Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Book07_ความรู้เบี้ยงต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

Book07_ความรู้เบี้ยงต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

Published by thanatphat2606, 2020-04-14 00:30:42

Description: Book07_ความรู้เบี้ยงต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

Keywords: Book07_ความรู้เบี้ยงต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

Search

Read the Text Version

วชิ า กม. (LA) ๒๑๒๐๑ ความรูเ้ บือ้ งตน้ เกย่ี วกบั กฎหมาย

ตําราเรียน หลักสูตร นักเรยี นนายสบิ ตาํ รวจ วชิ า กม. (LA) ๒๑๒๐๑ ความรเู บือ้ งตน เก่ียวกบั กฎหมาย เอกสารน้ี “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผูหน่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทงั้ หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ” ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนที่ไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา กองบัญชาการศกึ ษา สาํ นักงานตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๖๓

1

คาํ นาํ หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ท่ีเขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ ทักษะวิชาชีพตํารวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี จติ สํานึกในการใหบ ริการเพื่อบําบัดทกุ ขบ าํ รุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คัญ กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ ฝก อบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบญั ชาการศกึ ษา ศนู ยฝ ก อบรมตาํ รวจภธู รภาค ๑ - ๙ และกองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตําราเรียน หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจี่ าํ เปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ ของนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพ่ี งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส าํ หรบั ประกอบ การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม ความตอ งการอยา งแทจรงิ และมคี วามพรอมในการเขา สปู ระชาคมอาเซยี น ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด ใหคําปรึกษา คําแนะนํา ประสบการณท่ีเปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู ท่ีเปนประโยชน จนทําใหการจัดทําตําราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี ซึ่งกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดนี้คงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน การสอนและการจดั การฝกอบรมของครู อาจารย และครฝู ก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏบิ ัตงิ าน ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทําใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อม่ัน ศรัทธา และความผาสุกใหแกประชาชนไดอ ยา งแทจ รงิ พลตํารวจโท ( อภิรตั นยิ มการ ) ผูบ ัญชาการศกึ ษา

1

ÊÒúÞÑ Ë¹ŒÒ ÇªÔ Ò ¤ÇÒÁÃàŒÙ ºÍ×é §μŒ¹à¡ÕèÂǡѺ¡®ËÁÒ ñ ๑ ÊÇ‹ ¹·Õè ñ ¤ÇÒÁ÷ٌ èÑÇä» ๒ ๔ º··èÕ ñ ÅѡɳзèÑÇ仢ͧ¡®ËÁÒ ๕ - ความหมายของกฎหมาย ÷ - ลักษณะทีส่ าํ คญั ของกฎหมาย ๗ - ความสําคญั ของกฎหมาย ๗ - ประโยชนข องกฎหมาย ๙ ๑๔ º··èÕ ò ºÍ‹ à¡Ô´¢Í§¡®ËÁÒÂáÅÐÃкº¢Í§¡®ËÁÒ ñõ - บอ เกิดของกฎหมาย ๑๕ - บอ เกิดจากกฎหมายทีบ่ ญั ญตั ิข้นึ ๑๙ - บอ เกิดจากกฎหมายทไี่ มไ ดบ ัญญตั ิขึ้น ๒๕ - เปรียบเทียบความแตกตางระหวางระบบกฎหมายลายลักษณอักษร ๒๙ และระบบกฎหมายไมเ ปนลายลักษณอ ักษร óó ๓๓ º··èÕ ó ¡ÒÃẋ§»ÃÐàÀ·¢Í§¡®ËÁÒ ๔๒ - การแบงประเภทของกฎหมาย ๔๔ - การจดั ทํากฎหมายในแตล ะรปู แบบ - หลกั การตีความกฎหมาย - หลกั การตคี วามกฎหมายพิเศษ ʋǹ·èÕ ò ¡®ËÁÒ·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ §¡ÑºªÕÇμÔ »ÃÐจําÇѹ º··èÕ ô ËÅ¡Ñ ·ÇèÑ ä»¢Í§¡®ËÁÒÂᾧ‹ áÅоҳªÔ  - การใชกฎหมายแพง เพื่อประโยชนใ นการดาํ เนนิ ชีวติ ในสังคม - กฎหมายวาดว ยครอบครัว - กฎหมายวา ดวยมรดก

º··èÕ õ ¡®ËÁÒÂÇ‹Ò´ŒÇ¡Ò÷ÐàºÂÕ ¹ÃÒɮà ˹ŒÒ - การแจง เกิด õñ - การแจง ตาย ๕๑ - การยา ยทอ่ี ยู ๕๔ - การทะเบยี นบาน ๕๖ - บตั รประจาํ ตวั ประชาชน ๕๘ ๖๑ ÊÇ‹ ¹·èÕ ó ¡Ãкǹ¡ÒÃÂØμÔ¸ÃÃÁáÅÐÃкºÈÒÅä·Â ö÷ º··Õè ö ¡Ãкǹ¡ÒÃÂμØ ¸Ô ÃÃÁ ๖๗ - ความหมายของกระบวนการยตุ ิธรรม ๖๙ - สิทธิในกระบวนการยตุ ิธรรม ๗๐ - กระบวนการดาํ เนนิ งานขององคกรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ๗๓ - หนวยงานในกระบวนการยตุ ิธรรม ๗๓ - สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ๗๘ - อยั การ ๘๐ - ศาล ๘๔ - คมุ ประพฤติ ๘๖ - ราชทัณฑ ๙๐ - องคกรอน่ื ๆ ทีม่ บี ทบาทและหนาท่เี กีย่ วของกบั กระบวนการยตุ ธิ รรม ñðõ ๑๐๖ º··Õè ÷ ÃкºÈÒÅä·Â ๑๐๖ - ศาลไทยในปจ จบุ ัน ๑๐๘ - ศาลยตุ ิธรรม ๑๐๘ - ศาลรฐั ธรรมนญู - ศาลปกครอง

ÊÇ‹ ¹·èÕ ñ ¤ÇÒÁ÷ŒÙ ÑèÇä»

1

๑ º··Õè ñ ÅѡɳзÇÑè 仢ͧ¡®ËÁÒ “¡®ËÁÒ” เปนสิ่งผูกพันกับชีวิตประจําวันของทุกๆ คน เร่ิมต้ังแตคลอดและอยูรอด เปน ทารกจนกระทงั่ ถงึ แกค วามตาย การเรยี นวชิ ากฎหมาย นบั วา เปน ประโยชนอ ยา งมหาศาล เปน การ สรา งเสริมจิตใจและสามัญสาํ นกึ ใหม คี วามยุตธิ รรม นกั กฎหมายทด่ี ีจะตองมจี ิตใจเปน ธรรม ไมเ หน็ แก ประโยชนสวนตน และใหก ารชว ยเหลือผทู ่ีไดร ับความเดอื ดรอ นใหไ ดร ับความเปนธรรม การเรียนวิชากฎหมาย หากผูเรียนไดรูถึงรากฐานท่ีมาของกฎหมายเสียกอนท่ีจะเรียน รายละเอียดในตัวบทกฎหมายแลว จะทําใหมีความเขาใจถึงจุดมุงหมายในการออกกฎหมายของรัฐ ท่ีไดกําหนดขึ้น เพ่ือบังคับหรือนําทางใหสังคมในรัฐของตนน้ันรวมตัวกันอยางแนนแฟน และสราง ความสงบสขุ ใหก บั กลมุ ในรฐั ของตน ดงั นน้ั จงึ ตอ งมกี ารเรยี นวชิ าความรเู บอ้ื งตน เกย่ี วกบั กฎหมายทว่ั ไป กอนท่ีจะเรียนกฎหมายอน่ื ๆ ตอไป “¤ÇÒÁÃÙŒàº×éÍ§μŒ¹à¡èÕÂǡѺ¡®ËÁÒ·ÑèÇä»” มีมาตั้งแตสมัยโรมัน โดยเฉพาะในสมัยของ กษัตริย Justinian ซึ่งไดทรงรวบรวมนักกฎหมายไวในสมัยของพระองคเปนจํานวนมาก และไดทรง บญั ญัติกฎหมายลายลกั ษณอ ักษร โดยเฉพาะในทางกฎหมายแพง “Jus Civiles” พระองคกไ็ ดทรง บัญญัตคิ าํ วา “Jurisprudentia” ซึ่งแปลวา The knowledge of Law ¤×ÍÇÔªÒ¸ÃÃÁÈÒÊμÏ อนั เปน ศาสตรเบ้ืองตนในกฎหมาย ถือกันวาวิชานี้เปนกุญแจสําคัญในการที่จะใชไขใหความสวางในความ เขาใจในวิชากฎหมายลักษณะตางๆ ทําใหศึกษาวิชากฎหมายไดงายและสะดวกข้ึน สามารถเขาใจ หลกั กฎหมายทวั่ ไปไดด ี ทงั้ เปน เครอ่ื งชว ยชแ้ี นวทางเหตผุ ลและความจาํ เปน ในการรา งกฎหมาย ทาํ ใหเ หน็ เจตนาของผรู าง วิธกี ารรา ง และการใชกฎหมาย การตคี วาม และสภาพบงั คับ รวมตลอดถงึ การยกเลิก กฎหมาย ตอมาÇÔªÒ¸ÃÃÁÈÒÊμÏ ไดเปล่ียนมาเรียกช่ือวา ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éÍ§μŒ¹à¡èÕÂǡѺ¡®ËÁÒ·èÑÇä» ซงึ่ หมายถึง วิชาที่วา ดว ยความรสู ึกนกึ คิดและหลักเกณฑที่เปน รากฐานของกฎหมาย ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¡®ËÁÒ ประชาชนทกุ คนตอ งรกู ฎหมาย การศกึ ษากฎหมายทดี่ ี ผศู กึ ษาตอ งรวู า อะไรคอื กฎหมาย ความหมายของกฎหมายจงึ มคี วามสาํ คญั อยา งยง่ิ ตอ การบงั คบั ใชก ฎหมาย ซงึ่ คาํ วา “¡®ËÁÒ” มผี ใู ห คาํ จาํ กดั ความไวหลากหลาย ไดแก ¡ÃÁËÅǧÃÒªºÃØ ´Õ àÔ Ã¡Ä·¸ìÔ พระบิดาแหงกฎหมายไทย กลา ววา “กฎหมาย” คอื คาํ สัง่ ท้ังหลายของผปู กครองวาการแผนดินตอ ราษฎรทั้งหลาย เมอ่ื ไมทาํ ตาม ธรรมดาตอ งลงโทษ โธมสั ฮอบส และ จอหน ออสติน กลา ววา กฎหมาย หมายถึง คาํ สัง่ หรือคาํ บญั ชาของ รัฏฐาธปิ ต ย (ผมู ีอาํ นาจสูงสุดในรัฐ) ส่ังแกราษฎรทั้งหลาย ถา ใครฝาฝนไมป ฏิบตั ิตาม ตอ งถูกลงโทษ จากคําจํากัดความของกฎหมายขางตน สามารถสรุปความหมายของกฎหมายไดวา หมายถงึ ระเบยี บขอ บงั คบั บทบญั ญตั ซิ ง่ึ ผมู อี าํ นาจสงู สดุ ในรฐั หรอื ประเทศไดก าํ หนดมา เพอื่ ใชใ นการ บริหารกจิ การบานเมอื งหรอื บังคับความประพฤตขิ องประชาชนในรฐั หรอื ในประเทศนนั้ ใหปฏบิ ัตติ าม

๒ สรุป ¡®ËÁÒ คือ คําสั่งหรือขอบังคับของรัฏฐาธิปตยที่ไดบัญญัติข้ึน เพื่อใชบังคับ ความประพฤตขิ องพลเมอื งทอี่ ยใู นรฐั หากผใู ดฝา ฝน ไมป ฏบิ ตั ติ ามกจ็ ะมคี วามผดิ และถกู ลงโทษ กฎหมาย ยังเปน สญั ลักษณแ ละเครอื่ งมอื ในการแสดงออกซ่งึ ความยุตธิ รรมอีกดว ย ÅѡɳзÕèสาํ ¤ÞÑ ¢Í§¡®ËÁÒ กฎเกณฑใ ดเปน กฎหมายหรอื ไมน น้ั มคี วามสาํ คญั มาก เนอื่ งจากหากกฎเกณฑน นั้ มสี ถานะ เปน “กฎหมาย” ก็ตอ งอยูภายใตข อ สนั นิษฐานที่วา “ทุกคนจะตอ งรกู ฎหมาย จะแกต วั วาไมร ูกฎหมาย เพื่อใหพนผดิ ไมได” กลบั กนั หากกฎเกณฑน้ัน ไมไดมีสถานะเปนกฎหมาย บุคคลยอมแกต ัววาไมรไู ด นอกจากนี้ หากกฎเกณฑใดเปน กฎหมาย ศาลตองรับรูถึงความมีอยูของกฎหมายน้ัน กลาวคือ ศาลจะตองปฏิบัติตามกฎหมาย และตองพิพากษาคดีตามกฎหมาย แมคูความจะไม นาํ สบื พยานวา มกี ฎหมายบญั ญตั วิ า อยา งไร ขอ กฎหมายนน้ั ศาลตอ งรบั รซู งึ่ ตา งกบั ขอ เทจ็ จรงิ ทจ่ี ะตอ ง มกี ารสบื พยานใหศาลรบั รเู สมอ สรุปองคประกอบของกฎหมาย ๑. กฎหมายเปน กฎเกณฑท ่มี าจากรฏั ฐาธิปตย (soverienty) ๒. กฎหมายเปนกฎเกณฑท ใ่ี ชบ ังคบั แกบคุ คลโดยท่ัวไป (equality) ๓. กฎหมายเปนกฎเกณฑท่ใี ชบังคับไดเ สมอไป (enaction) ๔. กฎหมายเปนกฎเกณฑท่ีทุกคนจําตอ งปฏิบตั ิตาม (recognition) ๕. กฎหมายเปนกฎเกณฑท ่มี สี ภาพบงั คบั (sanction) ñ. ¡®ËÁÒÂ໹š ¡®à¡³±· ÁèÕ Ò¨Ò¡Ãѯ°Ò¸Ô»μ˜  (soverienty) รัฏฐาธิปตย คือ สถาบัน หรือกลุมบุคคล หรือบุคคล ผูมีอํานาจสูงสุดแหงรัฐ ในขณะทมี่ อี าํ นาจออกกฎหมาย เชน การปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยม อี งคพ ระมหากษตั รยิ  เปนรฏั ฐาธิปต ยหรอื การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยมีประชาชน (สภานติ บิ ญั ญัต)ิ เปน รัฏฐาธปิ ต ย เปน ตน สําหรับในประเทศที่ใชกฎหมาย Anglo Saxon ไดแก กฎหมายไมมีลายลักษณ อกั ษร หรอื กฎหมายจารตี ประเพณี ไดแ ก ประเทศองั กฤษ ประเทศในเครอื จกั รภพองั กฤษและประเทศ สหรฐั อเมรกิ า น้นั ไดถือเอาคาํ พิพากษาศาลสูงสุดเปน กฎหมาย ดงั นนั้ ศาลจึงเปนรฏั ฐาธปิ ตย ในขณะ เดียวกัน ประเทศตา ง ๆ เหลาน้กี ็มีสภานิตบิ ญั ญัติ สภานิตบิ ัญญตั จิ งึ เปนรัฏฐาธิปตยด ว ย ò. ¡®ËÁÒÂ໚¹¡®à¡³±·èÕ㪌ºÑ§¤Ñºá¡‹ºØ¤¤Åâ´Â·ÇèÑ ä» (equality) กฎเกณฑที่จะเปนกฎหมายจะตองบังคับความประพฤติของมนุษยในรัฐโดยทั่วไป อยางเสมอภาคกัน (equality) คือ ทุกคนอยูภายใตกฎหมายเทาเทียมกัน กฎหมายจึงมิใชเพ่ือกลุม ชนใดหรือคณะใดโดยเฉพาะ ขอบเขตท่ีกฎหมายใชบังคับมนุษยในแง “สถานท่ี” ไดแก บุคคลทุกคน ท่ีอยูในรฐั ภายในอาณาเขตของรฐั น้นั ไมวา เปนสัญชาตใิ ด เชอื้ ชาติใด หากอยูในอาณาเขตแหงรัฐแลว ตองอยูภายใตก ฎหมายเทา เทียมกันอยางเสมอภาค

๓ โดยขอบเขตของการบงั คบั ใชก ฎหมาย อาจเปน ขอบเขตทเี่ ลก็ กวา ระดบั รฐั กไ็ ด ไดแ ก กฎหมายท่ีบังคับแกสังคมใดสังคมหนึ่ง เชน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมีขอบเขต เฉพาะกิจการทีบ่ คุ คลภายในสงั คมมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรเทา น้นั หรือขอ บังคับทองถ่ินกใ็ ชบงั คบั กบั บคุ คลในทอ งถนิ่ นนั้ ๆ เชน ขอ บงั คบั ของกรงุ เทพมหานคร ใชบ งั คบั กบั คนในพนื้ ทใ่ี นกรงุ เทพมหานคร เทา น้ัน เปนตน ó. ¡®ËÁÒÂ໚¹¡®à¡³±· ãèÕ ªŒºÑ§¤ºÑ ä´ŒàÊÁÍä» (enaction) กฎเกณฑท จ่ี ะเปน กฎหมายจะไมม ชี ว งเวลาทก่ี ฎหมายใชบ งั คบั หมายความวา กฎหมาย จะตอ งใชไ ดเ สมอไป นบั ตงั้ แตว นั ทม่ี ผี ลบงั คบั ใชไ ปจนถงึ วนั ยกเลกิ กฎหมาย ดงั นนั้ ตราบใดทก่ี ฎหมาย ยงั ไมไ ดถ กู ยกเลกิ กฎหมายจะตอ งใชบ งั คบั อยตู ลอดไป แมก ฎหมายนน้ั จะบญั ญตั มิ าแลว เปน เวลานาน เพียงใด ô. ¡®ËÁÒÂ໚¹¡®à¡³±·èÕ·¡Ø ¤¹จาํ μŒÍ§»¯ºÔ ÑμμÔ ÒÁ (recognition) กฎเกณฑท จ่ี ะเปน กฎหมายนน้ั ทกุ คนในสงั คมจาํ ตอ งปฏบิ ตั ติ าม โดยมแี นวคดิ มาจาก การที่ทุกคนไดทําสัญญาประชาคมไววา จะตองปฏิบัติตามกฎเกณฑกลางของสังคมเสมอ เพ่ือความ สงบเรียบรอยของสงั คม หากผใู ดฝา ฝนตองไดรบั ผลรา ยทางกฎหมาย õ. ¡®ËÁÒÂ໹š ¡®à¡³±·èÁÕ ÕÊÀÒ¾ºÑ§¤ºÑ (sanction) กฎเกณฑท่ีจะเปนกฎหมายจะตองมีสภาพบังคับเสมอ กลาวคือ เมื่อมีการฝาฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑก ลางดงั กลา วจะตอ งดาํ เนนิ การตามสภาพบงั คบั ของกฎหมาย ซงึ่ จะแบง เปน สภาพบงั คับทางอาญาและทางแพง ÊÀÒ¾º§Ñ ¤ºÑ ·Ò§ÍÒÞÒ หมายถงึ สภาพบงั คบั ใหเ ปน ไปตามทกี่ ฎหมายอาญากาํ หนด หากผใู ดฝา ฝน หรอื กระทาํ ความผดิ กฎหมายในคดอี าญาจะตอ งถกู ลงโทษ โดยโทษทางอาญามี ๕ สถาน คอื ประหารชีวติ จาํ คกุ กกั ขงั ปรับ ริบทรพั ยสนิ เชน นายกนกระทาํ ความผดิ ฐานฆาคนตาย ศาลจะ พิพากษาจาํ คุก หรือประหารชีวติ นายกน เปนตน ÊÀÒ¾º§Ñ ¤ºÑ ·Ò§á¾§‹ หมายถงึ สภาพบงั คบั ใหเ ปน ไปตามทกี่ ฎหมายแพง และพาณชิ ย กําหนด หากบคุ คลใดผดิ สัญญา หรือกระทําละเมิดตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยไ ดก ําหนด ใหผูน้ันจะตองชําระหนี้ หรือชดใชคาสินไหมทดแทน เชน นายนกยืมเงินนายจรแลวไมชําระหนี้คืน ศาลจะพิพากษาใหนายนกชําระหน้ีใหแก นายจร หากไมชําระ นายจรสามารถบังคับคดี จากทรัพยสนิ ของนายนกได เปนตน จะเหน็ ไดว า “สภาพบงั คบั ” เปน เงอ่ื นไขสาํ คญั ของกฎหมาย ถา กฎหมายใดปราศจาก สภาพบังคบั บคุ คลยอ มไมเ กรงกลัว หรือไมปฏิบตั ติ ามกฎหมาย จากการทก่ี ลา วมาทงั้ หมดน้ี การวนิ จิ ฉยั วา “กฎเกณฑท ใ่ี ชบ งั คบั ใดเปน กฎหมายหรอื ไม” จะตองพิจารณาวามีองคประกอบครบท้ัง ๕ ประการดังกลาวหรือไม หากครบองคประกอบทั้ง ๕ ประการ กฎเกณฑน้ันยอ มมีสถานะเปน กฎหมาย

๔ ¤ÇÒÁสํา¤ÞÑ ¢Í§¡®ËÁÒ กฎหมายมีความสาํ คญั ยงิ่ ตอการอยูรว มกันของสงั คม จงึ มคี วามสาํ คญั ดงั นี้ ๑. เปน เครอ่ื งมือในการบริหารประเทศ ๒. เปน เครอื่ งมือในการรักษาความสงบเรียบรอยในสงั คม ๓. เปน ตวั กาํ หนดความสมั พนั ธระหวา งประชาชนดวยกนั และประชาชนกบั รัฐ ๔. เปน เครอ่ื งมือในการพัฒนาสังคม “¤ÇÒÁäÁ‹ÃÙŒ¡®ËÁÒ äÁà‹ »š¹¢ŒÍá¡ŒμÑÇ” (Ignorantia legis neminem excusat) กฎหมายมวี ตั ถปุ ระสงคใ นการควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย ดงั นนั้ จงึ เปน หนา ทข่ี องสมาชกิ ในสงั คมทุกคนทต่ี องรกู ฎหมาย เพราะหากยอมใหบ คุ คลแกตวั วา ตนไมรกู ฎหมายแลว กฎหมายยอ ม ไมมคี วามศกั ดส์ิ ิทธิ์ สงั คมกไ็ มอ าจดาํ รงอยูไดอยางสงบสุขเพราะบุคคลสามารถทาํ อะไรไดตามชอบใจ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๐ และประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๖๔ เปน ตวั อยางทส่ี ะทอ นสภุ าษิตขางตน รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๐ บญั ญัตวิ า “บุคคลมหี นาท่ี ดังตอไปนี้ (๓) ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายอยา งเครงครัด” »ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ ÁÒμÃÒ öô ºÑÞÞÑμÔÇÒ‹ “º¤Ø ¤Å¨Ðá¡μŒ ÇÑ ÇÒ‹ äÁË ¡ŒÙ ®ËÁÒÂà¾Íè× ã˾Œ ¹Œ ¨Ò¡¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ã¹·Ò§ÍÒÞÒäÁä‹ ´Œ แตถ า ศาล เห็นวา ตามสภาพและพฤติการณผูกระทําความผิดอาจจะไมรูวากฎหมายบัญญัติวา การกระทําน้ัน เปน ความผดิ ศาลอาจอนญุ าตใหแ สดงพยานหลกั ฐานตอ ศาล และถา ศาลเชอื่ วา ผกู ระทาํ ไมร วู า กฎหมาย บัญญตั ไิ วเชน น้ัน ศาลจะลงโทษนอ ยกวา ที่กฎหมายกาํ หนดไวสําหรับความผดิ น้ันเพยี งใดก็ได” บุคคลมีหนาท่ีในการรูและปฏิบัติตามกฎหมายโดยจะอางความไมรูกฎหมายเพ่ือเปน ขอแกตัวไมได โดยเฉพาะกรณีความผิดทางอาญาท่ีเรียกวา “¡ÒáÃÐทํา·Õè໚¹¤ÇÒÁ¼Ô´ã¹μÑÇàͧ (Mala in se ËÃÍ× malum in se)” อันเปนความผดิ ทงั้ ในแงกฎหมายและศลี ธรรม ท้ังการกระทาํ ลักษณะดังกลาวน้ัน สังคมเห็นวาเปนเรื่องรายแรงและไมอาจยอมรับได เพราะขัดกับสามัญสํานึก ของมนษุ ยป ถุ ชุ น เชน การฆาผูอ ื่น หรอื การลกั ทรพั ย แตก ระนั้นในกรณีของความผดิ ทางอาญาที่เปน “¡ÒáÃÐทํา·Õè¡®ËÁÒÂกํา˹´ãˌ໚¹¤ÇÒÁ¼Ô´ (Mala Prohibita)” ซึ่งเปนความผิดท่ีไมผิดตอ ศีลธรรมแตรัฐกําหนดเอาวาเปนความผิดอาญาเพ่ือประโยชนของรัฐ อาทิ พระราชบัญญัติจราจร ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๐๔ บัญญัติวา “ภายในระยะไมเกินหนึ่งรอยเมตรนับจากทางขาม หา มมใิ หค นเดนิ เทา ขา มทางนอกทางขา ม” ในทน่ี ปี้ ระมวลกฎหมายอาญากอ็ นญุ าตใหผ กู ระทาํ ความผดิ สามารถแสดงพยานหลักฐานตอศาลเพ่ือใหศาลมีดุลพินิจในการลดโทษได แตเหตุดังกลาวก็เปน เพียงแต “àËμØÅ´â·É” เทาน้ัน ศาลจึงยังตองลงโทษผูกระทําผิดดังกลาวอยูน้ันเอง เพื่อธํารงไว ซ่ึงความศกั ดิ์สิทธข์ิ องหลกั “ความไมร ูกฎหมาย ไมเ ปน ขอ แกตวั ”

๕ »ÃÐ⪹¢ ͧ¡®ËÁÒ ๑. ประโยชนของกฎหมายมหาชน มีดังนี้ ๑) กําหนดโครงสรา งและการบริหารของรฐั เชน กฎหมายรฐั ธรรมนญู เปน ตน ๒) จดั ระเบยี บการปกครองของรฐั เชน พ.ร.บ.ระเบยี บราชการบรหิ ารแผน ดนิ เปน ตน ๓) ลงโทษผเู ปนภยั ตอสังคม เชน ประมวลกฎหมายอาญา เปน ตน ๒. ประโยชนของกฎหมายเอกชน มีดังน้ี ๑) สรางความเปน ปกแผนของครอบครวั ๒) รับรองเร่อื งกรรมสทิ ธิ์ หรอื สทิ ธิของบคุ คล ๓) ใหการแกไข เมื่อมีการฝาฝน หรอื เสยี หายเกดิ ข้ึน



๗ º··èÕ ò º‹Íà¡Ô´¢Í§¡®ËÁÒÂáÅÐÃкº¢Í§¡®ËÁÒ º‹Íà¡Ô´¢Í§¡®ËÁÒ การอยูรวมกันของมนุษยในสังคมนั้น จําเปนตองมีกฎเกณฑ กติกา หรือแบบแผนท่ีใช ควบคมุ ความประพฤตขิ องคนในสงั คม เพอื่ ใหส มาชกิ ของสงั คมสามารถอยรู ว มกนั ไดโ ดยสงบเรยี บรอ ย ซึง่ กฎเกณฑหรือกตกิ านน้ั ก็คอื “กฎหมาย” เม่ือสังคมมีปญหาพิพาทเกิดขึ้น ผูตัดสินคดีใชกฎหมายในการชี้ขาด จึงเกิดปญหาวา “กฎหมายทจี่ ะนาํ มาใชใ นการตดั สนิ คดใี นแตล ะเรอ่ื งมาจากไหน” คาํ ถามดงั กลา วนจ้ี งึ จาํ เปน ตอ งพจิ ารณา แหลง ที่มา หรือบอ เกิดของกฎหมาย โดยทวั่ ไปบอ เกิดของกฎหมายสามารถแบง ออกเปน ๒ ลักษณะ ไดแ ก บอ เกดิ จากกฎหมายที่บัญญตั ขิ น้ึ และบอ เกดิ จากกฎหมายท่ไี มมกี ารบัญญตั ิขึน้ ñ. º‹Íà¡´Ô ¨Ò¡¡®ËÁÒ·ºèÕ ÞÑ ÞÑμ¢Ô ¹éÖ กฎหมายบัญญัติ (enacted law) หรือกฎหมายลายลักษณอักษร เปนบอเกิด ที่มีความสําคัญโดยเฉพาะในระบบกฎหมายของไทยและตองใชกอนกฎหมายอื่น ๆ โดยกฎหมาย บัญญัติ หรือกฎหมายท่ีตราขึ้นเปนลายลักษณอักษรนั้น เกิดจากกระบวนการตรากฎหมาย แบงออกเปน ๓ ประเภท คอื ๑.๑ กฎหมายนติ ิบัญญตั ิ ๑.๒ กฎหมายบรหิ ารบญั ญตั ิ ๑.๓ กฎหมายองคกรบญั ญัติ ñ.ñ ¡®ËÁÒ¹ÔμºÔ ÞÑ ÞμÑ Ô กฎหมายนติ บิ ญั ญตั ิ เปน กฎหมายทต่ี ราขนึ้ โดยองคก รทม่ี อี าํ นาจในการนติ บิ ญั ญตั ิ หรือฝายนติ ิบัญญตั ิ (รฐั สภา) เรียกอีกอยา งหนง่ึ วากฎหมายโดยแท ไดแ ก พระราชบญั ญตั ิ (พ.ร.บ.) การตราพระราชบญั ญตั นิ นั้ โดยหลกั ทวั่ ไป “รา งพระราชบญั ญตั จิ ะตราขน้ึ เปน กฎหมาย ไดก แ็ ตโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอมของรฐั สภา” ดงั นน้ั การตราพระราชบญั ญตั จิ งึ ตอ งไดร บั ความเหน็ ชอบ จากรฐั สภา กลา วคอื เมอ่ื รฐั สภาใหค วามเหน็ ชอบในรา งพระราชบญั ญตั ใิ ดแลว จะตอ งนาํ ขน้ึ ทลู เกลา ฯ ถวายพระมหากษตั รยิ ท รงลงพระปรมาภไิ ธย และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เพอื่ ใหพ ระราชบญั ญตั นิ น้ั มีผลบังคบั ใชต อไป ñ.ò ¡®ËÁÒºÃÔËÒúÞÑ ÞÑμÔ กฎหมายบริหารบัญญัติ เปนกฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝายบริหาร ซึ่งโดยปกติ ฝายบรหิ ารไมมอี ํานาจในการออกกฎหมาย ดังน้นั ฝายบรหิ ารจะตรากฎหมายไดจ ะตองอาศัยอาํ นาจ

๘ จากกฎหมายทฝี่ า ยนติ บิ ญั ญตั ใิ หไ ว (การตรากฎหมายของฝา ยบรหิ ารน้ี จงึ เปน เรอื่ งยกเวน และมอี าํ นาจ จํากดั ) กฎหมายบริหารบญั ญัติในระบบกฎหมายไทย แบง ออกเปน ๒ ประเภท ไดแก พระราชกาํ หนด และกฎหมายลาํ ดับรอง ¾ÃÐÃÒªกาํ ˹´ พระราชกําหนด (พ.ร.ก.) เปน กฎหมายท่ฝี า ยบรหิ าร คณะรัฐมนตรี ตราขึ้นโดยอาศัย อํานาจตามรัฐธรรมนญู โดยมีฐานะทางกฎหมาย หรือลําดบั ศักดิ์เทียบเทากับพระราชบัญญัติ ดงั นัน้ พระราชกําหนดจึงมีผลเปนการแกไขเพ่ิมเติม หรือยกเลิกพระราชบัญญัติได ท้ังนี้ เน่ืองจากพระราช กําหนดมิใชกฎหมายโดยแทจึงมีขอกําจัดในการตรา กลาวคือ ฝายบริหารจะตราพระราชกําหนดได เฉพาะในกรณีพเิ ศษตามที่รฐั ธรรมนูญกาํ หนดเงอ่ื นไขไวเทา นนั้ ดงั น้ี - เพ่อื ประโยชนในอันท่ีจะรกั ษาความปลอดภัยของประเทศ - เพ่ือประโยชนใ นอนั ที่จะรกั ษาความปลอดภัยสาธารณะ - เพ่ือประโยชนใ นอนั ที่จะรกั ษาความม่นั คงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรอื - เพ่อื ประโยชนใ นอนั ทีจ่ ะปกปอ งภัยพบิ ัติสาธารณะ นอกจากเง่อื นไขอยา งใดอยา งหนงึ่ ใน ๔ ประการท่ีกลาวมา การทีฝ่ ายบรหิ ารจะตรา พระราชกําหนดไดตองเปนกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นวา “ฉุกเฉินท่ีมีความจําเปนเรงดวนอันมิอาจจะ หลกี เล่ียงได” มิฉะนัน้ พระราชกาํ หนดน้จี ะขัดตอรัฐธรรมนญู และไมม ผี ลทางกฎหมาย ¡®ËÁÒÂลํา´ºÑ Ãͧ การตรากฎหมายลําดับรองเปนการรับรองอํานาจของฝายบริหารตามหลักของ รัฐธรรมนูญ เนอ่ื งจากการตราพระราชบญั ญตั ิ หรอื พระราชกําหนดน้ัน ถอื เปนการวางหลักกฎหมาย ในภาพรวม หรือเปนการกําหนดแนวทางกวาง ๆ เทานั้น เพราะขอจํากัดท่ีฝายนิติบัญญัติไมอาจ ทราบถึงสภาพตามความเปนจริงและปญหาในการบังคับกฎหมายได ประกอบกับเม่ือเวลาเปลี่ยนไป ขอเท็จจริงในเรื่องตาง ๆ ท่ีกฎหมายจะใชบังคับก็อาจมีการเปลี่ยนแปลงได ดังนั้น จึงเปนขอจํากัด ท่ีฝายนิติบัญญัติไมสามารถกําหนดรายละเอียดในกฎหมายไดจึงมีความจําเปนตองมอบอํานาจ แกฝายบริหารใหสามารถตรากฎหมายบริหารบัญญัติ เชน พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง หรือ ประกาศกระทรวง ซง่ึ เปน กฎหมายลาํ ดบั รองทบี่ ญั ญตั ใิ หส อดรบั กบั กฎหมายแมบ ท กฎหมายลาํ ดบั รอง จึงขัดหรอื แยงกับกฎหมายแมบ ทท่ีใหอาํ นาจไมได ñ.ó ¡®ËÁÒÂͧ¤¡ÃºÞÑ ÞÑμÔ ในปจจุบันการบริหารราชการแผนดินไดมุงเนนการกระจายอํานาจใหองคกร ปกครองสว นทอ งถนิ่ เพอื่ เปดโอกาสใหป ระชาชนในแตล ะพื้นที่ไดมสี วนรวมในการปกครอง และแกไ ข ปญหาในพื้นที่ของตนดวยตนเอง กลาวคือ มีอิสระจากการ “บังคับบัญชา” ของการบริหารราชการ สว นกลางและสวนภูมิภาค แตอยภู ายใต “การกํากบั ดแู ล” เทา นัน้

๙ องคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ ในประเทศไทยปจจุบันแบง ออก ๕ ประเภท คือ เทศบาล องคการบริหารสว นจังหวัด (อบจ.) องคก ารบริหารสวนตาํ บล (อบต.) กรงุ เทพมหานคร และ เมืองพทั ยา การท่ีรัฐไดมอบอํานาจใหแกทองถิ่นน้ัน รัฐธรรมนูญไดรับรองใหองคกรปกครอง สว นทอ งถนิ่ เหลา น้ี มอี าํ นาจในการออกกฎหมายใชบ งั คบั ขน้ึ เองในพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ หรอื เรยี กวา “อาํ นาจ ในการตราขอ บงั คบั หรอื ขอ บญั ญตั ”ิ เปน ตน ทงั้ นเ้ี พอ่ื ใหว ตั ถปุ ระสงคข องการกระจายอาํ นาจสทู อ งถนิ่ และการใหป ระชาชนของทอ งถ่นิ มีสว นรวมในการบรหิ ารราชการอยางเต็มท่ี ò. ºÍ‹ à¡´Ô ¨Ò¡¡®ËÁÒ·èäÕ Á‹ä´ŒºÞÑ ÞÑμÔ¢é¹Ö นอกจากกฎหมายที่ใชบังคับในรูปแบบที่บัญญัติขึ้นเปนลายลักษณอักษรแลวน้ัน ศาลอาจนํากฎหมายทไ่ี มไดบัญญตั เิ ปนลายลกั ษณอักษรมาบังคับได เชน ในมาตรา ๔ แหง ประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย กลา วคือ ๒.๑ หลกั กฎหมายจารตี ประเพณี ๒.๒ หลักกฎหมายท่ีใกลเ คียงอยา งย่งิ และ ๒.๓ หลักกฎหมายทัว่ ไป ò.ñ ËÅ¡Ñ ¡®ËÁÒ¨ÒÃÕμ»ÃÐà¾³Õ หลักกฎหมายจารตี ประเพณี หมายถงึ กฎหมายตา ง ๆ ทป่ี รากฏอยใู นรูปของ จารตี ประเพณี แตม ไิ ดห มายความวาจารีตประเพณที ุกอยา งจะเปน กฎหมาย โดยจารตี ประเพณที ีเ่ ปน กฎหมายตองมลี กั ษณะสําคญั ดงั นี้ (๑) เปนจารีตประเพณีที่ประชาชนในสังคมนั้น ๆ ปฏิบัติกันอยางตอเนื่อง สมํ่าเสมอและยาวนาน (๒) เปนจารีตประเพณีท่ีประชาชนเห็นวาถูกตองและจะตองปฏิบัติตาม (เชอื่ มัน่ วา เปน กฎหมาย) จารีตประเพณีเหลาน้ีอาจมีความเหมือน หรือตางกันตามแตละทองถิ่น หรอื ธรรมเนยี มปฏบิ ตั ใิ นแตล ะอาชพี ได เชน ธรรมเนยี มของพอ คา ขา ว ธรรมเนยี มการลงแขกเกยี่ วขา ว หรอื ธรรมเนียมกติกาการแขงขนั กีฬา เปนตน ò.ò ËÅÑ¡¡®ËÁÒÂã¡ÅàŒ ¤ÂÕ §Í‹ҧÂè§Ô หลกั กฎหมายใกลเ คยี งอยา งยง่ิ หมายถงึ กรณที ไ่ี มม หี ลกั กฎหมายมาบงั คบั กบั กรณเี หลานนั้ และยังไมมจี ารตี ประเพณีเกย่ี วกับเร่อื งนน้ั ๆ มาใช ศาลกส็ ามารถนาํ กฎหมายใกลเ คยี ง อยา งย่ิงมาพิจารณาก็ได เชน นายแดงและนายฟา เปนเพื่อนบานกัน ปรากฏวา ตนไมบานนายฟา กําลังจะลมทับบานนายแดง แตยังไมลม นายแดงจึงตองฟองใหนายฟาตัดตนไมเพ่ือปองกัน อนั ตรายนน้ั อยางไรก็ตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย มาตรา ๔๓๕ บัญญตั ิวา

๑๐ “บุคคลใดจะประสบความเสียหายอันพึงเกิดจากโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสรางอยางอ่ืน ของผูอ่นื บุคคลผนู ัน้ ชอบทจ่ี ะเรยี กใหจ ัดการตามท่ีจําเปนเพ่ือบําบัดปดปอ งภยันตรายนัน้ เสียได” ประเด็นที่เกิดข้ึน คือ นายแดงไมไดกําลังจะประสบความเสียหายจากโรงเรือน หรอื สง่ิ ปลกู สรา ง แตก าํ ลงั ประสบความเสยี หายจากตน ไม ยอ มไมส ามารถใชส ทิ ธติ ามมาตรา ๔๓๕ ได แตอยางไรก็ตาม สามารถอางมาตรา ๔๓๕ เปนกฎหมายใกลเคียงอยางย่ิงมาพิจารณาและบังคับให นายฟาแกไ ขอันตรายอนั เกิดจากตน ไมได ò.ó ËÅ¡Ñ ¡®ËÁÒ·ÇÑè ä» หลกั กฎหมายท่วั ไป เปน บอ เกดิ กฎหมายทีม่ ิไดบ ัญญัติข้นึ แตก ม็ คี วามสําคัญ ตอ การอดุ ชอ งวา งของกฎหมาย ในกรณที ไ่ี มม กี ฎหมายลายลกั ษณใ หน าํ มาปรบั ใชก บั คดไี ด หลกั กฎหมาย ท่ัวไปถือเปนหลักเกณฑที่ใหความยุติธรรมตามธรรมชาติ (Natural Justice) ไดแก ความเปนธรรม ท่ีอยูในความรูสึกผิดชอบชั่วดีของมนุษย และความเปนเหตุเปนผล หลักกฎหมายที่ผูพิพากษาคนหา มาจากแหลงตา ง ๆ อาทิ สภุ าษิตกฎหมาย เชน หลกั “ผูรับโอนไมมีสทิ ธิดกี วาผูโอน” เชน ทีด่ นิ พพิ าท เปนของนายแดง นายดําไมมีสิทธินําไปจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิแกนายเขียว หากนายเขียวไดที่ดิน ไปยอมไมไดกรรมสิทธ์ิ เพราะผูรับโอน (นายเขียว) ไมมีสิทธิดีกวาผูโอน (นายดํา) เน่ืองจากนายดํา ไมมีกรรมสิทธ์ิเหนือที่ดิน จึงโอนที่ดินใหผูอื่นไมได หรือศาลอาจ “คนหา” หลักกฎหมายท่ัวไป ดวยการนํากฎหมายหลาย ๆ มาตราหรือหลาย ๆ ฉบับมาพิจารณา เชน ศาลปกครองเคยคนหา หลักกฎหมายทั่วไปจากพระราชบัญญัติและอนุบัญญัติจนสกัดหลักกฎหมายที่วา “กฎหมายจะตอง มีความชัดเจนแนนอนและหลักที่วานิติกรรมทางปกครองไมมีผลยอนหลัง” อันเปนหลักประกัน ความมนั่ คงของนติ สิ มั พนั ธร ะหวา งองคก รของรฐั หรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั ฝา ยปกครองกบั ประชาชนหรอื ผอู ยู ในบงั คบั ของนติ กิ รรมทางปกครอง (คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ คดหี มายเลขแดงที่ อ. ๓๕๕/๒๕๕๑) Ãкº¡®ËÁÒ ระบบกฎหมาย (Law System) หมายถึง ลักษณะรวมกันของกฎเกณฑของกฎหมาย ตลอดจนกระบวนการพิจารณาคดีซึ่งแตละประเทศจะมีความแตกตางกันออกไป โดยสามารถ แบงระบบของกฎหมายในโลกน้ีได ๒ ระบบ คือ ๑. ระบบกฎหมายลายลักษณอ ักษร ๒. ระบบกฎหมายทีไ่ มเปน ลายลักษณอ ักษร ñ. Ãкº¡®ËÁÒÂÅÒÂÅѡɳÍÑ¡Éà ระบบกฎหมายลายลกั ษณอ กั ษร (Civil Law) หรอื ระบบประมวลกฎหมาย ระบบน้ี มีประวัติความเปนมาจากกฎหมายโรมันท่ีสําคัญ เชน กฎหมายสิบสองโตะ และกฎหมายของ จักรพรรดิจัสติเนียน ระบบกฎหมายลายลักษณอักษรเปนกฎหมายท่ีใชในประเทศภาคพื้นยุโรป เชน เยอรมนั ฝรงั่ เศส อิตาลี สวิตเซอรแ ลนด เบลเยยี ม สเปน โปแลนด เปนตน และยงั ไดแ พรห ลายเขาสู ประเทศแถบลาตินอเมริกา ประเทศในเอเชีย เชน จีน ญ่ีปุน ไทย และประเทศในแถบอินโดจีน

๑๑ นอกจากนี้ยังแพรไปในรัฐบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกาที่เคยเปนอาณานิคมของฝรั่งเศส เชน รฐั ลุยเซียนา เปน ตน เน้ือหาของกฎหมายระบบกฎหมายลายลักษณอักษร เปนกฎหมายท่ีไดมีการ บญั ญตั ขิ นึ้ หรอื ตราขน้ึ โดยรวบรวมบทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั กฎหมายทเ่ี ปน เรอื่ งเดยี วกนั แตอ ยกู ระจดั กระจาย ไมเ ปนระเบยี บใหมารวมอยเู ปนหมวดหมู วางหลักเกณฑและมขี อ ความเก่ยี วเนอ่ื งกนั อยางเปน ระบบ เพอ่ื ประโยชนใ นการศกึ ษาและสะดวกตอ การนาํ ไปใช ตวั อยา งประมวลกฎหมายทสี่ าํ คญั ของไทย ไดแ ก ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง ประมวลกฎหมายทีด่ ิน และประมวลรัษฎากร เปน ตน ò. Ãкº¡®ËÁÒ·äèÕ Á‹à»š¹ÅÒÂÅѡɳ͏ Ñ¡Éà ระบบกฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษร (Common Law) หรือระบบกฎหมาย จารตี ประเพณเี กดิ ขน้ึ จากจารตี ประเพณแี ละคาํ พพิ ากษาของศาล โดยจะนาํ เอาหลกั เกณฑแ ละเหตผุ ล จากคาํ พพิ ากษาของศาลเปน บอ เกดิ ของกฎหมาย หรอื อาจกลา วไดว า ตวั คาํ พพิ ากษาเปน ตวั บทกฎหมาย ดงั น้นั คําพพิ ากษาตอๆ มาในกรณีอยา งเดยี วกันยอ มตองตดั สินตามแนวคําพิพากษากอ นๆ น้ันเสมอ การศกึ ษากฎหมายก็ศกึ ษาจากคําพพิ ากษาของศาลนน่ั เอง ประเทศที่ใชระบบกฎหมายท่ีไมเปนลายลักษณอักษร เชน ประเทศอังกฤษ และ เครือจักรภพอังกฤษ รวมทั้งประเทศสหรัฐอเมริกาดวย ประเทศเหลานี้นอกจากจะใชจารีตประเพณี และคาํ พพิ ากษาของศาลในการพจิ ารณาคดแี ลว ยงั นาํ หลกั ความยตุ ธิ รรมมาใชเ พอ่ื ใหเ กดิ ความเปน ธรรม อกี ดว ย สว นกฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรทรี่ ฐั ตราออกมาใชบ งั คบั นนั้ ถอื เปน กฎหมายเฉพาะเรอื่ ง ดงั นน้ั กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรจงึ เปน กฎหมายทอ่ี อกมาเพอื่ แกไ ขเพม่ิ เตมิ หรอื เปลย่ี นแปลงยกเลกิ กฎหมาย ทมี่ อี ยแู ลวเทานั้น

๑๒ สาํ หรบั ระบบกฎหมายทใี่ ชอ ยใู นประเทศไทยเปน ระบบประมวลกฎหมาย แตผ ศู กึ ษา ควรจะทราบถงึ ลกั ษณะ ตลอดจนความเปน มาของกฎหมายทใี่ ชอ ยใู นประเทศไทยตง้ั แตต น กอ นทจี่ ะมา ใชร ะบบประมวลกฎหมาย ในการศึกษานั้นแบง การศกึ ษากฎหมายไทยเปน ๒ ภาค คือ ñ. ÀÒ¤¡®ËÁÒÂä·Â´éѧà´ÔÁ เปนชวงระยะเวลา ต้ังแตกอนสมัยสุโขทัย สมัย กรุงศรีอยุธยาเรอื่ ยมาจนสิ้นรชั กาลที่ ๓ ซึง่ อาจแยกการศกึ ษาไดเ ปน ๑) กฎหมายมาจากวฒั นธรรมและสงั คมไทยแท ในการศกึ ษานต้ี อ งศกึ ษาเกยี่ วกบั โครงสรางของสังคมไทย โดยพิจารณาจากขอมูลทางประวัติศาสตรที่ยังเหลืออยู และตองพิจารณา จากชนเผาไทยอน่ื ๆ ทม่ี คี วามสมั พันธใกลช ดิ กบั ราชอาณาจักรไทย พบวา สังคมไทยดัง้ เดมิ เปนสังคม “มาตาธิปไตย” คือ ถอื แมเปนใหญ ทงั้ นีเ้ นื่องจากเมื่อชายหญงิ ไดทําการสมรสกันแลว ชายตองเขามา อยูในครอบครัวของหญิง ชายจึงตองปลอยใหหญิงเปนผูอบรมเลี้ยงดูบุตร เปนผูเก็บรักษาทรัพยสิน ทั้งหมด และเมื่อมีการหยาขาดจากกัน การแบงทรัพยสินระหวางกัน กฎหมายจะใหชายไดมากกวา เพราะชายเปน ผูทาํ มาหาไดม ากกวา หญงิ แตอยางไรกต็ ามเมือ่ หญงิ นาํ ทรัพยสนิ ทไี่ ดไปรวมกบั สนิ เดมิ หญงิ ยอ มไดมากกวา ชายอยูดี ๒) กฎหมายมาจากวัฒนธรรมของอินเดีย ซึ่งแพรเขามาทางดานวรรณคดี และศาสนา วัฒนธรรมและสังคมอินเดียเปนลกั ษณะสังคมทีเ่ รยี กวา “ปต าธปิ ไตย” คือ ชายเปน ใหญ ในระยะแรกท่ีแพรเขามาในประเทศไทยเขามาในหมูชนช้ันสูงกอน ตอมาจึงขยายสูชนชั้นลาง ของสงั คม พรอ มกนั นก้ี ฎหมายทส่ี าํ คญั ของอนิ เดยี กเ็ ขา มามอี ทิ ธพิ ลตอ กฎหมายในสงั คมไทย คือ กฎหมายพระมนู หรือ พระธรรมศาสตร ซึ่งไทยรับผานมาทางมอญและเรียกกฎหมายฉบับนี้วา “พระธรรมสตั ถมั ” กฎหมายนถ้ี อื ไดว า มคี วามสมบรู ณถ กู ตอ งทสี่ ดุ และมคี วามศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ แมแ ตพ ระมหา กษตั รยิ ก เ็ ปลยี่ นแปลงไมไ ด เชน ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ มกี ารตดั สนิ คดเี กยี่ วกบั การฟอ งหยา ของสามภี รยิ า คหู นงึ่ ซงึ่ ใชห ลกั การของกฎหมายพระธรรมศาสตร แตผ ลการตดั สนิ คดกี ลบั ไมเ ปน ธรรม เมอื่ เปน เชน น้ี พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั รชั กาลท่ี ๑ ก็ไมอ าจทรงแกไขใหเปน อยางอ่นื ได อยา งไรกด็ ีพระองคทรง โปรดเกลา ฯ ใหช าํ ระกฎหมายใหม เรยี กวา “กฎหมายตราสามดวง” หรือนกั กฎหมายบางทานเรยี กวา “ประมวลกฎหมายรชั กาลท่ี ๑” ตอ มาพระเจาบรมวงศเ ธอฯ กรมหลวงราชบรุ ดี ิเรกฤทธิ์ พระบิดาแหง กฎหมายไทยไดท รงชาํ ระแกไ ขกฎหมายตราสามดวง และใหม กี ารจดั พมิ พข น้ึ เรยี กวา “กฎหมายราชบรุ ”ี ò. ÀÒ¤¡®ËÁÒÂÊÁÂÑ ãËÁ‹ ตงั้ แตสมัยรชั กาลที่ ๔-๕ เปนตนไป เปนชว งเวลาทีไ่ ทย รับอารยธรรมจากตะวนั ตกเขามาปรับปรงุ ประเทศในทกุ ๆ ดาน รวมทั้งทางดา นกฎหมายดวย ถือวา สมัยน้เี ปน “ยุคนิตบิ ัญญตั ขิ องไทย” มกี ารบญั ญัตกิ ฎหมายขนึ้ มาใชในเรอื่ งตา งๆ มากขนึ้ พัฒนาการ ทางดา นกฎหมายไทยในสมัยนี้มีการเปลยี่ นแปลงทสี่ าํ คัญดงั นี้ ๑) มกี ารรบั เอากฎหมายองั กฤษเขา มาใชเ พอื่ เพมิ่ เตมิ กฎหมายไทยใหส มบรู ณข น้ึ โดยรบั เขา มาใชเ ปน เรอ่ื งๆ ซงึ่ ศาลจะนาํ หลกั กฎหมายขององั กฤษเขา มาเปน สว นประกอบกฎหมายไทย

๑๓ และรับเอาเขามาโดยทางโรงเรียนสอนกฎหมาย กลาวคือ ไดมีการสงคนไทยไปเรียนกฎหมาย หรือสงนักกฎหมายไปเรียนเพ่ิมเติมที่ประเทศอังกฤษ โดยเฉพาะอยางย่ิงเมื่อสมเด็จพระบิดาแหง กฎหมายไทย พระเจา บรมวงศเธอฯ กรมหลวงราชบุรดี ิเรกฤทธ์ิ ทรงสาํ เรจ็ การศกึ ษาวชิ ากฎหมายจาก ประเทศอังกฤษ และไดก ลับมาตง้ั โรงเรียนสอนกฎหมายในประเทศไทย อทิ ธิพลของกฎหมายอังกฤษ จึงเขา มาสสู งั คมไทยในลกั ษณะน้ี ๒) มีการจัดทํากฎหมายที่เรียกวา “ประมวลกฎหมาย” โดยเลียนแบบฝรั่งเศส ซงึ่ มสี าเหตมุ าจากปญ หาเรอ่ื งสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต ทาํ ใหไ ทยไดร บั ความเดอื ดรอ นและไมเ ปน ธรรม ไทยจึงขอยกเลิกสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต ซ่ึงชาติตะวนั ตกก็ยนิ ยอมโดยดี แตมเี ง่ือนไขวาไทยจะตอง ปรบั ปรงุ ระบบกฎหมายใหเ หมอื นอารยประเทศ ไทยจงึ ตดั สนิ ใจจดั ทาํ ประมวลกฎหมาย โดยเลยี นแบบ ฝรง่ั เศสซง่ึ สะดวกทสี่ ดุ จงึ ไดม กี ารทดลองรา งประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยบ รรพ ๑-๒ ใน พ.ศ.๒๔๖๖ ๓) มกี ารจดั ทาํ ประมวลกฎหมาย โดยเลยี นแบบกฎหมายเยอรมนั แทนกฎหมายฝรง่ั เศส เพราะขาดผูรางที่มีความเชี่ยวชาญทางกฎหมายฝร่ังเศส พระยามานวราชเสวีไดถวายความคิดเห็น ตอพระเจา อยูห ัวรัชกาลท่ี ๖ วา ควรลอกแบบของประมวลกฎหมายเยอรมัน ซ่ึงญ่ีปนุ นํามาดัดแปลง ไวแลว โดยเราลอกตอจากญี่ปุนอีกทอดหนึ่งจึงจะกระทําไดรวดเร็ว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จงึ โปรดเกลา ฯ ใหดําเนินการไปตามนั้น ในท่สี ุดการรางประมวลกฎหมายเลยี นแบบเยอรมันไดส าํ เรจ็ ลุลวงไปดวยดีในระยะเวลาอันรวดเร็ว และมีการประกาศใชประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยในตน รชั กาลท่ี ๗ ใน พ.ศ.๒๔๖๘ และไดม กี ารประกาศใชครบ ๖ บรรพ ใน พ.ศ.๒๔๗๕ แตประมวลกฎหมายฉบับแรกของไทย คือ “กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ.๑๒๗” ซึง่ ประกาศใชบ ังคบั มาเปนเวลานานหลายปแลว คอื ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๕๑ จนถึง พ.ศ.๒๔๙๙ ทําให บทบญั ญตั ใิ นบางมาตราอาจจะไมเ หมาะสมหรอื สอดคลอ งกบั สภาพสงั คมทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปอยา งรวดเรว็ จงึ ไดม กี ารปรบั ปรงุ แกไ ขประมวลกฎหมายอาญาฉบบั ใหมใ น พ.ศ. ๒๕๐๐ และใชเ รอ่ื ยมาจนถงึ ปจ จบุ นั

๑๔ à»ÃÕºà·ÂÕ º¤ÇÒÁáμ¡μÒ‹ §ÃÐËÇÒ‹ §Ãкº¡®ËÁÒÂÅÒÂÅ¡Ñ É³ÍÑ¡Éà áÅÐÃкº¡®ËÁÒÂäÁ‹à»š¹ÅÒÂÅѡɳ͏ Ñ¡Éà Ãкº¡®ËÁÒÂÅÒÂÅ¡Ñ É³Í¡Ñ Éà Ãкº¡®ËÁÒÂäÁà‹ »š¹ÅÒÂÅ¡Ñ É³ÍÑ¡Éà ๑. การใชแ ละการ ถูกวิพากษวิจารณวามีความแข็งกระดาง มีความไดเ ปรยี บกวา เพราะเปนกฎหมายที่ ตีความกฎหมาย ไมยืดหยุน ไมเหมาะสมท่ีจะปรับใชแก ยดื หยนุ ออ นตวั สามารถนาํ ปรบั แกค วามผดิ ได ความผิดไดทุกกรณี เพราะเปนการราง กบั ความผดิ ทต่ี า ง ๆ เกดิ ขน้ึ และเปลย่ี นแปลง โดยคาดการณไ วล ว งหนา การใชก ฎหมาย เหมาะสมกับกาลเวลา ตองอาศัยการตีความเพ่ือใหกฎหมาย สามารถนาํ ไปปรบั ใชไดกับทกุ กรณี ๒. การศกึ ษาและ มีการรวบรวมกฎหมายไวเปนลายลักษณ มีความไดเปรียบกวา เพราะเปน กฎหมายท่ี คนควา อา งอิง อักษร โดยจัดหัวขอเรียบเรียงลําดับเปน ยดื หยนุ ออ นตวั สามารถนาํ ปรบั แกข อ เทจ็ จรงิ หมวดหมู จึงสะดวกแกการศึกษาคนควา ตา ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ และเปลย่ี นแปลงเหมาะสม และการอางอิง ประชาชนทั่วไปสามารถ กบั กาลเวลา เขา ถงึ กฎหมายไดโดยงาย ๓. การคุมครอง มีการรางเปนลายลักษณอักษร โดยมี ไมส ามารถตรวจสอบไดลวงหนา ประชาชน เ ส รี ภ า พ ข อ ง หลกั การใชว า ตอ งยดึ ถอื ตวั บทในประมวล ไมอาจรูลวงหนาวาการกระทําใดกฎหมาย ประชาชน เปนหลัก จึงเหมาะแกการที่จะคุมครอง หา ม แตอ าจเหมาะสมเฉพาะประเทศองั กฤษ เสรภี าพของประชาชน สามารถตรวจสอบ ในฐานะเปน บิดาแหงความยุตธิ รรม ปญ หา ไดล ว งหนา วา ทาํ อะไรไดห รอื ทาํ อะไรไมไ ด การใชกฎหมายท่ีกระทบกระเทือนเสรีภาพ เมื่อมีการหามเปนลายลักษณอักษร ของประชาชนจึงไมเ กิด หากมีผูละเมิดก็ยอมตองถือวาเปน ความผดิ อยา งชดั เจน ๔. การพฒั นาบท เปนระบบกฎหมายท่ีงายตอการพัฒนา กฎหมายสว นใหญม บี อ เกดิ จากจารตี ประเพณี กฎหมาย กฎหมาย เนอื่ งจากกฎหมายสว นใหญเ ปน และคําพิพากษาจึงยากตอการพัฒนา และ กฎหมายลายลักษณอักษร จึงมีรูปธรรม ตอ งใชเ วลามากกวา ชัดเจนแนนอน

๑๕ º··Õè ó ¡ÒÃầ‹ »ÃÐàÀ·¢Í§¡®ËÁÒ ¡ÒÃẋ§»ÃÐàÀ·¢Í§¡®ËÁÒ กฎหมายที่ใชอยูภายในประเทศเปนระบบกฎหมายซีวิล ลอว กฎหมายท่ีใชอยูจึงเปน กฎหมายลายลักษณอักษร มีรูปแบบและลักษณะท่ีแตกตางกันมากมายหลายลักษณะ จึงจําเปน ตอ งมกี ารแบง กฎหมายออกเปน ประเภท เพอื่ ใหง า ยตอ ความเขา ใจและเพอื่ ประโยชนใ นการใชก ฎหมาย น้ันๆ อีกดวย ในเร่ืองการแบงประเภทกฎหมายน้ีมีการแบงแยกไดหลายวิธีขึ้นอยูกับวาจะยึดอะไร เปน หลักเกณฑ สําหรับหลักเกณฑในการแบงประเภทของกฎหมายที่สําคัญและนิยมใชกันมากมีอยู ๒ วธิ ี คือ ๑. การแบงประเภทของกฎหมายตามลักษณะแหง การใช ๒. การแบง ประเภทของกฎหมายตามลักษณะของความสมั พนั ธข องคูก รณี ñ. ¡ÒÃầ‹ »ÃÐàÀ·¢Í§¡®ËÁÒÂμÒÁÅѡɳÐáË‹§¡ÒÃ㪌 ถา ใชเ กณฑก ารแบง กฎหมายตามลกั ษณะแหง การใชก ฎหมาย สามารถแบง กฎหมาย ออกได ๒ ประเภท คือ กฎหมายสารบัญญตั ิ และกฎหมายวธิ สี บัญญตั ิ ñ.ñ ¡®ËÁÒÂÊÒúÑÞÞÑμÔ ไดแก กฎหมายที่วาดวยเน้ือหาสาระของบทบัญญัติ ตางๆ ทีก่ ําหนดข้นึ ไวเ พ่ือใชบ ังคับแกค วามประพฤติปฏบิ ัตขิ องประชาชน หรอื เพอ่ื กําหนดสิทธหิ นาท่ี และความรับผิดของบุคคล กลาวคือ เปนกฎหมายที่กําหนดเฉพาะเนื้อหาของกฎเกณฑลวนๆ เชน กฎหมายอาญา กฎหมายแพง และพาณชิ ย กฎหมายอาญาทหาร พระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา ตางๆ เปน ตน ñ.ò ¡®ËÁÒÂÇÔ¸ÕʺÑÞÞÑμÔ ไดแก กฎหมายที่กําหนดวิธีการบังคับใหเปนไปตาม สิทธิหนาที่หรือกฎเกณฑท่ีกําหนดไวในกฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายวิธีสบัญญัติจึงเปนกฎหมาย ที่จะทําใหกฎหมายสารบัญญัติมีผลใชบังคับแกกรณีที่เกิดข้ึนได กฎหมายประเภทนี้ ไดแก กฎหมาย วธิ พี จิ ารณาความอาญา ซงึ่ เปน กฎหมายวธิ สี บญั ญตั ขิ องกฎหมายสารบญั ญตั ทิ างอาญา หรอื กฎหมาย กําหนดวิธีการบังคับใหเปนไปตามกฎหมายสารบัญญัติทางอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ซงึ่ เปน กฎหมายวธิ สี บญั ญตั ขิ องกฎหมายสารบญั ญตั ทิ างแพง หรอื กฎหมายกาํ หนดวธิ กี ารบงั คบั ใหเ ปน ไป ตามกฎหมายสารบัญญัติทางแพง พระธรรมนูญศาลยุติธรรม กฎหมายลักษณะพยานและธรรมนูญ ศาลทหาร เปน ตน

๑๖ ò. ¡ÒÃẋ§»ÃÐàÀ·¢Í§¡®ËÁÒÂμÒÁÅѡɳТͧ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸¢Í§¤Ù‹¡Ã³Õ ËÃ×ÍμÒÁ ¢ŒÍ¤ÇÒÁ¢Í§¡®ËÁÒ กฎหมายบางประเภทกําหนดความสัมพันธระหวางรัฐกับเอกชน และเกี่ยวของกับ ผลประโยชนของคนหมูมาก กฎหมายบางประเภทกําหนดความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชน และเกย่ี วขอ งกบั เอกชนเปน รายๆ ไป และกฎหมายบางประเภทกาํ หนดความสมั พนั ธร ะหวา งรฐั ตอ รฐั ดังน้ัน เมื่อใชหลักเกณฑการแบงประเภทของกฎหมายตามลักษณะความสัมพันธหรือตามขอความ ของกฎหมาย มี ๓ ประเภท คือ ๒.๑ กฎหมายมหาชน ๒.๒ กฎหมายเอกชน ๒.๓ กฎหมายระหวางประเทศ ò.ñ ¡®ËÁÒÂÁËÒª¹ คือ กฎหมายที่กําหนดความสัมพันธระหวางรัฐ หรือ หนวยงานของรัฐกบั ราษฎร ในฐานะที่รฐั เปนฝา ยปกครองราษฎร กลาวคือ ในฐานะที่รัฐมฐี านะเหนอื ราษฎร จึงจําเปนตองตรากฎหมายขึ้นเพื่อใชบังคับความประพฤติพลเมืองภายในรัฐ ในที่น้ีจะแบง ประเภทของกฎหมายมหาชนทสี่ ําคัญ ดงั นี้ ๒.๑.๑ รัฐธรรมนูญ/กฎหมายรฐั ธรรมนญู ๒.๑.๒ กฎหมายปกครอง ๒.๑.๓ กฎหมายอาญา ๒.๑.๔ กฎหมายวา ดว ยธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม ๒.๑.๕ กฎหมายวา ดว ยวิธีพิจารณาความอาญา ๒.๑.๖ กฎหมายวาดวยวิธพี จิ ารณาความแพง ò.ñ.ñ ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÞÙ /¡®ËÁÒÂÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÞÙ คาํ วา “รฐั ธรรมนญู ” กบั “กฎหมายรฐั ธรรมนญู ” มคี วามหมายตา งกนั กลาวคือ รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายท่ีวางระเบียบในการปกครองประเทศซ่ึงเปนเสมือนชื่อเฉพาะ ของกฎหมายประเภทนั้นๆ และแสดงเนื้อหาสาระ ตลอดจนฐานะความสําคัญพรอมกันในตัวเอง สว นกฎหมายรฐั ธรรมนญู เปน คาํ ทกี่ วา งมคี วามหมายเปน การทวั่ ไปและครอบคลมุ เนอื้ หาสาระกฎหมาย ตลอดจนทฤษฎแี ละกฎเกณฑต า งๆ กวา งขวางกวา รฐั ธรรมนญู ในทางวชิ าการถอื วา กฎหมายรฐั ธรรมนญู เปนเรื่องของทฤษฎีหรือหลักการมากกวารัฐธรรมนูญ ซ่ึงเปนเร่ืองกฎหมายโดยเฉพาะ อยางไรก็ตาม ในการปฏิบตั ิ อาจมีการใชส ลบั จนดเู หมือนจะเปน คาํ เดียวกันอยบู า ง รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่วาดวยระเบียบแหงอํานาจสูงสุดของรัฐ และการกาํ หนดความสมั พนั ธร ะหวา งอาํ นาจตา งๆ เหลา นน้ั เพอื่ ใชเ ปน หลกั เกณฑใ นการปกครองประเทศ

๑๗ ขอความของรัฐธรรมนูญตองกําหนดระเบียบแหงอํานาจสูงสุด โดยกําหนดวาอํานาจสงู สดุ ที่เรียกวาอํานาจอธิปไตยนใี้ ครเปนเจาของ เชน กาํ หนดวาอํานาจอธปิ ไตย มาจากปวงชนชาวไทย มีการแบงแยกอํานาจหรือไม เชน แบงแยกออกเปนอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ ใครเปนผูใชและใชโดยทางใด และตองมีขอความกําหนดถึง ความสัมพันธระหวางอํานาจเหลานั้น ตลอดจนบทบัญญัติที่กลาวถึงสิทธิหนาที่ขององคพระประมุข ของประเทศ ทั้งยังบัญญัติถึงสิทธิและหนาที่ของราษฎรอันเปนหลักประกันความเสมอภาคของ บุคคลตามกฎหมาย และโดยเหตุท่ีรัฐธรรมนญู เปน กฎหมายสงู สดุ ของประเทศ ดังนน้ั บทบัญญัติของ กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแยงกับรัฐธรรมนูญมิได มิฉะนั้นแลวกฎหมายดังกลาวยอมตกเปนโมฆะ ใชบ ังคบั ไมไ ด ò.ñ.ò ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายท่ีวางหลักเกี่ยวกับการจัดระเบียบ บริหารราชการของรัฐ การดําเนินกิจกรรมของฝายปกครองในการจัดบริการสาธารณะ การวางหลัก ความเก่ียวพันในทางปกครองระหวางฝายปกครองกับเอกชนและฝายปกครองดวยกันเอง และการ ควบคมุ การดาํ เนินงานของฝา ยปกครอง ò.ñ.ó ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ กฎหมายอาญา คอื กฎหมายทบี่ ญั ญตั วิ า การกระทาํ หรอื ไมก ระทาํ การ อยา งใดเปน ความผิด และกําหนดโทษท่จี ะลงแกผกู ระทาํ ความผิดไวดวย กฎหมายใดทมี่ โี ทษถอื วา กฎหมายนนั้ เปน กฎหมายอาญา คาํ วา “โทษ” เปน คาํ พเิ ศษในกฎหมาย มคี วามหมายเฉพาะตา งจากความหมายทเี่ ขา ใจกนั โดยทวั่ ไป โทษทางกฎหมายน้ี ไดแ ก สภาพบังคบั หรอื วธิ กี ารบังคับเอาแกผูก ระทําผิด เรียงตามลาํ ดับความหนกั เบา ดงั น้ี (๑) ประหารชีวิต (๒) จําคุก (๓) กกั ขงั (๔) ปรับ (๕) ริบทรัพยส นิ คาํ วา กฎหมายอาญานีเ้ ปน คํารวม หมายความถงึ กฎหมายทุกอยาง ซึง่ กาํ หนดโทษทางอาญาดังกลาวแลว ซ่งึ อาจแบง ไดเ ปน ๒ ประเภท คือ (๑) พระราชบญั ญตั ทิ ม่ี โี ทษทางอาญา เชน พระราชบญั ญตั กิ ารพนนั พระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พระราชบญั ญตั โิ รงรบั จาํ นาํ พระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปราม การคา ประเวณี พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก เปน ตน (๒) ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายอาญาเปนประมวล กฎหมายทร่ี วบรวมเอาความผดิ ทว่ั ๆ ไป ตลอดจนหลกั เกณฑในการลงโทษมารวมกนั ไวเปนหมวดหมู

๑๘ ในฉบับเดียวกัน ประมวลกฎหมายอาญาฉบับแรกของประเทศไทย คือ กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. ๑๒๗ ใชบังคับตั้งแต พ.ศ.๒๔๕๑ จนถึง พ.ศ.๒๔๙๙ จึงไดมีการประกาศใชประมวลกฎหมาย อาญาฉบับใหม เริ่มใชต ้ังแตวันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๐๐ จนถงึ ปจจุบัน ò.ñ.ô ¡®ËÁÒÂÇ‹Ò´ŒÇ¸ÃÃÁ¹ÞÙ ÈÒÅÂØμ¸Ô ÃÃÁ กฎหมายวา ดว ยธรรมนญู ศาลยตุ ธิ รรม คอื กฎหมายทว่ี า ดว ยการจดั ตง้ั ศาลและวาดวยอํานาจในการพิพากษา และพิพากษาคดีของศาลของผูพิพากษา กฎหมายนี้ไดแก พระธรรมนญู ศาลยตุ ธิ รรม ò.ñ.õ ¡®ËÁÒÂÇÒ‹ ´ÇŒ ÂÇ¸Ô ¾Õ ¨Ô ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒ กฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความอาญา คือ กฎหมายที่วาดวย วธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องเจา พนกั งานของรฐั เพอื่ เอาตวั ผกู ระทาํ ผดิ ตามกฎหมายอาญามาลงโทษ กฎหมายนไ้ี ดแ ก ประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา ò.ñ.ö ¡®ËÁÒÂÇÒ‹ ´ŒÇÂÇ¸Ô Õ¾¨Ô ÒóҤÇÒÁᾧ‹ กฎหมายวา ดว ยวธิ พี จิ ารณาความแพง คอื กฎหมายทว่ี า ดว ยระเบยี บ วธิ ีการดําเนินการฟองรองคดี และบังคบั คดีในกรณที มี่ ขี อพิพาทโตแ ยงสทิ ธิกนั ในทางแพง หรือกลาว อกี นยั หนึ่ง คือ กฎหมายท่ีวา ดวยการบงั คบั สทิ ธิและหนาทีข่ องเอกชนในทางแพง นนั่ เอง กฎหมายนี้ ไดแก ประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพง ò.ò ¡®ËÁÒÂàÍ¡ª¹ กฎหมายเอกชน คอื กฎหมายทกี่ าํ หนดความสมั พนั ธร ะหวา งเอกชนตอ เอกชน ในฐานะทเี่ ทา เทยี มกัน เชน การซือ้ ขายซงึ่ เปนเร่อื งระหวา งผูซ ื้อกบั ผูขายเทาน้นั หรอื การกยู ืม ซ่งึ เปน เร่อื งระหวา งผูก กู บั ผูใหก ู เปน ตน สาขากฎหมายเอกชนมีกฎหมายดงั ตอไปนี้ - กฎหมายแพง - กฎหมายพาณิชย ò.ò.ñ ¡®ËÁÒÂᾋ§ คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงสิทธิและหนาท่ีของเอกชน โดยทวั่ ไป เชน ความมสี ภาพบคุ คล ทรพั ย หนี้ นติ กิ รรม ครอบครวั และมรดก ความสมั พนั ธข องเอกชน ดังกลาวนี้ ถามีการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของกันและกันแลว จะไมกระทบกระเทือนไปถึงบุคคล สว นใหญ ฉะนัน้ สภาพบังคบั ในทางแพง จึงเปนเพยี งชดใชความเสียหายใหแ กกนั เทานั้น ò.ò.ò ¡®ËÁÒ¾ҳԪ คือ กฎหมายที่กลาวถึงความสัมพันธของบุคคล บางจําพวกเปนพิเศษตางหากจากบุคคลธรรมดาทั่วไป ไดแก ผูประกอบการคา มีธุรกิจมากกวา คนธรรมดา ธรุ กจิ ท่ที ํา ไดแ ก การลงทุนในรปู ของหางหุนสว น หรือบรษิ ัทการขนสง การประกอบธรุ กิจ และการประกันภยั เปน ตน

๑๙ ในบางประเทศไดมีการแยกกฎหมายแพงและพาณิชยไวตางหาก จากกนั เชน ประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี ประเทศเหลา นีจ้ ะมีศาลพาณชิ ย แยกตา งหากจากศาลแพง แตสําหรับประเทศไทยไดรวบรวมเอากฎหมายแพงกับกฎหมายพาณิชยไวดวยกันเรียกวา “ประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย” ò.ó ¡®ËÁÒÂÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È กฎหมายระหวางประเทศ คือ กฎหมายท่ีกําหนดความสัมพันธระหวาง รัฐตอรฐั ในฐานะท่เี ทา เทียมกนั ความจริงแลวไมมีตัวบทกฎหมายระหวางประเทศบัญญัติไวเปนลายลักษณ อักษร เพียงเปนธรรมเนียมประเพณีที่ถือกันมา หรืออยางมากก็เปนสนธิสัญญาท่ีทํากันข้ึนระหวาง ประเทศ ดงั นน้ั จงึ อาจกลา วไดว า กฎหมายระหวา งประเทศเปน เพยี งธรรมเนยี มปฏบิ ตั ริ ะหวา งประเทศ เทานั้นเอง กฎหมายระหวา งประเทศแบงแยกออกเปน ๓ สาขา ไดแก ò.ó.ñ ¡®ËÁÒÂÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·Èá¼¹¡¤´ÕàÁ×ͧ เปนขอบังคับกําหนด ความสมั พนั ธระหวา งรัฐ ทงั้ ในยามสงบและยามสงครามโดยแบง ออกเปน (๑) กฎหมายระหวา งประเทศแผนกคดเี มอื งภาคสนั ติ เปน ขอ กาํ หนด เก่ียวกับรัฐ เชน ลกั ษณะของรฐั อาณาเขตของรัฐ หรอื หลกั เกณฑใ นการทาํ สนธิสัญญาตางๆ เปนตน (๒) กฎหมายระหวา งประเทศแผนกคดเี มอื งภาคสงคราม เปน ขอ ความ เก่ียวกับการทําสงคราม ò.ó.ò ¡®ËÁÒÂÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·Èá¼¹¡¤´ºÕ ¤Ø ¤Å เปน ขอบังคบั กําหนดสทิ ธิ หนาที่ และความสัมพันธระหวางบุคคล ซ่ึงเปนพลเมืองของประเทศท่ีตางกันในกรณีท่ีมีขอพิพาท เกย่ี วกบั ตา งประเทศในเรอื่ งตา งๆ เชน การไดส ญั ชาติ การแปลงสญั ชาติ การสมรส ทรพั ยส นิ นติ กิ รรม สญั ญา มรดก เปน ตน ò.ó.ó ¡®ËÁÒÂÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·Èá¼¹¡¤´ÕÍÒÞÒ เปนขอบังคับที่กําหนด ความสมั พนั ธร ะหวา งรฐั ในทางอาญาเกยี่ วกบั เขตอาํ นาจ การรบั รคู าํ พพิ ากษาทางอาญาของประเทศอน่ื ตลอดจนการสงตวั ผูรา ยขา มแดน เปนตน ¡Òè´Ñ ทํา¡®ËÁÒÂã¹áμ‹ÅÐû٠Ẻ ประเทศไทยเปนประเทศท่ีใชระบบกฎหมายซีวิล ลอว กฎหมายท่ีใชอยูจึงเปนกฎหมาย ลายลักษณอักษรอันเปนกฎหมายที่เกิดข้ึนจากการบัญญัติกฎหมายซ่ึงมีวิธีการบัญญัติหรือการจัดทํา ทแ่ี ตกตา งกนั ดว ยเหตนุ ้ี กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรจงึ มชี อื่ เรยี ก รปู แบบ และมคี วามสาํ คญั แตกตา งกนั ออกไปตามฐานะขององคกรที่มีอํานาจบัญญัติกฎหมายนั้นๆ เพราะฝายนิติบัญญัติ ซ่ึงมีหนาท่ี ในการจดั ทาํ กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษร อาจจะมอบอาํ นาจในการจดั ทาํ กฎหมายใหแ กอ งคก รฝา ยบรหิ าร

๒๐ เพ่ือความสะดวกรวดเรว็ และความคลองตวั ในการบรหิ ารประเทศ หรอื อาจจะมอบอาํ นาจใหองคการ บริหารสวนทองถ่ิน เพื่อใหสามารถออกกฎหมายมาใชในการบริหารราชการในทองถิ่นของตนได นอกจากนี้ ในกรณที ม่ี กี ารปฏวิ ตั หิ รอื รฐั ประหารเพอ่ื ยดึ อาํ นาจในการปกครองประเทศ อาํ นาจในการจดั ทาํ กฎหมายซง่ึ เคยเปน ของฝา ยนติ บิ ญั ญตั ิ หรอื ผซู ง่ึ ฝา ยนติ บิ ญั ญตั มิ อบหมายใหม อี าํ นาจออกกฎหมายได ยอ มตกอยกู บั คณะปฏวิ ตั หิ รอื คณะรฐั ประหารทรี่ วบอาํ นาจการปกครองแผน ดนิ อยใู นขณะนนั้ ๆ เนอื่ งจาก ในภาวะเชน นน้ั ตอ งถอื วา คณะปฏวิ ตั หิ รอื รฐั ประหารอยใู นฐานะรฏั ฐาธปิ ต ย ดงั นน้ั คาํ สง่ั หรอื ขอ บงั คบั ตา งๆ ท่ีคณะบุคคลดังกลา วประสงคจ ะใหเ ปนกฎหมาย ยอ มมผี ลใชบังคบั เปนกฎหมายได ในการศึกษาเร่ืองการจัดทํากฎหมายลายลักษณอักษรนี้ จึงไดพิจารณาโดยแบงประเภท การจัดทํากฎหมายออกเปนการจัดทํากฎหมายลายลักษณอักษรในกรณีปกติ และการจัดทํากฎหมาย ลายลกั ษณอ กั ษรในกรณพี เิ ศษ ดงั น้ี ¡Òè´Ñ ทํา¡®ËÁÒÂÅÒÂÅѡɳ͏ Ñ¡Éà กฎหมายลายลักษณอักษรที่ออกมาใชบังคับน้ี อาจจะออกโดยอาศัยอํานาจจากองคกร ท่ีตางกัน ดังกลาวมาแลว ดังน้ัน หากจะแบงกฎหมายลายลักษณอักษรออกเปนประเภทตามการ จัดทําโดยใชเกณฑองคกรท่ีมีอํานาจออกกฎหมาย กฎหมายลายลักษณอักษรสามารถแบงออกเปน ประเภทใหญๆ ได ๓ ประเภท ดงั นี้ ๑. กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรทีอ่ อกโดยฝายนิตบิ ัญญตั ิ ไดแก ๑.๑ รฐั ธรรมนญู ๑.๒ พระราชบัญญัติ ๑.๓ ประมวลกฎหมาย ๑.๔ กฎมนเทียรบาล ๒. กฎหมายลายลกั ษณอักษรท่ีออกโดยฝา ยบรหิ าร ไดแก ๒.๑ พระราชกําหนด ๒.๒ พระราชกฤษฎีกา ๒.๓ กฎกระทรวง ๓. กฎหมายลายลักษณอ กั ษรทอ่ี อกโดยองคการบรหิ ารสวนทองถนิ่ ไดแก ๓.๑ ขอบัญญตั ิจงั หวัด ๓.๒ เทศบญั ญตั ิ ๓.๓ ขอ บงั คับตําบล ๓.๔ ขอบญั ญตั ิกรงุ เทพมหานคร ๓.๕ ขอ บญั ญัตเิ มืองพัทยา ดังท่จี ะไดอธิบายถึงลักษณะและข้นั ตอนในการจัดทาํ กฎหมายแตล ะประเภท ดงั ตอไปน้ี

๒๑ ñ. ¡®ËÁÒÂÅÒÂÅѡɳ͏ Ñ¡É÷ÕÍè Í¡â´Â½Ò† ¹ÔμºÔ ÞÑ ÞÑμÔ มีลกั ษณะและขนั้ ตอนในการจดั ทาํ ดงั นี้ ñ.ñ Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÙÞ รฐั ธรรมนญู เปน กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประชาชน เปน กฎหมายทก่ี าํ หนด รูปแบบการปกครองและระเบียบการบริหารประเทศ ผูท่ีมีอํานาจจัดหาสูงสุดในการปกครองประเทศ ขณะนั้น ไมวาจะไดอํานาจมาโดยวิธีใดก็ตาม อาจจะเปนประมุขของประเทศหรือหัวหนาคณะปฏิวัติ หรือรัฐประหาร ทีต่ องการเปลยี่ นการปกครองจากการใชกาํ ลงั มาเปนการปกครองภายใตร ฐั ธรรมนญู ในสถานการณท ม่ี กี ารปฏวิ ตั ริ ฐั ประหารยดึ อาํ นาจการปกครอง การจดั ทาํ รฐั ธรรมนญู อาจกระทาํ อยา ง รวบรดั ตั้งแตก ารยกราง การพิจารณาโดยไมเปดเผยแลว ประกาศใชเ ลยกไ็ ด แตโดยหลกั การแลวเทาที่ ผา นมา หวั หนา คณะปฏวิ ตั จิ ะถวายอาํ นาจการตรารฐั ธรรมนญู แดพ ระมหากษตั รยิ  โดยนาํ ขน้ึ ทลู เกลา ฯ ใหท รงลงพระปรมาภไิ ธย โดยมหี วั หนา คณะปฏวิ ตั เิ ปน ผลู งนามรบั สนองพระบรมราชโองการประกาศใช เชน พระราชบญั ญตั ธิ รรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยาม ฉบบั ชวั่ คราว พ.ศ.๒๔๗๕ ซงึ่ เปน รฐั ธรรมนญู ฉบับแรกของประเทศไทย ธรรมนญู ปกครองราชอาณาจกั ร พ.ศ.๒๕๐๒ และ พ.ศ.๒๕๒๐ เปน ตน ในสถานการณป กติ การจดั ทาํ รฐั ธรรมนญู จะมกี ารแตง ตง้ั หรอื เลอื กคณะบคุ คล ขึ้นมาทําหนาท่ียกรางและพิจารณา อาจเรียกวาสภานิติบัญญัติแหงชาติ สภารางรัฐธรรมนูญ หรือ อาจมชี อ่ื เรยี กเปน อยา งอนื่ กไ็ ด เมอื่ ยกรา งและพจิ ารณาเสรจ็ แลว กจ็ ะนาํ ขนึ้ ทลู เกลา ฯ พระมหากษตั รยิ  ทรงลงพระปรมาภไิ ธยและประกาศใชโ ดยมสี ภาดงั กลา วเปน ผรู บั สนองพระราชโองการ เชน การจดั ทาํ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๑ และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๔๐ เปน ตน ñ.ò ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ พระราชบัญญัติเปนกฎหมายท่ีมีความสําคัญรองลงมาจากรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายท่ีออกโดยฝายนิติบัญญัติ โดยพระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอม ของรฐั สภา ¡ÒûÃСÒÈ㪾Œ ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô พระราชบญั ญตั ทิ พ่ี ระมหากษตั รยิ ท รงลงพระปรมาภไิ ธย เมอ่ื นาํ ไปประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษาแลวใหใ ชบงั คบั เปน กฎหมายได ò. ¡®ËÁÒÂÅÒÂÅ¡Ñ É³Í ¡Ñ É÷ÕèÍÍ¡â´Â½Ò† ºÃËÔ Òà ò.ñ ¾ÃÐÃÒªกํา˹´ พระราชกําหนดเปนกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหาร ซ่ึงพระมหากษัตริย ทรงตราขนึ้ ใหใ ชบ งั คบั เชน เดยี วกบั พระราชบญั ญตั ิ โดยคาํ แนะนาํ ของคณะรฐั มนตรี แลว นาํ เสนอใหร ฐั สภา พจิ ารณาอนุมตั ิ พระราชกําหนดแบง ออกเปน ๒ ประเภท คอื ๑. พระราชกําหนดทั่วไป จะออกไดในกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปน รีบดว นอนั มอิ าจหลกี เล่ยี งได เพือ่ ประโยชนในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความม่นั คง ทางเศรษฐกจิ หรอื ปองปด พบิ ัติสาธารณะ

๒๒ ๒. พระราชกําหนดเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา จะออกไดในระหวาง สมัยประชุม กรณีที่มีความจําเปนท่ีจะตองมีกฎหมายเก่ียวกับภาษีอากรหรือเงินตรา ซึ่งตองไดรับ พิจารณาโดยดว นและลบั เพอ่ื รักษาผลประโยชนข องแผน ดนิ ¡ÒûÃСÒÈ㪌¾ÃÐÃÒªกํา˹´ พระราชกําหนดที่พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อนําไปประกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษาแลว จงึ จะมผี ลบงั คบั ใชเ ปน กฎหมายพระราชกาํ หนดทป่ี ระกาศใชแ ลว คณะรฐั มนตรี จะตองเสนอพระราชกําหนดน้ันตอรัฐสภา ถาเปนพระราชกําหนดทั่วไปจะตองเสนอโดยไมชักชา ถาอยูนอกสมัยประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือไมอนุมัติพระราชกําหนดนั้น โดยเรว็ ถา เปน พระราชกาํ หนดทเ่ี กย่ี วกบั ภาษอี ากรหรอื เงนิ ตราตอ งนาํ เสนอตอ สภาผแู ทนราษฎรภายใน ๓ วัน การพิจารณาพระราชกําหนดของสภาจะพิจารณาเชนเดียวกับการพิจารณาพระราชบัญญัติ แลวลงมติอนุมัติหรือไมอนุมัติ ถารัฐสภาไมอนุมัติ พระราชกําหนดน้ันตกไป ส้ินผลบังคับใชไมเปน กฎหมายอกี ตอ ไป แตไ มก ระทบกระเทอื นถงึ กจิ การทไ่ี ดเ ปน ไประหวา งทใ่ี ชพ ระราชกาํ หนดนน้ั ถา รฐั สภา อนมุ ัติพระราชกาํ หนดนั้นมีผลบังคบั ใชเ ปน พระราชบญั ญตั ิตอไป ò.ò ¾ÃÐÃÒª¡ÄÉ®Õ¡Ò พระราชกฤษฎีกาเปนกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหารที่พระมหากษัตริย ทรงตราขึ้นตามคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี พระราชกฤษฎีกาเปนกฎหมายท่ีมีศักดิ์รองลงมาจาก พระราชบญั ญตั ิ การออกพระราชกฤษฎกี าตอ งอาศยั กฎหมายอน่ื ทมี่ ศี กั ดสิ์ งู กวา ซง่ึ เปน กฎหมายแมบ ท ใหอ าํ นาจใหอ อกได เชน การจดั ใหม กี ารเลอื กตงั้ ทว่ั ไป รฐั ธรรมนญู บญั ญตั ใิ หต ราเปน พระราชกฤษฎกี า หรือพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.๒๕๓๔ บัญญัติใหการแบงสวนราชการ ในสํานักเลขานกุ ารรัฐมนตรี กรม หรือสว นราชการทเี่ รยี กชอ่ื อยางอนื่ และมีฐานะเปน กรม ใหต ราเปน พระราชกฤษฎีกา เปน ตน ดงั น้นั การออกพระราชกฤษฎกี าจะขดั ตอ กฎหมายแมบทไมไ ด ¡ÒûÃСÒÈ㪌¾ÃÐÃÒª¡ÄÉ®¡Õ Ò พระราชกฤษฎีกาที่พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแลวจงึ จะมผี ลใชบงั คับเปนกฎหมายได ò.ó ¡®¡ÃзÃǧ กฎกระทรวงเปนกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหาร ซึ่งรัฐมนตรีผูรักษาการตาม พระราชบัญญัติ ไดออกเพ่ือดําเนินการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติที่กฎหมายแมบทใหอํานาจไว ดังน้ันกฎหมายจะตอ งไมขัดตอ กฎหมายแมบ ท ¡ÒûÃСÒÈ㪡Œ ®¡ÃзÃǧ กฎกระทรวงทร่ี ฐั มนตรลี งนามแลว เมอ่ื นาํ ไปประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว จงึ จะมผี ลใชบ งั คบั เปน กฎหมาย นอกจากนย้ี งั มปี ระกาศกระทรวง ซงึ่ รฐั มนตรวี า การกระทรวงมอี าํ นาจ ออกไดโดยอาศัยกฎหมายแมบทเชนเดียวกับกฎกระทรวง แตไมตองเสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา โดยรัฐมนตรวี าการกระทรวงผรู บั ผดิ ชอบเปนผูลงนาม แลวประกาศในราชกิจจานเุ บกษาใชบ ังคับเปน กฎหมายได

๒๓ ó. ¡®ËÁÒÂÅÒÂÅѡɳÍ¡Ñ É÷ÍèÕ Í¡â´Âͧ¤¡ ÒúÃÔËÒÃÊÇ‹ ¹·ŒÍ§¶Ôè¹ ó.ñ ¢ŒÍºÑÞÞμÑ Ô¨§Ñ ËÇÑ´ ขอบัญญัติจังหวัด คือ กฎหมายที่องคการบริหารสวนจังหวัดตราขึ้นเพื่อใช บงั คบั ในเขตจงั หวดั นอกจากเขตเทศบาล และเขตตาํ บลในกรณที มี่ กี ารจดั ตง้ั องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล องคการบริหารสวนจังหวัดจะตราขอบัญญัติจังหวัดไดในกรณีทําเพ่ือปฏิบัติ ใหเ ปน ไปตามหนา ทข่ี ององคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั พ.ศ.๒๕๔๐ หรอื เมอ่ื มกี ฎหมายใหอ งคก ารบรหิ าร สว นจงั หวัดตราขอ บัญญตั ิจังหวัด หรือมอี ํานาจตราขอบญั ญัติจงั หวัดได การประกาศใช เม่ือไดประกาศขอบัญญัติจังหวัดไวโดยเปดเผยที่ศาลากลาง จงั หวดั เปนเวลา ๑๕ วัน กใ็ ชบังคบั เปนกฎหมายได เวนแตใ นกรณีฉกุ เฉนิ ถามีขอ ความระบุไวในขอ บัญญัตินั้นวา ใหใชบังคับไดทันทีก็ใชบังคับในวันถัดจากประกาศนั้น ท้ังนี้นอกจากจะไดมีกฎหมาย บญั ญัตไิ วเปนอยางอนื่ ó.ò à·ÈºÞÑ ÞÑμÔ เทศบญั ญตั ิ คอื กฎหมายท่ีเทศบาลตราขนึ้ ใชบ งั คบั ในเขตเทศบาล เทศบาลจะตราเทศบัญญัติได โดยมีเงื่อนไขเพ่ือปฏิบัติใหเปนไปตามหนาที่ ของเทศบาล ตามทีก่ าํ หนดไวในพระราชบญั ญตั ิเทศบาล แกไ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ.๒๕๔๓ การประกาศใช เมอ่ื ประกาศโดยเปด เผย ณ สาํ นกั งานเทศบาล ครบ ๗ วนั แลว กใ็ หใ ชบ งั คบั เปน กฎหมายได เวน แตใ นกรณฉี กุ เฉนิ หากระบใุ หเ ทศบญั ญตั นิ นั้ มผี ลบงั คบั ใชท นั ทกี ใ็ หใ ช เทศบัญญัตนิ นั้ ตั้งแตวันประกาศเปน ตนไป ó.ó ¢ŒÍº§Ñ ¤ÑºμíҺŠขอบงั คับตาํ บล คอื กฎหมายซ่งึ องคก ารบริหารสวนตาํ บลออกใชใ นเขตตําบล เง่ือนไขท่ีจะออกขอบังคับตําบล คือ ตองมีพระราชบัญญัติสภาตําบล และองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.๒๕๓๗ หรือกฎหมายอื่น ใหอํานาจองคการบริหารสวนตําบล ออกขอบังคับตําบล และจะออกใหเทาท่ีไมขัดตอกฎหมายหรืออํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวน ตําบล ในการน้ีจะกําหนดคาธรรมเนียมท่ีจะเรียกเก็บและกําหนดโทษปรับผูฝาฝนดวยก็ได แตมิให กาํ หนดโทษปรบั เกนิ หารอยบาท การประกาศใช เม่ือไดมีการประกาศขอบังคับตําบลแลวก็ใหใชบังคับเปน กฎหมายได ó.ô ¢ÍŒ ºÑÞÞμÑ ¡Ô Ã§Ø à·¾ÁËÒ¹¤Ã ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร คือ กฎหมายที่กรุงเทพมหานครออกขึ้น เพ่ือใชบงั คับในเขตกรุงเทพมหานคร พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกรงุ เทพมหานคร พ.ศ.๒๕๒๘ กาํ หนด ใหกรุงเทพมหานครออกขอ บัญญตั กิ รุงเทพมหานคร ซ่งึ เหมือนกับเทศบญั ญตั แิ ตเรียกชือ่ ตางกนั

๒๔ การประกาศใช เมอื่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว กใ็ หใ ชบ งั คบั เปน กฎหมายได ó.õ ¢ÍŒ ºÞÑ ÞμÑ àÔ ÁÍ× §¾·Ñ ÂÒ ขอบัญญตั ิเมืองพัทยา คือ กฎหมายทเี่ มอื งพทั ยาตราขึ้นใชบ งั คบั ในเขตเมือง พัทยา ตามพระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารราชการเมอื งพัทยา พ.ศ.๒๕๔๒ การประกาศ ใหประกาศไวโดยเปดเผย ณ ศาลาวาการเมืองพัทยา และให มผี ลใชบงั คบั ไดด งั น้ี (๑) ถาเปนขอบัญญัติวาดวยงบประมาณรายจาย ใหมีผลใชบังคับต้ังแต วันถดั จากวันประกาศเปน ตน ไป (๒) ถาเปนขอบัญญัติอื่น ใหมีผลใชบังคับเม่ือพนเจ็ดวันนับแตวันประกาศ เวน แตขอ บญั ญตั ิน้ันจะกําหนดไวเ ปนประกาศอนื่ แตตอ งไมเร็วกวา วันถดั จากวันประกาศ È¡Ñ ´¢ìÔ Í§¡®ËÁÒÂÅÒÂÅ¡Ñ É³Í Ñ¡Éà หากจะจัดลําดับความสําคัญตามศักด์ิของกฎหมายหรือลําดับช้ันของกฎหมาย ยอ มจะจัดกฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรเรียงลาํ ดับลดหลน่ั กันไปได ดงั ตอ ไปน้ี ๑) รัฐธรรมนูญ ๒) พระราชบัญญตั ิ ประมวลกฎหมาย ๓) พระราชกําหนด ๔) พระราชกฤษฎกี า ๕) กฎกระทรวง ๖) ขอบัญญัติจังหวัด เทศบัญญัติ ขอบังคับตําบล ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ขอบญั ญัตเิ มืองพัทยา ประกาศของคณะปฏิวัติ คําส่ังคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ประกาศของคณะรักษา ความสงบเรียบรอยแหงชาติ หรือท่ีเรียกช่ืออยางอื่นซ่ึงถือวาเปนกฎหมายดวยน้ัน จะมีศักดิ์เทากับ กฎหมายได ก็ตองพิจารณาจากเนื้อความของประกาศของคณะปฏิวัติ หรือคําสั่งคณะปฏิรูป การปกครองแผนดินฉบับน้ันๆ กลาวคือ ประกาศของคณะปฏิวัติที่ใหยกเลิกพระราชบัญญัติยอมมี ศักดิ์เทากับรัฐธรรมนูญ ประกาศของคณะปฏิวัติที่ใหแกไขเพ่ิมเติมหรือยกเลิกพระราชบัญญัติยอมมี ศักด์ิเทากับพระราชบัญญัติ ประกาศของคณะปฏิวัติท่ีใชแกไขเพ่ิมเติมหรือยกเลิกพระราชกฤษฎีกา ยอ มมศี กั ดเิ์ ทา กบั พระราชกฤษฎกี า และเคยมปี ระกาศของคณะปฏวิ ตั บิ างฉบบั มศี กั ดเิ์ ปน เพยี งประกาศ ใหประชาชนไดท ราบเทา นนั้ จึงไมม ศี กั ด์ิเปนกฎหมายแตอ ยางใด การทราบศักดิ์ของกฎหมายมีประโยชนในทางปฏิบัติ คือ การแกไขเพ่ิมเติมหรือยกเลิก กฎหมายใด ตองกระทําโดยกฎหมายที่มีศักด์ิเทากันหรือสูงกวา เชน การแกไขรัฐธรรมนูญตองทํา โดยตรารัฐธรรมนูญฉบับแกไขเพิ่มเติม การยกเลิกพระราชกฤษฎีกา ตองทําโดยตราพระราชบัญญัติ หรอื พระราชกฤษฎกี าฉบบั ใหมอ อกมายกเลกิ จะออกกฎกระทรวงมายกเลกิ พระราชกฤษฎกี าไมไ ด เปน ตน

๒๕ ËÅ¡Ñ ¡ÒÃμÕ¤ÇÒÁ¡®ËÁÒ ¤ÇÒÁËÁÒ การตีความกฎหมาย (Interpretation of law) หมายถึง การคนหาความหมายของ กฎหมายทมี่ ถี อ ยคาํ ทไี่ มช ดั เจนหรอื อาจแปลความไดห ลายทาง เพอ่ื ทราบวา ถอ ยคาํ ในบทกฎหมายนน้ั มีความหมายอยางไร ¡Ã³Õã´¨§Ö ¨ÐÁÕ¡ÒÃμÕ¤ÇÒÁ¡®ËÁÒ การตคี วามกฎหมายถอื วา เปน สว นหนง่ึ ของการใชก ฎหมายในการปฏบิ ตั ิ แตก ม็ คี วามเหน็ ของนกั นติ ศิ าสตรเ กย่ี วกบั เงอ่ื นไขเวลาวา เมอื่ ใดหรอื กรณใี ดจงึ จะตอ งตคี วามกฎหมาย ซงึ่ แบง ออกเปน ๒ ฝาย คือ ½Ò† Â˹§Öè ใหค วามเหน็ วา ¶ÒŒ ¡®ËÁÒÂÁºÕ ·ºÞÑ ÞμÑ ·Ô ªèÕ ´Ñ ਹÍÂá‹Ù ÅÇŒ ¡äç Áจ‹ าํ ໹š μÍŒ §μ¤Õ ÇÒÁ ¡®ËÁÒ¹éѹ ¡ÒÃμÕ¤ÇÒÁ¡®ËÁÒ¨СÃÐทําàÁ×èÍ¡®ËÁÒ¹Ñé¹ ÁÕ¢ŒÍ¤ÇÒÁ·Õèà¤Å×ͺá¤Å§áÅÐ໚¹·Õè ʧÊÂÑ à·Ò‹ ¹¹Ñé เชน คาํ พพิ ากษาศาลฎกี าที่ ๙๒๖/๒๕๐๘ โจทกฟ อ งเรยี กคา โดยสารเครอ่ื งบนิ อายคุ วาม เรียกรอ งมีกาํ หนด ๑๐ ป ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยม าตรา ๑๖๔ มใิ ช ๒ ป ตามประมวล กฎหมายแพง และพาณชิ ยม าตรา ๑๖๕ (๓) คดนี ศี้ าลฎกี าเหน็ วา มกี ฎหมายทจ่ี ะยกมาปรบั คดไี ดแ ละระบุ ไวช ดั เจนแลว ไมจ ําเปนตองวนิ จิ ฉัย ตามครรลองจารตี ประเพณหี รอื ตามความมงุ หมายของบทบัญญตั ิ กฎหมาย ½†Ò·èÕÊͧใหความเห็นวา ¡ÒÃμÕ¤ÇÒÁ¡®ËÁÒ¹éѹäÁ‹จํา¡Ñ´à©¾ÒÐ㹡óշèÕ¶ŒÍÂคําã¹ ¡®ËÁÒÂäÁ‹ªÑ´à¨¹à·Ò‹ ¹¹éÑ แมในกรณีท่ถี อ ยคาํ ในกฎหมายชัดเจนอยูแลวกต็ อ งมีการตีความกฎหมาย นนั้ วา มคี วามหมายทแ่ี ทจ รงิ อยา งไร กลา วคอื ตอ งพจิ ารณาถงึ ถอ ยคาํ ตวั อกั ษรทช่ี ดั เจนนนั้ ประกอบกบั เจตนารมณของกฎหมายน้ันพรอมกันไป เชน ที่สนามหญาในมหาวิทยาลัยมีปายปกไวมีขอความวา “หามเดินลัดสนาม” มีปญหาวาจะว่ิงหรือขี่จักรยานลัดสนามไดหรือไม สามัญชนทั่วไปคงตอบเปน เสียงเดยี วกนั วาไมไ ด แตน กั กฎหมายบางคนอาจจะตีความตามตวั อกั ษรขอความ “หา มเดินลัดสนาม” วาทุกคนมีความหมายชัดเจนไมเปนปญหา ดังน้ันการวิ่ง การข่ีจักรยานซ่ึงไมใชการเดิน สามารถ ลดั สนามไดซ ง่ึ คาํ ตอบเชน นคี้ นทว่ั ไปคงไมเ หน็ ดว ย เพราะวตั ถปุ ระสงคข องการหา มนนั้ ตอ งการรกั ษาหญา หามวิ่งหรือข่ีจักรยานลัดสนามก็ถือวากระทําไมไดเชนกัน ฝายที่สองสรุปวา การที่คิดวาตองมีการ ตคี วาม เมอ่ื ถอ ยคาํ ในกฎหมายไมช ดั เจนนนั้ เปน หลกั การตคี วามกฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรแบบองั กฤษ ซึ่งตองการใหการตีความกฎหมายลายลักษณอักษรใหมีผลกระทบกระเทือนตอหลักของกฎหมาย คอมมอนลอว (Common Law) นอ ยทส่ี ดุ โดยถอื วา กฎหมายลายลกั ษณอ กั ษรในระบบคอมมอนลอว เปน ขอยกเวน ของหลักกฎหมายคอมมอนลอว หลักการตีความแบบนี้ คอื ตอ งอา นจากตัวอกั ษรกอ น เมอื่ ไมไ ดค วามหรอื ความหมายขดั กนั จงึ ใหไ ปดเู หตผุ ลหรอื ความมงุ หมาย ซงึ่ หลกั นจี้ ะนาํ มาใชก บั ประเทศ ท่ีใชระบบประมวลกฎหมายไมได และปญหาของการใชกฎหมายในระบบน้ีในปจจุบันก็เปนปญหา ในเรอ่ื งของการตคี วามกฎหมายนัน่ เอง

๒๖ ¼ÙŒμÕ¤ÇÒÁ¡®ËÁÒ แยกพจิ ารณาออกไดเ ปน ๓ ประเภท ไดแก ๑. ผใู ชกฎหมาย ๒. ผบู ัญญัติกฎหมาย ๓. นักนติ ิศาสตร ๑. การตคี วามโดยผใู ชก ฎหมาย ในกลมุ ของผใู ชก ฎหมายแยกออกไดเ ปน ๓ ประเภท คอื ๑.๑ ประชาชน ตองใชกฎหมายเพือ่ การดาํ รงชีวิตของตน และในสวนทีม่ กี ฎหมาย เขามาเก่ียวของประชาชนตองเขาใจความหมายของกฎหมายน้ัน หากบทกฎหมายไมชัดเจนก็ตอง ตีความเพ่ือใหทราบวาบทบัญญัติน้ันใหสิทธิหรือกําหนดหนาที่และความคุมครองตนเพียงใด เชน การทํานิติกรรมในทางแพง การตีความกฎหมายจะชวยใหทราบวาตนมีสิทธิและหนาท่ีอะไรบาง หรอื ในทางอาญาหากจะกระทาํ การหรอื งดเวน การกระทาํ อยา งใดอยา งหนงึ่ อนั มขี อ สงสยั วา มบี ทบญั ญตั ิ กฎหมายอาญาวา เปนความผิดหรือไมก ็อาจปรกึ ษาผรู กู ฎหมายหรือทนายกอ นได ๑.๒ เจาพนักงาน เปนผูตองใชกฎหมายในการปฏิบัติหนาที่ซ่ึงข้ึนอยูกับลักษณะ ของงานและขอบขา ยความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหนง หนา ท่ี เมอ่ื เกดิ ปญ หากฎหมายมขี อ ความคลมุ เครอื ไมช ดั เจน เจา พนกั งานกต็ อ งตคี วามเพอื่ ใหท ราบความหมายทถี่ กู ตอ งของกฎหมายนนั้ กอ นทจี่ ะนาํ ไปใช เนือ่ งจากการใชกฎหมายของเจา พนกั งานอาจมีผลกระทบกระเทอื นตอ ประชาชนหรือเอกชนอนื่ ๆ ได การตคี วามกฎหมายของเจา พนักงานถา ประชาชนเห็นวา การตคี วามของเจาพนักงานเปน การตัดสทิ ธิ หรือเสรีภาพของตนอาจฟองรองตอศาลเพ่ือวินิจฉัยช้ีขาดได แตในบางกรณีกฎหมายไดใหอํานาจแก เจา พนกั งานในการตคี วามและถือวา เดด็ ขาด จะมีการอทุ ธรณต อไปไมไ ด เชน โทษทม่ี คี วามผิดเพยี ง การปรับเจาพนักงานมีอํานาจปรับผูกระทําผิด และถือวาความผิดนั้นเปนอันสิ้นสุดเม่ือผูกระทําผิด ชําระคา ปรับ เปนตน ๑.๓ ศาลยุติธรรม เปนองคกรผูใชกฎหมายซึ่งมีหนาท่ีนํากฎหมายใชปรับกับคดี ตางๆ ท่ีมีผูยื่นฟองตอศาล และในการพิจารณาคดีก็มีบทบัญญัติของกฎหมายเปนหลัก แตบางคร้ัง ในบางกรณีอาจประสบกับปญหาที่กฎหมายมีขอความไมชัดเจน หรือตัวบทบัญญัติกฎหมายที่มีอยู ไมสามารถนําไปปรับกับคดีท่ีเกิดขึ้นได ศาลจะตองตีความเพ่ือนํากฎหมายมาวินิจฉัยช้ีขาดแกคดี ใหเปนไปในทางใดทางหนึ่งเพื่อรักษาไวซ่ึงความยุติธรรมและความสงบเรียบรอยของประชาชน และการตคี วามของศาลถอื วา มคี วามสาํ คญั มากกวา ผใู ชก ฎหมายอนื่ ๆ เนอ่ื งจากผลการตคี วามจะมผี ล บงั คบั ตอคูกรณที ่ยี ่นื ฟอ งคดตี อ ศาล ๒. การตีความโดยผูบัญญัติกฎหมาย ในกรณีบทบัญญัติของกฎหมายเกาคลุมเครือ ไมชัดเจน และศาลแตละแหงตีความแตกตางกัน จนอาจจะทําใหเสียประโยชนตอการใชกฎหมาย ลายลกั ษณอ กั ษร ซงึ่ ตอ งเปน ขอ บงั คบั ทม่ี คี วามหมายใชบ งั คบั อยา งเดยี วกนั ทว่ั ราชอาณาจกั ร ผบู ญั ญตั ิ กฎหมายอาจแกไขปญ หานไี้ ดโ ดยการออกกฎหมายฉบบั ใหมอ อกมาตีความกฎหมายเกา โดยอธิบาย ขอ ความทไี่ มช ดั เจนนน้ั และใหใ ชข อ ความใหมต ามกฎหมายใหม ซงึ่ จะชว ยใหป ญ หาความไมช ดั เจนของ ขอ ความตามกฎหมายเกา หมดไป

๒๗ ๓. การตีความโดยนักนิติศาสตร นักนิติศาสตรคือบุคคลที่เขียนคําอธิบายบทบัญญัติ ของกฎหมายตางๆ พรอมทั้งใหความเห็นหรือตีความบทกฎหมายนั้นๆ วาควรจะเปนอยางไร จึงจะถูกตองและใหความยุติธรรมมากท่ีสุด การตีความของนักนิติศาสตรถือวามีประโยชน เน่ืองจาก ชว ยใหบุคคลสามัญสามารถเขา ใจกฎหมายไดดีข้ึน และชวยเหลอื การพิจารณาของศาลและชวยเหลือ ผูบัญญัติกฎหมายใหร ูวา บทบัญญัตใิ ดมีขอบกพรอ งควรแกไ ขเปล่ียนแปลงหรอื ไมอยางไร ËÅ¡Ñ à¡³±ã ¹¡ÒÃμ¤Õ ÇÒÁ¡®ËÁÒ โดยทวั่ ไปการตคี วามกฎหมายอาจกระทาํ ได ๒ ประเภท คอื ๑. โดยการออกกฎหมาย เพื่อตีความ อธิบายหรือกําหนดความหมายที่แนนอนของ ถอ ยคาํ บางคาํ ซงึ่ ยงั คลมุ เครอื ไมแ นน อนใหม คี วามหมายชดั เจนยงิ่ ขน้ึ กรณนี ไี้ ดแ ก มกี ารออกกฎหมาย มาใชใ นตอนแรก แลว มขี อ ความหรอื ถอ ยคาํ บางตอนไมช ดั เจน หรอื ทาํ ใหอ าจแปลความหมายผดิ ผดิ ไป จากเจตนารมณของผูบัญญัตกิ ฎหมายได ดังน้ันเพ่ือแกไขขอ บกพรองดังกลาวตอ งมีการออกกฎหมาย อีกฉบับหน่ึงเพื่ออธิบายหรือใหความหมายที่ชัดเจนแกไขจุดน้ันและกฎหมายที่ออกมาจะบัญญัติใหมี ผลยอนหลังไปจนกระทั่งวันเริ่มใชบังคับกฎหมายฉบับแรกดวย เพ่ือตัดปญหาความยุงยากไมใหเกิด ความลกั ลนั่ กัน ๒. การตีความกฎหมายโดยอาศัยหลักวิชา โดยหลักแลวใหตีความตามตัวอักษรกอน หากยังมีขอถกเถียงกันในเร่ืองความหมายท่ีแทจริงของตัวบทกฎหมายนั้นอยู ก็ใหตีความตาม ความมุงหมายแหงบทบัญญัติตอไปอีกช้ันหนึ่ง ซึ่งสรุปการตีความกฎหมายตามหลักวิชามีหลัก ๒ ประการ คอื ๒.๑ การตีความตามตัวอกั ษร หมายถึง การแปลความหมายของกฎหมายจากตวั หนงั สือที่บญั ญัตไิ วในตวั บทกฎหมายนั้นๆ ซึ่งมหี ลักท่ีควรคํานึงไดแ ก ๒.๑.๑ ในกรณที กี่ ฎหมายใชภ าษาสามญั กใ็ หเ ขา ใจตามความหมายสามญั ท่ี ใชก ันอยูโดยทัว่ ไปหรอื ใหถ ือตามพจนานกุ รม เชน คําพิพากษาศาลฎกี า ๗๙/๒๕๐๙ พระราชบัญญตั ิ ปาไม มาตรา ๔๐ บัญญัติหามมิใหผูใดนําไมหรือของปาผานดานปาไม ในระหวางเวลาต้ังแต พระอาทติ ยต กถงึ เวลาพระอาทติ ยข นึ้ เวน แตจ ะไดร บั อนญุ าต แตพ ระราชบญั ญตั ปิ า ไมฯ ไมไ ดว เิ คราะห ศัพทคําวา “ผาน” ก็ตองตีความตามความหมายธรรมดา (ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน) ซ่ึงหมายถึงกิริยาท่ีลวงพนไป ตัดไป ลัดไปหรือขามไป ฉะนั้นเมื่อคดีไดความวาจําเลยเพียงแตนําไม เขา มาในเขตปา ไมจะแปลวาจําเลยไดน าํ ไมผ า นปา ไมไมได จําเลยไมม คี วามผิดตามมาตรา ๔๑ ๒.๑.๒ ในกรณีท่ีกฎหมายใชศัพทวิชาการหรือศัพทเทคนิคไมวาจะเปนทาง วชิ าชพี ใดกต็ ามใหถ อื ตามความหมายอยา งทเี่ ปน ทเี่ ขา ใจกนั ในสาขาวชิ านนั้ ๆ เชน กฎหมายทเ่ี กย่ี วกบั เรอื่ งวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยสี มยั ใหมต า งๆ หากมกี ารใชถ อ ยคาํ หรอื ศพั ทเ ทคนคิ บางประการกต็ อ ง ถอื ตามความหมายซง่ึ เปน ทเี่ ขา ใจกนั ในหมผู ปู ระกอบวชิ าชพี นนั้ เชน คาํ วา “เคม”ี “ธาต”ุ “กรด” เปน ตน

๒๘ ๒.๑.๓ ในกรณีท่ีกฎหมายประสงคจะใชขอบัญญัติใดมีความหมายพิเศษ ตา งไปจากทเี่ ขา ใจกนั ตามธรรมดาสามญั กฎหมายจะทาํ บทวเิ คราะหศ พั ท นยิ ามหรอื คาํ อธบิ ายปรากฏ อยใู นมาตราแรกๆ ของกฎหมายนนั้ เพอื่ ใหร คู วามหมายและเขา ใจตรงกนั กอ นทจ่ี ะอา นบทมาตราอน่ื ๆ ตอไป การตีความจะตองถือความหมายตามท่ีกฎหมายบัญญัติ เชนคําวา กลางคืน ตามประมวล กฎหมายอาญามาตรา ๑(๑๑) หมายความวา เวลาระหวา งพระอาทติ ยต กและพระอาทติ ยข น้ึ เปนตน กรณที ต่ี วั บทกฎหมายภาษาไทยไมช ดั เจน ใหด ตู วั บทภาษาองั กฤษประกอบดว ย ซึง่ อาจจะไดค วามหมายท่ีชดั เจนขึ้น ๒.๒ การตคี วามตามความมงุ หมายหรอื เจตนารมณ หมายถงึ การแปลความหมาย จากเจตนารมณของผูบัญญัติกฎหมายวามีเจตนาท่ีแทจริงในการบัญญัติกฎหมายอยางไร สิ่งท่ี จะชว ยคนหาเจตนารมณของผูบ ัญญตั ิกฎหมายไดแ ก ๒.๒.๑ ชื่อของกฎหมาย จะชวยบอกใหเราทราบไดวากฎหมายฉบับน้ีจะวา ดว ยเรอื่ งอะไร อยา งไรบาง ๒.๒.๒ คาํ ขน้ึ ตน ของกฎหมายนน้ั ไมว า จะเปน พระราชปรารภ หรอื คาํ ปรารภ มักจะแสดงเหตุความเปนมาของกฎหมายฉบับนั้นไว เชน พระราชปรารถนาในกรณีการประกาศใช รัฐธรรมนูญ จะกลา วถงึ ประวตั คิ วามเปนมาของรัฐธรรมนญู น้ันไวอ ยา งละเอยี ด ๒.๒.๓ หมายเหตทุ า ยกฎหมาย คอื ขอ ความทพี่ มิ พอ ยตู อนทา ยของกฎหมาย ขณะลงพมิ พใ นราชกจิ จานเุ บกษา ซง่ึ จะแสดงหลกั การและเหตผุ ลวา เหตใุ ดจงึ ตอ งมกี ฎหมายฉบบั นข้ี น้ึ ๒.๒.๔ การพจิ ารณามาตราตา งๆ ในกฎหมายฉบบั นปี้ ระกอบกนั หรอื พจิ ารณา กฎหมายอ่นื ในเร่ืองที่คลา ยคลงึ กนั หลายๆ ฉบับประกอบกัน ๒.๒.๕ พจิ ารณาสภาพการณเ ปน ไปกอ นหรอื ขณะทก่ี ฎหมายฉบบั นน้ั ใชบ งั คบั การพจิ ารณาในขอ นเี้ ปน การมองไปนอกตวั บทกฎหมาย คอื ดจู ากขา วหนงั สอื พมิ พบ า ง คาํ พพิ ากษาศาล หรือบทความทางวชิ าการบา ง ๒.๒.๖ รายงานการประชุมในการยกรางหรือพิจารณากฎหมายนั้น ก็เปน แนวทางชว ยในการแสวงหาเจตนารมณของกฎหมายได นอกจากตีความตัวอักษรและการตีความเจตนาแลว การตีความกฎหมาย ยงั ควรยดึ หลกั เกณฑ ๒ ประการตอไปน้ีคอื ๑. การตีความกฎหมายน้ันจะตองถือหลักวา จะตองตีความใหกฎหมาย มผี ลบงั คับได ไมใ ชตีความเพ่อื ใหกฎหมายส้นิ ผลบงั คับ ๒. บทกฎหมายทจ่ี าํ กดั ตดั สทิ ธเิ สรภี าพของบคุ คล จะตอ งตคี วามอยา งเครง ครดั เพราะเปน ขอ ยกเวน ของหลกั ทว่ั ๆ ไป ทต่ี อ งถอื วา ทกุ คนมสี ทิ ธเิ สรภี าพ เชน ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๕๖๒ หา มมใิ หบ คุ คลยน่ื ฟอ งบพุ การขี องตน เรยี กวา “คดอี ทุ ลมุ ” ซง่ึ เปน ขอ จาํ กดั การใชส ทิ ธทิ างศาลประการหนงึ่ ขอ หา มนตี้ อ งตคี วามโดยเครง ครดั ตอ งหมายถงึ บพุ การี คอื ผทู ที่ าํ การ อุปการะมากอน ไดแ ก บิดา มารดา เปน ตน รวมถงึ ปู ยา ตา ยาย และทวด จะตองมีความสัมพันธใน ฐานะนิตินยั ที่ชอบดว ยกฎหมายเชนเดยี วกนั (ฎกี าท่ี ๕๔๗/๒๕๔๘)

๒๙ ËÅ¡Ñ ¡ÒÃμ¤Õ ÇÒÁ¡®ËÁÒ¾ÔàÈÉ ในขณะนมี้ เี ฉพาะประมวลกฎหมายอาญาเทา นนั้ ทจี่ ดั วา เปน กฎหมายพเิ ศษซงึ่ มหี ลกั เกณฑ ดังน้ี ๑. ตองตีความตามตัวอักษรโดยเครงครัด เพราะกฎหมายอาญาเปนกฎหมายกําหนด ความผดิ และโทษ จะถอื วา เปนความผิดและลงโทษได กต็ อเม่ือมีกฎหมายระบุไวชดั แจงเทานัน้ ๒. จะตีความโดยขยายความใหเปนการลงโทษแกผูกระทําใหหนักขึ้นไมได เชน ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๔๑ กําหนดใหการหลอกลวงโดยทุจริตใหบุคคลสงทรัพย ใหเปนความผิด จะตีความโดยขยายความวาการหลอกลวงโดยทุจริตใหบุคคลสงแรงงานให เชน อยากไดบอนํ้าก็หลอกลวงตรงน้ันมีขุมทรัพยซอนอยู ใครขุดไดจะยอมใหเอาไปเขาหลงเชื่อจึงขุดดิน ใหเ ปนบอ เปนการหลอกลวงใหเขาสง แรงงานให ศาลตคี วามวา การสง แรงงานก็เหมือนการสง ทรัพย แลว ลงโทษฐานฉอ โกงทรพั ยไมได ในกรณีเปนที่สงสัยศาลตองตีความใหเปนผลดีแกผูตองหาวาไมไดกระทําความผิด แตศ าลจะตคี วามไปในทางทเี่ ปน ผลดแี กผ กู ระทาํ ผดิ ตอ เมอ่ื ถอ ยคาํ ของตวั บทเปน ทสี่ งสยั ไมใ ชก าํ หนด ใหเ ปนหนา ท่ขี องศาลท่ีจะชวยเหลอื ผกู ระทําผิด

๓๐

๓๑ ÊÇ‹ ¹·Õè ò ¡®ËÁÒ·èàÕ ¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§¡ºÑ ªÕÇÔμ»ÃÐจําǹÑ

๓๒

๓๓ º··èÕ ô หลกั ทวั่ ไปของกฎหมายแพงและพาณชิ ย ประเทศไทยรวมกฎหมายแพงและพาณชิ ยเขา ไวด ว ยกัน เรียกวา ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย ซ่ึงมที ้ังหมด ๖ บรรพ ๑๗๕๕ มาตรา บรรพที่ ๑ หลักท่ัวไป กลาวถึงบทเบ็ดเสร็จทวั่ ไป บคุ คล ทรพั ย นิตกิ รรม บรรพที่ ๒ หนี้ กลาวถงึ บทเบด็ เสร็จทั่วไป สญั ญา จัดการงานนอกสง่ั ลาภมิควรได ละเมิด บรรพท่ี ๓ เอกเทศสัญญา กลา วถงึ สัญญาซือ้ ขาย แลกเปล่ยี น ให เชาทรพั ย เชาซอ้ื คํ้าประกนั จาํ นอง จํานาํ ฯลฯ บรรพท่ี ๔ ทรัพยสิน กลา วถงึ กรรมสิทธิ์ สิทธคิ รอบครอง ฯลฯ บรรพท่ี ๕ ครอบครวั กลา วถึงการหม้นั การสมรส ความสัมพนั ธระหวางสามีภรรยา ความสัมพนั ธ ระหวางบิดามารดาและบตุ ร บุตรบญุ ธรรม คา อุปการะเล้ยี งดู ฯลฯ บรรพที่ ๖ มรดก กลาวถึงบทเบ็ดเสร็จท่ัวไป การรับมรดก สิทธิโดยชอบธรรมในการรับมรดก พนิ ยั กรรม ในการจดั ทาํ ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย ประเทศไทยไดน าํ ตน แบบมาจากประมวล กฎหมายของประเทศทใ่ี ชร ะบบ Civil law ไดแ ก ประเทศเยอรมนี และประเทศญปี่ นุ ทง้ั ยงั อาศยั ประมวล กฎหมายแพง ฝร่ังเศส และประมวลกฎหมายแพง สวิสมาใชป ระกอบ นอกจากน้ี ยังไดน าํ กฎหมายเดมิ ของสยามเองเขามาผสมผสานโดยเฉพาะในสวนของครอบครัวและมรดก ซ่ึงสังคมไทยและสังคม ตะวันตกท่ีมีความแตกตางกัน ทั้งนี้ ประเทศไทยไดประกาศใชประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ครบทง้ั ๖ บรรพเปนคร้งั แรกใน พ.ศ. ๒๔๗๘ ¡ÒÃ㪌¡®ËÁÒÂᾧ‹ à¾è×Í»ÃÐ⪹㏠¹¡ÒÃดําà¹¹Ô ªÇÕ μÔ ã¹Ê§Ñ ¤Á บทเบ็ดเสร็จทั่วไปในลักษณะ ๑ บรรพ ๑ ไดบัญญัติไวเกี่ยวกับหลักท่ัวไปในทางแพง มีสาระสาํ คัญทีค่ วรรู ดงั น้ี ๑. ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหน้ีก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต (มาตรา ๕) ๒. ใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลทกุ คนกระทาํ การโดยสจุ รติ (มาตรา ๖)

๓๔ ๓. ถาจะตองเสียดอกเบ้ียแกกัน และมิไดกําหนดอัตราดอกเบ้ียไวโดยนิติกรรม หรอื โดยบทกฎหมายอนั ชัดแจง ใหใ ชอ ตั รารอ ยละเจด็ ครึง่ ตอป (มาตรา ๗) ๔. คําวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวา เหตุใดๆ อันจะเกิดข้ึนก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันได แมท้ังบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุน้ัน จะไดจัดการ ระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายไดจ ากบคุ คลในฐานะและภาวะเชนนน้ั (มาตรา ๘) ๕. เม่ือมีกิจการอันใดซึ่งกฎหมายบังคับใหทําเปนหนังสือ บุคคลผูจะตองทําหนังสือ ไมจ าํ เปน ตอ งเขียนเอง แตห นงั สอื นน้ั ตองลงลายมอื ชอ่ื ของบุคคลนั้น ลายพมิ พน วิ้ มอื แกงได ตราประทบั หรอื เครอ่ื งหมายอน่ื ทาํ นองเชน วา นน้ั ทท่ี าํ ลงในเอกสาร แทนการลงลายมอื ชอื่ ใหม ีพยานลงลายมือชื่อรบั รองไวดว ย ๒ คน แตความในขอ นี้ไมใ ชบ งั คบั แกการ ลงลายมอื ชอ่ื แกงได ตราประทบั หรอื เครอื่ งหมายอนื่ ทาํ นองเชน วา นน้ั ซงึ่ ทาํ ลงในเอกสารทท่ี าํ ตอ หนา พนักงานเจา หนาที่ (มาตรา ๙) ๖. เมอ่ื ความขอ ใดขอ หนงึ่ ในเอกสารอาจตคี วามไดส องนยั นยั ไหนจะทาํ ใหเ ปน ผลบงั คบั ได ใหถอื เอาตามนัยนน้ั ดกี วาทีจ่ ะถือเอานัยทไ่ี รผ ล (มาตรา ๑๐) ๗. ในกรณีที่มีขอสงสัย ใหตีความไปในทางที่เปนคุณแกคูกรณีฝายซึ่งจะเปนผูตองเสีย ในมูลหนนี้ ั้น (มาตรา ๑๑) ¡®ËÁÒÂÇÒ‹ ´ÇŒ º¤Ø ¤Å คําวา “บุคคล” ในทางกฎหมาย หมายถึง ผูซ่ึงสามารถมีสิทธิและหนาที่ได กฎหมาย แบงบุคคลออกเปน ๒ ประเภท คือ บุคคลธรรมดา และนิตบิ คุ คล ñ. º¤Ø ¤Å¸ÃÃÁ´Ò ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๕ วรรคแรก บญั ญตั ใิ หบ คุ คลธรรมดา มสี ภาพบคุ คลตง้ั แตเ มอื่ คลอดจากครรภม ารดา แมม ชี วี ติ อยรู อดเพยี งนาทเี ดยี วกถ็ อื วา มสี ภาพบคุ คลแลว และถงึ แมจ ะมรี า งกายไมส มประกอบกถ็ อื วา มสี ภาพบคุ คลแลว เชน กนั เมอ่ื มสี ภาพบคุ คลตามกฎหมาย แลวกย็ อมมีสทิ ธิและหนา ที่ตามมา และไดรบั ความคุมครองตามกฎหมาย กฎหมายใหค วามคมุ ครองทารกในครรภม ารดา โดยขยายใหม สี ทิ ธขิ องบคุ คลธรรมดาได ถาภายหลังคลอดออกจากครรภมารดาแลวมีชีวิตอยูรอด ซึ่งประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕ วรรค ๒ บญั ญตั ไิ วเ พอื่ ตอ งการขยายการใหส ทิ ธขิ องบคุ คลธรรมดาไปถงึ ทารกในครรภม ารดา ท่ีจะตอ งคลอดออกมาเปน บคุ คลดวย เชน คําพิพากษาฎีกาท่ี ๔๘๙/๒๕๐๖ ทารกในครรภมารดา ขณะท่ีบิดาตายมีสิทธิเปน ทายาทได ถาภายหลังเกิดมาและรอดอยูโดยมีพฤติการณที่บิดาซ่ึงเปนบิดาที่ไมชอบดวยกฎหมาย รับรองทารกในครรภวาเปน บุตรของตน

๓๕ สทิ ธแิ ละหนา ทตี่ ามกฎหมายของบคุ คลธรรมดาจะเรมิ่ ตน เมอื่ บคุ คลธรรมดามสี ภาพบคุ คล ดงั กลา วแลว โดยเฉพาะสทิ ธขิ องบคุ คลเรมิ่ ขึ้นตงั้ แตปฏิสนธิในครรภมารดา แตม ีเงอ่ื นไขวา เม่ือคลอด ออกจากครรภมารดาแลวตองมีชีวิตรอดอยู สิทธิและหนาท่ีน้ีจะมีอยูคูกับบุคคลไปเร่ือยๆ จนกวา จะส้ินสภาพบุคคล ซึ่งการส้ินสภาพบุคคลของบุคคลธรรมดาตามที่กฎหมายกําหนดไวคือการตาย ตามธรรมชาติ และการตายโดยผลของกฎหมายหรอื การสาบสูญ ñ.ñ ÊÀÒ¾ºØ¤¤Å¢Í§ºØ¤¤Å¸ÃÃÁ´Ò ประกอบดวย ๑) สัญชาตขิ องบคุ คล สญั ชาติ หมายถงึ การที่บุคคลเปน สมาชิกในประเทศชาติ ท่ีมีชาติพันธุเดียวกัน หรือหมายถึง สภาพตามกฎหมายของบุคคลซ่ึงผูกพันโดยขอกฎหมายที่จงรัก ภกั ดตี อ รัฐ บุคคลอาจไดส ัญชาตมิ าโดยการเกิด การแปลงสัญชาติ การกลับคืนสญั ชาติและการผนวก ดนิ แดน สทิ ธใิ นสญั ชาตขิ องบคุ คลธรรมดาเปน จดุ เรม่ิ ตน ของสทิ ธใิ นทางการเมอื งของบคุ คล กรรมสทิ ธิ์ ในทรพั ยส นิ และสทิ ธิอ่ืนตามกฎหมาย ๒) ชอื่ ของบคุ คล ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย มาตรา ๑๘ กาํ หนดใหบ คุ คล มีสิทธิในช่ือของตน และมีสิทธิที่จะหามมิใหผูอื่นใชชื่อของตนได ซ่ึงตามพระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ.๒๕๐๕ แบงช่ือหรือนามของบุคคลออกเปน ชื่อตัว ช่ือรอง และชื่อสกุล ทั้งน้ี ชื่อบุคคลที่เปน นามแฝงหรือนามปากกา ตลอดจนช่ือทางการคาก็ไดรับการคุมครองจากมาตรา ๑๘ ของประมวล กฎหมายแพง และพาณิชยดว ย ๓) ภูมิลําเนาของบุคคล ไดแก ถ่ินอันบุคคลนั้นมีสถานท่ีอยูเปนแหลงสําคัญ ตามทบี่ ัญญตั ิไวใ นประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย มาตรา ๓๗ ดังนนั้ ภูมิลําเนาของบคุ คลจึงเปน ถน่ิ ท่อี ยูตามกฎหมายของบคุ คลท้งั บุคคลธรรมดาและนิตบิ คุ คล ๔) สถานะของบุคคล ไดแก ฐานะของบุคคลที่มีผลทางกฎหมายเก่ียวกับสิทธิ หนาที่ ตลอดจนความสามารถในการใชสิทธิของบุคคลน้ัน สวนใหญกฎหมายกําหนดวาตองมีการ จดทะเบยี นสถานะ เชน สมรส หยา รับรองบุตร และการรบั บตุ รบญุ ธรรม เปนตน ñ.ò ¡ÒÃÊéÔ¹ÊÀÒ¾ºØ¤¤Å ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕ วรรคแรก ตอนทายบัญญัติเก่ียวกับการส้ินสภาพบุคคลไววา “สภาพบุคคลส้ินสุดลงเม่ือตาย” การตายตามที่ บัญญัติไวในกฎหมายน้ีมี ๒ กรณี คือ การตายตามธรรมชาติ และการตายโดยผลของกฎหมาย หรือการสาบสูญ ซึ่งเปนกรณีท่ีบุคคลไปจากภูมิลําเนาหรือถ่ินท่ีอยูโดยไมมีใครรูแนวา ยังมีชีวิต หรอื ตายแลว เปน ระยะเวลาตดิ ตอ กนั ๕ ป ในกรณีธรรมดา หรือเปนระยะเวลาตดิ ตอกัน ๒ ป ในกรณี ทห่ี ายไปในสงคราม หรอื เดินทางไปกับยานพาหนะทีอ่ บั ปางหรอื สญู หายไป หรอื ตกอยูในทอ่ี ันตราย เชน ทามกลางบริเวณทีม่ กี ารกอการจลาจล เพื่อไมใ หเ กิดการเสยี หายตอผมู ีสว นไดเสีย เชน คสู มรส หรือบิดามารดา อาจรองขอตอศาลหรืออาจใหพนักงานอัยการรองขอใหศาลส่ังใหบุคคลผูนั้นเปน ผูสาบสูญก็ได ซึ่งคําสั่งใหเปนบุคคลผูสาบสูญตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผลทางกฎหมาย ท่ีตามมาคือ มรดกท่ีมีตกทอดไปยังทายาท สิทธิและฐานะอันเปนการเฉพาะตัวสิ้นสุดลง ส้ินสุด

๓๖ อํานาจการปกครองบุตรผูเยาว และการสมรสแมจะไมส้ินสุดลง แตเปนเหตุใหคูสมรสฟองหยาได เมอื่ ปรากฏวา บคุ คลสาบสญู กลบั มา บคุ คลผนู นั้ หรอื ผมู สี ว นไดเ สยี หรอื พนกั งานอยั การรอ งขอใหศ าล มีคําส่ังถอนคําสั่งแสดงความสาบสูญได และคําส่ังน้ีตองประกาศในราชกิจจานุเบกษาเชนกัน และ ผลทางกฎหมายของคาํ สงั่ นไ้ี มก ระทบถงึ ความสมบรู ณข องการกระทาํ ทท่ี าํ โดยสจุ รติ และทาํ ในระหวา ง เวลาท่ีศาลมีคําส่ังสาบสูญไปจนถึงเวลาที่ศาลมีคําส่ังเพิกถอนคําส่ังสาบสูญนั้น เชน ทายาทของ ผสู าบสญู ไดร บั มรดกของผสู าบสญู เปน เงนิ และทรพั ย กรณนี เ้ี มอื่ ผสู าบสญู กลบั มาตอ งคนื เทา ทเ่ี หลอื อยู แตถ า ไมส จุ รติ กฎหมายใหค นื เตม็ จาํ นวน ในสว นของทรพั ย ถา ทายาทสจุ รติ ใหค นื ตามสภาพโดยไมต อ ง รบั ผิดในสว นทีช่ าํ รุดเสยี หาย แตถ า ไมส จุ รติ ตอ งรับผดิ ñ.ó ¤ÇÒÁÊÒÁÒö บคุ คลโดยทวั่ ไปมคี วาม สามารถตามกฎหมายในการทํานิติกรรมสัญญาใดๆ ได แตก็มีบุคคลบางประเภทที่กฎหมายจํากัดความสามารถ ในการทาํ นติ กิ รรมสญั ญากบั บคุ คลอน่ื เพราะถอื วา หยอ น ความสามารถ จงึ ตอ งกาํ หนดหลกั เกณฑใ นการทาํ นติ กิ รรม สัญญาของบุคคลประเภทนี้ เพ่ือใหความคุมครอง ประโยชนของบุคคลผูหยอนความสามารถ และเพื่อ ปอ งกันไมใ หมีการเอารดั เอาเปรียบกนั ในสังคม บคุ คลท่ี ผูเยาวเปนบุคคลทมี่ อี ายุ ยงั ไมครบ ๒๐ ปบริบูรณ กฎหมายใหความคุมครองเพราะหยอนความสามารถมี ๓ ประเภท ไดแก ๑) ผเู ยาว หมายถึง บุคคลท่ีออ นอายุ ออ นประสบการณ หยอ นความสามารถ ในการจัดทําการงานและทรัพยสินกฎหมายใหความคุมครองผูเยาวจนกวาผูเยาวจะบรรลุนิติภาวะ คือ อายุ ๒๐ ปบริบูรณ หรือทําการสมรสตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๔๔๘ กลา วคือ เมอื่ ชายและหญิงมีอายุ ๑๗ ปบริบรู ณแลว แตใ นกรณที ี่มเี หตอุ ันสมควรอาจรอ งขอใหศ าล อนุญาตใหทําการสมรสกอนอายุ ๑๗ ปบริบูรณก็ได แตการบรรลุนิติภาวะโดยการสมรสของผูเยาว ถา ตอ มาขาดจากการสมรสกอ นอายุ ๒๐ ปบ ริบรู ณ เชน หยารางกัน กไ็ มทําใหก ลบั มาเปนผเู ยาวไดอีก กฎหมายถือวา บรรลนุ ติ ภิ าวะตลอดไป กฎหมายวางหลกั คุม ครองผูเยาวไ วในมาตรา ๒๑ วา ผูเยาวจะทํานติ ิกรรมสัญญา ใดๆ ตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอน ถากระทําโดยปราศจากความยินยอม ดังกลาว นิติกรรมนั้นตกเปนโมฆียะ (ผูแทนโดยชอบธรรม คือ ผูใชอํานาจปกครองผูเยาว ซ่ึงตาม บทบญั ญตั มิ าตรา ๑๕๖๖ ไดแ ก บดิ าและมารดา) ¢ŒÍ¡àÇŒ¹ มีขอยกเวนท่ีกฎหมายกําหนดใหผูเยาวทํานิติกรรมบางอยางไดเอง โดยไมต องไดรบั ความยินยอมจากผแู ทนโดยชอบธรรม คอื

๓๗ (๑) นิติกรรมที่เปนประโยชนแกผูเยาวแตเพียงฝายเดียว (มาตรา ๒๒) เชน ผูเยาวไดรับสิ่งของมีคาจากบุคคลอ่ืนซ่ึงเปนลักษณะของการใหโดยไมมีภาระติดพันหรือเง่ือนไขใดๆ สญั ญาใหน ี้ยอ มสมบูรณ ผแู ทนโดยชอบธรรมไมตอ งใหค วามยนิ ยอม (๒) นิติกรรมท่ีผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว (มาตรา ๒๓) เชน การท่ีผูเยาว เปนบิดาของบุตร ผูเยาวตองไปจดทะเบียนรับรองบุตรเองโดยไมตองไดรับความยินยอมของผูแทน โดยชอบธรรม (๓) นิติกรรมท่ีจําเปนในการดํารงชีพของผูเยาว (มาตรา ๒๔) ซ่ึงรวมถึง กจิ การปกตทิ ผี่ เู ยาวจ าํ เปน ตอ งกระทาํ โดยพจิ ารณาจากฐานะของผเู ยาว เชน การทผ่ี เู ยาวเ ปน ลกู เศรษฐี อาจสั่งอาหารจากภัตตาคารที่มีช่ือเสียงมารับประทานได แตถาเปนลูกที่พอแมหาเชากินค่ํา หากทํา เชน น้ถี อื ไดว านติ กิ รรมยอ มไมส มบรู ณ (๔) ผเู ยาวม อี าํ นาจทาํ พนิ ยั กรรมไดเ มอื่ มอี ายคุ รบ ๑๕ ปบ รบิ รู ณ ซงึ่ เปน เรอ่ื งที่ ผูเยาวจะตองทําเองเปนกิจการเฉพาะตัวผูเยาว (มาตรา ๒๕) ถาผูเยาวทําพินัยกรรมกอนอายุครบ ๑๕ ปบ รบิ รู ณ พนิ ยั กรรมนนั้ ยอ มตกเปน โมฆะ ตามมาตรา ๑๗๐๓ ๒) คนไรค วามสามารถ คอื คนวกิ ลจรติ ทศ่ี าลไดม คี าํ สง่ั ใหเ ปน คนไรค วามสามารถ ตามมาตรา ๒๘ และเมอื่ ศาลสง่ั ใหบ คุ คลใดเปน คนไรค วามสามารถแลว ตอ งจดั ใหบ คุ คลนน้ั อยใู นความ อนบุ าล (มาตรา ๒๘ วรรค ๒) และนติ กิ รรมทคี่ นไรค วามสามารถไดท าํ ลงมผี ลเปน โมฆยี ะ (มาตรา ๒๙) ยกเวนการทําพินัยกรรม ถาคนไรความสามารถไดทําลงมีผลเปนโมฆะ ตามมาตรา ๑๗๐๔ จะเห็น ไดวาคนไรความสามารถน้ีถูกศาลตัดสิทธิและอํานาจในการทํานิติกรรมโดยสิ้นเชิง ผูอนุบาลตอง เปน ผกู ระทํานติ ิกรรมใดๆ ในนามของคนไรค วามสามารถทง้ั ส้ิน ๓) คนเสมอื นไรความสามารถ คอื ผูท่ีมีเหตุบกพรอ งบางประการ เชน รา งกาย พิการ ตาบอดทั้งสองขาง หรือเปนใบ หรือหูหนวก หรือคนที่มีอาการคุมดีคุมรายไมถึงกับเปนคน วกิ ลจรติ หรอื เปน คนสรุ ยุ สรุ า ยใชจ า ยเงนิ ฟมุ เฟอ ยไมท าํ มาหากนิ บคุ คลเหลา นไี้ มส ามารถจดั ทาํ การงาน ของตนเองได หรอื ทาํ แลวอาจทาํ ใหเ สยี หายแกท รพั ยสนิ ของตนเองหรอื ครอบครวั เม่อื ผูม สี วนไดเสยี หรอื พนกั งานอยั การรอ งขอศาลจะใชด ลุ ยพนิ จิ สง่ั ใหเ ปน คนเสมอื นไรค วามสามารถ และใหอ ยใู นความ ดูแลของผูพ ิทักษ คนเสมอื นไรค วามสามารถนน้ั โดยหลกั แลว มคี วามสามารถทาํ นติ กิ รรมไดโ ดยลาํ พงั เชน การทาํ พนิ ยั กรรม การรับจาง ยกเวน ในบางกรณีตามทบ่ี ญั ญัติไวใ นมาตรา เชน การนาํ ทรพั ยสิน ไปลงทุน ไมวาจะเปนสวนของเงินทุนหรือดอกผลก็ตาม ตองไดรับความยินยอมจากผูพิทักษกอน ถาฝา ฝน ยอมมีผลเปน โมฆยี ะ ò. ¹μÔ Ôº¤Ø ¤Å นติ บิ คุ คลเปน บคุ คลอกี ประเภทหนง่ึ ทปี่ ระมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยแ ละกฎหมาย อืน่ ใด กาํ หนดใหมีสภาพบุคคล ดงั ทบ่ี ัญญตั ิไวใ นมาตรา ๖๕ วา “นิตบิ ุคคลจะมขี ึ้นไดกแ็ ตดวยอาศยั อํานาจแหง ประมวลกฎหมายนี้หรอื กฎหมายอ่นื ”

๓๘ ò.ñ ¹ÔμԺؤ¤ÅμÒÁ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒ ᾧ‹ áÅоҳªÔ  ไดแ ก สมาคม มูลนธิ ิ และหางหุนสวน หรอื บรษิ ทั เมอ่ื ไดจ ดทะเบยี นแลว เชน หา งหนุ สว นสามญั นติ บิ ุคคล หา งหุนสว นจํากัด และบรษิ ัท (เอกชน) จํากดั ò.ò ¹ÔμԺؤ¤ÅμÒÁ¡®ËÁÒÂÍè×¹ËÃ×Í ¡®ËÁÒÂ੾ÒÐ ไดแก บรษิ ัทมหาชนจํากัด และทบวง การเมือง ไดแก กระทรวง และกรม กระทรวงทองเท่ียวและกฬี า มฐี านะเปนนิตบิ ุคคล ò.ó ÊÔ·¸ÔáÅÐ˹ŒÒ·èբͧ¹ÔμԺؤ¤Å โดยท่ัวไปเหมือนกับสิทธิและหนาท่ีของบุคคล ธรรมดา เชน เปนเจา หนี้ ลูกหน้ี เปนเจาของทรัพยส ิน ตองเสียภาษีอากรใหร ฐั เวน แตสิทธแิ ละหนาที่ ซง่ึ โดยสภาพจะพึงมพี ึงเปนไดเ ฉพาะบุคคลธรรมดาเทา นนั้ เชน หมนั้ หรือสมรสไมไ ด เปนบตุ ร ภรยิ า หรอื สามีไมไ ด ไมตอ งมหี นาที่อปุ การะเล้ยี งดผู ูอ่นื เปน ตน ò.ô ÀÙÁÔลําà¹Ò¢Í§¹ÔμԺؤ¤Å ตามบทบัญญัติในมาตรา ๖๘ และมาตรา ๖๙ กําหนดภูมิลาํ เนาโดยทวั่ ไปของนิตบิ ุคคลไว โดยกําหนดใหภมู ิลําเนาของนิตบิ ุคคล ไดแ ก ถิน่ ท่ีต้ังของ สํานักงานใหญของนิติบุคคลหรือท่ีตั้งท่ีทําการ หรือถ่ินท่ีเลือกเอาเปนภูมิลําเนาเฉพาะกาล ตามขอ บังคบั หรือตราสารจัดต้งั และถิ่นท่ีต้ังของสาํ นักงานสาขาในสว นกจิ การท่ีไดกระทาํ ที่ถิ่นนั้น ¡®ËÁÒÂÇÒ‹ ´ÇŒ ¹Ôμ¡Ô ÃÃÁ âÁ¦Ð¡ÃÃÁáÅÐâÁ¦ÕÂСÃÃÁ ความไมส มบูรณข องนิติกรรม สญั ญาอาจเกดิ ขึ้นได ๒ กรณี คอื โมฆะกรรมและโมฆียะ กรรม ñ. âÁ¦Ð¡ÃÃÁ คอื นิติกรรมทเ่ี สยี เปลา ไมกอใหเ กิดผลในทางกฎหมายแตอยางใด กรณี ที่กฎหมายบัญญตั ใิ หนติ กิ รรมตกเปน โมฆะ ò. âÁ¦ÕÂСÃÃÁ คือ นติ ิกรรมซงึ่ ในขณะทท่ี ําขน้ึ มผี ลสมบูรณต ามกฎหมาย แตอ าจถูก บอกลางไดในภายหลัง มีผลใหนิติกรรมน้ันตกเปนโมฆะมาต้ังแตตน กฎหมายกําหนดระยะเวลา ในการบอกลา งนติ กิ รรมทต่ี กเปน โมฆยี ะไว ถา ผมู สี ทิ ธบิ อกลา งไมใ ชส ทิ ธใิ นระยะเวลาทกี่ ฎหมายกาํ หนด นติ ิกรรมนน้ั เปน อันสมบรู ณม าต้งั แตตนสามารถใชไดต ลอดไป และจะมาบอกลา งในภายหลงั อกี ไมได เหตุท่ที าํ ใหนติ กิ รรมตกเปน โมฆียะ ¡®ËÁÒÂÇÒ‹ ´ŒÇÂ·Ã¾Ñ Â กฎหมายแพงเก่ียวกับทรัพย บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ ๑ ลกั ษณะ ๓ ตงั้ แตม าตรา ๑๓๗ ถงึ มาตรา ๑๔๘ และในบรรพ ๔ ตง้ั แตม าตรา ๑๒๙๘ ถงึ มาตรา ๑๔๓๔ ซึ่งการศึกษากฎหมายในเร่ืองทรัพยจะศึกษาเฉพาะสวนท่ีเปนสาระสําคัญอันเปนพื้นฐานท่ีจะนําไปใช ในชีวิตประจําวันโดยทว่ั ไป

๓๙ ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧคาํ Ç‹Ò·Ã¾Ñ ÂᏠÅÐ·Ã¾Ñ ÂÊ¹Ô ทรัพย หมายถงึ วตั ถุมรี ูปราง (มาตรา ๑๓๗) ทรัพยสิน หมายความรวมท้ังทรัพยและวัตถุไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได ทรัพยนอกจากจะหมายถึงวัตถุมีรูปรางแลวยังตองเปนวัตถุมีรูปรางซึ่งอาจมีราคาและถือเอาไดดวย สวนคําวาทรัพยสินน้ัน หมายถึง วัตถุมีรูปรางซึ่งอาจมีราคาไดและถือเอาไดประการหนึ่ง และยัง หมายถึงวัตถไุ มม รี ูปรา งซ่ึงอาจมรี าคาได และถือเอาไดอกี ประการหนึ่งดวย ÅѡɳÐสาํ ¤ÞÑ ¢Í§·ÃѾáÅÐ·Ã¾Ñ Âʏ Ô¹ ทรัพยและทรัพยสินมีลักษณะสําคัญ ๒ ประการ ถาขาดลักษณะสําคัญขอใดขอหน่ึงไป จะเปนทรพั ยหรอื ทรพั ยสินไมไ ด ลักษณะสาํ คัญของทรัพยและทรัพยส ิน มดี งั น้ี ñ. ·ÃѾÂà »¹š ÇÑμ¶·Ø ÕÁè ÕÃٻËҧ ʋǹ·ÃÑ¾ÂÊ¹Ô à»š¹ÇÑμ¶Ø·èÁÕ ÃÕ »Ù ÃÒ‹ §ä´Œ ËÃ×ÍäÁ‹ÁÃÕ »Ù Ëҧ¡çä´Œ เชน มนษุ ยแมจ ะมีรปู รา ง แตก ไ็ มอ าจมรี าคาซ้ือขายกันไดใ นปจ จุบัน (แตใ นสงั คมโบราณมีการซ้ือขาย มนษุ ยม าเปนทาสได) ฉะนัน้ มนุษยจึงมิใชทรัพยในความหมายนี้ แตบ านเรอื น โตะ เกา อี้ เปนวัตถทุ ่มี ี รปู ราง มีราคา และถือเอาได จงึ เปน ทรัพยสิน สว นวัตถุท่ไี มม ีรปู รา ง ไดแก ลม พลังงาน สทิ ธติ า งๆ อนั เกีย่ วกับทรัพย เปนตน ò. ÇμÑ ¶·Ø ÁÕè ÃÕ »Ù ÃÒ‹ §ËÃÍ× äÁÁ‹ ÃÕ »Ù ÃÒ‹ §¹¹éÑ μÍŒ §ÍÒ¨ÁÃÕ Ò¤ÒáÅÐμÍŒ §ÍÒ¨¶Í× àÍÒä´Œ เชน ดวงจนั ทร ดวงดาว อากาศ นํ้าทะเล ไมใชส่ิงท่ีอาจยึดถือเอาไดจึงมิใชทรัพยหรือทรัพยสิน แตถามีการนํา สง่ิ เหลา นม้ี าใชใ หเ กดิ ประโยชน เชน นาํ นา้ํ ทะเลมากลน่ั ใหเ ปน นา้ํ จดื ใชด มื่ หรอื บรรจขุ วดขาย นาํ้ ทะเลนนั้ กจ็ ะเปน สิ่งที่มีราคาและถือเอาได จงึ เปน ทรัพย »ÃÐàÀ·¢Í§·ÃѾÂʏ ¹Ô ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยแ บง ทรพั ยส นิ ออกเปน ๕ ประเภท ไดแ ก อสงั หารมิ ทรพั ย สังหาริมทรพั ย ทรพั ยแ บง ได ทรัพยแบง ไมไ ด และทรพั ยนอกพาณชิ ย นอกจากนีย้ งั มสี ว นตางๆ ของทรัพยเ หลา นี้อกี ๓ ชนิด คอื สวนควบ เครื่องอปุ กรณ และ ดอกผล ñ. Í椄 ËÒÃÁÔ ·Ã¾Ñ  มาตรา ๑๓๙ ใหค วามหมายของอสงั หารมิ ทรพั ยไ วว า “อสงั หารมิ ทรพั ย หมายถงึ ทด่ี นิ และทรพั ยอ นั ตดิ อยกู บั ทด่ี นิ มลี กั ษณะเปน การถาวรหรอื ประกอบเปน อนั เดยี วกบั ทด่ี นิ นนั้ และหมายรวมถงึ ทรพั ยสทิ ธอิ นั เกย่ี วกบั ทดี่ นิ หรอื ตดิ อยกู บั ทด่ี นิ หรอื ประกอบเปน อนั เดยี วกบั ทด่ี นิ นน้ั ดวย” จากความหมายในมาตรา ๑๓๙ แยกพจิ ารณาอสังหาริมทรัพยไดด งั น้ี ๑) ทด่ี นิ คอื พน้ื ดนิ ทั่วๆ ไป รวมทัง้ ทม่ี นุษยเ ราอาศยั อยดู ว ย แตไมรวมดนิ ท่ขี ุดข้นึ มาจากพ้ืนดนิ ๒) ทรัพยทต่ี ดิ อยกู ับท่ดี นิ มลี กั ษณะเปน การถาวร ซึง่ แบง ออกเปน (๑) ทรัพยอันติดอยูกับท่ีดินโดยธรรมชาติ เชน ตนไม แตตองเปนไมยืนตน ซ่ึงเปนพันธุไมที่มีอายุยืนยาวกวา ๓ ปข้ึนไป ดังนั้นไมลมลุกซึ่งเปนพันธุที่มีอายุไมเกิน ๓ ป เชน ตนขาวจึงเปนสังหาริมทรัพย สวนตนพลูจัดเปนอสังหาริมทรัพย แมจะเปนไมเลื้อยแตก็มีอายุยืน เกินกวา ๓ ปขึ้นไป

๔๐ (๒) ทรัพยอันติดอยูกับท่ีดินโดยมนุษยเปนผูนํามาติด ไดแก อาคารบานเรือน ซง่ึ สงิ่ ทม่ี นษุ ยส รา งขน้ึ หรอื นาํ มาตดิ กบั ทด่ี นิ นตี้ อ งมลี กั ษณะยดึ ตดิ ตรงึ ตราอยา งถาวรแนน หนากบั ทด่ี นิ (๓) ทรัพยซ่ึงประกอบเปนอนั เดยี วกับท่ดี ิน เชน แมน าํ้ ลาํ คลอง กรวด หิน ดนิ ทราย โดยสิ่งเหลานต้ี องมีอยเู องตามธรรมชาติ ทรพั ยส มบัตทิ ีน่ าํ ไปฝง ไวใ นดนิ ไมอยใู นความหมายนี้ (๔) ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับท่ีดิน หรือเกี่ยวกับทรัพยอันติดอยูกับท่ีดิน หรือ เก่ยี วกบั ทรัพยท่ปี ระกอบเปนอนั เดียวกับทีด่ นิ น้ัน เชน กรรมสทิ ธ์ิในท่ดี ิน สิทธจิ ํานองอาคารบา นเรอื น สิทธิเหนอื พื้นดิน สทิ ธิอาศยั ในท่ีดนิ เปน ตน ò. 椄 ËÒÃÁÔ ·Ã¾Ñ  มาตรา ๑๔๐ ใหค วามหมายของสงั หารมิ ทรพั ยไ วว า หมายถงึ ทรพั ยส นิ อน่ื นอกจากอสังหาริมทรัพยและหมายความถึงสิทธิอันเก่ียวกับทรัพยสินนั้นดวย จากความหมายของ สงั หาริมทรัพย อาจแยกพจิ ารณาไดด งั น้ี ๑) ทรพั ยส นิ อน่ื ทไ่ี มใ ชอ สงั หารมิ ทรพั ยใ หถ อื เปน สงั หารมิ ทรพั ยท งั้ สน้ิ แบง ออกเปน (๑) ทรัพยที่อาจขนเคลื่อนจากท่ีแหงหนึ่งไปที่แหงอ่ืนไดโดยไมเสียรูปลักษณะ ของตวั ทรัพย เชน รถยนต ชาง เกาอ้ี สรอ ย แหวน ฯลฯ (๒) กาํ ลงั แรงแหง ธรรมชาติ ซง่ึ อาจมรี าคาและถอื เอาไดด ว ย เชน พลงั แสงอาทติ ย แกส ฯลฯ (๓) ไมลมลุกและธัญชาติ ซ่ึงเก็บรวบรวมผลไมคราวหนึ่งหรือหลายคราวตอป เชน ตน ขาว พืชผักสวนครวั เปนตน ๒) สิทธิอันเกี่ยวกับทรัพยสินนั้น หมายถึง สิทธิในสังหาริมทรัพยที่มีรูปราง เชน กรรมสิทธ์ิในรถยนต สิทธิการเชารถยนต สิทธิของผูรับจํานํา และหมายรวมถึงสิทธิในสังหาริมทรัพย ทไี่ มม รี ูปรา ง เชน สิทธบิ ตั ร ลขิ สทิ ธ์ิ สทิ ธิเรยี กรอ งคา สนิ ไหมทดแทนจากผูทําละเมดิ เปน ตน ó. ·Ã¾Ñ ầ‹ ä´Œ มาตรา ๑๔๑ บญั ญตั ิวา “ทรัพยแ บงได หมายความวา ทรัพยอันอาจ แยกจากกันเปนสวนๆ ไดจริงถนัดชัดแจง แตละสวนไดรูปบริบูรณลําพังตัว” ดังน้ันทรัพยแบงได คือ ทรพั ยท อ่ี าจแยกหรอื แบง ออกจากกนั ไดโ ดยไมเ สยี รปู ลกั ษณะของเดมิ คอื แมจ ะแบง แลว กย็ งั เปน ทรพั ย ของเดิมอยู เพยี งแตจ ํานวน หรอื ปริมาณอาจนอ ยไปเพราะการแบงแยกน้นั เชน ทด่ี ิน อาจแบงเปน แปลงๆ ได โดยยงั มีลักษณะเปน ท่ีดินอยู ô. ·ÃѾẋ§äÁ‹ä´Œ มาตรา ๑๔๒ บัญญัติวา ทรัพยแบงไมไดหมายความวา ทรัพย อันจะแยกออกจากกันไมได นอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะของทรัพย และหมายความรวมถึงทรัพยท่ีมี กฎหมายบญั ญัติวา แบง แยกไมไดดวย ทรพั ยแบงไมไ ด แยกพจิ ารณาไดด ังนี้ ๑) ทรัพยทีแ่ บง ไมไดโดยสภาพ เชน บานเรอื น เส้อื กระโปรง เปน ตน ๒) ทรัพยที่แบงไมไดโดยอํานาจของกฎหมาย แมในความเปนจริง โดยสภาพของ ทรัพยแลว อาจแบงแยกกันไดก็ตาม เชน หุนของบริษัท ทรัพยสวนควบ ภาระจํายอม สิทธิจํานอง เปนตน ทั้งทรพั ยแ บง ไดแ ละทรพั ยแ บงไมไ ด อาจเปน ไดท ัง้ อสงั หารมิ ทรพั ยแ ละสังหาริมทรัพย

๔๑ õ. ·ÃѾ¹Í¡¾Ò³ªÔ  มาตรา ๑๔๓ บญั ญัติวา “ทรพั ยนอกพาณชิ ย หมายความวา ทรัพยที่ไมสามารถจะถือเอาไดและทรัพยท่ีโอนแกกันมิไดโดยชอบดวยกฎหมาย” จะเห็นไดวาทรัพย นอกพาณิชย แบง ไดเ ปน ๒ ประเภท ดังน้ี ๑) ทรัพยที่ไมสามารถถือเอาได คือ ทรัพยที่มนุษยไมสามารถเปนเจาของ หรอื หวงกันไวเปน ประโยชนแกต นได เชน ดวงดาว กอนเมฆ เปน ตน ๒) ทรัพยซ่ึงไมอาจโอนใหกันไดโดยชอบดวยกฎหมาย เชน สาธารณสมบัติ ของแผน ดิน ทว่ี ัดหรอื ท่ีธรณสี งฆ สทิ ธทิ ีจ่ ะไดรบั คา อปุ การะเลี้ยงดู เปนตน ·ÃѾÂʏ ¹Ô ¢Í§á¼¹‹ ´¹Ô ทรัพยสนิ ของแผนดิน แบงไดเปน ๒ ประเภท คอื ñ. ·Ã¾Ñ Âʏ ¹Ô ¢Í§á¼¹‹ ´¹Ô ¸ÃÃÁ´Ò คอื ทรพั ยส นิ ทงั้ ทเี่ ปน สงั หารมิ ทรพั ยแ ละอสงั หารมิ ทรพั ย ซงึ่ รฐั เปนเจาของ เชน รถยนตข องหลวง ทีด่ นิ ราชพัสดุซึง่ ใหเ อกชนเชา เปน ตน ทรพั ยส นิ ของแผนดนิ มีลักษณะเชนเดียวกับทรัพยสินของเอกชน คือ อาจโอนกันไดตามธรรมดา อาจเขาครอบครอง ปรปก ษได เปน ตน ò. ÊÒ¸ÒóÊÁºÑμԢͧἋ¹´Ô¹ คือ ทรัพยสินของแผนดิน ทั้งท่ีเปนสังหาริมทรัพย หรอื อสงั หาริมทรัพย ซง่ึ ใชเ พ่ือสาธารณประโยชนหรอื สงวนไวเ พ่ือประโยชนร วมกัน เชน ทดี่ นิ รกราง วา งเปลา ทชี่ ายตลง่ิ ทางนา้ํ ทางหลวง ทะเลสาบ หนองนา้ํ ทงุ เลยี้ งสตั ว เรอื รบ เปน ตน สาธารณสมบตั ิ ของแผน ดนิ เปนทรัพยส นิ ท่เี อกชนไมอาจเขา ครอบครองปรปก ษไ ด ʋǹ¤Çº¢Í§·Ã¾Ñ  Í»Ø ¡Ã³ áÅд͡¼Å¢Í§·Ã¾Ñ  ๑) สวนควบของทรัพย โดยสภาพของทรัพยหรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถ่ิน เปน สาระสาํ คญั ในความเปน อยขู องทรพั ย และไมอ าจจะแยกจากกนั ได นอกจากจะทาํ ลาย ทาํ ใหบ บุ สลาย หรือทําใหทรัพยน้ันเปลี่ยนแปลงสภาพไป และเจาของทรัพยยอมเปนเจาของสวนควบดวย เชน หลังคาบานเปนสวนควบของบาน ลอ รถยนตที่มิใชล อ อะไหลเปนสว นควบของรถยนต ๒) อปุ กรณ สงั หารมิ ทรพั ยซ ง่ึ โดยปกตนิ ยิ มเฉพาะถน่ิ หรอื โดยเจตนาชดั แจง ของเจา ของ ทรัพยที่เปน ประธาน เปน ของใชประจาํ อยกู บั ทรัพยที่เปนประธานเปน อาจิณ เพ่ือประโยชนแกก ารจัด ดแู ลใชส อย หรอื รกั ษาทรพั ยท เ่ี ปน ประธาน และเจา ของทรพั ยไ ดน าํ มาสทู รพั ยท เ่ี ปน ประธานโดยการนาํ มาตดิ ตอ หรอื ปรบั เขา ไว หรอื ทาํ โดยประการอน่ื ใด ในฐานะเปน ของใชป ระกอบกบั ทรพั ยท เี่ ปน ประธาน เชน เจาของเรือนําพายมาไวใชกับเรือ พายเปนอุปกรณของเรือ แตถาเจาของเรือยืมพายของผูอ่ืน มาใชแ ลวไมส ง คืนเกบ็ เอาไวใชกับเรือตลอดมา พายนน้ั กไ็ มใชเครอ่ื งอุปกรณข องเรือ ๓) ดอกผลของทรัพย กฎหมายกาํ หนดไวม ี ๒ ประเภท ดังนี้ (๑) ดอกผลธรรมดา หมายถึง ส่ิงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย ซึ่งไดมาจาก ตวั ทรพั ย โดยการมีหรอื ใชท รพั ยนนั้ ตามปกติ และทรัพยท ี่เปน ดอกผลธรรมดานน้ั จะถือเปนดอกผลได ตอ เมอ่ื ขาดตกออกจากตวั ทรพั ยแลว โดยไมทําใหต วั ทรัพยเ สียหาย ดอกผลธรรมดา ไดแ ก ผลไม เหด็ น้าํ นม ขน และลูกของสตั ว ไข แรธ าตุ เปนตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook