Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Published by sorasit Kitti, 2021-11-12 09:05:53

Description: หนังสือ 200 ข้อมูลอาชีพที่ตลาดแรรงงานต้องการ

Search

Read the Text Version

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ กรมการ ัจดหางาน (อาคารภาควิชา วิศวกรรมโยธา) ชัน้ 3 ห้อง 9301 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Department of Employment โทรศัพท์ 0-2797-0999 อีเมล [email protected] - สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา สำ� นกั วชิ าวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี 111 ถนนมหาวทิ ยาลยั ตำ� บลสรุ นารี อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั นครราชสีมา โทรศพั ท์ 0-4422-4465 โทรสาร 0-4422-4607 - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ส�ำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 399 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2665-3777, 0-2665-3888 อีเมล info@ rmutp.ac.th - สาขาวิชาวศิ วกรรมโยธา ส�ำนกั วิชาวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา เลขท่ี 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสุข อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131 โทรศัพท์ 0-3810-2222 ต่อ 3356 อีเมล info_cottacts@ cebuu.net โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิศวกรโยธาหากท�ำงานเพ่ิมประสบการณ์ และได้รับการอบรมในวิชาที่เกี่ยวข้อง และมีความสามารถในการบริหาร ก็สามารถเล่ือนข้ันเป็นผู้บริหารโครงการได้ส�ำหรับผู้ท่ีศึกษาเพิ่มเติมถึงขั้น ปรญิ ญาโทหรือปรญิ ญาเอก สามารถที่จะเปน็ อาจารยใ์ นมหาวทิ ยาลัยท่ัวไปได้ อาชพี ที่เกยี่ วเนื่อง วศิ วกรโยธา (กอ่ สรา้ งอาคาร) วศิ วกรโยธา (กอ่ สรา้ งถนนและทางหลวง) วศิ วกรโยธา (กอ่ สรา้ งทา่ อากาศยาน) วิศวกรโยธา (ก่อสร้างทางรถไฟ) วศิ วกรรถไฟ วศิ วกรโยธา (สขุ าภบิ าล) วศิ วกรสขุ าภบิ าล 339 แหล่งข้อมลู อืน่ ๆ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า เว็บไซต์ www.kmutt.ac.th - สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั เว็บไซต์ www.kmit.ac.th

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 สถาปนิกอาคาร Architect Building นยิ ามอาชีพ ออกแบบอาคารและส่ิงก่อสร้าง และควบคมุ การกอ่ สร้าง : ปรกึ ษากับผู้วา่ จ้างในเร่ืองแบบและชนิดของอาคารและ สิ่งก่อสร้างอื่นๆ; ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับ ประมาณราคา การใช้วัสดุระยะเวลา ก่อสร้างและอื่น ๆ; ออกแบบอาคารรวม ทั้งรูปลักษณะและการตกแต่งให้เป็นไป ตามกฎขอ้ บงั คบั ทอ้ งถน่ิ และแบบลกั ษณะ ทางสถาปัตยกรรม; เตรียมออกแบบร่าง และสร้างแบบจ�ำลอง; เขียนแบบแปลน อาคารโดยละเอียดพร้อมกับรวบรวม รายการละเอียดและปริมาณของวัสดุท่ี 340 ผกู้ อ่ สรา้ งจะตอ้ งใช้ ; ตรวจสอบงานกอ่ สรา้ งอาคารใหเ้ ปน็ ไปตามเงอื่ นไขของสญั ญา อาจวางแผนควบคมุ การดดั แปลง และการซ่อมแซมอาคาร อาจมีความชำ� นาญในอาคารบางชนดิ เปน็ พิเศษ ลักษณะของงานทที่ ำ� 1. บันทึกรายละเอยี ดความตอ้ งการของลกู ค้า เพอ่ื ออกแบบให้ตรงตามท่ีลกู คา้ ต้องการ 2. ออกแบบ คำ� นวณแบบ เลอื กวสั ดุทม่ี ีคณุ ภาพเหมาะสมและใหป้ ระโยชนส์ งู สดุ กับลูกค้า 3. ค�ำนวณรายการใชจ้ ่ายให้เหมาะสมกับเน้อื งาน 4. เตรยี มแบบ และสง่ แบบทวี่ าดโดยชา่ งเขยี นแบบใหล้ กู คา้ พจิ ารณา เพอื่ ดดั แปลงแกไ้ ขและตอบขอ้ ซกั ถาม ของลูกค้าร่วมกับวิศวกร 5. เมอ่ื แก้ไขดดั แปลงให้สมบรู ณ์แลว้ จึงสง่ แบบใหก้ ับวศิ วกรทำ� การกอ่ สรา้ ง 6. ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างท�ำการก่อสร้างเพื่อให้ใช้วัสดุและตามแบบท่ีวางไว้ตาม เง่อื นไขสัญญา 7. ใหค้ �ำปรึกษาต่อวิศวกรและแกป้ ญั หาท่อี าจเกดิ ขึน้ จากการก่อสรา้ งและการค�ำนวณของวิศวกร 8. อาจวางแผนและควบคุมงานที่สถาปนิกจะได้รับท�ำเป็นประจ�ำตลอดปี คือ งานปรับปรุง ดัดแปลง แก้ไขตัวอาคารเพ่ือความทันสมัยสวยงามและปลอดภัยอยู่เสมอ สถาปนิกอาจมีความช�ำนาญในอาคารบางชนิด เป็นพเิ ศษ เช่นการออกแบบการใช้อาคารในพน้ื ทีแ่ คบ เปน็ ต้น หน้าท่ีของเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ระดับพน้ื ฐาน

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจำ�ปี 2558/2015 สภาพการจ้างงาน กรมการ ัจดหางาน สถาปนิกที่รับราชการจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา สถาปนิกท่ีท�ำงานกับภาคเอกชนจะได้รับ Department of Employment เงนิ เดอื นขน้ั ตน้ อยูร่ ะหว่าง 15,000 - 20,000 บาท ขึ้นอยกู่ บั ฝมี ือและประสบการณใ์ นการฝึกงานขณะที่ก�ำลงั ศกึ ษา อยู่ ไดร้ ับสวสั ดกิ ารตามกฎหมายแรงงานกำ� หนดไว้ และสิทธิประโยชน์อื่น เชน่ โบนสั ขึ้นอยกู่ ับผลประกอบการ สภาพการทำ� งาน กำ� หนดระยะเวลาทำ� งานขนึ้ อยกู่ บั ขนาดและประเภทของอาคาร สง่ิ กอ่ สรา้ งตามทผี่ จู้ า้ งตอ้ งการ ตอ้ งทำ� งาน ให้เสร็จทันเวลาเพราะมีโทษปรับถ้าการก่อสร้างเสร็จ ไมท่ นั ตามกำ� หนดเวลา ตอ้ งทำ� งานทง้ั ในสำ� นกั งาน การออก พื้นที่จริงทั้งก่อนก่อสร้างและขณะก�ำลังก่อสร้าง การ ท�ำงานอาจท�ำเป็นช่วงในตลอด 24 ชั่วโมง เมื่องานการ ก่อสร้างต้องเร่งระยะการท�ำงานอาจยาวนานแล้วแต่ ขนาดของอาคาร เป็นอาชีพท่ีไม่มีผลัดการท�ำงาน เพราะ สถาปนิกผู้ออกแบบน้ันจะต้องท�ำหน้าที่รับผิดชอบร่วมกับ วิศวกรผูท้ ำ� งานร่วมกนั โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบันสถาปนิก ซบเซาตามสภาพเศรษฐกิจ ท�ำให้อุตสาหกรรมวงการก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ ได้รับผลกระทบมาก การด�ำเนินการลงทุนและการก่อสร้างได้มีการหยุดชะงักช่ัวคราว แต่ผู้ประกอบสถาปนิกได้ รวมตัวปรับตนเองเป็นผู้รับท�ำการซ่อมแซม ปรับปรุง ดัดแปลงอาคารและบ้านเรือน ให้ทันสมัยและ ปลอดภัย อยเู่ สมอขณะน้ีบุคลากรสถาปนิกยงั สามารถสร้างสรรคธ์ รุ กิจใหม่ ๆ ท่ีนิยมท�ำในปัจจบุ ัน คอื จดั ทำ� แบบจ�ำลองหรอื 341 โมเดลเป็นรูปอาคารต่าง ๆ ทัง้ ในประเทศและทวั่ โลก ใหล้ กู คา้ เน่อื งในโอกาสต่าง ๆ ถ้ามีความรเิ ริม่ สร้างสรรคใ์ นการ ออกแบบสินค้าเฉพาะและน�ำส่งออกนอกประเทศจะเป็นช่องทางท่ีดีช่องทางหนึ่ง ในการขยายหรือผลิตสินค้าใหม่ ปจั จบุ นั สถาปนิกไทยมีโอกาสเดนิ ทางไปท�ำงานในตา่ งประเทศมากข้นึ คณุ สมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. มคี ณุ วุฒิการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 2. มคี วามคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ เปน็ คนมีความละเอียดรอบคอบ และถถ่ี ว้ น 3. มคี วามสามารถในการร้จู ักประยุกต์ใช้วัสดเุ พ่ือประโยชนใ์ ช้สอยสูงสุด 4. มีทักษะในการใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ปรแกรมในการชว่ ยวาดรปู หรอื ออกแบบ 5. มีระเบียบวนิ ัย เข้าใจถึงการบริหารธุรกจิ 6. มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ดี ให้ความรว่ มมอื กบั ทีมงานดี 7. มวี ิสัยทศั น์ที่ดี และปรบั ปรงุ ความรู้ความสามารถอย่ตู ลอดเวลา 8. มคี วามสามารถเป็นทัง้ ผูน้ ำ� และผ้ตู าม 9. มีสุขภาพแขง็ แรง สามารถไปทำ� งานต่างจงั หวดั หรอื ตา่ งประเทศได้ 10. มีความซือ่ สตั ย์

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ี่ต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา สถาปนิก ควรเตรียมความพร้อมดังต่อไปน้ีคือ ส�ำเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ต้องสอบคัดเลือกเขา้ เรียนในมหาวิทยาลยั ทีจ่ ดั สอน คณะหรอื ภาควชิ าสถาปตั ยกรรม สาขาวิชาสถาปัตย์ เป็นสาขา ที่เรยี นการออกแบบโครงสรา้ งอาคาร บ้านเรือนโดยตรง โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผู้ปฏิบัติงานในภาครัฐบาลจะได้รับการเลื่อนต�ำแหน่งและขั้นตามความสามารถ ถ้าได้รับการศึกษาต่อหรือ อบรมหลกั สตู รตา่ ง ๆ เพมิ่ เตมิ อาจไดเ้ ปน็ ผอู้ ำ� นวยการของหนว่ ยงานทตี่ นเองสงั กดั อยใู่ น ภาคเอกชนจะไดเ้ ปน็ ผจู้ ดั การ หรอื ผูด้ ูแลโครงการกอ่ สร้าง หรอื เจา้ ของผู้ประกอบการ อาชีพทีเ่ ก่ยี วเน่ือง นกั ออกแบบเฟอรน์ เิ จอร์ หรอื อปุ กรณต์ า่ ง ๆ นกั ออกแบบกราฟกิ อาชพี อสิ ระในการทำ� ธรุ กจิ ซอื้ ขายอปุ กรณ์ หรือผลติ ภัณฑ์สร้างบ้านและตกแต่งบ้าน แหล่งขอ้ มลู อนื่ ๆ - สมาคมสถาปนกิ สยาม และบริษทั สถาปนิกใหญ่ ๆ ท่วั ไปทรี่ ับนักศึกษาฝึกงาน 342

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ธรุ กจิ ดา้ นรถยนต์ จกั รยานยนต์ 343 เครอ่ื งกล และเครอ่ื งมอื เกษตร

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 เจ้าหน้าทีเ่ ทคนิคด้านการเกษตรกรรม Agricultural Technician นยิ ามอาชพี ท�ำงานด้านเทคนิคเก่ียวกับงานการวิจัย ในสาขาพชื สตั ว์ ดิน น�้ำ และการจดั การอนุรักษ์ดนิ และน�้ำ: ช่วยนักวิทยาศาสตร์ชีวภาพหรือสาขา ที่เก่ียวข้องกับการเกษตรกรรมในการด�ำเนินการ ทดสอบ ทดลอง ศึกษาวิจัย เพ่ือปรับปรุงการเพิ่ม จำ� นวนและคณุ ภาพของผลผลติ ทางการเกษตรหรอื เพื่อเพิ่มการต้านทานโรคและแมลงท่ีเป็นศัตรูของ พืชและสัตว์; ท�ำการทดสอบและเพาะเมล็ดพืช ในพ้ืนท่ีทดลองในกระบะ หรือภาชนะ และนับ จ�ำนวนต้นพืชท่ีปลูกเพื่อพิจารณาถึงอัตราการงอก ของเมล็ดพืช; ช่วยงานด้านเทคนิคในห้องปฏิบัติการเพื่อศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของดินและพืช โดยเฉพาะองค์ประกอบท่ีเป็นธาตุอาหารพืช; ใช้เคร่ืองมือในการวิเคราะห์ดินและพืชและน�ำผลการวิเคราะห์ เพ่ือประกอบการพิจารณาแนะน�ำวิธีการเพาะปลูกท่ีเหมาะสม; ท�ำการส�ำรวจดินและจัดท�ำแผนที่การใช้ที่ดินและ 344 ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเกี่ยวข้อง; ช่วยศึกษาวิจัยถึงสาเหตุและวิธีการควบคุมการสึกกร่อน พังทลายของดิน; ให้ความรูแ้ ละค�ำแนะน�ำเกีย่ วกบั การจดั การดนิ เพ่อื การเพาะปลูก กรรมวธิ ใี นการผลติ ปุย๋ และการใช้ปยุ๋ ใหเ้ หมาะกบั พืชและดิน รวมถึงการปลูกพืชหมุนเวียน ตลอดจนช่วยงานด้านเทคนิคเกี่ยวกับการผสมพันธุ์สัตว์และโภชนาการ ของสัตว์; เก็บตัวอย่างเลือดของสัตว์เพ่ือท�ำการทดลอง; วัดและชั่งน�้ำหนักของส่วนผสมท่ีใช้ในการทดลอง เพ่ือท�ำอาหารสัตว์ และท�ำความสะอาดและบำ� รงุ รกั ษาห้องปฏิบัติการทดลองและวัสดุอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาวจิ ยั ลักษณะของงานทีท่ ำ� 1. ท�ำการทดสอบและเพาะเมล็ดพืชในพ้ืนท่ีทดลอง ในกระบะ หรือภาชนะ และนับจ�ำนวนต้นพืชท่ีปลูก เพอ่ื พิจารณาถงึ อตั ราการงอกของเมลด็ พชื 2. ช่วยงานด้านเทคนิคในห้องปฏิบัติการ เพ่ือศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของดินและพืช โดย เฉพาะองคป์ ระกอบทีเ่ ป็นธาตุอาหารพืช 3. ใช้เคร่ืองมือในการวิเคราะห์ดินและพืช และน�ำผลการวิเคราะห์เพ่ือประกอบการพิจารณาแนะน�ำ วธิ ีการเพาะปลูกทเ่ี หมาะสม 4. ท�ำการสำ� รวจดินและจัดทำ� แผนทก่ี ารใชท้ ดี่ นิ และทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่เกีย่ วข้อง 5. ชว่ ยศึกษาวจิ ยั ถึงสาเหตแุ ละวิธกี ารควบคมุ การสกึ กร่อนพงั ทลายของดนิ 6. ใหค้ วามรแู้ ละค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการจดั การดินเพอื่ การเพาะปลกู กรรมวธิ ีในการผลิตปุ๋ยและการใชป้ ุ๋ย ให้เหมาะกับพชื และดิน รวมถึงการปลกู พชื หมนุ เวียน

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 7. ช่วยงานดา้ นเทคนคิ เก่ียวกบั การผสมพนั ธ์ุสตั วแ์ ละโภชนาการของสัตว์ กรมการ ัจดหางาน 8. เกบ็ ตัวอย่างเลือดของสัตวเ์ พ่ือทำ� การทดลอง Department of Employment 9. วัดและช่งั นำ้� หนักของสว่ นผสมทีใ่ ชใ้ นการทดลองเพ่ือท�ำอาหารสัตว์ 10. ท�ำความสะอาด และบ�ำรุงรักษาห้องปฏิบัติการทดลอง และวัสดอุ ปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการทำ� งาน สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันสูง (ปวส.) สาขาเกษตรศาสตร์ สาขาเกษตรและเทคโนโลยี สาขาพืชศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงาน ในภาครัฐจะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา ผู้ส�ำเร็จการศึกษาในระดับ ปวช. จะได้รับเงินเดือน อตั รา 9,500 บาท หรือผูส้ �ำเร็จการศกึ ษาระดับ ปวส. จะได้รบั เงนิ เดอื นอัตรา 11,000 บาท ได้รบั สวสั ดกิ าร และ เบี้ยเลี้ยงตามระเบยี บส�ำนกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ส�ำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพนี้ในภาคเอกชน ซึ่งจะได้รับ ค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนที่ระดับเร่ิมต้นการท�ำงานผู้ส�ำเร็จ การศกึ ษาระดับ ปวช. จะไดร้ บั เงินเดอื นประมาณ 9,750 บาท และผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. จะได้รับเงินเดือนประมาณ 11,500 บาท สวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ คา่ รกั ษาพยาบาล และโบนสั เปน็ ไป ตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวันละ 8 ชั่วโมง อาจ ทำ� งานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามความจำ� เปน็ เร่งด่วน สภาพการทำ� งาน 345 ผปู้ ระกอบอาชพี น้ีจะต้องปฏบิ ัติงานเก่ยี วกับการทดสอบ ทดลอง ศกึ ษาวจิ ยั ในสาขาพืช สตั ว์ ดิน นำ�้ ในหอ้ ง ปฏิบัตกิ าร หอ้ งทดลอง ตลอดจนลงไปในพ้นื ท่ที ดสอบ ในโรงเลี้ยง และโรงเพาะพืช ในการปฏบิ ตั งิ านจะต้องมกี ารใส่ เสอ้ื กาวน์ ถงุ มอื และหรือรองเท้าปฏบิ ัติงาน การปฏบิ ตั ิงานอาจมกี ารเดนิ ทางไปในพ้นื ทตี่ า่ ง ๆ ตามสถานทีต่ ้งั ของ สถานประกอบกจิ การ โอกาสในการมงี านท�ำ กระบวนการผลิตอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งต้องอาศัยผลิตผลทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบ ได้มีการพัฒนา ไปอย่างมากเม่ือเทียบกับระยะที่ผ่านมาท้ังด้านประเภทการผลิตและคุณภาพของสินค้าไปสู่การผลิตท่ีมีความสลับ ซับซ้อนและมีอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อาทิ ในส่วนของการผลิตอาหารพร้อมบริโภค (Ready to Eat) มากข้ึน ทงั้ น้ีเปน็ ผลมาจากการขบั เคลือ่ นของอุตสาหกรรมเกษตรสง่ ออกที่จะตอ้ งแขง่ ขนั ในตลาดโลก เพราะฉะน้นั ขีดความ สามารถในการสง่ ออกสนิ คา้ อตุ สาหกรรมเกษตร ซงึ่ อาศยั วตั ถดุ บิ ทางการเกษตรหรอื ผลผลติ จำ� เปน็ อย่างยง่ิ ทจี่ ะตอ้ ง อาศัยเจ้าหน้าที่เทคนิคด้านการเกษตรกรรมมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการปรับปรุงหรือเพิ่มจ�ำนวน และคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร เพื่อรักษาสถานะหรือยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้า เกษตร หรอื สินคา้ อตุ สาหกรรมเกษตรส่งออก อาชพี นจ้ี งึ เป็นอาชพี ทีม่ คี วามส�ำคัญ และยงั มแี นวโนม้ เป็นท่ีตอ้ งการ ของตลาดแรงงาน

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 คุณสมบตั ิของผ้ปู ระกอบอาชพี 1. สำ� เรจ็ การศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) หรือประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) สาขา เกษตรศาสตร์ สาขาเกษตรและเทคโนโลยี สาขาพืชศาสตร์ สาขาสัตวศาสตร์ หรือสาขาท่ีเกี่ยวข้อง 2. มีความรู้ในวชิ าชพี เกษตรกรรม และสามารถปฏิบตั งิ านเก่ียวกบั งานเกษตรได้ในทุก ๆ ด้าน 3. สามารถอธิบายและถา่ ยทอดความร้ใู หผ้ ู้อื่นเข้าใจได้ง่าย 4. รบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืน 5. มนุษยสมั พนั ธ์ดี มคี วามละเอยี ดรอบคอบในการท�ำงาน สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา - สาขาเกษตรศาสตร์ สาขาเกษตรและเทคโนโลยี สาขาวิชาพืชศาสตร์ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ สาขาวิชา เกษตรศาสตร์ สาขาวชิ าการประมง สาขาวชิ าสตั วรกั ษ์ สาขาวชิ าเทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกย่ี วหรอื ประเภทวชิ าประมง สาขาวิชาเพาะเลยี้ งสัตว์น้�ำ ในสถาบนั การศกึ ษาทส่ี ังกัดสำ� นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา อาทิ - วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีล�ำพูน www.lcat.ac.th/indexlcat.htm โทรศัพท์ 0-5397-6225 - วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร www.geocities.com/yasothonatc โทรศัพท์ 0-4571-1090 - วทิ ยาลยั ประมงติณสลู านนท์ www.tfc.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-7433-3642, 0-7433-3525 - วทิ ยาลยั ประมงปตั ตานี www.pfcollege.com โทรศพั ท์ 073-437-506 - สาขาเกษตรกรรม สาขาวิชาพืชศาสตร์ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ สาขาวิชาประมง ในสถาบันการศึกษา ทสี่ ังกัดคณะกรรมการการอดุ มศึกษา อาทิ - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 346 โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผู้ท่ีรับราชการ จะได้เล่ือนต�ำแหน่งและเงินเดือนตามกฎระเบียบที่วางไว้ ส่วนงานภาคเอกชนนั้น จะได้รับ การปรบั เงนิ เดอื นและเลอ่ื นตำ� แหนง่ งานตามประสบการณ์ ความรู้ และความสามารถ ซงึ่ อาจไดร้ บั การเลอ่ื นตำ� แหนง่ เปน็ หวั หน้าฝ่าย หรอื ผจู้ ดั การฝ่าย อาชีพทีเ่ ก่ียวเน่ือง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าท่วี างแผนการผลิต เจ้าหน้าท่ีประสานงานด้านการเกษตร เจ้าหน้าท่ี ควบคุมคุณภาพ เจ้าหนา้ ทปี่ ระจำ� ห้องปฏบิ ัติการ แหล่งข้อมูลอ่ืน ๆ - กรมสง่ เสริมการเกษตร เว็บไซต์ www.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-0121-7, 0-2940-6080-89 - กรมวชิ าการเกษตร เวบ็ ไซต์ www.doa.go.th โทรศพั ท์ 0-2579-0151-7 - สมาคมเมลด็ พนั ธุแ์ หง่ ประเทศไทย เว็บไซต์ www.seed.or.th โทรศพั ท์ 0-2940-6393 - โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เวบ็ ไซต์ www.rspg.thaigov.net โทรศัพท์ 0-2282-1850, 0-2282-0665 - ศนู ยส์ นเทศทางการเกษตรแห่งชาติ เวบ็ ไซต์ www.thaiagris.lib.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2942-8616

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ช่างเช่อื มและชา่ งตดั โลหะ Welders and Flame Cutters นยิ ามอาชพี ผู้ปฏิบัติงานอาชีพในกลุ่มน้ี รวมถึง ช่างเช่ือม และชา่ งตดั โลหะดว้ ยกา๊ ซและไฟฟา้ ซง่ึ มไิ ดจ้ ดั ประเภทไว้ ในท่ีอน่ื เชน่ ผตู้ ดั โลหะด้วยประกายไฟฟา้ ผู้หลอมเชือ่ ม ขอ้ ตอ่ ทเ่ี ปน็ ตะกว่ั หรอื ตะกวั่ ผสมในการทำ� หมอ้ แบตเตอรี่ ผู้บัดกรีด้วยหัวแร้งไฟฟ้าหรือด้วยหัวแร้งที่เผาให้ร้อนใน เตา เป็นต้น ลกั ษณะของงานท่ีทำ� 1. ท�ำหน้าท่ีติดตั้ง ซ่อมบ�ำรุงผลิตงานผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นและโลหะรูปพรรณ งานโครงสร้างโลหะ งานระบบทอ่ อตุ สาหกรรม ทำ� งานดว้ ยการใช้เครอ่ื งมือ เคร่ืองจักรในการแปรรูป ข้นึ รปู ประกอบด้วยกรรมวิธีเช่ือม การตกแตง่ ผิวสำ� เรจ็ การตรวจสอบและการควบคมุ การผลติ 2. งานระดับช่างฝีมือ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการอ่านแบบ เขียนแบบเคร่ืองกล แบบแผ่นคล่ี การผลิตงาน ผลติ ภณั ฑโ์ ลหะแผน่ และโลหะรปู พรรณโดยการใชเ้ ครอื่ งมอื เครอ่ื งจกั รในการแปรรปู ขน้ึ รปู โลหะ การประกอบตกแตง่ 347 ผิวสำ� เร็จ งานตดิ ต้งั ประกอบ และเชือ่ มระบบทอ่ งานตดิ ต้ังประกอบ และเชอ่ื มโครงสร้าง 3. งานระดับช่างเทคนิค ปฏิบัติงานในลักษณะผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยวิศวกร โดยท�ำงานภายใต้การแนะน�ำ และควบคุมของวิศวกร เป็นงานที่เกยี่ วกบั การออกแบบติดตงั้ งานผลิตผลติ ภัณฑโ์ ลหะ งานระบบท่อ งานโครงสรา้ ง งานเชื่อมซ่อมบ�ำรุงชิ้นส่วนเครื่องจักรกล เครื่องมือกล งานตรวจสอบทดสอบวัสดุในทางวิศวกรรม งานตรวจสอบ ทดสอบงานเชือ่ ม ทง้ั แบบท�ำลายและไม่ท�ำลาย ช่างเช่ือมโลหะจำ� แนกประเภทและลักษณะของงานทท่ี �ำตามอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการเช่อื มโลหะ ดังนี้ 1) ช่างเชอื่ มด้วยกา๊ ซ (Welder Gas) - เช่อื มชนิ้ ส่วนของโลหะดว้ ยเปลวไฟจากก๊าซออกซอิ ะเซทลิ นี หรือก๊าซชนิดอ่นื ๆ - วางช้ินส่วนโลหะและหนีบรัดให้อยู่กับท่ี ต่อหัวท่อเช่ือมเข้ากับภาชนะใส่ก๊าซแล้วปิดวาล์วจุดไฟ ท่ีหัวทอ่ เชอื่ มแลว้ ปรบั เปลวไฟ โดยกำ� หนดการปล่อยกา๊ ซใหส้ ม�่ำเสมอ - ทำ� ให้ช้นิ สว่ นโลหะร้อนจนกระท่งั โลหะเริม่ ละลาย แล้วใชโ้ ลหะหลอมเหลวจากแท่นเชือ่ มหลอม เช่ือมช้นิ ส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกนั - ใช้วัตถุผสานเท่าทีจ่ ำ� เป็น - ทำ� ความสะอาดแล้วทำ� ชิน้ ส่วนท่เี ชือ่ มแลว้ ให้เรยี บ - อาจท�ำเคร่ืองหมายบนชน้ิ สว่ นกอ่ นการเช่ือม และเชอ่ื มตามรปู แบบ หรือตามรายละเอียดอน่ื ๆ

ท20่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 2) ช่างเชือ่ มด้วยไฟฟา้ (มือ) (Welder Electrical (Hand)) Department of Employment - เชอ่ื มชนิ้ สว่ นโลหะดว้ ยอปุ กรณเ์ ชอื่ มทใ่ี ชม้ อื ซง่ึ อปุ กรณเ์ ชอื่ มจะไดร้ บั ความรอ้ นจากกระแสไฟฟา้ - เลือกโลหะเชื่อมและสอดเข้ากับเครื่องยึด ต่อสายไฟจากเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า หรือหม้อแปลง เขา้ กับโลหะเชอ่ื ม และชน้ิ ส่วนท่ีต้องการเชื่อม กดสวิตช์เคร่ืองส่งกระแสไฟฟ้า เอาโลหะเชอื่ มจีต้ รงชนิ้ สว่ นท่ตี อ้ งการ เชื่อมแล้วยกข้นึ ใหม้ รี ะยะหา่ งจากช้ินสว่ นเพียงเลก็ นอ้ ยเพอ่ื ท�ำให้เกิดประกายไฟ - น�ำโลหะเช่ือมลากลงมาตามแนวท่ีจะเชื่อม เพื่อหลอมเชื่อมชิ้นส่วนให้ติดกันและควบคุมกระแส ไฟฟ้าใหเ้ ป็นไปตามความตอ้ งการ - ท�ำความสะอาดช้นิ สว่ นที่เชอื่ มแล้ว และท�ำรอยเช่อื มให้เรียบ - อาจท�ำเครอ่ื งหมายบนช้นิ สว่ นก่อนการเชื่อม และเช่ือมตามรปู แบบหรอื ตามรายละเอียดอื่น ๆ 3) ช่างเชอื่ มด้วยกา๊ ซและไฟฟ้าท่วั ไป (Welder Gas and Electric General) - เชอื่ มช้นิ สว่ นของโลหะดว้ ยเปลวไฟของก๊าซออกซิอะเซทลิ ีน หรอื เปลวไฟของกา๊ ซชนดิ อน่ื หรอื เช่อื มด้วยประกายไฟฟ้า - ปฏบิ ัติงานเช่ือมโลหะเช่นเดยี วกนั กับชา่ งเช่อื มโลหะด้วยก๊าซ และช่างเชื่อมด้วยไฟฟ้า - อาจตดั โลหะดว้ ยก๊าซออกซอิ ะเซทลิ นี หรือด้วยเปลวไฟจากกา๊ ซชนิดอน่ื สภาพการจา้ งงาน ชา่ งเชอื่ มโลหะสามารถเขา้ ทำ� งานไดท้ ง้ั ในภาคราชการ รฐั วสิ าหกจิ เชน่ กรมโยธาธกิ าร กรมชลประทาน การ ท่าเรือแห่งประเทศไทย การประปา หรือหน่วยงานในองค์กรเอกชนอ่ืน ๆ ในสถานประกอบกิจการ เช่น โรงงาน อุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ หรือประกอบอาชีพอิสระ เช่น รับเหมาสร้างโครงสร้างโลหะงานผลิตภัณฑ์ โลหะ งานระบบท่อได้รับคา่ ตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดอื นตามวฒุ ิการศกึ ษา ช่างเชื่อมโลหะท่ไี ม่มีประสบการณใ์ นการ 348 ทำ� งานจะไดร้ บั เงนิ เดอื นขน้ั ตำ�่ ประมาณ 8,900 - 9,500 บาท ขน้ึ อยกู่ บั ประสบการณ์ ความสามารถและความชำ� นาญ งาน นอกจากค่าตอบแทนในรปู เงนิ เดอื นแล้วอาจได้รับผลประโยชน์พิเศษอย่างอน่ื เชน่ คา่ รักษาพยาบาล เงนิ สะสม เงนิ ช่วยเหลอื สวสั ดิการในรูปตา่ ง ๆ เงนิ โบนัส ค่าล่วงเวลา เครอ่ื งมือเคร่อื งใชแ้ ละอปุ กรณใ์ นการท�ำงาน เป็นตน้ สภาพการทำ� งาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ท�ำงานทั้งในและนอกสถานที่ท�ำงานในการประกอบและติดต่ออุปกรณ์ที่ต้องต่อเชื่อม หรอื ประสานทอ่ ทำ� การตรวจซอ่ ม และบรกิ ารการดแู ลและซอ่ มบำ� รงุ เครอื่ งจกั รในงานอตุ สาหกรรม สภาพการทำ� งาน หนักปานกลาง ต้องใช้ความอดทนต่อสภาพความร้อน เสียง กล่ินของสารเคมีท�ำความสะอาดอุปกรณ์และ บางโอกาสทำ� งานตามลำ� พงั ตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั และรอบคอบสงู พอสมควรเพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตุ เนอื่ งจาก การท�ำงาน โดยเฉพาะ “ตา” จึงจ�ำเป็นต้องสวมแว่นตาในระหว่างการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันประกายไฟ หรือเศษ โลหะเข้าตา บางครงั้ ตอ้ งทำ� งานเกนิ เวลา อาจต้องท�ำงานวนั เสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยดุ เพ่อื ใหง้ านเสร็จทนั เวลาท่ี กำ� หนด โอกาสในการมีงานท�ำ แนวโน้มของผู้ที่จะประกอบอาชีพน้ี ขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมก่อสร้างรถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ ซ่ึงในปัจจุบัน การกอ่ สรา้ งมแี นวโนม้ ลดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื งซง่ึ ตอ้ งใชร้ ะยะเวลาฟน้ื ฟู สว่ นอตุ สาหกรรมรถยนตน์ น้ั ทง้ั ภาครฐั และเอกชน พยายามสง่ เสรมิ การผลติ หรอื ประกอบรถยนตใ์ นประเทศมากขน้ึ จากแนวโนม้ ยอดการขายรถยนตใ์ นชว่ ง 2 ปที ผ่ี า่ น

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 มาที่มีอัตรายอดการขายเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ดังน้ันในฐานะ กรมการ ัจดหางาน ลูกจ้างของอุตสาหกรรมเหล่านี้ โอกาสการมีงานท�ำจึงข้ึนอยู่กับเงื่อนไข Department of Employment ของผู้ท่ีจะประกอบอาชีพนี้ จะต้องมีความรู้ความสามารถเร่ืองเคร่ืองกล หรือเคร่ืองยนต์ด้วย หรือท�ำงานในอุตสาหกรรมเครื่องเย็น ส�ำหรับ ผู้ประกอบอาชีพอิสระน้ันต้องพัฒนาฝีมือ และความช�ำนาญจนเป็น ทเ่ี ช่ือถือของลกู คา้ และอาจหันมาประกอบอาชพี รบั ทำ� เหลก็ ดดั ส�ำหรบั รวั้ ประตู หนา้ ตา่ ง ตลอดจนงานเฟอรน์ เิ จอร์ หรอื งานศลิ ปกรรม และควรประดษิ ฐค์ ดิ คน้ สนิ คา้ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ คณุ สมบัติของผ้ปู ระกอบอาชีพ 1. มรี ่างกายแขง็ แรง อดทน ไมเ่ ปน็ โรคทเี่ ปน็ อุปสรรคในงานอาชพี 2. มีความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ และมคี วามรับผดิ ชอบ 3. มคี วามละเอียด ประณีต 4. มมี นษุ ยสมั พันธ์ท่ดี ี 5. มีความเชื่อมั่น สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ไดด้ ี สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - ชา่ งเชอ่ื มโลหะ วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี 130 หมู่ 4 ตำ� บลบา้ นกลาง อำ� เภอเมอื งปทมุ ธานี จงั หวดั ปทมุ ธานี 12000 โทรศัพท์ 0-2979-6720 - แผนกวิชาช่างเช่ือมโลหะ วิทยาลัยสารพัดช่างส่ีพระยา (ในวัดแก้วแจ่มฟ้า) 474/2 ถนนสี่พระยา แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรกั กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2236-1312, 0-2236-1245 โทรสาร 0-2233-2252 - ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเช่ือม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 349 พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สวา่ ง เขตบางซื่อ กรงุ เทพฯ 10800 โทรศัพท์ 0-2555-2000 ต่อ 6236, 6243, 6203, 6512 โทรสาร 0-2555-2000-6 อีเมล [email protected] - ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ 1 ถนนรังสิต- นครนายก (คลองหก) อ�ำเภอธญั บุรี จงั หวัดปทุมธานี 12110 โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 โทรสาร 0-2549-4993 - สาขาวชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการเชอื่ มประกอบ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โทรศพั ท์ 0-4423- 3000 ตอ่ 2761 - สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี 5 ถนนเเจ้งสนิท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 0-4526-2566, 0-4525-5047 โทรสาร 0-4526-1077 อเี มล utcubon@ hotm ผูท้ จี่ ะประกอบอาชีพนี้ ควรเตรียมความพร้อมดังน้ี เข้ารับการอบรมหลักสูตรในกลุ่มอาชีพช่างเช่ือมและโลหะจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานกระทรวง แรงงานและสวสั ดิการสังคม ซงึ่ จัดใหม้ ีหลักสตู ร ดังน้ี - ชา่ งเชือ่ มไฟฟ้า ฝึกในสถาบันพัฒนาฝมี ือแรงงาน หรอื ศนู ย์พฒั นาฝมี ือแรงงานจงั หวัด ระยะเวลา 4 เดอื น และฝึกในสถานประกอบการ ระยะเวลา 2 เดือน ส�ำเร็จการอบรมจะมีระดับฝีมืออยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฝีมือ ช่างชนั้ 3

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ช่างเช่ือมแก๊ส ฝึกในสถาบันพัฒนา ฝมี อื แรงงาน หรอื ศนู ยพ์ ฒั นาฝมี อื แรงงานจงั หวดั ระยะเวลา 4 เดือน และฝึกในสถานประกอบ กิจการ ระยะเวลา 2 เดอื น สำ� เรจ็ การอบรมจะมี ระดับฝีมืออยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฝีมือช่างช้ัน 3 - ชา่ งผลติ ภณั ฑโ์ ลหะแผน่ ฝกึ ในสถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงาน หรือศูนย์พัฒนาฝีมือ แรงงานจังหวัด ระยะเวลา 6 เดือน และฝึกใน สถานประกอบการ ระยะเวลา 2 เดอื น สำ� เรจ็ การ อบรมจะมีระดับฝีมืออยู่ในเกณฑ์มาตรฐานฝีมือ ช่างชน้ั 3 - ช่างเช่ือม TIG ฝึกในสถาบนั พัฒนาฝีมือแรงงาน หรือศนู ยพ์ ฒั นาฝีมือแรงงานจังหวดั ระยะเวลา 3 เดือน และฝกึ ในสถานประกอบกจิ การ ระยะเวลา 1 เดอื น ส�ำเร็จการอบรมมคี วามสามารถในการใช้เครือ่ งมือในการเชื่อม วัสดชุ นดิ ต่าง ๆ เช่น เหลก็ อะลูมิเนียม และสเตนเลสได้ - ช่างเชอื่ ม MIG/MAG ฝึกในสถาบนั พัฒนาฝมี อื แรงงาน หรอื ศูนย์พฒั นาฝีมือแรงงานจังหวดั ระยะเวลา 3 เดือน และฝึกในสถานประกอบการระยะเวลา 1 เดือน ส�ำเร็จการอบรมมีความสามารถในการใช้เครื่องมือในการ เชื่อมวสั ดุชนิดตา่ ง ๆ เช่น เหลก็ อะลมู เิ นียม และสเตนเลสได้ ส�ำหรับระดับช่างเทคนิค เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างเทคนิคโลหะ สาขาวิชาช่างเช่ือมโลหะแผ่น จากสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา หรือสาขาวิชาชา่ งทอ่ และประสาน สาขาวิชาชา่ งโลหะ จากสถานศึกษาสงั กดั สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล 350 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ผปู้ ระกอบอาชพี นถี้ า้ มคี วามสามารถในการทำ� งานและมปี ระสบการณจ์ ะไดร้ บั การเลอื่ นขนั้ เลอื่ นตำ� แหนง่ ในสายงาน ท่ีท�ำงานอยู่จนถึงระดับหัวหน้างาน ส�ำหรับผู้ท่ีสนใจศึกษาต่อเพ่ือเลื่อนวิทยฐานะและความก้าวหน้า ในอาชีพสามารถศึกษาต่อได้ งานช่างเช่ือมเป็นท่ีต้องการของตลาด แต่ไม่มีคนอยากเรียน เปิดรับ 40 คน มีคนมาสมัครเรยี นแค่ 8 คน เพราะเป็นสาขาท่เี รียนหนกั พอจบออกไปกต็ ้องทำ� งานกลางแจ้ง บางคนมองวา่ เรยี น หนกั งานกห็ นกั ตามไปดว้ ย ผูป้ กครองหลายคนกไ็ มน่ ิยมสง่ ลูกเรยี นสาขาน้ี ท้งั ๆ ทจี่ บออกไปมีงานท�ำและมรี ายได้ ดอี ยา่ งแนน่ อน เพราะเปน็ สาขาขาดแคลน ทสี่ ำ� คญั ตลาดยงั ตอ้ งการอกี มากทว่ั ประเทศ มขี อ้ มลู ตลาดมคี วามตอ้ งการ ช่างเช่ือมถึง 3 แสนคน แต่ก�ำลังผลิตทั่วประเทศมีเพียง 2 หมื่นคนเท่านั้น ย่ิงถ้าเปิดอาเซียนจะท�ำให้ขาดแคลน มากขึ้น เพราะการก่อสร้างและอุตสาหกรรมเกือบทุกชนิดล้วนต้องการช่างเช่ือม เนื่องจากสิ่งปลูกสร้างทุกวันน้ี ใช้เหลก็ เปน็ สว่ นใหญ่ อาชพี ท่เี กี่ยวเนอ่ื ง ช่างโลหะ ช่างเครื่องกล แหล่งขอ้ มลู อน่ื ๆ - กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน - กระทรวงแรงงาน - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment ชา่ งเชอ่ื มโลหะด้วยก๊าซ Welder Gas นยิ ามอาชีพ ตัด ประกอบ และเช่ือมช้ินส่วนงานโลหะโดยใช้เปลว จากก๊าซออกซีอะเซทิลีนหรือก๊าซชนิดอื่นตามแบบหรือตาม ค�ำสั่ง: ยึด และประกอบชนิ้ ส่วนงานโลหะ; จดุ และปรบั เปลวไฟ ทห่ี วั เชอื่ มก๊าซ; ตดั หรอื เชอ่ื มชนิ้ สว่ นงานโลหะดว้ ยเปลวไฟก๊าซ; ท�ำความสะอาดรอยเช่อื มหรอื รอยตัด ลักษณะของงานทท่ี ำ� 1. ปฏบิ ตั งิ านดา้ นเชอ่ื มกา๊ ซ หรอื ตดั โลหะดว้ ยกา๊ ซ เพอื่ การสรา้ งหรอื ซอ่ มโครงสรา้ งชน้ิ งาน หรอื ผลติ ภณั ฑ์ ต่าง ๆ ท้งั ในอุตสาหกรรม และงานบรกิ ารดูแลและบำ� รงุ รกั ษาเครื่องมือเชอื่ ม และอปุ กรณป์ ระกอบตา่ ง ๆ ในงาน เชอื่ มก๊าซ 2. ท�ำหน้าท่ีเชื่อมโลหะด้วยเครื่องเชื่อมก๊าซหรือตัดโลหะด้วยก๊าซตามข้อก�ำหนดหรือใบสั่งงาน โดยวาง ตำ� แหนง่ ชนิ้ งานในอปุ กรณจ์ บั งาน หรอื อปุ กรณน์ ำ� เจาะ หรอื บนโตะ๊ งานหรอื บนพนื้ จบั ยดึ ชนิ้ งานเขา้ ดว้ ยกนั ตามแบบ สามารถเลือกหัวเช่ือม หรือหัวตัดให้เหมาะสมกับวัสดุเชื่อมได้ตามข้อก�ำหนดความหนาของโลหะประกอบอุปกรณ์ เชือ่ มและวาลว์ 351 3. ลักษณะของงานชา่ งเช่ือมดว้ ยกา๊ ซ มลี กั ษณะข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ดังน้ี 3.1 เชอ่ื มชิน้ สว่ นของโลหะดว้ ยเปลวไฟจากก๊าซออกซอิ ะเซทิลีนหรือกา๊ ซชนิดอืน่ ๆ 3.2 วางชิ้นส่วนโลหะและหนบี รัดใหอ้ ยู่กับท่ีตอ่ หวั ท่อ เชือ่ มเข้ากับภาชนะใส่ก๊าซแล้วเปิดวาลว์ จุดไฟที่ หวั ท่อเช่อื ม แลว้ ปรบั เปลวไฟ โดยก�ำหนดการปล่อยก๊าซให้สมำ�่ เสมอ 3.3 ท�ำให้ช้ินส่วนโลหะร้อนจนกระทั่งโลหะเริ่มละลาย แล้วใช้โลหะหลอมเหลวจากแท่นเชื่อมหลอม เช่อื มช้นิ ส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน 3.4 ใชว้ ตั ถุผสานเท่าทจ่ี ำ� เป็น 3.5 ทำ� ความสะอาดและท�ำช้นิ ส่วนทีเ่ ช่อื มแล้วใหเ้ รียบ 3.6 อาจท�ำเครื่องหมายบนช้ินส่วนก่อนการเชื่อม และเชื่อมตามรูปแบบหรือตามรายละเอียดอื่น ๆ ตดั ประกอบ และเช่อื มช้นิ สว่ นงานโลหะโดยใช้เปลวไฟจากกา๊ ซออกซิอะเซทิลีนหรือกา๊ ซชนิดอื่นตามแบบหรอื ตาม คำ� ส่งั สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ควรส�ำเร็จการศึกษาขั้นต่�ำระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หรือผ่านการอบรมกลุ่มงานอาชีพ ช่างเชื่อมโลหะด้วยก๊าซ จากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ส่วนใหญ่ท�ำงานในภาคเอกชน ที่ส�ำคัญคือ โรงงาน อตุ สาหกรรมยานยนต์ จะได้รบั ค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนที่ระดับเร่มิ ต้นการท�ำงาน ประมาณ 8,900 - 9,500 บาท

ท20ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สวสั ดกิ ารต่าง ๆ คา่ รักษาพยาบาล และโบนสั เปน็ ไปตามเง่อื นไขข้อตกลงกบั ผูว้ ่าจา้ ง ท�ำงานวนั ละ 8 ช่ัวโมง อาจ Department of Employment ท�ำงานล่วงเวลา วนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวันหยุดตามความจ�ำเป็น ชา่ งเช่ือมโลหะด้วยก๊าซสามารถประกอบอาชพี อสิ ระ อาทิ รับเหมาสรา้ งโครงสรา้ งโลหะงานผลิตภัณฑโ์ ลหะ เปน็ ต้น สภาพการทำ� งาน ต้องท�ำงานทั้งในท่ีร่มและกลางแจ้ง ต้องเจอความร้อนและมีควัน ต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันอันตราย ตลอดเวลา เชน่ แวน่ ตา หนา้ กาก สวมเสือ้ ผา้ ทีท่ �ำจากผา้ ฝา้ ยหนา สวมถุงมอื หนัง ใส่รองเทา้ ป้องกันโลหะ บางงาน ท�ำอย่ใู นรม่ บางงานตอ้ งปีนปา่ ย ท�ำงานนาน ๆ อาจมีปญั หาดวงตา และต้องระมัดระวังในการใชไ้ ฟฟ้าแรงสูง โอกาสในการมีงานทำ� แนวโน้มของผู้ท่ีจะประกอบอาชีพน้ี ส่วนส�ำคัญขึ้นอยู่กับการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ ซ่ึงใน ปัจจุบัน (2548) ปริมาณผลิตรถยนต์ในประเทศไทยเข้าสู่หลักล้านคัน ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการผลักดันส�ำคัญ จากการท่ีภาครัฐร่วมกับภาคเอกชนจัดท�ำแผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนต์ ซ่ึงระยะที่ 1 ได้ด�ำเนินการมาต้ังแต่ ปี 2545 และกำ� ลงั จะจัดทำ� แผนแม่บทอุตสาหกรรมยานยนตร์ ะยะท่ี 2 (พ.ศ. 2549 - 2553) เพอ่ื เตรียมรบั มือกบั การเปิดเสรีทางการค้าปัจจัยดังกล่าวจะเป็นปัจจัยสนับสนุนส�ำคัญส�ำหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพช่างเช่ือม โลหะด้วยกา๊ ซ ซึ่งตลาดแรงงานจะยังคงมคี วามตอ้ งการสูงส�ำหรับผทู้ ่ีประกอบอาชีพน้ี คุณสมบัตขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผ่านการอบรมกลุ่มงานอาชีพช่างเช่ือมโลหะด้วยก๊าซ จาก สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน หรือส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ 352 ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สูง (ปวส.) สาขาวชิ าช่างเช่ือม หรือช่างโลหะ 2. รา่ งกายแข็งแรง อดทน สามารถท�ำงานกลางแจ้งและทำ� งานงานหนักได้ 3. ละเอยี ด และประณตี 4. มีความรบั ผดิ ชอบ และตระหนักถงึ ความปลอดภยั และการป้องกันอุบัติภยั 5. มนุษยสมั พนั ธด์ ี 6. มีความเช่อื มน่ั สามารถแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ดี สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - ส�ำหรับผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพน้ีซ่ึงมีอายุตั้งแต่ 15 ปีข้ึนไป หรือจบการศึกษาระดับประถมศึกษา ปีที่ 6 หรือเทียบเทา่ ขน้ึ ไป สามารถฝึกอาชพี ไดท้ กี่ รมพัฒนาฝมี ือแรงงาน ระยะเวลาการฝกึ 6 เดือน โดยจะไดร้ ับ วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน (วพร.) กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เว็บไซต์ www.dsd.go.th โทรศัพท์ 0-2245-4035, 0-2643-4990 ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม สาขาชา่ งเทคนคิ โลหะ ชา่ งทอ่ และประสาน หรอื สาขาวชิ าชา่ งโลหะ ในสถาบนั การศึกษา สังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หรอื มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล อาทิ - วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ เว็บไซต์ www.cmtc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5321-7708 - วทิ ยาลัยเทคนิคมนี บุรี เวบ็ ไซต์ www.minburi.ac.th โทรศพั ท์ 0-2517-2041, 0-2517-5134 - วิทยาลัยเทคนิคยะลา เวบ็ ไซต์ www.ytc.ac.th โทรศพั ท์ 0-7321-2471, 0-7321-6769

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจำ�ปี 2558/2015 - สาขาวิชาช่างท่อและประสาน วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า กรมการ ัจดหางาน พระนครเหนือ เวบ็ ไซต์ http://cit.kmitnb.ac.th โทรศพั ท์ 0-2913-2500-24 ต่อ 6201, 6202, 6203, 6512 Department of Employment โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้มีพ้ืนฐานอาชีพน้ี ถ้ามีความสามารถในการท�ำงานและมีประสบการณ์จะได้รับการเล่ือนข้ันเลื่อน ต�ำแหน่งในสายงานทที่ �ำงาน อยู่จนถึงระดบั หัวหนา้ งาน ผปู้ ระกอบอาชพี นี้สามารถฝึกเพ่อื เพิม่ เตมิ ฝมี ือในหลกั สูตร การฝึกยกระดับฝีมือในส�ำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือการจัดฝึกอบรมโดยสถานประกอบการ และมีโอกาส เดินทางไปท�ำงานในตา่ งประเทศ เปน็ ผู้รับเหมา ประกอบอาชีพอสิ ระ ซง่ึ มีรายไดส้ ูง อาชีพทีเ่ กย่ี วเนื่อง ช่างโลหะแผ่น ช่างเครื่องมือ ช่างประกอบเคร่ืองกล ช่างแม่พิมพ์โลหะงานอุตสาหกรรมรถยนต์ งานผลิต ชิ้นส่วนเครอื่ งมือกล แหลง่ ขอ้ มลู อ่ืน ๆ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เว็บไซต์ www.vec.go.th โทรศัพท์ 0-2281-5555 - THE YOUNG เวบ็ ไซต์ www.theyoung.net - สมาคมการเชอื่ มโลหะแหง่ ประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.tws.or.th โทรศพั ท์ 0-2944-1868, 0-2944-3925 - บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เว็บไซต์ www.toyota.co.th โทรศัพท์ 0-2386-1000 - สถาบันยานยนต์ เว็บไซต์ www.thaiauto.or.th โทรศพั ท์ 0-2712-2414 - สมาคมผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย เว็บไซต์ www.thaiautoparts.or.th โทรศัพท์ 0-2712- 2246-7, 0-2712 -2971, 0-2712- 3594-6 353

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 ช่างซ่อมตัวถังรถยนต์ Autobody Repairer นยิ ามอาชีพ ดูแล ปรบั แต่ง บ�ำรุงรักษา และซ่อมแซมแม่พมิ พ์ ที่ใช้ส�ำหรับการผลิตตัวถังรถยนต์ให้อยู่ในสภาพที่ใช้การ ได้ดี; ทำ� งานภายใต้การแนะนำ� และควบคมุ ของวิศวกร ลกั ษณะของงานที่ท�ำ 1. ตัด ดัด ปรับ เคาะตัวถัง แคสซี และกันชน ของรถยนตท์ เ่ี กิดจากสาเหตุตา่ ง ๆ เชน่ อบุ ัตเิ หตุ หรือผใุ ห้ กลับสูส่ ภาพเดิม 2. ตรวจหาขนาดรอยผุที่ต้องปะผุ ท�ำการตัด ดว้ ยแกส๊ เชอ่ื มดว้ ยเครอ่ื งเชอ่ื มแกส๊ และเชอื่ มดว้ ยไฟฟา้ ดว้ ย การใช้เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ส�ำหรับซ่อมตวั ถัง 3. เคาะขึ้นรูปขอบมุมฉาก ขอบวงกลม รอยโคง้ งอ รอยฉกี ขาด รอยบบุ 4. ใชเ้ หล็กงัด และค้อนกระทุ้ง การตบแตง่ รอยเช่อื ม การเจาะ การเจียร การย้�ำหมดุ 354 5. ใช้แมแ่ รงดัด-ดึงตวั ถัง และแคสซี 5. เตรียมผวิ งานเพอ่ื การโปว๊ การโป๊วสแี ห้งชา้ และแหง้ เรว็ การป้องกันสนมิ 6. ถอด และใสก่ ระจกหน้า-หลัง หรือส่วนประกอบอน่ื ๆ 7. ติดตั้ง และปรับกลไกการข้ึนลงของกระจกหนา้ ต่าง ท้ังแบบมอื หมนุ และไฟฟ้า 8. ปรบั ตงั้ บานพบั และกลอนประตู รวมท้ังการดดั แปลงตวั ถงั รถยนต์ สภาพการจา้ งงาน ช่างซ่อมตัวถังรถยนต์ได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดือนท่ีแตกต่างกัน โดยมีเงินเดือนขั้นต�่ำ 5,000 บาท ขึ้นอยูก่ ับประสบการณ์ ความสามารถ และความชำ� นาญงาน นอกจากค่าตอบแทนในรปู เงินเดือนแล้ว อาจได้ รับผลประโยชน์พิเศษอย่างอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรูปต่าง ๆ เงินโบนัส ค่าลว่ งเวลา เป็นตน้ หรืออาจไดร้ บั คา่ จ้างตามผลงานหรอื ช้ินงานกไ็ ด้ ท�ำงานสัปดาห์ละ 48 ช่ัวโมง อาจจะต้องมาท�ำงานวันเสาร์ วันอาทิตย์ หรือวันหยุด อาจจะต้องท�ำงาน ลว่ งเวลา ในกรณที ่ตี ้องการใหง้ านซ่อมเสร็จทันต่อการใช้งาน สภาพการทำ� งาน เป็นงานหนักท่ีต้องการทักษะค่อนข้างสูง มีความละเอียดรอบคอบ เปื้อน ร้อน สกปรก เสียงดัง มีกล่ินสี และน้ำ� มันต้องทำ� งานในท่ีแคบ ๆ และแหลมคม ต้องท�ำงานด้วยความระมัดระวัง ใชม้ อื ท�ำงานมาก บางครัง้ ต้องนอน ทำ� งานใตท้ อ้ งรถยนต์ เมอื่ ต้องซอ่ มใต้ทอ้ งรถยนตด์ ว้ ย

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานทำ� กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้สนใจประกอบอาชีพช่างซ่อมตัวถังรถยนต์ สามารถท�ำงานในศูนย์บริการของบริษัทรถยนต์ท่ัวไป หรือท�ำงานในอู่บริการซ่อมรถยนต์ท่ัวไป หากไม่มี ประสบการณ์มาก่อน อาจจะเร่ิมท�ำงานโดยการเป็น ผู้ช่วยฝึกหัดงานจนมีความช�ำนาญก็สามารถประกอบ อาชีพได้ เนอื่ งจากภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย ตลาดรถยนต์ มือสองจึงได้รับความสนใจส�ำหรับผู้ต้องการใช้รถยนต์ ตามสภาวะเศรษฐกจิ กอ่ นจะมกี ารซอื้ หรอื ขายจงึ ตอ้ งมกี าร ซอ่ มรถยนตใ์ หอ้ ยู่ในสภาพดี ดงั น้ัน ชา่ งซ่อมตัวถงั รถยนต์ ท่ีมีฝีมือดี มีความช�ำนาญและตรงต่อเวลาจะได้รับ การว่าจ้างอย่างสม่�ำเสมอทั้งจากเจ้าของอู่รถยนต์และอู่ รถยนต์ที่บริษัทรับประกันภัยรถยนต์ให้บริการกับลูกค้า ท่วั ประเทศ คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาขั้นต�่ำ ระดับการศึกษาภาค บังคับตามกฎระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ มีพ้ืนความรู้ หรือประสบการณ์เกี่ยวกับงานในสาขาช่างปะผุตัวถังรถยนต์พอสมควร หรือผ่านการอบรมจากสถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน 2. มีร่างกายแขง็ แรงสมบูรณ์ สามารถทำ� งานกลางแจ้งและงานหนักได้ และมใี จรกั ด้านเครือ่ งยนตก์ ลไก 355 3. มีความอดทน ละเอียดรอบคอบ 4. ช่างสังเกต จดจ�ำ รูจ้ ักวิเคราะหแ์ ละแก้ไขปญั หา 5. มคี วามรับผดิ ชอบ และตระหนักถงึ ความปลอดภัยและปอ้ งกันอุบตั ภิ ัย สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา ผทู้ จี่ ะประกอบชา่ งซอ่ มตวั ถงั รถยนต์ ควรเตรยี มความพรอ้ มดงั น้ี คอื สำ� หรบั ผเู้ ขา้ สตู่ ลาดแรงงานใหมท่ ม่ี อี ายุ ตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ซึ่งส�ำเร็จการศึกษาภาคบังคับหรือเทียบเท่าข้ึนไปสมัครเข้ารับการอบรมจากสถาบันพัฒนาฝีมือ แรงงาน ศูนยพ์ ฒั นาฝมี ือแรงงานจงั หวดั 4 เดอื น และฝกึ ในสถานประกอบการอีก 2 เดอื น รวมระยะเวลาฝึกทั้งหมด 6 เดือน จงึ จะไดร้ บั วฒุ บิ ัตรพัฒนาฝมี อื แรงงาน (วพร.) แนวการฝกึ เนน้ ภาคปฏิบตั ิ 80% หรือสถาบนั การศกึ ษาอ่ืนท่ี เปิดสอนเป็นหลักสูตรระยะส้ัน ซ่ึงประกาศแจ้งก�ำหนดการอบรมให้ผู้สนใจเข้ารับการอบรม เมื่อส�ำเร็จหลักสูตรก็ สามารถประกอบอาชีพช่างซ่อมตัวถังได้เช่นกัน ความรู้ความสามารถท่ีผู้รับการฝึกจะได้รับจากการฝึก ได้แก่ การฝึกฝีมือเบื้องต้นชิ้นส่วนโครงสร้างตัวถังรถยนต์ การเชื่อมโลหะด้วยแก๊สและไฟฟ้า การตัดโลหะ การซ่อมสนิม ตัวถงั การโปว๊ ตัวถังรถยนต์แบบตา่ ง ๆ การลอกสี การปิดกระดาษงานกระจกรถยนต์

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี เมื่อมีประสบการณ์ และฝีมือท�ำงานเป็นที่ยอมรับ รวมทั้งหากได้รับการศึกษาต่อมีคุณวุฒิตามเงื่อนไขของ หนว่ ยงาน กม็ โี อกาสไดเ้ ลอื่ นเปน็ หวั หนา้ งาน ผคู้ วบคมุ งาน หวั หนา้ แผนก หรอื ผจู้ ดั การฝา่ ยงานในสายงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง ถ้าจะประกอบอาชีพอสิ ระจะต้องมปี ระสบการณ์ ทุนและการจัดการทดี่ ี อาชพี ทเ่ี กีย่ วเนอ่ื ง ช่างซ่อมตวั ถังรถยนต์ ช่างสรี ถยนต์ ชา่ งยนต์ ช่างเชื่อม ชา่ งแอรร์ ถยนต์ ชา่ งไฟฟ้ารถยนต์ แหล่งข้อมลู อนื่ ๆ - กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน 356

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment ช่างซ่อมไฟฟา้ Electrical fEi ngineer นยิ ามอาชพี ปรบั ประกอบ และซอ่ มอปุ กรณไ์ ฟฟา้ กำ� ลงั เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า ไดนาโม ในโรงงาน หรือตาม สถานที่ที่ใช้ : ปฏิบัติงานหลักมูลฐานเช่นเดียวกัน กับช่างปรับไฟฟ้าทว่ั ไป แต่ท�ำงานเกีย่ วกับอุปกรณ์ ไฟฟ้า เช่น มอเตอร์ และไดนาโม ซ่งึ ต้องใชค้ วามรู้ เป็นพิเศษ ลกั ษณะของงานที่ทำ� 1. เดินและซ่อมสายไฟฟ้า ติดตั้งระบบ จา่ ยพลงั งาน ควบคมุ เครอ่ื งจกั รในโรงงาน ตรวจเชก็ ซ่อมแซม และติดตั้งเคร่ืองจักรทางไฟฟ้า เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้า ไดนาโม อุปกรณ์ตรวจเช็ก และอุปกรณค์ วบคมุ การท�ำงานในกระบวนการผลิตของ งานอตุ สาหกรรม 2. ซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้า 357 เคร่ืองมอื วัดแรงดนั เคร่ืองมอื วดั ความต้านทาน และซอ่ มอปุ กรณเ์ คร่อื งซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าในสถานประกอบกิจการ หรือโรงงาน โดยท�ำตามกฎข้อก�ำหนดทางไฟฟ้า สามารถเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟ้าและมอเตอร์ อุปกรณ์ จ่ายไฟฟา้ การตอ่ สายไฟเขา้ อปุ กรณไ์ ฟฟ้าโดยคำ� นึงถึงความปลอดภัย ตัด ดดั ท�ำเกลยี ว และตดิ ต้งั ท่อทอดสายไฟ ชกั สายไฟผ่านทอ่ หรือวางสายเคเบลิ ห้มุ ฉนวน ตอ่ สายไฟเข้ากบั อปุ กรณ์ไฟฟา้ ที่ใช้ให้แสงสวา่ ง ทดสอบหาส่งิ ท่ชี ำ� รุด เสยี หาย แล้วทำ� การปรบั และซ่อม ใชเ้ คร่อื งมอื เครื่องท่นุ แรง เครอื่ งมือวดั ทางไฟฟ้า 3. ค้นหาข้อขัดข้องและแก้ไข สามารถซ่อมเครื่องไฟฟ้าอ่ืน ๆ เพ่ือให้มีประสิทธิภาพในการท�ำงานสูงสุด ปรับแต่งควบคุมและตรวจเช็กเคร่ืองควบคุมไฟฟ้ากระแสสลับ เช่น ชุดควบคุมมอเตอร์ของปั๊มน�้ำ มอเตอร์ของ บนั ไดเล่ือน มอเตอรข์ องลฟิ ต์ เป็นตน้ สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชน้ั สูง (ปวส.) สาขาวิชาชา่ งไฟฟ้ากำ� ลงั ส่วนใหญ่ทำ� งานอยู่ในสถานประกอบการอตุ สาหกรรมต่าง ๆ ท่ีสำ� คัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรืออุตสาหกรรมอาหาร จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเริ่มต้น การท�ำงานประมาณ 10,000 - 15,000 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเงื่อนไข ขอ้ ตกลง กับผวู้ า่ จ้าง ทำ� งานวันละ 8 ชั่วโมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวนั หยดุ ตามความจำ� เปน็ เร่งดว่ น

2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment สภาพการทำ� งาน งานของผู้ประกอบอาชีพนี้เป็นงานค่อนข้างหนัก ต้องการทักษะฝีมือปานกลาง ต้องปฏิบัติงานตามกฎ ของการไฟฟ้า และตามแบบที่ก�ำหนด ต้องมีความละเอียดรอบคอบ ระมัดระวัง เพื่อความปลอดภัยของตนเอง และบคุ คลอน่ื ในการทำ� งานอาจทำ� งานคนเดยี วหรอื มผี ชู้ ว่ ยรว่ มทำ� งานดว้ ย 1 หรอื 2 คนขน้ึ ไป ขนึ้ อยกู่ บั ปรมิ าณงาน 358 และสถานท่ีทีต่ ้องปฏิบตั งิ าน โอกาสในการมงี านทำ� เนื่องจากไฟฟ้าเป็นส่ิงจ�ำเป็นและส�ำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนและวงการธุรกิจ ท้ังทางด้าน พาณชิ ยกรรม อุตสาหกรรมการผลิต และอุตสาหกรรมการบริการ ซึ่งต้องอาศัยไฟฟา้ เป็นส่วนประกอบเกือบท้งั หมด ผู้ประกอบอาชีพชา่ งปรบั ไฟฟ้า (อุปกรณ์ไฟฟ้ากำ� ลงั ) จึงเป็นอาชพี ทอี่ ย่ใู นความตอ้ งการของตลาดแรงงาน คณุ สมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สาขาวิชาช่างไฟฟ้าก�ำลังหรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง หรือเป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ต้อนต้น (ม.3) และเข้ารบั การฝกึ อบรมหลกั สตู รพฒั นาฝีมือแรงงาน 2. รักงานช่างด้านไฟฟา้ 3. รา่ งกายแขง็ แรง 4. อดทน ขยันหม่นั เพียร สามารถท�ำงานกลางแจง้ 5. มคี วามคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ ชอบการคดิ คำ� นวณ มีความละเอยี ดรอบคอบ 6. เปน็ ผูน้ ำ� และมมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ่ดี ี 7. มั่นใจในตนเอง สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ ได้

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจำ�ปี 2558/2015 สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา กรมการ ัจดหางาน Department of Employment สาขาช่างไฟฟ้าก�ำลัง หรือสาขาที่เก่ียวข้อง (ระดับ ปวช.) ในสถาบันการศึกษา สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา อาทิ - วทิ ยาลยั เทคนคิ บุรรี ัมย์ เวบ็ ไซต์ www.btec.ac.th โทรศัพท์ 0-4461-1079 - วทิ ยาลยั เทคนิคหาดใหญ่ เวบ็ ไซต์ www.htc.ac.th โทรศัพท์ 0-7421-2300 - วทิ ยาลยั เทคนคิ มนี บรุ ี เว็บไซต์ www.minburi.ac.th โทรศพั ท์ 0-2517-2041, 0-2517-5134 ช่างอุตสาหกรรม สาขาช่างไฟฟ้าก�ำลัง (ระดับ ปวส.) ในสถาบันการศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล เว็บไซต์ www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 - กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน เว็บไซต์ www.dsd.go.th โทรศพั ท์ 0-2245-4035, 0-2643-4990 - สถาบนั พฒั นาฝมี อื แรงงาน ศนู ยพ์ ฒั นาฝมี อื แรงงานจงั หวดั หรอื สถาบนั อนื่ ๆ ทเ่ี ปดิ สอนหลกั สตู รช่างซอ่ ม อุปกรณ์และเคร่ืองใช้ไฟฟ้า อาทิ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดฉะเชิงเทรา เว็บไซต์ www.sothorn.com โทรศพั ท์ 0-3885-1220-3 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี ผปู้ ระกอบอาชพี นท้ี รี่ บั ราชการ หรอื เปน็ พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ จะเลอื่ นตำ� แหนง่ และเงนิ เดอื นตามกฎระเบยี บ ที่วางไว้ ส่วนงานภาคเอกชนนั้นเมื่อมีระยะเวลาในการท�ำงานเพ่ิมข้ึน รวมท้ังมีความสามารถและความช�ำนาญงาน ก็จะได้เล่ือนต�ำแหน่งงานและเงินเดือนสูงขึ้นตามความสามารถและประสบการณ์ โดยอาจได้เลื่อนต�ำแหน่ง เป็นหวั หน้าฝ่าย หรือผู้จดั การฝา่ ย อาชีพทีเ่ กี่ยวเน่อื ง 359 ช่างไฟฟ้า ช่างเช่ือมไฟฟา้ ชา่ งไฟฟา้ อุตสาหกรรม ช่างเดินสายไฟฟ้าอาคาร ช่างพนั มอเตอร์ แหลง่ ข้อมลู อนื่ ๆ - สถาบันไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เว็บไซต์ www.thaieei.com โทรศัพท์ 0-2280-7272 - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เว็บไซต์ www.vec.go.th โทรศพั ท์ 0-2281-5555 - วทิ ยาลัยการอาชีพนวมนิ ทราชนิ ีมกุ ดาหาร สาขาวชิ าไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เวบ็ ไซต์ www.elecweb. th.gs โทรศพั ท์ 0-4261-2964 - บรษิ ทั โตชิบา ไทยแลนด์ จำ� กัด เว็บไซต์ www.toshiba.co.th โทรศัพท์ 0-2512-0270

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ชา่ งซอ่ มรถยนต์ Auto Mechanic นิยามอาชพี ปรบั แตง่ ซอ่ ม หรอื ใหบ้ รกิ ารซอ่ มรถโดยสาร รถสนิ ค้า รถบรรทุก และยานยนต์อนื่ ๆ; ตรวจสอบ วิเคราะห์หาสาเหตุที่ขัดข้อง ช�ำรุดเสียหายของ อปุ กรณแ์ ละชนิ้ สว่ นหรอื ระบบตา่ งๆ ของยานยนต;์ ถอด แยกชน้ิ ส่วนตา่ ง ๆ ออก เชน่ ระบบจดุ ระเบดิ เคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้า (ไดนาโม) กระปุกเฟือง พวง มาลัย กระปุกเกียร์และห้ามล้อ ท�ำการซ่อมหรือ เปลี่ยนใหม่ ตรวจวัด ตรวจสอบและปรับตั้ง อุณหภมู ิ ความดัน ความเรว็ รอบ และลกั ษณะการ ท�ำงานของระบบต่าง ๆ ให้เป็นไปตามสภาพปกติ โดยใช้เคร่ืองมือกล เคร่ืองมือวัด เครื่องมือพิเศษในการซ่อม ทดสอบเครื่องยนต์และอุปกรณ์ภายหลังการซ่อมจนอยู่ในสภาพสมบูรณ์และสามารถน�ำไปใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ให้บริการอ่ืน ๆ เช่น เปล่ียนถ่ายน้�ำมันเคร่ือง ไล่ลมเบรก การตั้งศูนย์ล้อ ตลอดจนบ�ำรุงรักษา 360 ยานยนตใ์ หม้ ีสภาพการทำ� งานเป็นปกติและอายุการใช้งานนาน ลักษณะของงานท่ีทำ� 1. ซอ่ มหรอื ฟิตเครอ่ื งยนต์ โดยสอบถามอาการจากลูกคา้ แลว้ ตรวจสอบ วเิ คราะหอ์ าการขอ้ ขัดข้อง โดย อาศัยประสบการณ์ หรอื ใช้เครื่องมอื อุปกรณใ์ นการตรวจสอบ 2. กำ� หนดข้นั ตอนการซอ่ ม ศึกษาคู่มอื การซ่อม ยกรถด้วยแม่แรงหรือไฮดรอลิก ถอดช้นิ สว่ นออกมาซอ่ ม เช่น เครอ่ื งยนต์ ระบบรองรับนำ�้ หนัก ระบบสง่ ถา่ ยกำ� ลัง ระบบไฟฟ้า ร้ือช้ินสว่ นออกมาซอ่ มหรอื เปลยี่ นอะไหล่ เชน่ ลกู สูบกา้ นสบู เกียร์ วาล์ว ลูกปนื คาร์บูเรเตอร์ เยนเนอเรเตอร์ พดั ลม เบรก โช๊คอัพ 3. ตง้ั ศนู ยล์ อ้ แกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ ง วงจรไฟฟา้ หรอื งานบรกิ ารรถยนต์ เชน่ เปลย่ี นหวั เทยี น ทองขาว เตมิ นำ้� กลน่ั เติมน้�ำมันเครื่อง น�้ำมันเกียร์ บริการไส้กรองอากาศ การลองเครื่องยนต์ อาจต้องใช้เครื่องกลึง เคร่ืองเจียร เครอ่ื งเจาะ เครือ่ งซ่อม เครอ่ื งเช่อื ม และบดั กรี ฯลฯ 4. ซ่อม หรือให้บริการและซอ่ มรถโดยสารรถสินคา้ รถบรรทกุ และยานยนตอ์ ืน่ ๆ 5. ตรวจยานพาหนะที่เสีย เพื่อให้ทราบถึงลักษณะและส่ิงที่เสีย ถอดชิ้นส่วนต่าง ๆ ออก เช่น ระบบ จุดระเบิด เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า (ไดนาโม) กระปุกเฟือง พวงมาลัย กระปุกเกียร์ และห้ามล้อ เปลี่ยนส่วนที่เสีย บดวาลว์ เปลี่ยนผา้ เบรก เปลีย่ นบู๊ทและส่วนประกอบพวงมาลยั 6. ท�ำงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการซ่อม เปลี่ยนน้�ำมันเครื่องยนต์ และระบบส่งถ่ายก�ำลังหล่อลื่นตามข้อต่อ ต่าง ๆ ขนั ช้นิ ส่วนท่ีหลวมใหแ้ นน่ 7. ปรบั และท�ำงานอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วกับการทำ� ใหย้ านพาหนะคงอยใู่ นสภาพท่ดี ี อาจเชอ่ื ม ประสาน และบัดกรี

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 8. ให้ค�ำแนะน�ำเบ้อื งต้นต่อลกู คา้ ทีม่ าใชบ้ รกิ าร ในการดูแลรกั ษารถยนตใ์ หอ้ ยูใ่ นสภาพดี กรมการ ัจดหางาน 9. อาจชำ� นาญการซ่อมยานพาหนะทใี่ ช้ดีเซลหรือเบนซนิ Department of Employment สภาพการจ้างงาน ผู้ประกอบอาชีพช่างซ่อมรถยนต์จะได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดือนที่แตกต่างกันไปตามความรู้ ความช�ำนาญ และสถานประกอบกิจการ ในอัตราเงินเดือนข้ันต่�ำ โดยอัตราเงินเดือนของผู้ประกอบอาชีพ ช่างซ่อมรถยนตใ์ นภาคเอกชนขึน้ อยู่กบั ประสบการณ์ ความสามารถ และความช�ำนาญงาน นอกจากค่าตอบแทนในรูปเงินเดือนแล้วอาจได้รับค่าตอบแทนในรูปอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินชว่ ยเหลอื สวัสดิการในรูปต่าง ๆ เงนิ โบนัส ค่าลว่ งเวลา เปน็ ตน้ ท�ำงานสัปดาห์ละ 48 ช่วั โมง อาจจะตอ้ งมาท�ำงานวันเสาร์ อาทติ ย์ หรอื วนั หยุด อาจจะตอ้ งทำ� งาน ลว่ งเวลา ในกรณที ีต่ ้องการใหง้ านซอ่ มเสรจ็ ให้ทนั ต่อการใช้งาน สภาพการทำ� งาน 361 เป็นงานหนักท่ีท้าทายกับเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าไป อย่างไม่หยุดยั้ง มักมีลูกค้าประจ�ำ ต้องการความสามารถ ในการวิเคราะห์ปัญหา มีความละเอียดรอบคอบ เปื้อน สกปรก ร้อน บางคร้ังต้องท�ำงานใต้ท้องรถยนต์ ใช้มือ ท�ำงานมาก อู่ขนาดเล็กและขนาดกลางนายจ้างอาจ จัดอาหาร และที่พักให้ ส่วนอู่มาตรฐานจะแยกงานกัน ท�ำตามส่วนของรถยนตท์ ี่จะซอ่ ม โอกาสในการมงี านทำ� ปัจจุบัน รถยนต์เป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อชีวิตประจ�ำวัน และเมื่อรถยนต์มีปัญหา ผู้ใช้มักจะให้ช่างฟิตหรือ ช่างซอ่ มรถยนต์ดูแลซ่อมแซมให้ ดงั นนั้ ความต้องการช่างฟิตในตลาดแรงงานยังมีอยใู่ นระดบั สูง ช่างฟติ จึงมโี อกาส เขา้ ท�ำงานได้ท้งั ในภาครฐั ในศูนยซ์ อ่ มของหน่วยงานราชการและรัฐวสิ าหกจิ เชน่ กรมการขนสง่ ทางบก กรมเจ้าทา่ การรถไฟแห่งประเทศไทย หรอื ในภาคเอกชน เชน่ ศูนย์บริการรถยนต์ บริษัทจำ� หน่ายรถยนต์ โรงงานอุตสาหกรรม ต่าง ๆ หรอื ประกอบอาชพี อสิ ระ เช่น รับติดตง้ั ซ่อมแซมระบบเคร่อื งยนต์ เปดิ อู่รับบริการซ่อมรถยนต์ เปน็ ต้น คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชพี 1. มีร่างกายแข็งแรง สมบรู ณ์ สามารถท�ำงานกลางแจง้ และงานหนักได้ และมใี จรกั ด้านเคร่อื งยนตก์ ลไก 2. ส�ำเร็จการศกึ ษาข้นั ต่�ำตามกฎระเบยี บการศึกษาภาคบังคบั มีพื้นความรหู้ รือประสบการณ์เก่ยี วกับงาน ซ่อมเคร่ืองยนต์หรืองานบ�ำรุงรักษารถยนต์หรือผ่านการอบรมจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือส�ำเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) ประเภทวิชาชา่ งอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าช่างยนต์ หรอื ส�ำเร็จการศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สูง (ปวส.) ประเภทวิชาช่างอตุ สาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ 3. มคี วามอดทน ละเอียดรอบคอบ 4. ช่างสังเกต จดจำ� รู้จกั วเิ คราะห์ และแกไ้ ขปญั หา 5. มคี วามรบั ผดิ ชอบ และตระหนกั ถึงความปลอดภยั และป้องกันอุบตั ิภัย

2ท0ตี่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศกึ ษา ผู้ที่จะประกอบอาชีพช่างซ่อมรถยนต์ ควรเตรียมความพร้อมดังต่อไปน้ี : ส�ำหรับผู้เข้าสู่ตลาดแรงงานใหม่ ทม่ี ีอายุตงั้ แต่ 15 - 25 ปี จบการศึกษาช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 หรอื เทยี บเท่าขน้ึ ไปฝึกในสถาบนั พฒั นาฝีมือแรงงาน (สพร.) หรือศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด (ศพ.จังหวัด) 10 เดือน และฝึกในสถานประกอบการอีก 362 2 เดือน รวมระยะเวลาฝึกทั้งหมด 12 เดือน จึงจะได้รับวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน (วพร.) แนวการฝึกเน้น ภาคปฏิบัติ 80% ความรู้ความสามารถท่ีผู้รับการฝึกจะได้รับจากการ ฝึกคือการฝึกฝีมือเบื้องต้นการซ่อม เครื่องยนต์ ท้ังระบบแก๊สโซลีน และดีเซล งานไฟฟ้ารถยนต์ และระบบอิเล็กทรอนิกส์งานส่งก�ำลังรถยนต์งาน ระบบรองรับน้�ำหนัก รวมทงั้ การบำ� รงุ รกั ษารถยนต์ ตลอดจนการขบั รถยนต์อยา่ งปลอดภัย ในระดับช่างฝีมือ ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งยนต์ จากสถานศกึ ษาสงั กดั กรมอาชีวศึกษาหรือสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล ระดับชา่ งเทคนิค สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.) ประเภทวชิ าช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ จากสถานศกึ ษาสังกดั กรมอาชวี ศกึ ษา หรอื สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล หรือวิทยาลัยเทคโนโลยี อุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ผู้มีพื้นฐานชา่ งซ่อมรถยนต์ สามารถฝกึ เพ่มิ เตมิ ฝีมือในหลกั สูตรการฝกึ ยกระดับฝีมอื ใน สพร. หรือการจดั ฝกึ อบรมโดยบริษัทผู้แทนจ�ำหน่ายรถยนต์ ถ้าจะประกอบอาชีพอิสระจะต้องมีประสบการณ์ ทุน และการจัดการที่ดี เพราะลงทนุ สงู มโี อกาสเทียบโอนเพื่อศึกษาตอ่ ในโรงเรียนอาชีวศกึ ษา หรอื วทิ ยาลยั จนถงึ ระดับปริญญาตรี ส�ำหรบั ผู้ทท่ี ำ� งานแลว้ สามารถหาความรูแ้ ละทักษะเพ่มิ เตมิ จากการฝกึ ยกระดบั ฝมี อื อาจเป็นการฝกึ ภาคค�ำ่ หรือตามคำ� ขอ ของสถานประกอบการ ระยะเวลาฝึก 50 - 70 ชวั่ โมง มหี ลักสตู รตา่ ง ๆ ให้เลอื ก เช่น ช่างซ่อมเคร่อื งยนต์เบนซนิ / ดเี ซล การปรบั แตง่ เครอื่ งยนต์ การเดนิ สายไฟฟา้ ในรถยนต์ การซอ่ มระบบสง่ ถ่ายกำ� ลงั รถยนต์ เปน็ ตน้ รวมทง้ั สถาบนั

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 พัฒนาฝีมือแรงงาน มีบริการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน สาขาช่างซ่อมรถยนต์ ช่างไฟฟ้าในรถยนต์ ช่างซ่อม กรมการ ัจดหางาน เคร่ืองยนต์ เบนซิน แต่ละมาตรฐานแบ่งออกเป็น 3 ระดับช้ัน การทดสอบจะเรม่ิ จากชัน้ 1 - 3 ตามล�ำดับ Department of Employment ผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สามารถเข้าศึกษาต่อเพ่ือเพิ่มวิทยฐานะ ให้สูงข้นึ เพือ่ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพดังนี้ ศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หลักสูตร 2 ปี ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขา วิชาช่างยนต์ ในสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา หรือสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล หรือวิทยาลัยเทคโนโลยี อตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ระดับปรญิ ญาตรหี ลักสูตร 4 ปี สาขาวิชาวศิ วกรรมเครื่องกล ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล หรอื สาขาวชิ าวิศวกรรมเครอ่ื งกล สาขาวชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการ ในสถานศึกษาสงั กัดทบวงมหาวทิ ยาลยั เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี เปน็ ตน้ หรือผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สามารถเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ต่อเน่ือง 3 - 3 ปีคร่ึง สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ หรือสถานศึกษาสังกัดสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล หรือระดับปริญญาตรีต่อเน่ือง 2 - 3 ปี สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล สาขาวิชาวิศวกรรม อุตสาหการเครื่องมือกล สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการวัสดุอุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในสถานศึกษาสังกัดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล หรือระดับปริญญาตรีต่อเน่ือง 2 - 3 ปี สาขาวิชาเทคโนโลยี เคร่ืองกลในวทิ ยาลัยเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ ส�ำหรับผู้ท่ีไม่ต้องการศึกษาต่อ หากมีความสามารถและมีเงินทุนสามารถประกอบกิจการส่วนตัว เปิดอู่รับซ่อมรถยนต์ เป็นอาชีพที่ไม่มีการตกงาน ข้ึนอยู่กับความสามารถ ประสบการณ์ และให้บริการเป็น ท่ีพอใจแก่ลูกค้า อาชีพทีเ่ กยี่ วเนื่อง 363 ช่างปรับอากาศในรถยนต์ ช่างประดับยนต์ ช่างติดต้ังเคร่ืองเสียงรถยนต์ ช่างบริการแบตเตอร่ีรถยนต์ ล้างอัดฉีดรถยนต์ ชา่ งเชือ่ ม ชา่ งกลงึ โลหะ ชา่ งเคาะพ่นสรี ถยนต์ ครสู อนซ่อมเคร่ืองยนต์ สอนขับรถยนต์ พนกั งาน ตรวจสภาพรถยนต์ พนกั งานประเมนิ ราคาค่าซ่อมรถยนต์ พนกั งานขายรถยนต์ แหลง่ ขอ้ มูลอน่ื ๆ - กรมพฒั นาฝีมอื แรงงาน - กระทรวงแรงงาน - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล - วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 ชา่ งซ่อมและติดตงั้ วางสายไฟฟ้า Electricians and Electrical Wiremen นิยามอาชพี ผูป้ ฏบิ ัตงิ านอาชพี ในหนว่ ยนี้ ได้แก่ ผปู้ รบั แตง่ ติดตั้ง ตรวจสอบและให้บริการซ่อมแซมเคร่ืองจักรกลทางการเกษตร หรืออุตสาหกรรม (ยกเว้นเครื่องยนต์ของยานยนต์และ อากาศยาน) เติมน้�ำมันหล่อลื่นและอัดจาระบีลงในเคร่ืองยนต์ ทีต่ ิดต้ังประจำ� ที่ ตรวจสอบและทดสอบเครอ่ื งจกั รหรอื ชิ้นส่วน ของเครอื่ งกลใหมเ่ พ่ือให้ได้ตามมาตรฐานและข้อก�ำหนดต่าง ๆ ตลอดจนปฏิบัติหน้าท่ีการงานที่เกี่ยวข้องและควบคุมดูแล ผปู้ ฏิบตั งิ านอื่น ๆ ลกั ษณะของงานที่ท�ำ 1. เดนิ และซ่อมสายไฟฟ้า ตดิ ตั้ง และซ่อมอปุ กรณ์ ไฟฟ้าและเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ขนาดเลก็ ในบา้ นเรอื น สถานประกอบ 364 กจิ การ หรอื โรงงาน โดยทำ� ตามกฎขอ้ กำ� หนดทางไฟฟา้ สามารถ เลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า 2. ศกึ ษารปู แบบ หรอื รายละเอยี ดอน่ื ๆ วางแผนการเดนิ สาย และตดิ ตงั้ อปุ กรณต์ ามแบบการเดนิ สายไฟฟา้ เดินสายแบบโชว์ หรือเดินสายร้อยท่อพีวีซี หรือท่อโลหะ การซ่อมแนวเดินสายไฟฟ้าในเพดาน ผนัง ทั้งไฟฟ้าแสง สวา่ ง และกำ� ลังการตดิ ตั้งอุปกรณไ์ ฟฟ้า เช่น สวิตช์ รีเลย์ ปล๊กั แผงควบคมุ การจ่ายไฟ การต่อสายไฟเข้าอปุ กรณ์ ไฟฟ้าโดยคำ� นึงถงึ ความปลอดภยั ตัด ดัด ทำ� เกลยี ว และตดิ ตง้ั ท่อทอดสายไฟ ชกั สายไฟผ่านท่อ หรือวางสายเคเบลิ ห้มุ ฉนวน 3. ตอ่ สายไฟเขา้ กบั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทใ่ี ชใ้ หแ้ สงสวา่ งและกำ� ลงั ทดสอบหาสง่ิ ทช่ี ำ� รดุ เสยี หาย แลว้ ทำ� การปรบั และซ่อม ใช้เคร่ืองมือ เคร่ืองทุ่นแรง เคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้า สามารถค้นหาข้อขัดข้องและแก้ไข สามารถ ซอ่ มเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ขนาดเล็กได้ เช่น เตารดี หม้อหงุ ขา้ ว พัดลม เปน็ ตน้ 4. อาจชำ� นาญในการเดนิ สายไฟฟ้าแรงสูงหรอื แรงตำ�่ 5. อาจตดิ ตัง้ อปุ กรณโ์ ทรศพั ท์และโทรเลขชนดิ ท�ำงานด้วยมือ หรือชนดิ อัตโนมัติ 6. ตรวจรูปแบบและแผนภาพการวางสายโทรศัพท์และโทรเลข ติดต้ังแผงหรือตู้สวิตช์โทรศัพท์ เครือ่ งถา่ ยทอด เครือ่ งเชอ่ื มโยงเลขหมายเครอ่ื งรบั เคร่อื งโทรพิมพ์ และอุปกรณอ์ น่ื ๆ ใหอ้ ยูต่ ามตำ� แหนง่ 7. เชอ่ื มชนิ้ สว่ นต่าง ๆ ของอปุ กรณด์ ว้ ยการตอ่ สายไฟฟา้ การบดั กรี และการหนบี รดั ตอ่ สายเคเบลิ สำ� หรบั รบั และส่ง ปรับเครื่องถา่ ยทอด และเครือ่ งไฟฟ้าอน่ื ๆ เพอ่ื ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพในการทำ� งานสูงสุด

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจา้ งงาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment อัตราเงินเดือนของผู้ติดต้ังวางสายไฟฟ้าในภาคเอกชนข้ึนอยู่กับประสบการณ์ ความสามารถ และความ ชำ� นาญงาน นอกจากค่าตอบแทนในรปู เงินเดือนแลว้ อาจไดร้ ับผลประโยชนพ์ เิ ศษอยา่ งอนื่ เชน่ ค่ารกั ษาพยาบาล เงินสะสมเงนิ ชว่ ยเหลือสวัสดิการในรปู ต่าง ๆ เงนิ โบนัส คา่ ล่วงเวลา เปน็ ตน้ ค่าแรงงานอาจไดร้ บั ตามจดุ ทเี่ ดนิ สาย หรอื ติดตัง้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าก็ได้ ผู้ปฏิบตั งิ านชา่ งซ่อมและตดิ ตง้ั วางสายไฟฟ้าทำ� งานสปั ดาห์ละ 40 - 48 ชั่วโมง อาจจะตอ้ งท�ำงานวนั เสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด หรือต้องท�ำงานล่วงเวลาในกรณีที่ต้องการให้งานการติดตั้งหรือซ่อมแซมแล้วเสร็จทัน การใชง้ าน สภาพการทำ� งาน เป็นงานหนักที่ต้องการทักษะฝีมือปานกลาง ต้องปฏิบัติงานตามกฎของการไฟฟ้า และตามแบบท่ีก�ำหนด ต้องละเอียดรอบคอบ ระมัดระวังเพ่ือความปลอดภัยของตนเองและบุคคลอ่ืน จะยืนท�ำงานเป็นส่วนใหญ่ มีการ ปีนป่ายบ้างพอสมควร ต้องใช้เครื่องมือ เครื่องทุ่นแรง ในการขุดเจาะผนังปูนหรือคอนกรีตบ้าง ในการท�ำงาน อาจทำ� งานคนเดยี วหรอื มผี ู้ชว่ ยร่วมทำ� งานดว้ ยต้งั แต่ 1 หรอื 2 คนขน้ึ ไป ขน้ึ อยู่กับปรมิ าณงาน และสถานทีท่ ตี่ ้อง ปฏบิ ตั ิงาน โอกาสในการมีงานท�ำ ตลาดแรงงานของผู้ติดต้ังวางสายไฟฟ้า สามารถซ่อมและติดต้ังวางสายไฟฟ้า-โทรศัพท์ที่ท�ำงานในภาครัฐ และภาคเอกชน เชน่ ร้านจำ� หนา่ ยวัสดกุ ่อสรา้ ง บรษิ ทั รับเหมาก่อสร้าง บริษัทติดตงั้ เครอื่ งปรบั อากาศภายในอาคาร เปน็ ผปู้ ระเมนิ ราคาและควบคมุ งาน สำ� หรบั ชา่ งซอ่ มและตดิ ตง้ั วางสายไฟฟา้ -โทรศพั ทท์ มี่ ปี ระสบการณ์ มคี วามชำ� นาญ และมเี งินทนุ สามารถท่ีจะเปดิ กจิ การสว่ นตัว โดยรับซอ่ มและตดิ ตั้งวางสายไฟฟา้ โทรศพั ท์ 365 คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 หรอื ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) หรอื ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ ก�ำลัง 2. มีใจรกั งานช่างด้านไฟฟ้า 3. มีร่างกายแข็งแรง ไม่เปน็ โรคที่เป็นอุปสรรคตอ่ งานอาชีพ 4. มีความอดทน ขยนั หมน่ั เพยี ร สามารถทำ� งานกลางแจง้ 5. มีความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ ชอบการคดิ คำ� นวณ มีความละเอียดรอบคอบ 6. มีความเปน็ ผูน้ ำ� และมีมนษุ ยสมั พนั ธท์ ีด่ ี 7. มคี วามม่ันใจในตนเอง สามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - วชิ าชพี ชา่ งไฟฟ้ากำ� ลัง โรงเรยี นช่างฝีมอื ทหาร ถนนพหลโยธนิ 30 แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2511-0117 - ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ 1518 ถนนพิบูลสงคราม เขตบางซอ่ื กรุงเทพฯ 10800 โทรศพั ท์ 0-2913-2500 ต่อ 6311

ท20่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1381 ถนน Department of Employment พบิ ลู สงคราม แขวงบางซอื่ เขตบางซอื่ กรงุ เทพฯ 10800 โทรศพั ท์ 0-2913-2424 ต่อ 150 โทรสาร 0-2913-2424 ตอ่ 151 - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 3 หมู่ 2 ถนนฉลองกรุง แขวงลาดกระบงั เขตลาดกระบัง กรงุ เทพฯ 10520 โทรศัพท์ 0-2329-8000, 0-2329-8099 - สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน 2410/2 ถนนพหลโยธนิ แขวงเสนานคิ ม เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2579-1111 ตอ่ 2147, 2157, 1315, 1329, 1202 โทรสาร 0-2579-1111 ตอ่ 2147 อีเมล [email protected] - ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ถนนสถลมาร์ค ต�ำบลเมืองศรีไค อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 โทรศัพท์ 0-4535-3329, 0-4535-3330 โทรสาร 0-4535-3333 - กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน ถนนมติ รไมตรี แขวงดินแดง เขตดนิ แดง กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2245- 1707, 0-2245-4035 โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผู้มีพื้นฐานติดตั้งวางสายไฟฟ้า สามารถฝึกเพิ่มเติมฝีมือในหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือในสถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน (สพร.) มีโอกาสไปท�ำงานต่างประเทศมาก สามารถรับจ้างส่วนตัวได้ง่าย ผู้ประกอบอาชีพช่างซ่อม และติดต้ังวางสายไฟฟ้า หากมีความขยันและอุตสาหะไม่มีโอกาสตกงาน และย่ิงมีความเชี่ยวชาญ และงานฝีมือดี หากทำ� งานในภาครฐั หรอื ภาคเอกชนจะไดร้ บั การเลอื่ นขน้ั เลอ่ื นตำ� แหนง่ จนถงึ ระดบั หวั หนา้ งาน หรอื หากสนใจศกึ ษา ต่อในสถาบันอุดมศึกษาท่ีเปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาช่างไฟฟ้าทั่วไปก็สามารถปรับเลื่อนต�ำแหน่งตามวุฒิการศึกษา 366 และสามารถเปน็ ไดถ้ ึงระดบั บริหาร ทง้ั นขี้ ้นึ อยู่กบั ความสามารถและวิริยอุตสาหะของแตล่ ะคน อาชพี ทเี่ กี่ยวเนื่อง ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ชา่ งซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า ช่างก่อสรา้ ง ชา่ งโทรศพั ท์ ชา่ งโทรเลข แหลง่ ขอ้ มลู อื่น ๆ - กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน - กระทรวงแรงงาน - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจำ�ปี 2558/2015 Department of Employment ชา่ งทำ� ซลิ คส์ กรนี Maker, Silk-Screen Printing นิยามอาชีพ ออกแบบ วาดแบบ จ�ำลองลวดลายหรือรูปลงบน สกรีนทองแดง หรือผ้าสกรีนเพื่อใช้ในการพิมพ์ส่ิงทอสิ่งถัก ด้วยกรรมวิธีสกรีน ขึงสกรีนทองแดงหรือผ้าสกรีนลงบน กรอบ; ราดน�ำ้ ยาไวแสงลงบนสกรีน; วางสกรีนทร่ี าดนำ�้ ยาไว แสงแล้วลงบนแท่นถ่ายภาพ; วางฟิล์มท่ีมีลวดลายหรือ รูปลงบนสกรีนที่ราดน้�ำยาไวแสงไว้แล้ว และเปิดไฟใน ห้องมืดตามเวลาท่ีก�ำหนดไว้; เอาสกรีนไว้บนราวไม้เพ่ือผึ่ง ให้แห้ง; ทาแลกเกอร์ลงบนสกรีนเฉพาะส่วนท่ีไม่มีภาพ ผ่ึงให้แห้งเป็นครั้งสุดท้ายแล้วส่งไปยังฝ่ายพิมพ์หลังจาก ทผ่ี ู้ควบคุมงานได้ตรวจดูแลว้ ลกั ษณะของงานท่ีทำ� 1. ขึงสกรีนทองแดงหรอื ผ้าสกรีนลงบนกรอบ 2. ราดนำ้� ยาไวแสงลงบนสกรนี 367 3. วางสกรีนทีร่ าดน�ำ้ ยาไวแสงแล้วลงบนแท่นถา่ ยภาพ 4. วางฟิล์มท่ีมีลวดลายหรือรูปลงบนสกรีนท่ีราดน�้ำยาไวแสงไว้แล้ว และเปิดไฟในห้องมืดตามเวลา ทก่ี �ำหนดไว้ 5. เอาสกรนี ไว้บนราวไมเ้ พื่อผ่งึ ใหแ้ หง้ 6. ทาแลก็ เกอร์ลงบนสกรีนเฉพาะส่วนท่ีไม่มีภาพ ผ่งึ ใหแ้ ห้งเปน็ คร้ังสดุ ทา้ ยแล้วส่งไปยงั ฝา่ ยพิมพ์ สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ควรส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาศิลปกรรม หรือ สาขาที่เกี่ยวข้อง สามารถปฏิบัติงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมส่ิงทอหรือเคร่ืองนุ่งห่ม ได้รับค่าตอบแทน เป็นเงินเดือนที่ระดับเร่ิมต้นการท�ำงาน ประมาณ 9,500 - 12,5000 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเปน็ ไปตามเงอ่ื นไขขอ้ ตกลงกบั ผูว้ ่าจา้ ง ท�ำงานวันละประมาณ 8 - 9 ชว่ั โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยุดตามความจำ� เปน็ สภาพการท�ำงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ต้องท�ำงานทั้งในและนอกสถานท่ี ในภาคสนาม หรือห้องมืด ปฏิบัติงานซิลค์สกรีน การออกแบบ การท�ำแมแ่ บบแผน่ ใส การทำ� แมพ่ ิมพ์ การซิลค์สกรนี การเก็บชิ้นงานสกรีน การติดต้งั ชน้ิ งาน ฯลฯ

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 มีสภาพการท�ำงานทคี่ ่อนขา้ งละเอยี ด ประณีต โดยใชท้ ฤษฎี ทกั ษะ วธิ ีการที่หลากหลาย และความเข้าใจทางดา้ น ความงามมาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน บางโอกาสอาจจะตอ้ งทำ� งานตามลำ� พงั โดยใชค้ วามระมดั ระวงั ความรอบคอบ เพอื่ ป้องกนั ผลงานเสยี หาย และอบุ ตั ิเหตจุ ากการท�ำงานออกแบบ วาดแบบ จ�ำลองลวดลายหรอื รูปลงบนสกรีนทองแดง หรือผ้าสกรีนเพ่ือใช้ในการพิมพส์ ง่ิ ทอส่งิ ถักด้วยกรรมวิธีสกรนี 368 โอกาสในการมงี านท�ำ ปัจจุบันงานซิลค์สกรีนมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ทั้งด้านวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ รูปแบบและวิธีการพิมพ์ สกรนี ขณะทปี่ ระชาชนโดยท่วั ไปมคี วามสนใจในงานพิมพส์ กรนี ประเภทตา่ ง ๆ รวมทัง้ ในการตกแต่งผลติ ภัณฑเ์ กือบ ทุกชนดิ ก็มคี วามจำ� เปน็ ท่จี ะต้องใช้การพมิ พส์ กรีนเป็นหลัก โอกาสของการมีงานทำ� มคี ่อนขา้ งสูง คุณสมบตั ขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) สาขาวชิ าศลิ ปกรรม หรือสาขาทเ่ี ก่ียวข้อง 2. ร่างกายแขง็ แรง 3. ละเอียดรอบคอบ คลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว ช่างสงั เกต 4. มคี วามคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์ มคี วามอดทน ขยนั หม่นั เพยี ร สามารถท�ำงานกลางแจ้งได้ 5. ม่ันใจในตนเอง สามารถแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าได้ 6. มีความเปน็ ผู้นำ� มมี นษุ ยสัมพันธ์ทด่ี ี 7. มีเจตคตทิ ด่ี ตี ่องานอาชพี ซ่อื สัตย์สุจรติ มีระเบยี บวินยั สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา ประเภทวิชาศิลปกรรม สาขางานการพิมพ์สกรีน (ทวิภาคี) หรือสาขาเทคโนโลยีศิลปกรรม ในสถาบัน การศึกษาที่สังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา อาทิ

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา เว็บไซต์ www.swbvc.ac.th โทรศัพท์ 0-2222-1888, 0-2222-1786, กรมการ ัจดหางาน 0-2623-8323 Department of Employment - วทิ ยาลัยศลิ ปหตั ถกรรมกรงุ เทพ เวบ็ ไซต์ www.bacc.ac.th โทรศัพท์ 0-2376-0062-3 - วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชยี งใหม่ เวบ็ ไซต์ www.cmvc.ac.th/cmvc/main.asp โทรศัพท์ 0-5322-1493, 0-5341-6203 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี ผู้ประกอบอาชีพช่างท�ำซิลค์สกรีน เม่ือมีความรู้ ความช�ำนาญ และประสบการณ์ในการท�ำงานมากข้ึน ก็อาจจะได้รับการเลื่อนต�ำแหน่งเป็นผู้ช่วยช่างเทคนิคซิลค์สกรีน ช่างเทคนิคซิลค์สกรีน หรือเป็นหัวหน้างาน และควรศกึ ษาตอ่ ในระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) คณะศิลปกรรม หรอื ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง กส็ ามารถท�ำงานใน ตำ� แหน่งช่างเทคนคิ ซิลคส์ กรนี หรือสามารถรับราชการเป็นอาจารยส์ อนในสถาบนั การศกึ ษาได้ อาชพี ทเ่ี กีย่ วเนอื่ ง ช่างท�ำแมพ่ ิมพส์ กรีน ชา่ งพิมพ์แก้ว ช่างแทน่ พิมพ์สกรนี เจา้ หน้าท่ีงานศิลป์ ช่างแยกสี แหลง่ ขอ้ มูลอืน่ ๆ - ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เว็บไซต์ www.boga.go.th โทรศัพท์ 0-2281-6450 0-2281-5555 ต่อ 1020 - สมาคมการพิมพส์ กรีนไทย เว็บไซต์ www.thaiscreenprinting.or.th โทรศัพท์ 0-2612-4128-9 - บริษทั ควอลิตี้ กราฟคิ เฮ้าส์ จำ� กัด เว็บไซต์ www.qgh2000.com โทรศัพท์ 0-2270-0950, 0-2278- 1780, 0-2618-7212 369 - ดี กราฟฟิกส์ แอนด์ พริน้ ต้ิง เว็บไซต์ www.dg-printing.com โทรศพั ท์ 0-2731-1495 - บรษิ ทั เฟรนไซดส์ กรนี จำ� กัด เว็บไซต์ www.geocities.com/screenengineer โทรศพั ท์ 0-2948-1366

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ช่างเทคนคิ เคร่ืองกล Mechanical Engineering Technician นยิ ามอาชีพ ท�ำงานทางเทคนิคภายใต้การแนะน�ำและควบคุม ของวิศวกรเคร่ืองกล โดยใช้ความรู้ทางด้านวิศวกรรม เครอื่ งกลมาใชใ้ นการออกแบบ การสรา้ ง การตดิ ตง้ั และการ ใช้อุปกรณ์ทางด้านวิศวกรรมเคร่ืองกล รวมทั้งการพัฒนา และทดสอบอุปกรณ์เคร่ืองกล ใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางวิศวกรรมเคร่ืองกลขั้นสูง ในการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในระหว่างปฏิบัติงาน ควบคุม ชา่ งหรอื พนกั งานอน่ื ๆ ทท่ี ำ� งานเกยี่ วกบั การผลติ ตดิ ตงั้ และ ใช้เคร่ืองจักรกลและอุปกรณ์ต่าง ๆ ปฏิบัติงานด้านอ่ืน ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมายจากวิศวกรเคร่อื งกล ลกั ษณะของงานท่ีท�ำ 370 อาชีพช่างเทคนคิ เครอ่ื งกล ได้จัดระดบั งานเปน็ 2 ระดับ ดังน้ี - งานระดับช่างฝีมือ ปฏิบัติงานเก่ียวกับการอ่านแบบ เขียนแบบเคร่ืองกล แบบโครงสร้างผังโรงงาน งานเขียนแบบส่ังงานและก�ำหนดขนาดงานซ่อม และสร้างช้ินส่วนเครื่องมือกลตามแบบที่ก�ำหนด โดยการท�ำงาน ตง้ั แตก่ ารรา่ งแบบการเจาะ การควา้ น การกลงึ การไส การกดั การเจยี ระไนราบ การเจยี ระไนกลม การประกอบปรบั ฟิตช้ินส่วนเคร่ืองกลตามคู่มือติดตั้ง บ�ำรุงรักษาเคร่ืองมือ เครื่องจักร ตรวจสอบค้นหาข้อบกพร่องของเครื่องจักร ชนิดต่าง ๆ ซอ่ มสรา้ งชน้ิ สว่ นท่ชี �ำรุดดว้ ยเครอ่ื งมอื กล - งานระดับชา่ งเทคนคิ ปฏิบัติงานในลกั ษณะผคู้ วบคมุ งาน ผูช้ ว่ ยวิศวกร หรอื ท�ำงานภายใตก้ ารแนะน�ำของ วิศวกร เป็นงานเกี่ยวกับการออกแบบ เขียนแบบ การสร้าง หรือซ่อมช้ินส่วนและเครื่องมือแม่พิมพ์ ตัดแม่พิมพ์ ขน้ึ รปู แม่พิมพพ์ ลาสตกิ อปุ กรณ์จับยึด อุปกรณจ์ ับเจาะด้วยวธิ กี ารเจาะ คว้าน กลงึ ไส กดั เจยี ระไนด้วยเคร่อื งมอื กลอตั โนมัติ หรอื เครื่องมือกลซเี อ็นซี และการทำ� งานในห้องทดลอง หรอื ห้องตรวจสอบวสั ดุ การวางแผน การวาง ระบบบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกัน และระบบการซ่อมแซมเครื่องจักรที่เสียหาย ตรวจสอบ ค้นหา วิเคราะห์ข้อบกพร่อง เคร่ืองจักรกลชนดิ ต่าง ๆ ผ้ปู ระกอบชา่ งเทคนคิ เครอ่ื งกล-ช่างเทคนคิ วศิ วกรรมเคร่ืองกลปฏบิ ัตงิ าน ดงั นี้ 1. ตรวจสอบข้อสัง่ และช้ีแจงโครงการ และแบบพิมพ์เขยี วเพื่อกำ� หนดรายละเอยี ด วธิ ดี ำ� เนนิ การ อปุ กรณ์ ทใ่ี ช้และปัญหาที่จะท�ำการทดสอบเกี่ยวกบั ช้ินส่วนซง่ึ ออกแบบใหม่ การเปลีย่ นวัสดุหรอื ชิ้นสว่ น หรอื การจดั ช้ินสว่ น ข้นึ ใหม่ หรอื การประกอบยอ่ ย 2. เขยี นรปู แบบแสดงรายละเอียด หรอื เขียนภาพสเกตช์เพอ่ื ก�ำหนดสัดสว่ น

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจำ�ปี 2558/2015 3. อำ� นวยการยกตง้ั และตดิ ต้ังเครอ่ื งจกั รและอปุ กรณเ์ ครอ่ื งกลอ่นื ๆ ซ่งึ โดยปกติเปน็ เครื่องมอื เครอ่ื งจกั ร กรมการ ัจดหางาน ขนาดหนกั ในสถานท่ีท่ใี ชง้ าน Department of Employment 4. เตรียมฐานส�ำหรับวางเครื่องจักร โดยใช้เคร่ืองวัดต่าง ๆ ตรวจสอบให้แน่ว่าการติดต้ังเป็นไปอย่าง ถูกต้องแล้ว 5. เคลื่อนยา้ ยเครอื่ งจักร หรือสว่ นของเครอ่ื งจกั รดว้ ยกวา้ น ลกู รอก รถบรรทุก และเครอื่ งทุน่ แรงอ่ืน ๆ 6. วางส่วนตา่ ง ๆ ตามตำ� แหน่ง และประกอบขน้ึ เป็นเคร่อื งจักร 7. วางแนวเพลาของเคร่อื งจกั ร หรอื ระบบการส่งพลังงานอื่น ๆ 8. ตรวจสอบเคร่ืองจกั ร และปรับเทา่ ท่ีจำ� เป็นเพอื่ ให้เครื่องจกั รท�ำงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 9. เปลยี่ นผงั ของเครอ่ื งจกั ร และเปลี่ยนเครื่องจักรตามความต้องการ 10. ซอ่ มเครื่องจักรและอปุ กรณ์เพ่อื ใหค้ งอยูใ่ นสภาพที่ทำ� งานได้ 11. งานเกี่ยวกับการติดต้ังซ่อมบ�ำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ ประกอบดว้ ยงานควบคมุ ระบบการบ�ำรุงรักษาเชิงปอ้ งกัน 12. งานตรวจสอบค้นหาขอ้ บกพรอ่ งของเครื่องจกั รกล งานถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล 13. งานซอ่ มสร้างชน้ิ ส่วนท่ชี �ำรดุ เสียหายดว้ ยการใช้เครอื่ งมอื กล สภาพการจ้างงาน ช่างเทคนิคเคร่ืองกลท่ีส�ำเร็จการศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง ท่ีไม่มีประสบการณ์จะได้รับเงิน เดือนตามประสบการณ์งาน สำ� หรบั งานเอกชนนนั้ อตั ราเงนิ เดอื นขน้ึ 371 อยู่กับความสามารถ ความช�ำนาญงาน และวุฒิ การศึกษาของแต่ละบุคคล นอกเหนือจากเงิน เดือนและค่าจ้างประจ�ำแล้ว อาจได้รับผล ประโยชน์พิเศษอย่างอ่ืนในรูปของสวัสดิการ ตา่ ง ๆ เช่น คา่ รักษาพยาบาล คา่ เลา่ เรยี นบุตร โบนสั บำ� เหนจ็ บำ� นาญ ผู้ปฏิบัติงานช่างเทคนิคเครื่องกล ท�ำงานสัปดาห์ละ 40 ชั่วโมง อาจจะต้องท�ำงานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวนั หยดุ หรือตอ้ งท�ำงานลว่ งเวลาในกรณที ตี่ ้องการใหง้ านตดิ ตัง้ หรอื ซ่อมบำ� รงุ เครือ่ งจกั รใหเ้ สร็จทันการใชง้ าน ช่างเทคนิคเครอื่ งกลสามารถประกอบอาชีพอิสระ เช่น รบั ซอ่ ม และสร้างชิ้นสว่ นจกั รกล เครื่องมอื กล โดย ใช้เครื่องมือกลต่าง ๆ หรือรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ เช่น กรมโยธาธิการ กรมชลประทาน การประปาฯ การไฟฟ้า เปน็ ต้น สภาพการทำ� งาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านชา่ งเทคนคิ เครอื่ งกลทำ� งานทง้ั ในและนอกสถานท่ี ทำ� งานในการตรวจ ซอ่ ม และบรกิ าร การดแู ล และซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม สภาพการท�ำงานหนักปานกลาง ต้องใช้ความอดทนต่อ สภาพความร้อน เสียง กลิ่นของสารเคมีท�ำความสะอาดอุปกรณ์ และบางโอกาสท�ำงานตามล�ำพังต้องใช้ความ ระมดั ระวงั และรอบคอบสงู พอสมควร เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการทำ� งาน และบางครง้ั ตอ้ งทำ� งานเกนิ เวลา

ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมงี านท�ำ Department of Employment แนวโน้มสำ� หรับแหลง่ จา้ งงานช่างเทคนิคเครื่องจักรกลโดยทัว่ ไป เช่น สถานประกอบการอตุ สาหกรรม หรือ หน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจ ถึงแม้ว่าภาวะวิกฤติเศรษฐกิจท่ีประเทศก�ำลังประสบปัญหาอยู่ท�ำให้การลงทุน เพ่ือขยายตวั ในภาคอุตสาหกรรมชะงักไป แต่ความตอ้ งการแรงงานทางด้านช่างเทคนิคเครอื่ งจกั รกลยังคงมีอยู่ และ เพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ เน่ืองจากยังมีงานการซ่อมบ�ำรุงเคร่ืองจักรท่ียังมีความต้องการช่างเทคนิคอยู่อีกมากในภาค อตุ สาหกรรม เมื่อภาวะเศรษฐกิจดีขึ้น ภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศที่ก�ำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาจะกลับฟื้นตัวและ ขยายการลงทนุ ขนึ้ อกี ฉะนน้ั งานชา่ งเทคนคิ เครอื่ งกลกย็ งิ่ กลบั มาเปน็ ทตี่ อ้ งการในตลาดแรงงานอกี มากขนึ้ ตามอตั รา การขยายตัวของสถานประกอบกจิ การอตุ สาหกรรม คุณสมบัติของผปู้ ระกอบอาชพี 1. ส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง 2. มรี า่ งกายแข็งแรง สามารถทำ� งานหนกั ได้ 3. มีความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ชอบการคิดคำ� นวณ และงานทดลอง 4. มคี วามเปน็ ผ้นู �ำ มมี นษุ ยสัมพันธ์ดี 5. มีความเชอ่ื มัน่ แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้ดี 6. มคี วามละเอียดรอบคอบ ชอบการบันทึก 7. สามารถวิเคราะห์ และตดั สนิ ใจแก้ปญั หาทเ่ี กดิ จากการทำ� งานได้ 372 สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา ผู้ท่ีจะประกอบอาชีพช่างเทคนิคเครื่องกลควรเตรียมความพร้อมดังต่อไปน้ี: ส�ำหรับในระดับช่างฝีมือต้อง ส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าช่างกลโรงงาน จาก สถานศกึ ษาสงั กัดกรมอาชีวศึกษา หรอื สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล ส่วนผทู้ ่ีจะเป็นชา่ งเทคนิคตอ้ งสำ� เรจ็ การศึกษาระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สงู (ปวส.) ประเภทวชิ าชา่ ง อตุ สาหกรรม สาขาวชิ าเทคนคิ การผลติ จากสถานศกึ ษาสงั กดั กรมอาชวี ศกึ ษา หรอื สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงานจากสถาน ศกึ ษาสงั กดั สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล หรอื สาขาวชิ าชา่ งกลโรงงาน (แมพ่ มิ พ)์ จากวทิ ยาลยั เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ผปู้ ระกอบอาชพี ชา่ งเทคนคิ ทมี่ ปี ระสบการณแ์ ละความชำ� นาญจะไดเ้ ลอื่ นตำ� แหนง่ ขน้ึ ไปจนถงึ ระดบั หวั หนา้ งาน และส�ำหรับผู้ที่สนใจที่จะศึกษาต่อเพ่ือปรับวิทยฐานะให้สูงข้ึนเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพต่อไป มีแนวทางในการศึกษาตอ่ ดงั น้ี - ส�ำเร็จการศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ศกึ ษาตอ่ - ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.) หลกั สูตร 2 ปี ประเภทวชิ าช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ าช่าง เทคนิคการผลิต (งานเครื่องมือกล งานช้ินส่วนเคร่ืองจักรกล งานแม่พิมพ์โลหะ งานแม่พิมพ์พลาสติก) ในสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา หรือสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล หรือวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี กรมการ ัจดหางาน สาขาวิชาวิศวกรรมส่ิงทอ ในคณะวิศวกรรม Department of Employment ศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล หรือสาขา วิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล สาขาวิชาวิศวกรรม อุ ต ส า ห ก า ร ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า สั ง กั ด ท บ ว ง มหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี เป็นต้น - สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั ร วชิ าชีพช้นั สงู (ปวส.) ศกึ ษาตอ่ - ระดบั ปรญิ ญาตรีต่อเนอื่ ง 3 - 3 ปี คร่ึง สาขาวิชาวศิ วกรรมเคร่อื งกล ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ หรือสถานศกึ ษาสังกดั สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล - ระดับปริญญาตรีต่อเนื่อง 2 - 3 ปี สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ เคร่ืองมือกล สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ วัสดุอุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในสถานศึกษาสังกัด สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล - ระดับปริญญาตรีต่อเน่ือง 2 - 3 ปี สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกลในวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื อาชีพท่ีเกี่ยวเน่อื ง 373 ช่างเทคนิคเครื่องยนต์ วิศวกรเครอื่ งจกั รกล แหล่งข้อมูลอน่ื ๆ - หนังสอื พิมพท์ ีล่ งข่าวความตอ้ งการช่างเทคนิค - สถาบนั อุดมศึกษาในสังกัด สกอ. - กรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจำ�ปี 2558/2015 ชา่ งเทคนิควิศวกรรมเครอ่ื งยนต์ Automotive Engineering Technician นยิ ามอาชพี ท�ำงานทางเทคนิคภายใต้การแนะน�ำและควบคุมของ วศิ วกรเครอ่ื งกล เกยี่ วกบั การออกแบบ การตดิ ตง้ั การตรวจสอบและ การใช้เคร่ืองจักร เครื่องยนต์และอุปกรณ์ทางวิศวกรรมอื่น ๆ : ออกแบบ ติดตั้ง ตรวจสอบและบ�ำรุงรักษาระบบเคร่ืองท�ำ ความเย็นและปรับอากาศ ควบคุมการบริหารประกอบการผลิต การใช้และการบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรกลและเคร่ืองต้นก�ำลังต่าง ๆ วางแผน ควบคุม วิเคราะห์ปัญหาให้ค�ำแนะน�ำและจัดการเกี่ยวกับ การถอดประกอบ ซ่อมแซม ทดสอบ และบ�ำรุงรักษายานยนต์ เครอ่ื งกล เครื่องกลเกษตร และอุปกรณ์อนื่ ๆ รวมทั้งใชค้ วามรทู้ างวศิ วกรรมเครอื่ งกลแกไ้ ขปญั หาทเี่ กิดขึน้ ในการ ปฏิบัตงิ าน ปฏิบตั ิงานด้านอนื่ ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากวิศวกรเคร่ืองกล ลักษณะของงานท่ีทำ� 374 1. ปฏบิ ตั งิ านในลกั ษณะผคู้ วบคมุ งาน โดยทำ� งานภายใตก้ ารแนะนำ� และควบคมุ ของวศิ วกรเครอื่ งกลรถยนต์ 2. ปฏบิ ตั งิ านทเ่ี กยี่ วกบั การออกแบบ ตดิ ตงั้ ซอ่ มบำ� รงุ ตรวจสอบ และวเิ คราะหร์ ะบบเครอ่ื งยนตเ์ ลก็ /ใหญ่ ระบบไฟฟ้าในยานยนต์ ระบบส่งก�ำลัง ระบบช่วงล่างรถยนต์ ระบบการท�ำงานเครื่องมือ เคร่ืองจักรที่ ควบคุม ดว้ ยนิวเมติกส์ และไฮดรอลิก (นอกจากนมี้ ีงานพเิ ศษเฉพาะอยา่ ง เชน่ ระบบเคร่ืองยนต์เรอื ระบบเครือ่ งยนต์ และ เคร่ืองกลการเกษตร และระบบเครื่องจักรกลไอน้�ำ) 3. ควบคุมการประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ เช่น ระบบจุดระเบิด เคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้า (ไดนาโม) กระปุกเฟือง พวงมาลัย กระปุกเกยี ร์ และห้ามลอ้ 4. ตรวจสอบระบบท่ตี ดิ ต้งั รวมทั้งระบบสง่ ถา่ ยก�ำลงั ตรวจสอบข้อตอ่ ตา่ ง ๆ 5. ตรวจสอบเครื่องยนต์ และปรบั เทา่ ที่จำ� เปน็ เพอื่ ใหเ้ ครอื่ งยนตท์ �ำงานอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 6. อาจให้บรกิ าร และซ่อมเครื่องยนต์และอุปกรณเ์ พ่ือใหค้ งอยใู่ นสภาพทีท่ �ำงานได้ดี สภาพการจ้างงาน ช่างเทคนิคเครื่องยนต์ที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ทไี่ ม่มีประสบการณ์จะไดร้ บั เงนิ เดือนตามประสบการณก์ ารทำ� งานของแต่ละคน ส�ำหรับงานเอกชนน้ัน อัตราเงินเดือนข้ึนอยู่กับความสามารถ ความช�ำนาญงาน และวุฒิการศึกษาของ แตล่ ะบคุ คล นอกเหนอื จากเงนิ เดอื นและคา่ จา้ งประจำ� แลว้ อาจไดร้ บั ผลประโยชนพ์ เิ ศษอยา่ งอนื่ ในรปู ของสวสั ดกิ าร ตา่ ง ๆ เชน่ ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าเลา่ เรียนบตุ ร โบนสั บ�ำเหนจ็ บำ� นาญ

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ช่างเทคนคิ เคร่ืองยนต์ทำ� งานสปั ดาหล์ ะ 40 ช่ัวโมง อาจจะต้องทำ� งานวันเสาร์ วันอาทติ ย์ และวนั หยดุ หรือ กรมการ ัจดหางาน ต้องท�ำงานล่วงเวลา ในกรณีท่ีต้องการให้งานติดต้ังหรือซ่อมบ�ำรุงเครื่องยนต์ให้เสร็จทันการใช้งาน ช่างเทคนิค Department of Employment เคร่ืองยนต์สามารถประกอบอาชีพอิสระ เช่น รับซ่อม และประกอบเคร่ืองยนต์ หรืองานราชการ/รัฐวิสาหกิจ เช่น กรมโยธาธกิ าร กรมชลประทาน การประปาฯ การไฟฟ้า เป็นตน้ สภาพการทำ� งาน ผู้ปฏิบัติงานช่างเทคนิคเครื่องยนต์ ท�ำงานท้ังในและนอกสถานที่ท�ำงาน ในการตรวจซ่อม และบริการการ ดูแล และซ่อมบ�ำรุงเครื่องยนต์ต่าง ๆ สภาพการท�ำงานหนักปานกลาง ต้องใช้ความอดทนต่อสภาพความร้อน เสียง กลิ่นของสารเคมีท�ำความสะอาดอุปกรณ์ และบางโอกาสท�ำงานตามล�ำพัง ต้องใช้ความระมัดระวังและ รอบคอบสงู พอสมควร เพือ่ ป้องกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการท�ำงาน และบางคร้ังต้องทำ� งานเกนิ เวลา โอกาสในการมีงานทำ� ถึงแม้ว่าภาวะวิกฤติเศรษฐกิจท่ีประเทศก�ำลังประสบปัญหาอยู่ท�ำให้การลงทุนเพื่อขยายตัวในภาค อตุ สาหกรรมชะงกั ไป แตค่ วามตอ้ งการแรงงานทางดา้ นช่างเทคนิคเคร่อื งยนต์ยังคงมอี ยู่ และเพม่ิ ข้ึนเร่ือย ๆ เม่ือภาวะเศรษฐกจิ ดขี ึน้ ภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศท่ีก�ำลังอยูร่ ะหว่างการพัฒนาจะกลับฟนื้ ตัว และขยายการ ลงทุนข้ึนอีก ฉะน้ัน งานช่างเทคนิคเคร่ืองยนต์จะกลับมาเป็นท่ีต้องการในตลาดแรงงานอีกมากขึ้น ตามอัตราการ ขยายตัวของสถานประกอบกจิ การอุตสาหกรรม สำ� หรบั แหลง่ จ้างงานชา่ งเทคนคิ เครอื่ งยนตโ์ ดยทว่ั ไป ไดแ้ ก่ สถานประกอบการอตุ สาหกรรม หรอื หนว่ ยงาน ราชการ และรัฐวิสาหกจิ เช่น กรมการขนสง่ ทางบก กรมเจ้าทา่ การรถไฟแหง่ ประเทศไทย หรอื ประกอบอาชีพอสิ ระ เช่น รบั ติดตงั้ ซ่อมแซมระบบเคร่อื งยนต์ 375 คุณสมบตั ขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี และประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สงู สาขาวิชาชา่ งยนต์ 2. มรี ่างกายแข็งแรง สมบรู ณ์ สามารถทำ� งานกลางแจ้ง และงานหนกั ได้ 3. มีความอดทน ละเอียดรอบคอบ 4. ช่างสงั เกต จดจำ� สามารถวิเคราะห์ และตัดสนิ ใจแก้ปัญหาทเี่ กดิ จากการทำ� งานได้ 5. มคี วามรับผดิ ชอบ และตระหนักถงึ ความปลอดภัยและป้องกันอบุ ตั ิภัย 6. มีความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ ชอบการคดิ ค�ำนวณ และงานทดลอง 7. มมี นุษยสมั พันธด์ ี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา ผู้สนใจประกอบช่างเทคนิคเครอื่ งยนต์ ควรเตรยี มความพรอ้ มดงั น้ี คอื ระดบั ชา่ งฝมี ือตอ้ งสำ� เรจ็ การศึกษา ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งยนต์ จากสถานศกึ ษาสังกัดกรม อาชีวศึกษาหรือสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล ระดับช่างเทคนคิ ส�ำเรจ็ การศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าชา่ งยนต์ จากสถานศกึ ษาสงั กดั กรมอาชวี ศกึ ษา หรอื สถาบนั เทคโนโลยี ราชมงคล หรอื วิทยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ

ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ Department of Employment ผู้ประกอบอาชีพช่างเทคนิคเครื่องยนต์ท่ีมี ประสบการณ์และความช�ำนาญจะได้เล่ือนต�ำแหน่งข้ึน ไปจนถึงระดับหัวหน้างาน และส�ำหรับผู้ที่สนใจที่จะ ศึกษาต่อเพ่ือปรับวิทยฐานะให้สูงขึ้นเพ่ือประโยชน์ ในการประกอบอาชีพต่อไป มีแนวทางในการศึกษาต่อ ดังนี้ ผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ศึกษาต่อระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) หลักสูตร 2 ปี ประเภทวิชาช่างอุตสาห กรรม สาขาวิชาช่างยนต์ ในสถานศึกษาสังกัดกรม อาชวี ศกึ ษา หรือมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล หรอื วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ หรือระดับปริญญาตรี หลกั สตู ร 4 ปี สาขาวิชาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล ในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล หรือสาขา วิชาในสถานศึกษาสังกดั ทบวงมหาวทิ ยาลัย เช่น มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาตรตี อ่ เนอื่ ง 3 - 3 ปคี รง่ึ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอื่ งกล ในคณะวศิ วกรรมศาสตร์ หรอื สถานศกึ ษาสงั กดั สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล หรอื ระดบั ปรญิ ญาตรตี ่อเน่ือง 2 - 3 ปี สาขาวชิ าวิศวกรรมเคร่ืองกล สาขาวชิ าวิศวกรรมอตุ สาหการเคร่อื งมอื กล สาขาวชิ า วิศวกรรมอุตสาหกรรม การวัสดุอุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในสถานศึกษาสังกัดสถาบันเทคโนโลยี 376 ราชมงคล หรอื ระดบั ปริญญาตรตี อ่ เนื่อง 2 - 3 ปี สาขาวชิ าเทคโนโลยี เครอ่ื งกลในวิทยาลยั เทคโนโลยี อุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ อาชพี ท่เี ก่ยี วเน่ือง ช่างเทคนคิ เครอื่ งกล วศิ วกรเครอื่ งจักรกล แหล่งข้อมลู อืน่ ๆ - หนงั สือพมิ พ์ทีล่ งข่าวความต้องการช่างเทคนิคเครื่องยนต์ - สถาบันอดุ มศกึ ษาในสังกดั สกอ. - กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ชา่ งเทคนคิ อากาศยานและเคร่ืองยนต์ MechanicARirecpraafitrmMaaninAteirncaanrfcteETnegcinheneicriinagn นิยามอาชีพ ตรวจและซ่อมบ�ำรุงรักษาเคร่ืองยนต์ อากาศยาน : ตรวจอปุ กรณท์ ีเ่ สียเพอ่ื ให้ทราบถงึ ลักษณะและจดุ ทเี่ สีย เช่น ใบพัด ถังน�้ำมัน ลอ้ ปกี และระบบไฟฟา้ เป็นตน้ ถอดอุปกรณ์ออก เพื่อซ่อม หรือเปล่ียนช้ินส่วน ประกอบชิ้นส่วน เขา้ ดว้ ยกัน ทดสอบอปุ กรณ์ทป่ี ระกอบใหม่ และ ปรับตามความจำ� เป็น บ�ำรุงรกั ษา และตรวจเชก็ สภาพเคร่ืองยนต์และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพ ที่พร้อมจะท�ำการบิน บันทึก รายงานเกี่ยวกับ เคร่ืองยนต์และการปฏิบัติงานของอากาศยาน ตลอดจนข้อขดั ขอ้ งที่เกดิ ข้นึ ลกั ษณะของงานท่ที ำ� 377 1. ตรวจซ่อม แกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งอากาศยาน และตรวจซ่อมตามก�ำหนดระยะเวลา 2. เตรยี มอากาศยานใหพ้ รอ้ มทกุ ระบบ (เครือ่ งยนต์ ลำ� ตวั และไฮดรอลกิ ไฟฟ้า) กอ่ นสง่ อากาศยานข้นึ บนิ หรอื ในการฝกึ อบรม 3. ดูแลรักษาการใช้เคร่ืองมือกลพิเศษ (Special Tools) ทุกชนิดท่ีใช้เฉพาะกับอากาศยานแบบที่ตน รับผดิ ชอบใชแ้ ละบ�ำรงุ รกั ษาเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ภาคพนื้ ดิน 4. ติดตาม และแก้ไขคู่มือ ค�ำสั่ง ค�ำแนะน�ำทางด้านช่าง ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับอากาศยานในความ รับผดิ ชอบของตนใหท้ ันสมัยตามแจ้งความหรอื ค�ำแนะน�ำทางเทคนิคอย่ตู ลอดเวลา 5. ดูแลรกั ษาความสะอาดอากาศยานให้สะอาดอยเู่ สมอ 6. ตรวจอปุ กรณท์ เ่ี สยี เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ ลกั ษณะและจดุ ทเ่ี สยี เชน่ ใบพดั ถงั นำ�้ มนั ลอ้ ปกี ระบบไฟฟา้ เปน็ ตน้ 7. ซ่อมหรือให้บริการ และซ่อมเคร่ืองจักรเครื่องยนต์ของอากาศยาน ท�ำงานเกี่ยวกับเครื่องยนต์ไอพ่น เครอ่ื งยนต์ลกู สูบ เครือ่ งยนต์กังหันไอน�ำ้ หรอื เครอื่ งยนตป์ ระเภทอื่น ๆ ซ่ึงต้องใชค้ วามรู้เปน็ พเิ ศษ 8. ถอดอปุ กรณอ์ อกทัง้ หมด หรือแต่เพียงบางสว่ นเพอ่ื เอาส่วนท่ีเสยี หรอื ชำ� รุดออก 9. ซ่อมชนิ้ สว่ น หรือเปลย่ี นชน้ิ สว่ น 10. ประกอบช้ินส่วนเข้าด้วยกัน โดยใช้เคร่ืองมือช่วยในการประกอบตามความจ�ำเป็นเพื่อให้การประกอบ ชิ้นสว่ นเปน็ ไปอยา่ งถูกตอ้ ง 11. ทดสอบอปุ กรณ์ที่ประกอบใหม่ และปรบั ตามความจำ� เปน็

ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 12. ตรวจสอบ ปรับ และหยอดน�้ำมันหล่อล่ืนอุปกรณ์เป็นคร้ังคราว หรือสั่งให้ผู้ช่วยท�ำงานดังกล่าว Department of Employment ตลอดจนท�ำงานอน่ื ๆ ทีเ่ กี่ยวกบั การบ�ำรงุ รกั ษาเครอื่ งกลอากาศยานใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ใี ชง้ านได้ดี 13. อาจเชือ่ มประสาน และบัดกรสี ่วนตา่ ง ๆ 14. อาจตรวจตราอากาศยานที่จอดอยู่ เพือ่ ตรวจสอบและแกไ้ ขเคร่อื งจักรกลท่ชี ำ� รดุ เสยี หาย 15. ตรวจสอบเครื่องยนต์ ชน้ิ สว่ นของเครอ่ื งยนตแ์ ละอุปกรณต์ ่าง ๆ ก่อนท�ำการบนิ 16. ให้บริการ และซ่อมอากาศยานในขณะก�ำลังบิน และแนะน�ำนักบินเกี่ยวกับเคร่ืองยนต์ คอยตรวจดู เครอื่ งวัดมเิ ตอร์ และเครื่องมือประกอบการบนิ อย่างอนื่ เพื่อกันความผิดพลาดทางเทคนคิ 17. ตรวจข้อขัดข้องของเครื่องยนต์ และท�ำงานซ่อมด่วน และซ่อมเล็กน้อย พร้อมท้ังแจ้งนักบินทราบถึง ขอ้ ขดั ข้องต่าง ๆ 18. บันทึกรายงานเก่ียวกับเคร่ืองยนต์ และการปฏิบัติงานของอากาศยาน ตลอดจนข้อขัดข้องที่เกิดขึ้น และการซ่อมแซมในระหว่างท�ำการบนิ สภาพการจ้างงาน ผู้ประกอบอาชีพช่างเทคนิคอากาศยานและเคร่ืองยนต์ที่ท�ำงานในภาครัฐวิสาหกิจ เช่น บริษัทการบินไทย จำ� กดั มหาชน หรอื ภาคเอกชน เชน่ บริษทั บางกอกแอร์เวย์ ท่มี ีคณุ สมบตั ติ ามที่กำ� หนดไว้ ไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และอาจมีค่าวิชาเพ่ิมให้ส�ำหรับผู้ท่ีมีประสบการณ์ ส�ำหรับผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีหรืออนุปริญญาจากหลักสูตรช่างอากาศยานและเครื่องยนต์ (Aircraft Maintenance) จาก สถาบันการบินพลเรือนที่ยงั ไมม่ ปี ระสบการณใ์ นการท�ำงานไดร้ ับเงนิ เดอื นประมาณ 16,000 - 21,500 บาท ส่วน โบนสั ข้นึ อยู่กับผลประกอบการ ผู้ปฏิบัติงานชา่ งเทคนิคอากาศยานและเครื่องยนต์ โดยปกตปิ ฏบิ ัติงานวนั ละ 8 ชว่ั โมง แต่บางหน่วยงานที่มี 378 ความจำ� เป็นตอ้ งมชี า่ งเทคนคิ อากาศยานและเครือ่ งยนต์ท�ำงานตลอด 24 ชว่ั โมง ก็จะตอ้ งท�ำงานเปน็ กะ โดยท�ำงาน กะละ 8 ชั่วโมง ผู้ท่ีท�ำงานในกะดึก คือรอบที่สามอาจจะได้รับค่าจ้างพิเศษ ในการท�ำงานอาจมีการหมุนเวียนกัน ปฏบิ ัตงิ านตามรอบของกะ และอาจต้องท�ำงานวนั เสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยดุ อ่ืน ๆ ดว้ ย ซงึ่ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านจะได้รับ ค่าจ้างพเิ ศษในการท�ำงานวันหยุด สภาพการทำ� งาน ผปู้ ระกอบอาชีพชา่ งเทคนคิ อากาศยานและเครอื่ งยนต์ ปฏบิ ตั งิ านเหมอื นช่างท่วั ไปเกยี่ วกับงานซ่อมบ�ำรุงที่ ต้องกระท�ำตามแผนเป็นส่วนใหญ่แต่ในบางโอกาสอาจต้องท�ำงานนอกแผน เนื่องจากอากาศยานมีข้อขัดข้องก่อน ครบก�ำหนดเวลาเข้ารับการซ่อมบ�ำรุงตามแผน ดังนั้นงานช่างซ่อมบ�ำรุงอากาศยานจึงต้องเป็นผู้ท่ีมีความคล่องตัว สามารถปฏิบตั งิ านไดท้ กุ เวลาและอยา่ งต่อเนือ่ ง เพอ่ื จดั เตรยี มอากาศยานให้พรอ้ มทำ� การบนิ ได้ตามกำ� หนดเวลา งานช่างเทคนิคอากาศยานและเครื่องยนต์เป็นงานหนักที่ท้าทายกับเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดย้ัง ที่ตอ้ งการทักษะค่อนขา้ งสูงในการวิเคราะหป์ ัญหา มคี วามละเอียดรอบคอบ เปอื้ นสกปรก ร้อน บางครง้ั ตอ้ งทำ� งาน ใต้ท้องเคร่ืองอากาศยาน อาจต้องท�ำงานในท่ีแคบ ๆ ใช้มือและอุปกรณ์เคร่ืองมือทางการช่างช่วยในการท�ำงาน นอกจากการท�ำงานติดต้ัง และซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรกลอากาศยานในภาคพ้ืนดิน โดยการตรวจสอบเคร่ืองยนต์ ช้นิ ส่วนของเครื่องยนตแ์ ละอปุ กรณต์ ่าง ๆ ใหเ้ รยี บร้อยพรอ้ มที่จะทำ� การบนิ และในการบนิ บางครง้ั ต้องมีชา่ งเทคนคิ อากาศยาน และเครอ่ื งยนต์ท่ีต้องใหบ้ ริการ และซอ่ มอากาศยานในขณะก�ำลังบินในกรณมี ปี ัญหาเครื่องยนตข์ ัดข้อง โดยผทู้ ี่ทำ� หน้าที่นตี้ อ้ งมีใบอนุญาตในการประกอบอาชพี ช่างเทคนิคอากาศยานและเครือ่ งยนต์

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้ประกอบช่างเทคนิคอากาศยานและเครื่องยนต์ ในระดับปฏิบัติงานจะท�ำงานในบริเวณสนามบิน กรมการ ัจดหางาน ซึ่งต้องมีช่างเทคนิคอากาศยานและเคร่ืองยนต์ประจ�ำทุกสนามบินท่ัวประเทศ บางคร้ังอาจต้องปฏิบัติหน้าท่ีใน Department of Employment สนามบินในตา่ งจังหวดั โอกาสในการมีงานท�ำ อาชีพช่างเทคนิคอากาศยานและเคร่ืองยนต์จัดเป็นอาชีพท่ีขาดแคลนอาชีพหนึ่ง เน่ืองจากผู้ท่ีจะประกอบ อาชีพนต้ี อ้ งเขา้ รับการอบรมหลักสูตรพเิ ศษ ซ่งึ สามารถผลติ ได้คร้ังละไมม่ าก และค่าใชจ้ า่ ยในการศกึ ษาค่อนขา้ งสงู แตเ่ มอื่ ส�ำเรจ็ การอบรมแลว้ ตอ้ งมีคณุ สมบัตติ ามเงือ่ นไขการรับสมัครงานจงึ สามารถเข้าปฏิบตั ิงานได้ อาชีพน้ียังเป็นท่ีต้องการในตลาดแรงงานและจัดได้ว่าเป็นอาชีพท่ีมีรายได้สูงอาชีพหนึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับ ผทู้ ี่ไดร้ ับวุฒอิ นุปริญญาหรอื วุฒปิ รญิ ญาตรีทัว่ ไป ผทู้ ต่ี อ้ งการประกอบอาชพี นค้ี วรทจี่ ะมคี วามรภู้ าษาองั กฤษดพี อสมควร สามารถทำ� คะแนนในวชิ าคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ไดด้ ี อาชีพช่างเทคนิควิศวกรรมอากาศยานน้ีนอกจากท�ำงานในบริษัทสายการบินทั่วไปแล้วยังสามารถท�ำงาน ในบรษิ ัทเอกชนทน่ี ำ� เข้าเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ส�ำหรบั อากาศยานได้ หากมีประสบการณแ์ ละมคี วามชำ� นาญ คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบอาชพี 1. ไดร้ บั อนปุ รญิ ญาในหลกั สตู รวชิ าบำ� รงุ รกั ษา อากาศยาน (Aircraft Maintenance) หรือส�ำเรจ็ การ ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี ซงึ่ สามารถสอบขอรบั ใบอนญุ าต ในการประกอบอาชีพพิเศษน้ีเพื่อปรบั เพม่ิ คา่ วชิ าชีพได้ 2. ภาษาติดต่อสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี สนใจ และศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ 379 ไมต่ าบอดสี 3. เป็นเพศชาย เน่ืองจากงานช่างต้องปีน ตรวจซ่อมเครื่องอากาศยาน และท�ำงานช่างที่อาจจะ ต้องท�ำงานยกของหนักและอันตราย จึงไม่เหมาะ ส�ำหรบั เพศหญงิ 4. มีความอดทน มีปฏิภาณไหวพริบดี มีส�ำนึกในความปลอดภัย และการตัดสินใจในการแก้ปัญหา ที่อาจเกดิ ขึ้นไดร้ วดเร็ว มีความสามารถในการตดิ ต่อประสานงาน และมีมนุษยสัมพันธด์ ี 5. มคี วามรบั ผดิ ชอบในงานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย มคี วามกลา้ หาญ สามารถตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ได้อย่างถูกตอ้ งและรวดเร็ว มีความม่ันใจในตนเอง ละเอยี ดรอบคอบ มคี วามจ�ำดี ชา่ งสงั เกต 6. ผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือกต�ำแหน่งหากไม่ได้รับการอบรมในเทคนิคการซ่อมบ�ำรุงเคร่ืองจักรกล อากาศยาน จะถูกส่งเข้าศึกษาต่อหลักสูตรวิชาบ�ำรุงรักษาอากาศยาน (Aircraft Maintenance) ในสถาบันที่ทาง ราชการรับรอง เช่น สถาบันการบินพลเรือน เป็นต้น โดยใช้ระยะเวลาอบรมประมาณ 67 สัปดาห์ ซ่ึงต้องศึกษา หลักสูตรเทคนิคการบินภาคภาษาอังกฤษ (Aviation Technical English Course) ใช้เวลา 20 สัปดาห์ และ หลักสูตรการบ�ำรุงรักษาอากาศยาน (Aircraft Maintenance) เปน็ เวลา 2 ปี

2ท0ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา Department of Employment - สาขาเทคโนโลยีซ่อมบ�ำรุงอากาศยาน ภาควิชาวิศวกรรมการบิน มหาวิทยาลัยรังสิต ห้อง 230 อาคาร วิษณุรัตน์ วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหลักหก อ�ำเภอเมือง จังหวดั ปทุมธานี 12000 โทรศพั ท์ 0-2997-2222-40 ต่อ 3257 โทรสาร 0-2997-2222-40 ต่อ 3257 - สาขาวิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี (มจธ.) 126 ถนนประชาอทุ ศิ แขวงบางมด เขตทงุ่ ครุ กรงุ เทพฯ 10140 โทรศัพท์ 0-2470-8333 โทรสาร 0-2470-8367 อเี มล [email protected] - ภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนงามวงศ์วาน เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-27970999 ต่อ 1803, 1804 โทรสาร 0-25794576 - คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควชิ าวศิ วกรรมอากาศยาน จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 254 ถนนพญาไท แขวง วงั ใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-3555 อเี มล [email protected] - คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการบิน เอกวิชาซ่อมบ�ำรุงอากาศยาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแกว้ ต�ำบลสุเทพ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศพั ท์ 0-5394-3071 ต่อ 108, 131 - 134 - คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมการบิน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 622 เอ็มโพเร่ียมทาวเวอร์ สขุ ุมวทิ 24 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศพั ท์ 0-2300-4563 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ช่างเทคนิคอากาศยานและเคร่ืองยนต์ท่ี ปฏิบัติงานมานานจนมีความช�ำนาญ และหากได้รับ การอบรมในหลักสูตรวชิ าชีพชัน้ สูงข้ึนไป จะสามารถ 380 เลอ่ื นขนั้ ไปจนถงึ ตำ� แหนง่ หวั หนา้ หากมคี วามสามารถ ในการบริหาร และมีคุณสมบัติตามเงื่อนไข สามารถ ได้เลื่อนข้ันจนถึงต�ำแหน่งสูงสุด คือ ผู้บริหารของ องคก์ รในสายงานปฏบิ ตั ิการ อาชพี ท่เี กยี่ วเนือ่ ง ช่างซ่อมบำ� รุงเครือ่ งมือสอ่ื สารการบนิ ช่างซ่อมบำ� รงุ รกั ษาเคร่ืองวดั ประกอบการบิน แหล่งขอ้ มลู อนื่ ๆ - สถาบนั การบนิ พลเรือน - หนงั สือพมิ พ์ และเว็บไซต์บรกิ ารจัดหางาน

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ช่างแทน่ พิมพ์ออฟเซต Pressman Offset นิยามอาชีพ ท�ำหน้าที่พิมพ์และควบคุมแท่นพิมพ์แบบ ออฟเซท : เตรียมความพร้อมของเคร่ืองพิมพ์ โดย ท�ำความสะอาดแม่พิมพ์ตรวจดูหมึกและเติมน้�ำ ในเครื่องพิมพ์ทั้งก่อนและหลังใช้งาน; จัดเตรียม กระดาษตามชนิดของแท่นพิมพ์ เช่น พิมพ์งานเป็น แผ่นพิมพ์หนังสือรายวัน หรือนิตยสาร; ควบคุมการ พิมพ์ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และเรียบร้อย; ตรวจดูความคมชัด ท�ำการปรบั แก้เลก็ ๆ น้อยๆ ลักษณะของงานทท่ี ำ� ท�ำงานฝ่ายการผลิตของโรงพิมพ์ ท�ำหน้าที่อยู่หน้าแท่นพิมพ์ออฟเซต โดยการควบคุมแท่นพิมพ์ท่ีมีระบบ คอมพิวเตอรช์ ่วยในการสง่ั งาน ซ่ึงมขี ั้นตอนการท�ำงาน ดงั น้ี 1. จดั ตารางเวลาขนั้ ตอนการใชเ้ ครอื่ งพมิ พก์ ำ� หนดเวลาเรม่ิ ตน้ และแลว้ เสรจ็ ของงานแตล่ ะชน้ิ เพอ่ื ใหม้ กี าร ใช้แท่นพิมพอ์ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ และเตม็ ศกั ยภาพ 381 2. ตรวจสอบเครื่องพิมพ์ท�ำความสะอาด ดูแลความพร้อม ตรวจดูหมึกเติมในเคร่ืองพิมพ์ก่อนใช้และหลัง ใช้งานเสรจ็ แลว้ 3. เตรียมจัดกระดาษให้ถูกต้องกับชนิดของแท่นพิมพ์ รวมถึงการตัดกระดาษ และน�ำเคล่ือนย้ายมาที่ แท่นพมิ พ ์ 4. ควบคุมเทคนิคการพิมพ์ใส่กระดาษ ตรวจดูเพลท เดินเคร่ืองพิมพ์ การไหลสม่�ำเสมอของหมึก ดูแล ขั้นตอนการพิมพ์ให้คมชัดเป็นท่ีเรียบร้อย แก้ไขข้อบกพร่องแล้วจัดส่งไปพับ เข้าเล่ม ถ้าเป็นการพิมพ์หนังสือพิมพ์ เครื่องพมิ พจ์ ะทำ� การพับเลม่ เอง 5. จดั การดแู ลตรวจสอบการจดั ซอ้ื วสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นระบบการพมิ พ์ เชน่ คณุ ภาพของเนอื้ กระดาษมว้ นสำ� หรบั ใช้ พิมพ์หนังสือพิมพ์รายวัน หรือรายสัปดาห์ หรือกระดาษแผ่นท่ีต้องน�ำมาตัดใช้กับนิตยสาร เพื่อให้ได้งานที่มี ประสิทธิภาพ และราคาท่เี หมาะสม 6. ประสานงานกับแผนกต่าง ๆ เพือ่ ใหง้ านเสร็จตามเวลา สภาพการจา้ งงาน อาจแบง่ หนา้ ทีอ่ อกไดเ้ ปน็ 3 ระดบั คอื ช่างแท่นพิมพ์ รองหวั หน้าชา่ ง หัวหน้าชา่ ง อตั ราเงนิ เดือนสำ� หรับ ผู้รับราชการจะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และมีสวัสดิการตามระเบียบทางราชการ ส่วนธุรกิจโรงพิมพ์ภาค เอกชนน้ัน ชา่ งแท่นพิมพ์จะได้เงนิ เดอื นประมาณ 9,500 – 15,500 บาท รองหัวหนา้ ช่างจะได้เงินเดือนประมาณ 15,500 - 19,000 บาท ส่วนหัวหน้าช่างแท่นพิมพ์จะได้เงินเดือนประมาณ 20,000 - 23,000 บาท ตามล�ำดับ

ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจำ�ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน มสี วสั ดกิ ารตามกฎหมายแรงงาน ผลประโยชนอ์ ยา่ งอน่ื และโบนสั ขน้ึ อยกู่ บั ผปู้ ระกอบการของกจิ การ เวลาการปฏบิ ตั ิ Department of Employment งานวันละ 8 ชั่วโมง อาจมีการท�ำงานล่วงเวลาซึ่งข้ึนอยู่กับช่วงเวลาท่ีมีการว่าจ้างงานพิมพ์มาก เช่น ในช่วงก่อน ปีใหมแ่ ละกอ่ นเปดิ ภาคเรียน สภาพการทำ� งาน ต้องทำ� งานในโรงพมิ พ์ทม่ี เี สียงดงั จากเคร่ืองพมิ พ์ มีฝนุ่ ละอองจากกระดาษ อาจมฝี ุ่นสารเคมีจากหมึก และ กล่ินสารเคมี ซ่ึงผปู้ ฏิบตั ิงานอาจต้องใช้อปุ กรณ์ป้องกนั ส่วนตัว เชน่ ท่ปี ิดหู ผา้ ปิดปาก และจมกู เป็นต้น การพิมพ์งานต้องใชช้ า่ งแท่นพิมพ์ 3 - 4 คนตอ่ แท่นพมิ พ์ 1 แท่น ซ่ึงแลว้ แตข่ นาดของแท่นพมิ พ์ ถ้าเป็น แทน่ พมิ พ์ 4 สีขนาดใหญ่อาจใช้ชา่ งแท่นพิมพม์ ากกวา่ 4 คน ปฏบิ ตั ิงานเปน็ กะ กะละ 8 ชั่วโมงตอ่ วัน อาจมีการ ทำ� งานลว่ งเวลาในวนั หยดุ ในกรณที ี่มีงานเรง่ ดว่ น และมีจำ� นวนมาก โอกาสในการมงี านทำ� ช่างแท่นพิมพ์ออฟเซตไม่ตกงาน ถึงแม้เศรษฐกิจจะอยู่ในขาลง และธุรกิจการพิมพ์ด้วยระบบออฟเซตใน ประเทศไทยยังใช้ศักยภาพของเคร่ืองไม่เต็มระบบ หรือเต็มรูปแบบ คือใช้ช่างแท่นพิมพ์อย่างน้อย 2 - 3 คน ต่อ 1 แท่นพิมพ์ แทนการใชก้ ารส่งั งานดว้ ยคอมพวิ เตอรอ์ ย่างเต็มระบบทม่ี รี าคาแพง การใช้ช่างแทน่ พมิ พอ์ อฟเซต จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้ แต่เนื่องจากตลาดแรงงานในธุรกิจโรงพิมพ์ไม่ได้ขยายตัวจากเดิมโดยเฉพาะในยุคเศรษฐกิจ ทรุดถอย ค่ากระดาษข้ึนราคา ซึ่งจากการที่ค่ากระดาษจะต้องจ่ายเป็นเงินสดทันที หรือได้รับผ่อนผันเวลาการให้ สินเชื่อเพียง 30 - 45 วัน ท�ำให้โรงพิมพ์ขนาดเล็กอยู่ในธุรกิจน้ีไม่ได้ต้องปิดตัวลงในเป็นจ�ำนวนมาก กอปรกับ มหาวทิ ยาลัยทวั่ ๆ ไปของรฐั และเอกชนมโี รงพิมพข์ องมหาวทิ ยาลยั เอง เพือ่ ลดต้นทุนการผลติ ในการจัดพิมพต์ �ำรา และเอกสารประกอบการสอน ตลาดแรงงานทางดา้ นนค้ี อ่ นขา้ งมลี กั ษณะการจา้ งงานแบบทง้ั หมนุ เวยี นและขยายตวั 382 คือ เมื่อมีผู้เข้ามาประกอบช่างแท่นพิมพ์ออฟเซต (Offset Pressman) ได้ระยะหนึ่งก็ออกจากงานไปท�ำธุรกิจอ่ืน หรอื เปล่ียนโรงพมิ พ์เจ้าของกิจการก็จะว่าจา้ งชา่ งแทน่ พิมพ์ใหมม่ าทดแทน ถงึ แมธ้ รุ กจิ โรงพมิ พข์ นาดใหญจ่ ะใชเ้ ครอ่ื งพมิ พอ์ อฟเซตระบบดจิ ิตอล หรอื ใชร้ ะบบคอมพวิ เตอร์เข้าควบคมุ การสั่งการครบวงจรซึ่งมีประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิตสูง แต่ก็ใช้ช่างแท่นพิมพ์เพียงคนเดียวควบคุม การปฏิบตั ิงานเทา่ นน้ั และสว่ นมากเปน็ โรงพมิ พป์ ระเภทผลติ หีบห่อและบรรจภุ ณั ฑ์ ส�ำหรับผูต้ ้องการประกอบอาชพี อสิ ระ ด้วยเทคโนโลยีทท่ี ันสมยั ซ่งึ เพียงใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ที่สามารถ ออกแบบและเครอื่ งพมิ พส์ ที รี่ าคาไมแ่ พง องคก์ รบรษิ ทั หา้ งรา้ นตา่ ง ๆ กส็ ามารถทำ� งานผลติ นามบตั รกระดาษ จดหมาย ข่าวประชาสมั พันธ์ที่มหี ัวจดหมายขององค์กร และบรษิ ัทหา้ งรา้ นตา่ ง ๆ ได้ คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ 1. เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญหรือสายอาชีพ หรือต่�ำกว่า แต่ต้องมี ประสบการณ์จนถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี 2. เป็นผู้ทม่ี คี วามละเอียดรอบคอบ และถี่ถ้วนในการทำ� งาน 3. ควรมีความรูเ้ ร่อื งเครือ่ งพมิ พร์ ะบบออฟเซต 4. สขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง 5. มีความรู้ภาษาองั กฤษ 6. เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภัย

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจำ�ปี 2558/2015 สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา กรมการ ัจดหางาน - ศนู ยฝ์ กึ อบรมเทคโนโลยกี ารพมิ พแ์ หง่ ชาติ ฝา่ ยจดั การฝกึ อบรม ศนู ยฝ์ กึ อบรมเทคโนโลยกี ารพมิ พแ์ หง่ ชาติ Department of Employment มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช ตำ� บลบางพดู อ�ำเภอปากเกร็ด จงั หวัดนนทบรุ ี 11120 โทรศพั ท์ 0-2504-7771-2 โทรสาร 0-2503-4909 อเี มล [email protected], [email protected] - สมาคมการพมิ พ์ไทย โทรศัพท์ 0-9444-6713 - สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย เลขที่ 83/159 หมู่ 6 ซอยชินเขต 2 ถนนงามวงศว์ าน แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2954-9560-4 โทรสาร 0-2954-9566, 0-2954-9565 อเี มล [email protected] - สาขาวชิ าชีพเทคโนโลยีการพิมพ์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา 1 ถนนอู่ทองนอก แขวงวชริ ะ เขตดุสติ กรงุ เทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 0-2160-1470 ต่อ 18 โทรสาร 0-2160-1470 ตอ่ 11 - สาขาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 โทรสาร 0-2215-4804 - สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 126 ถนนประชาอทุ ิศ แขวงบางมด เขตทุง่ ครุ กรงุ เทพฯ 10140 โทรศพั ท์ 0-2470-8000, 0-2427-0039 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ 383 ถ้าต้องการความก้าวหน้าจะต้องหม่ันเข้ารับการฝึก อบรม ตอ้ งเปน็ คนเปดิ กวา้ งสำ� หรบั ความรู้ และนำ� เทคนคิ ใหม่ มาใช้อยู่เสมอ ผู้ท่ีมีความสามารถอาจได้รับเลื่อนต�ำแหน่ง เปน็ หวั หน้าช่างพมิ พใ์ นเวลา 3 - 5 ปี สว่ นมาก เม่อื ท�ำงานไป ถงึ จดุ หนงึ่ ทเี่ งนิ คา่ จา้ งไมส่ ามารถจะปรบั ขนึ้ ไปได้ มกั จะเปลยี่ น อาชพี เปน็ พนกั งานขายหมกึ หรอื อปุ กรณส์ ำ� หรบั โรงพมิ พ์ หรอื ไปประกอบอาชีพอย่างอื่นแทนในภาวะปัจจุบัน อาจท�ำการ ค้าขาย หรอื เปดิ กจิ การเลก็ ๆ เช่นรับพิมพน์ ามบัตรซึง่ ใชก้ าร ลงทุนไม่มากนัก อาจเปลี่ยนงานหรืออาจพัฒนาหาความรู้ใน การเปน็ ช่างเทคนิคซอ่ มแทน่ เครื่องพิมพ์ออฟเซต อาชีพที่เกย่ี วเนอื่ ง เปดิ บรกิ ารรบั พมิ พน์ ามบัตร รับพิมพง์ าน วทิ ยานพิ นธ์ และถา่ ยส�ำเนาเอกสาร ฯลฯ เปน็ ตวั แทนขายอุปกรณ์ ส�ำหรับโรงพมิ พ์ นายหน้ารับงานพิมพ์ เปดิ บริการซอ่ มแซมเครื่องพมิ พ์ใหก้ บั โรงพิมพต์ ่าง ๆ เปน็ รายปี แหล่งขอ้ มลู อ่นื ๆ - สมาคมการพิมพ์ไทย - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ - โรงพิมพ์มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช - โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยธรุ กิจบณั ฑิตย์ - โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ช่างประกอบยานยนต์ Assembler, Motor Vehicle นยิ ามอาชีพ ประกอบชน้ิ สว่ นของเครอื่ งจกั รและเครอื่ งยนตห์ รอื ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของยานยนต์ ตามข้ันตอนการท�ำงานท่ี ก�ำหนดไว้ : ปฏิบัติงานภายใต้การก�ำกับดูแลและการ แนะน�ำของวิศวกรยานยนต์ อาจท�ำการควบคุมอุปกรณ์ และเครื่องมือในการช่วยประกอบ เช่น เคร่ืองเชื่อม เคร่ืองย้�ำหมุด และมีชื่อเรียกตามอุปกรณ์หรือเครื่องจักร ท่คี วบคมุ ลกั ษณะของงานท่ที �ำ 1. ปฏบิ ตั ิงานภายใต้การแนะนำ� และควบคมุ ของ วศิ วกรเครอ่ื งกลรถยนต์ 2. ปฏิบัติงานเก่ียวกับการประกอบ ติดตั้งอุปกรณ์รถยนต์ ระบบเคร่ืองยนต์เล็ก / ใหญ่ ระบบไฟฟ้าใน ยานยนต์ระบบส่งก�ำลัง ระบบช่วงล่างรถยนต์ ระบบการท�ำงานเครื่องมือเครื่องจักรท่ีควบคุมด้วยนิวเมติกส์และ 384 ไฮดรอลิก นอกจากนี้มีงานพิเศษเฉพาะ อย่างเช่น ระบบเคร่ืองยนต์เรือ ระบบเคร่ืองยนต์ เครื่องกลการเกษตร และระบบเครือ่ งจักรกลไอน้�ำ 3. ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ เช่น ระบบจุดระเบิด เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า (ไดนาโม) กระปุกเฟือง พวงมาลัย กระปกุ เกยี ร์และห้ามล้อ 4. ตรวจสอบอปุ กรณท์ ี่ติดต้ังท้งั ระบบส่งถา่ ยกำ� ลงั 5. ตรวจสอบข้อต่อตา่ ง ๆ 6. ตรวจสอบเคร่ืองยนต์ และปรับเทา่ ท่ีจำ� เปน็ เพือ่ ให้เครอ่ื งยนต์ทำ� งานอยา่ งมีประสิทธิภาพ สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ควรส�ำเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สาขาช่างยนต์ หรือสาขาที่เก่ียวข้อง หรือผ่านการอบรมจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน สามารถปฏิบัติงานในสถานประกอบการด้านยานยนต์ และจะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเริ่มต้น การท�ำงาน 6,000 - 8,000 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเงื่อนไขข้อตกลงกับ ผู้วา่ จา้ งทำ� งานวันละ 8 ช่วั โมง อาจทำ� งานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยดุ ตามความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นปฏบิ ัติ งานภายใต้การควบคุมของวิศวกรเคร่ืองกลรถยนต์ ท�ำหน้าท่ีประกอบชิ้นส่วนของเครื่องจักรและเครื่องยนต์ หรือ ชนิ้ ส่วนตา่ ง ๆ ของยานยนต์ ตามข้นั ตอนการท�ำงานทก่ี ำ� หนดไว้

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์ สภาพการท�ำงานหนักปานกลาง ต้องใช้ ความอดทนตอ่ สภาพความรอ้ น เสียง กลิน่ ของสารเคมี ตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั และรอบคอบสูงพอสมควร และตอ้ ง ปฏิบัติงานตามทีก่ ำ� หนดอย่างเครง่ ครดั เพื่อใหง้ านเรยี บรอ้ ยและตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั ความปลอดภยั ในการทำ� งาน โอกาสในการมีงานทำ� แนวโน้มของผู้ท่ีจะประกอบอาชีพน้ีข้ึนอยู่กับการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งในช่วง 4 - 5 ปี ที่ผ่านมาการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี ในปี 2545 อุตสาหกรรมยานยนต์ได้สร้าง มูลค่าเพ่ิมคิดเป็นร้อยละ 3.1 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ และคาดว่าในอนาคตอันใกล้จะยังมีการขยาย ตัวอย่างต่อเน่ือง เน่ืองจากมีการลงทุนขนาดใหญ่ท่ีจะเกิดข้ึนในประเทศไทย รวมถึงการขยายตัวของการบริโภค ยานยนต์ท่ีเพิ่มขึ้น (ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2548) ปัจจัยดังกล่าว จะเป็นปัจจัยสนับสนุนท�ำให้สถานประกอบการยานยนต์ยังคงมีความต้องการผู้ที่ประกอบอาชีพช่างประกอบ ยานยนต์ คุณสมบัติของผ้ปู ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) หรอื ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชั้นสงู (ปวส.) สาขาช่างยนต์ หรอื สาขาทีเ่ ก่ยี วข้อง 2. ละเอยี ดรอบคอบในการทำ� งาน 3. ร่างกายแขง็ แรง สามารถทำ� งานหนกั ได้ มีความอดทนสูง 4. ขยันหมนั่ เพียร 5. มเี จตคตทิ ด่ี ีต่องานอาชพี ซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวนิ ัย 385 6. มนุษยสมั พันธ์ดี 7. ชอบการบนั ทึกและวิเคราะห์ขอ้ มลู 8. มีความรับผิดชอบ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา สาขาช่างยนต์หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ในสถาบันการศึกษาท่ีสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อาทิ - วิทยาลัยเทคนิคสมทุ รปราการ เวบ็ ไซต์ www.sptc.ac.th โทรศพั ท์ 0-2323-9009, 0-2323-9680 - วทิ ยาลัยเทคนคิ เชียงใหม่ เวบ็ ไซต์ www.cmtc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5321-7708 - วทิ ยาลยั เทคนคิ มนี บรุ ี เว็บไซต์ www.minburi.ac.th โทรศัพท์ 0-2517-2041, 0-2517-5134 - วทิ ยาลัยเทคนิคยะลา เวบ็ ไซต์ www.ytc.ac.th โทรศพั ท์ 0-7321-2471, 0-7321-6769 - วิทยาลัยเทคนิคอุตสาหกรรมยานยนต์ เว็บไซต์ www.aitc.ac.th โทรศัพท์ 0-3535-6541-42, 0-3522-6279 - สาขาช่างยนต์หรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 - สาขาชา่ งยนต์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยดี อนบอสโก เว็บไซต์ www.donboscobkk.ac.th โทรศัพท์ 0-2652- 9625-44

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพช่างประกอบยานยนต์ที่มีประสบการณ์ ความช�ำนาญ และมีความสามารถอาจได้เลื่อน ต�ำแหน่งจนถึงระดับหัวหน้างาน ผู้ประกอบอาชีพน้ีควรศึกษาต่อเพ่ือปรับวิทยฐานะให้สูงข้ึนเพื่อประโยชน์หรือ ความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพขึ้นสู่ระดับวิศวกร รองผู้จัดการหรือผู้จัดการโรงงานในอนาคต โดยศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบงั อาชพี ท่เี กย่ี วเน่อื ง ช่างปั๊มช้ินส่วนรถยนต์ ช่างประกอบเครื่องยนต์ ช่างผลิตช้ินส่วนยานยนต์ ช่างตรวจสอบช้ินส่วนยานยนต์ ช่างยนต์ ชา่ งไฟฟ้ารถยนต์ พนักงานอะไหล่ แหล่งขอ้ มลู อนื่ ๆ - สถาบันยานยนต์ เวบ็ ไซต์ www.thaiauto.or.th โทรศพั ท์ 0-2712-2414 - สำ� นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เว็บไซต์ http://www.vec.go.th โทรศัพท์ 0-2281-5555 - สมาคมผู้ผลิตช้นิ ส่วนยานยนต์ไทย www.thaiautoparts.or.th โทรศัพท์ 0-2712-2246, 0-2712-2971, 0-2712-3594-6 - บรษิ ทั วอลโว่ คาร์ (ประเทศไทย) เว็บไซต์ http://www.volvocars.co.th โทรศพั ท์ 0-2319-9820-30 - บรษิ ทั โตโยตา้ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำ� กดั เวบ็ ไซต์ http://www.toyota.co.th โทรศพั ท์ 0-2386-1000 386 - บรษิ ทั สยามนิสสัน ออโตโมบลิ จ�ำกัด เว็บไซต์ http://www.nissan-th.com โทรศพั ท์ 0-2312-8523-24

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ช่างปรับไฟฟ้า (ยานยนต)์ Electrical Fitter, Motor Vehicle นยิ ามอาชพี ปรับ ประกอบ และซอ่ มช้ินส่วนเครือ่ งไฟฟา้ ของยานยนต์ในโรงงานผลิต โรงซอ่ ม : ปฏบิ ตั งิ านหลกั มลู ฐานเชน่ เดียวกันกบั ช่างปรบั ไฟฟ้าทวั่ ไป แตท่ ำ� งาน เกย่ี วกับชน้ิ ส่วนไฟฟ้าของยานยนต์ ซง่ึ ต้องใชค้ วามรูพ้ ิเศษ ลกั ษณะของงานที่ทำ� 1. ตอ่ วงจรและแกไ้ ขข้อขัดขอ้ งของมอเตอร์สตาร์ท 2. ถอด ประกอบและตรวจสอบมอเตอรส์ ตารท์ 3. ตอ่ วงจร และแก้ไขข้อขัดขอ้ งของระบบจุดระเบิด 4. ถอด ประกอบและตอ่ วงจร พร้อมท้งั แก้ไขขอ้ ขดั ข้องของระบบประจุไฟ 5. ตอ่ วงจร และแก้ไขข้อขดั ขอ้ งของระบบไฟฟ้าแสงสวา่ งและไฟสัญญาณ 6. ตอ่ วงจร และแก้ไขขอ้ ขัดขอ้ งของเครื่องปดั น�ำ้ ฝน และเกจวดั ตา่ ง ๆ สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ควรส�ำเร็จการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือประกาศนียบัตร 387 วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สาขาช่างยนต์ หรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง จะปฏิบัติงานในสถานประกอบการด้านยานยนต์ หรือ ผ่านการอบรมจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน จะได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนท่ีระดับเริ่มต้นการท�ำงาน 9,500 - 11,000 บาท สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวนั ละ 8 ชั่วโมง อาจท�ำงานลว่ งเวลา วนั เสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยุดตามความจำ� เป็นเรง่ ดว่ นปรบั สภาพการทำ� งาน ผปู้ ฏบิ ตั งิ านอาชีพน้ี ท�ำงานทง้ั ในและนอกสถานท่ีท�ำงาน ในการตรวจซอ่ มระบบไฟฟ้าต่าง ๆ ของรถยนต์ สภาพการท�ำงานหนักปานกลาง ต้องใช้ความอดทนต่อสภาพความร้อน และบางโอกาสอาจต้องท�ำงานตามล�ำพัง ตอ้ งใชค้ วามระมัดระวังและรอบคอบในการทำ� งาน เพ่ือป้องกนั การเกดิ อุบัตเิ หตุจากการทำ� งาน โอกาสในการมีงานทำ� แนวโนม้ ของผทู้ จี่ ะประกอบอาชพี น้ี สว่ นสำ� คญั ขนึ้ อยกู่ บั การขยายตวั ของอตุ สาหกรรมยานยนต์ ซง่ึ ในปี 2548 ปรมิ าณการผลิตรถยนตใ์ นประเทศไทยเข้าส่หู ลกั 1 ล้านคัน สว่ นหนงึ่ เป็นผลมาจากการผลักดันส�ำคญั จากการท่ภี าค รฐั ร่วมกบั ภาคเอกชนจัดท�ำแผนแม่บทอตุ สาหกรรมยานยนต์ ซึง่ ระยะที่ 1 ได้ด�ำเนนิ การมาต้งั แต่ปี 2545 และกำ� ลงั จะจดั ทำ� แผนแมบ่ ทอตุ สาหกรรมยานยนตร์ ะยะท่ี 2 (พ.ศ. 2549 - 2553) ปจั จยั ดงั กล่าวจะเปน็ ปจั จยั สนบั สนนุ สำ� คญั สำ� หรับผ้ทู ่ีตอ้ งการประกอบอาชีพชา่ งปรบั ไฟฟ้า (ยานยนต์) ซึ่งตลาดแรงงานมแี นวโน้มความตอ้ งการในระดบั สงู

ท20่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ Department of Employment 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) สาขาชา่ งยนต์ หรอื สาขาทีเ่ ก่ียวขอ้ ง หรอื ผ่านการอบรมจากสถาบนั พฒั นาฝีมือแรงงาน 2. ร่างกายแข็งแรงสมบรู ณ์ สามารถทำ� งานกลางแจ้งและงานหนักได้ และมใี จรกั ด้านเครือ่ งยนต์กลไก 3. อดทน ละเอียดรอบคอบ 4. ช่างสังเกต จดจำ� รูจ้ ักวเิ คราะห์และแก้ไขปัญหา 5. มีความรับผดิ ชอบ และตระหนักถงึ ความปลอดภยั และปอ้ งกนั อบุ ัตภิ ยั สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา - วิทยาลยั เทคนิคสมุทรปราการ เวบ็ ไซต์ www.sptc.ac.th โทรศัพท์ 0-2323-9009, 0-2323-9680 - วิทยาลยั เทคนคิ เชียงใหม่ เวบ็ ไซต์ www.cmtc.ac.th โทรศัพท์ 0-5321-7708 - วิทยาลยั เทคนิคมนี บุรี เวบ็ ไซต์ www.minburi.ac.th โทรศพั ท์ 0-2517-2041, 0-2517-5134 - วิทยาลัยเทคนคิ ยะลา เวบ็ ไซต์ www.ytc.ac.th โทรศพั ท์ 0-7321-2471, 0-7321-6769 - วิทยาลยั เทคนิคอตุ สาหกรรมยานยนต์ เวบ็ ไซต์ www.aitc.ac.th โทรศัพท์ 0-3535-6541-42, 0-3522- 6279 - สาขาชา่ งยนต์ หรอื สาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล เวบ็ ไซต์ www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 โอกาสความกา้ วหน้าในอาชีพ ผู้ประกอบอาชพี น้ี ในหนว่ ยงานราชการจะไดร้ บั การเล่ือนข้นั และปรบั เงนิ เดือนตามกฎระเบยี บทีก่ �ำหนดไว้ 388 ในภาคเอกชนผทู้ ่มี ีประสบการณ์และความช�ำนาญอาจจะไดร้ ับการเล่อื นต�ำแหนง่ ขึ้นไปจนถึงระดบั หวั หนา้ งานได้ อาชีพที่เก่ียวเนือ่ ง ช่างซ่อมตวั ถังรถยนต์ ชา่ งสรี ถยนต์ ชา่ งยนต์ ชา่ งเชอ่ื ม ชา่ งแอร์รถยนต์ แหล่งขอ้ มูลอนื่ ๆ - สถาบนั ยานยนต์ เว็บไซต์ www.thaiauto.or.th โทรศพั ท์ 0-2712-2414 - สมาคมผู้ผลิตช้ินส่วนยานยนต์ไทย เว็บไซต์ www.thaiautoparts.or.th โทรศัพท์ 0-2712-2246-7, 0-2712-2971, 0-2712-3594-6 - บรษิ ัท วอลโว่ คาร์ (ประเทศไทย) เวบ็ ไซต์ www.volvocars.co.th โทรศพั ท์ 0-2319- 9820-30 - บรษิ ัท โตโยตา้ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกดั เวบ็ ไซต์ www.toyota.co.th โทรศพั ท์ 0-2386-1000 - กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน เว็บไซต์ www.dsd.go.th โทรศัพท์ 0-2245-4035, 0-2643-4990 - บริษทั อีซูซุ มอเตอร์ ประเทศไทยจำ� กัด เว็บไซต์ www.isuzumotor.com โทรศพั ท์ 0-2394-2541-43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook