ธรุ กจิ ดา้ นการศึกษา และการท่องเทย่ี ว
กรมการ ัจดหางาน ท20่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ครู/อาจารย์ Teachers นิยามอาชพี ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี ในหนว่ ยนี้ ไดแ้ ก่ ผสู้ อนวชิ าตา่ ง ๆ ในวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั อดุ มศกึ ษาทวั่ ไป สรา้ งและพฒั นาการเรยี นการสอน ในวชิ าทรี่ บั ผดิ ชอบ กำ� หนดกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั การศกึ ษาทงั้ ในและนอก หลกั สตู ร บรรยายใหค้ วามรแู้ ละจดั สมั มนาในชนั้ เรยี น ทดสอบและทดลองใน หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ จดั ทำ� หนงั สอื เอกสาร บทความทางวชิ าการ และตำ� ราตา่ งๆ เขา้ รว่ มในการประชมุ หรอื สมั มนาและอาจมสี ว่ นรว่ มในการ บรหิ ารงานของวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ในเรอ่ื งงบประมาณ นโยบายและอน่ื ๆ ตลอดจนปฏบิ ตั หิ นา้ ทกี่ ารงานและควบคมุ ดแู ล ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ลกั ษณะของงานท่ีทำ� 1. ทำ� การสอน การอบรม ทางดา้ นวชิ าการและภาคปฏบิ ตั ิ พทุ ธศกึ ษา จรยิ ศกึ ษา และพลศกึ ษา ทเี่ นน้ นกั เรยี น เปน็ ศูนย์กลางในการเรยี น 190 2. ดแู ลอบรมความประพฤติ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเตบิ โตเป็นบคุ คลท่ีสมบรู ณ์ทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ 3. มสี ตปิ ญั ญา ความรู้ คณุ ธรรม และจรยิ ธรรม มวี ฒั นธรรมในการดำ� รงชวี ติ สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ คร/ู อาจารย์ มหี นา้ ท่ีในการสอนแต่ละชน้ั เรียนใหไ้ ด้มาตรฐานการศึกษา ดงั ตอ่ ไปน้ี - ครูอนุบาล (Pre-Primary Education Teacher, Kindergarten Teacher) เปน็ ผทู้ ส่ี อนหนงั สอื ใหเ้ ดก็ ชายและเดก็ หญงิ ในทร่ี บั เลย้ี งและสอนเดก็ ทอ่ี ายไุ มถ่ งึ เกณฑ์ เขา้ เรยี นหนงั สอื และ ในโรงเรยี นอนบุ าล รวมถงึ การฝึกอบรมและแนะนำ� เดก็ ท่ีมอี ายตุ ง้ั แต่ 3 ปขี ึน้ ไป เพือ่ ชว่ ยเตรยี มความพร้อมทจี่ ะเขา้ ศึกษาในโรงเรียนช้ันประถมศึกษาต่อไป โดยทำ� หน้าทเี่ ตรยี มความพร้อมของเด็ก เช่น ความสะอาด การตรงต่อเวลา การให้ความร่วมมือ การเคารพเช่ือฟัง การเข้าสังคม ฝึกให้มีความมั่นใจในตนเอง โดยมอบหมายให้ท�ำงานง่าย ๆ ใหม้ กี ำ� ลงั ใจโดยการชมเมอื่ เดก็ ทำ� ได้ และสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ไดม้ สี ว่ นรว่ มสนกุ ในเกมตา่ ง ๆ สอนกายบรหิ าร ดนตรี เตน้ รำ� รำ� ไทย ใชส้ อื่ การสอนทช่ี ว่ ยกันประดษิ ฐ์ข้ึนอยา่ งง่าย ๆ ให้แก่เด็ก เพ่อื พัฒนาทั้งทางด้านร่างกายและจติ ใจ กจิ กรรม อ่นื ๆ เช่น การสร้างแบบจำ� ลองการวาดเขียนและการระบายสี เพ่อื พฒั นาความสามารถทมี่ อี ยู่ ในตัวเด็ก สอนวชิ า พื้นฐานเบื้องต้นง่าย ๆ อาจแนะน�ำบิดา มารดา เก่ียวกับการสร้างอุปนิสัยที่ดี และการแก้ไขอุปนิสัยที่ไม่ดีของเด็ก บางครั้งอาจจะต้องทำ� งานรว่ มกบั นกั จติ วิทยาเดก็ - ครปู ระถมศึกษา (Primary Education Teacher) ทำ� หน้าทสี่ อนการอา่ น การเขยี น เลขคณติ และวิชาพนื้ ฐานเบอ้ื งตน้ เตรยี มตารางการสอนในช้นั ที่จะต้อง สอนตลอดปกี ารศกึ ษา สอนวชิ าการตา่ ง ๆ ควบคมุ การทำ� งานในชน้ั เรยี น เตรยี มแบบฝกึ หดั ใหน้ กั เรยี นทำ� แบบฝกึ หดั และตรวจสมุดแบบฝึกหัดของนักเรียน ด�ำเนินการสอบและตรวจให้คะแนน ควบคุมนักเรียนให้อยู่ในระเบียบวินัย
ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ท�ำรายงานต่าง ๆ เกีย่ วกับตัวเดก็ ครูประถมศึกษาสว่ นใหญ่ จะท�ำการสอนหลายวิชาในชนั้ เดียวกัน และควบคุมการ กรมการ ัจดหางาน ท�ำกจิ กรรมนอกหลกั สตู ร Department of Employment - ครูมัธยมศกึ ษา (Secondary Education Teacher) ทำ� หนา้ ทใ่ี นการสอนวชิ าการในระดบั มธั ยมศกึ ษา รวมถงึ ครทู ท่ี ำ� การสอนหรอื ฝกึ อบรมวชิ าชพี ในสถาบนั การ ศกึ ษาทตี่ ำ่� กวา่ ระดบั มหาวทิ ยาลยั เชน่ ครทู ที่ �ำการสอนนกั เรยี นผใู้ หญใ่ นโรงเรยี นทส่ี อนวชิ าทางดา้ นธรุ กจิ หรอื การคา้ ในสถานฝกึ อบรม และทำ� การสอนเฉพาะวชิ า หรอื ทำ� การสอนวชิ าอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐานอาจทำ� หนา้ ท่ี เปน็ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาประจ�ำชนั้ หรอื ท�ำหนา้ ทพ่ี เิ ศษเปน็ หวั หนา้ กจิ กรรมแนะแนว ประชาสมั พนั ธ์ หรอื ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ อาจารยฝ์ ่ายปกครอง อาจจะสอนนักเรยี นผใู้ หญใ่ นชน้ั เรียนตอนเยน็ อาจจะมีความชำ� นาญในการสอนวชิ าการอน่ื ๆ หรอื อาจจะเป็นผทู้ ี่สอนหนังสือในโรงเรียน สถาบนั ฝึกอาชพี สถาบันสอนคอมพิวเตอร์ สถาบันกวดวชิ า สถาบันสอน ภาษาตา่ งประเทศ ซึ่งมกี ารสอนอยู่ในชั้นระดับมัธยมศกึ ษา - อาจารยม์ หาวิทยาลยั และสถาบันอุดมศึกษา (University and Higher Education Teacher) ผู้สอนหนังสือในคณะต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย และสถาบันอุดมศึกษา ให้แก่นิสิต-นักศึกษาที่เรียนในข้ัน ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาโทในวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั ใหจ้ บออกมาเปน็ บณั ฑติ ทพ่ี รอ้ มไปดว้ ยวทิ ยาการและจรยิ ธรรม - ทำ� หนา้ ท่สี อนตั้งแตห่ นึ่งวิชาข้ึนไปในมหาวทิ ยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบนั อุดมศกึ ษาอืน่ ๆ เตรยี มการสอน และบรรยายให้นสิ ติ -นกั ศึกษาฟัง - เตรยี มขอ้ สอบ ควบคมุ การสอบ และตรวจใหค้ ะแนนขอ้ สอบ ศกึ ษาและคน้ ควา้ ขอ้ มลู ใหม่ ๆ ทเี่ กยี่ วกบั วชิ า ท่ีสอน เพื่อการปรับปรุงการสอนให้ทนั สมยั ขึ้น - ควบคุมระเบียบวินัย และความประพฤติของนิสิต-นักศึกษาในสถาบันให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการ ศึกษา และหลกั เกณฑท์ แ่ี ตล่ ะมหาวทิ ยาลัยวางไว้ - ทำ� การวิจัยข้อมลู ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นเอกเทศ และท่เี กี่ยวกบั การสอน ให้คำ� แนะนำ� กับนิสิตนักศกึ ษาในการ เลือกวิชาเรียนเพ่ือจะได้มีความรู้ความช�ำนาญเฉพาะเร่ืองตามความถนัดของตนเอง อาจท�ำการวิจัย และทดลอง 191 เพื่อนำ� ขอ้ มลู มาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์สำ� หรบั การสอน อาจมหี น้าทเี่ ตรียมหวั ข้อหลักสตู รการศึกษา จัดตารางการสอน สอนทบทวนในช้ัน สอนภาคพิเศษ อาจมีหน้าที่ปฏิบัติงานด้านบริหาร อาจขอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงาน ภายนอกในเรอ่ื งเก่ียวกับการสอน การวจิ ยั การรวบรวมขา่ วสาร และการอำ� นวยความสะดวกต่าง ๆ สภาพการจา้ งงาน บุคคลท่มี คี ุณวฒุ ิปริญญาตรี หลกั สูตร 4 ปี อันดบั ครูผชู้ ว่ ย 15,050 บาท ปริญญาตรี หลกั สูตร 5 ปี อนั ดับครผู ชู้ ว่ ย 15,800 บาท ประกาศนยี บัตรบัณฑิตท่ีมหี ลกั สตู รการศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี ต่อจากวุฒปิ ริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี อันดับ ครูผู้ชว่ ย 15,800 บาท ปริญญาตรี หลกั สูตร 6 ปี อันดับครูผู้ช่วย 17,690 บาท ปรญิ ญาโททัว่ ไป อนั ดบั ครผู ู้ช่วย 17,690 บาท ปรญิ ญาโททม่ี หี ลกั สตู รกำ� หนดเวลาศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ปี ตอ่ จากวฒุ ปิ รญิ ญาตรที ม่ี หี ลกั สตู รกำ� หนดเวลาไม ่ นอ้ ยกว่า 5 ปี อันดบั ครูผชู้ ว่ ย 18,690 บาท ปรญิ ญาเอก อันดบั ครผู ชู้ ่วย 21,150 บาท แตห่ ากมปี ระสบการณใ์ นการท�ำงานในสายอาชพี แลว้ จะมรี ะดบั เงนิ เดอื นทเี่ พม่ิ สงู ขนึ้ ตามอายงุ าน และหาก มคี วามสามารถเฉพาะทางกจ็ ะมคี ่าวชิ าชพี เพ่ิมเข้ามาดว้ ย
2ท0ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ทำ� การสอนหนงั สอื และปฏิบตั งิ านในหน้าทว่ี นั ละ 8 ชั่วโมง อาจทำ� หนา้ ท่สี อนในหอ้ งเรียน ห้องปฏิบัติการ ทดลองทาง วิทยาศาสตร์ ห้องปฏบิ ัตกิ ารด้านภาษา หอ้ งศลิ ปศกึ ษา และห้องปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอรซ์ งึ่ สามารถนำ� เทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต มาใช้ประกอบเปน็ สือ่ การสอนได้ อาจมกี ารเรียนการสอนในห้องเรียน และนอก สถานทีข่ ึ้นอย่กู บั วชิ า บทเรียน และสถานการณก์ ารสอนขณะน้นั เชน่ วชิ าคณิตศาสตร์ สามารถน�ำนักเรียนมาเรียน นอกหอ้ งเรยี นได้ อาจมกี ารพานกั เรยี นไปทศั นศกึ ษานอกสถานที่ ทง้ั ในสถานทป่ี ระกอบการ ธรรมชาตศิ กึ ษา การเขา้ ค่ายฝกึ อบรมพฒั นาศักยภาพตา่ ง ๆ ในส่วนของครู/อาจารย์ และวทิ ยากรประจ�ำกล่มุ การศกึ ษาทางไกล คือผูท้ ่ีใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือจัดกระบวนการ เรียนรู้ (เริม่ ทดลองต้ังแต่ปี 2537) ไดเ้ นน้ การเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยการผสมผสานระหว่างส่ือการสอน ประเภทเอกสารชดุ การเรียนด้วยตนเอง สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ผา่ นดาวเทยี มไทยคม แลว้ ออกอากาศทางสถานีโทรทศั น์ เพอ่ื การศกึ ษาสเู่ ปา้ หมายกลมุ่ ผเู้ รยี น หรอื อาจทำ� การสอนทางสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งตามกำ� หนดเวลาของทางสถานี ครู/อาจารย์ และสถาบันการศึกษาจะได้รับการควบคุมดูแล และติดตามระบบการบริหารงานจากคณะ กรรมการบริหารสถาบันการศึกษา เพ่ือให้กระบวนการเรียนรู้ของชนในชาติหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นไป อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และบงั เกดิ ประสทิ ธผิ ลตามวัตถุประสงค์ทีก่ �ำหนดไว้ โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบันบทบาททางการศึกษาในประเทศไทยได้มีการปรับเปลี่ยน ให้สอดคล้องผสมผสานระหว่างความ กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยที างการศกึ ษาและวถิ ชี วี ติ ของชมุ ชน ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 คนไทย มีสิทธแิ ละโอกาสเสมอกัน ในการเขา้ รบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานไมน่ อ้ ยกว่า 12 ปี ท่รี ฐั ตอ้ งจดั ให้ทั่วถงึ อยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย รวมทง้ั ผู้พิการทางรา่ งกาย โดยมเี ป้าหมายในการพฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ บุคคลทีส่ มบรู ณ์ ท้ังทาง 192 รา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้ คณุ ธรรม และสามารถอยูร่ ว่ มกบั คนอนื่ ได้ และยงั เปิดโอกาสให้ประชาชนทกุ คนมี สว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา ทั้งบคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน สถาบันศาสนา องคก์ รเอกชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ เพื่อเป็นการพัฒนา ชุมชนใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา และความต้องการ โดยก�ำหนดให้แตล่ ะสถานศึกษามีคณะ กรรมการอย่างน้อยแห่งละ 7 คน ไม่เกนิ 50 คน ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนศิษย์เก่าและผู้ทรงคุณวุฒิ โดยร่วมกันด�ำเนินการก�ำหนดนโยบาย แผน พัฒนา และแผนปฏิบัติการของสถานศึกษา ดูแลการจัดท�ำสาระหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน ก�ำกับติดตาม การด�ำเนินงานของสถานศึกษา และมีส่วนร่วมในการบริหารการจัดการของสถานศึกษา และ ส่งเสริมให้มีการระดมทรัพยากร เพื่อการศึกษาตลอดจนวิทยากรภายนอก รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถ่ิน นับเป็นการ เปิดโอกาสที่ดีของวงการการศึกษาไทย ดังน้ัน ครู/อาจารย์ ในปัจจุบัน และในอนาคตสามารถท่ีจะท�ำงานด้าน วิชาชีพได้อย่างเต็มที่ ครูท่ีมีความรู้ ความสามารถจะเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานการศึกษามากข้ึน คณุ สมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาจากคณะครุศาสตรศ์ ึกษา หรือสาขาวชิ าที่เก่ียวขอ้ ง 2. มีอายุไม่ตำ�่ กว่า 18 ปี 3. เปน็ ผูม้ ีความรูค้ วามสามารถ และตระหนักในคณุ ค่าของวชิ าชีพครู 4. มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ และเนื้อหาวชิ าเฉพาะในแต่ละสาขา ให้ไดผ้ เู้ รยี นเกดิ ความเข้าใจ จนเกดิ การพัฒนาตนเองได้
ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 5. มคี วามเสยี สละ มหี ลกั การ สามารถใชเ้ หตผุ ลในการแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมขี นั้ ตอน เปน็ ระเบยี บชดั เจนและรดั กมุ กรมการ ัจดหางาน 6. มมี นุษยสัมพันธด์ ี Department of Employment 7. เปน็ ผู้รักงานการสอน มีความรกั และเมตตาต่อลกู ศิษย์ 8. เป็นผูม้ โี ลกทศั น์กวา้ งไกล 9 สุขภาพรา่ งกายแข็งแรงสมบูรณ์ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา สามารถสอบคดั เลอื กเขา้ ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ ในสาขาวชิ าเอก ศึกษาศาสตร-์ เกษตร และศกึ ษาศาสาตร์-พลศกึ ษา ศิลปศาสตรบัณฑติ ในสาขาวชิ าเอกศกึ ษาศาสตร-์ พลศกึ ษาและ ศกึ ษาศาสตร์-คหกรรมศาสตร์ ศกึ ษาศาสตรบัณฑิตในสาขาวชิ าเอกสุขศึกษา ธุรกจิ ศึกษา การสอนคณติ ศาสตรแ์ ละ การสอนวิทยาศาสตร์ หรือจากวิทยาลัยในกรมอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัย ในระบบราชการและนอกระบบราชการ สถาบนั ราชภัฏ 36 แห่ง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลท่ีไดข้ ยายตัวและจัดเพิม่ เตมิ ขึ้นในแต่ละภูมิภาค และภมู ลิ �ำเนา ของตนได้ เชน่ - ภาคเหนอื : มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลยั แมฟ่ ้าหลวง - ภาคอีสาน : มหาวทิ ยาลัยอบุ ลราชธานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี - ภาคตะวันออก : มหาวิทยาลัยบรู พา - ภาคใต้ : มหาวิทยาลัยทกั ษิณ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ มหาวทิ ยาลัยกลั ยาณี เปน็ ต้น นอกจากนี้ ผู้ท่ีส�ำเร็จการศึกษาในวิชาชีพอย่างอื่น เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรม กส็ ามารถเปน็ อาจารยใ์ นสถาบนั การศึกษา สอนวิชาการท่ตี นเรยี นสำ� เร็จ จนมคี วามชำ� นาญการได้ โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี 193 อาชีพครู ถือได้ว่าเป็นอาชีพท่ีมีเกียรติ ถ้ารับราชการและมีความสามารถ ตลอดจนมีการศึกษาอบรม เพิ่มเตมิ กจ็ ะได้เล่ือนต�ำแหนง่ เปน็ หวั หนา้ หมวด หวั หนา้ คณะ หัวหน้าภาควิชา สว่ นในระดบั ผู้บรหิ าร เชน่ คณบดี และอธิการบดี จะตอ้ งมีคุณวฒุ ิ วัยวฒุ ิตามทสี่ ภามหาวิทยาลยั กำ� หนดไว้ อาชีพท่ีเก่ียวเนื่อง นกั การเมอื งระดบั ทอ้ งถนิ่ นกั วจิ ยั วทิ ยากรงานอบรมและสมั มนา นกั อบรม นกั คดิ นกั เขยี นบทวเิ คราะหท์ างการ ศกึ ษา นกั เขยี นหนงั สอื ทางวชิ าการ นกั เขยี นนวนยิ ายสำ� หรบั บคุ คลทว่ั ไป หรอื เยาวชน นกั แนะแนวการศกึ ษา บรรณาธกิ าร ผสู้ อื่ ขา่ ว นกั หนงั สอื พมิ พ์ เจา้ หนา้ ทโ่ี สตทศั นปู กรณ์ เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยบคุ คล นกั แปล พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ และอาชพี อสิ ระ แหล่งขอ้ มูลอืน่ ๆ - กระทรวงศึกษาธกิ าร - กรมอาชีวศกึ ษา - กรมสามัญศึกษา - คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น - ทบวงมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย สถาบนั การศกึ ษา - แหล่งจดั หางานในหนังสือพิมพ์และเว็บไซต์
กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ครูสอนการแสดง Acting Coach นิยามอาชพี อาชีพครูสอนการแสดง ถูกพัฒนาขึ้นมาจากแค่การสอนการ แสดงใหน้ กั เรยี นการแสดง เพอ่ื เตรยี มการเปน็ นกั แสดงหรอื ดาราเทา่ นน้ั แต่ปัจจุบัน จากพื้นฐานและเทคนิคในการแสดงบางอย่าง สามารถน�ำ มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิผลได้ในงานหลาย ๆ อาชีพ เพราะใน ความเปน็ จรงิ ทกุ ๆ อาชีพ ต้องใชก้ ารส่ือสาร การเรยี นการแสดงจึงมี จดุ ประสงคเ์ พอ่ื การท�ำงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ บางประเทศไดบ้ รรจุ วิชาการแสดงเขา้ ไวใ้ นหลกั สูตรการเรียนการสอนดว้ ย ลักษณะของงานท่ที �ำ 1. สว่ นมากเลยจะเปน็ นกั แสดงทมี่ าเรยี นเพอื่ ประกอบอาชพี นกั แสดง มที งั้ นกั แสดงหนา้ ใหมท่ ตี่ อ้ งการฝกึ ใน เรอื่ งพน้ื ฐานการแสดงกอ่ นกา้ วเขา้ เปน็ นกั แสดงมอื อาชพี หรอื นกั แสดงอาชพี แลว้ ทม่ี ปี ญั หาเกยี่ วกบั เรอื่ งบท ตอ้ งการ สร้างความเขา้ ใจ และเข้าถึงตวั ละครใหม้ ากยิ่งขน้ึ และต้องการสร้างคาแรคเตอร์ใหเ้ หมาะกบั บทท่ไี ด้รับมา 194 2. นกั เรยี น นกั ศกึ ษา บคุ คลธรรมดาทวั่ ไป มาเรยี นเพอ่ื หาความรเู้ พมิ่ เตมิ เพอ่ื ความสนกุ สนาน เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ถงึ บุคลิกของตัวเองมากข้ึน เพ่ือเสริมสร้างบุคลกิ ภาพ หรือเพอื่ การเปน็ นักแสดงในอนาคต 3. นักรอ้ ง นักดนตรี เรียนเพ่อื การแสดงท่ดี ยี ่งิ ขนึ้ บนเวที เพ่ือให้คนดูเข้าใจในการแสดงทีน่ กั แสดงตอ้ งการ จะสื่อถึง และเกิดอารมณ์คลอ้ ยตาม เกดิ ความประทับใจในการแสดงนนั้ ๆ 4. ในปจั จบุ นั นี้ มหี ลกั สตู รใหม่ สำ� หรบั ผบู้ รหิ าร เซลล์ หรอื อาชพี ทตี่ อ้ งอาศยั บคุ ลกิ ภาพและการสอ่ื สารเปน็ หลกั จะมกี ารเรยี น Acting for Communication เพอ่ื ทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สารในการทำ� งานโดยเฉพาะ เพอื่ ใหผ้ สู้ อ่ื สารไดร้ จู้ กั ตวั เอง ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจตวั เองและสามารถถา่ ยทอดการสอ่ื สารของตวั เองไดช้ ดั เจน ตรงเปา้ หมายทต่ี อ้ งการในการทำ� งานยงิ่ ขนึ้ สภาพการจา้ งงาน คา่ ตอบแทนจะคดิ เปน็ ชวั่ โมง ซงึ่ ขน้ึ อยกู่ บั ความเชอื่ ถอื จากลกู คา้ และความมชี อื่ เสยี งของครแู ตล่ ะทา่ น อยทู่ ่ี ขอ้ ตกลงวา่ ในการสอนคดิ ชวั่ โมงละเทา่ ไร อาจมกี ารออกไปนอกสถานทคี่ ดิ ชวั่ โมงละเทา่ ไร ถา้ มชี อื่ เสยี งมาก คา่ ตอบแทนจะ สงู หนอ่ ย และอาจจะมกี ารตกลงรว่ มงานกนั ในอกี หลาย ๆ ครงั้ กจ็ ะไดเ้ งนิ เดอื นเฉลยี่ ตอ่ เดอื นเยอะมาก แตถ่ า้ เปน็ อาจารย์ มหาวทิ ยาลยั กอ็ าจจะไดเ้ ปน็ เงนิ เดอื นประจำ� ซงึ่ รวม ๆ แลว้ เงนิ เดอื นขนั้ ตำ�่ จะอยทู่ ี่ 20,000 บาท เปน็ อยา่ งนอ้ ย สภาพการทำ� งาน อาชพี ครสู อนการแสดงคอื อาชพี อสิ ระ (Freelance) ไมม่ เี วลาทำ� งานทตี่ ายตวั แนน่ อน จะเขา้ ทำ� งานเมอ่ื มสี อน ซึ่งจะข้ึนอยู่กับโรงเรียนหรือสถานท่ีท�ำงานว่ามีตารางเรียนวันไหน เวลาใดบ้าง แต่เวลาส่วนมากที่ต้องท�ำงานคือวัน
ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 เสารอ์ าทติ ย์ เพราะนกั เรยี นสว่ นใหญจ่ ะเลอื กเรยี นในวนั หยดุ หรอื ในวนั ธรรมดาชว่ งเยน็ หลงั เลกิ งาน คนกจ็ ะเยอะเปน็ กรมการ ัจดหางาน พเิ ศษ นอกเหนอื จากคนทว่ั ไปแลว้ กจ็ ะมกี ารสอนพเิ ศษสำ� หรบั นกั แสดงเรยี นเพอื่ ไปประกอบอาชพี เลน่ หนงั เลน่ ละคร Department of Employment ส่วนมากจะเรยี นในวนั ธรรมดา ขนึ้ อยกู่ ับควิ วา่ งของนกั แสดง คอรส์ ของการเปดิ สอนแต่ละโรงเรียนส่วนมากจะมีเป็น กลมุ่ เพราะการเรยี นการแสดงเปน็ กจิ กรรมกลมุ่ ตอ้ งมเี พอื่ นรว่ มเลน่ ในการแสดงมกี ารสง่ ตอ่ อารมณ์ มปี ฏสิ มั พนั ธต์ า่ ง ๆ การเรยี นตวั ตอ่ ตวั กม็ ี แตจ่ ะเหมาะกบั คนทมี่ ปี ญั หาเฉพาะตวั เมอ่ื ไดร้ บั บทมาตอ้ งการตคี วามคาแรคเตอรแ์ ตถ่ า้ เราจะ เรียนพนื้ ฐานเฉย ๆ เรยี นคนเดียวจะไม่สนุกเทา่ กับเรยี นเป็นกลมุ่ ซ่งึ โรงเรยี นจะแบง่ นักเรียนออกเป็น 4 คลาส กอ่ น เรยี นมกี ารออดิช่ันเพอื่ ดพู ื้นฐานของนกั เรยี น บางคนไมม่ พี ้ืนฐานเลย และยังไมก่ ลา้ แสดงออก ทักษะการใช้เสยี งใน การแสดงยังไม่ดี ก็ต้องเริ่มต้ังแต่คลาสท่ีหนึ่ง แต่บางคนมีนิสัยเป็นคนกล้าแสดงออกอยู่แล้ว เป็นคนมั่นใจในตัวเอง มีบุคลกิ ทม่ี คี วามต้องการที่จะแสดงออก กส็ ามารถเลอื่ นขั้นไปอยู่ในระดับคลาสท่ีเหมาะสมได้ ทีจ่ ริงโรงเรยี นสอนการแสดงในประเทศไทยมีหลายท่ี ซง่ึ ไม่มรี ูปแบบตายตวั แนน่ อน บางที่อาจจะอยใู่ นหา้ ง ทบ่ี า้ น หรอื สร้างเป็นโรงเรียนเลย ขึน้ อยกู่ ับจำ� นวนนกั เรยี นทโ่ี รงเรยี นเปดิ สอน ปกตถิ า้ เป็นหอ้ งใหญจ่ ะจุไดป้ ระมาณ 20 คน เล็กลงมาก็ 10 คน และจะมหี อ้ งเล็กทีส่ ดุ ส�ำหรบั เรียนคนเดียวด้วย ซ่งึ การเรยี นคนเดยี วสามารถเรียนทไ่ี หน ก็ได้ ไม่ได้มีการแบ่งเป็นสัดส่วนตายตัว บางท่ีอาจจะให้เรียนรู้อยู่กับธรรมชาติ แต่ต้องมีพื้นท่ีเรียบสามารถเกลือก กลิ้งได้ แต่ลักษณะห้องท่ีเหมาะสมที่สุดคือห้องโล่งกว้างท่ีสามารถใช้ร่างกายในการเคล่ือนไหวได้ ห้องเรียนจะเป็น ห้องเกบ็ เสยี ง ซงึ่ จะไมม่ ีเสยี งรบกวนจากภายนอก มบี างกิจกรรมทตี่ อ้ งใช้จนิ ตนาการและตอ้ งการสมาธิ จึงตอ้ งการ ความเงียบ กระจกเงาจรงิ ๆ ไมจ่ �ำเปน็ ต้องมีกไ็ ด้ ในกรณที ี่มีกเ็ พอ่ื การเรียนทต่ี อ้ งใช้รา่ งกาย โอกาสในการมงี านทำ� คดิ วา่ ในอนาคตผคู้ นนา่ จะสนใจเรยี นวชิ าการแสดงกนั มากขนึ้ เพราะสงั คมไมไ่ ดม้ องวา่ นกั แสดงเปน็ อาชพี เตน้ กนิ รำ� กนิ อกี ตอ่ ไป แตเ่ ปน็ อาชพี ทม่ี ที ง้ั ชอื่ เสยี ง เงนิ ทอง ฯลฯ เชอื่ วา่ ทศั นคตทิ เี่ ปลยี่ นไปนจ้ี ะทำ� ใหม้ โี รงเรยี นสอนการแสดงเปดิ เพม่ิ มากขน้ึ 195 คุณสมบตั ิของผู้ประกอบอาชพี 1. ควรจะมบี คุ ลกิ ภาพพน้ื ฐานทที่ กุ อาชพี ควรจะมี เชน่ การตรงตอ่ เวลา การมสี มั มาคารวะ ออ่ นนอ้ มถอ่ มตน เพราะเราต้องทำ� งานกบั คนส่งิ เหล่าคอื ส่งิ ทีส่ ำ� คญั 2. เป็นคนท่ีรักการแสดง สามารถถ่ายทอดได้ สื่อสารกับคนหมู่มากได้ ท�ำให้เขาเข้าใจในส่ิงที่เราต้องการ จะบอก ต้องช่างสงั เกตพฤติกรรมของมนษุ ย์ พัฒนาการของเขา โดยท่ีเราจะรู้ได้ก็ต่อเม่ือเรามีประสบการณ์มาก พอ เรามีวิธีการที่จะหาประสบการณ์ได้ง่ายที่สุดก็คือการรับส่ือเยอะ ๆ เช่น การดูหนัง ดูละครเวที อ่านหนังสือ ดูซีรี่ย์ จะช่วยให้เราเข้าใจวิถีของมนุษย์มากข้ึน แล้วน�ำมาปรับใช้กับการเรียนการสอน เวลาให้นักเรียนท�ำแล้ว เขาไม่รู้ว่าจะเทียบกับอะไร เราก็จะมีข้อมูลท่ีจะท�ำให้เขาเข้าใจและมองภาพออก 3. นอกจากนั้นยังเป็นคนท่ีชอบท�ำอะไรแปลกใหม่ เพื่อจะได้เห็นโลกที่กว้างขึ้น สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา - คณะนเิ ทศศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย โทรศพั ท์ 0-2218-2205 อเี มล [email protected] - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เนชน่ั 444 ถนนวชริ าวธุ ดำ� เนนิ ตำ� บลพระบาท อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ลำ� ปาง 52000 โทรศัพท์ 0-5426-5170 ต่อ 112, 135, 209 - ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50ถนนงามวงศว์ านเขตจตจุ กั รกรงุ เทพฯโทรศพั ท์0-2579-5566-8โทรสาร0-2561-3485เวบ็ ไซต์www.human.ku.ac.th
ท20่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา โทรศพั ท์ 0-3810-2222 Department of Employment ตอ่ 2336 เวบ็ ไซต์ http://www.huso.buu.ac.th/default.asp - ภาควชิ านเิ ทศศาสตร์ คณะวทิ ยาการสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ตำ� บลขามเรยี ง อำ� เภอกนั ทรลกั ษณ์ จงั หวัดมหาสารคาม โทรศพั ท์ 0-4375-4359 โทรสาร 0-4375-4359 อีเมล [email protected] - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ส�ำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 111 ถนนมหาวทิ ยาลยั ตำ� บลสรุ นารี อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า 30000 โทรศพั ท์ 0-4422-4273 โทรสาร 0-4422- 4790,4548 อเี มล [email protected] - สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 63 หมู่ 4 ต�ำบลหนองหาร อำ� เภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โทรศัพท์ 0-5387-3700-07 โทรสาร 0-5387-3708 - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยนำ�้ ไท ท่อี ยู่ เลขท่ี 119 ถนนพระราม 4 คลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศพั ท์ 0-2350 -3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อเี มล [email protected] มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ (Bangkok University) รับสมัครนกั ศกึ ษา 0-2249-5132-6 (สายตรง) 02-350-3500 ตอ่ 1582-1588,1609-1610 - วทิ ยาเขตรงั สติ เลขที่ 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลคลองหนง่ึ อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 0-2902-0250-99 โทรสาร 0-2516-8553 อเี มล [email protected] มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ (Bangkok University) รับสมคั รนักศกึ ษา 0-2902-0299 ต่อ 2411-2417 - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกรกิ ถนนรามอนิ ทรา แขวงอนสุ าวรยี ์ เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร 10220 โทรศพั ท์ 0-2552-3500 - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษมบัณฑติ อาคารเกษมนครา ชนั้ 11 วิทยาเขตร่มเกลา้ 77 หม่ทู ่ี 7 ถนนรม่ เกลา้ แขวงมนี บรุ ี เขตมนี บรุ ี กรงุ เทพฯ 10510 โทรศพั ท์ 0-2904-2222 ตอ่ 2232 อเี มล [email protected] - คณะการสอ่ื สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 239 ถนนหว้ ยแกว้ ตำ� บลสเุ ทพ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ 196 50200 โทรศพั ท์ 0-5394-2703 โทรสาร 0-5394-2704 อีเมล [email protected] - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เซนตจ์ อห์น ถนนวภิ าวดีรงั สติ แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศพั ท์ 0-2938-7058 เวบ็ ไซต์ www.stjohn.ac.th/sju/index.asp - คณะวารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สิต 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-6215 โทรสาร 0-2696-6218 อเี มล [email protected], [email protected] - คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200 โทรศัพท์ 0-2221-0830 โทรสาร 0-2221-1470 - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 110/1-4 ถนนประชาชื่น แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2954-7300 ต่อ 300 อเี มล [email protected] - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยปทมุ ธานี อ�ำเภอเมอื งปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี โทรศพั ท์ 0-2975-6946 เว็บไซต์ www.ptu.ac.th - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสติ อาคาร 15 (Digital Multimedia Complex) 52/347 พหลโยธิน 87 ถนนพหลโยธนิ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดปทมุ ธานี 12000 โทรศัพท์ 08-3856-0068 เว็บไซต์ http://ca.rsu.ac.th - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรัตนบณั ฑติ 306 ซอยลาดพร้าว 107 คลองจนั่ เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ 10240 โทรศพั ท์ 0-2375-4480-6 โทรสาร 0-2375-4489 - คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลยั รามคำ� แหง โทรศพั ท์ 0-2310-8980, 08-1562-7411
ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษช์ วลิตกุล 84 หมู่ 4 ตำ� บลบ้านเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวดั นครราชสมี า กรมการ ัจดหางาน 30000 โทรศพั ท์ 0-4420-3778 เว็บไซต์ www.vu.ac.th Department of Employment - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม 2410/2 ถนนพหลโยธิน เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2579-1111 ต่อ 2335 โทรสาร 0-2579-1111 ต่อ 2336 อเี มล [email protected] - คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี เลขท่ี 1 หมู่ท่ี 3 ถนนชะอ�ำ-ปราณบุรี ต�ำบลสามพระยา อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท์ 0-3259-4033 โทรสาร 0-3259-4033 เว็บไซต์ http://www.pitc.su.ac.th - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม38ถนนเพชรเกษมเขตภาษเี จรญิ กรงุ เทพฯ10163โทรศพั ท์0-2867-8088, 0-2457-0068, 0-2868-6000 โทรสาร 0-2457-3982, 0-2467-3174 อเี มล [email protected] - สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช อาคารวชิ าการ 3 ชน้ั 5 ถนนแจง้ วฒั นะ ตำ� บลบางพดู อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0-2504-8351-3 โทรสาร 0-2503-3579 - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรงั สติ เขตดนิ แดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-697-6000 ศูนย์รับสมัคร โทรศัพท์ 0-2697-6766, 0-2697-6767 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ www.facebook.com/utccsmart - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ 18/18 ถนนบางนา-ตราด อำ� เภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ 0-2312-6300 เวบ็ ไซต์ www.hcu.ac.th/ -คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ 125/502 พลพชิ ยั ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110 โทรศพั ท์ 0-7442-5467 เวบ็ ไซต์ www.hu.ac.th/ - คณะศิลปศาสตร์ สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต�ำบลเมืองศรีไค อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี 34190 โทรศพั ท์ 0-4535-3700 โทรสาร 0-4528-8870 197 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี หน้าที่หลัก ๆ ของอาชีพครูสอนการแสดง คือ ท�ำอย่างไรให้การเรียนการแสดงมีความน่าสนใจมากย่ิงขึ้น นอกจากนี้ การแสดงยังสามารถน�ำไปท�ำอะไรได้มากมาย อาทิ การแสดงสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับอาชีพท่ีต้อง พบเจอกบั สังคมบ่อย ๆ อย่างพิธีกร นกั รอ้ ง เปน็ ตน้ เพราะในความเปน็ จรงิ ทกุ อาชพี ต้องใชก้ ารสื่อสาร เรยี นการ แสดงเพ่ือแสดงออกทางการสื่อสารได้ดียิ่งข้ึน ในต่างประเทศ มีวิชาการแสดงในเบื้องต้นทุกโรงเรียน เพราะทุกคน ตอ้ งใช้การสือ่ สารไม่วา่ จะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม อาชพี ท่ีเกีย่ วเนอื่ ง การแสดงภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ มิวสคิ วิดโี อ โฆษณา งานอเี วนท์ ละครเวที ละครผา่ นสอื่ อนิ เทอรเ์ น็ต และละครเพลง นกั แสดงละครเพลง นกั เต้น นกั การออกแบบทา่ เต้น ครูสอนการแสดง นักธรุ กจิ การแสดง แหล่งขอ้ มลู อื่น ๆ - โรงเรยี นสอนการแสดง
กรมการ ัจดหางาน ท20่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักเคมี Chemist นิยามอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานอาชีพในหน่วยน้ี ได้แก่ ผู้ท�ำงานเกี่ยวกับการวจิ ยั ปรบั ปรงุ หรอื พฒั นา แนวความคิด ทฤษฎี และวิธีปฏิบัติงานท่ี เกี่ยวข้องกับแขนงวิชาเคมี ท�ำการทดลอง ทดสอบ วเิ คราะหเ์ พอ่ื คน้ หาองคป์ ระกอบทาง เคมี พลงั งาน และการเปลย่ี นแปลงทางเคมขี อง สสาร วสั ดแุ ละผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ ทางธรรมชาติ หรือทป่ี ระดษิ ฐ์หรือสงั เคราะหข์ ึ้น ประเมนิ ผล การศกึ ษา คน้ ควา้ การทดลอง เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ พฒั นาปรบั ปรงุ กระบวนการและผลติ ภณั ฑท์ าง เภสชั กรรม วสั ดแุ ละผลติ ภณั ฑท์ างอตุ สาหกรรม รวมทั้งขั้นตอนการควบคุมคุณภาพ จัดเตรียม 198 เอกสารและรายงานทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนปฏบิ ตั หิ น้าที่การงานท่ีเกย่ี วข้องและควบคมุ ดแู ลผู้ปฏบิ ตั ิงานอื่นๆ ลกั ษณะของงานท่ที ำ� 1. ทำ� งานวิจัย พฒั นา ทดสอบ ทดลอง และวิเคราะหเ์ ชิงปฏิบตั ิการเกี่ยวกับสว่ นประกอบ คุณสมบตั ิ และ การเปลี่ยนแปลงอันอาจจะเกดิ ขึ้นได้ของสารเคมี 2. ศึกษา คน้ คว้าคุณสมบตั ิขน้ั มูลฐานของโครงสรา้ งเซลล์ โครงสรา้ งโมเลกลุ โครงสร้างอะตอมของสาร และ การแปรรปู ของสารทอ่ี าจเกดิ ข้ึนได้ 3. นำ� กฎเกณฑ์ หลักการ และวิธกี ารซึ่งเปน็ ท่รี จู้ กั เป็นอยา่ งดแี ล้วมาใช้ในการคน้ หา และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทางเคมชี นดิ ใหม่ หรือเพอื่ ค้นคว้าหาคณุ ประโยชนใ์ หม่ ๆ จากผลติ ภัณฑท์ ่มี ีอยเู่ ดมิ ให้มปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขึน้ ตลอด จนการคน้ หาวธิ ีการผลิตใหม่ ๆ 4. น�ำมาใช้ในการแก้ปัญหาให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนในทางอุตสาหกรรม เช่น การควบคุมคุณภาพ การวเิ คราะห์วัตถุดบิ และผลติ ภัณฑ์สำ� เร็จรูป 5. ควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ทท่ี ที่ ำ� งานเกยี่ วกบั การคน้ ควา้ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ท�ำงานในกระบวนการทางอตุ สาหกรรมทเี่ ก่ยี วกับสารเคมี 6. ปฏิบตั ิงานทางดา้ นเคมีในห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ของโรงงาน หรอื หนว่ ยงานอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคมี เชน่ ในดา้ นการควบคุมผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมใหไ้ ด้มาตรฐาน 7. ปฏบิ ตั งิ านทางอตุ สาหกรรมเคมี ในด้านการผลิตและวเิ คราะหว์ ตั ถุดบิ
ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา นักเคมีที่ส�ำเร็จการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรซี งึ่ ไมม่ ปี ระสบการณใ์ นการทำ� งานจะไดร้ บั เงนิ เดอื นตามอตั รา ทำ� งานสปั ดาหล์ ะ 40 ชวั่ โมง แตอ่ าจ จะตอ้ งท�ำงานวันเสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยุด หรือทำ� งานลว่ งเวลา ในกรณีท่ีตอ้ งการให้งานทไ่ี ด้รับมอบหมายเสร็จ ใหท้ นั ต่อการใช้งาน นอกจากผลตอบแทนในรปู เงนิ เดอื นแล้ว ในภาครัฐจะได้รับสวสั ดิการตามระเบียบของทางราชการ ส่วนใน ภาครฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชนอาจไดร้ บั สทิ ธพิ เิ ศษอยา่ งอนื่ เชน่ คา่ รกั ษาพยาบาล เงนิ สะสม เงนิ ชว่ ยเหลอื สวสั ดกิ าร ในรปู ต่าง ๆ เงินโบนัส เปน็ ต้น สภาพการทำ� งาน นกั เคมสี ว่ นใหญต่ อ้ งท�ำงานในหอ้ งทดลอง เพอ่ื ท�ำการทดสอบ และทดลองทางเคมี รวมถงึ สงิ่ ทเี่ กย่ี วขอ้ งตาม งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายหรอื สตู รทกี่ ำ� หนด เตรยี มหรอื ควบคมุ การผลติ ผลติ ภณั ฑท์ างเคมตี ามสตู รทร่ี บั รอง แลว้ ทำ� การ ทดสอบผลติ ภัณฑท์ างเคมี ตอ้ งอย่กู บั สารเคมีทตี่ ้องใชใ้ นการทดสอบ ซ่ึงสารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทดลองอาจจะทำ� ปฏกิ ริ ยิ าทที่ ำ� ใหเ้ กดิ อนั ตรายได้ ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งรจู้ กั ศกึ ษาวธิ ใี ชแ้ ละวธิ ปี อ้ งกนั รวมทง้ั ปฏบิ ตั งิ านตามขนั้ ตอนตามระเบยี บ ทก่ี ำ� หนดไว้ ตอ้ งทำ� งานในบรเิ วณทก่ี ำ� หนด บรเิ วณหา้ มสบู บหุ ร่ี หรอื รบั ประทานอาหาร ตอ้ งสวมอปุ กรณป์ อ้ งกนั เชน่ ถุงมือ หน้ากาก เป็นต้น โอกาสในการมีงานทำ� การเกษตร และ แนวโน้มในตลาดแรงงานปัจจุบัน ยังมีความต้องการนักเคมีมากท้ังในวงการแพทย์ อตุ สาหกรรม เนอื่ งจากผสู้ �ำเร็จการศกึ ษาทางดา้ นน้ีมีจำ� นวนจำ� กัด 199 นักเคมียังมีโอกาสได้รับราชการเป็นนักวิทยาศาสตร์ ท�ำงานในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ของหน่วย งานราชการ หรอื ท�ำงานในภาคเอกชน ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเคมี เช่น เครอ่ื งส�ำอาง ปุ๋ยเคมี ผลติ ภณั ฑ์ สี ผลติ เครอื่ งดื่ม เป็นต้น คณุ สมบัติของผ้ปู ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเรจ็ การศกึ ษาขน้ั ต่ำ� ระดบั ปรญิ ญาตรี จากคณะวทิ ยาศาสตร์ สาขาวชิ าเคมี หรือสาขาวชิ าทีเ่ กยี่ วข้อง 2. ต้องมีความสนใจในวิชาวิทยาศาสตร์ เคมี ชีววทิ ยา ชอบการค้นคว้าทดลอง การใช้ความสามารถในการ วิเคราะห์ 3. มคี วามคดิ สร้างสรรค์ 4. มีความรับผิดชอบต่อหนา้ ทที่ ี่ได้รบั มอบหมาย 5. มคี วามแมน่ ยำ� ใจเยน็ และละเอียดรอบคอบ 6. เป็นคนช่างสังเกต คดิ อะไรเปน็ ระบบ และสามารถรายงานผลการคน้ ควา้ ออกมาได้ง่าย และชัดเจน 7. มคี วามเชอ่ื มนั่ ในตนเอง กล้าตดั สินใจ และสามารถแก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ ได้ด้วยไหวพริบทรี่ วดเรว็ 8. มีเหตผุ ล และสามารถแสดงความคิดเหน็ ไดอ้ ย่างชัดเจน น่าเชือ่ ถอื 9. มีความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์เป็นอย่างดี 10. มรี า่ งกายแข็งแรง อดทน สามารถปฏิบตั งิ านอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพได้
ท20่ีต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา Department of Employment - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , อาคารมหามกฎุ ชนั้ 11 กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2218-7596-7 โทรสาร 0-2218-7598 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ http://chemistry3. chemistry.sc.chula.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสคร์ ภาควชิ าเคมี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 ถนนสขุ ุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวฒั นา กรุงเทพฯ 10110 เวบ็ ไซต์ cms.swu.ac.th/chem/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 272 ถนนพระราม 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท์ 0-2201-5110-2 โทรสาร 0-2354-7151 เว็บไซต์ http://chemistry.sc.mahidol. ac.th/th/ - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ต�ำบลท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-3402 โทรสาร 0-5596-3401 เวบ็ ไซต์ http://www.sci.nu.ac.th/chemistry/ -คณะวิทยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนหว้ ยแก้ว ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม่ 50200 โทรศพั ท์ 0-5394-3341-5 โทรสาร 0-5389-02277 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ http://www.chem.science.cmu.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบงั กรุงเทพฯ 10520 โทรศพั ท์ 0-2329-8400-8411 ตอ่ 290, 0-2329-8000-8099 ตอ่ 6234, 6235 โทรสาร 0-2329-8415 เว็บไซต์ http://www.science.kmitl.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ต�ำบลในเมอื ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ 40002 โทรศัพท์ 0-4300-9700 ตอ่ 12371 โทรศพั ท์ 0-4320-2373 เว็บไซต์ http://chemsci.kku.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลคลองหน่ึง 200 อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 0-2564-4440-59 ต่อ 2401 โทรสาร 0-2564-4483 เว็บไซต์ http://www.chem.sci.tu.ac.th/dokuwiki/ - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต�ำบลขามเรียง อ�ำเภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม 44150 โทรศพั ท์ / โทรสาร 0-4375-4322 ตอ่ 1124 เว็บไซต์ https://chemistry.msu.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั บรู พา จงั หวดั ชลบรุ ี 20130 โทรศพั ท์ 0-3810-3112 โทรสาร 0-3839-3494 เวบ็ ไซต์ http://chemistry.buu.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ สาขาวิชาเคมี มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ 63 หมู่ 4 ต�ำบลหนองหาร อ�ำเภอสนั ทราย จังหวดั เชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-3530-1 โทรสาร 0-5387-3548 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ http:// www.science.mju.ac.th/chemistry/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 15 ถนนกาญจนวณิชย์ อำ� เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์ 0-7428-8022 โทรสาร 0-7455-8844 อเี มล [email protected] - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี 126 ถนนประชาอุทิศ แขวง บางมด เขตทงุ่ ครุ กรงุ เทพฯ 10140 โทรศพั ท์ 0-2470-8840, 0-2470-8843 โทรสาร 0-2470-8843 อเี มล chmsci@ kmutt.ac.th เวบ็ ไซต์ http://science.kmutt.ac.th/chm/index.php/th/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10903 โทรศพั ท์ 0-2562-5555 ต่อ 2114-2116, 2106 โทรสาร 0-2579-3955, 0-2579-0658 เวบ็ ไซต์ hem.sci.ku.ac. th/chemie/index.php/th/
ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ถนนสถลมาร์ค ต�ำบลเมืองศรีไค อ�ำเภอวารินช�ำราบ กรมการ ัจดหางาน จังหวัดอุบลราชธานี 34190 โทรศพั ท์ 0-4535-3401-4, 08-1876-1914, โทรสาร 0-4535-3422 เวบ็ ไซต์ http:// Department of Employment chem.sci.ubu.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร 680 หมู่ 11 ถนนนติ โย ตำ� บล ธาตเชงิ ชุม อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดสกลนคร 47000 โทรศัพท์ 0-4297-0021 ตอ่ 714 (อาคาร 9) และ 202 (อาคาร 6), 0-4297-0030 โทรศพั ท์ (ภายใน) 714 (อาคาร 9) และ 202 (อาคาร 6) โทรสาร 0-4297-0029 อีเมล Chemsci@ snru.ac.th เวบ็ ไซต์ http://chemistry.sci.snru.ac.th - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบงั กรุงเทพฯ 10520 โทรศัพท์ 0-2329-8400-8411 ต่อ 290, 0-2329-8000-8099 ตอ่ 6234, 6235 โทรสาร 0-2329-8415 เว็บไซต์ http://www.science.kmitl.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ 40002 โทรศัพท์ 0-4300-9700 ตอ่ 12371 โทรศพั ท์ 0-4320-2373 เว็บไซต์ http://chemsci.kku.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลคลองหนง่ึ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0-2564-4440-59 ต่อ 2401 โทรสาร 0-2564-4483 เวบ็ ไซต์ http://www.chem.sci.tu.ac.th/dokuwiki/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั บรู พา จงั หวดั ชลบรุ ี 20130 โทรศพั ท์ 0-3810-3112 โทรสาร 0-3839-3494 เวบ็ ไซต์ http://chemistry.buu.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 15 ถนนกาญจนวณชิ ย์ อำ� เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110 โทรศพั ท์ 0-7428-8022 โทรสาร 0-7455-8844 อีเมล [email protected] - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี 126 ถนนประชาอทุ ศิ แขวงบางมด เขตทงุ่ ครุ กรงุ เทพฯ 10140 โทรศพั ท์ 0-2470-8840, 0-2470-8843 โทรสาร 0-2470-8843 อเี มล [email protected] 201 เว็บไซต์ http://science.kmutt.ac.th/chm/index.php/th/ - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควชิ าเคมี มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10903 โทรศัพท์ 0-2562-5555 ต่อ 2114-2116, 2106 โทรสาร 0-2579-3955, 0-2579-0658 เว็บไซต์ hem.sci.ku.ac. th/chemie/index.php/th/ - คณะ หรือสาขาวิชาอ่นื ๆ ที่เกีย่ วข้อง โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี ปฏิบัติหน้าที่เป็นข้าราชการในหน่วยงานปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ท่ัวไป หรือในสถาบันวิจัยทาง วิทยาศาสตร์ ได้รับต�ำแหน่งและปรับเลื่อนตามข้ันตอนของระบบราชการ การศึกษาต่อเพิ่มเติมจะช่วยให้ได้ รับการปรับเล่ือนต�ำแหน่งได้รวดเร็ว และสามารถเป็นถึงผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานได้ ส่วนในภาคเอกชน นั้นข้ึนอยู่กับโครงสร้างการบริหารงานขององค์กร ซึ่งสามารถเป็นผู้จัดการโรงงาน ผู้จัดการด้านคุณภาพ หรือ ผู้จัดการฝ่ายขาย นักเคมสี ามารถประกอบธรุ กิจสว่ นตวั คือ เป็นเจ้าของรา้ นขายเคมีภณั ฑ์ สำ� หรบั ผ้ทู ีส่ ามารถผลติ ผลติ ภณั ฑ์ เคมีหรือผลิตภัณฑ์อ่ืนโดยผ่านการทดสอบ และได้รับอนุญาตจากหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง สามารถจดลิขสิทธ์ิการ เป็นเจ้าของสูตรในผลิตภัณฑ์น้ัน และผลิตเป็นสินค้าออกจ�ำหน่ายในลักษณะอุตสาหกรรมได้ เช่น เคร่ืองส�ำอาง ปุ๋ยเคมี เป็นตน้
กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชีพทเ่ี กย่ี วเนือ่ ง นักเคมี (ชีววิทยา) หรอื นักชีวเคมี นักเคมี (อินทรยี ์เคม)ี นกั เคมี (อนินทรยี เ์ คมี) นกั เคมี (ฟสิ กิ ส์) เภสชั กร นักเทคนคิ การแพทย์ แหล่งข้อมลู อื่น ๆ - สถาบันอุดมศกึ ษาในสงั กัด สกอ. 202
ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักชวี วทิ ยา Biologist นยิ ามอาชีพ ศกึ ษาและปฏบิ ตั งิ านทางวทิ ยาศาสตรข์ องสงิ่ มชี วี ติ หรอื จากของจรงิ ตามธรรมชาติ เกย่ี วกบั การกำ� เนดิ พฒั นาการโครงสรา้ งสรรี วทิ ยาการกระจายกรรมพนั ธ์ุสงิ่ แวดลอ้ มความสมั พนั ธ์ ภายในระหวา่ งกนั การจดั ประเภทและรปู การมลู ฐานของชวี ติ พชื และสตั ว์ และนำ� สง่ิ ทค่ี น้ พบ มาใช้ แกป้ ญั หาดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ การเกษตร อาหารและปญั หาอนื่ ๆ ซง่ึ มผี ลกระทบ ตอ่ สงิ่ มชี วี ติ ; วางแผนการทดลอง; ศกึ ษาทอี่ ยอู่ าศยั ตามธรรมชาตขิ องพชื และสตั ว์ หรอื เก็บรวบรวมตัวอย่างต่างๆ; ให้ชื่อ จัดประเภท และเก็บรักษาตัวอย่างไม่ให้เสียหาย; เตรยี มตวั อยา่ งทเ่ี กบ็ รวบรวมไดม้ า ใหช้ อ่ื และศกึ ษาถงึ พฒั นาการของโรคตา่ งๆ และศกึ ษา เพื่อใชใ้ นวัตถปุ ระสงคอ์ ่นื ๆ; ทำ� การวเิ คราะหเ์ ชิงสถิตใิ นขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการทดลองและ ทำ� รายงานผลการวเิ คราะห์ อาจทำ� การทดลองเกย่ี วกบั พชื และสตั วข์ องตนเอง อาจนำ� ผลทไ่ี ดจ้ ากการทดลองมาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นเชงิ เศรษฐกจิ แกช่ วี ติ มนษุ ย์ ลักษณะของงานทที่ ำ� 203 1. ศกึ ษาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื จากของจรงิ ตามธรรมชาตเิ กย่ี วกบั ตน้ กำ� เนดิ พฒั นาการ โครงสรา้ ง และสรรี วทิ ยา การกระจายพนั ธ์ุ สง่ิ แวดลอ้ ม ความสมั พนั ธภ์ ายในระหวา่ งกนั การจดั ประเภท รปู แบบการมลู ฐานของชวี ติ พชื และสตั ว์ และนำ� สงิ่ ทคี่ น้ พบมาใชใ้ นการแกป้ ญั หาทางยารกั ษาโรค การเกษตร และปญั หาอน่ื ๆ ซง่ึ มผี ลกระทบตอ่ ชวี ติ 2. วางแผนการทดลอง เดินทางไปศึกษาการด�ำเนินชีวิตตามธรรมชาติของพืชและสัตว์ หรือเก็บรวบรวม ตวั อย่างต่าง ๆ เพ่อื น�ำมาศึกษาทดลองในห้องปฏบิ ตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์ 3. ท�ำการผา่ เพ่อื การศกึ ษาตวั อย่างโดยใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ เคมภี ัณฑ์ วิธีการถา่ ยภาพ วัตถุและอปุ กรณ์ทาง วิทยาศาสตรอ์ ่ืน ๆ 4. ด�ำเนินการตั้งชื่อ จดั ประเภท และแยกเก็บรักษาตวั อยา่ งไมใ่ หเ้ สียหาย 5. จดั เตรียมตวั อยา่ งที่เกบ็ รวบรวมได้มาต้งั ชื่อ และท�ำการศึกษาถึงพฒั นาการของโรคต่าง ๆ และศกึ ษาเพือ่ ใช้ในวัตถุประสงค์อน่ื ๆ 6. ท�ำการวเิ คราะห์ในเชิงสถิตใิ นข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แล้วท�ำรายงานผลการวเิ คราะห์ 7. อาจท�ำการทดลองเกี่ยวกับพืชและสัตว์ด้วยตนเอง น�ำผลท่ีได้จากการทดลองมาใช้ให้เป็นประโยชน์ เชิงเศรษฐกจิ แก่ชวี ิตมนุษย์ สภาพการจา้ งงาน ไดร้ บั คา่ ตอบแทนการทำ� งานเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษา นกั ชวี วทิ ยาทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี ซงึ่ ไม่มปี ระสบการณใ์ นการท�ำงานจะไดร้ บั เงินเดือนตามอตั ราจ้างท่วั ไป
ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ทำ� งานสปั ดาหล์ ะ 40 ชวั่ โมง แตอ่ าจจะตอ้ งท�ำงานวันเสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยุด หรอื ท�ำงาน ลว่ งเวลา ในกรณีท่ีต้องการให้งานที่ได้รับมอบหมายเสร็จทันต่อการใช้งาน นอกจากผลตอบแทนในรูปเงินเดือนแล้วในภาค รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนอาจได้รับผลประโยชน์พิเศษอย่างอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือ สวัสดกิ ารในรูปต่าง ๆ เงนิ โบนัส เปน็ ตน้ โอกาสในการมีงานทำ� ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาสามารถเข้าท�ำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรเอกชน เช่น หน่วยงานใน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ส�ำนักวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย เป็นต้น จะได้รับเงินเดือนตามวุฒิท่ีเรียนส�ำเร็จ หรือท�ำงานในภาคเอกชนในสถาน ประกอบกิจการอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมการเกษตร โรงงานอุตสาหกรรมการผลิต และแปรรูป เป็นต้น ได้มีการคาดหมายว่าในอนาคตอันใกล้นี้ ประชากรจะเผชิญกับปัญหาความอดอยากเน่ืองจากพ้ืนท่ีในการ ผลติ อาหารสำ� หรบั ประชากรโลกนอ้ ยลง ในหลายประเทศทเี่ ตรยี มความพรอ้ มในปญั หาน้ี ไดค้ ดิ คน้ พฒั นาเทคโนโลยี ทเ่ี รียกว่า “ตดั แตง่ พันธกุ รรม” หรือ GMOs (Genetically Modified Organisms) เพ่ือให้พืชหรือสัตว์สามารถเพิม่ ผลผลติ และมคี วามทนตอ่ สภาพแวดลอ้ มและศตั รพู ชื เชน่ ขา้ วโพด ฝา้ ย ถว่ั เหลอื ง นกั ชวี วทิ ยากเ็ ปน็ หนง่ึ ในกลมุ่ งาน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาน้ี นอกเหนอื จากวศิ วกรพนั ธกุ รรม การผลติ พชื GMOs ขนึ้ มา ทำ� ใหม้ ผี บู้ รโิ ภคเกดิ ความกงั วล ดา้ นความปลอดภยั และผลกระทบตอ่ สภาพแวดลอ้ ม ปญั หานมี้ ผี ลกระทบตอ่ ประเทศไทย เนอ่ื งจากประเทศไทยเปน็ ประเทศท่ีส่งออกสินค้าเกษตรเป็นหลัก จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเร่งรัดสร้างมาตรการควบคุม ตรวจสอบ 204 และออกหนังสอื รบั รองสนิ คา้ พชื Non-GMOs ดังนัน้ ส�ำนกั วจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ (สทช.) จึงตอ้ งพัฒนา เทคโนโลยแี ละสรา้ งมาตรฐานการตรวจสอบท่ีเปน็ สากล เพ่ือใหบ้ ริการส�ำหรบั สนับสนุนการรับรองพืช Non-GMOs ส�ำหรับการส่งออกสู่ตลาดโลกทตี่ อ้ งการสินคา้ เกษตรท่ีเป็น Non -GMOs จะเห็นไดว้ ่า นกั ชวี วิทยายงั เปน็ ที่ต้องการ ในตลาดแรงงาน ไมเ่ พยี งแตป่ ญั หา GMOs เทา่ นน้ั นกั ชวี วทิ ยายงั ตอ้ งพฒั นาเทคโนโลยใี หมเ่ พอ่ื สง่ เสรมิ ภาคการเกษตร ใหม้ กี ารพฒั นายง่ิ ขนึ้ เพราะประเทศไทยเปน็ ประเทศอตุ สาหกรรมอาหาร และอตุ สาหกรรม เกษตรทผ่ี ลติ สนิ คา้ เกษตร ส่งออกส่ตู ลาดโลก คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรี จากคณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาชวี วทิ ยาหรือสาขาวิชาทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2. มคี วามรคู้ วามสามารถในการใช้ภาษาได้อย่างเหมาะสมและชดั เจน เหมาะแกก่ ารปฏบิ ตั หิ น้าที่ 3. มคี วามสามารถในการศึกษา คน้ คว้าหาข้อมูล วเิ คราะห์ปัญหา และสรปุ หาเหตผุ ล 4. เป็นผนู้ �ำ มีความคดิ ริเริ่ม และเป็นผู้ทค่ี อยรับฟังความเหน็ จากผ้อู น่ื เสมอ 5. สามารถเดินทางไปปฏบิ ตั ิงานในตา่ งจังหวดั ได้ 6. มีมนุษยสัมพนั ธท์ ่ดี ีตอ่ บุคลากรในองค์กรและชมุ ชน 7. มีความสนใจในวิชาวิทยาศาสตร์ เคมี และชีววิทยา ชอบการค้นคว้าทดลอง การใช้ความสามารถ ในการวิเคราะห์หาเหตุผล 8. มีความคิดสร้างสรรค์
ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment 9. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าทท่ี ไี่ ดร้ บั มอบหมาย 10. มีความแมน่ ยำ� ใจเย็น และละเอียดรอบคอบ 11. เป็นคนช่างสงั เกต คิดอะไรเป็นระบบ และสามารถรายงานผลการคน้ คว้าออกมาไดง้ ่าย และชดั เจน 12. มีความเชอื่ มน่ั ในตนเอง กล้าตัดสินใจ และสามารถแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ไดด้ ้วยไหวพรบิ ที่รวดเร็ว 13. มีความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์เป็นอย่างดี 14. มรี ่างกายแขง็ แรง อดทน สามารถปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา - ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ 40002 อเี มล biology@ kku.in.th เวบ็ ไซต์ www.biology.kku.in.th โทรศพั ท์ 0-4320-2531 (สายตรง) หรอื 42176, 42177 โทรสาร 0-4320-2530 - ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 114 สขุ มุ วทิ 23 เขตวฒั นา กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2649-5000 ตอ่ 18101 - ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี 272 หมู่ 9 ตำ� บลขนุ ทะเล อ�ำเภอเมือง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี 84100 โทรศพั ท์ 0-7791-3366 โทรสาร 0-7791-3367 อีเมล [email protected] - ภาควิชาชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต�ำบลสเุ ทพ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม่ 50202 โทรศพั ท์ 0-5394-3346, 8 โทรสาร 0-5389-2259 - ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ต�ำบลท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-3302 โทรสาร 0-5596-3301 - ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา 169 ถนนลงหาดบางแสน ตำ� บลแสนสขุ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี 20131 (อาคารวิทยาศาสตรช์ ีวภาพ) โทรศพั ท์ 0-3875-4900 ตอ่ 3090 โทรสาร 0-3839-3489 205 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี ถ้ารับราชการในหน่วยงานปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ หรือในสถาบันวิจัยทางวิทยาศาสตร์จะได้รับ การปรับเลื่อนต�ำแหน่ง และเล่ือนข้ันตามระบบราชการ การศึกษาต่อเพิ่มเติมจะช่วยให้ปรับเลื่อนขั้น เลื่อน ต�ำแหน่งได้รวดเร็วข้ึนและสามารถเป็นถึงผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานได้ ส่วนในภาคเอกชนน้ันขึ้นอยู่กับ โครงสร้างการบริหารงานขององค์กร ซ่ึงสามารถเป็น ผู้จัดการโรงงาน ผู้จัดการงานวิจัย ผทู้ มี่ ปี ระสบการณใ์ นการทำ� งานและมคี วามสามารถในการสอน อาจจะไดร้ บั เชญิ เปน็ วทิ ยากรบรรยายพเิ ศษ อาชีพที่เก่ยี วเนือ่ ง นักเคมี (ชวี วทิ ยา) หรือ นกั ชวี เคมี นักเคมี (อนิ ทรีย์เคมี) นักเคมี (อนนิ ทรยี เ์ คมี) นักเคมี (ฟสิ กิ ส์) เภสัชกร นักเทคนคิ การแพทย์ นกั วิจัย นักกีฏวิทยา แหลง่ ข้อมูลอืน่ ๆ - สถาบนั ศกึ ษาในสงั กดั ทบวงมหาวิทยาลัย เชน่ มหาวิทยาลัยเกษตร เว็บไซต์ http://www.ku.ac.th - แหล่งจดั หางานในหนงั สอื พิมพ์ และเว็บไซตท์ งั้ ของภาครฐั เอกชน และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เว็บไซต์ http://www.moac.go.th - กรมวชิ าการเกษตร เว็บไซต์ http://www.doa.go.th
กรมการ ัจดหางาน 2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักจติ วทิ ยาทว่ั ไป Psychologist นิยามอาชีพ วิจัยและศึกษากระบวนการทางจิตใจและพฤติกรรมของมนุษย์ วนิ จิ ฉยั และใหก้ ารบำ� บดั รกั ษาหรอื ปอ้ งกนั ความผดิ ปกต/ิ ความแปรปรวน ทางจติ : ทดสอบ วเิ คราะห์ ตรวจวนิ จิ ฉยั เปน็ ทป่ี รกึ ษาทางจติ วทิ ยา เกยี่ ว กับบุคลิกภาพ เชาว์ปัญญา ความฉลาด ความสามารถ ทัศนคติ สภาพ ทางสมอง วุฒภิ าวะทางจติ ใจ ประเมนิ ผล ให้ค�ำปรึกษาแนะนำ� บ�ำบัด รกั ษาทางจิตวิทยา โดยจิตบำ� บดั รายบคุ คล รายกลมุ่ ครอบครวั บำ� บดั พฤติกรรมบำ� บดั ผลิตเอกสาร สอื่ ต่าง ๆ เผยแพรค่ วามรู้ เพอ่ื ส่งเสริม และปอ้ งกันปญั หาสขุ ภาพจติ ปอ้ งกนั ควบคุมและรักษาการตดิ ยาและ สารเสพติด ปฏิบัตหิ นา้ ที่อืน่ ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง ลกั ษณะของงานทีท่ �ำ - ตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา โดยการใช้เครื่องมือทดสอบทางจิตวิทยาท่ีเป็นมาตรฐาน ร่วมกับการสังเกต พฤตกิ รรม และการสัมภาษณ์ วเิ คราะห์ และแปลผลการทดสอบ 206 - ท�ำการบ�ำบัดรักษาทางจิตวิทยา เป็นวิธีการบ�ำบัดรักษาที่ไม่ต้องใช้ยา ซึ่งแตกต่างจากจิตแพทย์ท่ีบ�ำบัด รักษาโดยการใชย้ า - ศึกษา ค้นควา้ วจิ ัยทางจิตวทิ ยา และป้องกนั โรค เกยี่ วขอ้ งกับการเผยแพร่ความรทู้ างจิตวิทยาในรปู แบบ การสอน การฝกึ อบรม เป็นตน้ เพือ่ ใหป้ ระชาชนมแี รงจงู ใจและสนใจจะเรียนร้ใู นเร่อื งเกย่ี วกับจิตวทิ ยา เพอ่ื พัฒนา ตนเองให้มีสุขภาพจติ ดีข้ึน พ้นจากภาวะเส่ียงตอ่ การเกิดปัญหาสขุ ภาพจิต ปจั จุบนั นักจติ วทิ ยาแบ่งตามประเภทของสาขาการศึกษาดงั นี้ - สาขาจติ วทิ ยาการศกึ ษา (Educational Psychology) ทำ� หนา้ ทเ่ี กยี่ วกบั การนำ� หลกั การทางจติ วทิ ยา มาใช้ในการส�ำรวจปัญหาทางการศึกษา ตลอดจนสร้างหลักการทางจิตวิทยาที่มีระบบระเบียบวิธีการของตนเอง ถือเป็นศาสตร์หนง่ึ ในทางด้านพฤตกิ รรมศาสตร์ - สาขาวิทยาพัฒนาการ (Developmental Psychology) ทำ� หน้าท่ีเกยี่ วกับการศึกษาความสามารถ ทางพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ตง้ั แต่เกิดจนตายอย่างเป็นลำ� ดบั ข้ันตอน ว่ามีกระบวนการพัฒนาแต่ละวยั อย่างไร รวมทงั้ ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งหนา้ ทตี่ ่าง ๆ ของการพัฒนา โดยเฉพาะทางจติ ใจ - สาขาจติ วิทยาสงั คม (Social Psychology) ท�ำหน้าที่เก่ียวกบั การศึกษาพฤตกิ รรมของมนุษยใ์ นสงั คม อยา่ งเปน็ ระบบ เนอื้ หาวชิ ารวมการปฏสิ มั พนั ธท์ ง้ั หมด เชน่ ศกึ ษาการรบั รกู้ ารตอบสนองระหวา่ งบคุ คล อทิ ธพิ ลของ บคุ คลทมี่ ตี อ่ ผูอ้ ืน่ ฯลฯ - สาขาจิตวิทยาการปรึกษา (Counseling Psychology) ท�ำหน้าท่ีเกี่ยวกับการช่วยให้คนรู้จัก และ เข้าใจตนเองอย่างลึกซ้ึงทุกด้าน ช่วยให้คนรู้จักโลกและสิ่งแวดล้อมของตน ช่วยให้คนรู้จักการพัฒนา และสามารถ
ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 นำ� ศกั ยภาพหรอื ความสามารถทตี่ นมอี ยมู่ าใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและผอู้ น่ื รจู้ กั เลอื ก และตดั สนิ ใจอยา่ งฉลาด กรมการ ัจดหางาน เพือ่ แกป้ ญั หาและปรบั ตัวอยู่ในสังคมอย่างมคี วามสขุ Department of Employment - สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology) ทำ� หน้าที่เกยี่ วกับการน�ำความร้ทู างจติ วทิ ยามาใช้ ในการดำ� เนนิ การคดั เลอื กบคุ คล พฒั นาการบรหิ าร การสรา้ งแรงจงู ใจลกู จา้ ง วจิ ยั ตลาด วจิ ยั ดา้ นมนษุ ยสมั พนั ธ์ เพอื่ ตอบสนองธุรกจิ และอุตสาหกรรม - สาขาจิตวิทยาคลินิก (Clinical Psychology) ท�ำหน้าท่ีศึกษาเก่ียวกับปัญหาการปรับตัวของ มนุษย์โดยพยายามค้นหาสาเหตุว่ามนุษย์ที่มีพฤติกรรมหรือมีความผิดปกติทางจิตใจน้ันมีสาเหตุมาจากอะไร นักจิตวิทยาคลินิกใช้หลักการและความรู้ทางจิตวิทยามาวิเคราะห์และบ�ำบัดรักษาผู้ที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และ พฤติกรรม เช่น ปัญหาทางสุขภาพจิตโรคประสาท การติดยาเสพติด ความผิดปกติทางเชาวน์ปัญญา ปัญหาความ ขดั แยง้ ในครอบครวั ตลอดจนปญั หาการปรบั ตวั อน่ื ๆ เพอ่ื คน้ หาวธิ กี ารปรบั ตวั และการแสดงออกทด่ี แี ละเหมาะสมกวา่ สภาพการจา้ งงาน สว่ นใหญร่ บั ราชการในโรงพยาบาล หรอื โรงพยาบาลจติ เวช โดยจะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ าร ศึกษาระดบั ปริญญาตรี สำ� หรบั ภาคเอกชน หรือองคก์ ารระหว่างประเทศ อาจจะไดร้ บั เงนิ เดือน ซึง่ ขึ้นอยกู่ ับองค์กร และสถานทท่ี �ำงานในแต่ละพื้นท่ี ปฏบิ ตั งิ านวนั ละ 8 ชวั่ โมง หรอื สปั ดาหล์ ะ 40 - 48 ชว่ั โมง มกี ารปฏบิ ตั งิ านพเิ ศษนอกเหนอื เวลาราชการในกรณี มโี ครงการหรอื กจิ กรรมเฉพาะอยา่ ง นกั จติ วทิ ยาจะไดร้ บั ผลประโยชนอ์ ยา่ งอน่ื นอกเหนอื จากเงนิ เดอื นตามระเบยี บของ ทางราชการ ของภาคเอกชน ขนึ้ อยกู่ บั นโยบายและแนวทางการปฏบิ ตั ขิ องแตล่ ะสถานประกอบการ สภาพการทำ� งาน 207 นกั จิตวิทยา โดยท่วั ไปจะปฏิบตั ิงานในหอ้ งทำ� การรกั ษาเหมอื นกับแพทยท์ ่ัวไป และมีการออกไปเยี่ยมคนไข้ ในชุมชน การปฏิบัติหน้าท่ีอาจมีโอกาสเสี่ยงท่ีจะถูกท�ำร้ายจากคนไข้ที่มีอารมณ์ไม่ปกติได้ง่าย ดังนั้น ห้องท�ำงาน จงึ ควรจดั ให้มคี วามปลอดภัย และมผี ชู้ ว่ ยดแู ลในเรื่องความปลอดภัยของนักจิตวทิ ยาด้วย นกั จิตวทิ ยาจะต้องปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั ทีมจิตเวช นกั สงั คมสงเคราะหจ์ ิตเวช และพยาบาลจิตเวช โอกาสในการมงี านทำ� เนอื่ งจากการเกดิ ภาวะเศรษฐกจิ ถดถอยในประเทศขณะน้ี เกดิ ผลกระทบตอ่ เนอ่ื งเปน็ ลกู โซ่ สงั คมเกดิ ภาวะบบี คนั้ ทางด้านการมีงานท�ำ คือการลดลงของรายได้ การเลิกจ้างงาน จนส่งผลกระทบไปถึงสมาชิกในครอบครัว ท�ำให้ ประชาชนท่ีได้รับผลกระทบเกิดความเครียด มีปัญหาทางด้านจิตใจ ไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้ ประชาชน จ�ำนวนหนึ่งจึงหันไปพึ่งยาเสพติดประเภทกล่อมประสาทท่ีมีการซ้ือขายกันอย่างสะดวกด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โดยคิดว่าจะช่วยผ่อนคลายความเครียด และหนีปัญหาได้ แต่เม่ือติดยาเสพติดแล้ว บางรายอาจท�ำร้ายบุคคลใน ครอบครัว อีกทั้งสถติ กิ ารฆา่ ตัวตายในประเทศไทยมีอัตราเพิม่ ข้นึ เรอื่ ย ๆ รัฐบาลได้ตระหนักถงึ ภาวการณน์ ี้ และได้ จดั เตรยี มเจ้าหนา้ ทีท่ ีม่ หี น้าท่ีรกั ษาดูแล ปอ้ งกนั และบำ� บดั รักษา คอื นักจติ วิทยา นกั จติ แพทย์ เพ่ือช่วยเหลอื บรกิ าร บคุ คลทไี่ มส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองไดท้ างดา้ นจติ ใจขน้ึ ทโ่ี รงพยาบาลทว่ั ไปและโรงพยาบาลจติ เวชทวั่ ประเทศ รวมทงั้ การตดิ ตง้ั โทรศพั ทส์ ายดว่ นสขุ ภาพจติ ตลอดจนจดั ตง้ั เวบ็ ไซต์ เพอื่ บรกิ ารใหค้ วามรขู้ อ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ใน การด�ำเนนิ ชีวติ ให้คำ� ปรกึ ษาแนะน�ำ และใหแ้ นวทางการแกป้ ัญหาสุขภาพจิตทีถ่ ูกตอ้ ง ดงั นัน้ อาชีพนกั จติ วิทยาจงึ เป็นท่ตี ้องการของสงั คมอยา่ งมากในยคุ ปจั จุบัน
2ท0ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment นอกจากน้ี โรงเรียน วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัย และสถานศกึ ษาทกุ แหง่ รวมทัง้ ในองคก์ รพัฒนาเอกชนท่ีไม่หวงั ผลก�ำไร อย่างเชน่ มูลนธิ ติ ่าง ๆ ท่ีดแู ลเด็กทด่ี อ้ ยโอกาส หรือหญงิ ท่ถี กู ท�ำรา้ ย ตลอดจน คลนิ กิ รกั ษาผู้เสพยาเสพตดิ ก็ตอ้ งการนักจติ วทิ ยาเช่นกนั แตข่ ณะน้ียงั มกี ารจ้างงานอยจู่ ำ� นวนนอ้ ย 208 คณุ สมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี 1. เป็นผู้เร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี จากคณะสังคมศาสตร์, คณะมนุษยศาสตร์ ในสาขา การศกึ ษาจิตวทิ ยา 2. มคี วามเมตตา โอบออ้ มอารี มใี จรกั ในอาชพี การบำ� บดั และรกั ษา และรกั การบรกิ ารชว่ ยเหลอื ผปู้ ว่ ย 3. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามอดทนสงู ใจเย็น 4. ควรมีสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรง มีความร่าเริง อาจจะต้องมีการสอบขึ้นทะเบียน และรับใบอนุญาตเป็น ผ้ปู ระกอบโรคศลิ ปะในอนาคต สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา - คณะจิตวิทยา สาขาวิชาจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ 10330 โทรสาร 0-2218-1195 เว็บไซต์ http://www.psy.chula.ac.th/psy/ - คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าจติ วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ถนนนครสวรรค์ ตำ� บลตลาด อำ� เภอเมอื ง มหาสารคาม จงั หวัดมหาสารคาม 44000 โทรศัพท์ 0-4375-4321-40 โทรสาร 0-4372-1764 อเี มล edu@msu. ac.th เว็บไซต์ https://edu.msu.ac.th/TH/ - คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าจติ วทิ ยาและการแนะแนว มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี 181 ถนนเจริญประดิษฐ์ ตำ� บลรูสะมแิ ล อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดปัตตานี 94000 โทรศพั ท์ 0-7333-1301 โทรสาร 0-7334- 8322 เวบ็ ไซต์ http://eduit.pn.psu.ac.th/ - ฯลฯ
ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี นักจิตวิทยาในโรงพยาบาลสังกัดรัฐบาล จะได้รับการเล่ือนต�ำแหน่งตามสายงานจนถึงระดับสูงสุด ส�ำหรับ ในภาคเอกชน จะไดร้ บั การเลอื่ นต�ำแหนง่ สูงสดุ ตามโครงสรา้ งขององคก์ ร อาชีพที่เกีย่ วเนอ่ื ง คร/ู อาจารย์ เจ้าหนา้ ท่ปี ฏบิ ัตงิ านในมูลนธิ ิตา่ ง ๆ องคก์ ารระหว่างประเทศที่ช่วยเหลือผลู้ ี้ภัย ทั้งในประเทศ และตา่ งประเทศ เจ้าหนา้ ทฝี่ ่ายบุคคลในองคก์ รธรุ กิจเอกชน เจา้ หน้าทอี่ งค์กรและพัฒนาเอกชนทั่วประเทศ แหลง่ ขอ้ มลู อน่ื ๆ - กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ - ภาควชิ าจติ วิทยา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง - คณะจติ วิทยา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย - สมาคมนักจติ วิทยาคลนิ กิ ศูนย์สขุ วทิ ยาจิต (Child Mental Health Center) - สหทัยมูลนธิ ิ โทรศัพท์ 0-2381-8834-7 อเี มล [email protected] 209
กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั ดาราศาสตร์ Astronomer นยิ ามอาชีพ ศกึ ษา คน้ ควา้ สำ� รวจ วเิ คราะห์ และพฒั นาองคค์ วามรทู้ ี่ เกย่ี วกบั โครงสรา้ ง การววิ ฒั นาการ ขอบเขตและการแผพ่ ลงั งาน ของเอกภพ : ศกึ ษาขนาด มวล รปู รา่ ง ระยะทาง การเคลอ่ื นที่ วงโคจร ลกั ษณะ สว่ นประกอบ และโครงสรา้ งของวตั ถทุ อ้ งฟา้ ; ศึกษาการก่อก�ำเนิดและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ ดาวคู่ ดาวกระจกุ และกาแลกซ;ี ศกึ ษาอณุ หภมู ิ ความสวา่ ง องคป์ ระกอบ เคมีและโครงสร้างภายในของดาวฤกษ์ และวัตถุท้องฟ้าอื่นๆ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์และเคร่ืองบันทึกสัญญาณต่าง ๆ เช่น สเปกโทรกราฟ โฟโตมิเตอร์ อินเตอร์เฟียโรมิเตอร์ เป็นต้น; ศึกษาวัตถุท้องฟ้า ในช่วงความยาวคลื่นอื่นๆ เช่น วทิ ยอุ ุลตราไวโอเลต อินฟราเรด เอกซเรย์ เป็นตน้ ; สงั เกตวตั ถบุ นฟ้าดว้ ยกลอ้ งโทรทรรศนเ์ พือ่ คำ� นวณตำ� แหน่งของ ดาวฤกษแ์ ละดาวเคราะห;์ คำ� นวณโคจรของดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาวเคราะหน์ อ้ ย; ศกึ ษาปรากฏการณบ์ นทอ้ งฟา้ เช่น อุปราคา ฝนดาวตก แสงเหนือ แสงใต้ เปน็ ต้น; ศกึ ษากลมุ่ ดาว และสรา้ งแผนทดี่ าว; พฒั นาตารางคำ� นวณ 210 ตำ� แหนง่ และเวลา ขนึ้ -ตก ของดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ ดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์ เพอ่ื ประโยชนท์ างคมนาคมทางอากาศ และทางเรือ; ก�ำหนดเวลามาตรฐานสากลโดยการสังเกตวัตถุท้องฟ้า; ประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาเก่ียวกับ การสื่อสารผา่ นดาวเทยี ม; ท�ำวิจยั เพอื่ พัฒนาองค์ความรูใ้ นการแกป้ ัญหาเกีย่ วกับการสอ่ื สารผ่านดาวเทยี ม; ท�ำวิจยั เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ทางดาราศาสตร์; ออกแบบและพัฒนาเคร่ืองมือ ตลอดจนสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยอาศยั เทคโนโลยตี า่ ง ๆ เพอ่ื ใชใ้ นการสงั เกตการณ์ บนั ทกึ รวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางดา้ นดาราศาสตร์ ลกั ษณะของงานท่ีทำ� นักดาราศาสตร์ในประเทศไทย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็น นักวิชาการ และอาจารย์ ในสถาบันระดับ อุดมศึกษา หรือมหาวิทยาลัยที่ท�ำการเปิดสอนภาควิชาฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ หรือโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา หน่วยวิจัยดาราศาสตร์ สมาคมดาราศาสตร์ เป็นต้น โดยมีภารกิจ เกยี่ วขอ้ งดังนี้ 1. บรรยาย สอน เผยแพรค่ วามรู้ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ เกี่ยวกบั ดาราศาสตร์ อวกาศ สภาพอวกาศ ใหก้ ับ นกั เรยี น นิสติ นักศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไป เพอื่ ให้เขา้ ใจถงึ วิวฒั นาการของดวงดาว และโลกอันเปน็ เร่ืองใกล้ตวั และมีผลกระทบกับชีวิตประจ�ำวัน โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมส�ำรวจทรัพยากรโลก ดาวเทียม อตุ นุ ยิ มวทิ ยาของสถาบนั การศึกษาในประเทศและต่างประเทศ 2. ศึกษา ค้นคว้า วางแผนการวิจัย และการเตรียมการสังเกตการณ์ระดับชาติ โดยน�ำผลการศึกษา ปรากฏการณบ์ นทอ้ งฟา้ มาประมวลผลวิเคราะห์และจัดท�ำเป็นรายงานเพอ่ื ตีพิมพเ์ ผยแพรใ่ หส้ าธารณชนรับทราบ
ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 3. จัดประชุมสมั มนาทางดาราศาสตร์ ในเรอื่ งการเรียนการสอน และการวิจัยทางด้านดาราศาสตร์ กรมการ ัจดหางาน 4. ใชเ้ ทคโนโลยชี นั้ สงู ในการปรบั ปรงุ ระบบสารสนเทศทางดา้ นดาราศาสตร์ เพอื่ กระตนุ้ ใหค้ นไทยมคี วามสนใจ Department of Employment ต่อเรื่องราวท่ีเก่ียวกับวิทยาศาสตร์มากข้ึน และให้กลุ่มผู้ที่สนใจทางดาราศาสตร์สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ได้ง่าย และรวดเรว็ มากข้นึ 5. ประสานความร่วมมือทางด้านวิชาการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลทางด้านดาราศาสตร์ร่วมกันกับหน่วยงาน ตา่ ง ๆ เชน่ กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา กรมอทุ กศาสตร์ กรมชลประทาน กรมแผนท่ที หาร กรมทรัพยากรธรณี สถาบันวจิ ัย วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์หว้ากอ และองค์การระหวา่ งประเทศ ฯลฯ เพือ่ จดั ท�ำสารสนเทศทาง ด้านดาราศาสตร์ 6. จดั ทำ� หลกั สตู รหรอื กจิ กรรม เพอ่ื ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ปรากฏการณบ์ นทอ้ งฟา้ แกป่ ระชาชนและเยาวชนทส่ี นใจ เขา้ รว่ มอยา่ งทว่ั ถงึ รว่ มมอื กบั หนว่ ยงานภาคเอกชน สมาคมดาราศาสตร์ หรอื ชมรมดาราศาสตรข์ องจงั หวดั ตา่ ง ๆ ทมี่ ี นักวิชาการหรืออาจารย์สอนด้านดาราศาสตร์ประจ�ำอยู่ เพ่ืออธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น การเกิดพายุสุริยะ การเกดิ สภาพความแปรปรวนของบรรยากาศชน้ั ไอโอโนสเพยี ร์ และบรรยากาศชนั้ บนของโลกทเี่ ปน็ สาเหตทุ ำ� ใหส้ ถานี ไฟฟ้าขดั ขอ้ ง ระบบสอ่ื สารดาวเทยี มบกพรอ่ ง และระบบเตอื นภัยบนเครื่องบนิ ขัดขอ้ ง เปน็ ต้น สภาพการจา้ งงาน ผู้ประกอบอาชีพนี้ จะมีน้อยมาก โดยนักดาราศาสตร์จะปฏิบัติงานอยู่ในศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ส่วนผู้ท่ีจบการศึกษาสาขาฟิสิกส์ดาราศาสตร์ หรือสาขาท่ีเกี่ยวข้องส่วนมากจะประกอบอาชีพในหน่วยงานราชการ โดยเปน็ นักวิชาการหรืออาจารย์ในสถาบนั การศึกษา มหาวิทยาลยั และโรงเรยี น อตั ราเงินเดอื นสำ� หรบั อาจารย์-นกั วิชาการ ในหน่วยงานภาครัฐ และสถาบันการศึกษาภาคเอกชน จะไดร้ บั อัตราเงนิ เดอื นที่แตกตา่ งกัน วฒุ ิการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี รับราชการจะไดร้ ับเงนิ เดือน เดอื นละ 7,260 บาท จะ ไดร้ บั สวสั ดกิ าร ค่ารักษาพยาบาล และการลาศกึ ษาตอ่ ตามระเบยี บส�ำนกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น 211 ส�ำหรับนักวิชาการและอาจารย์ในภาคเอกชน จะได้รับเงินเดือน ประมาณเดือนละ 10,000 บาท ข้ึนไป ได้รบั สวสั ดกิ าร ค่ารักษาพยาบาล และอืน่ ๆ ตามกฎหมายแรงงานก�ำหนด อาจได้รบั การสนบั สนนุ ใหศ้ ึกษาตอ่ ตาม นโยบายและข้อตกลงของสถาบันการศึกษานั้น ๆ สภาพการทำ� งาน - จดั เตรยี มแผนงานและกจิ กรรมดา้ นวิชาการเม่ือมีการออกสังเกตการณ์ - ก�ำหนดแผนการเดินทางไปสงั เกตการณ์ ตามบริเวณทค่ี าดวา่ จะเกดิ ปรากฏการณ์ โดยอาจท�ำภาพจ�ำลอง ของปรากฏการณ์ในคอมพิวเตอร์ลว่ งหนา้ เพ่ือเผยแพรใ่ หป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ ใจตามหลกั วิทยาศาสตร์ - เตรยี มอุปกรณต์ ่าง ๆ ทีใ่ ช้ในการสงั เกตการณ์ เช่น กล้องดูดาว กล้องถา่ ยภาพ พร้อมฐานควบคมุ กล้อง ถา่ ยภาพแบบสะทอ้ นแสง ระบบถ่ายภาพท่ีทนั สมัย แผนทดี่ ดู าว เปน็ ตน้ - ประสานงานกับหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องท้ังภาครัฐ และเอกชน รวมท้งั สื่อมวลชนเพือ่ ขอความรว่ มมือในการ เผยแพรข่ ้อมูลตา่ ง ๆ เก่ียวกับปรากฏการณ์น้ัน ๆ รวมทง้ั ผลงานทางวิชาการส่สู าธารณชน - รวบรวมขอ้ มูลการประเมนิ ผล และผลการวิเคราะหป์ รากฏการณ์บนทอ้ งฟา้ แตล่ ะครัง้ เพือ่ จดั ท�ำแผนการ พัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์ และดาราศาสตร์ของประเทศ ซึ่งการสังเกตการณ์แต่ละครั้งจะต้องมีการเดินทาง ออกไปสงั เกตการณห์ ลายสถานที่ บางครง้ั ตอ้ งไปในสภาพพน้ื ทปี่ า่ เขาและอาจมผี รู้ ว่ มเดนิ ทางจากหลากหลายวชิ าชพี รวมท้งั ผู้สนใจทางดาราศาสตร์
ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมงี านทำ� Department of Employment ผู้สนใจเป็นนักดาราศาสตร์ สามารถที่จะ ปฏิบัติงานด้านการสอนเรื่องดาราศาสตร์ในโรงเรียน มัธยมศึกษาท่ัวไป สอนวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ ใน มหาวิทยาลยั ทมี่ ภี าควชิ าฟสิ กิ ส์ สาขาวชิ าดาราศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ หรืออาจจะปฏิบัติงานรับราชการ ในกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี หรือกรมอตุ นุ ยิ มวิทยา เป็นตน้ คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. เพศหญิง หรือเพศชาย 2. วุฒิการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ ภาควชิ าฟสิ กิ สด์ าราศาสตร์ ดาราศาสตร์อวกาศ 3. มคี วามสนใจในวิชาชีพ 4. สนใจศึกษาคน้ คว้าวิจัย ในเร่อื งดาราศาสตร์ และอวกาศอยา่ งสม่�ำเสมอ สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าฟสิ กิ ส์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 123 หมู่ 16 ถนนมติ รภาพ ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น 40002 โทรศพั ท์ 0-4300-9700 เวบ็ ไซต์ http://www.kku.ac.th/suggest.php?l=th - คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาควชิ าฟสิ กิ ส์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ชน้ั 2 หอ้ ง 219 อาคารบรรยาย รวม 4 เลขท่ี 99 ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลคลองหนง่ึ อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12121 โทรศพั ท์ 0-2564-4491, 212 0-2564-4495 โทรสาร 0-2564-4485, 0-2564-4494 เวบ็ ไซต์ science.sci.tu.ac.th/phys/ - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควชิ าฟิสิกส์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทมุ วนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-3555 อเี มล [email protected] โทรศพั ท์ (คณะฯ) 0-2218-5000 เวบ็ ไซต์ www. phys.sc.chula.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ต�ำบลท่าโพธ์ิ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก 65000 โทรศพั ท์ 0-5596-3112 โทรสาร 0-5596-3113 เวบ็ ไซต์ http://sci.nu.ac.th - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสกิ ส์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี 85 ถนนสถลมารค์ ต�ำบลเมืองศรไี ค อำ� เภอ วารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 โทรศัพท์ 0-4535-3401-4 ต่อ 4305 โทรสาร 0-4528-8381 อีเมล [email protected], [email protected] เว็บไซต์ phys.sci.ubu.ac.th/ - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชยี งใหม่ 50200 อเี มล [email protected] โทรศพั ท์ 0-5394-3367 โทรสาร 0-5394-3445 เว็บไซต์ physics.science.cmu.ac.th/ - คณะ หรอื สาขาวิชาอน่ื ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ผปู้ ระกอบอาชพี นที้ รี่ บั ราชการ จะไดร้ บั เลอื่ นขนั้ ตามความสามารถและผลงาน ควรศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก จนอาจไดร้ ับการปรบั เลื่อนตำ� แหนง่ เป็นหัวหน้าส่วนงาน เชน่ ผอู้ ำ� นวยการ รองอธิบดี อธบิ ดี
ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment อาชีพทีเ่ กีย่ วเน่อื ง เปน็ วทิ ยากรใหก้ บั หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน ในเรอื่ งดาราศาสตร์ ดาราศาสตรอ์ วกาศ และสภาพอวกาศ นกั เขยี นหนงั สอื เกย่ี วกบั ดาราศาสตร์ ผเู้ ชย่ี วชาญทป่ี รกึ ษาใหก้ บั องคก์ รหรอื หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ดาราศาสตร์ แหล่งข้อมลู อ่ืน ๆ - สถาบันศึกษาในสงั กดั ทบวงมหาวิทยาลยั เชน่ มหาวิทยาลัยเกษตร เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th - แหลง่ จัดหางานในหนังสือพมิ พ์ และเว็บไซต์ท้ังของภาครัฐ เอกชน และองคก์ ารระหวา่ งประเทศ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เวบ็ ไซต์ http://www.moac.go.th - กรมวชิ าการเกษตร เวบ็ ไซต์ http://www.doa.go.th 213
กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั แนะแนว Conselor นยิ ามอาชีพ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี นที้ ำ� หนา้ ทใ่ี หค้ ำ� ปรกึ ษา แนะแนวเปน็ รายบคุ คล หรอื เปน็ กลมุ่ เพอ่ื ชว่ ยใหบ้ คุ คลไดร้ จู้ กั ตนเอง เขา้ ใจตนเอง เขา้ ใจผอู้ นื่ และ สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองปรบั ตนเองแกไ้ ขปญั หาวางแผนศกึ ษาการประกอบ อาชพี และพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสมดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ทจ่ี ะชว่ ยใหบ้ คุ คล ปรบั ตวั อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ อาจมชี อ่ื เรยี กตามหนา้ ทท่ี เี่ ชย่ี วชาญ ลักษณะของงานท่ีทำ� ผปู้ ฏบิ ตั งิ านนักแนะแนว แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ผู้แนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance Counselor) ผแู้ นะแนวอาชพี จะปฏบิ ัติงานในลกั ษณะตา่ ง ๆ คือ - ให้บริการแนะแนวอาชีพแก่นักเรียน นักศึกษา เป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่ม ในด้านข้อมูลข่าวสาร ตลาดแรงงาน ข้อมูลอาชีพ ข้อมูลการฝึกงาน และต�ำแหน่งงานว่างในตลาดแรงงานให้เหมาะสมกับความรู้ 214 ความสามารถ ความสนใจ และคา่ นยิ มของบคุ คล กลมุ่ นกั เรยี น และนกั ศกึ ษานน้ั ๆ เพอื่ ประกอบเปน็ แนวทางในการตดั สนิ ใจ เลือกอาชีพและประกอบอาชีพ ตลอดจนให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่มบุคคลที่สนใจ เก่ียวกบั การท�ำงาน การศึกษา และฝึกอาชีพเพ่ิมเตมิ - รวบรวม และบนั ทกึ ขอ้ มลู บคุ คลทตี่ อ้ งการมงี านทำ� ในเรอ่ื งของระดบั ความรู้ ทกั ษะฝมี อื ประสบการณ์ การทำ� งาน ฯลฯ รวมทง้ั การทดสอบดา้ นจติ วทิ ยาเพอื่ ประเมนิ ความสนใจแนวถนดั ความสามารถ และบคุ ลกิ ภาพ ซงึ่ จะเปน็ ข้อมูลประกอบในการใหค้ �ำปรึกษาเกย่ี วกับการศึกษา และการประกอบอาชพี ของแตล่ ะบคุ คล - ศึกษารวบรวมขอ้ มูลข่าวสารเกยี่ วกับภาวะเศรษฐกจิ และการประกอบอาชีพ เพอื่ ใชเ้ ป็นฐานความรู้ใน การให้บริการค�ำปรึกษา และข้อแนะน�ำแก่ผู้มีความสนใจในเรื่องการก�ำหนดเป้าหมายการศึกษาและการประกอบ อาชีพทีส่ อดคลอ้ งเหมาะสม - จัดส่งนักเรียน นักศึกษา ผู้ว่างงาน หรือผู้มาขอรับค�ำปรึกษา หรือผู้ต้องการค�ำแนะน�ำ ไปยังหน่วย บรกิ ารดา้ นสงั คม หรอื หนว่ ยบรกิ ารดา้ นวชิ าชพี ตามความสนใจของบคุ คลหรอื กลุม่ บคุ คลเหล่านน้ั - ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะน�ำแกบ่ คุ คลและกลุ่มบุคคลตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั ปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ ใหม้ คี วามเข้าใจใน ปญั หาเศรษฐกิจ สังคมและปัญหาทางอารมณ์ เพื่อใหส้ ามารถแกไ้ ขปญั หาของตนเอง - ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ยั และตดิ ตามผลดำ� เนนิ งาน เพอื่ ประเมนิ ทางเทคนคิ ทใ่ี ชใ้ นการใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� 2. ผแู้ นะแนวการศกึ ษา (Student Personnel Conselor) ทำ� หนา้ ทคี่ ลา้ ยกบั นกั แนะแนวอาชพี แตแ่ ตกตา่ ง กันที่ผู้ปฏิบัติหน้าที่น้ีจะประจ�ำอยู่ในโรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย และกลุ่มเป้าหมายในการแนะแนว โดยมหี น้าที่ ดังต่อไปนี้
ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ให้บริการแนะแนวเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มแก่นักเรียน นักศึกษา ในโรงเรียน หรือวิทยาลัย กรมการ ัจดหางาน เพอื่ ชว่ ยนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ในการประเมนิ ความสนใจ แนวถนดั ความสามารถ และบคุ ลกิ ลกั ษณะของตนเองสำ� หรบั Department of Employment การวางแผนทางการศกึ ษา อาชพี และการดำ� เนินชีวิตส่วนตัว - ดำ� เนนิ การไปตามแผนทว่ี างไว้ รวบรวม จดั ระบบงาน และวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกย่ี วกบั ตวั นกั เรยี น นกั ศกึ ษา เปน็ รายบุคคลจากบนั ทกึ การทดสอบ การสมั ภาษณ์ และการเก็บขอ้ มูลท่เี ก่ียวขอ้ ง - ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารเกย่ี วกบั การศกึ ษา การอาชพี และขอ้ มลู ขา่ วสารอนื่ ๆ ซงึ่ จ�ำเปน็ สำ� หรบั การตดั สนิ ใจ ในเรอื่ งการศกึ ษา การประกอบอาชพี การพฒั นาฝมี อื แรงงาน การพฒั นาตนเอง และความเจรญิ กา้ วหนา้ ในการทำ� งาน - ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ� แนวทางทใ่ี หน้ กั เรยี นเขา้ ใจและสามารถแกไ้ ขปญั หาสว่ นตวั ปญั หาทางสงั คม ปญั หา การศกึ ษา และตลอดจนการแก้ปัญหาครอบครัว และการประกอบอาชีพของคนในครอบครวั โดยอาจให้คำ� แนะน�ำ และส่งต่อให้หนว่ ยงานท่มี หี น้าท่คี วามรบั ผิดชอบโดยตรงดำ� เนนิ การตอ่ ไป - ในกรณที พ่ี บวา่ นกั เรยี นทมี่ ารบั คำ� แนะนำ� มปี ญั หาทค่ี อ่ นขา้ งซบั ซอ้ นทางจติ ใจ กจ็ ะสง่ ใหจ้ ติ แพทยช์ ว่ ย ดแู ลตอ่ ไป - ตดิ ตามผลงาน เพอ่ื ประเมนิ ผลเก่ยี วกับเทคนคิ ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำ - อาจทำ� งานวิจยั เกย่ี วกับการให้คำ� ปรึกษาแนะนำ� แก่นักเรียน นักศึกษา - อาจบริการหางานให้นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทำ� เพอื่ ชว่ ยเหลือทางด้านเศรษฐกจิ - หมนั่ สำ� รวจและเกบ็ ขอ้ มลู พฤตกิ รรมของคนไทยและทำ� งานวจิ ยั เพอ่ื นำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ น การแนะแนว การศกึ ษา ใหท้ ันตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เศรษฐกิจ และสงั คม สภาพการจ้างงาน ผู้สำ� เร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี สามารถเขา้ ท�ำงานกับสว่ นราชการและเอกชนต่าง ๆ โดย 1. การท�ำงานกับส่วนราชการมักจะปฏิบัติงานในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ ส�ำนักงานสาขาท่ีตั้งอยู่ตาม 215 จงั หวดั ตา่ ง ๆ ทวั่ ประเทศ อาทิ หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงแรงงานและสวสั ดกิ ารสงั คม กระทรวงมหาดไทย เปน็ ตน้ นอกจากน้ัน ยังสามารถปฏบิ ตั ิหน้าทใี่ นต�ำแหนง่ อาจารย์แนะแนว ตามสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ 2. การทำ� งานกบั หนว่ ยงานหรอื องคก์ รเอกชน จะปฏบิ ตั งิ านหนา้ ทอ่ี ยใู่ นฝา่ ยทรพั ยากรมนษุ ย์ ฝา่ ยบคุ คล หรอื ฝา่ ยฝกึ อบรม รวมทงั้ การเปน็ อาจารยแ์ นะแนวในสถานศกึ ษาของเอกชนโดยจะไดร้ บั คา่ จา้ งเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ าร ศึกษา และประสบการณ์การท�ำงาน สภาพการทำ� งาน ผปู้ ฏบิ ัติงานในนักแนะแนว จะทำ� งานในห้องแนะแนวทจี่ ัดข้นึ โดยเฉพาะ โดยอาจด�ำเนนิ การเปน็ รายบุคคล หรือกลุ่มบุคคลขนาดเล็ก หรืออาจท�ำการแนะแนวการศึกษาหรือแนะแนวอาชีพในภาพรวมของอาชีพที่น่าสนใจ แก่นักเรียนหรือนักศึกษาท้ังหมด ในห้องประชุมใหญ่ หรืออาจจัดมุมห้องด้านหนึ่งส�ำหรับให้ ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ดา้ นการศกึ ษา บคุ ลกิ ภาพ และลกั ษณะงานอาชพี อาจมกี ารแสดงแผนภมู เิ กยี่ วกบั อาชพี และจดั มมุ สำ� หรบั สนั ทนาการ หรือการพักผ่อนของนักเรียน นักศึกษาเพ่ือใช้ในการเล่นเกมหรือท�ำแบบทดสอบด้วยตนเอง ท้ังแบบมาตรฐาน และแบบงา่ ย ๆ ประกอบด้วย เทป วิดีโอ และหนังสือท่ีเก่ียวกับ วิชาชีพ เพื่อสรา้ งบรรยากาศใหพ้ รอ้ มและนา่ สนใจ ส�ำหรับการแนะแนว และเปิดโอกาสให้ผู้ที่ต้องการค�ำปรึกษาเข้าพบได้ตลอดเวลาถ้ามีปัญหา ออกเยี่ยมผู้มารับ คำ� ปรึกษาท่ีมีปัญหาครอบครัว โดยการศึกษาสภาพของครอบครัวนัน้ ต้ังแต่บิดามารดา ผปู้ กครอง ตลอดจนบุคคล ในครอบครวั เพือ่ ให้ไดข้ ้อมูลในการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง
ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมีงานทำ� Department of Employment ผู้ประกอบอาชีพแนะแนวอาชีพและแนะแนวการศึกษาเป็นที่ต้องการมากในสังคมไทยปัจจุบัน ซึ่งในแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 8 และ 9 เน้นด้านการพัฒนาบุคลากรของประเทศ เพื่อให้ประเทศ มีศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการแข่งขันระหว่างประเทศ นักแนะแนวท้ัง 2 ประเภท สามารถดึงบุคลิกภาพและศักยภาพของเยาวชนในวัยเรียนออก มาให้นักเรียนผู้มารับการแนะแนวทราบถึงขีดความสามารถ ของตนเอง ในการเลือกศึกษาต่อให้ตรงกับอาชีพที่ตนเอง มีความสามารถและความถนัด ซ่ึงจะสามารถช่วยยกระบบ ฐานรากการศึกษาไทยได้ในระดับหน่ึง และเป็นการเตรียม ความพร้อมแก่บุคลากรของประเทศให้สามารถก้าวได้ทันโลก ในปัจจุบัน และอนาคต นกั จิตวิทยา และ ครแู นะแนวมีบทบาท มากขึ้น โดยลำ� ดับในการบ�ำบัด รักษา ช่วยเหลือบรรเทาปัญหา และปอ้ งกนั ปัญหาในแง่ของการใช้ศาสตรจ์ ติ วิทยา คณุ สมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรเี ปน็ อยา่ งนอ้ ย และมคี วามรใู้ นเรอื่ งการแนะแนวอาชพี และแนะแนวการศกึ ษา 2. เป็นผมู้ ีร่างกายและจิตใจทสี่ มบูรณ์ มีบุคลิกลกั ษณะเป็นทีน่ ่าเล่ือมใส 3. มีความสุขมุ รอบคอบ ใจเย็น ควบคมุ สติอารมณ์ได้ดี หนกั แนน่ อดทน 4. มีความพร้อมในหน้าท่ี มีความรบั ผิดชอบ เสยี สละ เหน็ แก่ประโยชน์ส่วนรวม 5. มที ศั นคตทิ ด่ี ี มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ มคี วามสามารถในการปรบั ตนเองใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ ม และสถานการณ์ 216 ไดใ้ นขณะปฏบิ ตั ิงาน 6. มีความซื่อสัตย์ มคี วามจรงิ ใจ มคี วามเข้าใจ และใหค้ วามอบอุ่นแก่ผูม้ าขอคำ� ปรกึ ษาแนะน�ำ 7. เปน็ ผู้เก็บรักษาความลบั ของผูม้ าตดิ ตอ่ ได้ดี 8. เปน็ คนมีเหตุผล สามารถวิเคราะหเ์ หตกุ ารณแ์ ละปัญหาไดด้ ี 9. มคี วามสามารถในการฟงั และการสอ่ื สาร และการถ่ายทอดได้ดี 10. มีความสนใจในเรอื่ งพฤตกิ รรมของมนุษย์ ใฝ่รู้ ขวนขวายหาความรู้ หมน่ั รบั การอบรมเพอ่ื ใหไ้ ดม้ คี วามรู้ ใหม่ ๆ มคี วามสนใจและมคี วามรู้เทา่ ทันต่อกระแสเหตุการณ์ปัจจุบนั เพ่อื ใช้ใน การวเิ คราะห์ และแนะแนว 11. มคี วามสามารถ ในการนำ� ทางดว่ นขอ้ มลู ข่าวสารมาประยกุ ตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นการแนะแนว สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา - คณะจิตวิทยา สาขาวิชาจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ 10330 โทรสาร 0-2218-1195 เว็บไซต์ http://www.psy.chula.ac.th/psy/ - คณะมนษุ ยศาสตร์ ภาควชิ าจติ วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ เวบ็ ไซต์ http://psych.hu.swu.ac.th/ - คณะศกึ ษาศาสตร์ ภาควชิ าการแนะแนวและจติ วทิ ยาการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 114 สขุ มุ วทิ 23 แขวงคลองเตยเหนอื เขตวฒั นา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2649-5000 ต่อ 15505 โทรสาร 0-2260-0124 เว็บไซต์ http://edu.swu.ac.th/index.php/menu-department-3/menu-department-1/menu-depart- ment-13.html
ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ สาขาวชิ าจิตวิทยา มหาวิทยาบูรพา 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบล กรมการ ัจดหางาน แสนสขุ อำ� เภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131 โทรศพั ท์ 0-3810-2310 โทรสาร 0-3839-0355 เว็บไซต์ http://www. Department of Employment huso.buu.ac.th/ - คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าจติ วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครปฐม 73000 โทรศพั ท์ 0-3425-3843-44 โทรสาร 0-3425-5099 เวบ็ ไซต์ http://www.educ.su.ac.th/index.php/th/ - คณะสงั คมศาสตร์ สาขาวชิ าจติ วทิ ยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10903 โทรศพั ท์ 0-2561-3480, 0-2561-3484 โทรสาร 0-2561-2738, 0-2942-8430 เวบ็ ไซต์ http://www.soc.ku.ac.th/ -คณะศกึ ษาศาสตร์สาขาวชิ าจติ วทิ ยามหาวทิ ยาลยั มหาสารคามถนนนครสวรรค์ตำ� บลตลาดอำ� เภอเมอื งมหาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม 44000 โทรศพั ท์ 0-4375-4321-40 โทรสาร 0-4372-1764 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ https://edu. msu.ac.th/TH/ - คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวชิ าจติ วทิ ยาและการแนะแนว มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี 181 ถนนเจรญิ ประดษิ ฐ์ ตำ� บลรสู ะมแิ ล อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ปตั ตานี 94000 โทรศพั ท์ 0-7333-1301 โทรสาร 0-7334-8322 เวบ็ ไซต์ http://eduit.pn.psu.ac.th/ - คณะ หรอื สาขาวชิ าอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี 217 ผู้ประกอบนักแนะแนวในส่วนราชการ นักแนะแนว จะได้รับการเลื่อนต�ำแหน่งตามระบบราชการ คือต�ำแหน่ง หัวหน้างานแนะแนว ควรศึกษาและเข้ารับการอบรม เพิ่มเติมเพื่อความก้าวหน้าในวิชาชีพ ส�ำหรับภาคเอกชน การเลื่อนต�ำแหน่งและการขึ้นเงินเดือนค่อนข้างจะรวดเร็วกว่า ภาคราชการถา้ ปฏบิ ตั งิ านประมาณ3ปีจะไดร้ บั การเลอื่ นตำ� แหนง่ เป็นผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้จัดการ และอาจเป็นรองผู้อ�ำนวยการ อย่างไรกด็ คี วรจะเขา้ รับการศกึ ษาเพม่ิ เติมเช่นกนั อาชีพทเ่ี ก่ยี วเน่ือง เจา้ หนา้ ทอี่ บรมบคุ ลากรในหนว่ ยงานทรพั ยากรมนษุ ย์ เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยบคุ คล นกั สงั คมสงเคราะห์ ผปู้ ระสานงาน โครงการบรรเทาทกุ ข์ ผู้จัดการโครงการในภาคเอกชน หรือองค์กรพัฒนาเอกชน แหล่งขอ้ มลู อืน่ ๆ - ชมรมครู - อาจารย์แนะแนว - ศนู ยว์ ิจัยวิทยาศาสตรจ์ ิตวิทยาตะวนั ออก - คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - แหล่งหางานในหนงั สือพิมพแ์ ละเวบ็ ไซต์บริการจดั หางาน - เว็บไซต์กรมส่งเสริมการมีงานท�ำ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เวบ็ ไซต์ http://www.doe.go.th
กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั เทคโนโลยีทางการศึกษา Education Technology specialist นยิ ามอาชพี ผทู้ ำ� หนา้ ทวี่ างแผนการจดั หาเทคโนโลยี และเทคนคิ ทเี่ หมาะสม ตอ่ การทำ� สอื่ การสอนถา่ ยทอดไปทว่ั ประเทศ รวมทงั้ วสั ดุ อปุ กรณ์ และ เครอื่ งมอื ตลอดจนการใหค้ ำ� แนะนำ� และใหบ้ รกิ ารดา้ นสอ่ื การเรยี น สอ่ื กจิ กรรมตอ่ คณะอาจารย์ นกั ศกึ ษา นกั เรยี น และประชาชนทว่ั ไปทส่ี นใจ การศกึ ษาแบบตลอดชวี ติ นอกจากน้ี อาจดแู ลงานดา้ นโสตทศั นปู กรณ์ และการจดั ตำ� ราเรยี น ขอ้ สอบและสงิ่ พมิ พเ์ พอ่ื การเรยี นการสอน ลักษณะของงานทีท่ �ำ 1. ศกึ ษาคน้ ควา้ เพอื่ หาเทคโนโลยี หรอื เทคนคิ ทเี่ หมาะสมกบั การทำ� สอ่ื การเรยี นการสอนเฉพาะวชิ าหรอื โดยทว่ั ไป 2. วางแผนการจดั ทำ� สือ่ การเรยี นการสอน เพอื่ ใหเ้ ป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะเรือ่ ง หรือโดยท่ัวไป 3. จัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมือ เพ่ือจัดท�ำสอ่ื การเรียนการสอนหรอื จัดหาสอื่ การสอน วสั ดกุ ารสอน รวมท้ังต�ำราเรียน เอกสารประกอบการสอนใหเ้ หมาะสมกับวชิ าการนั้น ๆ และใหท้ นั สมยั อยเู่ สมอ 218 4. ผลติ นวตั กรรมในการใชส้ ื่อจากวัตถดุ บิ ในประเทศโดยใชเ้ ทคโนโลยที ่ีเหมาะสม 5. เปน็ ศนู ย์กลางใหบ้ ริการการอบรมทางวิชาการโดยผา่ น หรอื ใชเ้ คร่อื งมือโสตทศั นปู กรณ์ และหรอื เครื่อง ฉายวิดีโอขนาดใหญ่ โทรทัศนว์ งจรปดิ วิดโี อคอนเฟอเรนซ์ และอินเทอรเ์ นต็ 6. เปน็ ศนู ยก์ ลางประสานงานดา้ นการบรกิ ารสอื่ การสอนทต่ี อ้ งใชเ้ ทคนคิ และเครอื่ งมอื ตา่ ง ๆ ใหก้ บั ทกุ คณะ 7. อาจประสานงานกบั ศนู ยส์ ารสนเทศเพอื่ การจดั การ และศนู ยส์ นเทศเพอื่ การศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบันการศึกษาอน่ื ๆ 8. จดั ท�ำโฮมเพจ และปรบั ปรุงให้ทนั สมยั อยเู่ สมอ เพื่อใหเ้ ข้าถงึ ขอ้ มูลได้สะดวก 9. ดูแล บริการ เก็บบ�ำรงุ รักษา อปุ กรณ์ และเครือ่ งมือตา่ ง ๆ ใหอ้ ยู่ในสภาพทีใ่ ช้งานได้ดี และพรอ้ มในการ ใช้งานได้เสมอ สภาพการจ้างงาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านนกั เทคโนโลยที างการศกึ ษา ปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นมหาวทิ ยาลยั และสถาบนั การศกึ ษาของทง้ั ภาครฐั และ ภาคเอกชนถา้ ปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นมหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั การศกึ ษาของรฐั จะไดร้ บั คา่ ตอบแทน การทำ� งานเปน็ เงนิ เดอื นตาม วฒุ กิ ารศกึ ษา และประสบการณ์ ตามอตั ราทไ่ี ดก้ ำ� หนดไวพ้ รอ้ มดว้ ยสวสั ดกิ ารและผลประโยชนอ์ ยา่ งอนื่ ตามระเบยี บของทาง ราชการสว่ นมหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั การศกึ ษา ภาคเอกชนอาจไดร้ บั เดอื นละประมาณ 7,000 - 8,000 บาท มสี วสั ดกิ าร และผลประโยชนพ์ เิ ศษอยา่ งอนื่ ตามระเบยี บทก่ี ำ� หนดขน้ึ โดยมหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั การศกึ ษานนั้ ๆ นกั เทคโนโลยที างการ ศกึ ษา ทำ� งานสปั ดาหล์ ะ 40 ชวั่ โมง ถา้ ทำ� งานลว่ งเวลาจะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ คา่ ลว่ งเวลาตามอตั ราทกี่ ำ� หนด
ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผทู้ ปี่ ฏบิ ตั งิ านนกั เทคโนโลยที างการศกึ ษา ปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นศนู ยเ์ ทคโนโลยที างการศกึ ษา และอาจตอ้ งบรหิ ารงาน ใน สำ� นกั งานหลายแหง่ ในหนงึ่ องคก์ รทใ่ี ชบ้ รหิ ารการจดั สง่ สญั ญาณผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ในการสอน หรอื อบรมทางวชิ าการระบบทาง ไกลไปยงั มหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั การศกึ ษาในตา่ งจงั หวดั หรอื แพรภ่ าพและเสยี งออกสโู่ ทรทศั น์ วทิ ยุ หรอื ไปตา่ งประเทศ เชน่ การสมั มนา แบบเทเลคอนเฟอเรนซ์ และอาจตอ้ งดแู ลหอ้ งประชมุ ทส่ี ามารถจดั ฉายวดิ โี อขนาดจอภาพใหญท่ จ่ี ผุ ชู้ มไดม้ าก โอกาสในการมงี านทำ� ปจั จบุ นั นวตั กรรมทางเทคโนโลยที ำ� ใหโ้ ลกแคบเขา้ และเลก็ ลง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ มบี ทบาทมาก ในการศกึ ษา ระดับมหาวทิ ยาลยั หรอื อุดมศกึ ษา เพราะผ้เู รียนในระดบั นี้ท่อี ย่ใู นประเทศไทยสามารถร่วมฟงั ติดต่อสอบถาม หรอื แลกเปล่ยี นความรู้กับอาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลัยในต่างประเทศทีม่ ีการให้ความร่วมมือช่วยเหลอื กนั ทางด้านการศกึ ษา และแลกเปลย่ี นการเรยี นการสอน กบั มหาวทิ ยาลยั ทตี่ นเองเขา้ รบั การศกึ ษาดงั นนั้ มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั การศกึ ษา ต่างก็ตระหนกั ในความสำ� คัญของการจัดต้ังศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา (Center of Educational Technology) เพอื่ ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางบรกิ ารใหแ้ กน่ กั เรยี น นกั ศกึ ษาทกุ ระดบั และอาจเปดิ กวา้ งใหก้ บั นกั ศกึ ษาทง้ั ในและนอก ประเทศรวมท้ังอาจารย์ไดร้ บั ข้อมลู ขา่ วสารอนั จำ� เป็นในด้านการศกึ ษา เพอื่ การศึกษาค้นควา้ เอกสาร เพ่อื ประกอบ การเรยี นการสอน และการจดั ทำ� ตำ� ราเรยี นโดยการเชอื่ มตอ่ กบั เครอื ขา่ ยศนู ยบ์ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรอื ระบบ สารสนเทศของมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาน้ัน ๆ ท�ำให้การเข้าถึงความรู้ต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นไปด้วยความ สะดวกรวดเรว็ ดังนน้ั นกั เทคโนโลยีทางการศกึ ษา จงึ เปน็ ท่ีต้องการของตลาดแรงงานในระดบั ปานกลางถึงมาก คณุ สมบัติของผูป้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวศิ วกรรม คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ 219 2. มคี วามสามารถในการจดั หาไมโครคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ มคี วามสามารถในการควบคมุ และเขา้ ใจการตดิ ตัง้ โปรแกรมระบบเคร่อื งได้ 3. มคี วามรใู้ นการใช้เทคโนโลยีช่วยในการส่อื สารในการสอน เชน่ การติดต้งั ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ได้ 4. มคี วามรู้ และทกั ษะในการผลติ และการใชอ้ ุปกรณ์ส่ือการสอน 5. มคี วามร้แู ละทักษะในการใช้อปุ กรณ์มัลติพรเี ซนเทชนั่ การใช้ดวี ีดี วิดีโอ และการใชจ้ อแอลซีดขี นาดใหญ่ รวมทั้งโสตทศั นปู กรณ์แบบต่าง ๆ ได้ 6. มีมนษุ ยสัมพันธท์ ่ดี ี มีความสามารถในการทำ� งานเป็นทีม 7. มีความเข้าใจในภาษาอังกฤษ 8. มคี วามสนใจ และตดิ ตามในเรือ่ งของการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ อยเู่ สมอ สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศึกษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ท20่ีต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น Department of Employment คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน จ.ชลบุรี คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศึกษา มหาวิทยาลยั ทักษณิ คณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยเรศวร คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและสื่อสารมวลชน มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารเรยี นรแู้ ละสอ่ื สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือการศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบงั โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ นกั เทคโนโลยที างการศกึ ษา ในมหาวทิ ยาลยั หรอื สถานการศกึ ษาภาครฐั จะไดร้ บั การเลอ่ื นขน้ั เลอื่ นชน้ั และ เลื่อนต�ำแหนง่ ตามความสามารถ และการศึกษาเพ่ิมเติม อาจได้รบั เล่อื นตำ� แหน่งถึงระดบั รองผูอ้ �ำนวยการ สำ� หรบั 220 ในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาภาคเอกชนอาจได้รับการเลื่อนชั้นเล่ือนต�ำแหน่งตามโครงสร้างขององค์กรข้ึน อยู่กับความสามารถและวุฒกิ ารศึกษาเชน่ กัน อาชีพท่เี กย่ี วเนอ่ื ง ครู/อาจารย์พิเศษ วิศวกรโทรคมนาคม วศิ วกรคอมพวิ เตอร์ ผจู้ ดั การสารสนเทศ ผปู้ ระกอบ ธรุ กจิ สว่ นตวั เกยี่ วกบั การใหบ้ รกิ ารการอบรมในการ ใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยในการท�ำส่ือการเรียน การ สอน หรอื เปน็ ตวั แทนการขายเทคโนโลยสี อ่ื การสอน แหล่งขอ้ มูลอน่ื ๆ - หนังสือพมิ พ์ - เวบ็ ไซตบ์ ริการจดั หางาน - เว็บไซตข์ องทบวงมหาวิทยาลยั - มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั การศึกษา
ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นกั โบราณคดี Archaeologist นิยามอาชพี สำ� รวจขดุ คน้ โบราณสถานหรอื วตั ถุ เพอ่ื ศกึ ษาวจิ ยั เรอ่ื งราวในอดตี และแหลง่ วฒั นธรรมของมนษุ ยใ์ นสมยั โบราณ : ทำ� การสำ� รวจและขดุ คน้ แหลง่ ทค่ี าดวา่ จะพบสถานทหี่ รอื วตั ถโุ บราณ; ทำ� การวจิ ยั โบราณศลิ ปวตั ถุ ทไ่ี ดจ้ ากการขดุ คน้ หรอื ขดุ แตง่ โบราณสถาน ศกึ ษา หาหลกั ฐานเพอ่ื อา้ งองิ หรอื เปรยี บเทยี บ และสรปุ ถงึ ยคุ สมยั ของศลิ ปวตั ถชุ น้ิ นน้ั ๆ ทำ� การบนั ทกึ การ คน้ พบและผลการวเิ คราะห์ ลักษณะของงานทที่ ำ� 1. ส�ำรวจและขุดค้นเพ่ือหาหลักฐานทางโบราณคดี เช่น ร่องรอยการอยู่อาศัย วัฒนธรรมของมนุษย์ จากโครงกระดูก เศษภาชนะดนิ เผา ฯลฯ 2. น�ำหลักฐานทางโบราณคดีมาศึกษาวิเคราะห์ และตีความ โดยประมวลความรู้จากหลากหลายสาขาท้ัง วิทยาศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ศลิ ปะ มานุษยวิทยา ฯลฯ เพ่อื ให้ทราบถงึ เรอื่ งราวในอดีตของมนษุ ย์ 3. เผยแพรข่ อ้ มลู ความรทู้ างวชิ าการดา้ นโบราณคดี ทงั้ การเขยี นเปน็ รายงานการสำ� รวจ การขดุ คน้ บทความ ทางวชิ าการ จดั แสดงเป็นนทิ รรศการหรือจดั แสดงในพิพธิ ภณั ฑ์ 221 สภาพการจา้ งงาน นักโบราณคดี ถือเป็นอาชีพท่ีไม่ได้รับความนิยมนักในบ้านเราเท่าไหร่นัก แต่ในต่างประเทศถือเป็นอาชีพ ท่ีส�ำคัญและได้รับการยอมรับเป็นอย่างมาก และมีอัตราเงินเดือนที่ค่อนข้างสูง ในประเทศไทยวุฒิปริญญาตรีเฉลี่ย อัตราเงนิ เดอื นประมาณ 19,500 - 29,500 บาท สภาพการทำ� งาน - ท�ำการส�ำรวจบริเวณพน้ื ทรี่ อบ ๆ และสงั เกตโบราณวัตถุ (หรือส่งิ ของทีค่ นท�ำขึน้ ) ที่กระจายอยู่บนผวิ ดิน เชน่ เครอ่ื งมอื หินกะเทาะ เคร่ืองมือเหล็ก เศษหมอ้ ดนิ ซ่งึ เปน็ หลักฐานอย่างหนง่ึ ทท่ี ำ� ใหร้ ูว้ ่าบริเวณเพงิ ผาน่าจะเคย มีคนอาศัยอยู่มากอ่ น - วางผงั หลมุ ขดุ คน้ โดยตตี ารางกำ� หนดพกิ ดั เลอื กพกิ ดั ทจี่ ะทำ� การขดุ คน้ เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู สำ� หรบั ผทู้ ข่ี ดุ คน้ ครง้ั ตอ่ ไป - ลงมอื ขดุ คน้ ทลี ะชนั้ โดยอาจกำ� หนดตามชน้ั สมมตุ ิ เชน่ ขดุ ชน้ั ละ 10 เซนตเิ มตร หรอื ขดุ ตามชน้ั ดนิ วฒั นธรรม (ชน้ั ดนิ ทมี่ รี อ่ งรอยการอยอู่ าศยั ของมนษุ ย)์ ทลี ะชนั้ จนสนิ้ สดุ ทช่ี น้ั ดนิ ธรรมชาติ (ชน้ั ดนิ ทไี่ มม่ รี อ่ งรอยการอยอู่ าศยั ของมนษุ ย)์ - เมอื่ พบหลักฐานทางโบราณคดี เช่น เศษภาชนะดนิ เผา แกลบขา้ ว ฯลฯ หรอื ร่องรอยการอย่อู าศัยของ มนุษย์ ได้แก่ หลมุ เสาบา้ น ฯลฯ กจ็ ะทำ� การบันทกึ โดยวาดผังตำ� แหนง่ และลักษณะทพ่ี บ พรอ้ มถ่ายภาพจากนั้นเกบ็ ข้ึนมาเพื่อศึกษาโดยละเอยี ด
กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 - เกบ็ ขอ้ มูลร่องรอยช้ันดนิ บริเวณผนังหลุม ซึง่ ทำ� ให้สามารถก�ำหนดชน้ั ดนิ วฒั นธรรมได้ชดั เจน - กลบหลุม - น�ำหลักฐานโบราณคดีที่ได้ มาศึกษาวิเคราะห์โดยละเอียด เม่ือศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องน�ำส่ง พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ เพอ่ื เกบ็ รกั ษาในคลงั วัตถุ หรอื นำ� ออกจัดแสดงในพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ โอกาสในการมีงานท�ำ บัณฑิตส่วนใหญ่มักจบไปเป็นนักโบราณคดี แต่หากสนใจอาชีพอื่นก็สามารถน�ำความรู้ด้านประวัติศาสตร์ และทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลไปประยุกต์ใช้ได้เช่นกัน อย่างเช่นเป็นภัณฑารักษ์ หรือบรรณารักษ์ นอกจากน้ี บณั ฑติ โบราณคดที มี่ ที กั ษะในการรวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะหข์ อ้ มลู และเขยี นรายงาน ยงั สามารถผนั ตวั ไปทำ� งานสายอน่ื อย่างเชน่ การเงิน การสือ่ สารมวลชน และการอนรุ กั ษ์ ไดอ้ กี ด้วย สำ� หรบั ผู้ท่มี คี วามสนใจเฉพาะทางก็ยงั สามารถเรยี นตอ่ คอร์ส Postgraduate Certificate in Education (PGCE) เพอื่ เปน็ อาจารยร์ ะดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษา หรอื ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาเอกหากคณุ สนใจในสายอาชพี นกั วชิ าการ ประเทศไทยยังขาดแคลนนักโบราณคดี ท�ำให้การดูแลไม่ท่ัวถึง ปัจจุบันพบว่าส�ำนักโบราณคดีแต่ละแห่ง มนี กั โบราณคดี 2 - 3 คน การดแู ลไมท่ ว่ั ถงึ ทำ� ใหม้ ปี ญั หากลมุ่ ผลู้ กั ลอบขดุ โบราณวตั ถุ สง่ ขายทงั้ ไทยและตา่ งประเทศ ขณะทก่ี ารศกึ ษาดา้ นโบราณคดใี นขณะน้ี มแี หง่ เดยี วทม่ี หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร แมจ้ ำ� นวนนกั ศกึ ษายงั ไมล่ ดลง แตอ่ ตั รา บรรจุในแต่ละปีของกรมศิลปากรน้นั นอ้ ยมาก คณุ สมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 222 1. จบมธั ยมศึกษาตอนปลาย สายศลิ ป์ สนใจด้านภาษาศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และโบราณคดี 2. ชอบศลิ ปะ ประทบั ใจของโบราณในแง่ตา่ ง ๆ เช่น ในแง่ของประวตั ิศาสตร์ 3. มีความละเอียดรอบคอบ ชา่ งสงั เกต ช่างจดจำ� 4. สนใจเกยี่ วกับประวัตศิ าสตร์ จดุ เริ่มต้นความเปน็ มาของมนุษยชาติ 5. รกั การอ่าน ชอบคน้ ควา้ มีหลกั การและเหตผุ ล สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา - คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วงั ทา่ พระ 31 ถนนหนา้ พระลาน แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศพั ท์ 0-2224-7684 โทรสาร 0-2226-5355 เวบ็ ไซต์ http://www.archae.su.ac.th/index1.html โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ สามารถท่ีจะรับราชการในกรมศิลปากรได้ รวมไปถึงการเป็นนักขุดค้นทางโบราณคดี ค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับ โบราณคดี ทำ� งานในพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ มคั คเุ ทศก์ อาจารยส์ อนประวตั ศิ าสตร์ และทำ� งานบรษิ ทั เอกชน หรอื ประกอบธรุ กจิ ส่วนตัว อาชพี ทเี่ ก่ียวเน่ือง อาจารย์ มัคคเุ ทศก์ ขา้ ราชการ เจา้ หนา้ ท่พี ิพิธภัณฑ์ นกั วชิ าการ แหล่งข้อมลู อ่นื ๆ - กรมศลิ ปากร ถนนหน้าพระธาตุ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200โทรศพั ท์ 0-2222-3569 เว็บไซต์ http:// www.finearts.go.th
ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นกั ประวตั ศิ าสตร์ Historian นยิ ามอาชีพ นักประวัติศาสตร์มีหน้าท่ีหลักอยู่ท่ีต้องน�ำประสบการณ์และ ผลงานในอดตี ของมนษุ ยม์ าเผยแพรใ่ หบ้ คุ คลในปจั จบุ นั และอนาคตไดท้ ราบ นักประวัติศาสตร์มิใช่เพียงมีหน้าที่แสวงหาข้อมูลจริงแล้วบันทึกไว้เท่าน้ัน แต่นักประวัติศาสตร์ต้องเข้าใจและสามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุผล มี ระเบยี บระบบและเปน็ ประโยชนต์ อ่ ปจั จบุ นั และอนาคตมากทสี่ ดุ นน่ั คอื นกั ประวตั ศิ าสตรส์ ามารถอธบิ ายไดว้ า่ เกดิ เหตกุ ารณอ์ ะไรขน้ึ เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร เพราะเหตใุ ด และมผี ลอยา่ งไร ตลอดจนความสำ� คญั ของเหตกุ ารณเ์ หลา่ นน้ั ลักษณะของงานท่ที ำ� นักโบราณคดีปฏิบัติงานเก่ียวกับการศึกษาค้นคว้าของโบราณ ประวัติของคน วัตถุ สิ่งของ ซึ่งอาจจะเป็น โบราณวัตถุท่มี ีอายุ 100 ปีขึน้ ไป หรอื ไมถ่ งึ 100 ปี แต่เป็นสิ่งดีงามควรแก่การรกั ษาไว้ นักโบราณคดีจะใชห้ ลักการ สันนิษฐานประกอบการอธิบายเร่ืองราวความเป็นอยู่ของคนในอดีตได้ ท�ำให้เห็นคุณค่าความส�ำคัญของโบราณใน อดีต นักโบราณคดีอาจเป็นผู้ดูแลรักษา ซ่อมแซมโบราณวัตถุ โบราณสถานให้คงไว้ต่อไป เพ่ือให้เกิดความผูกพัน 223 และภูมใิ จในชาติ สภาพการจา้ งงาน นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นคนของรัฐบาลที่เชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะด้าน รายได้ระดับปริญญาตรี เร่มิ ตน้ ท่ี 17,300 - 25,000 บาท ส่วนใหญ่จะเปิดบรรจุน้อย นกั ประวตั ศิ าสตรถ์ อื เป็นอาชีพทไ่ี มไ่ ดร้ ับความนยิ มนัก ในบา้ นเราเทา่ ไหรน่ กั แตใ่ นตา่ งประเทศถอื เปน็ อาชพี ทสี่ ำ� คญั และไดร้ บั การยอมรบั เปน็ อยา่ งมาก และมอี ตั ราเงนิ เดอื นที่ ค่อนขา้ งสงู สภาพการทำ� งาน การสำ� รวจบรเิ วณพนื้ ท่รี อบ ๆ และสังเกตโบราณวตั ถุ (หรือสง่ิ ของท่คี นทำ� ขึน้ ) ทก่ี ระจายอยู่บนผวิ ดิน เช่น เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ เครอ่ื งมอื เหลก็ เศษหมอ้ ดนิ ซงึ่ เปน็ หลกั ฐานอยา่ งหนงึ่ ทท่ี ำ� ใหร้ วู้ า่ บรเิ วณเพงิ ผานา่ จะเคยมคี น อาศยั อย่มู ากอ่ น โอกาสในการมงี านทำ� สามารถท่ีจะรับราชการในกรมศิลปากรได้ รวมไปถึงการเป็นนักขุดค้นทางโบราณคดี ค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับ โบราณคดี ทำ� งานในพิพธิ ภณั ฑ์ เป็นมคั คุเทศก์ เป็นอาจารย์สอนประวตั ศิ าสตร์ ทำ� งานบริษัทเอกชน ประกอบธุรกจิ ส่วนตัว หรอื ศึกษาต่อระดบั ปรญิ ญาโท-เอก ทั้งในและนอกประเทศ
ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ Department of Employment 1. ชอบศิลปะ สนใจในดา้ นของประวตั ศิ าสตร์ มีความละเอยี ดรอบคอบ ชา่ งสังเกต ชา่ งจดจำ� สนใจเกี่ยวกับ เร่ืองราวประวัตคิ วามเปน็ มาของชนชาติตา่ ง ๆ รกั การอา่ น ชอบค้นควา้ มหี ลักการและเหตุผล 2. ตอ้ งมคี วามอดทน และไมม่ โี รคประจำ� ตวั ทเ่ี ปน็ อนั ตราย เพราะนกั โบราณคดจี ะตอ้ งออกภาคสนาม ตอ้ งอยู่ กบั ดนิ กบั ทราย เพอื่ ไปสำ� รวจขดุ คน้ ประวตั ศิ าสตรใ์ นทต่ี า่ ง ๆ และจะตอ้ งปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มในทตี่ า่ ง ๆ ใหไ้ ด้ 3. ต้องมีจรรยาบรรณ มีความซื่อสัตย์ ไมบ่ ิดเบอื นข้อมลู ทขี่ ดุ ค้นพบได้ ไมค่ ้าของเกา่ เพราะทกุ สิ่งทุกอย่างท่ี ขุดคน้ พบถือเปน็ สมบตั ิของแผ่นดนิ รวมท้งั ไมส่ นับสนุนให้มกี ารคา้ ของเก่าดว้ ย สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา - คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต�ำบลเมืองศรีไค อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 โทรศัพท์ 0-4535-3700 โทรสาร 0-4528-8870 - คณะอกั ษรศาสตร์ สาขาวชิ าประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ช้นั 12 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2218-4672 โทรสาร 0-2218-4673 - คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2561-3480 กด 3 โทรสาร 0-2942-8432 - ภาควชิ าประวตั ิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ถนนพิษณโุ ลก-นครสวรรค์ ต�ำบลทา่ โพธ์ิ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดพิษณโุ ลก 65000 โทรศพั ท์ 0-5596-2162, 0-5596-2166 - คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 123 หมู่ 16 ถนนมติ รภาพ ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่ 40002 โทรศพั ท์ 0-4300-9700 เวบ็ ไซต์ http://www.huso.kku.ac.th - คณะอักษรศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เลขท่ี 6 ถนนราชมรรคาใน 224 ตำ� บลพระปฐมเจดยี ์ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท์ 0-3425-5096-7 โทรสาร 0-3425-5794 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี แนวทางการประกอบอาชพี ของผทู้ ส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษาสาขาประวตั ศิ าสตรม์ มี ากมายและกวา้ งขวางขนึ้ กบั ความสนใจ ความถนดั และทศั นคตขิ องผนู้ น้ั เนอ่ื งจากวชิ าประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ วชิ าพน้ื ฐานวชิ าหนงึ่ ทางดา้ นมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ เมอื่ สำ� เรจ็ การศกึ ษาแลว้ สามารถเลอื กทจ่ี ะไปประกอบอาชพี ใดกไ็ ดท้ ตี่ อ้ งการ เพยี งแตใ่ นบางสาขาอาชพี ตอ้ งศกึ ษาอบรม เพมิ่ เตมิ เชน่ อาชพี ทางดา้ นสอื่ สารมวลชน (นกั ขา่ ว นกั หนงั สอื พมิ พ์ บรรณาธกิ ารวารสาร ผเู้ ขยี นบทภาพยนตร์ ผผู้ ลติ สารคดี ประวตั ศิ าสตร์ ฯลฯ) อาชพี ดา้ นกฎหมาย อาชพี อสิ ระ (นกั เขยี น นกั วจิ ยั เจา้ ของสำ� นกั พมิ พ์ ฯลฯ) อาชพี ที่เกยี่ วเนื่อง สำ� หรบั ผตู้ ้องการจะท�ำงานทางด้านวิชาการประวัติศาสตร์ กย็ งั มอี าชพี อีกมากมายรองรับ เชน่ ครู อาจารย์ นักวิจัยประจ�ำสถาบันต่าง ๆ นักจดหมายเหตุ นักโบราณคดี ภัณฑารักษ์ นักวิชาการประจ�ำหน่วยงานต่าง ๆ ของกระทรวงการต่างประเทศ หรอื องคก์ รระหวา่ งประเทศ แหลง่ ขอ้ มูลอนื่ ๆ - กรมศลิ ปากร ถนนหน้าพระธาตุ เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศพั ท์ 0-2222-3569
ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นกั ฟสิ กิ ส์ Physicist นิยามอาชีพ นำ� หลกั การทางฟสิ กิ สม์ าใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน : ทำ� การวจิ ยั ขน้ั มลู ฐาน เพ่อื ศึกษาปรากฏการณท์ างฟิสิกสใ์ นแขนงตา่ ง ๆ เช่น กลศาสตร์ ความร้อน แสง เสยี ง ไฟฟา้ และแมเ่ หลก็ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละอะตอม; ทำ� การวจิ ยั ประยกุ ต์ และพัฒนาวิธีปฏิบัติการทางฟิสิกส์ เพ่ือให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับความสัมพันธ์ ระหว่างคุณสมบัติ และปรากฏการณ์ต่างๆ; ประยุกต์ใช้หลักการทางฟิสิกส์ ขั้นมูลฐานทางด้านอุตสาหกรรม; ออกแบบและปฏิบัติการทดลองด้วย เคร่ืองมือพ้ืนฐานทางฟิสิกส์; ปฏิบัติการวัดและวิจัยโดยใช้อุปกรณ์ที่มี ความซับซ้อนในการดูแลของนักฟิสิกส์เฉพาะทาง; ท�ำการสอนและพัฒนา แนวความคิดทางทฤษฎแี ละปฏบิ ัติการ ลักษณะของงานทท่ี ำ� 1. ตรวจสอบปรากฏการณท์ างฟสิ ิกส์ และกฎทางฟิสิกส์มาใชใ้ นทางปฏิบัติ 2. ท�ำการวิจยั ข้นั มลู ฐาน เก่ยี วกบั ปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ ในแขนงตา่ ง ๆ เช่น กลศาสตร์ ความร้อน เสยี ง แสง ไฟฟา้ และแมเ่ หลก็ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และอะตอม เพ่อื ค้นหากฎข้ันมลู ฐานของวิชาฟสิ ิกส์ 3. ท�ำการวิจยั ประยุกต์ และพัฒนาวิธกี ารปฏิบัตใิ นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลเกี่ยวกับ 225 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคณุ สมบตั ิ และปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ในแขนงวิชาเหลา่ น้ี 4. นำ� หลกั ทางวิทยาศาสตร์ขน้ั มูลฐานมาใชใ้ นดา้ นอตุ สาหกรรม โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในเร่ืองอุปกรณ์เกย่ี วกับ การวัดที่ละเอยี ด และแม่นย�ำ 5. ออกแบบ และสร้างเครอ่ื งวิทยุ ทัศนอุปกรณ์ และการทดสอบทางฟสิ ิกสข์ องวตั ถุตา่ ง ๆ สภาพการจ้างงาน สำ� หรบั บคุ ลากรในนกั ฟสิ กิ ส์จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศกึ ษาหนว่ ยงานและประสบการณใ์ นการทำ� งาน สว่ นมากทำ� งานสปั ดาหล์ ะ 40 ชว่ั โมง อาจจะทำ� งานลว่ งเวลา ทำ� งานวนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ วนั หยดุ หรอื ในกรณี ทต่ี อ้ งการใหง้ านทไี่ ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ใหท้ นั ตอ่ การใชง้ าน นอกจากผลตอบแทนในรปู เงนิ เดอื นแลว้ ในภาครฐั วสิ าหกจิ และเอกชนอาจได้รับผลประโยชน์พิเศษอย่างอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือ สวัสดิการใน รปู ต่าง ๆ เงนิ โบนสั เป็นตน้ สภาพการทำ� งาน นักฟิสิกส์ ท�ำงานในสถานท่ีท�ำงานที่มีสภาพเหมือนสถานท่ีท�ำงานท่ัวไป คือเป็นส�ำนักงานท่ีมีอุปกรณ์ สง่ิ อำ� นวยความสะดวกเชน่ สำ� นกั งานทวั่ ไป สำ� หรบั บางหนว่ ยงานทตี่ รวจสอบ ทดลอง หรอื วจิ ยั ตอ้ งปฏบิ ตั กิ ารในหอ้ ง ปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ทดสอบอุปกรณท์ ่วี ิจัยในภาคสนาม ตอ้ งมคี วามละเอยี ดรอบคอบ เนอ่ื งจากอาจจะ เกิดอนั ตรายจากการทดสอบ หรอื วิจัยงาน
ท20่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมีงานทำ� Department of Employment ผทู้ สี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาดา้ นน้ี สามารถทจี่ ะตดิ ตามการรบั สมคั รงานตามหนว่ ยงาน กรม กองตา่ ง ๆ แลว้ พจิ ารณา วา่ ตนเองมคี ณุ สมบตั ติ ามทตี่ อ้ งการหรอื ไม่ เชน่ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ กรมแพทยท์ หารบก มหาวทิ ยาลยั ตา่ ง ๆ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรมวทิ ยาศาสตรท์ หารเรอื กรมอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา กองพสิ จู นห์ ลกั ฐาน กรม ต�ำรวจ กองฟิสิกสห์ ลักฐาน สำ� นักงานปรมาณูเพอ่ื สันติ กองทัพบก กองทพั เรือ และกองทัพอากาศ หรอื อาจจะเข้า ทำ� งานในภาคเอกชน ในสถานประกอบการผลติ ผลิตภัณฑ์เก่ยี วกบั การวัด ทล่ี ะเอยี ดและแม่นย�ำ โดยความเปน็ จริง แลว้ มคี วามตอ้ งการนกั ฟสิ กิ สม์ าก แตเ่ นอื่ งจากสภาพเศรษฐกจิ ของประเทศตกตำ�่ และนกั ฟสิ กิ สส์ ว่ นใหญท่ ำ� งานกบั หน่วยงานของราชการ ท�ำให้ความต้องการค่อนข้างน้อย เนื่องจากงบประมาณมีจ�ำกัด และเป็นการจ้างหรือบรรจุ งานเพ่ือทดแทนอตั ราทวี่ า่ งลงส่วนอตั ราใหม่มีไม่มากนกั อย่างไรกต็ ามการเปน็ อาจารย์ในระดับอดุ มศกึ ษาจะดีทีส่ ุด เพราะเปน็ ทต่ี ้องการของสถาบนั การศึกษาทุกสถาบนั เนื่องจากประเทศไทยยังขาดแคลนบุคลากรด้านน้ีอย่มู าก คณุ สมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีทางวทิ ยาศาสตร์ สาขาวิชาฟสิ ิกส์ 2. มีความคิดสรา้ งสรรค์ ชอบประดิษฐ์ คิดคน้ 3. มคี วามรบั ผิดชอบในหน้าที่ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 4. มบี คุ ลกิ ดี มนุษยสัมพนั ธ์ดี รักความกา้ วหน้า 5. มีความขยันและอดทน 6. มคี วามคดิ กวา้ งไกล เพราะนกั ฟสิ กิ สจ์ ะทำ� งานเพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านสำ� เรจ็ ตามทตี่ ง้ั ใจในชนิ้ นนั้ ๆ 226 สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา - คณะวทิ ยาศาสตร์ ภาควชิ าฟสิ ิกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2218-7550 โทรสาร 0-2253-1150 เวบ็ ไซต์ http://www.phys.sc.chula.ac.th/ - คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวชิ าฟสิ กิ ส์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ถนนรงั สติ -นครนายก ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 โทรศัพท์ 0-2549-4186, 0-2549-4187, 0-2549-4193 โทรสาร 0-2549-4186, 0-2549-4187 เว็บไซต์ http://www.sci.rmutt.ac.th/physics/ โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผูร้ ับราชการเป็นครูหรอื อาจารย์สอน หรือท�ำงานวจิ ยั ในกรม กอง และสถาบันค้นคว้าและวิจัยจะมีโอกาส ก้าวหน้าในระดับผู้บริหาร หรือถ้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทหรือเอกจนส�ำเร็จการศึกษา ก็สามารถท�ำงานเป็น อาจารย์หรือท�ำงานในหนว่ ยงานภาครฐั โดยท�ำงานในหน่วยงานปฏบิ ัติการวจิ ัยทางฟิสกิ ส์ ส�ำหรบั ผู้ท่ชี อบประดิษฐ์ ค้นควา้ อาจคิดคน้ ประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งมือเครอ่ื งใช้ นำ� มาผลติ ออกเปน็ ผลติ ภณั ฑจ์ ำ� หน่ายเปน็ อุตสาหกรรมได้ อาชพี ทีเ่ กย่ี วเน่ือง ครู/อาจารย์ วิศวกร แหล่งขอ้ มลู อ่นื ๆ - สมาคมฟิสกิ สไ์ ทย เว็บไซต์ http://www.thps.org/
ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักวิจัย Researcher นิยามอาชพี นักวิจัย คือ ผู้ที่ด�ำเนินการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็น ระบบ เพอื่ ตอบประเดน็ ขอ้ สงสยั โดยมรี ะเบยี บวธิ อี นั เปน็ ทยี่ อมรบั ในแต่ละศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งครอบคลุมทั้งแนวคิด มโนทัศน์ และวธิ กี ารทใี่ ชใ้ นการรวบรวม และวเิ คราะหข์ อ้ มลู จรรยาบรรณ หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสม ท่ีแสดงถึงคุณธรรม และจริยธรรมในการประกอบอาชีพของกลุ่มบุคคลแต่ละสาขา วชิ าชพี นำ� มาประมวลขนึ้ ไวเ้ ปน็ หลกั เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ในสาขาวชิ าชพี นั้น ๆ ยึดถือปฏิบัติ เพ่ือรักษาช่ือเสียง และส่งเสริมเกียรติคุณ ของสาขาวิชาชีพของตน จรรยาบรรณนักวิจัย หมายถึง หลัก เกณฑก์ ารประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องนกั วจิ ยั ทว่ั ไป เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานวจิ ยั ตง้ั อยบู่ นพน้ื ฐานของจรยิ ธรรมและหลกั วชิ าการ ทเี่ หมาะสม ตลอดจนการประกนั มาตรฐานของการศกึ ษาคน้ ควา้ ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งสมศกั ดศิ์ รแี ละเกยี รตภิ มู ขิ องนกั วจิ ยั อาชพี นกั วจิ ยั แบง่ ออกเปน็ หลายสาขาตามแขนงวชิ าชพี ตา่ ง ๆ โดยการวจิ ยั แบง่ ออกเปน็ วจิ ยั เพอ่ื ศกึ ษาพน้ื ฐาน วจิ ยั เพอื่ ประยกุ ต์ วจิ ยั เพอ่ื การทดลอง ส�ำหรบั การวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่ วจิ ยั เรอ่ื งยารกั ษาโรค เรอ่ื งเชอ้ื โรคตา่ ง ๆ 227 เร่ืองเทคโนโลยี เรื่องการส�ำรวจพื้นที่ต่าง ๆ การวิจัยทางสังคม เช่น ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ สัตว์ วัฒนธรรม สภาพแวดลอ้ ม ความต้องการ ความพึงพอใจต่าง ๆ ฯลฯ การวจิ ยั ทางการศึกษา เช่น การทดลองเครื่องมอื ส�ำหรับ พฒั นาการศึกษา การวิจัยในชัน้ เรียน การวจิ ัยเพ่อื ศึกษาขอ้ มลู และอื่น ๆ อกี มากมายท่ีนา่ ค้นควา้ ลกั ษณะของงานทท่ี ำ� ด�ำเนนิ การปฏิบตั ิงานทีย่ ากเก่ียวกบั งานวิจัย โดยปฏบิ ตั ิหน้าท่ีอยา่ งใดอยางหนง่ึ หรือหลายอยา ง เชน ศึกษา ทดสอบ รวบรวม วิเคราะหขอมูลสถิติเก่ียวกับเรื่องท่ีจะทําการวิจัย พร้อมทั้งจัดทํารายงานผลการศึกษา ทดสอบ รวบรวม วเิ คราะหเ พอื่ นาํ ไปพจิ ารณาหาทางแกไ ขปญ หาและวางแผนการดาํ เนนิ งานในดา นตา ง ๆ กาํ หนดหวั ขอ หวั เรอื่ ง ในการทาํ วจิ ยั และรายละเอยี ดในการจดั หาขอ มลู กาํ หนดหวั ขอ ในการศกึ ษาและการประเมนิ ผล จดั ทาํ รายงานผลการ วิจยั เร่อื งต่าง ๆ ชว ยนักวจิ ัยระดับสูงศกึ ษาคนควา วจิ ัยเรอ่ื งหน่งึ เรือ่ งใดตามที่ไดร บั มอบหมาย ฝกอบรมใหค าํ ปรึกษา แนะนาํ ในการปฏบิ ตั งิ านแกเ่ จา้ หนา้ ทร่ี ะดบั รองลงมา และนกั ศกึ ษาทม่ี าฝก ปฏบิ ตั งิ านตอบปญ หาและชแี้ จงเรอื่ งตา ง ๆ เก่ียวกับงานในหนา ทแ่ี ละการปฏบิ ัตหิ นา้ ทอ่ี ืน่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2. การสรา้ งเคร่ืองมอื 3. การทดลอง 4. การเขียนรายงาน
ท20่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการจ้างงาน Department of Employment จรงิ ๆ แลว้ นกั วจิ ยั ถา้ มโี ครงการวจิ ยั ทโี่ ดดเดน่ สามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และอาจจะตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์ ของสถานประกอบการอตุ สาหกรรมหรอื ผูใ้ หค้ วามสนใจ ซึง่ ผลงานวิจยั นั้นจะเร่ิมสรา้ งรายไดต้ ้ังแต่การ “ขายสทิ ธใ์ิ น การใชส้ ทิ ธบิ ตั ร” ถา้ ผปู้ ระกอบการน�ำเอาผลงานวจิ ยั นน้ั ไปใชผ้ ลติ หรอื ท�ำขายจรงิ นกั วจิ ยั จะไดส้ ว่ นแบง่ จากสนิ คา้ ท่ี ท�ำจากผลงานวจิ ัยนัน้ สภาพการทำ� งาน ผูป้ ระกอบอาชีพนกั วิจัย อาจจะต้องปฏิบัตงิ านในหอ้ งท�ำงานเหมอื นส�ำนกั งานทว่ั ไป หรือปฏิบตั งิ านในหอ้ ง ปฏิบัติการทดลอง เพื่อปฏิบัติงานด้านการทดสอบและทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรืออาจจะปฏิบัติงานภาคสนาม สำ� รวจและศกึ ษาจากของจรงิ ในภาคสนาม เพ่อื เกบ็ ข้อมูล ปฏิบตั งิ านตามขนั้ ตอน ตามระเบยี บท่ีก�ำหนดไว้ อาจต้อง ท�ำงานในบริเวณที่ก�ำหนด และเป็นบริเวณห้ามสูบบุหรี่หรือรับประทานอาหาร ต้องใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ หน้ากาก เปน็ ต้น โออกาชาพี สนใกั นวจิ กยั าเปรน็ มอาีงชราพี หนทสัส่ี ทำ�อคำ� าญั ชอีพยา่ งม0า0ก0เน0อ่ื -งจ0า0ก เป็นหนึ่งในกลไกการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าข้ึน อย่างต่อเน่ือง มีวิทยาการใหม่ ๆ เกิดขึ้นในสังคม ซึ่งนัก วจิ ยั มหี ลายสาขาเพมิ่ มากขน้ึ ตามวิวัฒนาการความรู้ที่เกิด ข้ึนใหม่ เช่น นักวิจัยนาโนเทคโนโลยี เป็นวิทยาการใหม่ 228 และนักวิจัยในสาขาอ่ืน ๆ เช่น สาขาการศึกษา เป็นการ วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ การวิจัยจึงเป็นส่ิงคู่กับมนุษย์ตลอดไป เพ่ือความก้าวหน้า ทางภูมปิ ญั ญาของสังคมโลก คณุ สมบัติของผูป้ ระกอบอาชพี 1. สำ� เร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจนถึงระดบั ปริญญาโท สาขาการวิจยั นั้น ๆ 2. มคี วามละเอยี ด รอบคอบ 3. มคี วามซ่ือสตั ย์ สจุ ริต 4. ชอบศึกษาคน้ ควา้ รกั การเรยี นรู้ 5. มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ 6. มีความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 7. มคี วามคิดเปน็ ระบบ และทำ� งานเป็นระบบ 8. ชอบการทดลอง 9. มีความเปน็ นักพัฒนา 10. มคี วามมุ่งมัน่ 11. มีความอดทน
ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา กรมการ ัจดหางาน - วิทยาลยั การแรงงาน กรมการพฒั นาฝมี ือแรงงาน ถนนมติ รไมตรี เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ Department of Employment 0-2643-4981, 0-2245-1707 ตอ่ 312, 321 - ศูนย์เทคนคิ การแพทยค์ ลนิ ิก คระเทคนคิ การแพทย์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 110 ถนนอนิ ทวโรรส ตำ� บล ศรภี ูมิ จังหวดั เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5394-5095 อีเมล [email protected] - ฯลฯ โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ การเป็นนักวิจัยในมหาวิทยาลัยไม่ได้เงินดี เทา่ ไร ถงึ จะมโี ครงการจา้ งใหเ้ ปน็ ทป่ี รกึ ษาเขา้ มาบา้ งก็ ยงั มรี ายไดไ้ มด่ ขี น้ึ มากนกั นกั วจิ ยั ใหญใ่ นมหาวทิ ยาลยั อาจจะได้ค่าตอบแทนเพียงเท่ากับนักวิจัยรุ่นกลางใน บริษัทวิจัยเอกชนเท่านั้น และเทียบไม่ได้กับการเป็น นกั วิจัยใหญใ่ นตา่ งประเทศ ท้ายสุดแล้ว ส่ิงสูงสุดของการเป็นนักวิจัยใน มหาวิทยาลยั คือ เกยี รตยิ ศ ซ่งึ ไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ ปราชญ์ของสังคม สามารถชนี้ �ำสังคมไปสู่ความเป็นสังคมอุดมปัญญา เป็นท่พี ่ึงทางปญั ญาแกค่ นอนื่ ทัว่ ไปที่ต้องการ คำ� แนะนำ� ในสาขาทน่ี กั วจิ ยั ท่านน้นั มคี วามเชีย่ วชาญ อาชพี ที่เกย่ี วเน่อื ง 229 นักวจิ ยั อาจารย์มหาวิทยาลัย นกั ทดลอง ผ้เู ชีย่ วชาญพิเศษเจ้าของกจิ การ และอื่น ๆ แหล่งข้อมูลอื่น ๆ - หอ้ งแนะแนวโรงเรียนต่าง ๆ - หอ้ งสมดุ - เวบ็ ไซต์ - หนงั สอื การวิจัยตา่ ง ๆ
กรมการ ัจดหางาน ท20ีต่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักวิทยาศาสตร์ Scientist นิยามอาชพี นักวิทยาศาสตร์ คือ บุคลากรผู้มีความเชี่ยวชาญทาง วทิ ยาศาสตรโ์ ดยมคี วามถนดั อยา่ งนอ้ ยหนงึ่ ทาง และสามารถใช้ หลกั วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการคน้ ควา้ วจิ ยั ผลงานได้ อาชพี นกั วทิ ยาศาสตร์ เปน็ อาชพี ทส่ี ำ� คญั กอ่ เกดิ วทิ ยาการ ดา้ นใหม่ ๆ หรอื สาขาตา่ ง ๆ ขนึ้ มากมาย เชน่ - นกั วทิ ยาศาสตร์ สาขาวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล วจิ ยั ศกึ ษา เกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ้ มทางทอ้ งทะเล มาใชป้ ระโยชน์ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและทรงคณุ คา่ - นกั วทิ ยาศาสตร์ สาขาวสั ดศุ าสตร์ คน้ ควา้ วจิ ยั เกยี่ วกบั กระบวนการผลติ วสั ดภุ ณั ฑ์ กระบวนการในอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ เชน่ โพลเี มอร์ เสน้ ใยสง่ิ ทอ สพี ลาสตกิ และวสั ดเุ คลอื บผวิ ตา่ ง ๆ สงิ่ สำ� คญั สำ� หรบั การเรยี นรหู้ ลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ คอื ศกึ ษาคน้ ควา้ หมน่ั ตงั้ คำ� ถาม เชน่ อะไร ทไี่ หน ทำ� ไม เมอ่ื ไร 230 อยา่ งไร และดำ� เนนิ การหาคำ� ตอบ ดว้ ยวธิ กี ารทเี่ ปน็ ระบบระเบยี บและพสิ จู นไ์ ด้ ลักษณะของงานทีท่ ำ� การศกึ ษาเพอื่ รเิ รม่ิ กระบวนการใหม่ ๆ เฉพาะสาขาตา่ ง ๆ ควบคไู่ ปกบั การศกึ ษากระบวนการทางธรรมชาติ เพอื่ นำ� เอาวทิ ยาการใหม่ ๆ มาใชค้ วบคไู่ ปกบั การใชแ้ ละดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งเหมาะสม สภาพการจา้ งงาน ปจั จบุ นั อาชพี นกั วทิ ยาศาสตรน์ น้ั มกี ารแบง่ และแยกสาขาออกมามากมาย นกั วทิ ยาศาสตรใ์ นประเทศไทย นนั้ โอกาสในการแสดงศกั ยภาพนนั้ ยงั ไมค่ อ่ ยเตม็ ท่ี เนอื่ งจากยงั ไมค่ อ่ ยไดร้ บั การสนบั สนนุ มากนกั จงึ เกดิ ปญั หาสมอง ไหลไปตา่ งประเทศอยู่เสมอ ในประเทศไทยนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และนกั ทรัพยากรธรณี จะได้รบั เงนิ เดอื นใกลเ้ คียงกัน คือ โดยเฉลย่ี ประมาณ 19,700 และ 21,300 บาท ตามลำ� ดับ สภาพการทำ� งาน ศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื ความเขา้ ใจในธรรมชาติ เชน่ ศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจธรรมชาตขิ องเชอ้ื ไวรสั อยา่ งถอ่ งแท้ ทำ� การศกึ ษาเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจธรรมชาตขิ องสารกง่ึ ตวั น�ำ สารตวั นำ� ยง่ิ ยวด เปน็ ตน้ แลว้ นำ� ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการศกึ ษานนั้ มา ใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ มนษุ ยชาตติ อ่ ไป
ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานท�ำ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ในประเทศไทย การทำ� งานทางดา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ สี้ ว่ นใหญ่ อาจเปน็ อาจารยส์ อนวทิ ยาศาสตร์ ในระดบั อดุ มศกึ ษา และสามารถมคี วามกา้ วหนา้ ถงึ ตำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ ซงึ่ เปน็ ตำ� แหนง่ ทม่ี รี ะดบั 10 ถงึ 11 เทยี บไดก้ บั ตำ� แหนง่ ของรองปลดั กระทรวงหรอื อธบิ ดใี นหนว่ ยงานราชการอนื่ ๆ ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถของตวั บคุ คล อาจารย์ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรไ์ มไ่ ดม้ กี ารจำ� กดั จำ� นวนบคุ คลทจี่ ะดำ� รงตำ� แหนง่ นอกจากการเปน็ อาจารยแ์ ลว้ ยงั อาจทำ� หนา้ ที่ ในหนว่ ยราชการทดี่ ำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่ กระทรวง วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสขุ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ สำ� นกั งานพลงั งานปรมาณเู พอ่ื สนั ติ การ ปโิ ตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย สำ� หรบั งานในภาคราชการน้ี นกั วทิ ยาศาสตร์ มโี อกาส ในการไปศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ เนอื่ งจากการเรยี น วทิ ยาศาสตรต์ อ้ งมคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยสี าขาตา่ ง ๆ เชน่ คอมพวิ เตอร์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สารเคมี เปน็ ตน้ ผทู้ สี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ จงึ สามารถทำ� งานในภาคอตุ สาหกรรม ไดด้ ว้ ย ซงึ่ สามารถทำ� งานที่ บรษิ ทั ขายเครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตรแ์ ละเคมภี ณั ฑ์ โรงงานอตุ สาหกรรม ฯลฯ คุณสมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. ต้องเป็นผทู้ ีร่ กั การสังเกต ชา่ งสงสัย สามารถตงั้ ข้อสงสัยจากส่งิ ที่สงั เกตนั้น และตอ้ งการท่ีจะหาคำ� ตอบ ของข้อสงสัยนั้นให้ได้ เช่น สังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในธรรมชาติ อาจจะท�ำได้โดยการท�ำการทดลอง หรืออาจจะวิเคราะห์สิง่ ทเี่ ราสงั เกตจนได้เป็นข้อสนั นิษฐานนนั้ น�ำมาสรปุ เปน็ ผลทีไ่ ดจ้ ากการทดลอง และใชผ้ ลสรปุ นนั้ ในการอธบิ ายขอ้ สงสยั ต่อไป 2. ในด้านคุณธรรม นักวิทยาศาสตร์ต้องรายงานผลการทดลองท่ีตนเองค้นพบตามความจริง ต้องซื่อสัตย์ ไมบ่ ดิ เบอื นขอ้ มลู ใหไ้ ดผ้ ลสรปุ เปน็ ไปตามทคี่ าดหวงั ไว้ และตอ้ งเคารพในผลงานการคน้ พบของนกั วทิ ยาศาสตรท์ า่ น อน่ื โดยไมน่ ำ� ผลงานท่ที ่านอืน่ ค้นพบมา แอบอา้ งเป็นช่ือของตนเอง 231 3. นอกจากน้ีควรใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ของตนเองเพ่ือการสร้างสรรค์สังคมและธรรมชาติ ต้องไม่ใช้ ความรู้ ทมี่ ไี ปในทางทำ� ลายธรรมชาตแิ ละคุณธรรมอนั ดีงาม 4. นักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นคนท่ีต้องท�ำงานเป็นกระบวนการอย่างมีระบบ การท่ีนักวิทยาศาสตร์สามารถ ท�ำงานเปน็ กระบวนการไดน้ น้ั แสดงวา่ ตอ้ งมลี ักษณะนิสัยทีจ่ ำ� เป็นในการท�ำงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ 5. เปน็ คนชา่ งสงั เกต นักวทิ ยาศาสตรม์ ักเป็นคนช่างสงั เกต พร้อมจะเรยี นร้เู พ่อื คน้ พบสง่ิ ใหม่ ๆ ส่กู ารคดิ ค้น หาค�ำอธิบาย ท�ำให้เกิดการค้นพบกฎหรือทฤษฎตี า่ ง ๆ มากมาย 6. เป็นคนอยากรู้อยากเห็น นักวิทยาศาสตร์ส่วนมาก มักเป็นคนช่างคิดช่างสงสัย และอยากรู้อยากเห็น อยากพบความจริงใหม่ ๆ จึงมักต้ังปัญหาต่าง ๆ เพ่ือค้นหาค�ำตอบเสมอ ลักษณะนิสัยน้ีน�ำไปสู่การค้นพบข้อมูล และความร้ใู หม่ ๆ เสมอ 7. มีเหตุมีผล เน่ืองจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่ต้องอธิบายได้ด้วยเหตุด้วยผล ดังน้ัน นกั วทิ ยาศาสตรจ์ งึ ตอ้ งมลี กั ษณะนสิ ยั ของความมเี หตมุ ผี ล เมอื่ ขอ้ มลู ใหม่ หรอื พบปรากฏการณใ์ หม่ นกั วทิ ยาศาสตร์ จะศึกษาปรากฏการณ์เช่นนี้ สาเหตุว่าเป็นอย่างไร เม่ือทราบสาเหตุใดสาเหตุหน่ึง ก็จะบอกได้ว่าผลเป็นอย่างไร นกั วทิ ยาศาสตรจ์ ะไมเ่ ชื่อค�ำกลา่ วอา้ งทไี่ มม่ หี ลกั ฐาน แตจ่ ะเชอ่ื ในสง่ิ ที่มปี ระจกั ษ์พยาน หรอื หลกั ฐานสนบั สนนุ เสมอ 8. เปน็ คนมคี วามคดิ รเิ รม่ิ คดิ ทำ� สง่ิ ใหมเ่ สมอผลงานทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื สง่ิ ประดษิ ฐท์ เี่ ปน็ ผลของวทิ ยาศาสตร์ ท่ีเราได้น�ำมาใช้กันมากมายทุกวันน้ีเป็นผลของความคิดริเริ่มของนักวิทยาศาสตร์แทบท้ังส้ิน เช่น หลอดไฟจาก ความคดิ ของทอมัส แอลวา เอดสิ ัน เคร่ืองบนิ จากความคดิ ของพ่ีน้องตระกูลไรต์ กฎแรงโน้มถว่ งของนิวตนั
กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 9. เป็นคนมคี วามอดทนและมคี วามมานะ พยายามท่ีจะทำ� ผลงานของตนให้สำ� เร็จ มคี วามอดทนตอ่ ปัญหา และความทุกข์ยากและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ เพราะผลงานทางวทิ ยาศาสตร์น้นั อาจไม่ได้จะทำ� ส�ำเร็จไดด้ ว้ ยการ ทดลองเพียงครั้งเดียว สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5394-5532-4 โทรสาร 0-5394-6139 - คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารมหามกุฎ ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรงุ เทพมหานคร 10330 โทรศพั ท์ 0-2218-5000 - คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 50 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 เวบ็ ไซต์ www.sci.ku.ac.th โทรศพั ท์ 0-2562-5444, 0-2562-5555 โทรสาร 0-2942-8290 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ http://www.sci.ku.ac.th - คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ โทรศพั ท์ 0-2926-9514, 0-2926-9506 • ทา่ พระจนั ทร์ 2 ถนนพระจนั ทร์ แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 • ศนู ยร์ งั สติ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลคลองหนง่ึ อำ� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 • ศนู ยล์ ำ� ปาง 248 หมู่ 2 ตำ� บลปงยางคก อำ� เภอหา้ งฉตั ร จงั หวดั ลำ� ปาง 52190 • ศนู ยพ์ ทั ยา 39/4 หมู่ 5 ตำ� บลโปง่ อำ� เภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบรุ ี 20150 - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซอยสุขุมวิท 23 (ประสานมิตร) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวฒั นา กรงุ เทพฯ โทรศัพท์ 0-2649-5000 โทรสาร 0-2258-4007 - คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 เว็บไซต์ 232 www.sci.ru.ac.th อเี มล [email protected] โทรศพั ท์ 0-2310-8380 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ในทุกวันน้ี วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐานของการพัฒนาเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ในประเทศท่ีพัฒนาแล้วและมี ความมนั่ คงทางดา้ นเศรษฐกจิ มกั จะเปน็ ประเทศทมี่ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำ� หรบั ประเทศไทย แมจ้ ะอดุ มสมบรู ณไ์ ปดว้ ยทรพั ยากรธรรมชาติ แตก่ ารพฒั นาประเทศเทา่ ทผ่ี า่ นมายงั ดำ� เนนิ ไปไมไ่ ดเ้ ตม็ ท่ี ทง้ั น้ี เพราะขาดบคุ คลทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถเปน็ พเิ ศษทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทจ่ี ะท�ำการวจิ ยั ศกึ ษาคน้ คว้าในเรือ่ งตา่ ง ๆ เพ่ือน�ำทรพั ยากรธรรมชาติมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด หรอื ท�ำการประดิษฐ์ คิดค้นหรอื ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยที ถี่ า่ ยทอดมาจากตา่ งประเทศใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการพฒั นาของประเทศตา่ ง ๆ คนไทยอาชพี นี้ ยงั ไม่เป็นทรี่ จู้ กั ดีเทา่ ท่คี วร ทั้ง ๆ ท่ปี ระเทศทพ่ี ัฒนาแลว้ จะใหค้ วามส�ำคญั ส่งเสริมและสนับสนุนอาชีพนี้อยา่ งจรงิ จัง แต่มีโครงการหนึ่งท่ีรัฐบาลสมัย พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้ให้ความส�ำคัญในการผลิตนักวิทยาศาสตร์บริสุทธ์ิ โดยอนุมัติให้ด�ำเนินการโครงการพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหรือ เรยี กวา่ โครงการ พสวท.ซงึ่ ปจั จบุ นั ไดม้ ผี ลติ ผลเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรแ์ ละนกั วจิ ยั ในหนว่ ยงานตา่ ง ๆ แลว้ จำ� นวน 290 คน
ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment อาชพี ทเี่ กยี่ วเนอ่ื ง - เขา้ รบั ราชการในกรม กอง และองคก์ ารตา่ ง ๆ เชน่ กรมวทิ ยาศาสตร,์ กรมทรพั ยากรธรณ,ี กรมประมง, กรมชลประทาน กรมปศุสัตว์ กรมศุลกากร สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย องค์การแก้ว องค์เชื้อเพลิง กรมพลงั งานทหาร กรมสรรพาวธุ - เปน็ คร/ู อาจารย์ สอนวชิ าวทิ ยาศาสตรใ์ นโรงเรยี น วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั - เปน็ นกั วชิ าการ ปฏบิ ตั งิ านในมหาวทิ ยาลยั สถาบนั วจิ ยั เกย่ี วกบั การแพทย์ การเกษตร อตุ สาหกรรมผลติ เครอ่ื งดมื่ อาหารและยา เปน็ ตน้ แหลง่ ขอ้ มลู อนื่ ๆ - หอ้ งแนะแนวในโรงเรยี น - เวบ็ แนะแนว - หอ้ งสมดุ - กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เวบ็ ไซต์ www.most.go.th/ 233
กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั วิทยาศาสตร์การอาหาร Food Science นยิ ามอาชีพ วเิ คราะหแ์ ละวจิ ยั ลำ� ดบั การเปลยี่ นแปลงกระบวนการ ทางเคมีและทางกายภาพที่เกิดข้ึนกับอาหาร เพื่อด�ำเนินการ พฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหารต่าง ๆ อนั ไดแ้ ก่ อาหารและเครือ่ งดืม่ ต่าง ๆ ปรบั ปรุงกระบวนการผลิต และการแปรรปู อาหารเพอ่ื ใหไ้ ดอ้ าหารทมี่ ปี ระโยชนต์ อ่ ผบู้ รโิ ภคในดา้ นคณุ คา่ ทางอาหาร ไมเ่ ปน็ โทษตอ่ รา่ งกาย ราคายตุ ธิ รรม ทต่ี อ้ งค�ำนงึ ถงึ ผลกระทบ ท่ีจะเกิดขนึ้ ต่อสงั คม วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอ้ มอีกด้วย ลกั ษณะของงานทท่ี ำ� ประเทศไทยเริ่มมีการศึกษาเรื่องเทคโนโลยีการอาหาร หรือวิทยาศาสตร์การอาหาร เมื่อปี พ.ศ. 2505 โดยไดม้ กี ารพฒั นาหลกั สตู รเกยี่ วกบั วทิ ยาศาสตรก์ ารอาหารขน้ึ ในภาควชิ าวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยกี ารอาหารคณะ อตุ สาหกรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ บคุ ลากรทม่ี คี ณุ ภาพเขา้ สภู่ าคอตุ สาหกรรมการอาหาร 234 นกั วิทยาศาสตรก์ ารอาหารมีหนา้ ท่ีดงั ต่อไปน้ี 1. เลือกใชเ้ ครือ่ งจกั รและเทคโนโลยที ถ่ี ูกต้องเหมาะสมในการผลติ หรือในการแปรรปู อาหาร 2. บรหิ ารและวางแผนกระบวนการแปรรปู อาหาร หรอื ถนอมอาหารอยา่ งเปน็ ระบบและอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน 3. เตรียมวัตถดุ ิบใหต้ รงตามความตอ้ งการท้ังปรมิ าณและคุณภาพ 4. มคี วามเขา้ ใจในรายละเอยี ด เงอื่ นไขของฤดกู าลการผลติ สนิ คา้ การเกษตร ตลอดจนแหลง่ วตั ถดุ บิ ทม่ี คี ณุ คา่ ในการผลิต 5. ศึกษาวจิ ยั ในการพฒั นา คน้ ควา้ ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร และกระบวนการแปรรปู ถนอมอาหาร และเทคนคิ วธิ กี าร ผลติ สนิ คา้ ใหม่ ๆ 6. จัดเตรยี มวัตถุดบิ ตรวจบันทกึ และจดั ซ้อื วตั ถุดิบใหเ้ พยี งพอกับความต้องการของการผลติ สนิ คา้ 7. ให้ค�ำแนะนำ� ดแู ลและควบคมุ บคุ ลากร ในสายงานการผลติ 8. ควบคมุ คุณภาพและปรมิ าณของผลติ ภัณฑอ์ าหาร ใหม้ ีคณุ ค่า ไดม้ าตรฐานทางโภชนาการ 9. มีความร้ดู า้ นการพฒั นาการตลาดและต้นทนุ การผลิต
ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ในภาคราชการ ผปู้ ฏบิ ตั อิ าชพี น้ี จะไดร้ บั คา่ จา้ งเปน็ อตั ราเงนิ เดอื น และสวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ ตามขอ้ กำ� หนดของ คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น โดยผจู้ บวฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี จะไดร้ บั ตามอตั ราเงนิ เดอื น ในภาคเอกชนผปู้ ฏบิ ตั อิ าชพี นี้ จะไดร้ บั อตั ราคา่ จา้ งตามเงนิ เดอื น พรอ้ มทง้ั สวสั ดกิ าร และการไดร้ บั โบนสั ประจำ� ปี สภาพการทำ� งาน ผปู้ ระกอบอาชพี น้ี อาจทำ� งานทง้ั ในโรงงานผลติ และในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทดลอง ทต่ี อ้ งมคี วามระวงั เรอื่ งความ สะอาดและความปลอดภยั เป็นหลกั นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารอาหาร อาจตอ้ งปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั นกั วศิ วกรอาหาร ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านทงั้ ในโรงงานผลติ และ ห้องปฏบิ ตั ิการทดลอง โดยขณะปฏบิ ัติงานตอ้ งสวมเครื่องปอ้ งกนั อนามยั และความปลอดภยั สว่ นบุคคล เช่น ถงุ มือ หมวก ผ้ากนั เปอ้ื น หรอื เครอื่ งแบบท่ีทางสถานประกอบกิจการจดั เตรยี มไว้ให้ โอกาสในการมีงานท�ำ ประเทศไทยมนี โยบายท่จี ะพฒั นาประเทศใหเ้ ปน็ ผู้ผลิตอาหารป้อนตลาดโลก (Kitchen of the World) ได้ มีการส่งเสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชนทั่วประเทศ ตามโครงการหนึง่ ผลิตภัณฑ์หนึง่ ต�ำบล (OTOP) ซงึ่ ตอ้ งอาศยั ความร่วมมือ จากทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ในการพัฒนามาตรฐานของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ นั้น จึงจ�ำเป็นต้องมีบุคลากรด้าน วิทยาศาสตร์การอาหารท่ีคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ ๆ และสร้างนวัตกรรมการผลิตท่ีเหมาะสมและปลอดภัยต่อสภาพ แวดล้อมและคุณภาพชีวิตของผบู้ ริโภค คณุ สมบัตขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 235 1. จบการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรวี ทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาเทคโนโลยอี าหาร หรอื วทิ ยาศาสตรก์ ารอาหาร 2. มีความเขา้ ใจและความรับผิดชอบตอ่ ผู้บรโิ ภค สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม 3. มีความเข้าใจที่ถูกต้องในเรือ่ งการควบคมุ ตน้ ทนุ การผลติ 4. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 5. มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดใี นเรอื่ งมาตรฐานดา้ นความปลอดภยั ในการผลติ และกฎหมายอาหารทงั้ ใน ประเทศและระหวา่ งประเทศ เชน่ ข้อก�ำหนดมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน ส�ำนกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม อาหาร Halal, Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) ฯลฯ 6. เป็นผ้มู วี สิ ัยทัศน์ในกระบวนการเก่ยี วกบั อาหารเปน็ อยา่ งดี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา - คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ 0-2218-5515-6 โทรสาร 0-2254-4314 อีเมล [email protected] - คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขท่ี 50 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2562-5000 โทรสาร 0-2562-5001 อีเมล [email protected]
2ท0่ตี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - คณะอตุ สาหกรรมเกษตร สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 155 หมู่ 2 Department of Employment ตำ� บลแม่เหยี ะ อำ� เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100 โทรศพั ท์ 0-5394-8216 - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยสงขลา นครนิ ทร์ 15 ถนนกาญจนวณชิ ย์ อำ� เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา 90110 โทรศพั ท์ 0-7428-2000 โทรสาร 0-7455-8941 เว็บไซต์ http://www.sat.psu.ac.th โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารอาหาร ควรคน้ ควา้ หาความรู้ หรอื ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโท หรอื ปรญิ ญาเอก เพอ่ื พฒั นา ศกั ยภาพของใหม้ ีความพรอ้ ม ความสามารถ และประสบการณ์ท่เี พิ่มข้ึน กอ็ าจได้เลื่อนตำ� แหน่งขึน้ เปน็ หัวหน้างาน จนถึงไดร้ บั ต�ำแหน่งสงู สุดตามเงอื่ นไขและขอ้ ตกลงขององค์กรนั้น ๆ อาชีพท่เี กย่ี วเน่อื ง สามารถเป็นอาจารย์ นักวิชาการ วิทยากรชุมชน นักธุรกิจผลิตอาหารส�ำเร็จรูป ผู้ผลิตอาหารอนามัย (Organic Food) ผแู้ ทนการขายอาหารเสรมิ ตา่ ง ๆ ผผู้ ลติ อาหารสำ� เรจ็ รปู หรอื เครอื่ งดม่ื ผลติ ไวนผ์ ลไม้ ผนู้ ำ� เขา้ สนิ คา้ อาหาร และสง่ ออก ผเู้ ชย่ี วชาญในการใหค้ ำ� ปรกึ ษาดา้ นการผลติ อาหารกบั วสิ าหกจิ ชมุ ชน สหกรณ์ และโรงงานนกั ชมิ ไวน์ เปน็ ตน้ แหลง่ ขอ้ มูลอื่น ๆ - คณะอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2940-6158, 0-2579-5325-7 เวบ็ ไซต์ www.ku.ac.th - ภาควชิ าเทคโนโลยที างอาหาร คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เวบ็ ไซต์ www.chula.ac.th 236 - มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เวบ็ ไซต์ www.mahidol.ac.th - สถาบนั ราชภฏั เวบ็ ไซต์ www.fstrabhat.ac.th - สถาบนั อาหาร เวบ็ ไซต์ National Food Institute www.nfi.or.th - Department of Export Promotion Ministry of Commerce เว็บไซต์ www.depthai.go.th, www.thaitrade.com
ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นกั วทิ ยาศาสตรน์ าโนเทคโนโลยี Nanoscientist นิยามอาชีพ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชพี ในหนว่ ยนี้ ไดแ้ ก่ ผทู้ ำ� หนา้ ทวี่ จิ ยั ปรบั ปรงุ หรอื พฒั นา แนวคดิ ทฤษฎแี ละวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ า่ ง ๆ และนำ� องคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรท์ ี่ เกย่ี วขอ้ งกับชีววิทยา จุลชีววิทยา แบคทีเรียวิทยา เช้ือราวิทยา ไวรัสวิทยา เซลล์วิทยา พันธุศาสตร์ สัตวศาสตร์ พฤกษศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ และ นิเวศวิทยาไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์และเกษตรกรรม ท�ำการทดลอง ทั้งในภาคสนามและห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตทุกรูปแบบโดยจ�ำแนก และจดั ประเภทของตัวอย่างมนษุ ย์ สตั ว์ แมลง พชื หรอื จลุ นิ ทรยี ์ และศกึ ษา ถึงตน้ ก�ำเนดิ พฒั นาการ รูปแบบ โครงสร้าง พันธุกรรม และสว่ นประกอบ ทางเคมีและกายภาพ และกระบวนการของชวี ติ และการสบื พนั ธ์ุ ศกึ ษาและ ทดลองเกย่ี วกบั โครงสรา้ งการพฒั นาการและลกั ษณะเฉพาะของจลุ นิ ทรยี ์ เชน่ แบคทเี รยี หรอื ไวรสั ศกึ ษาปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับต้นกำ� เนดิ การพัฒนาการ และการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม ในมนษุ ย์ สตั ว์ หรือพชื ศึกษาชวี ิตของจลุ ินทรีย์ พืชและสัตว์ในทุกองค์ประกอบ และพฒั นานำ� ความรนู้ มี้ าใชใ้ นสาขา 237 เกษตรกรรม อาหารและอายรุ กรรม ศึกษาและทดลองเกี่ยวกบั โครงสรา้ งและหนา้ ทีข่ องเซลล์สงิ่ มีชีวิต และอทิ ธิพล ขององคป์ ระกอบทางกายภาพและเคมที มี่ ตี อ่ เซลลท์ ปี่ กตแิ ละไมป่ กติ รวมทงั้ ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชวี ติ จลุ นิ ทรยี ์ ชวี ติ พชื ชวี ติ สตั วแ์ ละปจั จยั แวดลอ้ มทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และใหค้ ำ� แนะนำ� ทกั ษะวชิ าชพี แกส่ าขาวทิ ยาการทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตลอดจน ปฏบิ ัตหิ น้าทก่ี ารงานท่เี กี่ยวขอ้ งและควบคมุ ดแู ลผปู้ ฏิบตั ิงานอ่ืน ๆ ลกั ษณะของงานทที่ ำ� 1. ปฏบิ ตั ิงานด้านการจดั การ การสรา้ ง หรอื การสังเคราะห์วัสดุ อุปกรณ์ เครือ่ งจักรหรอื ผลิตภัณฑ์ท่ีมขี นาด เลก็ มาก ๆ ในระดบั นาโนเมตร (ประมาณ 1-100 นาโนเมตร) เชน่ เสอื้ ผา้ เครอ่ื งนุ่งหม่ เคร่ืองส�ำอาง ยารักษาโรค เปน็ ตน้ 2. ออกแบบหรอื ใชเ้ ครอื่ งมอื ในการสรา้ งวสั ดทุ มี่ ขี นาดเลก็ มาก ๆ หรอื เรยี งอะตอมและโมเลกลุ ในตำ� แหนง่ ที่ ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� เพอ่ื ใหโ้ ครงสรา้ งวสั ดหุ รอื อปุ กรณม์ คี ณุ สมบตั พิ เิ ศษทง้ั ในดา้ นฟสิ กิ ส์ เคมี หรอื ชวี ภาพ และ สามารถนำ� ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ อาทิ คอนกรตี ชนดิ หนง่ึ ใชเ้ ทคโนโลยนี าโน โดยใช้ กระบวนการทางชวี เคมี (Biochemi- cal) ทำ� ปฏกิ ริ ยิ ายอ่ ยสลายกบั มลภาวะทเ่ี กดิ จากรถยนต์ เชน่ ไนโตรเจนไดออกไซด์ หรอื การใชเ้ ทคโนโลยนี ใี้ นการสรา้ ง ถนนและอโุ มงคต์ า่ ง ๆ เพอื่ ลดมลภาวะบนทอ้ งถนน และขณะเดยี วกนั เทคโนโลยนี าโน ทำ� ใหอ้ นภุ าคคอนกรตี มขี นาด เล็กมาก ฝุ่น และแบคทเี รยี ไมส่ ามารถฝงั ตวั ในเนอ้ื คอนกรตี ได้ ท�ำใหอ้ าคารทีใ่ ช้คอนกรีตชนิดนี้ ดใู หม่เสมอ และ ยังคงไม่สะสมเชอื้ โรค
กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ในภาครัฐจะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษาในขั้นต�่ำระดับปริญญา ตรี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยวี ัสดุ สาขาเทคโนโลยีชีวภาพอิเลก็ ทรอนกิ ส์ การแพทย์ หรือสาขาทีเ่ ก่ียวข้อง มอี ตั ราเงนิ เดอื น 19,700 บาท ไดร้ บั สวสั ดกิ ารและเบย้ี เลย้ี งตามระเบยี บสำ� นกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น จัดการ สร้าง หรือสังเคราะห์วัสดุ อุปกรณ์เคร่ืองจักรหรือผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ในระดับนาโนเมตร เพื่อ ก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ อาทิ การมีพลังงานราคาถูกและสะอาดเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม หรือการเพ่ิม ผลผลิตทางการเกษตร เป็นต้น ส�ำหรับผู้ท่ีปฏิบัติงานอาชีพ นี้ในภาคเอกชน ซ่ึงไม่มีประสบการณ์ในการท�ำงานจะได้รับ ค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเร่ิมต้นการท�ำงาน ในระดับ ปรญิ ญาตรี ประมาณ 21,300 บาท สวัสดิการต่าง ๆ คา่ รักษา พยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ทำ� งานวนั ละ 8 ชวั่ โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวันหยุดตามความจ�ำเป็น สภาพการทำ� งาน สว่ นใหญท่ ำ� งานในสำ� นกั งานทมี่ สี ง่ิ อำ� นวยความสะดวก สบาย เชน่ สำ� นกั งานทวั่ ไป อาจจะอยใู่ นรปู แบบของสถาบนั วจิ ยั ศนู ยว์ จิ ยั ทมี่ หี อ้ งสำ� หรบั การทดลอง อาจมกี ารออกไปดสู ถานที่ ผลติ สนิ คา้ นาโน หรอื ตดิ ตอ่ ตา่ งสำ� นกั งานบา้ งเปน็ ครงั้ คราวตามความจำ� เปน็ การทำ� งานลว่ งเวลาเปน็ เรอ่ื งปกตสิ ำ� หรบั 238 ผปู้ ระกอบอาชีพนี้ โอกาสในการมงี านท�ำ สำ� หรบั ในประเทศไทย ถงึ แมว้ า่ ผลติ ภณั ฑน์ าโนเทคโนโลยฝี มี อื คนไทยยงั ไมม่ วี างจำ� หนา่ ยอยา่ งแพรห่ ลายกต็ าม แตม่ กี ารคาดการณว์ า่ อกี ไมน่ าน จะมสี นิ คา้ นาโนซงึ่ เปน็ ของคนไทยออกวางจำ� หนา่ ยและอาจทำ� รายไดใ้ หก้ บั ประเทศสงู ถงึ รอ้ ยละ 1 ของผลผลติ มวลรวมของประเทศ หรอื ประมาณ 120,000 ลา้ นบาท (ศนู ยน์ าโนเทคโนโลยแี หง่ ชาต,ิ 2549) ซ่ึงปัจจุบันงานวิจัยทางด้านนาโนเทคโนโลยีหลายสาขาก�ำลังอยู่ในช่วงของการทดลองในห้องปฏิบัติการตาม มหาวิทยาลัยชั้นน�ำและ สวทช. ครอบคลุมทั้งทางด้านนาโนอิเล็กทรอนิกส์ วัสดุนาโน และนาโนเทคโนโลยี ทางชีวภาพ เพราะฉะน้ันหากประสบความส�ำเร็จตามคาดการณ์ จะเป็นปัจจัยกระตุ้นให้สถานประกอบการต่าง ๆ หรอื หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง เล็งเหน็ ถึงความสำ� คญั ของอุตสาหกรรมนาโนเทคโนโลยี และผู้ประกอบอาชพี นจี้ ะเป็นท่ี ต้องการของตลาดค่อนขา้ งมาก คุณสมบตั ขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีขนึ้ ไป คณะวิทยาศาสตร์ สาขาฟิสิกส์ สาขาเคมี สาขาชวี เคมี สาขา เทคโนโลยวี สั ดุ สาขาเทคโนโลยชี วี ภาพอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การแพทย์ สาขาวสั ดศุ าสตร์ หรอื สาขาทเ่ี ก่ียวข้อง 2. สามารถวิเคราะห์และแกไ้ ขปัญหาได้เป็นอยา่ งดี 3. มีความคิดสรา้ งสรรค์ 4. ทกั ษะทางด้านคณติ ศาสตร์และภาษาอังกฤษอยใู่ นเกณฑด์ ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 656
Pages: