญเตบิ โต หรือขัดขวางตอ พฒั นาการของเด็ก (๗) บังคบั ขูเข็ญ ใช ชกั จงู ยยุ ง สง เสริม หรอื ยินยอมใหเ ด็กเลน กฬี า หรอื ใหก ระทาํ การใด เพอื่ แสวงหาประโยชนท างการคา อนั มลี กั ษณะเปน การขดั ขวางตอ การเจรญิ เตบิ โต หรือพัฒนาการของเด็กหรือมลี ักษณะเปนการทารุณกรรมตอ เด็ก (๘) ใชห รอื ยนิ ยอมใหเ ดก็ เลน การพนนั ไมว า ชนดิ ใดหรอื เขา ไปในสถานที่ เลน การพนนั สถานคา ประเวณี หรอื สถานที่ที่หามมใิ หเด็กเขา (๙) บังคับ ขูเข็ญ ใช ชักจูง ยุยง สงเสริม หรือยินยอมใหเด็กแสดง หรอื กระทาํ การ อนั มลี กั ษณะลามกอนาจาร ไมว า จะเปน ไปเพอื่ ใหไ ดม าซง่ึ คา ตอบแทนหรอื เพอื่ การใด (๑๐) จําหนา ย แลกเปลีย่ น หรือใหส รุ าหรือบหุ รีแ่ กเ ดก็ เวนแตการปฏิบตั ิ ทางการแพทย ถาการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งมีโทษตามกฎหมายอื่นที่หนักกวา กใ็ หล งโทษตามกฎหมายนัน้ ÁÒμÃÒ ò÷ หามมิใหผูใดโฆษณาหรือเผยแพรทางส่ือมวลชนหรือสื่อสารสนเทศ ประเภทใด ซึ่งขอมูลเก่ียวกับตัวเด็กหรือผูปกครอง โดยเจตนาท่ีจะทําใหเกิดความเสียหายแกจิตใจ ช่ือเสียง เกียรติคุณ หรือสิทธิประโยชนอื่นใดของเด็ก หรือเพื่อแสวงหาประโยชนสําหรับตนเอง หรอื ผูอ่นื โดยมชิ อบ ÁÒμÃÒ òø ในกรณีผูปกครองตกอยูในสภาพไมอาจใหการอุปการะเล้ียงดู อบรม ส่ังสอน และพัฒนาเด็กไดไมวาดวยเหตุใด หรือผูปกครองกระทําการใดอันนาจะเกิดอันตราย ตอสวัสดิภาพหรือขัดขวางตอความเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็ก หรือใหการเล้ียงดูโดยมิชอบ หรอื มเี หตจุ าํ เปน อนื่ ใดเพอื่ ประโยชนใ นการสงเคราะหห รอื คมุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ หรอื ปอ งกนั มใิ หเ ดก็ ไดร บั อนั ตรายหรอื ถกู เลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ ปน ธรรม พนกั งานเจา หนา ทต่ี อ งดาํ เนนิ การใหก ารสงเคราะห หรอื คุม ครองสวัสดภิ าพตามพระราชบญั ญตั ินี้

๗๕ ÁÒμÃÒ òù ผูใดพบเห็นเด็กตกอยูในสภาพจําตองไดรับการสงเคราะหหรือคุมครอง สวัสดิภาพตามหมวด ๓ และหมวด ๔ จะตอ งใหการชวยเหลอื เบอื้ งตน และแจงตอพนักงานเจา หนาที่ พนักงานฝายปกครองหรอื ตาํ รวจ หรอื ผูม ีหนา ท่ีคมุ ครองสวัสดภิ าพเด็กตามมาตรา ๒๔ โดยมิชักชา แพทย พยาบาล นกั จติ วทิ ยา นกั สงั คมสงเคราะห หรอื เจา หนา ทสี่ าธารณสขุ ท่ีรับตัวเด็กไวรักษาพยาบาล ครู อาจารย หรือนายจาง ซึ่งมีหนาที่ดูแลเด็กท่ีเปนศิษยหรือลูกจาง จะตองรายงานใหพนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ หรือพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทราบโดยมิชักชา หากเปนท่ีปรากฏชัดหรือนาสงสัยวาเด็กถูก ทารณุ กรรมหรือเจ็บปวยเนือ่ งจากการเลย้ี งดูโดยมิชอบ การแจงหรือการรายงานตามมาตรานี้ เม่ือไดกระทําโดยสุจริตยอมไดรับ ความคุม ครองและไมต องรบั ผิดท้งั ทางแพง ทางอาญาหรือทางปกครอง ÁÒμÃÒ óð เพ่ือประโยชนในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาท่ี ตามหมวด ๓ และหมวด ๔ มีอาํ นาจและหนา ที่ ดังตอ ไปน้ี (๑) เขาไปในเคหสถาน สถานท่ีใดๆ หรือยานพาหนะใดๆ ในระหวาง เวลาพระอาทิตยข้ึนถึงพระอาทิตยตกเพื่อตรวจคน ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามีการกระทํา ทารุณกรรมเด็ก มีการกักขังหรือเล้ียงดูโดยมิชอบ แตในกรณีมีเหตุอันควรเชื่อวาหากไมดําเนินการ ในทันทีเด็กอาจไดรับอันตรายแกรางกายหรือจิตใจ หรือถูกนําพาไปสถานท่ีอื่นซึ่งยากแกการติดตาม ชว ยเหลอื กใ็ หมีอํานาจเขา ไปในเวลาภายหลังพระอาทิตยตกได (๒) ซกั ถามเดก็ เมอื่ มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา เดก็ จาํ ตอ งไดร บั การสงเคราะห หรือคุมครองสวัสดิภาพในกรณีจําเปนเพ่ือประโยชนแกการสงเคราะหและคุมครองสวัสดิภาพเด็ก อาจนําตัวเด็กไปยังท่ีทําการของพนักงานเจาหนาท่ี เพ่ือทราบขอมูลเกี่ยวกับเด็กและครอบครัว รวมทั้งบุคคลที่เด็กอาศัยอยู ทั้งนี้ จะตองกระทําโดยมิชักชา แตไมวากรณีใดจะกักตัวเด็กไวนาน เกนิ กวา สิบสองชวั่ โมงไมได เมื่อพนระยะเวลาดังกลาวใหปฏบิ ัติตาม (๖) ระหวางทเ่ี ดก็ อยใู นความดูแล จะตอ งใหการอปุ การะเล้ยี งดูและหากเจ็บปว ยจะตอ งใหการรักษาพยาบาล (๓) มีหนังสือเรียกผูปกครอง หรือบุคคลอื่นใดมาใหถอยคํา หรอื ขอ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั สภาพความเปน อยู ความประพฤติ สขุ ภาพ และความสมั พนั ธใ นครอบครวั ของเดก็ (๔) ออกคาํ สงั่ เปน หนงั สอื ใหผ ปู กครองของเดก็ นายจา งหรอื ผปู ระกอบการ เจาของหรือผูครอบครองสถานที่ท่ีเด็กทํางานหรือเคยทํางาน อาศัยหรือเคยอาศัยอยู เจาของ หรือผูครอบครอง หรือผูดูแลสถานศึกษาท่ีเด็กกําลังศึกษาหรือเคยศึกษา หรือผูปกครองสวัสดิภาพ สงเอกสารหรือหลักฐานเก่ียวกับสภาพความเปนอยู การศึกษา การทํางาน หรือความประพฤติ ของเดก็ มาให (๕) เขาไปในสถานท่ีอยูอาศัยของผูปกครอง สถานท่ีประกอบการ ของนายจางของเด็ก สถานศึกษาของเด็ก หรือสถานท่ีท่ีเด็กมีความเก่ียวของดวย ในระหวางเวลา พระอาทิตยข้นึ ถึงพระอาทติ ยตก เพือ่ สอบถามบุคคลท่อี ยูใ นทีน่ ้นั ๆ และรวบรวมขอมลู หรือหลักฐาน เกยี่ วกบั สภาพความเปน อยู ความสมั พนั ธใ นครอบครวั การเลย้ี งดู อปุ นสิ ยั และความประพฤตขิ องเดก็

๗๖ (๖) มอบตวั เดก็ ใหแ กผ ปู กครองพรอ มกบั แนะนาํ หรอื ตกั เตอื นผปู กครอง ใหด แู ลและอุปการะเล้ยี งดูเด็กในทางทถี่ ูกตอง เพือ่ ใหเด็กไดร บั การพัฒนาในทางท่ีเหมาะสม (๗) ทาํ รายงานเกย่ี วกบั ตวั เดก็ เพอ่ื มอบใหแ กส ถานแรกรบั ในกรณมี กี าร สง เดก็ ไปยังสถานแรกรบั หรอื หนวยงานท่ีเกีย่ วของเมื่อมกี ารรองขอ เดก็ ทอี่ ยใู นความดแู ลของพนกั งานเจา หนา ทจ่ี ะตอ งไดร บั การอปุ การะเลย้ี งดู และไดรับการศึกษาอยางเหมาะสม และกอนท่ีจะจัดใหเด็กเขาอยูในสถานรับเล้ียงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุม ครองสวสั ดภิ าพ และสถานพัฒนาและฟน ฟู จะตองปรึกษากับผูเ ชยี่ วชาญ ในสาขาวิชาชีพสงั คมสงเคราะหแ ละการแพทยก อ นเทาที่สามารถกระทาํ ได ในการปฏิบัติหนา ท่ีตาม (๑) (๒) และ (๕) พนักงานเจาหนา ที่ตองแสดง บตั รประจาํ ตวั กอ นและใหบุคคลท่ีเกย่ี วของอํานวยความสะดวกตามสมควร บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาท่ีใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีกําหนด โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ÁÒμÃÒ óñ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ีใหพนักงานเจาหนาท่ีเปน เจา พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา ËÁÇ´ ó ¡ÒÃʧà¤ÃÒÐˏഡç ÁÒμÃÒ óò เด็กที่พึงไดร บั การสงเคราะหไดแ ก (๑) เดก็ เรร อ น หรือเดก็ กําพรา (๒) เดก็ ทีถ่ ูกทอดท้งิ หรอื พลัดหลง ณ ทใี่ ดท่หี น่ึง (๓) เด็กท่ีผูปกครองไมสามารถอุปการะเล้ียงดูไดดวยเหตุใดๆ เชน ถูกจําคุก กักขัง พิการ ทุพพลภาพ เจ็บปวยเรื้อรัง ยากจน เปนผูเยาว หยา ถูกท้ิงราง เปนโรคจิต หรอื โรคประสาท (๔) เด็กท่ีผูปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไมเหมาะสม อันอาจสง ผลกระทบตอพฒั นาการทางรางกายหรอื จิตใจของเด็กทอี่ ยูในความปกครองดูแล (๕) เด็กท่ีไดรับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ ถูกใชเปนเครื่องมือในการกระทํา หรือแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ถูกทารุณกรรม หรือตกอยูในภาวะอื่นใดอันอาจเปนเหตุใหเด็ก มคี วามประพฤตเิ สอ่ื มเสยี ในทางศีลธรรมอนั ดีหรือเปน เหตุใหเ กิดอันตรายแกกายหรอื จติ ใจ (๖) เดก็ พิการ (๗) เดก็ ท่อี ยใู นสภาพยากลาํ บาก (๘) เด็กท่ีอยูในสภาพที่จําตองไดรับการสงเคราะหตามที่กําหนด ในกฎกระทรวง

๗๗ ÁÒμÃÒ óó ในกรณีพนักงานเจาหนาท่ีหรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพเด็กตาม มาตรา ๒๔ ไดรับแจงจากบุคคลตามมาตรา ๒๙ หรือพบเห็นเด็กท่ีพึงไดรับการสงเคราะหตาม มาตรา ๓๒ ใหพ ิจารณาใหการสงเคราะหต ามวิธีการท่เี หมาะสม ดังตอ ไปน้ี (๑) ใหความชวยเหลือและสงเคราะหแกเด็กและครอบครัวหรือบุคคล ทอี่ ุปการะเลีย้ งดูเดก็ เพอ่ื ใหส ามารถอปุ การะเล้ียงดูเดก็ ไดตามมาตรา ๒๓ (๒) มอบเด็กใหอยูในความอุปการะของบุคคลที่เหมาะสมและยินยอม รับเด็กไวอุปการะเลี้ยงดูตามระยะเวลาที่เห็นสมควร แตตองไมเกินหน่ึงเดือน ในกรณีที่ไมอาจ ดําเนนิ การตาม (๑) ได (๓) ดาํ เนนิ การเพอื่ ใหเ ดก็ ไดเ ปน บตุ รบญุ ธรรมของบคุ คลอนื่ ตามกฎหมาย วาดวยการรับเดก็ เปนบุตรบญุ ธรรม (๔) สง เดก็ เขา รบั การอปุ การะในครอบครวั อปุ ถมั ภห รอื สถานรบั เลย้ี งเดก็ ที่เหมาะสมและยนิ ยอมรับเด็กไวอ ปุ การะ (๕) สง เด็กเขา รบั การอุปการะในสถานแรกรับ (๖) สงเด็กเขารบั การอุปการะในสถานสงเคราะห (๗) สง เดก็ เขา ศกึ ษาหรอื ฝก หดั อาชพี หรอื สง เดก็ เขา บาํ บดั ฟน ฟสู มรรถภาพ ศึกษา หรือฝกหัดอาชีพในสถานพัฒนาและฟนฟู หรือสงเด็กเขาศึกษากลอมเกลาจิตใจ โดยใชหลัก ศาสนาในวดั หรือสถานที่ทางศาสนาอ่ืน ท่ยี ินยอมรับเด็กไว วธิ กี ารใหก ารสงเคราะหต ามวรรคหนงึ่ ใหเ ปน ไปตามระเบยี บทป่ี ลดั กระทรวง กําหนด และไมวากรณีใดๆ การดําเนินการใหการสงเคราะหตาม (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) ตองไดรับ ความยินยอมจากผูปกครอง ความยินยอมดังกลาวตองทําเปนหนังสือตามแบบที่ปลัดกระทรวง กาํ หนด หรอื ยนิ ยอมดว ยวาจาตอ หนา พยานอยา งนอ ยสองคน ในกรณที ผ่ี ปู กครองไมใ หค วามยนิ ยอม โดยไมมีเหตุอันควรหรือไมอาจใหความยินยอมได ใหปลัดกระทรวงหรือผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี มีอํานาจสงเด็กเขารับการสงเคราะหตามวิธีการดังกลาวได ทั้งนี้ ปลัดกระทรวง หรือผูวาราชการจังหวัดตองฟงรายงานและความเห็นของผูเช่ียวชาญในสาขาวิชาชีพสังคมสงเคราะห และการแพทยกอ น ใหปลัดกระทรวงหรือผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี มีอํานาจกําหนด ระยะเวลาในการสงเคราะหเดก็ ตาม (๔) (๕) (๖) หรอื (๗) แตถ า มีพฤติการณเปลี่ยนแปลงไป อาจจะ ขยายหรอื ยน ระยะเวลาทก่ี าํ หนดไวแ ลว กไ็ ดต ามแตเ หน็ สมควร ในระหวา งระยะเวลาดงั กลา วใหพ นกั งาน เจาหนาที่รบี ดําเนนิ การจดั ใหเ ด็กสามารถกลบั ไปอยูในความปกครองของผปู กครอง โดยมิชกั ชา ในกรณีเด็กอยูระหวางการรับการสงเคราะห ถาผูปกครองรองขอ และแสดงใหเ หน็ วา สามารถปกครองและอปุ การะเลยี้ งดเู ดก็ ได ใหป ลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลวแตกรณี ส่ังใหเด็กพนจากการสงเคราะหและมอบตัวเด็กใหแกผูปกครองรับไปปกครองดูแลได แมวา ยงั ไมครบกําหนดระยะเวลาในการสงเคราะหก็ตาม

๗๘ ในกรณที บี่ คุ คลทไ่ี ดร บั การสงเคราะหม อี ายคุ รบสบิ แปดปบ รบิ รู ณแ ตย งั อยู ในสภาพทจี่ าํ เปน จะตอ งไดร บั การสงเคราะหต อ ไป ปลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี อาจส่งั ใหบคุ คลน้ันไดร ับการสงเคราะหตอไปจนอายยุ ี่สิบปบริบรู ณก็ได แตถา มเี หตุจาํ เปนตองใหการ สงเคราะหตอไปอีกและบุคคลน้ันมิไดคัดคานปลัดกระทรวงหรือผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี อาจส่ังใหสงเคราะหบุคคลนั้นตอไปตามความจําเปนและสมควร แตท้ังน้ีตองไมเกินเวลาท่ีบุคคลนั้น มีอายคุ รบยี่สบิ สีป่ บ รบิ รู ณ ÁÒμÃÒ óô ผูปกครองหรือญาติของเด็ก อาจนําเด็กไปขอรับการสงเคราะหท่ี กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการหรือสํานักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด หรือท่ีสถานแรกรับ สถานสงเคราะห หรือสถานพัฒนาและฟน ฟูของเอกชน เพอ่ื ขอรบั การสงเคราะหไ ด กรณมี กี ารนาํ เดก็ มาขอรบั การสงเคราะหท กี่ รมพฒั นาสงั คมและสวสั ดกิ าร หรือสํานักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด ถาเปนเด็กที่จําเปนตองไดรับการสงเคราะหให พนกั งานเจา หนา ทพี่ จิ ารณาใหก ารสงเคราะหท เี่ หมาะสมตามมาตรา ๓๓ แตใ นกรณที พี่ นกั งานเจา หนา ท่ี ยังไมสามารถหาวิธกี ารสงเคราะหท่ีเหมาะสมกบั เด็กตามมาตรา ๓๓ ได จะสงเด็กไปยงั สถานแรกรบั กอ นกไ็ ด กรณมี ีการนาํ เดก็ มาขอรบั การสงเคราะหท ่ีสถานแรกรับ สถานสงเคราะห หรอื สถานพฒั นาและฟน ฟเู ดก็ ของเอกชน ใหผ ปู กครองสวสั ดภิ าพรายงานขอ มลู เกยี่ วกบั เดก็ ตอ พนกั งาน เจาหนาทเ่ี พ่ือพิจารณาดาํ เนินการตามวรรคสองตอ ไป ÁÒμÃÒ óõ เมื่อพนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาท่ีคุมครองสวัสดิภาพเด็กตาม มาตรา ๒๔ พบเห็นเดก็ ทีพ่ งึ ไดร บั การสงเคราะหต ามมาตรา ๓๒(๑) และ (๒) หรอื ไดรบั แจงจากบุคคล ตามมาตรา ๒๙ ใหสอบถามเพื่อทราบขอมูลเก่ียวกับเด็ก ถาเด็กเจ็บปวยหรือจําตองตรวจสุขภาพ หรอื เปน เดก็ พกิ าร ตอ งรบี จดั ใหม กี ารตรวจรกั ษาทางรา งกายและจติ ใจทนั ที หากเปน เดก็ ทจี่ าํ เปน ตอ งไดร บั การสงเคราะหก ็ใหพิจารณาใหก ารสงเคราะหตามมาตรา ๓๓ และไมว า กรณีใดใหพยายามดาํ เนนิ การ เพ่ือใหเด็กสามารถกลับไปอยูกับครอบครัวโดยเร็ว แตหากปรากฏวาสภาพครอบครัวหรือสิ่งแวดลอม ไมเหมาะท่ีจะใหเด็กกลับไปอยูกับครอบครัว และมีเหตุจําเปนท่ีจะตองใหการคุมครองสวัสดิภาพ แกเ ดก็ พนักงานเจา หนาทจี่ ะใชม าตรการคุมครองสวสั ดิภาพแกเ ด็กตามหมวด ๔ ก็ได ÁÒμÃÒ óö ในระหวางที่เด็กไดรับการสงเคราะหตามมาตรา ๓๓ (๒) (๔) หรือ (๖) หากปรากฏวาเปนเด็กที่เสย่ี งตอการกระทําผิดและพึงไดรบั การคมุ ครองสวัสดิภาพ ใหป ลัดกระทรวง หรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี มอี าํ นาจสง่ั ใหใ ชม าตรการคมุ ครองสวสั ดภิ าพแกเ ดก็ ตามหมวด ๔ ได ÁÒμÃÒ ó÷ เมอ่ื สถานแรกรบั สถานสงเคราะห หรอื สถานพฒั นาและฟน ฟไู ดร บั ตวั เดก็ ไวตามมาตรา ๓๓ (๕) (๖) หรือ (๗) ใหผูปกครองสวัสดิภาพรีบสืบเสาะและพินิจเกี่ยวกับตัวเด็ก และครอบครัว และเสนอความเห็นเก่ียวกับวิธีการสงเคราะหหรือคุมครองสวัสดิภาพเด็กแตละคน พรอมดวยประวัติไปยังปลัดกระทรวงหรือผูวาราชการจังหวัด แลวแตกรณี โดยมิชักชา และใหปลัด กระทรวงหรอื ผูวา ราชการจังหวัดสั่งการตามทเี่ ห็นสมควรตอ ไป

๗๙ ÁÒμÃÒ óø ในกรณที ปี่ ลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั สงั่ ใหเ ดก็ เขา รบั การสงเคราะห โดยผูปกครอง ไมย นิ ยอม ตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง กรณที ี่ผูป กครองของเด็กไมเ ห็นดวยกับกาํ หนด ระยะเวลาตามมาตรา ๓๓ วรรคสาม หรือกรณีที่ผูปกครองยื่นคํารองขอรับเด็กไปปกครองดูแลเอง แตไดรับการปฏิเสธจากปลัดกระทรวงหรือผูวาราชการจังหวัดตามมาตรา ๓๓ วรรคส่ี ผูปกครอง ยอ มมสี ทิ ธนิ าํ คดไี ปสศู าลตามมาตรา ๕ ในเขตทอ งทนี่ น้ั ภายในหนงึ่ รอ ยยสี่ บิ วนั นบั แตว นั รบั ทราบคาํ สงั่ ÁÒμÃÒ óù ในกรณีที่ผูปกครองซึ่งไดรับเด็กกลับมาอยูในความดูแล มีพฤติการณ นา เชอื่ วา จะใหก ารเลยี้ งดโู ดยมชิ อบแกเ ดก็ อกี ใหพ นกั งานเจา หนา ทหี่ รอื ผมู หี นา ทคี่ มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ตามมาตรา ๒๔ ใหคําแนะนําแกผูปกครอง หากผูปกครองไมปฏิบัติตามคําแนะนําก็ใหยื่นคําขอตอ ปลัดกระทรวง ผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอหรือปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจําก่ิงอําเภอ แลวแตกรณี เพ่ือเรียกผูปกครองมาทําทัณฑบนวาจะไมกระทําการใดอันมีลักษณะเปนการใหการ เล้ียงดูโดยมิชอบแกเด็กอีกและใหวางประกันไวเปนจํานวนเงินตามสมควรแกฐานานุรูป แตจะเรียก ประกนั ไวไ ดไ มเ กนิ ระยะเวลาสองป ถา กระทาํ ผดิ ทณั ฑบ นใหร บิ เงนิ ประกนั เปน ของกองทนุ คมุ ครองเดก็ ตามมาตรา ๖๙ การใหคําแนะนําหรือการเรียกประกันใหคํานึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจของ ผูปกครอง และประโยชนส งู สดุ ของเด็กเปน สาํ คญั ËÁÇ´ ô ¡ÒäŒÁØ ¤ÃͧÊÇÊÑ ´ÔÀÒ¾à´ç¡ ÁÒμÃÒ ôð เด็กท่พี ึงไดรบั การคุม ครองสวสั ดภิ าพ ไดแ ก (๑) เด็กที่ถกู ทารณุ กรรม (๒) เด็กทเี่ สย่ี งตอการกระทาํ ผดิ (๓) เดก็ ทอ่ี ยใู นสภาพทจี่ าํ ตอ งไดร บั การคมุ ครองสวสั ดภิ าพตามทกี่ าํ หนด ในกฎกระทรวง ÁÒμÃÒ ôñ ผูใดพบเห็นหรือประสบพฤติการณท่ีนาเช่ือวามีการกระทําทารุณกรรม ตอเด็ก ใหร บี แจง หรอื รายงานตอ พนักงานเจาหนาท่ี พนักงานฝา ยปกครองหรือตํารวจ หรือผมู หี นาที่ คุม ครองสวัสดภิ าพเดก็ ตามมาตรา ๒๔ เมื่อพนักงานเจาหนาท่ี พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ หรือผูมีหนาที่คุมครอง สวัสดภิ าพ เด็กตามมาตรา ๒๔ ไดร ับแจง เหตุตามวรรคหนึ่ง หรือเปนผพู บเหน็ หรือประสบพฤติการณ ทน่ี า เชอ่ื วา มกี ารกระทาํ ทารณุ กรรมตอ เดก็ ในสถานทใ่ี ด ใหม อี าํ นาจเขา ตรวจคน และมอี าํ นาจแยกตวั เดก็ จากครอบครัวของเดก็ เพอ่ื คมุ ครองสวสั ดิภาพเดก็ โดยเรว็ ท่สี ดุ

๘๐ การแจงหรือการรายงานตามมาตราน้ี เมื่อไดกระทําโดยสุจริตยอมไดรับความคุมครอง และไมต องรับผิดท้งั ทางแพง ทางอาญาหรือทางปกครอง ÁÒμÃÒ ôò การดาํ เนนิ การคมุ ครองสวัสดิภาพเดก็ ตามมาตรา ๔๑ วรรคสอง ตอ งรบี จัดใหมีการตรวจรักษาทางรางกายและจิตใจทันที ถาพนักงานเจาหนาที่เห็นสมควรตองสืบเสาะ และพนิ จิ เกย่ี วกบั เดก็ และครอบครวั เพอ่ื หาวธิ กี ารคมุ ครองสวสั ดภิ าพทเี่ หมาะสมแกเ ดก็ กอ็ าจสง ตวั เดก็ ไปสถานแรกรับกอนได หรือถาจําเปนตองใหการสงเคราะหก็ใหพิจารณาใหการสงเคราะหตาม มาตรา ๓๓ และถาจําเปนตองใหก ารฟน ฟสู ภาพจติ ใจกใ็ หร บี สงเดก็ ไปยังสถานพัฒนาและฟน ฟู การสงเด็กไปสถานแรกรับ สถานพัฒนาและฟนฟู หรือสถานที่อ่ืนใดตามวรรคหนึ่ง ระหวา งการสบื เสาะและพนิ จิ เพอื่ หาวธิ กี ารการคมุ ครองสวสั ดภิ าพทเ่ี หมาะสม ใหก ระทาํ ไดไ มเ กนิ เจด็ วนั แตในกรณีท่ีมีเหตุจําเปนและสมควรเพ่ือประโยชนของเด็ก พนักงานเจาหนาท่ีหรือพนักงานอัยการ จะยน่ื คาํ รอ งขอตอ ศาลตามมาตรา ๕ เพอื่ มคี าํ สงั่ ขยายระยะเวลาออกไปรวมแลว ไมเ กนิ สามสบิ วนั กไ็ ด ÁÒμÃÒ ôó กรณที ผ่ี ปู กครองหรอื ญาตขิ องเดก็ เปน ผกู ระทาํ ทารณุ กรรมตอ เดก็ ถา มกี าร ฟอ งคดอี าญาแกผกู ระทําผดิ และมเี หตุอนั ควรเชื่อวาผูถ กู ฟอ งนัน้ จะกระทําทารณุ กรรมแกเด็กอีก ก็ให ศาลทพ่ี ิจารณาคดนี ้นั มอี ํานาจกําหนดมาตรการคมุ ความประพฤติผนู น้ั หามเขาเขตกาํ หนด หรอื หา ม เขาใกลต ัวเดก็ ในระยะทีศ่ าลกําหนด เพอื่ ปอ งกันมใิ หก ระทําการดังกลา วและจะส่งั ใหผ ูน้นั ทาํ ทัณฑบ น ตามวิธกี ารทีก่ าํ หนดไวต ามมาตรา ๔๖ และมาตรา ๔๗ แหงประมวลกฎหมายอาญาดวยกไ็ ด หากยังไมมีการฟองคดีอาญาหรือไมฟองคดีอาญา แตมีพฤติการณ นา เชอ่ื วา จะมกี ารกระทาํ ทารณุ กรรมแกเ ดก็ อกี ใหพ นกั งานเจา หนา ท่ี พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจ ผูมหี นา ท่ีคุมครองสวัสดภิ าพเด็กตามมาตรา ๒๔ หรือพนักงานอัยการย่ืนคําขอตอศาลตามมาตรา ๕ เพื่อออกคําส่ังมิใหกระทําการดังกลาวโดยกําหนดมาตรการคุมความประพฤติและเรียกประกัน ดว ยกไ็ ด ในกรณตี ามวรรคหน่ึงและวรรคสอง หากศาลเหน็ วามีเหตุจาํ เปนเรง ดวน เพ่ือคุมครองเด็กมิใหถูกกระทําทารุณกรรมอีก ใหศาลมีอํานาจออกคําส่ังใหตํารวจจับกุมผูท่ีเชื่อวา จะกระทาํ ทารณุ กรรมแกเ ดก็ มากักขังไว มีกาํ หนดครั้งละไมเกนิ สามสบิ วนั การพิจารณาออกคําส่ังหรือการเรียกประกันตามมาตราน้ี ใหคํานึงถึง ประโยชนสูงสดุ ของเดก็ เปน สาํ คญั ÁÒμÃÒ ôô เมื่อพนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพเด็ก ตามมาตรา ๒๔ พบเห็นหรือไดรับแจงจากผูพบเห็นเด็กที่เสี่ยงตอการกระทําผิดใหสอบถามเด็ก และดาํ เนนิ การหาขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั ตวั เดก็ รวมทงั้ สภาพความสมั พนั ธภ ายในครอบครวั ความเปน อยู การเลี้ยงดู อปุ นิสยั และความประพฤติของเด็กเพ่ือทราบขอ มูลเกย่ี วกับเด็ก และถา เห็นวาจําเปน ตอ ง คมุ ครองสวัสดิภาพแกเด็ก โดยวธิ ีสง เขาสถานคมุ ครองสวสั ดิภาพหรอื สถานพัฒนาและฟนฟกู ใ็ หเ สนอ ประวตั ิ พรอ มความเหน็ ไปยงั ปลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี เพอื่ พจิ ารณาสงั่ ใหใ ช วิธกี ารคุม ครองสวัสดภิ าพทเี่ หมาะสมแกเ ด็ก

๘๑ ในกรณีพนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาท่ีคุมครองสวัสดิภาพเด็กตาม มาตรา ๒๔ เห็นวา เดก็ จําเปน ตองไดรบั การสงเคราะหก ใ็ หพจิ ารณาใหการสงเคราะหต ามมาตรา ๓๓ แตถาเห็นวายังไมสมควรสงตัวเด็กไปยังสถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ หรือสถานพัฒนาและฟนฟูก็ใหมอบตัวเด็กแกผูปกครองหรือบุคคลที่ยินยอมรับเด็กไปปกครองดูแล โดยอาจแตง ตงั้ ผคู มุ ครองสวสั ดภิ าพแกเ ดก็ ตามมาตรา ๔๘ หรอื ไมก ไ็ ด และเมอ่ื ไดป รกึ ษาหารอื รว มกบั ผูปกครองหรือบุคคลที่จะรับเด็กไปปกครองดูแลแลวอาจจะวางขอกําหนดเพ่ือปองกันมิใหเด็ก มคี วามประพฤตเิ สียหาย หรอื เสี่ยงตอการกระทําผดิ โดยใหผ ปู กครองหรอื บคุ คลทีร่ บั เดก็ ไปปกครอง ดแู ลตอ งปฏิบัตขิ อใดขอ หน่งึ หรอื หลายขอตามความเหมาะสม ดงั ตอไปนี้ (๑) ระมัดระวังมิใหเด็กเขาไปในสถานที่หรือทองที่ใดอันจะจูงใจใหเด็ก ประพฤตติ นไมส มควร (๒) ระมัดระวังมิใหเด็กออกนอกสถานท่ีอยูอาศัยในเวลากลางคืน เวน แตม เี หตจุ าํ เปน หรือไปกบั ผูปกครอง (๓) ระมดั ระวงั มใิ หเ ดก็ คบหาสมาคมกบั บคุ คลหรอื คณะบคุ คลทจี่ ะชกั นาํ ไปในทางเสือ่ มเสีย (๔) ระมดั ระวงั มใิ หเ ดก็ กระทาํ การใดอนั เปน เหตใุ หเ ดก็ ประพฤตเิ สยี หาย (๕) จัดใหเด็กไดรับการศึกษาอบรมตามสมควรแกอายุ สติปญญา และความสนใจของเด็ก (๖) จดั ใหเ ดก็ ไดป ระกอบอาชพี ทเี่ หมาะสมกบั ความถนดั และความสนใจ ของเด็ก (๗) จดั ใหเ ดก็ กระทาํ กจิ กรรมเพอื่ พฒั นาตนเองทางดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และบําเพญ็ ประโยชนตอ สังคม หากปรากฏชดั วา ผปู กครองหรอื ผทู ร่ี บั เดก็ ไวป กครองดแู ล ละเลยไมป ฏบิ ตั ิ ตามขอ กาํ หนดของพนกั งานเจา หนา ทหี่ รอื ผมู หี นา ทคี่ มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ตามมาตรา ๒๔ กใ็ หพ นกั งาน เจาหนา ทห่ี รอื ผูมีหนาทค่ี มุ ครองสวัสดิภาพเด็กรบั เดก็ กลับไปดแู ล ÁÒμÃÒ ôõ หามมิใหเด็กซื้อหรือเสพสุราหรือบุหร่ี หรือเขาไปในสถานที่เฉพาะ เพื่อการจําหนายหรือเสพสุราหรือบุหร่ี หากฝาฝนใหพนักงานเจาหนาท่ีสอบถามเด็กเพ่ือทราบ ขอมูลเก่ียวกับเด็กและมีหนังสือเรียกผูปกครองมารวมประชุมเพื่อปรึกษาหารือ วากลาวตักเตือน ใหทําทัณฑบน หรือมีขอตกลงรวมกันเก่ียวกับวิธีการและระยะเวลาในการจัดใหเด็กทํางานบริการ สังคมหรือทํางานสาธารณประโยชนและอาจวางขอกําหนดใหผูปกครองตองปฏิบัติขอใดขอหนึ่ง หรือหลายขอ ตามมาตรา ๔๔ วรรคสองหรือวางขอกําหนดอื่นใดเพื่อแกไข หรือปองกันมิใหเด็ก กระทาํ ความผิดขึ้นอกี กไ็ ด

๘๒ หากปรากฏวาผูปกครองของเด็กฝาฝนบทบัญญัติในวรรคหน่ึง ใหนําบทบัญญัติ มาตรา ๓๙ มาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม การวากลาวตักเตือน ทําทัณฑบน และจัดใหเด็กทํางานบริการสังคมหรือทํางาน สาธารณประโยชนต ามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอื่ นไขทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง ÁÒμÃÒ ôö ในกรณีที่ปลัดกระทรวงหรือผูวาราชการจังหวัดสั่งใหสงเด็กเขารับ การคุมครองสวัสดิภาพ หรือในกรณีพนักงานเจาหนาท่ีออกขอกําหนดใหเด็กทํางานบริการสังคม หรือทํางานสาธารณประโยชนตามมาตรา ๔๕ หากผูปกครองไมเห็นดวยใหมีสิทธินําคดีไปสูศาล ตามมาตรา ๕ ภายในหนึ่งรอ ยย่สี ิบวนั นบั แตวนั รบั ทราบคําสัง่ ÁÒμÃÒ ô÷ วธิ กี ารดําเนนิ การคุม ครองสวสั ดภิ าพเดก็ นอกจากทีบ่ ญั ญัตไิ วใ นหมวดน้ี ใหเปน ไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาํ หนด ËÁÇ´ õ ¼Ù¤Œ ÁŒØ ¤ÃͧÊÇÊÑ ´ÀÔ Ò¾à´¡ç ÁÒμÃÒ ôø ในการดําเนินการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความ ประพฤตแิ กเ ดก็ ตามพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื กฎหมายอนื่ ถา พนกั งานเจา หนา ทเี่ หน็ วา มเี หตสุ มควรแตง ตง้ั ผคู มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ เพอื่ กาํ กบั ดแู ลเดก็ คนใด กใ็ หย น่ื คาํ ขอตอ ปลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี ใหแ ตง ตงั้ พนกั งานเจา หนา ท่ี นกั สงั คมสงเคราะห หรอื บคุ คลทส่ี มคั รใจและมคี วามเหมาะสม เปนผูคุมครองสวัสดิภาพเด็ก โดยจะกําหนดสถานท่ีอยูอาศัยของเด็กท่ีอยูในการกํากับดูแล ของผคู ุมครองสวสั ดิภาพเดก็ ดวยกไ็ ด กรณีท่ีเด็กพนจากความปกครองดูแลของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพและสถานพัฒนาและฟนฟูแลว ถามีเหตุผลสมควรก็ใหผูปกครองสวัสดิภาพ ยน่ื คาํ ขอตอ ปลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี ใหต งั้ พนกั งานเจา หนา ที่ นกั สงั คมสงเคราะห หรอื บุคคลที่สมัครใจและมีความเหมาะสมเปนผคู มุ ครองสวสั ดภิ าพเด็กได การแตง ต้ังผูคุมครองสวสั ดิภาพเด็กใหมรี ะยะเวลาคราวละไมเ กินสองป ÁÒμÃÒ ôù ผคู มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ มีอาํ นาจและหนาท่ี ดงั ตอไปนี้ (๑) เย่ียมเยียน ใหคําปรึกษา แนะนํา และตักเตือนเกี่ยวกับเรื่อง ความประพฤติ การศกึ ษา และการประกอบอาชพี แกเดก็ ทอ่ี ยูในการกาํ กับดูแล (๒) เย่ียมเยียน ใหคําปรึกษา และแนะนําแกผูปกครองเกี่ยวกับเร่ือง การอบรมสัง่ สอนและเลีย้ งดูเด็ก ที่อยูใ นการกาํ กับดแู ล (๓) จัดทํารายงานและความเห็นเก่ียวกับสภาพความเปนอยูของเด็ก และของผปู กครอง เสนอตอ ปลดั กระทรวง ผวู า ราชการจงั หวดั พนกั งานเจา หนา ท่ี ผปู กครอง สวสั ดภิ าพ คณะกรรมการ คณะกรรมการคุมครองเด็กกรุงเทพมหานคร หรือคณะกรรมการคุมครองเด็กจังหวัด แลว แตกรณี เพอ่ื ดาํ เนนิ การตอ ไป

๘๓ ÁÒμÃÒ õð หา มมใิ หผ ปู กครองสวสั ดภิ าพหรอื ผคู มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ เปด เผยชอื่ ตวั ชอ่ื สกลุ ภาพหรอื ขอ มลู ใดๆ เกยี่ วกบั ตวั เดก็ ผปู กครอง ในลกั ษณะทน่ี า จะเกดิ ความเสยี หายแกช อ่ื เสยี ง เกียรตคิ ณุ หรอื สิทธปิ ระโยชนอยา งใดอยา งหนง่ึ ของเด็กหรือผปู กครอง บทบญั ญตั ใิ นวรรคหนง่ึ ใหใ ชบ งั คบั แกพ นกั งานเจา หนา ท่ี นกั สงั คมสงเคราะห นกั จติ วทิ ยา และผมู หี นา ทค่ี มุ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ตามมาตรา ๒๔ ซง่ึ ไดล ว งรขู อ มลู ดงั กลา วเนอ่ื งในการ ปฏิบตั หิ นา ท่ีของตนดวย โดยอนโุ ลม หามมิใหผูใดโฆษณาหรือเผยแพรทางสื่อมวลชนหรือส่ือสารสนเทศ ประเภทใด ซง่ึ ขอมลู ทีเ่ ปด เผย โดยฝาฝน บทบญั ญัติในวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ËÁÇ´ ö Ê¶Ò¹ÃºÑ àÅéÂÕ §à´¡ç ʶҹááÃѺ ʶҹʧà¤ÃÒÐˏ ʶҹ¤ØÁŒ ¤ÃͧÊÇÑÊ´ÀÔ Ò¾ áÅÐʶҹ¾Ñ²¹ÒáÅп„œ¹¿Ù ÁÒμÃÒ õñ ปลัดกระทรวงมีอํานาจจัดต้ังสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถาน สงเคราะห สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสถานพฒั นาและฟน ฟู ไดท ว่ั ราชอาณาจกั ร และผวู า ราชการ จังหวัดมีอํานาจจัดต้ังสถานรับเล้ียงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟน ฟูภายในเขตจงั หวัดน้นั หนวยงานอ่ืนของรัฐ นอกจากท่ีมีอํานาจหนาท่ีตามพระราชบัญญัตินี้ อาจจัดต้ังและดําเนินกิจการไดเฉพาะสถานรับเล้ียงเด็ก โดยแจงใหปลัดกระทรวงหรือผูวาราชการ จงั หวดั แลว แตก รณที ราบ และใหป ลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แนะนาํ หรอื สนบั สนนุ การจดั ตง้ั และการดําเนินการดังกลาว ÁÒμÃÒ õò ภายใตบ งั คบั ของมาตรา ๕๑ ผใู ดจะจดั ตง้ั สถานรบั เลย้ี งเดก็ สถานแรกรบั สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟนฟู ตองขอรับใบอนุญาต ตอปลดั กระทรวงหรือผวู าราชการจังหวัด แลวแตก รณี การขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต การขอตออายุใบอนุญาต การใหตออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบอนุญาตที่สูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด การออก ใบแทนใบอนญุ าต และการเพกิ ถอนใบอนญุ าต ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอื่ นไขทก่ี าํ หนดใน กฎกระทรวงและใหเ สยี คา ธรรมเนียมตามอตั ราท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง ÁÒμÃÒ õó ใหปลัดกระทรวง ผูวาราชการจังหวัด คณะกรรมการ คณะกรรมการ คมุ ครองเดก็ กรงุ เทพมหานคร และคณะกรรมการคมุ ครองเดก็ จงั หวดั กาํ กบั ดแู ลและสง เสรมิ สนบั สนนุ การดําเนินงานของสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟนฟทู ่ีอยูใ นเขตพนื้ ทีท่ ่ีรบั ผดิ ชอบ

๘๔ ÁÒμÃÒ õô ในสถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ และสถาน พัฒนาและฟนฟู จะตองไมดําเนินกิจการในลักษณะแสวงหากําไรในทางธุรกิจ และตองมีผูปกครอง สวัสดิภาพเปน ผูป กครองดแู ลและบังคบั บญั ชา การดําเนินงานของสถานท่ีตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามระเบียบ ทปี่ ลัดกระทรวงกําหนด ÁÒμÃÒ õõ ใหปลัดกระทรวงและผูวาราชการจังหวัด มีอํานาจแตงต้ังหรือถอดถอน ผูปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนา และฟน ฟตู ามหลกั เกณฑ วธิ ีการ และเงื่อนไขทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง ÁÒμÃÒ õö ผูปกครองสวัสดภิ าพของสถานแรกรับมีอาํ นาจและหนาท่ี ดังตอ ไปนี้ (๑) รับตัวเด็กท่ีจําตองไดรับการสงเคราะหหรือคุมครองสวัสดิภาพไว เพอ่ื สบื เสาะและพนิ จิ เดก็ และครอบครวั วนิ จิ ฉยั กาํ หนดวธิ กี ารทเี่ หมาะสมในการสงเคราะหห รอื คมุ ครอง สวัสดภิ าพแกเดก็ แตล ะคน ถา จาํ เปน อาจรบั ตวั เด็กไวปกครองดแู ลชั่วคราวไดไมเกินสามเดือน (๒) สืบเสาะและพินิจเก่ียวกับอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแหงจิต นิสัย อาชีพ และฐานะของเด็กท่ีจําตองไดรับการสงเคราะห หรือคุมครองสวัสดิภาพ รวมท้ังของผูปกครอง หรือบุคคลท่ีเด็กอาศัยอยูดวย ตลอดจน สิ่งแวดลอมทั้งปวงเกี่ยวกับเด็ก และมูลเหตุท่ีทําใหเด็กตกอยูในสภาวะจําตองไดรับการสงเคราะห หรอื คุมครองสวสั ดภิ าพ เพอื่ รายงานไปยงั หนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของ (๓) จัดใหมีการตรวจสุขภาพกายและสุขภาพจิต พรอมท้ังดําเนินการ รักษาเยียวยาแกเ ด็กท่อี ยูในความปกครองดแู ล (๔) จดั ทพ่ี กั อาศยั ทหี่ ลบั นอน เครอื่ งนงุ หม ใหเ หมาะสมและถกู สขุ ลกั ษณะ และจดั อาหารใหถ กู อนามยั และเพยี งพอแกเ ดก็ ที่อยใู นความปกครองดแู ล (๕) จดั การศกึ ษา การกฬี า และนนั ทนาการใหแ กเ ดก็ ทอี่ ยใู นความปกครอง ดแู ล ใหเ หมาะสมกบั วัยและสภาพของเด็กแตล ะคน (๖) จัดสงเด็กที่ไดดําเนินการตาม (๑) และ (๒) ไปยังสถานสงเคราะห สถานพัฒนาและฟนฟู โรงเรียน หรือสถานท่ีอ่ืนใดท่ีมีวัตถุประสงคในการสงเคราะห หรือคุมครอง สวสั ดิภาพเดก็ ใหเหมาะสมกบั วัยและสภาพของเดก็ แตล ะคน (๗) มอบตวั เด็กแกผูปกครอง หรอื บคุ คลทีเ่ หมาะสมและยนิ ยอมรับเด็ก ไวอ ปุ การะเลยี้ งดู และถา เหน็ สมควรอาจยน่ื คาํ ขอใหป ลดั กระทรวงหรอื ผวู า ราชการจงั หวดั แลว แตก รณี แตง ตงั้ ผคู มุ ครองสวัสดิภาพแกเ ด็กตามมาตรา ๔๘ (๘) ใหคําปรึกษา แนะนํา และชวยเหลือแกผูปกครอง ในกรณีที่เด็ก จาํ ตอ งไดร ับการสงเคราะห หรือคุมครองสวสั ดิภาพ ผูปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับตองดําเนินการใหเด็กสามารถ กลับไปอยูกับผูปกครองกอน สวนการจัดใหเด็กไปอยูในสถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ หรอื สถานพัฒนาและฟน ฟูใหดาํ เนนิ การเปนวธิ ีสดุ ทาย

๘๕ ÁÒμÃÒ õ÷ ผูรับใบอนุญาตและผูปกครองสวัสดิภาพของสถานสงเคราะหและสถาน คุมครองสวัสดิภาพ ท่จี ดั ตงั้ ข้ึนตามพระราชบัญญัตนิ ้ีหรอื กฎหมายอ่นื ตอ งควบคมุ ดแู ลใหม ีการรบั เด็ก ทจ่ี าํ ตอ งไดร บั การสงเคราะหหรือคุมครองสวัสดภิ าพทกุ คนไวอปุ การะเลี้ยงดู ÁÒμÃÒ õø ผูปกครองสวัสดิภาพของสถานสงเคราะหมีอํานาจและหนาที่ตาม มาตรา ๕๖ (๑) (๒) (๓) และ (๔) และใหม อี าํ นาจและหนา ท่ี ดังตอไปนี้ (๑) จัดการศึกษา อบรม สั่งสอน และฝกหัดอาชีพแกเด็กท่ีอยู ในความปกครองดแู ลของสถานสงเคราะหใหเ หมาะสมกับเด็กแตล ะคน (๒) จัดบริการแนะแนว ใหคําปรึกษา และชวยเหลอื แกผปู กครอง (๓) สอดสองและติดตามใหคําปรึกษา แนะนํา และชวยเหลือแกเด็ก ที่ออกจากสถานสงเคราะหไปแลว เพ่ือเปนการสงเคราะหหรือคุมครองสวัสดิภาพแกเด็กท่ีเคยอยูใน สถานสงเคราะหม ใิ หก ลบั ไปสสู ภาพเดิม การสืบเสาะและพินิจตามมาตรา ๕๖(๒) ถาเปนกรณีที่เด็กถูกสงมาจาก สถานแรกรับ ซ่ึงมรี ายงานการสืบเสาะและพินจิ แลว อาจงดการสบื เสาะและพินิจก็ได ÁÒμÃÒ õù ผูปกครองสวัสดิภาพของสถานคุมครองสวัสดิภาพมีอํานาจและหนาที่ ดังตอ ไปน้ี (๑) ปกครองดแู ลและอปุ การะเลย้ี งดเู ดก็ ทอ่ี ยใู นสถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ (๒) จัดการศึกษา อบรม และฝกอาชีพแกเด็กท่ีอยูในสถานคุมครอง สวัสดภิ าพ (๓) แกไ ขความประพฤติ บาํ บดั รกั ษาและฟน ฟสู มรรถภาพทง้ั ทางรา งกาย จิตใจแกเดก็ ท่อี ยใู นสถานคุมครองสวัสดิภาพ (๔) สอดสองและติดตามใหคําปรึกษา แนะนํา และชวยเหลือแกเด็ก ทีอ่ อกจากสถานคุมครองสวัสดภิ าพ ไปแลว ÁÒμÃÒ öð ผูปกครองสวัสดิภาพของสถานพัฒนาและฟนฟูมีอํานาจและหนาที่ ดงั ตอไปนี้ (๑) รับเด็กที่จําตองไดรับการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพดานรางกาย หรอื จิตใจไวปกครองดแู ล (๒) ทาํ การสบื เสาะและพนิ จิ เกย่ี วกบั เดก็ และครอบครวั เพอื่ กาํ หนดแนวทาง การพฒั นาและฟน ฟเู ด็กแตล ะคน (๓) จัดการศึกษา ฝกอบรม ส่ังสอน บําบัดรักษา แนะแนว และฟนฟู สภาพรางกายและจิตใจใหเ หมาะสมแกเ ดก็ แตล ะคนท่อี ยรู ะหวางการปกครองดูแล ÁÒμÃÒ öñ หา มมใิ หเ จา ของ ผปู กครองสวสั ดภิ าพ และผปู ฏบิ ตั งิ านในสถานรบั เลยี้ งเดก็ สถานแรกรบั สถานสงเคราะห สถานคมุ ครองสวัสดภิ าพ และสถานพัฒนาและฟนฟู ทาํ รา ยรางกาย หรือจิตใจ กักขัง ทอดทิ้ง หรือลงโทษเด็กท่ีอยูในความปกครองดูแลโดยวิธีการรุนแรงประการอ่ืน เวนแตก ระทาํ เทา ท่สี มควรเพอื่ อบรมส่งั สอนตามระเบยี บที่รัฐมนตรีกําหนด

๘๖ ÁÒμÃÒ öò ในการปฏบิ ตั หิ นา ทต่ี ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ หรอื ตามทไี่ ดร บั มอบหมายจาก ปลดั กระทรวงหรอื ผวู าราชการจงั หวัด ใหผ ูปกครองสวัสดิภาพเปน เจา พนักงานตามประมวลกฎหมาย อาญา ËÁÇ´ ÷ ¡ÒÃʧ‹ àÊÃÔÁ¤ÇÒÁ»ÃоÄμ¹Ô ¡Ñ àÃÂÕ ¹áÅй¡Ñ È¡Ö ÉÒ ÁÒμÃÒ öó โรงเรยี นและสถานศกึ ษาตอ งจดั ใหม รี ะบบงานและกจิ กรรมในการแนะแนว ใหค าํ ปรกึ ษาและฝก อบรมแกน กั เรยี น นกั ศกึ ษา และผปู กครอง เพอื่ สง เสรมิ ความประพฤตทิ เ่ี หมาะสม ความรับผิดชอบตอสังคม และความปลอดภัยแกนักเรียนและนักศึกษา ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง ÁÒμÃÒ öô นักเรียนและนักศึกษาตองประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียน หรือสถานศกึ ษาและตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง ÁÒμÃÒ öõ นกั เรยี นหรือนกั ศกึ ษาผใู ดฝาฝนมาตรา ๖๔ ใหพนกั งานเจาหนาทป่ี ฏบิ ัติ ตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีกําหนด และมีอํานาจนําตัวไปมอบแกผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษาของ นักเรียนหรือนักศึกษานั้น เพื่อดําเนนิ การสอบถามและอบรมสั่งสอนหรอื ลงโทษตามระเบยี บ ในกรณี ทีไ่ มส ามารถนาํ ตวั ไปมอบไดจะแจงดวยวาจาหรอื เปนหนงั สือก็ได เม่ือไดอบรมส่ังสอนหรือลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาแลว ใหพนักงาน เจาหนาท่ีหรือผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษาแจงใหผูปกครองวากลาวตักเตือนหรือสั่งสอนเด็ก อกี ชั้นหนง่ึ การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาใหกระทําเทาที่สมควรเพ่ือการอบรม ส่ังสอนตามระเบยี บทีร่ ฐั มนตรีกาํ หนด ÁÒμÃÒ öö พนักงานเจาหนาที่ตามหมวดนี้มีอํานาจดําเนินการเพ่ือสงเสริม ความประพฤตนิ กั เรียนและนกั ศกึ ษา ดงั ตอไปนี้ (๑) สอบถามครู อาจารย หรอื หวั หนา สถานศกึ ษา เกยี่ วกบั ความประพฤติ การศึกษา นิสัย และสติปญ ญาของนักเรยี นหรือนกั ศึกษาที่ฝาฝน มาตรา ๖๔ (๒) เรียกใหผูปกครอง ครู อาจารย หรือหัวหนาสถานศึกษาท่ีนักเรียน หรอื นักศึกษาน้ันกําลังศกึ ษาอยู มารับตวั นักเรยี นหรือนกั ศึกษา เพือ่ วา กลา วอบรมสั่งสอนตอ ไป (๓) ใหคําแนะนําแกผูปกครองในเรื่องการอบรมและส่ังสอนนักเรียน หรือนักศกึ ษา (๔) เรียกผูปกครองมาวากลาวตักเตือน หรือทําทัณฑบนวาจะปกครอง ดแู ลมิใหน กั เรียนหรอื นักศกึ ษาฝาฝนมาตรา ๖๔ อกี

๘๗ (๕) สอดสองดูแล รวมทั้งรายงานตอคณะกรรมการเกี่ยวกับพฤติกรรม ของบคุ คลหรือแหลงท่ีชกั จูงนกั เรียนหรอื นักศึกษาใหประพฤติในทางมชิ อบ (๖) ประสานงานกับผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา ครู ผูปกครอง ตาํ รวจ หรอื พนกั งานเจา หนา ทอ่ี ่ืน เพื่อดาํ เนินการใหเปนไปตามหมวดนี้ ÁÒμÃÒ ö÷ ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวามีการฝาฝนกฎหมายหรือระเบียบเก่ียวกับ ความประพฤติของนักเรียนหรือนักศึกษา ใหพนักงานเจาหนาท่ีมีอํานาจเขาไปในเคหสถาน สถานที่ หรือยานพาหนะใดๆ ในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตก หรือในระหวางเวลาทําการ เพือ่ ทาํ การตรวจสอบการฝาฝนดังกลาวได ในการปฏิบัติหนาท่ีตามวรรคหน่ึง พนักงานเจาหนาที่ตองแสดง บัตรประจาํ ตัวกอน และใหบคุ คลทีเ่ กยี่ วของอํานวยความสะดวกตามสมควร บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ ใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีกําหนด โดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ËÁÇ´ ø ¡Í§·Ø¹¤ŒØÁ¤Ãͧà´ç¡ ÁÒμÃÒ öø ใหร ฐั บาลจดั สรรงบประมาณเพอ่ื จดั ตง้ั กองทนุ ขนึ้ กองทนุ หนงึ่ ในสาํ นกั งาน ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เรียกวา “กองทุนคุมครองเด็ก” เพ่ือเปน ทุนใชจายในการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็ก รวมท้ังครอบครัว และครอบครวั อุปถัมภของเด็กตามพระราชบัญญัติน้ี ÁÒμÃÒ öù กองทนุ ประกอบดว ย (๑) เงนิ ทนุ ประเดมิ ทรี่ ัฐบาลจัดสรรให (๒) เงินท่ีไดรับจากงบประมาณรายจา ยประจําป (๓) เงนิ หรอื ทรัพยสนิ ทีม่ ผี บู รจิ าคหรอื มอบให (๔) เงินอดุ หนุนจากตา งประเทศหรอื องคก ารระหวา งประเทศ (๕) เงนิ หรอื ทรพั ยส นิ ทตี่ กเปน ของกองทนุ หรอื ทก่ี องทนุ ไดร บั ตามกฎหมาย หรือโดยนติ กิ รรมอ่ืน (๖) เงนิ ทรี่ บิ จากเงนิ ประกนั ของผปู กครองทผ่ี ดิ ทณั ฑบ นตามมาตรา ๓๙ (๗) ดอกผลท่ีเกิดจากเงินหรอื ทรพั ยสนิ ของกองทุน ÁÒμÃÒ ÷ð เงินและดอกผลท่ีกองทุนไดรับตามมาตรา ๖๙ ไมตองนําสงกระทรวง การคลงั เปน รายไดแผน ดิน

๘๘ ÁÒμÃÒ ÷ñ ใหม คี ณะกรรมการบริหารกองทนุ คณะหนง่ึ ประกอบดว ย ปลดั กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผูแทนสํานักงบประมาณ ผูแทนกรมบัญชีกลาง และผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งคณะกรรมการแตงต้ังไมเกินสามคน ในจํานวนน้ีตองเปนผูแทนจากภาคเอกชน ซึ่งเก่ียวของกับ งานดานสวัสดิการเด็กอยางนอยหนึ่งคนเปนกรรมการ และใหรองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่นั คงของมนุษยซึง่ ปลดั กระทรวงมอบหมายเปน กรรมการและเลขานกุ าร ÁÒμÃÒ ÷ò ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๕ มาใชบ ังคับกับการดาํ รงตาํ แหนง การพนจากตําแหนง และการประชุม ของคณะกรรมการบริหารกองทุน และการแตงต้ังคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการบริหารกองทุน โดยอนุโลม ÁÒμÃÒ ÷ó ใหคณะกรรมการบริหารกองทุนมีอาํ นาจหนาท่ี ดงั ตอ ไปน้ี (๑) บริหารกองทุนใหเ ปน ไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาํ หนด (๒) พิจารณาอนุมัติการจายเงินเพื่อการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็ก รวมท้ังครอบครัวและครอบครัวอุปถัมภของเด็กตามระเบียบ ทค่ี ณะกรรมการกําหนดหรือตามคาํ สัง่ ศาล (๓) รายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนตอคณะกรรมการ ตามระเบียบทค่ี ณะกรรมการกาํ หนด ÁÒμÃÒ ÷ô การรับเงิน การจายเงิน การเก็บรักษาเงิน การจัดหาผลประโยชน และการจดั การกองทนุ ใหเปน ไปตามระเบียบท่คี ณะกรรมการกาํ หนด ÁÒμÃÒ ÷õ ใหมีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุน จาํ นวนหา คน ประกอบดว ย ประธานกรรมการและกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ ซงึ่ คณะกรรมการแตง ตงั้ จาก ผูซ่ึงมีความรูความสามารถและประสบการณดานการเงิน การสวัสดิการเด็กและการประเมินผล และใหรองปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมาย เปนกรรมการและเลขานกุ าร ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ และ มาตรา ๑๓ มาใชบงั คบั กับการดาํ รงตาํ แหนง การพน จากตาํ แหนง และการประชมุ ของคณะกรรมการ ตดิ ตามและประเมินผลตามวรรคหน่งึ โดยอนุโลม ÁÒμÃÒ ÷ö คณะกรรมการติดตามและประเมินผลตามมาตรา ๗๕ มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาํ เนินงานของกองทนุ (๒) รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านพรอ มท้ังขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ (๓) มอี าํ นาจเรยี กเอกสารหรอื หลกั ฐานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั กองทนุ จากบคุ คลใด หรือเรียกบคุ คลใดมาชแ้ี จงขอ เท็จจรงิ เพ่ือประกอบการพจิ ารณาประเมินผล

๘๙ ÁÒμÃÒ ÷÷ ใหค ณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ จดั ทาํ งบดลุ และบญั ชี ทาํ การสง ผสู อบบญั ชี ตรวจสอบภายในหนึง่ รอยยส่ี บิ วนั นบั แตวันส้ินปบญั ชีทุกป ใหส าํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ เปน ผสู อบบญั ชขี องกองทนุ ทกุ รอบปแ ลว ทํารายงานผลการสอบและรับรองบัญชีและการเงินของกองทุนเสนอตอคณะกรรมการภายใน หนึ่งรอยหาสบิ วันนับแตว ันส้นิ ปบัญชี เพือ่ คณะกรรมการเสนอตอคณะรัฐมนตรเี พ่ือทราบ รายงานผลการสอบบญั ชตี ามวรรคสองใหร ฐั มนตรเี สนอตอ นายกรฐั มนตรี เพอ่ื นําเสนอตอ รฐั สภา เพื่อทราบและจดั ใหม กี ารประกาศในราชกิจจานุเบกษา ËÁÇ´ ù º·กาํ ˹´â·É ÁÒμÃÒ ÷ø ผูใดฝาฝนมาตรา ๒๖ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับ ไมเ กนิ สามหม่ืนบาท หรอื ทัง้ จาํ ทง้ั ปรบั ÁÒμÃÒ ÷ù ผใู ดฝาฝนมาตรา ๒๗ มาตรา ๕๐ หรอื มาตรา ๖๑ ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ หกเดือน หรือปรบั ไมเ กินหกหมน่ื บาท หรือทัง้ จําท้ังปรบั ÁÒμÃÒ øð ผใู ดขัดขวางไมใหพนักงานเจา หนาทีป่ ฏิบัตติ ามมาตรา ๓๐ (๑) หรอื (๕) หรือไมยอมสงเอกสารหรือสงเอกสารโดยรูอยูวาเปนเอกสารเท็จแกพนักงานเจาหนาท่ีเม่ือถูกเรียก ใหสงตามมาตรา ๓๐ (๔) ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือท้ังจาํ ทงั้ ปรบั ผูใดไมยอมมาใหถอยคํา ไมยอมใหถอยคําโดยไมมีเหตุอันสมควร หรอื ใหถ อ ยคาํ อนั เปน เทจ็ ตอ พนกั งานเจา หนา ทซ่ี งึ่ ปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามมาตรา ๓๐ (๓) ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนงึ่ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ กนิ หนงึ่ หมนื่ บาท หรอื ทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั แตถ า ผใู หถ อ ยคาํ กลบั ใหข อ ความจรงิ ในขณะทกี่ ารใหถ อยคาํ ยงั ไมเสรจ็ ส้นิ การดาํ เนนิ คดีอาญาตอบคุ คลนนั้ ใหเปนอันระงับไป ÁÒμÃÒ øñ ผใู ดฝา ฝน ขอ กาํ หนดของศาลในการคมุ ความประพฤติ หา มเขา เขตกาํ หนด หรอื หา มเขา ใกลต วั เดก็ ตามมาตรา ๔๓ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนงึ่ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ กนิ หนง่ึ หมน่ื บาท หรอื ทงั้ จําทง้ั ปรบั ÁÒμÃÒ øò ผูใดจัดต้ังหรือดําเนินกิจการสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถาน สงเคราะห สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ หรอื สถานพฒั นาและฟน ฟตู ามมาตรา ๕๒ โดยมไิ ดร บั ใบอนญุ าต หรือใบอนุญาตถูกเพิกถอนหรือหมดอายุ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน หน่งึ หม่ืนบาท หรือท้ังจําทง้ั ปรบั ถาผูฝาฝนบทบัญญัติในวรรคหนึ่งไดย่ืนคําขออนุญาตหรือย่ืนคําขอตอ ใบอนุญาตภายในระยะเวลาที่พนักงานเจาหนาที่กําหนด การดําเนินคดีอาญาตอบุคคลน้ันใหเปน อันระงับไป

๙๐ ÁÒμÃÒ øó เจาของหรือผูปกครองสวัสดิภาพของสถานรับเล้ียงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถานคุมครองสวัสดิภาพ หรือสถานพัฒนาและฟนฟู ผูใดไมปฏิบัติตาม พระราชบญั ญตั ิน้ี หรือกฎกระทรวง หรือระเบยี บท่ีออกตามความในพระราชบัญญัตนิ ้ี ตอ งระวางโทษ จาํ คุกไมเ กินหน่งึ เดือน หรือปรบั ไมเกนิ หนึง่ หมื่นบาท หรือทั้งจาํ ทั้งปรับ ถาผูฝาฝนบทบัญญัติในวรรคหน่ึงไดดําเนินการแกไขหรือปฏิบัติตามคําแนะนําของ พนักงานเจาหนาที่หรือผูมีหนาที่คุมครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ แลว การดําเนินคดีอาญา ตอ บคุ คลนน้ั ใหเ ปนอันระงบั ไป ÁÒμÃÒ øô ผใู ดกระทาํ การเปน ผปู กครองสวสั ดภิ าพของสถานแรกรบั สถานสงเคราะห สถานคมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสถานพฒั นาและฟน ฟโู ดยมไิ ดร บั แตง ตงั้ ตามมาตรา ๕๕ ตอ งระวางโทษ จาํ คกุ ไมเกนิ หนง่ึ เดอื น หรือปรับไมเกนิ หนงึ่ หมืน่ บาท หรือท้งั จาํ ทง้ั ปรับ ÁÒμÃÒ øõ ผใู ดกระทาํ การอนั เปน การยยุ ง สง เสรมิ ชว ยเหลอื หรอื สนบั สนนุ ใหน กั เรยี น หรือนักศกึ ษาฝาฝนบทบัญญตั ิตามมาตรา ๖๔ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ สามเดือน หรือปรบั ไมเ กนิ สามหมื่นบาท หรอื ท้ังจาํ ทง้ั ปรับ ÁÒμÃÒ øö ผูใดไมอํานวยความสะดวกแกพนักงานเจาหนาที่ที่ปฏิบัติหนาที่ตาม มาตรา ๖๗ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเกินหนึง่ เดอื น หรือปรบั ไมเกนิ หนึ่งหมน่ื บาท หรือทัง้ จาํ ทงั้ ปรบั º·à©¾ÒСÒÅ ÁÒμÃÒ ø÷ ใหส ถานรบั เลย้ี งเด็ก สถานแรกรบั สถานสงเคราะห และสถานคุมครอง สวัสดิภาพเด็กของหนวยราชการ หรือของเอกชนที่ไดรับอนุญาต ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๔ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๕๑๕ ท่ีดําเนนิ กจิ การอยจู นถงึ วันทพี่ ระราชบัญญัตนิ ี้ ใชบังคับเปนสถานรับเล้ียงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห และสถานคุมครองสวัสดิภาพ ตามพระราชบัญญตั ินี้ ÁÒμÃÒ øø บรรดากฎกระทรวง ขอ บงั คบั ระเบยี บ ประกาศ หรอื คาํ สงั่ ทอี่ อกโดยอาศยั อํานาจตามความในประกาศของคณะปฏวิ ตั ิ ฉบบั ท่ี ๒๙๔ ลงวนั ท่ี ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๕ และ ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ที่ ๑๓๒ ลงวนั ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๕ ใหค งใชบงั คับตอไปไดเ ทา ท่ี ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้ จนกวาจะมีการออกกฎกระทรวง ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสงั่ ตามพระราชบัญญตั ินี้ ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ พนั ตํารวจโท ทักษณิ ชนิ วัตร นายกรัฐมนตรี

๙๑ ËÁÒÂàËμØ:- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับท่ี ๑๓๒ ลงวนั ท่ี ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๑๕ และประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ท่ี ๒๙๔ ลงวนั ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๕ ใชบังคับมาเปนเวลานาน สาระสาํ คัญและรายละเอียดเกีย่ วกับวิธกี าร สงเคราะห คมุ ครองสวสั ดภิ าพ และสง เสรมิ ความประพฤตเิ ดก็ ไมเ หมาะสมกบั สภาพสงั คมปจ จบุ นั สมควร กาํ หนดขน้ั ตอนและปรบั ปรงุ วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ อ เดก็ ใหเ หมาะสมยงิ่ ขนึ้ เพอ่ื ใหเ ดก็ ไดร บั การอปุ การะเลยี้ งดู อบรมสง่ั สอน และมพี ฒั นาการทเ่ี หมาะสม อนั เปน การสง เสรมิ ความมนั่ คงของสถาบนั ครอบครวั รวมทงั้ ปอ งกนั มใิ หเ ดก็ ถกู ทารณุ กรรม ตกเปน เครอ่ื งมอื ในการแสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบ หรอื ถกู เลอื กปฏบิ ตั ิ โดยไมเปนธรรม และสมควรปรับปรุงวิธีการสงเสริมความรวมมือ ในการคุมครองเด็กระหวาง หนว ยงานของรฐั และเอกชนใหเ หมาะสมยงิ่ ขน้ึ เพอื่ ใหส อดคลอ งกบั รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ และอนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธเิ ดก็ จงึ จาํ เปน ตอ งตราพระราชบญั ญตั นิ ี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook